Showcase Digital Magazine Free download November 2013
Vol.11
Artist Interviews Design Fashion Music Illustration Photography Motion/Film Lifestyle
artist : Tuktunteung
Showcase Digital Magazine Free download
TEAM Editor numpong mudcome Columnist Khatthleeya Srikanta Sukkanok Thongsuk 12091979 Py Indie Campfire Smalllike Graphic designer Smalllike Photographer Khatthleeya Srikanta Sukkanok Thongsuk Smalllike Disc jockey Viewplusplay Dj Boss Arnon Chaiyakham Dj Nook Nick Dj Fangko Dj Tony Jabb
เดินทางมาจะถึงสิน้ ปีแล้วนะครับ ผมดีใจทีเ่ ราได้ พบกันอยู่ ในช่วงเวลาทีผ่ า่ นเหมือนจุดเริม่ ต้นให้ได้ รู้จักกันมากขึ้น งานแสดงจากที่ต่างๆ หลากหลาย บุคคลได้มาพบกัน และเรายังคงเดินทางกันอยู่ เดินทางเพือ่ ให้ได้พบกัน รักคุณ : ) น�ำพงศ์ หมุดค�ำ บรรณาธิการ
////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////
VIEWPLUSMAG www.facebook.com/viewplusmagazine Contact : Tel. 086-194-5747 E-mail : viewplusmag@gmail.com 134/42 Moo.1 Tonpao Sankumphang , Chiang Mai 50130
contents November 2013
vol.11
-evenTSummer Disc Live in BKK เชียงใหม่เมืองดนตรี Acoustic live “SOPER” first solo exhibition -artPeerawayt Krasaesom Bio SICHAYA NOJIT Smile I. Chanya WANIT NEELADANUWONG -musicBurning Sunset Muninn Chicken wings -filmThe Accidentally Love -Writer-
ของส่วนตัว
event event
Summer Disc Live in BKK Summer Over Winter To 22 October 2013 , Play Yard by Studio Bar
BKK our
Photo by Smalllike
event
เชียงใหม่เมืองดนตรี Acoustic live 25 october 2013 Minimal Gallery
Photo by Smalllike
“SOPER” first solo exhibition 26-28 october 2013 Lazy Sunday Party
event
Photo by Smalllike
“Opening Body”
COVER DESIGN BY
Peerawayt Krasaesom
พีรเวทย์ ก
Peera Krasa
กระแสโสม
awayt aesom Bangkok , Thailand Contact :
www.peerawayt.com
“Kissing”
พีรเวทย์ กระแสโสม พี ร เวทย์ กระแสโสม ศิ ล ปิ น ที่ ช อบการท� ำ งานผ่ า นเทคนิ ค และรู ป ลั ก ษณ์ ใหม่ ๆ ตั้ ง แต่ เ ทคนิ ค ช่ ว งแรกๆ วาดเส้ น , คอมพิ ว เตอร์ , ซิ ล ค์ ส กรี น , สี อ ะค ริ ลิ ค หรื อ แม้ แ ต่ ง านอนิ เ มชั่ น โดยใช้ พื้ น ฐานจากอิ ท ธิ พ ลของรู ป ร่ า งรู ป ทรงธรรมชาติ อิ ส ระ ผ่ า นการสร้ า งผลงานสองรู ป แบบหลั ก เน้ น แนวคิ ด ก่ อ นกระบวนการท� ำ งาน และเน้ น กระบวนการท� ำ งานก่ อ นแนวคิ ด ล่ า สุ ด พี ร เวทย์ เ ลื อ กใช้ เ ทคนิ ค สี อ ะคลิ ลิ ค บนกระดาษนิ ต ยสาร ซึ่ ง นิ ย มซื้ อ เก็ บ สะสมไว้ จ ากร้ า นหนั ง สื อ มื อ สอง ด้ ว ยคุ ณ สมบั ติ ก ระดาษมั น วาวคล้ า ย พื้ น ผิ ว สี อ ะคลิ ลิ ค ที่ เ ลื อ กใช้ ตั ว ภาพมี ท ่ า ทางที่ ต ่ อ ยอดเรื่ อ งราวได้ สี ภ าพสด มี มิ ติ ต ่ า งจากกระดาษแบบเดิ ม โดยน� ำ มาสร้ า งผลงานปรุ ง แต่ ง รสใหม่ ผ ่ า น เทคนิ ค , วั ส ดุ , ความคิ ด , จิ ต ใต้ น� ำ นึ ก และอารมณ์ ช ่ ว งขณะนั้ น แสดงให้ เห็ น ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของการแปรสภาพสิ่ ง หนึ่ ง สู ่ สิ่ ง หนึ่ ง ก่ อ เกิ ด ความหมาย ใหม่ ท างทั ศ นศิ ล ป์
“Van Gogh”
Peerawayt Krasaesom
“Secret Smile”
“Muscular”
Peerawayt Krasaesom
“Growing Minds”
“Anatomy Room”
Peerawayt Krasaesom
“Beware of yourself”
“Two”
Peerawayt Krasaesom
“Thinker”
“Insee Daeng (Red Eagle)”
Peerawayt Krasaesom
“Lum Yong”
“Chicken Mom’s”
Peerawayt Krasaesom
“Picasso Young”
“Solo”
Peerawayt Krasaesom
“Street”
“Fruit of the Forest”
Peerawayt Krasaesom
“E-Sarn Fisher”
“Night Way”
Peerawayt Krasaesom
“Queen in Rainbow”
Bi
io Nakhon Ratchasima, Thailand Contact : facebook : Bio .oo
Bio
Bio
Bio
Bio
Bio
Bio
Bio
Bio
Bio
Bio
SICHAYA NOJIT Chiang Mai , Thailand Contact : sichaya-nojit.tumblr.com
WE ARE PUNK Punk teenagers in Chiang Mai which focus on punk ideology and the way they are punk culture into their lives. Visual Style of the picture presented is diptych style it will be concentrated on normal clothing when staying home or working outside which is different from punk style and i will focus on the main character in the set of my punk fashion style set.
SICHAYA NOJIT
SICHAYA NOJIT
SICHAYA NOJIT
SICHAYA NOJIT
Smile I. C
Chanya
Bangkok , Thailand Contact : instagram : Smile107
Smile I. Chanya
Smile I. Chanya
Smile I. Chanya
Smile I. Chanya
Smile I. Chanya
Smile I. Chanya
Smile I. Chanya
วณิชย์ นีล
WANIT NEELADANUWONG
ลดานุวงศ์
WANIT ANUWONG Chiang Mai , Thailand Contact :
jnosize_vazabi@hotmail.com
WANIT NEELADANUWONG
R.i
WAR
Monster
i.P.
WARM
rs Circus
Burning Sunset
music
Burning Sunset วงดนตรีทอี่ ยูภ่ ายใต้สงั กัดของ CMPolyMusic โดย BS เป็นวงร็อคทีม่ สี มาชิกในวงเพียงสองคน โดยมี “แซม พิทกั ษ์ สมสุข” รับหน้าทีร่ อ้ งน�ำ และ “อ๊อฟ ณัฐ นนท์ แสงกระสินธุ”์ รับต�ำแหน่งมือเบส โดยได้เพือ่ นร่วม สังกัดมาช่วยในงานแสดงสดและบันทึกเสียง. การรวมตัว ของ BS เริ่มต้นจากทั้งคู่ได้รู้จักกันที่แผนกดนตรีสากล วิชาการรวมวง วิทยาลัยสารพัดช่างเชียงใหม่และได้รวมวง