ถอดบทเรียน โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน เพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท.2)
โรงเรียนวัดบ้านสวน
สนับสนุนโดย สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
คานา โรงเรียนวัดบ้านสวน ได้เข้าร่วมโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรใน ชุมชน เพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท.2) ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสานักงานกองทุนสนับสนุนสร้างเสริม สุขภาพ (สสส.) โรงเรียนจึงได้จัดทาประชาคม วิเคราะห์ ปัญหาและความต้องการของชุมชน จากผู้ที่มี ส่วนเกี่ยวข้อง จึงกาหนดให้มีโครงการขึ้น ได้แก่ โครงการสร้างความสามัคคีด้วยดนตรีอังกะลุง โครงการปลูกจิตสานึกรักบ้านเกิดด้วยวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น โครงการส่งเสริมกระบวนการคิด ด้วย จิตสานึกรักชุมชน และโครงการสืบค้นกฎกติกา กีฬาพื้นบ้าน เอกสารเล่มนี้ เป็นการถอดบทเรียนจากผลการดาเนินงานตามโครงการทั้ง 4 โครงการ เพื่อให้ คนในชุมชนและบุคคลทั่วไปได้รับความรู้ความเข้าใจบริบทของชุมชนบ้านสวน ตาบลควนมะพร้าว อาเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง นับเป็นการสร้างรูปแบบการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของคนใน ชุมชน คณะทางานผู้เข้าร่วมโครงการหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารเล่มนี้คงจะเป็นประโยชน์ต่อองค์กร องค์กรที่จัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนและบุคคลทั่วไป ขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ที่ร่วมกันขับเคลื่อนให้การดาเนินงานสาเร็จ และบรรลุ เป้าหมายทุกประการ
คณะทางานโครงการ ปศท.2 โรงเรียนวัดบ้านสวน
สารบัญ ส่วนที่ ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานและบริบทของสถานศึกษา ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลด้านบริหาร ส่วนที่ 2 สาระสาคัญของโครงการที่ดาเนินการ โครงการสร้างความสามัคคีด้วยดนตรีอังกะลุง โครงการปลูกจิตสานึกรักบ้านเกิดด้วยวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น โครงการส่งเสริมกระบวนการคิด ด้วยจิตสานึกรักชุมชน โครงการสืบค้นกฎกติกา กีฬาพื้นบ้าน ส่วนที่ 3 การบริหารจัดการ/ดาเนินการ การบริหารด้านบุคคล การบริหารด้านวิชาการ การนิเทศ ติดตาม ประเมินผล การบริหารด้านเทคโนโลยีและการสื่อสาร การระดมทรัพยากรและการมีส่วนร่วมขององค์กร/ชุมชน ส่วนที่ 4 เครือข่ายการดาเนินงานและความร่วมมือ เครือข่ายครอบครัว เครือข่ายชุมชน สถาบันศาสนา เอกชน/องค์กรเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส่วนที่ 5 บทสรุป นวัตกรรมที่เกิดขึ้นของโครงการ ผลผลิต ผลลัพธ์ และความภาคภูมิใจที่เกิดขึ้นของโครงการ จุดอ่อนของโครงการ ข้อจากัดของโครงการ ปัญหา อุปสรรค แก้ปัญหาและพัฒนา ข้อเสนอแนะ ภาคผนวก
หน้า 1 1 3 9 10 12 14 17 20 20 20 21 21 22 23 23 24 25 25 26 27 27 27 28 28 28 28 29
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานและบริบทของสถานศึกษา 1. ข้อมูลทั่วไป 1.1 ชื่อสถานศึกษาโรงเรียนวัดบ้านสวน ตั้งอยู่ เลขที่ 29 ม.12 ต.ควนมะพร้าว อาเภอเมือง พัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสไปรษณีย์ 93000 โทรศัพท์ 074843500 โทรสาร 074840495 สังกัดสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 1 1.2 เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 1 ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 1.3 มีเขตพื้นที่บริการ 7 หมู่บ้านได้แก่ หมู่ที่ 7,10,11,12,13,14 ตาบลควนมะพร้าว และหมู่ที่ 2 ตาบลตานาน รวมทั้งสิ้น 732 ครัวเรือน ตามแผนผังดังนี้
แผนผังครัวเรือน
2 1.4 อาณาเขตติดต่อ โรงเรียนวัดบ้านสวน มีอาณาเขตติดต่อดังนี้ 1. ทิศเหนือ จด วัดบ้านสวน 2. ทิศใต้ จด ซอยวิจัยโศภณ 3. ทิศตะวันออก จด วัดบ้านสวน 4. ทิศตะวันตก จด ถนนบ้านแร่ – ควนกุฎ 1.5 แหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน และแหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียนในชุมชน แหล่งเรียนเรียนรู้ภายในโรงเรียน ชื่อแหล่งเรียนรู้ 1. ครูแผ่นป้าย 2. ห้องวิชาการ 3. ห้องวิทยาศาสตร์ 4. ห้องดนตรีนาฏศิลป์ 5. ห้องสหกรณ์ 6. ห้องสมุด 7. ห้องดนตรีนาฏศิลป์ 8. ห้องคอมพิวเตอร์
แหล่งการเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน ชื่อแหล่งเรียนรู้ 1. วัดบ้านสวน 2. โรงเรียนพัทลุงพิทยาคม 3. โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์พัทลุง 4. วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพัทลุง 5. วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง 6. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชน 8. ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง 9. วังเก่าเจ้าเมืองพัทลุงลาปา 10. กองร้อย ตชด. ที่ 434 จังหวัดพัทลุง
3
2. ข้อมูลด้านบริหาร 2.1 ผู้บริหาร ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14
ชื่อ – สกุล พระเชือน วงศ์สวัสดิ์ พระนุ่ม ศิริอนันต์ นายแดง สัตรัตน์ นายพร้อม บุญญานุวัตร นายมานิต ฤกขะวุฒิกุล นายแสง รงค์เรือง นายเกต ประชุมทอง นายแคล้ว เพชรเหมือน นายว่อน โชติพานิช นายสิทธิ เมืองสง นายพิณ เกสรา
ตาแหน่ง ครูใหญ่ ครูใหญ่ ครูใหญ่ ครูใหญ่ ครูใหญ่ ครูใหญ่ ครูใหญ่ ครูใหญ่ ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ อาจารย์ใหญ่ ผู้อานวยการ ผู้อานวยการ ผู้อานวยการ ผู้อานวยการ
ระยะเวลาดารงตาแหน่ง (ปีพ.ศ.) 2461 - 2464 2464 - 2474 2474 - 2484 2484 - 2488 2488 – 2491 2491 – 2496 2496 – 2508 2508 – 2518 2518 – 2521 2521 – 2529 2529 – 2533 2533 – 2537 2537 – 2547 2547 – 2551 2551 – ปัจจุบัน
นายวินิต เต่าจันทร์ นายยก ช่วยอินทร์ นายวีระศักดิ์ เนียมสวัสดิ์ 2.2 ประวัติโดยย่อของโรงเรียน ประวัติโดยย่อโรงเรียนวัดบ้านสวน เดิมชื่อโรงเรียนประชาบาล ตาบลควนมะพร้าว 1 ( วัดบ้านสวน ) เปิดทาการสอนครั้งแรก เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2461 โดยมีพระเชือน วงศ์สวัสดิ์ และพระนุ่ม ศิริอนันต์ เป็นครูสอน - คาขวัญ “ เรียนดี กีฬาเด่น เน้นวินัย ใฝ่คุณธรรม” - วัตถุประสงค์เฉพาะของสถานศึกษา 1. นักเรียนระดับก่อนประถมศึกษาได้รับการเตรียมความพร้อม และมีการพัฒนา ทุกด้านเหมาะสมกับวัย 2. นักเรียนระดับประถมศึกษามีความรู้ความสามารถ ทักษะและลักษณะอันพึงประสงค์ ตามข้อกาหนดของหลักสูรและมาฐานการศึกษาของโรงเรียน 3. นักเรียนทุกคนมีสุขภาพอนามัยสมบูรณ์ มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถดารงตน ในสังคมอย่างเหมาะสมและมีความสุข
4 2.3 โครงสร้างการบริหาร
โครงสร้างการบริหาร นายวีระศักดิ์ เนียมสวัสดิ์ ผู้อานวยการโรงเรียน
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
นางพิกุล มณีนิล หัวหน้ากลุ่มวิชาการ นายนุกูล มานัอย นางสุดจิต รัตนแก้ว นางถนอมจิตต์ ทิพยโสธร นางอรอนงค์ หนูรตั แก้ว นายวินิตย์ ไชยทองรักษ์
นางปรานี หนูเลี่ยง
นายนุกูล มาน้อย
นายสมมิตร ทองไซร้
หัวหน้ากลุ่มบริหารงานบุคคล
หัวหน้ากลุ่มงบประมาณ นางเบญจมา ไชยศร นางปิลันธนา ขุนทอง นางประภาพรรณ หนูแสง
หัวหน้ากลุ่มบริหารทั่วไป นางประภาพรรณ หนูแสง นางสุดจิต รัตนแก้ว
นักเรียนมีคุณภาพตามหลักสูตรและมาตรฐานการศึกษา
5 2.4 ข้อมูลนักเรียน ปีการศึกษา 2554 มีนักเรียนทั้งหมด 233 คน ชาย 124 คน หญิง 109 คน โดยมี จานวนตามชั้นเรียน ดังนี้ ชั้น ระดับอนุบาล อนุบาลปีที่ 1 อนุบาลปีที่ 2 รวมระดับชั้นอนุบาล ระดับประถมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 รวมระดับประถมศึกษา รวมทั้งหมด
ชาย
จานวนนักเรียน หญิง
รวม
14 13 27
10 18 28
24 31 55
17 10 11 10 16 21 12 97 124
14 14 10 9 10 11 13 81 109
31 24 21 19 26 32 25 178 233
6 2.5 ข้อมูลบุคลากร โรงเรียนวัดบ้านสวนมีบุคลากรทั้งหมด 14 คน ดังนี้ ที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14.
