ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
1
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
2
คานา คู่มื อการเรีย นรู้ ก ารท าฮัง มดแดงวัดท่าสะแบง
จัดทาขึ้นเพื่ อใช้ประกอบการเรีย นรู้
โครงการวิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในชุมชนวัดท่าสะแบง กิจกรรมที่ 2 เรื่อง ส่งเสริมภูมิปัญญา และ วัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนวัดท่าสะแบง คู่มือการเรียนรู้เล่มนี้เป็นการถ่ายทอดวิถีชีวิต ภูมิปัญญาไทย และวัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนวัดท่าสะแบง หมู่ที่ 4 และ หมู่ที่ 7 บ้านท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด โดยนาเอาศิลปะพื้นบ้านและภูมิปัญญาไทย ประดิษฐ์วัสดุอุปกรณ์ ที่ มี อ ยู่ ใ นท้ อ งถิ่ น มาท าเป็ น ฮั ง มดแดง เพื่ อ ใช้ ป ระกอบพิ ธี ก รรมตามความเชื่ อ ในศาสนพิ ธี ท าง พระพุทธศาสนาของชาวอีสานที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ ได้ปลูกฝังให้ประชาชนในชุมชนทั้งเด็ก ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ มีความรัก ความสามัคคี มีคุณธรรม จริยธรรม ด้วยการมีส่วนร่วมของคนใน หมู่บ้าน โรงเรียน และชุมชน มาทากิจกรรมร่วมกันที่วัดบ้านท่ าสะแบง ซึ่งเป็นศูนย์รวมพลัง ทางกาย และจิตใจของชุมชนบ้านท่าสะแบง คู่มือการเรียนรู้ การทาฮังมดแดงเล่มนี้ ได้สาเร็จสมบูรณ์และเป็นรูปเล่มที่สวยงาม คณะ ผู้จัดทาขอกราบนมัสการพระภิกษุ สามเณร วัดท่าสะแบงทุกรูป ขอขอบคุณภูมิปัญญาพื้นบ้านและ ผู้รู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ขอขอบคุณ อาจารย์ ดร.วัชรินทร์ แสนรุ่งเมือง ที่ปรึกษาโครงการและ ถอดบทเรียน ให้สาเร็จลุล่วงด้วยดี หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือการเรียนรู้เล่มนี้ คงก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ศึกษาเรียนรู้และผู้ที่ สนใจเป็นการอนุรักษ์ และส่งเสริมการทาฮังมดแดงวัดท่าสะแบง ให้ดารงอยู่คู่กับสังคมไทยอีสานอย่าง ยั่งยืน
คณะผู้จัดทา ชุมชนวัดท่าสะแบง
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
3
สารบัญ
เรื่อง
หน้า
คานา
1
สารบัญ
2
ประวัติวัดท่าสะแบง
3
หลักการและเหตุผล
6
จุดประสงค์
6
เป้าหมาย
7
วิธีดาเนินการ
9
ประโยชน์ที่ได้รับ
12
โครงสร้างหลักสูตรการเรียนรู้
13
ฮังมดแดงกับวิถีชีวิตในชุมชนวัดท่าสะแบง
14
การทาฮังมดแดง ลายกระหนกใบโพธิ์
15
การทาฮังมดแดง ลายกระหนกสร้อยสน
20
การทาฮังมดแดง ลายกระหนกตีนจก
24
แหล่งอ้างอิง
28
ภาพกิจกรรมการเรียนรู้การทาฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
29
พิธีกรรมและความเชื่อการใช้ฮังมดแดง
32
คณะผู้จัดทา
33
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
4
วัดท่าสะแบง คาขวัญวัดท่าสะแบง ขันหมากเบ็งท่าสะแบง งามเลิศล้าประเพณี หลวงปู่ขาวตระการตา
แหล่งเรียนรู้วัฒนธรรม แม่น้าชีแข่งเรือยาว ศูนย์การศึกษา ICT
ประวัติความเป็นมา วัดท่าสะแบง ตั้งอยู่เลขที่ 97 บ้านท่าสะแบง หมู่ที่ 4 ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 6 ไร่ 50 ตารางวา ส.ค. 1 เลขที่ 329 ตั้งขึ้นปี พ.ศ. 2405 เดิมชื่อ “วัดตาลท่าสะแบง” ต่อมาปี พ.ศ. 2481 เปลี่ยนชื่อเป็น “วัดท่าสะแบง” และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ในวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 นับตั้งแต่นั้นมา จนถึงปัจจุบัน มีเขตวิสุงคามสีมา ขนาดกว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ที่ธรณีสงฆ์ จานวน 1 แปลง เนื้อที่ 3 ไร่ 15 ตารางวา ในอดีตได้สร้างไว้เป็นศาลากลางหมู่บ้านท่าสะแบง ปัจจุบันได้สร้างเป็น แหล่งการเรียนรู้ ศูนย์ปฐมวัย และศูนย์รวม กลุ่มแม่บ้านในชุมชนวัดท่าสะแบง