เล่นดนตรีด้วยกันมาจนถึงทุกวันนี้. ซิงเกิ้ลแรกได้ออกมา ภายใต้ชอื่ ว่า “เป้าหมายมีไว้พงุ่ ชน” เนือ้ หาของเพลงกล่าวถึง การให้กำ� ลังใจคนทีม่ คี วามฝันให้พยายามเดินตามความฝัน ของตนเองต่อไป. ขัน้ ตอนในการท�ำงานเพลงเริม่ จากแซมจะ คิดเนื้อร้องท�ำนองมาบางส่วนต่อจากนั้นจะน�ำมาให้ทีมพี่ๆ producer ในค่ายช่วยขัดเกลาให้ โดยเพลงนีไ้ ด้พโ่ี อแห่งวง Passing An Eye Over และ Poppular มา Produce
ชือ่ วง Burning Sunset หมายถึง “การแผดเผา ของแสงอาทิตย์ยามเย็น” BS ก่อตัง้ วงมาแล้ว 3 ปี โดยโชว์สว่ นใหญ่จะอยูท่ เี่ ชียงใหม่ เล่นเปิดตัวครัง้ แรกทีง่ าน Before Mom’s Day ครัง้ ที่ 1. และ ตอนนี้อยู่ในขั้นตอนการบันทึกเสียงซิงเกิ้ลที่สอง และคาดว่าต้นปีหน้าคงได้ฟงั กันอย่างแน่นอน. ช่องทางการติดตามได้แก่แฟนเพจของ Burning Sunset และ CMPolyMusic
Play Video
Burning Sunset Show Booking : 089 - 2631674 Web : Facebook : Burning Sunset Facebook : CMPolyMusic
Muninn
music
ความเป็นมาของ Muninn เริม่ จากเล่นดนตรี ประจ�ำอยูเ่ ชียงใหม่ ทุกคืนหลังจากกลับมาก็จะฟัง ดนตรีอเิ ลคโทรนิคเบาๆ เป็นการพักหู พอฟังทุก วันๆ ก็ชอบมากขึน้ เรือ่ ยๆ จนเริม่ อยากท�ำเพลง อิเลคโทรนิคของตัวเอง ศึกษาค้นคว้าจนไปรูจ้ กั กับ delicate แล้วก็เริม่ ได้คลุกคลีกบั สิง่ แวดล้อม เหล่านี้จนเป็นชีวิต ปัจจุบันก็เล่นดนตรีอิเลค โทรนิคเป็นหลักไปเลย ส่วนชือ่ “มุนนิ ทร์” เป็นชือ่ จริงของผมเองก่อนเปลี่ยนชื่อเป็น “ธวาทิต” แรงบัลดาลใจของการท�ำดนตรีอเิ ล็กโทรนิค เริม่ จากความต้องการแท้จริงของตัวเอง อยากจะ สร้างบางอย่างทีเ่ ป็นของตัวเองไว้บนโลกนี้ ผมเกิด มากับครอบครัวนักดนตรี มันก็เป็นสิ่งที่ฝันไว้ ตัง้ แต่เด็กแล้วว่าอยากมีเพลงของตัวเอง ส่วนที่ ท�ำไมต้องเป็นดนตรีอิเลคโทรนิค เพราะเรา สามารถควบคุ ม และถ่ า ยทอดคนเดี ย วได้ ดี แรงบันดาลใจในแต่ละเพลงก็มกั จะมาจากสิง่ รอบ ตัว แมว ดอกไม้ การทบทวนเรือ่ งราว : ) ผลงานและประสบการณ์การแสดงดนตรีทผี่ า่ น มา เพลง Dancing Mary อัล้ บัม้ Gain by Delicate ริมกิ ซ์ Polycat มิดชิด (Muninn Mix) อัลบัม้ 05:57 งาน Hanoi Sound Stuff, Fête de la, Circus Terminal
ดนตรี อิ เ ลคโทรนิ ค ในความหมายของ Muninn ดนตรีทโี่ ดดเด่นในด้านการสังเคราะห์ มีเสน่ห์ อยูท่ วี่ ตั ถุดบิ ทีห่ ลากหลาย จะมาจากทีไ่ หนก็ได้ ส่วนตัวชอบทีเ่ รามักได้เห็นความแปลกใหม่จา กดนตรีอเิ ลคโทรนิคเสมอ บางทีกค็ าดเดาไม่ได้ แม้กระทัง่ ดนตรีอเิ ลคโทรนิคกระแสหลัก เราก็ จะได้เห็นการหยิบลูกเล่นใหม่มาให้ได้ยนิ เสมอ ส่วนทางนอกกระแสเป็นอะไรทีเ่ หมือนได้เปิด โลก ได้ทอ่ งเทีย่ วไป ท�ำให้หเู รากว้างขึน้ เรือ่ ยๆ ผลงานและโปรเจคทีจ่ ะท�ำต่อไปในเร็วๆนี้ เวลา เราเล่นคนเดียวบางครั้งก็รู้สึกว่ามันไม่พอ เราอยากท�ำตรงนัน้ ตรงนีอ้ กี ก็เลยชวน Zenrp ท�ำโปรเจคอิเลคโทรนิคดูโอชือ่ ว่า “The Thirteen Club” เน้นไปทาง Controllerist และโปร เจคดนตรีและทัศนศิลป์ชอื่ งานว่า “ VS “ ของ delicate ทีจ่ ะแสดงวันที่ 26 ธค. นีท้ โี่ ป่งน้อย อาตร์สเปซครับ ลิงค์และหน้าเพจผลงาน www.facebook.com/immuninn soundcloud.com/immuninn Play Video
Thai Indie Revolution by: py Indie Campfire
Chicken wings Indie Campfire
Chickenwings วงดนตรีรวมถึงนักดนตรีดังๆหลายๆคนในเมือง ไทย เริ่มต้นเส้นทางอาชีพสายดนตรีจากการร้อง เพลงหรื อ เล่ น ดนตรี ก ลางคื น ตามผั บ ตามบาร์ ไม่ว่าจะเป็นพี่เสกโลโซ วงแบล็คเฮด หรือวงใน ต�ำนานอย่างวงคาราบาว การเล่นดนตรีกลางคืน นั้น นอกจากจะช่วยสร้างรายได้เพื่อยังชีพส�ำหรับ ศิลปินแล้ว ยังช่วยเสริมสร้างประสบการณ์ในการ แสดงบนเวทีได้เป็นอย่างดี ช่วยสร้างความมั่นใจ ทั้งยังฝึก ให้สามารถแก้ปัญ หาต่ างๆบนเวที ได้ อย่างรวดเร็วอีกด้วย เช่น การควบคุมโชว์ การ ปรับเครื่องเสียง หรือการแก้สถานการณ์ในยาม ฉุกเฉินต่างๆ ฯลฯ วง Chickenwings เป็นอีก วงหนึ่งที่เริ่มเล่นดนตรีอาชีพจากการเล่นกลางคืน และพวกเขาได้ร่วมเล่นกันมากว่า 10 ปีแล้ว เรียก ได้ว่าสนิทกันจนเป็นครอบครัวเดียวกันไปแล้วก็ ว่าได้ วันนี้ผมได้มีโอกาสนั่งคุยกับพวกเขาเพื่อ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับดนตรีครับ
วง Chickenwings คือใคร... วง Chickenwings เป็นวงแนว Modern Pop ที่พยายามท� ำ เพลงให้ ไม่เ หมือนใคร ไม่มีการอ้างอิงต้นแบบจากวงไหนเป็นพิเศษ เป็นดนตรีที่ไม่อ้างอิงยุคสมัยใด พวกเขาได้ เปรียบเทียบว่าเพลงของพวกเขาเป็นเหมือน งานศิลปะที่ลองผิดลองถูกแบบไม่ต้องเพ อร์เฟ็คต์ เป็นการรวบรวมกลิ่นดนตรีที่ได้มา จากประสบการณ์ของทุกๆคนในวง แล้วก็ มาเล่ น ซนๆกั น ในห้ อ งซ้ อ มกั น จนรู ้ สึ ก ว่ า เหมาะที่ สุ ด แล้ ว ก็ ท� ำ ออกมาเป็ น ตั ว เพลง สมาชิกในวงประกอบไปด้วย “มิ้ม” ญาณ สิทธิ์ ศรีศศิวิไล - มือกีต้าร์ไฟฟ้า นักร้องน�ำ และผู ้ แ ต่ ง เนื้ อ และท� ำ นองเพลง “อ้ อ น” ศิวพงษ์ แซ่เตียว - มือคีย์บอร์ดและซินธิไซ เซอร์ “เอ” เจริญรัตน์ แพน้อย - มือเบส และ “เต้” เจษฏาพงษ์ แก่นโกมล - มือกลอง พวกเขาตอนนี้มีผลงานเพลงล่าสุดชื่อว่า “รัก ไม่มีเหตุผล” ซึ่งขึ้นสูงสุดที่อันดับ 23 ใน ชาร์ ต ของ Fat Radio เคยได้ รั บ รางวั ล ต� ำ แหน่ ง ชนะเลิ ศ อั น ดั บ ที่ 1 วงดนตรี โครงการ “เอาแต่ เ ล่ น ” จาก 104.5 Fat Radio และตอนนี้สังกัดอยู่กับค่าย Stay Young Music ของพี่ “อูฐ” กิตติ กาญจน ฉายา วง Stubborn และพี่ “เตเต”