ชื่อ – สกุล นายวีระศักดิ์ เนียมสวัสดิ์ นายสมมิตร ทองไซร้ นายนุกูล มาน้อย นางปรานี หนูเลี่ยง นางพิกุล มณีนิล นางถนอมจิตต์ ทิพยโสธร นางเบญจมา ไชยศร นางปิลันธนา ขุนทอง นางสุดจิต รัตนแก้ว นางประภาพรรณ หนูแสง นางอรอนงค์ หนูรัตแก้ว นายวินิตย์ ไชยทองรักษ์ นายนุกูล ศศิธร นางสาวปิยรัตน์ ชายจันทร์
ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน ครู ครู ครู ครู ครู ครู ครู ครู ครู ครู ครู พนักงานบริการ ครูอัตราจ้าง
วุฒิการศึกษา/วิชาเอก กศ.ม./บริหารการศึกษา ค.บ./ภาษาไทย ค.บ./คณิตศาสตร์ ค.บ./สังคมศึกษา ค.บ./ภาษาไทย ค.บ./สังคมศึกษา ค.บ./การประถมศึกษา .ค.บ./บริหารการศึกษา ค.บ./บรรณารักษ์ ค.บ./เทคโนโลยีการศึกษา กศ.ม./หลักสูตรและการสอน กศ.ม./หลักสูตรและการสอน ม.6 ศศ.บ./ภาษาอังกฤษ
2.6 สภาพชุมชนโดยรวม สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะถนนทางหลวงชนบทผ่านหน้าโรงเรียนและถนน ภายในหมู่บ้านด้านทิศใต้ ราษฎรตั้งบ้านเรือนตลอดแนวถนน เป็นบ้านพักและร้านค้า ด้านตะวันตก และ ทิศเหนือเป็นพื้นที่วัดบ้านสวน มีประชากรในเขตบริการประมาณ 5,100 คน อาชีพหลักของชุมชน คือ การเกษตร รับจ้าง และค้าขาย เนื่องจากสภาพพื้นที่เป็นเนินสูงเหมาะสาหรับทาสวนและที่ลุ่มเหมาะ สาหรับทานา และราษฎรอาศัยอยู่หนาแน่น จึงมีตลาดชุมชนและร้านค้ากระจายอยู่ทุกหมู่ บ้าน ประชากร ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณี / ศิล ปะ / วัฒนธรรมท้องถิ่นเป็นที่ รู้จักโดยทั่วไป คือ งานบุญวัน สารทเดือนสิบ งานรับขวัญแม่โพสพ งานวั นกตัญญู และศิลปะการแสดงซัดต้ม สาหรับโรงเรียนเป็น แหล่งอนุรักษ์ศิลปะการแสดงดนตรีอังกะลุงและมโนราห์ ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึก ษาระดับชั้นประถมศึก ษาปีที่ 6 ประกอบอาชีพ รับจ้าง เกษตรกร ค้าขาย นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 100 ฐานะทางเศรษฐกิจ /รายได้โดยเฉลี่ย ต่อครอบครัว ต่อปี 36,000 บาท จานวนคนเฉลี่ยต่อครอบครัว 4 คน
7 โอกาสและข้อจากัดของโรงเรียน - โอกาสหรือจุดแข็งของสถานศึกษา 1. พื้นที่ติดกับวัด ได้รับการสนับสนุนจากเจ้าอาวาสวัดบ้านสวน คณะกรรมการวัด ซึ่งใช้พื้นที่วัดเป็นแหล่งเรียนรู้ จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนได้โดยสะดวก ปลอดภัย 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ( อบต.ควนมะพร้าว ) สนับสนุนอาหารกลางวัน อาหารเสริม (นม) งบประมาณจ้างครูสอนวิชาภาษาอังกฤษ และช่วยเหลือการเก็บขยะมูลฝอยทุกวัน 3. จานวนอาคารเรียน – อาคารประกอบ มีพร้อม เพียงพอกับการใช้ประโยชน์ที่จัด กิจกรรมการเรียนการสอน 4. กลุ่มพลังมวลชนให้ความร่วมมือทางด้านต่าง ๆ เช่น บริจาคเงิน สื่อ อุปกรณ์การเรียน - ข้อจากัดหรือจุดอ่อนของสถานศึกษา 1. ขาดแคลนพื้นที่ใช้เป็นสนามกีฬา นักเรียนไม่มีโอกาสเล่นกีฬาประเภทฟุตบอลได้อย่าง เต็มที่ และเต็มความสามารถ 2. ขาดแคลนพื้นที่การปฏิบัติกิจกรรมการเกษตร 3. ไม่มีครูผู้สอนที่สอนตรงกับวิชาเอก เช่น ปฐมวัย ภาษาอังกฤษ ศิลปะ พลศึกษา
8 2.7 ผลการดาเนินงานที่ผ่านมา โรงเรียนมีผลการปฏิบัติงาน โดยได้รับรางวัลจากการเข้าร่วมแข่งขันทักษะทางวิชาการ และจาก การประเมินต่าง ๆ ดังนี้ 1.เหรียญทอง วงอังกะลุง ระดับ จังหวัด 2.เหรียญทอง การแข่งขันเข็มทิศ และการคาดคะเน ระดับจังหวัด และเหรียญเงินระดับภาค 3.โรงเรียนได้รับการรับรองจาก สมศ. จากการประเมินรอบที่สาม 4.เหรียญเงิน การแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับจังหวัด 5.โรงเรียนได้รับรางวัลสถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่านดีเด่น ระดับประถมศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา 6. เหรียญทองกิจกรรมค่ายพระครู ผู้ปกครอง ระดับเขตพื้นที่การศึกษา 7.โรงเรียนได้รับรางวัลห้องสมุดดีเด่น ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
ส่วนที่ 2 สาระสาคัญของโครงการที่ดาเนินการ โรงเรียนวัดบ้านสวน ได้ประชุมเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2554 เพื่อทาประชาคม โดยร่วมกันกาหนดโครงการ และร่วมกันวางแผนการดาเนินงาน โดยที่ประชุมมีมติเห็นชอบให้กาหนด โครงการทั้งหมด 4 โครงการ ดังนี้ 1. โครงการสร้างความสามัคคี ด้วยดนตรีอังกะลุง 2. โครงการปลูกจิตสานึกรักบ้านเกิด ด้วยวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น 3. โครงการส่งเสริมกระบวนการคิด ด้วยจิตสานึกรักชุมชน 4. โครงการสืบค้นกฎ กติกา กีฬาพื้นบ้าน
โครงการสร้างความสามัคคี ด้วยดนตรีอังกะลุง 1. หลักการ/เหตุผล ศิ ล ปะ ดนตรี ไ ทยเป็ น วั ฒ นธรรมที่ ส าคั ญ แขนงหนึ่ ง ที่ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความคิ ด สร้ า งสรรค์ จินตนาการ และสุนทรียภาพอันมีเอกลักษณ์เฉพาะ อันเกิดจากอัจฉริยภาพของบรรพบุรุษ และได้สืบ ทอดกันมาหลายชั่วอายุคน จึงเป็นสิ่งดีงามและควรค่าแก่ ความภาคภูมิเป็นอย่างยิ่ง แต่ในปัจจุบันดนตรี ไทยไม่ว่าจะเป็นดนตรีไทยมาตรฐานหรือดนตรีพื้นเมืองอยู่ในฐานะที่ตกอับ มีผู้ให้ความสนใจน้อยมาก สภาพการณ์เช่นนี้จึงน่าเป็นห่วง เพราะปัญหาความเสื่อมถอย มิใช่เป็นเรื่องของความสานึกในความเป็น ชาติเท่านั้น แต่มีผลถึงความมั่นคงของชาติอีกด้วย ดนตรีอังกะลุง เป็นดนตรีไทยชนิดหนึ่ง ซึ่งควรอนุรักษ์ไว้ให้คงอยู่คู่คนไทย เนื่องด้วยการเรียน การสอนปัจจุบันจะต้องพัฒนาผู้เรียนในด้านต่าง ๆ เพื่อให้เป็นคนดีมีความสุข ดนตรีจึงเป็นสิ่งสาคัญที่ จะช่วยส่งเสริมให้ผู้เรีย นมีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี มีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี ตลอดจนช่วยให้ผู้เรียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และเป็นการอนุรักษ์ดนตรีอังกะลุงให้มีผู้ สืบทอดต่อไป จากผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในรอบปี 2553 ผลการดาเนินงานตามมาตรฐานที่ 8 อยู่ใน ระดับดี และพบว่าผู้เรียนมีนิสัยรักในด้านดนตรีและเสียงเพลง ร้อยละ75.00 มีความมั่นใจกล้าแสดงออก ทางด้านดนตรีอย่างเหมาะสม ร้อยละ 72.00 และตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาในรอบปี 2554 ได้ ตั้งเป้าหมายการพัฒนา มาตรฐานที่ 8 ให้มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก จึงจาเป็นต้องจัดให้มีโครงการนี้ขึ้น
10 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้ครูและนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 ที่สนใจได้เรียนรู้ ฝึกปฏิบัติ และสืบสานดนตรีอังกะลุงไว้ 2. มีวงดนตรีอังกะลุงในโรงเรียนจานวน 1 วง เพื่อใช้บรรเลงในกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียน และชุมชน 3. นักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 มีความสนใจในด้าน วงดนตรีอังกะลุงและรู้จัก ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ห่างไกลอบายมุข เกิดความสามัคคีและเป็นคนดีของสังคม 3. เป้าหมาย 3.1 เชิงปริมาณ 1. ครูและนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 ที่ สนใจ ได้เรียนรู้ ฝึกปฏิบัติ และสืบ สานดนตรีอังกะลุง จานวน 20 คน 2. มีวงดนตรีอังกะลุงในโรงเรียนจานวน 1 วง 3.2 เชิงคุณภาพ เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 ที่สนใจ ได้เรียนรู้ ฝึกปฏิบัติ และ สืบสานดนตรีอังกะลุงไว้ สามารถใช้บรรเลงในกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียนและชุมชน รู้จักใช้เวลาว่าง ให้เกิดประโยชน์ ห่างไกลอบายมุข เกิดความสามัคคีและเป็นคนดีของสังคม 4. กิจกรรม/ขั้นตอน 4.1 เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 4.2 แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงาน 4.3 สารวจนักเรียนที่สนใจ 4.4 ประชุมชี้แจงแนวทางการดาเนินงาน 4.5 ดาเนินการจ้างวิทยากรภายนอกทาหน้าที่ครูภูมิปัญญาท้องถิ่น 4.6 จัดซื้อ จัดหาเครื่องดนตรี 4.7 จัดการเรียนการสอนดนตรี ตั้งวงดนตรีอังกะลุง / ส่งครูเข้ารับการอบรม 4.8 นิเทศติดตามผล ประเมินผลการจัดการเรียนการสอนและการตั้งวงดนตรีอังกะลุง สรุป/ รายงานผล