อาณาเขต ทิศเหนือ
มีเนื้อที่ 2 เส้น 18 วา ติดกับถนนสาธารณะบ้านท่าสะแบง
ทิศใต้
มีเนื้อที่ 4 เส้น 2 วา ติดกับที่ดินของนางอิน ศิริสาร
ทิศตะวันออก มีเนื้อที่ 4 เส้น 6 วา ติดกับแม่น้าชี ทิศตะวันตก
มีเนื้อที่ 4 เส้น 4 วา ติดกับถนนสาธารณะบ้านท่าสะแบง
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
5
อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย 1. อุโบสถ ขนาดกว้าง 6 เมตร ยาว 16 เมตร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สร้างเมื่อ พ.ศ. 2529 2. ศาลาการเปรียญ ขนาดกว้าง 15 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2533 3. กุฎีสงฆ์ จานวน 3 หลัง เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ 4. ปูชนียวัตถุ มีพระประธานในอุโบสถ เนื้อโลหะ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2526 มีพระประธานที่ศาลา การเปรียญ จานวน 1 องค์ และพระประธานที่กุฎี จานวน 1 องค์
การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม ดังนี้ 1. พระครูขันติภิรมย์ เป็นเจ้าอาวาสระหว่างปี พ.ศ. 2441 – พ.ศ. 2498 2. เจ้าอธิการคูณ ฐิตปญฺโญ เป็นเจ้าอาวาสระหว่างปี พ.ศ. 2499 – พ.ศ. 2528 3. พระอธิการรัศมี ปญฺญวโร เป็นเจ้าอาวาสระหว่างปี พ.ศ. 2529 – พ.ศ. 2537 4. พระครูสิทธิวโรภาส (สะอาด ปภสฺสโร) เป็นเจ้าอาวาสระหว่างปี พ.ศ. 2538 – ปัจจุบัน
สิ่งก่อสร้างถาวรวัตถุ ประกอบด้วย 1. ศาลาการเปรียญ 2 ชั้น มีขนาดกว้าง 12 เมตร ยาว 32 เมตร วางศิลาฤกษ์ ในวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2548 เริ่มดาเนินการก่อสร้าง เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2548 และสร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2552 2. พระพุทธสิรินทรมหามุนี (หลวงปู่ขาว) เป็นพระพุทธรูปปูนปั้นสีขาว ขนาดหน้าตักกว้าง 7.85 เมตร สูง 11.50 เมตร สร้างเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน – วันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ใช้เวลาการก่อสร้างรวม 29 วัน ใช้งบประมาณก่อสร้างประมาณ 800,000 บาทเศษ 3. หอระฆัง สร้างเมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2551 สร้างเสร็จวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2552 ใช้งบ ก่อสร้างประมาณ 500,000 บาท
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
6
4. ศูนย์การเรียนรู้ ICT ได้รับงบสนับสนุนเครื่องคอมพิวเตอร์ จานวน 21 เครื่อง จากกระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยใช้งบประมาณของทางวัดท่าสะแบง ในการก่อสร้างศูนย์ การเรียนรู้ ICT ประมาณ 350,000 บาท ก่อสร้าง เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน – 24 สิงหาคม พ.ศ. 2553 เพื่อใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชนวัดท่าสะแบง 5. กุฎีสงฆ์ จานวน 1 หลัง เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ สร้างเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ – 30 เมษายน พ.ศ. 2554 ใช้งบก่อสร้างประมาณ 450,000 บาท 6. ห้องน้า จานวน 5 ห้อง สร้างเมื่อเดือนมีนาคม – เมษายน พ.ศ. 2554 ใช้งบก่อสร้างประมาณ 100,000 บาท
เขตการปกครอง ในอดีต วัดท่าสะแบงอยู่ในเขตการปกครองของอาเภอธวัชบุรี แบ่งเขตการปกครองเป็น 2 กิ่ง ได้แก่ กิ่งอาเภอเชียงขวัญและกิ่งอาเภอทุ่งเขาหลวง ต่อมาทางราชการจึงได้แต่งตั้งยกกิ่งอาเภอทั้ง 2 กิ่ง เป็นอาเภอ คือ อาเภอเชียงขวัญ และอาเภอทุ่งเขาหลวง เมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2550 วัดท่าสะแบง จึงได้อยู่เขตการปกครองของอาเภอทุ่งเขาหลวง นับตั้งแต่นั้นมาจนถึงปัจจุบัน.