เตชะ ตุงคะเตชะ นอกจากเล่นดนตรี ในฐานะ Chickenwings แล้ว ทางวงยังเป็นทีมท�ำเพลงและ เรียบเรียงเพลงให้กับ Mister Sunday หรือพี่ “ต๋อง” อาทิตย์ วงศ์ธาราธิคุณ อดีต นั ก ร้ อ งน� ำ วง Seven Days อี ก ด้ ว ย นอกจากนี้ มิ้มในตอนนี้ยังเล่นแบ็คอัพให้ กับลุลาและโยคีเพลย์บอย และเคยร่วมงาน กับลูกหว้า, ปาล์มมี่, เอ๊ะ จิรากรณ์ และวง Sqweez Animal ส่ ว นเอเคยได้ ร ่ ว ม งานกับ Friday, พี่ปอย Portrait และพี่ หนึ่ง Sleeper One และในขณะนี้ก็ก�ำลัง อั ด เบสให้ เ พลงใหม่ ข องวง Cigarette Launcher อีกด้วย ความเชื่อใจซึ่งกันและกัน เป็นสิ่งที่ส�ำคัญ ที่สุดส�ำหรับวงดนตรี Chickenwings เล่นดนตรีด้วยกันมาถึง 10 ปีแล้ว ซึ่งที่ผ่านมาเล่นด้วยกันแทบจะ ทุกคืน ใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันทุกวัน เรียกได้ว่า อยู่ด้วยกันมากกว่าที่เพื่อนปรกติจะอยู่ด้วย กันจนกลายเป็นครอบครัวเดียวกันไปแล้ว พวกเขาบอกว่าพวกเขาจะไม่มีการนินทากัน ลับหลัง มีอะไรก็พูดตรงๆ รู้ว่าคนไหนไม่ ชอบอะไรก็ จ ะหลี ก เลี่ ย งไม่ ท� ำ อะไรให้
ไม่ พ อใจกัน นอกจากความเป็นพี่น้องกัน พวกเขายั ง เคารพในความสามารถของกั น และกัน ท�ำให้สามารถแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ กันได้อย่างชัดเจน ไม่มีความจ�ำเป็นที่จะต้อง มีใครเป็นหัวหน้าวง อย่างเวลาเล่นกลางคืน เอจะมีหน้าที่คุยกับผู้ใหญ่หรือทางร้าน จะ เป็นคนที่คอยท�ำงานอยู่เบื้องหลังและรวบ รวมลิสต์เ พลงมาเสนอกั บเพื่อนในวง มิ้ม นอกจากร้องเพลงและเล่นกีต้าร์ ก็จะมีหน้าที่ ตัดสินใจว่าเพลงแต่ละเพลงจะใช้ทางคอร์ด ไหน ส่วนอ้อนจะเป็นคนตัดสินใจและคุม สถานการณ์บนเวทีทั้งหมด เป็นคนฟันลิสต์ เพลง บริหารเวลาในการโชว์ ตัดสินใจว่าเบรค ตอนไหน และคอยประสานงานกับทางร้านให้ อ�ำนวยความสะดวกให้วงดนตรี และเต้จะ เป็นคนควบคุมอารมณ์ของการแสดงทั้งหมด ด้ ว ยความที่ เ ป็ น มื อ กลอง เต้ จ ะสามารถ ควบคุมจังหวะกลอง ท�ำให้เพลงสนุกขึ้นหรือ ดึงอารมณ์ไว้ให้ไประเบิดความสนุกตอนช่วง ท้ายของการแสดงก็ได้ ส่วนในเวลาที่ท�ำเพลง ของตัวเอง มิ้มจะเป็นคนเขียนเนื้อร้อง ท�ำนอง และคอร์ด เป็นเพราะความเชื่อส่วนตัวของวง ที่คิดว่าควรให้นักร้องเป็นคนที่เขียนเพลง ออกมาเพื่อจะได้ร้องออกมาตามอารมณ์ที่ ต้องการสื่อออกมาได้มากที่สุด จากนั้นเอกับ