11 5. งบประมาณ จานวน 30,000 บาท 6. การวัดผลประเมินผล ตัวชี้วัดของโครงการ 6.1 ด้านปริมาณ 6.1.1 จัดตั้งชมรมวงดนตรีอังกะลุงให้กับกลุ่มนักเรียนผู้สนใจ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 จานวน 20 คน เพื่อฝึกบรรเลงเป็นเพลงและการบรรเลงรวมวงได้ 6.1.2 นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 จานวน 20 คน สามารถนาวงดนตรี อังกะลุงมาบรรเลงในกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน เช่น กิจกรรมหน้าเสาธงในตอนเช้า ซึ่งสามารถทาให้ นักเรียนบรรเลงจนเกิดความชานาญมากขึ้น และพร้อมที่จะบรรเลงสู่ชุมชนในโอกาสต่อไป 6.2 ด้านคุณภาพ 6.2.1 ผู้เรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 นิสัยรักในด้านดนตรีและเสียงเพลง 6.2.2 ผู้เรีย นไม่ น้อยกว่าร้ อยละ 85 มี ความมั่นใจกล้า แสดงออกทางด้านดนตรี อย่ า ง เหมาะสม 7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 7.1 นักเรียนได้รับความรู้เรื่องดนตรีไทยมากยิ่งขึ้น 7.2 นักเรียนได้ร่วมกันอนุรักษ์ สืบทอด เผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรมไทย โดยสามารถเล่นดนตรี อังกะลุงเป็นวงได้ 7.3 เป็นการส่งเสริมด้าน ศิลปวัฒนธรรมอันดีงามไทย 7.4 นักเรียนรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ห่างไกลอบายมุข เกิดความสามัคคีและเป็นคนดี ของสังคม
12
โครงการปลูกจิตสานึกรักบ้านเกิดด้วยวัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่น 1. หลักการ/เหตุผล พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 6 และมาตรา 7 ได้กล่าวถึงการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุ ษย์ ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข กระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสานึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมือง การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รู้จักรักษาและส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีความภาคภูมิใจใน ความเป็นไทย รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ รวมทั้งส่งเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และความรู้อันเป็นสากล ตลอดจน อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รู้จักพึ่งตนเอง มีความ ริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง ในปัจจุบันนี้ จากสมาชิกในชุมชนส่วนใหญ่ไปศึกษาหาความรู้และไปประกอบอาชีพ ต่างถิ่น ไม่กลับบ้านเกิด ทาให้ไม่เข้าใจวัฒนธรรมประเพณีของตนเอง ไม่เห็นคุณค่าของวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น ทาให้ขาดความรักและหวงแหนท้องถิ่นของตนเอง จากผลการสารวจความต้องการของชุมชน สมาคมศิษย์เก่ าโรงเรียนวัดบ้านสวน และส่วน ราชการที่ เกี่ ย วข้ อง พิ จารณาเห็นว่า การส่งเสริมให้ ทุก คนเห็นคุณค่า ร่ วมกั นรัก ษาเอกลัก ษณ์ทาง วัฒนธรรมของชาติและของท้องถิ่น เป็นกิจกรรมที่มีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะช่วยให้สมาชิกในชุมชน รัก และหวงแหนบ้ า นเกิ ด ของตนเอง เป็ นแบบอย่ างที่ดี ที่จะเชื่อ มโยง ประสานความรัก สามัคคี และ ประเพณีวันสารทเดือนสิบเป็นประเพณีที่สาคัญและสืบทอดกันมายาวนาน ถือว่าเป็นประเพณีที่เก่าแก่ ของภาคใต้ แสดงให้เห็นว่าเป็นความพยายามของมนุษย์ที่มุ่งทดแทนพระคุณบรรพบุรุษ ซึ่งเป็นความ เชื่อและความศรัท ธา เป็นประเพณีท างศาสนาที่สามารถสร้างให้นักเรีย นเกิดความรัก ความภูมิใจใน ท้องถิ่นของตนเอง โรงเรียนวัดบ้านสวนเป็นหน่วยงานทางการศึกษาที่ควรให้โอกาสแก่นักเรียน ครู จัด กิจกรรมร่วมกับชุมชน และส่วนราชการในท้องถิ่น 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ และเห็นคุณค่าของวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นของตนเอง 2.2 เพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมวัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่นอย่างมีความสุข 2.3 เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป 2.4 เพื่อให้ผู้เรียนทุกคนมีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดี
13
3. เป้าหมาย 3.1 เชิงปริมาณ 1. ผู้เรียนร้อยละ 80 เกิดความภาคภูมิใจ รักและหวงแหนวัฒนธรรม ประเพณี ในท้องถิ่นของตนเอง 2. ผู้เรียนร้อยละ 80 เกิดความภูมิใจ รัก และหวงแหนท้องถิ่นของตนเอง 3. ผู้เรียนร้อยละ 80 มีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดี 4. จัดประเพณีแห่หมฺรับเดือนสิบ ร่วมกับสมาคมศิษย์เก่า และ ชุมชน จานวน 1 ครั้ง 3.2 เชิงคุณภาพ 1. โรงเรียนมีหลักสูตรเกี่ยวกับประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เหมาะสมกับผู้เรียน 2. ผู้เรียนที่เรียนรู้ตามหลักสูตรมีความรู้ความเข้าใจ เกิดความภาคภูมิใจ รักและ หวงแหนวัฒนธรรมและประเพณีในท้องถิ่นของตนเอง 3. ผู้เรียนและชุมชน มีความเข้าใจในการจัดประเพณีแห่หมฺรับสามารถสืบทอด ประเพณีแห่หมฺรับได้
4. กิจกรรม/ขั้นตอน - จัดทาหลักสูตรท้องถิ่นเรื่องประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่น - จัดกิจกรรมการ เรียนรู้บูรณาการกับประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่น - เชิญวิทยากรในชุมชนให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับการจัดหมฺรับและ การทาขนมเดือน สิบ และประเพณีสาคัญในท้องถิ่น - ประชาสัมพันธ์การดาเนินงาน - จัดนิทรรศการประเพณีแห่หมฺรับ - นักเรียนสาธิตและจาหน่ายขนมเดือนสิบ
5. งบประมาณ จานวน 30,000 บาท
6. การวัดผลประเมินผล ตัวชี้วัดของโครงการ ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ 1. ผูเ้ รียนโรงเรียนวัดบ้านสวนร้อยละ 90 เข้าร่วมประเพณีวัฒนธรรมในท้องถิ่น 2. ครูร้อยละ 90 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ บูรณาการกับประเพณีในท้องถิ่น 3. นักเรียนร้อยละ 80 เกิดความภาคภูมิใจ รัก และหวงแหนวัฒนธรรม ประเพณีวัฒนธรรม ในท้องถิ่นของตนเอง
วิธีการวัด สัมภาษณ์
เครื่องมือที่ใช้ แบบบันทึกการสัมภาษณ์
ตรวจสอบ
แบบบันทึกการตรวจสอบ
ประเมินความภาคภูมิใจ
แบบประเมินความภาคภูมิใจ
14
7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้เรียนทุกคนเห็นคุณค่า ร่วมกันรักษาเอกลักษณ์ประเพณีแห่หฺมฺรับวันสารทเดือนสิบ 2. ผู้เรียนทุกคนได้เรียนรู้และร่วมกิจกรรมประเพณีแห่หฺมฺรับวันสารทเดือนสิบร่วมกับชุมชน ในท้องถิ่น 3. ผู้เรียน/ประชาชน/ชุมชนในท้องถิ่น มีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดี และไม่ยุ่งเกี่ยวกับ ยาเสพติด เป็นคนดีของสังคม