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
7
โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท.2) ชื่อโครงการ วิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัยในวัดท่าสะแบง Thai Way of Life on Holistic Health of 3 Ages in Tha Sabang Temple. กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะ และวัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนวัดท่าสะแบง หลักการและเหตุผล ภูมิปัญญาไทย ศิลปะ และวัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนบ้านท่าสะแบง หมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 7 ได้เรียนรู้ สืบสาน และถ่ายทอดสืบต่อกันมาเรื่อยๆจากรุ่นปู่ ย่า ตา ยาย มาถึงลูกหลาน ให้รู้จักคุณค่า ความส าคั ญ มองเห็นประโยชน์ ข องภูมิ ปัญญาด้า นศิล ปะและวัฒนธรรมพื้ นบ้าน ที่ ส ามารถนาเอา ทรัพยากรธรรมชาติและวัสดุอุปกรณ์ที่มีอยู่ในท้องถิ่น มาปรับประยุกต์ ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการ ดาเนินชีวิต เพื่อประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อทางพระพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชน ในชุมชนวัด ท่า สะแบง ด้วยการท าขั นหมากเบ็ง โบราณ การสานตาแหลว และการทาฮังมดแดง โดยนาเอา ภูมิปัญญาพื้นบ้านและผู้รู้ในชุมชนถ่ายทอดความรู้ให้กับเด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ และผู้ที่สนใจมาเรียนรู้ วิธีการทาขันหมากเบ็งโบราณ การสานตาแหลวและการทาฮังมดแดง ซึ่งเป็นการสืบทอดภูมิปัญญา ไทย ศิลปะ และวัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนวัดท่าสะแบง โดยการมีส่วนร่วมกิจกรรมของบ้าน วัด โรงเรียนและชุมชน เพื่ อให้เด็ก ผู้ใหญ่และ ผู้สูงอายุ เกิดความรัก ความสามัคคี ความสมานฉันท์ สามารถนาทักษะการเรียนรู้มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวิตประจาวัน และทากิจกรรม ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข รวมทั้งเป็ นการส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะ และวัฒนธรรมพื้นบ้านใน ชุมชนวัดท่าสะแบง ให้อยู่คู่กับสังคมไทยอีสานอย่างยั่งยืน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมเด็ก ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุในชุมชนวัดท่าสะแบง ได้นาเอาหลักแนวคิดของเศรษฐกิจ พอเพียงมาปรับประยุกต์ใช้กับภูมิปัญญาพื้นบ้านในการดาเนินชีวิต 2. เพื่อส่งเสริมการคิดค้นพัฒนาสู่สังคมการเรียนรู้ตลอดชีวิต สามารถนาเอาทรัพยากรที่มีในท้องถิ่น
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
8
มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ อย่างเหมาะสม 3. เพื่อส่งเสริมการทากิจกรรมร่วมกันของชุมชนอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดความรัก ความสามัคคีและ อยู่ในสังคมอย่างสันติสุข เป้าหมาย เชิงปริมาณ เด็ก ผู้ใหญ่ และ ผู้สูงอายุ หมู่ที่ 4 และ หมู่ที่ 7 บ้านท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอ ทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด จานวน 50 คน เชิงคุณภาพ กลุ่มเป้าหมายในชุมชนวัดท่าสะแบง จานวน 50 คน ได้เรียนรู้การทาขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง การสานตาแหลว และการทาฮังมดแดง สามารถนาวัสดุอุปกรณ์ที่มีในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ประโยชน์ ได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง คิดเป็นร้อยละ 80 ระยะเวลาดาเนินการ สถานที่ดาเนินการ
เริ่มตั้งแต่ 1 เมษายน 2554 – 1 เมษายน 2555 วัดท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด
หน่วยงานที่รับผิดชอบ วัดท่าสะแบง อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1. วัดท่าสะแบง หมู่ที่ 4 ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 2. บ้านท่าสะแบง หมู่ที่ 4 ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 3. บ้านท่าสะแบง หมู่ที่ 7 ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 4. โรงเรียนบึงงามพัฒนา ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 5. โรงเรียนบ้านขว้างท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด 6. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
9
ผู้รับผิดชอบ คณะทางานโครงการ ประกอบด้วย 1. พระครูสุทธิวโรภาส
เจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง
ประธาน
2. พระอนุสรณ์ ปภัสฺสโร
วัดท่าสะแบง
รองประธาน
3. พระมหา ดร.ทองจันทร์ กมโล วัดท่าสะแบง
ผู้ประสานงาน
4. คณะสงฆ์วัดท่าสะแบงทุกรูป
วัดท่าสะแบง
กรรมการ
5. นายบุญเสริม เครือน้าคา
กานันตาบลมะบ้า
กรรมการ
6. นายธารง ทิพยสาร
ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7
ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
7. นางวิภา ชุดขุนทด
ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ 7
ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
8. นางสุปรียา ทิพยสาร
สารวัตรกานันตาบลมะบ้า
ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
9. นางคมทอง จานงค์จิตร
สารวัตรกานันตาบลมะบ้า
ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
10. นายสารอง มาลาขันธ์
บ้านท่าสะแบง
ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
11. นายดวน เอกวุธ
บ้านท่าสะแบง
ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
12. เรือเอกอานวย ภูมิภักดิ์
บ้านท่าสะแบง
ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
13. นายประพันธ์ ดิลกศรี
ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4
ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
14. นายประดิษฐ์ ฤทธิวุฒิ
ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4
ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
15. ดร.วัชรินทร์ แสนรุ่งเมือง
นักวิชาการ
ที่ปรึกษาและถอดบทเรียน
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
10
วิธีดาเนินการ ได้รับงบประมาณ 30,000 บาท รายละเอียดดังนี้ กิจกรรม
ระยะเวลา
งบประมาณ
ผู้รับผิดชอบ
1 เมษายน 2554 –
1,000
1. ประธานโครงการ
30 เมษายน 2554
1,500
2. คณะทางาน
ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมคณะทางาน 2. แต่งตั้งคณะทางาน 3. วางแผนการทางาน
โครงการ
ขั้นดาเนินการ
3. ผู้ประสานงาน
1. จัดทาคู่มือการเรียนรู้
1 พฤษภาคม 2554 –
2. ประสานกับองค์กรที่เกี่ยวข้อง
31 พฤษภาคม 2554
3. ประชาสัมพันธ์การทางาน
4,500
โครงการและ
4,000
เหรัญญิก
1,1000
4. ดาเนินการจัดกิจกรรม ดังนี้ 4.1 ประชุมกลุ่มเป้าหมาย
1 มิถุนายน 2554 –
4.2 การทาขันหมากเบ็งโบราณ
24 ธันวาคม 2554
วัดท่าสะแบง 4.3 การสานตาแหลว 4.4 การทาฮังมดแดง 4.5 การจัดนิทรรศการ
30 ธันวาคม 2554
ขัน้ ประเมินผล 1. สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม
5,000 -
2. การตอบแบบสอบถาม
1 มิถุนายน 2554 –
3. สรุปผลการดาเนินงาน
29 กุมภาพันธ์ 2555
3,000
4. รายงานผลการจัดทาโครงการและ
30 ธันวาคม 2554 –
ถอดบทเรียน
29 กุมภาพันธ์ 2555
-
4. ที่ปรึกษาโครงการ และถอดบทเรียน
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
11
งบประมาณ กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะและวัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนวัดท่าสะแบง ได้รับงบประมาณ 30,000 บาท รายละเอียดค่าใช้จ่ายในการดาเนินกิจกรรม ดังนี้
จานวนเงิน/ รายการ
บาท
ผู้รับผิดชอบ
1. ค่าอาหารคณะทางาน
1,000
1. ประธานโครงการ
2. ค่าตอบแทนพิจารณาโครงการ
1,500
2. คณะทางานโครงการ
3. ค่าจัดทาคู่มือขันหมากเบ็งโบราณวัดท่าสะแบง
1,500
3. ผู้ประสานงานโครงการ
จานวน 50 เล่ม
และเหรัญญิก
4. ค่าจัดทาคู่มือการสานตาแหลว จานวน 50 เล่ม
1,500
4. ที่ปรึกษาโครงการและ
5. ค่าจัดทาคู่มือการทาฮังมดแดง จานวน 50 เล่ม
1,500
ถอดบทเรียน