เต้จะเป็นคนที่แต่งพาร์ตริธึ่มทั้งหมด พวก เขาเชื่อว่าเป็นเพราะความเชื่อใจและเคารพ ซึ่งกันและกัน ท�ำให้พวกเขาสามารถยอม กันได้ และท�ำให้งานส�ำเร็จออกมาได้ใน ที่สุด เมื่อก่อนนักดนตรีกลางคืนคือศิลปิน แต่ ตอนนี้พวกเขากลับกลายเป็นเหมือนภาพ ซีร็อกซ์ซะแล้ว วง Chickenwings ในตอนนี้แทบจะไม่ ได้เล่นดนตรีกลางคืนด้วยกันแล้ว ส่วน หนึ่งอาจเป็นเพราะท้อแท้เหนื่อยหน่ายกับ วงการดนตรีกลางคืนในเมืองไทย พวกเขา แต่ละคนจึงแยกย้ายกันไปเล่นดนตรีกลาง คืนกับคนอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับวง แล้วรวม ตั ว เล่ น ด้ ว ยกั น เฉพาะที่ เ ป็ น โชว์ ข อง Chickenwings เท่านั้น พวกเขาบอกว่า ในสมั ย ก่ อ นๆ วงดนตรี ก ลางคื น ก็ คื อ ศิลปินจริงๆ ยกตัวอย่างวงที่เล่นที่ตลาด อตก. เมื่อก่อนมีเอกลักษณ์มากๆ ถึงจะ เล่นเพลงคัฟเวอร์ แต่ก็เล่นในแบบฉบับ ของตัวเอง แต่มาในยุคปัจจุบัน การเลือก วงดนตรีของแต่ละร้านจะเลือกกันที่อิมเมจ แล้ ว ก็ ค วามดึ ง ดู ด ลู ก ค้ า เป็ น หลั ก เช่ น วงร็อกต้องใส่เสื้อผ้าแบบหนึ่งๆ ท�ำผมเท่ๆ
สะพายเบสต�่ำๆ ฯลฯ จะเล่นเพลงของใครก็ ต้องร้องให้เสียงเหมือน เลือกซาวด์ให้เหมือน เล่นให้เหมือนทุกท่อน กลายเป็นภาพซีร็อกซ์ ไปซะแล้ว พอวงไหนไม่ท�ำตามที่สั่งก็จะถูก ไล่ออกง่ายๆเหมือนกับที่ Chickenwings เคยโดนไล่ออกมานับไม่ถ้วน “ผมไม่ค่อยอินกับการเล่นดนตรีกลางคืนแล้ว เพราะมันบีบเราหลายๆอย่าง และทัศนคติ ของคนฟั ง ยั ง ท� ำ ให้ เ ราเปลี่ ย นไปจากความ ตั้งใจเดิมโดยไม่รู้ตัว” มิ้มกล่าว เต้ก็เสริมว่า “จริงๆอาจจะไม่ได้ผิดที่คนเสพก็ได้ แต่เราทั้ง หลายจริงๆแล้วเป็นเหยื่อของการตลาดของ ค่ายใหญ่มากกว่า” มิ้มก็พูดต่อว่า “มันเป็น เรื่องละเอียดอ่อนนะ เพราะบางคนก็ไม่รู้ตัว ว่าตัวเองจริงๆแล้วชอบอะไร แต่ก็ชอบตามที่ คนอื่นชอบมากกว่า” “แต่ถ้าไม่ท�ำตาม dialog ที่ร้านวางไว้ก็อยู่ไม่ได้ การเล่นดนตรี กลางคืนมันเลยกลายเป็นไม่ตา่ งกับงานประจ�ำ มันไม่เป็นงานศิลปะแล้ว” เต้ว่าต่อ แต่เอก็ พูดในอีกมุมมองหนึ่งว่า “บางทีก็คิดว่ามันมี ทางออกนะ เราอาจจะสามารถแทรกความ เป็นตัวเองลงไปในเพลงที่เล่นได้ ใส่ซาวด์ของ ตัวเองได้ แต่หลายๆคนก็ไม่ยอมศึกษา ก็อปปี้ ซาวด์ของเพลงที่มีในตลาดทั่วไปแล้วก็หยุด
อยู่กับที่ บอกว่าตัวเองชอบและก็พอใจกับ ซาวด์แบบนี้แล้วทั้งๆที่ยังไม่เคยไปลอง ศึก ษาดูว่า มีซาวด์ แ บบไหนบ้ าง และจะ ปรับให้เป็นของตัวเองได้ยังไง” “แต่ถ้า แอบดื้อก็จะซวยได้ จะโดนว่าๆเล่นไม่ถูก ซาวด์ กลายเป็นว่าดนตรีกลางคืนไม่ใช่ ศิลปะแล้ว ค่ายเพลงเองก็ไม่มีศิลปะอีก แล้วเหมือนกัน” เต้แย้งเป็นการปิดท้าย ถ้ า อยากเป็ น นั ก ดนตรี จ ริ ง ๆ ควรเล่ น ตามใจตลาดเพื่อหาเงินไปพร้อมๆกับท�ำ เพลงของตัวเองด้วย ส�ำหรับคนที่อยากเริ่มเล่นดนตรีกลางคืน พวกเขาบอกว่าง่ายมาก อยากไปเล่นร้าน ไหนก็ลองไปเที่ยวดูก่อน ไปสังเกตมาว่าวง ที่เล่นอยู่เล่นเพลงยังไง ลิสต์เพลงเป็นยัง ไง ช่วงเวลาการเล่นเป็นยังไง ไปแกะไป ซ้อมเพลงพวกนั้นมา แล้วก็ลองสมัครไป เลย ส�ำหรับ Chickenwings ถึงพวกเขา บอกว่ า การเล่ น กลางคื น ไม่ ส นุ ก ส� ำ หรั บ พวกเขาแล้ว แต่มันคืองานประจ�ำที่ก่อให้ เกิดรายได้หล่อเลี้ยงชีวิตพวกเขา “เราเชื่อว่าคนที่เป็นนักดนตรีกลางคืนอยู่ ตอนนี้ หลายๆคนก็เริ่มต้นมาจากความ