โครงการส่งเสริมกระบวนการคิด ด้วยจิตสานึกรักชุมชน 1. หลักการ/เหตุผล พระราชบัญญัติการศึกษาแหล่งชาติ พ.ศ.2542 (แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มาตรา 7 กาหนดให้การจัดกระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสานึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข รู้จักรักษาและส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ความ เคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย รู้จักรักษา ผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ รวมทั้งส่งเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และความรู้อันเป็นสากล ตลอดจนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รู้จักพึ่งตนเอง มีความริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ด้วยตนเอง อย่างต่อเนื่อง และมาตรา 8 (2) กาหนดให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
15 จากความมุ่งหมายและหลักการของพระราชบัญญัติก ารศึกษาดังกล่าว ในการจัดการศึกษาจึง จาเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากชุมชนของโรงเรียน ที่จะต้องเข้ามามี ส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ในขณะเดียวกันในการจัดการศึกษามีความจาเป็นที่จะต้องคานึงถึงบริบท ของชุมชน โดยนักเรียนจะต้องมีความรู้ เข้าใจเกี่ยวสภาพของชุมชนที่ตนอาศัยอยู่ ดังนั้นครูผู้สอนจึง จาเป็นต้องนาบริบทของชุมชนมาเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สาคัญ เพื่อให้นักเรียนได้เกิดผลบรรลุตามจุดหมาย ของการจัดการศึกษา จากข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียนพบว่า โรงเรียนนาบริบทของชุมชนมาเป็นแหล่งเรียนรู้ อยู่ ในระดับน้อย ทาให้นักเรียนขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับชุมชน ขาดความรัก ความภูมิใจในชุมชนที่ ตนอาศั ย อยู่ ดัง นั้นการส่ง เสริม กระบวนการคิด ด้วยจิตส านึก รัก ชุมชน โดยการนาโครงงานมาเป็น เครื่องมือในการศึกษาบริบทของชุมชน จึงเป็นโครงการที่ช่วยส่งเสริมให้นักเรียนบรรลุผลตามจุดหมาย ของการจัดการศึกษา ในขณะเดียวกันยังแสดงถึงการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของชุมชน อันเป็น หลักการสาคัญของการจัดการศึกษา 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อให้นักเรียนเกิดทักษะกระบวนการคิดด้วยรูปแบบของโครงงาน 2.2 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบริบทของชุมชนตาบลควนมะพร้าว อาเภอ เมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง 2.3 เพื่อให้นักเรียนเกิดจิตสานึกรักชุมชน 3. เป้าหมาย 3.1 เชิงปริมาณ 3.1.1 นักเรียนโรงเรียนวัดบ้านสวน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 ทุกคน ใช้ทักษะ กระบวนการคิดศึกษาบริบทของชุมชน ในรูปแบบของโครงงาน 3.1.2 นักเรียนโรงเรียนวัดบ้านสวนทุกคนมีความรู้ ความเข้าใจ ความภาคภูมิใจเกี่ยวกับ บริบทของชุมชนตาบลควนมะพร้าว อาเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง 3.2 เชิงคุณภาพ 3.2.1 นักเรียนเกิดทักษะกระบวนการคิดตามลักษณะของการทาโครงงาน 3.2.2 นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ บริบทของชุมชนในด้านต่อไปนี้ สถานที่ สาคัญในชุมชน บุคคลสาคัญในชุมชน กลุ่มมวลชนในชุมชน นิทานพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก บทร้องเล่นในท้องถิ่น ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น และ ภาษาถิ่น 3.2.3 นักเรียนมีทักษะกระบวนการกลุ่ม และทักษะการนาเสนอ
16
4. กิจกรรม/ขั้นตอน 1. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงาน 3. ดาเนินงานตามโครงการ 3.1 อบรมให้ความรู้นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 เกี่ยวกับการทาโครงงาน 3.2 กาหนดกรอบในการศึกษาเพื่อจัดทาโครงงาน - สถานที่สาคัญในชุมชน - บุคคลสาคัญในชุมชน - กลุ่มมวลชนในชุมชน - นิทานพื้นบ้าน - เพลงกล่อมเด็ก - บทร้องเล่นในท้องถิ่น - ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น - ภาษาถิ่น 3.3 แบ่งกลุ่มตามความสนใจเพื่อร่วมวางแผนในการจัดทาโครงงานตามกรอบที่กาหนด 3.4 ดาเนินการจัดทาโครงงาน 3.5 นาเสนอและร่วมประเมินโครงงาน 4. ประเมินโครงการ 5. รายงานสรุปผล 5. งบประมาณ จานวน 30,000 บาท 6. การวัดผลประเมินผล ตัวชี้วัดของโครงการ 6.1 ด้านปริมาณ 6.1.1 นักเรียนโรงเรียนวัดบ้านสวนทุกคนมีความรู้ ความเข้าใจ ความภาคภูมิใจเกี่ยวกับ บริบทของชุมชน 6.1.2 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 ทุกคน ได้รับการส่งเสริมทักษะกระบวนการคิดใน รูปแบบของการทาโครงงาน 6.1.3 นักเรียนโรงเรียนวัดบ้านสวนทุกคน เกิดจิตสานึกรักความเป็นท้องถิ่นของตนเอง 6.2 ด้านคุณภาพ 6.2.1 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 ทุกคนเกิดการเรียนรู้ความเป็นท้องถิ่น โดยใช้ ทักษะกระบวนการคิดในรูปแบบโครงงาน 6.2.2 นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะกระบวนการกลุ่ม และการนาเสนอ
17 7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 7.1 นักเรียนมีทักษะกระบวนการคิด ที่สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน 7.2 นักเรียนมีความรัก ความภูมิใจในความเป็นท้องถิ่นของตนเอง 7.3 โรงเรียนได้สาระท้องถิ่นเพื่อนาไปพัฒนาหลักสูตร
โครงการสืบค้นกฎกติกา กีฬาพื้นบ้าน 1. หลักการ/เหตุผล กีฬาเป็นยาวิเศษ จากคากล่าวนี้เป็นข้อเท็จจริง สังเกตเห็นได้จากคนที่ชอบเล่นกีฬาจะทาให้ มีร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง สุขภาพดี เมื่อคนเรามีสุขภาพดีร่างกายแข็งแรงก็จะทาให้มีจิตใจที่แจ่มใส ร่าเริง มีความสุข ไม่ค่อยมีโรคภัยไข้เจ็บ เท่ากับคนที่ไม่ชอบเล่นกีฬาแล้วจะสังเกตเห็นว่าคนที่ไม่เล่นกีฬา ร่างกายจะอ่อนแอกว่าคนที่ชอบเล่นกีฬา เหมือนกับคากล่าวที่ว่า จิตแจ่มใสอยู่ในร่างกายที่สมบูรณ์ แข็งแรง การกีฬาช่วยสร้างความสัมพันธ์ คนที่เล่นกีฬาจะมีการพบเพื่อนทาให้เป็นคนที่มีสัมพันธ์ไมตริดี นอกจากนั้นแล้วการเล่นกีฬายังเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ช่วยลดปัญหาในเรื่องสิ่งเสพติดและ อบายมุขต่างๆ ได้ การจัดการศึกษาในปัจจุบัน มีหลักการที่สาคัญคือจะต้องให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมใน การจัดการศึกษา ซึ่งสื่อกลางที่สาคัญและเครื่องมือในการเข้ามามีส่วนร่วมชองชุมชนครั้งนี้คือการกีฬา โรงเรียนวัดบ้านสวนจึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อให้นักเรียนผู้ปกครองและองค์กรชุมชน มีความรู้ความข้าใจวิธีการเล่นกีฬาสากล และกีฬาพื้นบ้าน 2.2 เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครองและ องค์กรชุมชนมี่ทักษะในการเล่นกีฬาสากลและ กีฬาพื้นบ้าน