6. ค่าตอบแทนอาจารย์ให้ความรู้
3,000
7. ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานคณะทางาน
2,000
8. ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการฝึกปฏิบัติ
5,000
9. ค่าสถานที่ประชุมและจัดกิจกรรม
2,500
10. ค่าสื่อและแผ่นป้ายประชาสัมพันธ์
4,000
11. ค่าจัดทาแบบสอบถาม
500
12. ค่าวัสดุสานักงาน
500
13. ค่าพาหนะเดินทาง
500
14. ค่าจัดนิทรรศการ
5,000 รวม
30,000
-
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
12
การวัดและประเมินผล ตัวบ่งชี้ สภาพความสาเร็จ ด้านผลผลิต (OUTPUT) 1. เพื่อส่งเสริมเด็ก ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ ในชุมชนวัดท่าสะแบง นาเอาหลัก แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับ ประยุกต์ใช้กับวิถีการดาเนินชีวิตโดยใช้ ภูมิปัญญาพื้นบ้านในการทาขันหมากเบ็ง โบราณ การสานตาแหลว และการทา ฮังมดแดงในชุมชนวัดท่าสะแบง 2. เพื่อส่งเสริมการคิดค้นพัฒนาสู่สังคม การเรียนรู้ตลอดชีวิต สามารถนาเอา ทรัพยากรที่มี ในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ 3. เพื่อส่งเสริมการทากิจกรรมร่วมกัน ของชุมชนอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิด ความรัก ความสามัคคี และอยู่ในสังคม อย่างสันติสุข
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ -การอธิบาย -การบรรยาย -การสาธิต -การปฏิบัติ -การจัดนิทรรศการ
การวัดและ ประเมินผล -การสังเกต -การเข้าร่วม กิจกรรม -การทากิจกรรม -การถามคาถาม -การตอบคาถาม -การทดสอบ -ประเมินผลงาน
เครื่องมือที่ใช้ -แบบสังเกต -คาถาม/ คาตอบ -แบบทดสอบ -แบบ ประเมิน ผลงาน
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
ตัวบ่งชี้สภาพความสาเร็จ
การจัดกิจกรรม
การวัด ประเมินผล
-การอธิบาย
-การสังเกต
-แบบสังเกต
-การบรรยาย
-การเข้าร่วม
-คาถาม/คาตอบ
-การสาธิต
กิจกรรม
-แบบทดสอบ
-การปฏิบัติ
-การทากิจกรรม
-แบบประเมิน
-จัดนิทรรศการ
-การถามคาถาม
ผลงาน
13
เครื่องมือ
ด้านผลลัพธ์ (OUTCOME) 1. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบงมีนิสัย ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน คิดริเริ่มสร้างสรรค์แบบ เศรษฐกิจพอเพียง นาเอาทรัพยากร วัสดุ อุปกรณ์ที่มีในท้องถิ่นมาปรับ ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กับวิถี ดาเนินชีวิตโดยใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ในการทาขันหมากเบ็งโบราณ การ สานตาแหลว และการทาฮังมดแดง ในชุมชนวัดท่าสะแบง
-การตอบคาถาม -การทดสอบ -ประเมินผลงาน
2.บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบงมีส่วน ร่วมการสืบสานภูมิปัญญา ศิลปะและ วัฒนธรรมพื้นบ้านให้อยู่คู่กับสังคม ไทยอีสานอย่างยั่งยืนตลอดไป 3. บุคคล 3 วัยในชุมชนวัดท่าสะแบง มีคุณธรรม จริยธรรม มีสุขภาวะที่ดี อยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข ประโยชน์ที่ได้รับ 1. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบงดาเนินวิถีชีวิตโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับประยุกต์ใช้กับ ภูมิปัญญาพื้นบ้านได้อย่างเหมาะสม 2. บุคคลในชุมชนวัดท่าสะแบง มีส่วนร่วมการสืบสานภูมิปัญญาไทย ศิลปะและวัฒนธรรมพื้นบ้าน ในการทาขันหมากเบ็งโบราณ การสานตาแหลวและการทาฮังมดแดง ให้อยู่คู่กับชุมชนวัดท่าสะแบง และสังคมไทยอีสานอย่างยั่งยืนตลอดไป 3. บุคคลทั้ง 3 วัยในชุมชนวัดท่าสะแบง มีคุณธรรม จริยธรรม มีสุขภาวะที่ดี และอยู่ร่วมกันในสังคม อย่างมีความสุข
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
14
โครงสร้างหลักสูตรการเรียนรู้ โครงการวิถีชีวิตไทยสู่สุขภาวะ 3 วัย ในวัดท่าสะแบง กิจกรรมที่ 2 เรื่อง ส่งเสริมภูมิปัญญา ศิลปะ และวัฒนธรรมพื้นบ้านในชุมชนวัดท่าสะแบง กิจกรรมที่ 2.3 การทาฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
ครั้งที่
วัน เดือน ปี
กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา/ชม.