คิดที่อยากเป็นศิลปิน อยากเล่นเพลงที่ตัว เองชอบ แต่ สุ ด ท้ า ยก็ โ ดนตลาดกลืนไป เหมือนพวกเราที่เคยเป็นอย่างนั้นเหมือนกัน พอตอนนี้ ก็ เ ลยอยากจะพยายามจะดึ ง passion ที่เคยมีตอนแรกให้กลับมาให้ได้” มิ้มพูด ส่วนเอก็เล่าให้ฟังต่อว่า “สมัยก่อน ตอนแรกเราก็มาเลือกกันว่าอยากเล่นแนว ไหน แล้วเราก็ศึกษาจริงจังว่าเพลงไหนที่เจ๋ง ส�ำหรับแนวนั้นบ้าง แล้วก็เลือกแกะไปเล่น อย่างเคยมีร้านที่บอกให้เล่นเพลงแร็กเก้ แบบลึกๆ เราก็เลือก Bob Marley ไปเล่น สุดท้ายโดนไล่ออกบอกว่าลึกไป บางทีแขก ของร้านไม่รับฟังเพลงที่เขาไม่รู้จัก บางร้าน ก็ไม่ให้โอกาสเล่นเพลงแปลกๆจากปรกติ ของเขาเลยด้วยซ�้ำ” การฝืนความต้องการของตลาดนั้นอาจจะ ท� ำ ให้ อ ดตายได้ แต่ ถ ้ า เล่ น ตามที่ ต ลาด ต้องการอย่างเดียว การเล่นดนตรีก็จะไม่มี ความหมายและไม่ เ ป็ น ศิ ล ปะอี ก ต่ อ ไป สมาชิกของ Chickenwings เห็นพ้องกันว่า คนที่อยากเป็นนักดนตรีจริงๆ ควรต้องหา สมดุ ล ย์ ใ ห้ กั บ ตั ว เองให้ ไ ด้ ถึ ง จะเป็ น นั ก ดนตรีได้อย่างสมบูรณ์ “ท�ำเพลงเองมันฟิน มันอิ่มใจ” มิ้มกล่าว “แล้วพวกเราท�ำออก
มายิ่งแปลกก็ยิ่งชอบ” เอเสริม “แต่การมี ประสบการณ์การเล่นกลางคืนนั้น ก็จะช่วย ในเรื่องการแก้ปัญหาบนเวที เรื่องการปรับ ซาวด์ แล้วก็เพิ่มความมั่นใจในการแสดง ด้วย” อ้อนแสดงความเห็นขึ้นมา ส่วนเต้ ก็ได้พูดอธิบายว่า “แต่มันก็มีความต่าง ระหว่าง entertainer และ artist ซึ่งเราไม่ใช่ entertainer เพราะอะไรที่เราไม่อิน เราก็ไม่ อยากท�ำ” แล้วมิ้มก็พูดต่อว่า “การเล่นกลาง คืนมีส่วนช่วยศิลปินแค่นิดเดียวเท่านั้น นี้ด เดียวจริงๆ และจริงๆแล้วผมชอบวงดนตรีที่ ไม่เคยเล่นกลางคืนมาก่อนเลยมากกว่า มัน ดูบริสุทธิ์และมีความเป็นศิลปินจริงๆ แต่ถ้า ใครอยากเล่นกลางคืน ก็แนะน�ำว่าให้ผ่อน คลาย เล่นสบายๆ...” “...แล้วให้เล่นเพลงฮิต อย่าซ่า!” เอกล่าวเสริมปนหัวเราะ วงดนตรีแต่ละวงก็คือรากฝอยที่แตกแขนง ออกมาจากต้นไม้ที่เรียกว่าวงการดนตรี ผมคิดว่าพวกเขาเปรียบเทียบวงการดนตรี ไว้ได้ดีเลยทีเดียว คือเปรียบเทียบว่าดนตรี ทั้ ง หลายจริ ง ๆแล้ ว รวมกั น เป็ น ต้ น ไม้ ต ้ น เดียวกัน พวกเขาบอกว่าต้นไม้ต้นหนึ่งจะ แข็งแรงได้ก็ต้องเริ่มต้นจากการมีรากที่แข็ง แรง และถ้าต้นไม้นั้นมีรากที่แผ่กว้างออกไป