18 3. เป้าหมาย 3.1 เชิงปริมาณ 3.1.1 นักเรียน ผู้ปกครอง และองค์กรชุมชนในเขตบริการเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 3.1.2. จัดอบรมให้ความรู้วิธีการเล่น กฎ กติกา กีฬาและกีฬาพื้นบ้าน 7 ประเภท 3.1.3 จัดการแข่งขันกีฬาและกีฬาพื้นบ้าน 1 ครั้ง 3.2 เชิงคุณภาพ 3.2.1 นักเรียน ผู้ปกครองและองค์กรในชุมชน เล่นกีฬาได้ถูกต้องตามกฎกติกา 3.2.2 นักเรียน ผู้ปกครองและองค์กรในชุมชนมีนิสัยรักกีฬาสุขภาพอนามัยสมบูรณ์ แข็งแรง 4. กิจกรรม/ขั้นตอน 4.1 ประชาสัมพันธ์ให้นักเรียนที่สนใจ 4.2 จัดประชุมนักเรียน ผู้ปกครอง และองค์กรชุมชนผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เพื่อเลือกชนิด กีฬา และวางแผนการดาเนินงาน 4.3 ประสานงานวิทยากร 4.4 จัดอบรมให้ความรู้วิธีการเล่นกีฬาและกีฬาพื้นบ้าน รวมทั้งกฎ กฏิกา การแข่งขัน 4.5 ทดสอบความรู้ความเข้าใจ 4.6 จัดการแข่งขันกีฬาและกีฬาพื้นบ้าน 4.7 ประเมินผล 4.8 รายงานผล 5. งบประมาณ จานวน 60,000 บาท 6. การวัดผลประเมินผล ตัวชี้วัดของโครงการ ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ วิธีการวัด 1.นักเรียน ผู้ปกครองและ องค์กรชุมชน ทดสอบ รู้ วิ ธี เ ล่ น กฎ กติ ก า กี ฬ าและกี ฬ า พื้นบ้าน 2. นัก เรี ย น ผู้ ป กครองและ องค์ ก ร จัดการแข่งขัน ชุมชน เล่นกีฬาได้ถูกต้องตามกฏิกา 3. จ านวน นัก เรี ย น ผู้ ป กครองและ สังเกต , ตรวจสอบ องค์กรในชุมชนรักการออกกาลังกาย
เครื่องมือที่ใช้ แบบทดสอบ
การจัดการแข่งขัน แบบบันทึก
19 7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 7.1 เกิดความสามัคคีให้เกิดขึ้นในหมู่คณะ 7.2 เกิดความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันระหว่างโรงเรียนกับชุมชน 7.3 นักเรียน ผู้ปกครอง องค์กรชุมชน มีสุขภาวะและคุณภาพชีวิต
ส่วนที่ 3 การบริหารจัดการ / ดาเนินการ การบริหารด้านบุคลากร โรงเรียนวัดบ้านสวน ได้ดาเนินการด้านการบริหารจัดการ โดยการกาหนดบุคคลทั้งบุคลากรใน โรงเรียน และบุคคลภายนอกที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดาเนินโครงการ ประสานงานเชิญประชุมร่วมกัน เพื่อวางแผน แล้วทาประกาศโรงเรียนวัดบ้านสวน เรื่องแต่งตั้งคณะทางานระดับโครงการนาร่องการจัด การศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน เพื่อสุขภาวะคนไทย และคาสั่งโรงเรียนวัดวัดบ้าน เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานโครงการ เพื่อมอบหมายหน้าที่และความรับผิดชอบ โดยแบ่งเป็นฝ่าย ต่าง ๆ ได้แก่ 1. คณะทางานระดับโครงการ คณะที่ปรึกษาซึ่งประกอบด้วยเจ้าอาวาสวัดบ้านสวน นายก องค์การบริหารส่วนตาบลควนมะพร้าว ประธานกรรมการวัดบ้านสวน นายกสมาคมศิษย์เก่าโรงเรียน วัดบ้านสวน ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 7 , 10 , 11 , 12 , 13 และ 15 ตาบลควนมะพร้าว กานันตาบลควนมะพร้าว 2. คณะกรรมการอานวยการ ซึ่งประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา ตัวแทนครู ตัวแทน ผู้ปกครอง ตัวแทนองค์กรในชุมชน ตัวแทนศิษย์เก่า ตัวแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตัวแทน องค์กรศาสนา 3. คณะกรรมการดาเนินงานโครงการต่าง ๆ ทั้ง 4 โครงการ การบริหารด้านวิชาการ โครงการได้กาหนดการเรียนรู้ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีวิธีการเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น มี วิทยากรที่มีความรู้ความสามารถ ให้ความรู้กับนักเรียน มีการฝึกปฏิบัติเพื่อผู้เรียนมีทักษะความชานาญ มีการเน้นทักษะกระบวนการคิดในรูปแบบของโครงงาน สืบค้นข้อมูลจากภูมิปัญญา ปราชญ์ชาวบ้าน และการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน ในการร่วมจัดกิจกรรมการเรียนรู้ขององค์กรต่าง ๆ ในชุมชน นอกจากนี้ ได้จัดทาหลักสูตรท้องถิ่นในโครงการสร้างความสามัคคีด้วยดนตรีอังกะลุง และ โครงการปลูกจิตสานึกรักบ้านเกิด ด้วยวัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่น เพื่อนาไปใช้ในการจัดการศึกษา ในปีการศึกษาต่อไป ซึ่งนักเรียนแต่ละกลุ่มที่ได้เรียนรู้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เกิดทักษะ สามารถ นาไปใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวันได้
21 การนิเทศ ติดตาม ประเมินผล 1. การนิเทศภายใน โรงเรียนได้ดาเนินการติดตามการดาเนินงานโครงการ โดยได้กาหนดกิจกรรมการนิเทศ ภายใน จัดทาปฏิทินการนิเทศ ซึ่งสอดคล้องกับกาหนดเวลาการส่งรายงานและการเบิกจ่ายเงินงวด และ ได้มอบหมายผู้รับผิดชอบในการนิเทศ และให้รายงานความก้าวหน้า / ผลการดาเนินงานต่อผู้บริหาร สถานศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 1 และ คณะทางาน ปศท.2 ตาม แผนการรายงาน 2. การนิเทศ ติดตามจากเขตพื้นที่การศึกษา องค์กรวิชาการระดับภาค องค์กรอานวยการวิชาการ กลาง 2.1 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุงเขต 1 ได้ดาเนินการนิเทศติดตามผล การดาเนินงานของโครงการ โดยใช้วิธีการติดตามมายังโรงเรียน การรายงานผ่านระบบหนังสือราชการ การเชิญประชุม ณ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 1 และได้รับความช่วยเหลือจาก ผู้นิเทศ โดยการนาของนายประจวบ หนูเลี่ยง รองผู้อานวยการสานักเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา พัทลุง เขต 1 และคณะ ซึ่งคณะนิเทศได้ให้ความรู้ และความช่วยเหลือในการดาเนินงานโครงการ เป็นอย่างดี 2.2 องค์กรวิชาการระดับภาค และองค์กรอานวยการวิชาการกลาง โดยการนาของ ดร.พิณสุดา สิริธรังศรี ผู้อานวยการศูนย์วิจัยและฝึกอบรมทางการศึกษา วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาธุรกิจบัณฑิต ผู้จัดการโครงการ และนายประเสริฐ แก้วเพชร อดีตรองเลขาธิการ คณะกรรมการ การอาชีวศึกษา คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิโครงการ และคณะ ได้นิเทศ ติดตามการดาเนินงานโครงการ จานวน 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ณ โรงเรียนวัดบ้านสวน เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 และ ครั้งที่ 2 ณ โรงเรียนวัดระหว่างควน เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ.2554 โดยคณะนิเทศได้เสนอแนะแนวทาง ในการดาเนินงานโครงการ และชื่นชมการดาเนินงานโครงการของโรงเรียน 2.3 การประเมินผล โรงเรียนได้ดาเนินการประเมินผลโครงการ โดยใช้แบบสอบถามความพึง พอใจในการดาเนินงานของโครงการทุกโครงการ โดยให้ผู้เกี่ยวข้องได้แก่ ครู นักเรียน ผู้ปกครอง องค์กรต่าง ๆ ในชุมชน เป็นผู้ตอบแบบสอบ โดยมีผลการประเมินความพึงพอใจอยู่ในระดับดี โดยมี คะแนนเฉลี่ย 4.35 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.89 การบริหารด้านเทคโนโลยีและการสื่อสาร โรงเรียนได้นาเทคโนโลยี และการสื่อสารมาใช้ในดาเนินงานโครงการ ได้แก่ การประชาสัมพันธ์ โครงการ โดยการประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บไซต์ของเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 1 การจัดทาแผ่นพับ การทาวีดีทัศน์นาเสนอผลการดาเนินงานโครงการต่าง ๆ การรายงานผลการ ดาเนินงานโครงการผ่านระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
22 การระดมทรัพยากรและการมีส่วนร่วมขององค์กร/ชุมชน โรงเรียนวัดบ้านสวนได้ระดมทรัพยากร และการมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน ทุกขั้นตอนใน การดาเนินงานโครงการ ตั้งแต่ขั้นตอนการทาประชาคมเพื่อกาหนดโครงการ โดยเชิญตัวแทนของ องค์กรต่าง ๆ ในตาบลควนมะพร้าวเข้าร่วมประชุมเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2554 โดยได้ร่วมกันกาหนด โครงการทั้งหมด 4 โครงการ ได้แก่ โครงการสร้างความสามัคคี ด้วยดนตรีอังกะลุง โครงการ ปลูกจิตสานึกรักบ้านเกิดด้วยวัฒนธรรมและประเพณีวัฒนธรรม โครงการส่งเสริมกระบวนการคิด ด้วยจิตสานึกรักชุมชน และโครงการสืบค้นกฎกติกากีฬาพื้นบ้าน องค์กรที่เกี่ยวข้อง ได้เข้ามามีส่วนร่วม ในการวางแผนการดาเนินงาน การดาเนินงาน และการประเมินโครงการ โดยได้รับความร่วมมือด้วยดี และ ได้รับสนับสนุนด้านวิทยากร ภูมิปัญญาท้องถิ่น และงบประมาณจากชุมชน ทาให้โครงการต่าง ๆ สาเร็จตามจุดประสงค์ของโครงการ