1
7 พ.ค. 54
ความเป็นมาของการทาฮังมดแดง
2
2
14 พ.ค. 54
- พิธีกรรมและความเชื่อเกี่ยวกับฮังมดแดง
2
- ประโยชน์และคุณค่าของฮังมดแดง 3
21 พ.ค. 54
วัสดุและอุปกรณ์ในการทาฮังมดแดง
2
4
4 – 25 มิ.ย. 54
การพับ การตัด และการคลี่กระดาษ
4
5
2 ก.ค. – 30 ก.ค. 54
การเขียนลายฮังมดแดง
4
6
6 ส.ค. – 10 ก.ย. 54
การทาฮังมดแดง ลายกระหนกใบโพธิ์
8
7
17 ก.ย. – 29 ต.ค. 54
การทาฮังมดแดง ลายกระหนกสร้อยสน
8
8
5 พ.ย. – 24 ธ.ค. 54
การทาฮังมดแดง ลายกระหนกตีนจก
8
9
30 ธ.ค. 54
การจัดนิทรรศการ
5
10
30 ธ.ค. 54
การประเมินผล
2
รวม
45
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
15
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
คนโบราณสอนกันไว้
ไผเคยจา ได้หือบ่
วาสนา ชาตาแต่พุ้น
บุญนายู้ กะจัง่ หมาน
ไผผู้เคย ทาบุญไว้
ในปาง แต่ชาติเก่า
คนจั่งซั่น หละเด้อพี่น้อง
บุญนาอุ้ม เพิ่นจั่งดี
การทาฮังมดแดงในชุมชนวัดท่าสะแบง ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่ามาจากไหนและ ใครเป็นคนทาคนแรก ฮังมดแดงจะอยู่คู่กับวิถีชีวิตพื้นบ้านของชุมชนวัดท่าสะแบง ในการประกอบ พิธีกรรมทางพุทธศาสนามีความเชื่อว่า การแขวนฮังมดแดงไว้ในงานบุญพิธีต่าง ๆ เปรียบเสมือนกับ ความรัก ความสามัคคี การทากิจกรรมกลุ่ม การให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ชาวบ้าน ท่าสะแบงจึงให้ความสาคัญและยึดถือเป็นประเพณีตลอดมาจนถึงปัจจุบัน
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
การทาฮังมดแดงลายกระหนกใบโพธิ์
วัสดุและอุปกรณ์ 1. กระดาษแก้วคละสี 2. กระดาษแข็งเจาะรู 3. กรรไกร 4. ปากกาหรือดินสอ 5. เชือกผูก 6. ไม้บรรทัด
16
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
17
ขั้นตอนการทาฮังมดแดงลายใบโพธิ์ 1. 2. 3. 4. 5. 6.
เลือกกระดาษแก้วคละสี ขนาด 50 x75 เซนติเมตร ประมาณ 3-5 สี วางกระดาษแก้วซ้อนทับกันให้เป็นแผ่นเดียวตามสีสวยงาม แล้วใช้มือรีดกระดาษให้เรียบ พับครึ่งกระดาษตามความยาว แล้วใช้มือรีดกระดาษให้เรียบ พับครึ่งกระดาษให้เป็น 4 ส่วน แล้วใช้มือรีดกระดาษให้เรียบ พับกระดาษเป็นรูปสามเหลี่ยมและพับเป็นรูปสามเหลี่ยมครั้งที่ 2 ใช้มือรีดกระดาษให้เรียบ พับกระดาษเป็นรูปสามเหลี่ยมครั้งที่ 3 แล้วเขียนลายใบโพธิ์ที่ส่วนหางของกระดาษ
7. คลี่กระดาษออกครึ่งหนึ่ง แล้วขีดเส้นตรงสลับฟันปลาจากส่วนกลางไปหาส่วนหัวกระดาษ 8. ใช้กรรไกรตัดกระดาษส่วนหางตามลายใบโพธิ์ และตัดตามรอยขีดเส้นตรงสลับฟันปลา
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
18
จากส่วนกลางไปหาส่วนหัว แล้วตัดส่วนปลายกระดาษให้เป็นรูเล็ก ๆ เพื่อใช้ผูกหูฮังมดแดง 9. คลี่กระดาษฮังมดแดงออกจากรอยการพับในครั้งที่ 3-2-1 ตามลาดับ 10. คลี่กระดาษฮังมดแดงออกจากส่วนกลางของกระดาษทั้งหมด ให้เป็นแผ่นเดียวเหมือนกับ การเริ่มต้นก่อนพับกระดาษ 11. ตัดกระดาษแข็งเป็นวงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 นิ้ว แล้วเจาะ 2 รู ใช้เชือกเส้นเล็กสีขาว ผูกที่รูกระดาษ สอดเข้าไปที่รูปลายกระดาษฮังมดแดง แล้วดึงเชือกขึ้น 12. คลี่กระดาษฮังมดแดงลายกระหนกใบโพธิ์แต่ละสีออกจากกัน และจัดตกแต่งสลับสีให้สวยงาม
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
19
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
การทาฮังมดแดงลายกระหนกใบโพธิ์
20
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
การทาฮังมดแดงลายกระหนกสร้อยสน
วัสดุและอุปกรณ์ 1. กระดาษแก้วคละสี 2. กระดาษแข็งเจาะรู 3. กรรไกร 4. ปากกาหรือดินสอ 5. เชือกผูก 6. ไม้บรรทัด
21
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
22
ขั้นตอนการทาฮังมดแดงลายกระหนกสร้อยสน 1. 2. 3. 4. 5. 6.
เลือกกระดาษแก้วคละสี ขนาด 50 x75 เซนติเมตร ประมาณ 3-5 สี วางกระดาษแก้วซ้อนทับกันให้เป็นแผ่นเดียวตามสีสวยงาม แล้วใช้มือรีดกระดาษให้เรียบ พับครึ่งกระดาษตามความยาว แล้วใช้มือรีดกระดาษให้เรียบ พับครึ่งกระดาษให้เป็น 4 ส่วน แล้วใช้มือรีดกระดาษให้เรียบ พับกระดาษเป็นรูปสามเหลี่ยมและพับเป็นรูปสามเหลี่ยมครั้งที่ 2 ใช้มือรีดกระดาษให้เรียบ พับกระดาษเป็นรูปสามเหลี่ยมครั้งที่ 3 แล้วเขียนลายสร้อยสนที่ส่วนหางของกระดาษ
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
23
7. คลี่กระดาษออกครึ่งหนึ่ง แล้วขีดเส้นตรงสลับฟันปลาจากส่วนกลางไปหาส่วนหัวกระดาษ 8. ใช้กรรไกรตัดกระดาษส่วนหางตามลายสร้อยสน และตัดตามรอยขีดเส้นตรงสลับฟันปลา จากส่วนกลางไปหาส่วนหัว แล้วตัดส่วนปลายกระดาษให้เป็นรูเล็ก ๆ เพื่อใช้ผูกหูฮังมดแดง 9. คลี่กระดาษฮังมดแดงออกจากรอยการพับในครั้งที่ 3-2-1 ตามลาดับ 10. คลี่กระดาษฮังมดแดงออกจากส่วนกลางของกระดาษทั้งหมด ให้เป็นแผ่นเดียวเหมือนกับ การเริ่มต้นก่อนพับกระดาษ 11. ตัดกระดาษแข็งเป็นวงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 นิ้ว แล้วเจาะ 2 รู ใช้เชือกเส้นเล็กสีขาว ผูกที่รูกระดาษ สอดเข้าไปที่รูปลายกระดาษฮังมดแดงแล้วดึงเชือกขึ้น 12. คลี่กระดาษฮังมดแดงลายกระหนกสร้อยสนแต่ละสีออกจากกัน และจัดตกแต่งสลับสีให้สวยงาม
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
การทาฮังมดแดงลายกระหนกสร้อยสน
24
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
การทาฮังมดแดงลายกระหนกตีนจก
วัสดุและอุปกรณ์ 1. กระดาษแก้วคละสี 2. กระดาษแข็งเจาะรู 3. กรรไกร 4. ปากกาหรือดินสอ 5. เชือกผูก 6. ไม้บรรทัด
25
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
26
ขั้นตอนการทาฮังมดแดงลายกระหนกตีนจก 1. 2. 3. 4. 5. 6.