ส่วนที่ 4 เครือข่ายการดาเนินงานและความร่วมมือ การดาเนินงานตามโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน เพื่อสุข ภาวะคนไทย (ปศท.2) ของโรงเรียนวัดบ้านสวน ได้ดาเนินการในรูปแบบของเครือข่าย โดยมีเครือข่าย ต่าง ๆ ดังนี้ เครือข่ายครอบครัว เป็นการสร้างความเข้าใจระหว่าง พ่อ แม่ ลูก ในการร่วมกิจกรรมของโครงการที่กาหนด โดย สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครอบครัว โดยการร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ เกิดเป็นความรักความผูกพัน ในครอบครัว มีการประสานความเข้าใจระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครอง ทาให้ลดปัญญาพฤติกรรมที่ ไม่พึงประสงค์ของลูก ทาให้ครอบครัวมีความสุข โดยเครือข่ายครอบครัวได้เข้ามามีส่วนร่วมใน โครงการตั้งแต่การทาประชาคม เพื่อกาหนดโครงการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน การวางแผนในการดาเนินโครงการ และการดาเนินงานโครงการต่างๆ ดังนี้ โครงการสร้างความสามัคคี ด้วยดนตรีอังกะลุง เครือข่ายครอบครัวได้สนับสนุนให้บุตรหลาน ได้ฝึกซ้อมอังกะลุงตามตารางเวลา โดยช่วย รับ – ส่ง บุตรหลานในการฝึกซ้อม และการแสดงดนตรี อังกะลุง โครงการปลูกจิตสานึกรักบ้านเกิด ด้วยวัฒนธรรม และประเพณีท้องถิ่น เครือข่ายครอบครัวได้มี ส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมวันสารทเดือนสิบ แต่ละครอบครัวร่วมกันทาขนมเดือนสิบ ร่วมกันจัด หมฺรับ และร่วมกันทาบุญที่วัดเพื่ออุทิศส่วนบุญส่วนกุศลให้แก่บรรพบุรุษ และถือเป็นวันรวมญาติ พี่น้องของครอบครัว โครงการส่งเสริมกระบวนการคิด ด้วยจิตสานึกรักชุมชน เครือข่ายครอบครัวได้ให้ข้อมูล เกี่ยวกับภูมิปัญญาในท้องถิ่น ในเรื่องต่าง ๆ เช่น สถานที่สาคัญ บุคคลสาคัญ นิทานพื้นบ้าน กลุ่มมวลชน ภาษาถิ่น บทร้องเล่น วัฒนธรรมท้องถิ่น เพลงกล่อมเด็ก และเข้ามาเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการให้ความรู้แก่นักเรียน โครงการสืบค้น กฎ กติกากีฬาพื้นบ้าน เครือข่ายครอบครัวได้เข้าร่วมแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน ได้แก่ กีฬาต้อหมากลากเมีย พ่อแม่ลูกวิ่งผลัด ชักเย่อ วิ่งกระสอบ ปิดตาตีหม้อ และ เดินกะลา นอกจากนี้ยัง ได้มีส่วนร่วมในการจัดเตรียมสนาม เข้าร่วมขบวนพาเหรด กองเชียร์ และร่วมสนับสนุนงบประมาณใน การจัดกิจกรรมแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน
24 จากการดาเนินโครงการ ทาให้เครือข่ายครอบครัวมีความพึงพอใจต่อ การดาเนินงานของ โรงเรียน ดังความเห็นของผู้ปกครอง ตอนประชุมผู้เกี่ยวข้อง ดังนี้ นายนิทัศน์ ศรีทองแก้ว ตัวแทนผู้ปกครองนักเรียน กล่าวว่า : “ในฐานะของผู้ปกครอง นักเรียนคือเด็กชายคเณศ ศรีทองแก้ว นักดนตรีวงอังกะลุงของโรงเรียนวัดบ้านสวน ตอนแรกที่ลูกบอก ว่าสมัครเล่นดนตรีอังกะลุงของโรงเรียน ก็ไม่เข้าใจว่าดนตรีอังกะลุงเป็นอย่างไร เขาเล่นกันอย่างไร ซึ่ง ทางวิทยากรจะซ้อมให้นักเรียนในวันเสาร์-อาทิตย์ ตั้งแต่ 09.00 น. – 12.00 น. ผมก็ไปส่งและรับลูกทุกวัน บางครั้งก็เข้าไปดูการฝึกซ้อม จนเห็นและเข้าใจดนตรีอังกะลุง เห็นถึงความไพเราะ เห็นความสามัคคีที่ เกิดขึ้นจากการบรรเลงดนตรีชนิดนี้ เกิดความภาคภูมิใจที่ได้เห็นลูกๆไปบรรเลงดนตรีอังกะลุงในงาน ต่างๆของชุมชน ซึ่งเมื่อได้ยินชาวบ้านถามว่าลูกใครเล่นเก่งจัง ก็แอบยิ้มและภูมิใจ ที่สาคัญลูกผมได้ใช้ เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เลิกติดเกมคอมพิวเตอร์ ซึ่งปกติในวันเสาร์ – อาทิตย์ ลูกผมมักจะอยู่กับร้านเกม ผมดีใจที่มีโครงการดีๆ ที่สามารถฝึกลูกๆได้หลายๆด้าน ผมยินดีที่จะให้ความร่วมมือกับทางโรงเรียน ในทุกด้าน ขอบคุณครับ” นายจรัล ชูรักษ์ นายกองค์การบริหารส่วนตาบลควนมะพร้าว กล่าวว่า : “การทาบุญ วันสารทเดือนสิบ ถือเป็นประเพณีที่เก่าแก่และเป็นประเพณีอันดีงามที่บรรพบุรุษของเราได้อนุรักษ์ไว้ และสืบทอดมาตั้งแต่โบราณจนถึงปัจจุบัน ทุกปีในช่วงเทศกาลวันสารทเดือนสิบ พี่น้องที่เป็น พุทธศาสนิกชนจะร่วมกันทาบุญเพื่ออุทิศส่วนบุญส่วนกุศลให้แก่บรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว หากทา ความดีเมื่อครั้งมีชีวิตอยู่ก็จะไปเกิดบนสวรรค์ หากทาความชั่วจะตกนรกกลายเป็นเปรตอยู่ในอเวจี ต้องอาศัยผลบุญที่ลูกหลานอุทิศไปให้ในแต่ละปีเป็นการยังชีพ ดังนั้นในวันแรม 1 ค่า เดือน 10 คนบาป ทั้งหลายที่เรียกว่าเปรต จึงถูกปล่อยตัวกลับมายังโลกมนุษย์ เพื่อมาขอส่วนบุญจากลูกหลายแล้วจะกลับไป นรกในวันแรม 15 ค่า เดือน 10 ซึ่งความเชื่ออย่างนี้ ทาให้พุทธศาสนิกชนทุกคนได้ถือปฏิบัติและทากันมา เป็นประเพณีทุกปี” เครือข่ายชุมชน สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน บุคคลในชุมชนให้ความร่วมมือ และเข้ามามี ส่วนร่วม ในการจัดกิจกรรมตามโครงการ มีการปฏิสัมพันธ์กับคนในชุมชน เกิดความรัก ความสามัคคี ทาให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง นาไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยเครือข่ายชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการ ดาเนินโครงการ ดังนี้ โครงการสร้างความสามัคคีด้วยดนตรีอังกะลุง เครือข่ายชุมชนได้ให้โอกาสนาวงดนตรีอังกะลุง ของโรงเรียนเข้าร่วมแสดงในงานต่าง ๆ เช่น งานทอดกฐิน งานแต่งงาน งานวันสารทเดือนสิบ วันลอยกระทง ตลอดจนงานฌาปนกิจศพ เป็นต้น โครงการปลูกจิตสานึกรักบ้านเกิด ด้วยวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น เครือข่ายชุมชนได้เข้าร่วม กิจกรรมแห่หมฺรับ ชมขบวนแห่หมฺรับ และร่วมทาบุญในงานวันสารทเดือนสิบของวัดบ้านสวน
25 โครงการส่งเสริมกระบวนการคิด ด้วยจิตสานึกรักชุมชน เครือข่ายชุมชนได้ให้ความร่วมมือใน การวางแผนการสัมภาษณ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ณ ศาลาอเนกประสงค์ของหมู่บ้าน และเข้าร่วมชมการนาเสนอสรุปผลการดาเนินโครงงาน โครงการสืบค้น กฎ กติกากีฬาพื้นบ้าน เครือข่ายชุมชนได้สนับสนุนวิทยากร ได้แก่ นายดิเรก ปลื้มสงวน นายประหยัด ไชยทองรักษ์ นายบุญคล่อง ไชยศรี ให้ความรู้ในเรื่องกฎ กติกา กีฬาพื้นบ้าน ในการจัดอบรมแก่นักเรียน สถาบันศาสนา เป็นศูนย์ร่วมด้านจิตใจของคนในสังคม ในการพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม ก่อให้เกิดความ ศรัทธา และเลื่อมใสในสถาบันศาสนา ส่งเสริมให้นักเรียนเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นเยาวชนที่ ดีของสังคม สืบทอดและดารงไว้ซึ่งประเพณีอันดีงามของชุมชน โดยสถาบันศาสนาได้เข้ามามีส่วนร่วม ในโครงการ ดังนี้ โครงการสร้างความสามัคคี ด้วยดนตรีอังกะลุง สถาบันศาสนาได้ให้โอกาสกับวงดนตรีอังกะลุง ในการเข้าร่วมแสดงในกิจกรรมสาคัญทางศาสนา ที่ทางวัดได้จัดขึ้น เช่น การทอดกฐิน การทอดผ้าป่า การแห่เทียนพรรษา วันสารทเดือนสิบ เป็นต้น โครงการปลูกจิตสานึกรักบ้านเกิด ด้วยวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น วัดบ้านสวนได้ให้โอกาส นักเรียน ชุมชนได้เข้าร่วมกิจกรรมลานบุญลานปัญญา