เลือกกระดาษแก้วคละสี ขนาด 50 x75 เซนติเมตร ประมาณ 3-5 สี วางกระดาษแก้วซ้อนทับกันให้เป็นแผ่นเดียวตามสีสวยงาม แล้วใช้มือรีดกระดาษให้เรียบ พับครึ่งกระดาษตามความยาว แล้วใช้มือรีดกระดาษให้เรียบ พับครึ่งกระดาษให้เป็น 4 ส่วน แล้วใช้มือรีดกระดาษให้เรียบ พับกระดาษเป็นรูปสามเหลี่ยมและพับเป็นรูปสามเหลี่ยมครั้งที่ 2 ใช้มือรีดกระดาษให้เรียบ พับกระดาษเป็นรูปสามเหลี่ยมครั้งที่ 3 แล้วเขียนลายตีนจกที่ส่วนหางของกระดาษ
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
7. คลี่กระดาษออกครึ่งหนึ่ง แล้วขีดเส้นตรงสลับฟันปลาจากส่วนกลางไปหาส่วนหัวกระดาษ 8. ใช้กรรไกรตัดกระดาษส่วนหางตามลายตีนจก และตัดตามรอยขีดเส้นตรงสลับฟันปลา จากส่วนกลางไปหาส่วนหัว แล้วตัดส่วนปลายกระดาษให้เป็นรูเล็ก ๆ เพื่อใช้ผูกหูฮังมดแดง 9. คลี่กระดาษฮังมดแดงออกจากรอยการพับในครั้งที่ 3-2-1 ตามลาดับ 10. คลี่กระดาษฮังมดแดงออกจากส่วนกลางของกระดาษทั้งหมด ให้เป็นแผ่นเดียวเหมือนกับการ เริ่มต้นก่อนพับกระดาษ 11. ตัดกระดาษแข็งเป็นวงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 นิ้ว แล้วเจาะ 2 รู ใช้เชือกเส้นเล็กสีขาว ผูกที่รูกระดาษ สอดเข้าไปที่รูปลายกระดาษฮังมดแดงแล้วดึงเชือกขึ้น 12. คลี่กระดาษฮังมดแดงลายกระหนกตีนจกแต่ละสีออกจากกัน และจัดตกแต่งสลับสีให้สวยงาม
27
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
การทาฮังมดแดงลายกระหนกตีนจก
28
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
แหล่งอ้างอิง ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ชุมชนวัดท่าสะแบง ตาบลมะบ้า อาเภอทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด
29
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
ภาพกิจกรรมการเรียนรู้การทาฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
30
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
ภาพกิจกรรมการเรียนรู้การทาฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
31
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
ภาพกิจกรรมการเรียนรู้การทาฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
32
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
พิธีกรรมและความเชื่อการใช้ฮังมดแดงในศาสนพิธี
33
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
34
คณะผู้จัดทา 1. พระครูสุทธิวโรภาส
เจ้าอาวาสวัดท่าสะแบง
ประธาน
2. พระอนุสรณ์ ปภัสฺสโร
วัดท่าสะแบง
รองประธาน
3. พระมหา ดร.ทองจันทร์ กมโล วัดท่าสะแบง
ผู้ประสานงาน
4. นายธารง ทิพยสาร
บ้านท่าสะแบง
ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
5. นางสุปรียา ทิพยสาร
บ้านท่าสะแบง
ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
6. นายสารอง มาลาขันธ์
บ้านท่าสะแบง
ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
7. นายดวน เอกวุธ
บ้านท่าสะแบง
ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
8. เรือเอกอานวย ภูมิภักดิ์
บ้านท่าสะแบง
ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
9. นายประพันธ์ ดิลกศรี
บ้านท่าสะแบง
ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
10. นางคมทอง จานงค์จิตร
บ้านท่าสะแบง
ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
11. นายประดิษฐ์ ฤทธิวุธ
บ้านท่าสะแบง
ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
12. ดร.วัชรินทร์ แสนรุ่งเมือง
นักวิชาการ
ที่ปรึกษาและถอดบทเรียน
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง คนโบราณสอนกันไว้
ไผเคยจา ได้หือบ่
วาสนา ชาตาแต่พุ้น
บุญนายู้ กะจัง่ หมาน
ไผผู้เคย ทาบุญไว้
ในปาง แต่ชาติเก่า
คนจั่งซั่น หละเด้อพี่น้อง
บุญนาอุ้ม เพิ่นจั่งดี
ผญายู้สอนให้ฮก ั แพง กุญชโร ช้าง ตายย้อน มดแดงน้อย
แนวสูง ศักดิใ ์ หญ่ แนวนัน ้ กะหากมี
35
ฮังมดแดงวัดท่าสะแบง
36
ผญาตุ้มโฮมซ่อยกัน ...เด้อพี่น้อง สามัคคีคือความพร้อม
เพียงพอดี นั้นหล่ะแม่น
สามัคคีกัน เหมิดสูบ่ ้าน
คนพาลพ้อ เพิ่นกะยอม
เฮาเป็นไทย กันเหมิดเกลี้ยง
เหมิดทั้งเมือง คึดให้ทั่ว
สามัคคีกัน เหมิดโลดเจ้า
ไทยเฮานั้น จั่งสิเย็น ...เด้อพี่น้อง