เช่น กิจกรรมหล่อเทียนพรรษา แห่เทียนพรรษา และนาเทียนพรรษาไปถวายวัดต่าง ๆ เช่น วัดจินตาวาส วัดประจิมทิศาราม วัดประดู่ทอง วัดโพธิ์ และ วัดควนแร่ กิจกรรมบรรพชาภาคฤดูร้อน เป็นต้น โครงการส่งเสริมกระบวนการคิด ด้วยจิตสานึกรักชุมชน วัดบ้านสวนได้ให้นักเรียนสืบค้น ข้อมูลบุคคลสาคัญในท้องถิ่น ซึ่งเป็นอดีตเจ้าอาวาสวัดบ้านสวน คือ ท่านพระครูวิจัยโสภณ ท่านเป็น พระนักพัฒนา ซึ่งเป็นที่เคารพศรัทธาของชุมชนบ้านสวน เอกชน/ องค์กรเอกชน องค์กรเอกชนได้ให้ความร่วมมือในการดาเนินกิจกรรมของโครงการต่าง ๆ โดยร่วมสนับสนุน งบประมาณ ได้แก่ บริษัทวิริยะประกันภัย ได้เห็นความสาคัญ และความตั้งใจของนักเรียนในการฝึกซ้อม ดนตรีอังกะลุง จึงได้สนับสนุนงบประมาณในการจัดซื้อเครื่องดนตรีอังกะลุงชุดใหม่ เป็นจานวนเงิน 25,000 บาท และ เทศบาลเมืองสงขลา โดยคุณจิต ทวีตา ประธานสภาเทศบาลเมืองสงขลา ซึ่งเป็นศิษย์ เก่าโรงเรียนวัดบ้านสวน ได้สนับสนุนจานวน จานวน 30,000 บาท นอกจากนี้สถานีโทรทัศน์ ช่อง 11 ได้ร่วมประชาสัมพันธ์โครงการ โดยการถ่ายทอดสดใน รายการ "นกพิราบคาบข่าว" ทาให้ประชาชนทั่วไปได้รับรู้ข่าวสารในการดาเนินงานกิจกรรมของชุมชน บ้านสวน
26 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้เข้ามีส่วนร่วมในการดาเนินงาน ดังนี้ องค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง ได้ให้โอกาสวงดนตรีอังกะลุงของโรงเรียนวัดบ้านสวน ได้แสดงความสามารถในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ประจาปี 2555 ในระดับจังหวัด โดยได้บรรเลง เพลงต้อนรับประธานในพิธี ดร.สมเกียรติ ชอบผล รองเลขาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน และเข้าร่วมการแข่งขันทักษะทางวิชาการ ได้รับรางวัลเหรียญทองในระดับจังหวัด ให้การ สนับสนุนวิทยากร และเป็นกรรมการกีฬาพื้นบ้าน คือ นายอรรถวุฒิ ส่องแก้ว และให้การสนับสนุน ต้นไม้ประกอบการจัดนิทรรศการประชาสัมพันธ์โครงการ ณ โรงเรียนบ้านระหว่างควน องค์กรอื่น องค์กรอื่น ได้ให้การสนับสนุนการดาเนินโครงการ ดังนี้ วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง ให้การสนับสนุนวิทยากรในการฝึกซ้อมการบรรเลงดนตรีอังกะลุง คือ อาจารย์มารศรี เชาวลิต รองผู้อานวยการวิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง และทางวิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง และ ได้นาวงดนตรีอังกะลุงของโรงเรียนเข้าร่วมพิธีไหว้ครูดุริยางคศิลป์ประจาปี 2554 ด้วย สมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนวัดบ้านสวน สนับสนุนงบประมาณในการร่วมกิจกรรมประเพณี วันสารทเดือนสิบ กลุ่มพลังมวลชนได้เข้าร่วมกิจกรรมแห่หมฺรับ ในกิจกรรมวันสารทเดือนสิบตลอดจนได้ให้ ความรู้แก่นักเรียน เกี่ยวกับการดาเนินกิจกรรมของกลุ่ม ส่วนราชการในตาบลควนมะพร้าว ให้ความร่วมมือของกิจกรรมต่าง ๆ ทุกกิจกรรม
ส่วนที่ 5 บทสรุป 1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นของโครงการ นวัตกรรมที่เกิดขึ้นจากการดาเนินโครงการนี้ มีทั้งนวัตกรรมที่เป็นกระบวนการ และนวัตกรรมที่ เป็นสื่อทางด้านการเรียนรู้ ดังนี้ 1.1 นวัตกรรมที่เป็นกระบวนการ ได้แก่ รูปแบบการจัดการศึกษาโดยใช้โครงงานที่อยู่บน พื้นฐานของการร่วมมือของภูมิปัญญาในท้องถิ่น รูปแบบการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรใน ชุมชน รูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมโดยการฝึกปฏิบัติร่วมกับชุมชน รูปแบบการส่งเสริมสมรรถภาพทางกาย และจิตใจ โดยใช้กีฬาพื้นบ้าน 1.2 นวัตกรรมที่เป็นสื่อทางด้านการเรียนรู้ ได้แก่ หลักสูตรท้องถิ่นเรื่องประเพณีแห่หมฺรับ หลักสูตรดนตรีอังกะลุง เครื่องดนตรีและวงดนตรีอังกะลุง อุปกรณ์ในการใช้แข่งขันกีฬาพื้นบ้าน เอกสารประกอบเกี่ยวกับเรื่องกฎ กติกา กีฬาพื้นบ้าน 2. ผลผลิต ผลลัพธ์ และความภาคภูมิใจที่เกิดขึ้นของโครงการ การดาเนินงานตามโครงการทาให้เกิดผลผลิต ผลลัพธ์ และความภาคภูมิใจ ดังนี้ 2.1 บุคคลในชุมชนมีสุขภาพกายแข็งแรง และมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น 2.2 ผู้เรียนในวัยเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 2.3 ผู้เรียน และบุคคลในชุมชนมีทักษะชีวิต ทักษะกระบวนการคิด ทักษะกระบวนการทางาน กลุ่ม และทักษะกระบวนการในการแก้ปัญหา ที่สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ 2.4 ผู้เรียนได้เรียนรู้การแก้ไขปัญหาการทางานและการอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข 2.5 โรงเรียนมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมการเรียนรู้ ที่เน้นการมีส่วนร่วมขององค์กร ในชุมชน 2.6 โรงเรียนมีหลักสูตรและสื่อการเรียนรู้สอดคล้องกับประเภทการเรียนรู้ 2.7 โรงเรียนมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างองค์กรที่จัดการศึกษาในชุมชนและนอกชุมชน โดยการจัดทาสื่อประชาสัมพันธ์ และจัดเวทีเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับองค์กรต่าง ๆ ในชุมชน และนอก ชุมชน 2.8 องค์กรในชุมชนมีความร่วมมือในการจัดการศึกษา เกิดเป็นเครือข่ายการดาเนินงานที่มี ความเข้มแข็ง 2.9 ชุมชนมีความพึงพอใจในการจัดการศึกษาของโรงเรียน 2.10 ผู้เรียน ครู ผู้ปกครอง ชุมชน มีความภาคภูมิใจในการผลการจัดการศึกษาของโรงเรียน ที่เน้นการมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน
28 3. จุดอ่อนของโครงการ ไม่มี 4. ข้อจากัดของโครงการ 4.1 โรงเรียนมีพื้นที่สนามจากัด ทาให้มีปัญหาต่อการจัดการแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน 4.2 เครื่องดนตรีอังกะลุงชารุด ไม่สามารถซ่อมบารุง ต้องใช้งบประมาณในการจัดซื้อเพิ่มเติม เนื่องจาก ศูนย์ซ่อมอังกะลุงไม่อยู่ในพื้นที่ ต้องส่งซ่อมกรุงเทพฯ 5. ปัญหา อุปสรรค แก้ปัญหาและการพัฒนา การดาเนินโครงการในครั้งนี้ มีปัญหา อุปสรรค ดังนี้ 5.1โครงการบางโครงการมีกิจกรรมที่ต้องดาเนินกลางแจ้ง เช่น กิจกรรมการแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน เป็นต้น แต่สภาพอากาศไม่เอื้ออานวยในการจัดกิจกรรม มีฝนตกทาให้สภาพสนามไม่พร้อมในการจัด กิจกรรม ทาให้การดาเนินงานของโครงการไม่เป็นไปตามปฏิทินที่กาหนดไว้ แนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าว ควรมีการวางแผนการดาเนิน โดยคานึงถึงสภาพอากาศด้วย 5.2 งบประมาณในการดาเนินงานไม่เพียงพอ เนื่องจากมีรายจ่ายที่เพิ่มขึ้นจากที่กาหนดไว้ใน โครงการ แนวทางแก้ไข ของบประมาณสนับสนุนจากองค์กรในชุมชนเพิ่มเติม 5.3 บุคลากรที่เข้าร่วมโครงการมีจานวนมาก แต่ละคนจะมีภารกิจ ทาให้มีปัญหาในด้านเวลา ในการปฏิบัติงานโครงการตามที่กาหนดไว้ แนวทางแก้ไข ควรแจ้งปฏิทินการปฏิบัติงานตั้งแต่เริ่มโครงการให้ทุกฝ่ายรับทราบ เพื่อให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องได้บริหารเวลาของตนเอง และใช้รูปแบบการประสานงานที่หลากหลาย 6. ข้อเสนอแนะ 6.1 การจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมต้องอาศัยความร่วมมือจากองค์กรในท้องถิ่น ดังนั้นจึง จาเป็นต้องทาความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาท และหน้าที่ขององค์กรต่าง ๆ ที่เข้าร่วมให้ชัดเจน 6.2 เนื่องจากเป็นโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน จึงควร ดาเนินการอย่างต่อเนื่องและทั่วถึง
ภาคผนวก .
ผู้รับผิดชอบโครงการ โครงการสร้างความสามัคคีด้วยดนตรีอังกะลุง 1. นางอรอนงค์ หนูรัตแก้ว 2. นางสาวปิยรัตน์ ชายจันทร์ โครงการปลูกจิตสานึกรักบ้านเกิดด้วยวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น 1. นางปรานี หนูเลี่ยง 2. นางเบญจมา ไชยศร โครงการส่งเสริมกระบวนการคิด ด้วยจิตสานึกรักชุมชน 1. นางพิกุล มณีนิล 2. นายวินิตย์ ไชยทองรักษ์ โครงการสืบค้นกฎกติกา กีฬาพื้นบ้าน 1. นายสมมิตร ทองไซร้ 2. นางประภาพรรณ หนูแสง
ประกาศโรงเรียนวัดบ้านสวน เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมทางานดาเนินการโครงการ .......................................................... ด้วยสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส) มีเจตนารมณ์และวิสัยทัศน์สาคัญ ในการสร้า งเสริมสุข ภาพทั้ ง ด้า นกาย จิต สังคมและสติปัญญา ในอันที่จะนาพาคนไทยเป็นบุคคลที่ สมบู รณ์ และเพีย บพร้อม และดารงชีวิตได้อย่ างมีความสุข และได้จัดให้มีโครงการนาร่องการจัด การศึกษาแบบมี ส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนกับสุขภาวะคนไทยขึ้น และพิจารณาเห็นว่าโรงเรียนวัด บ้านสวนมีความพร้อมที่จะดาเนินโครงการ จึงได้คัดเลือกเข้าร่วมโครงการดังกล่าว เพื่อให้การดาเนิน โครงการเป็ น ไปตามวัต ถุป ระสงค์ เป้าหมาย และแนวการบริห ารโครงการ จึง แต่ง ตั้งคณะท างาน โครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย โรงเรียนวัด บ้านสวน ดังต่อไปนี้ 1. คณะทางาน 1.1 นายวีระศักดิ์ เนียมสวัสดิ์ ผู้อานวยการโรงเรียนวัดบ้านสวน ประธานคณะทางาน 1.2 นายประสพ พัฒนพงศ์ ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา รองประธานคณะทางาน 1.3 นายบุญคล่อง ไชยศรี กรรมการสถานศึกษา คณะทางาน 1.4 นายสุเมธชัย คงฉิม กรรมการสถานศึกษา คณะทางาน 1.5 นายสมบูรณ์ โรจนรัตน์ กรรมการสถานศึกษา คณะทางาน 1.6 นายจานง เศวตโสธร กรรมการสถานศึกษา คณะทางาน 1.7 นายธีรพล ศิลป์ภูศักดิ์ รองผู้อานวยการสถานศึกษา คณะทางาน 1.8 นายสมมิตร ทองไซร้ กรรมการสถานศึกษา คณะทางานและเลขานุการ 1.9 นางวรรดี จันทวงศ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะทางานและผู้ช่วยเลขานุการ 2. คณะที่ปรึกษา 2.1 พระครูกวีวราภรณ์ 2.2 นายจรัล ชูรักษ์ 2.3 นายวิรัตน์ ชูรักษ์ 2.4 นายวินิต บุณยะวันตัง 2.5 นายบุญฤทธิ์ ชุมช่วย
เจ้าอาวาสวัดบ้านสวน นายกองค์การบริหารส่วนตาบลควนมะพร้าว ประธานกรรมการวัดบ้านสวน นายกสมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนวัดบ้านสวน ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 7 ตาบลควนมะพร้าว
2.6 นายชัยจรงค์ ฤทธิสุนทร 2.7 นายบุญโรจน์ ชูภักดี 2.8 นายจิต สิงหะพล 2.9 นายบุญให้ ชูช่อ 2.10 นายสมศักดิ์ ทองใส 2.11 นายอุดมพร ทองแดง
ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 10 ตาบลควนมะพร้าว ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 11 ตาบลควนมะพร้าว ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 12 ตาบลควนมะพร้าว ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 13 ตาบลควนมะพร้าว ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 15 ตาบลควนมะพร้าว กานันตาบลควนมะพร้าว
ขอให้คณะกรรมการตามประกาศ ได้ศึกษารายละเอียดและแนวทางการดาเนินงานโครงการ พร้อมทั้งร่วมดาเนินงาน เพื่อให้โครงการสัมฤทธิ์ผลทุกประการ ประกาศ ณ วันที่ 10 เดือนเมษายน พ.ศ. 2554
(นายวีระศักดิ์ เนียมสวัสดิ์) ผู้อานวยการโรงเรียนวัดบ้านสวน
คาสั่งโรงเรียนวัดบ้านสวน ที่ 29/2554 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กร ในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย (ปศท.2) -------------------------------------------------ตามที่โรงเรียนวัดบ้านสวนได้เข้าร่วมโครงการนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของ องค์กรในชุมชนเพื่อสุขภาวะคนไทย และได้ดาเนินการแต่งตั้งคระทางาน และคณะที่ปรึกษาในการ ดาเนินงานตามโครงการดังกล่าว โดยได้ดาเนินการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์สภาพปัญหา และประเมิน ศักยภาพของโรงเรียน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและองค์กรในชุมชน และได้กาหนดโครงการ ทั้งหมด 4 โครงการ ดังนั้น เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปตามกิจกรรมของโครงการ จึงขอแต่งตั้ง คณะกรรมการดาเนินงาน ดังนี้ 1. คณะกรรมการอานวยการ มีหน้าที่อานวยความสะดวก จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ให้คาปรึกษา แนะนาแก่คณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ ดาเนินงานด้วยความเรียบร้อย ประกอบด้วย 1.1 นายวีระศักดิ์ เนียมสวัสดิ์ ประธานกรรมการ 1.2 นายประสพ พัฒนพงศ์ รองประธานกรรมการ 1.3 นายบุญคล่อง ไชยศรี กรรมการ 1.4 นายสุเมธชัย คงฉิม กรรมการ 1.5 นายสมบูรณ์ โรจนรัตน์ กรรมการ 1.6 นายจานง เศวตโสธร กรรมการ 1.7 นายธีรพล ศิลป์ภูศักดิ์ กรรมการ 1.8 นายสมมิตร ทองไซร้ กรรมการและเลขานุการ 1.9 นางวรรดี จันทวงศ์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 2. คณะกรรมการดาเนินงานโครงการสร้างความสามัคคีด้วยดนตรีอังกะลุง มีหน้าที่ดาเนินงาน ตามกิจกรรมที่ได้กาหนดไว้ในโครงการสร้างความสามัคคีด้วยดนตรีอังกะลุง ประกอบด้วย 2.1 นางอรอนงค์ หนูรัตแก้ว ประธานกรรมการ 2.2 นางถนอมจิตต์ ทิพยโสธร กรรมการ 2.3 นางสาวปิยรัตน์ ชายจันทร์ กรรมการ 2.4 นางอนงค์ วิเวกอรุณ กรรมการและเลขานุการ
3. คณะกรรมการดาเนินงานโครงการปลูกจิตสานึกรักบ้านเกิดด้วยวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น มีหน้าที่ดาเนินงานตามกิจกรรมที่ได้กาหนดไว้ในโครงการปลูกจิตสานึกรักบ้านเกิดด้วยวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น ประกอบด้วย 3.1 นางปรานี หนูเลี่ยง ประธานกรรมการ 3.2 นางประภาพรรณ หนูแสง กรรมการ 3.3 นางสาวปิยรัตน์ ชายจันทร์ กรรมการ 3.4 นางเบญจมา ไชยศร กรรมการและเลขานุการ 4. คณะกรรมการดาเนินงานโครงการส่งเสริมกระบวนการคิด ด้วยจิตสานึกรักชุมชน มีหน้าที่ ดาเนินงานตามกิจกรรมที่ได้กาหนดไว้ในโครงการส่งเสริมกระบวนการคิด ด้วยจิตสานึกรักชุมชน ประกอบด้วย 4.1 นางพิกุล มณีนิล ประธานกรรมการ 4.2 นางถนอมจิตต์ ทิพยโสธร กรรมการ 4.3 นางเบญจมา ไชยศร กรรมการ 4.4 นายวินิตย์ ไชยทองรักษ์ กรรมการและเลขานุการ 5. คณะกรรมการดาเนินงานโครงการส่งเสริมกระบวนการคิด ด้วยจิตสานึกรักชุมชน มีหน้าที่ ดาเนินงานตามกิจกรรมที่ได้กาหนดไว้ในโครงการส่งเสริมกระบวนการคิด ด้วยจิตสานึกรักชุมชน ประกอบด้วย 5.1 นายสมมิตร ทองไซร้ ประธานกรรมการ 5.2 นายนุกูล มาน้อย กรรมการ 5.3 นางปิลันธนา ขุนทอง กรรมการ 5.4 นางสุดจิต รัตนแก้ว กรรมการและเลขานุการ ขอให้คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ สอดคล้องกับ จุดประสงค์ และเป้าหมายของโครงนาร่องการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน เพื่อสุขภาวะคนไทย เป็นสาคัญ สั่ง ณ วันที่ 23 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2554
(นายวีระศักดิ์ เนียมสวัสดิ์) ผู้อานวยการโรงเรียนวัดบ้านสวน
โครงการสร้างความสามัคคี ด้วยดนตรีอังกะลุง วงอังกะลุงบรรเลงงานเปิดโลกการศึกษาสร้างปัญญาเด็กพัทลุง
วงอังกะลุงบรรเลงงานวันสารทเดือนสิบวัดบ้านสวน
วงอังกะลุงบรรเลงงานทอดกฐิน
วงอังกะลุงบรรเลงงานฌาปนกิจศพ
โครงการปลูกจิตสานึกรักบ้านเกิดด้วยวัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่น
หล่อเทียนพรรษา
ถวายเทียนพรรษา
ประเพณีแห่หมฺรับ
โครงการส่งเสริมกระบวนการคิด ด้วยจิตสานึกรักชุมชน
สืบค้นข้อมูลจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
สืบค้นข้อมูลจากกลุ่มพลังมวลชน
สืบค้นข้อมูลจากภูมิปัญญาเพลงกล่อมเด็ก
นักเรียนนาเสนอโครงงาน
โครงการสืบค้นกฎกติกา กีฬาพื้นบ้าน
วิทยากรให้ความรู้เรื่องกฎ กติกา กีฬาพื้นบ้าน
สาธิตการเล่นกีฬาพื้นบ้าน
แข่งขันกีฬาพื้นบ้าน