เท่าไหร่ ต้นไม้ก็ยิ่งแข็งแรงมั่นคงขึ้นเท่านั้น เหมือนวงการดนตรี ถ้ามีแต่แนวเพลงที่เหมือ นๆกันเป็นแนวแคบๆ ดนตรีมันก็จะน่าเบื่อ ไม่น่าสนใจ วงการดนตรีก็จะอ่อนแอ แต่ถ้า มีแนวเพลงที่หลากหลาย เหมือนรากไม้ที่แผ่ ขยายออกไปไกลๆต้น ก็จะท�ำให้สามารถดึง ผู้คนหลากหลายให้เข้ามาสนใจได้มากยิ่งขึ้น ต้นไม้ดนตรีนั้นก็จะแข็งแรงและสมบูรณ์ การท�ำเพลงที่มีแนวทางต่างจากคนอื่นอาจจะ เหมือนการเดินสวนทาง เหมือนการขวางโลก แต่ พ วกเขากลั บ คิ ด ว่ า จริ ง ๆแล้ ว ทุ ก คนก็ พยายามไปสู่จุดหมายเดียวกันนั่นแหละ แค่ ใช้เส้นทางเดินไปคนละทางเท่านั้นเอง ใน ตอนนี้เองก็มีหลายๆวงที่คิดเหมือนๆกันที่จะ ท�ำเป็นวงอินดี้ แต่ก็คงต้องใช้เวลาอีกซักพักที่ จะท� ำ ให้ ผู ้ เ สพดนตรี ใ นตลาดยอมรั บ และ คล้อยตามได้ ไม่ว่าอย่างไร ถ้าวงอินดี้เหล่านี้ สามารถสร้างศรัทธาให้กับแฟนเพลงของตัว เองได้ ผู้คนอื่นๆก็จะค่อยๆตามไปในที่สุด เพราะถ้ามันมีกลุ่มผู้น�ำกระแส มันก็ต้องมีผู้ ตามกระแสไปอย่างแน่นอน “อินดี้ไม่ใช่แนวเพลง แต่มันคือความอยากท�ำ ในสิ่งที่ชอบ สนองความต้องการของตัวเอง
จริงๆ” มิ้มกล่าว “ที่ผ่านมาพวกเราเคย ลองเล่นกันมาเยอะแล้ ว ไม่ ว ่ าจะดิ ส โก้ สกา ฟั้งค์ หรือฝั่งอังกฤษ เลยอยากจะ แนะน�ำว่าให้เสพดนตรีให้มาก เล่นให้มาก แล้วกลั่นกรองออกมาให้เป็นแนวทางของ ตัวเองให้ได้” “เหมือนกับที่เราชอบซาวด์ แบบ vintage แต่เราไม่ได้ลอกเพลงของ The Beatles แต่เราพยายามต่อยอดจาก นั้นเพื่อสร้าง character ของตัวเอง” เต้ เสริ ม และมิ้ ม ก็ ไ ด้ พู ด เหมื อ นเป็ น การ ยืนยันเจตนารมณ์ว่า “เราอยากให้เพลง ของ Chickenwings เป็นเพลงที่ไม่ต้อง อ้างอิงกับยุคสมัยใดๆ ไม่ต้องมี reference และไม่พยายามท�ำให้เหมือนใคร เรา อยากจะท�ำเพลงที่ฟังตอนไหนก็ฟังได้” ส�ำหรับผม ผมยอมรั บ เลยว่ าตอนแรก อยากจะสัมภาษณ์วง Chickenwings เกี่ยวกับเรื่องการเล่นดนตรีกลางคืนเป็น หลัก แต่พอได้คุยกัน ผมรู้สึกว่าพวกเขา เป็นมากกว่านักดนตรีกลางคืนมาก พวก เขาคือศิลปินจริงๆที่ต้องการพัฒนาตัวเอง ไปข้างหน้าอย่างไม่มีสิ้นสุด ประสบการณ์ การเล่นดนตรีกลางคืนได้ช่วยขัดเกลาทั้ง ฝีมือและมุมมองในการท�ำดนตรี และการ
เล่นด้วยกันมาเป็นเวลาถึง 10 ปี พิสูจน์ให้เห็น ว่าสิ่งที่ส�ำคัญที่สุดของการท�ำวงดนตรีนั้นก็คือ ความไว้ใจและเคารพซึ่งกันและกัน สุดท้าย ก่อนปิดการสัมภาษณ์ ผมได้ขอให้พวกเขาได้ ฝากค�ำพูดหนึ่งไปถึงนักดนตรีรุ่นน้องๆ ซึ่งพวก เขาได้ตอบว่า “จงรู้จักตัวเองและหาแนวทางของ ตัวเองให้เจอ อย่ากลัวที่จะเป็นตัวของตัวเอง แล้ ว อย่ า กลั ว ว่ า จะไม่ ดั ง ถ้ า ไม่ ไ ด้ เ ล่ น เพลง mainstream เพราะถึงแม้ว่าเพลงตลาดจะมี คนฟังเยอะ แต่ก็มีคู่แข่งเยอะด้วยเหมือนกัน สุดท้ายแล้วก็อาจจะมีโอกาสประสบความส�ำเร็จ พอๆกับการเป็นศิลปินอินดี้นี่แหละ” ขอขอบคุณสมาชิกวง Chickenwings มากๆ เลยครับที่สละเวลาให้เราสัมภาษณ์ ทั้งยังให้มุม มองดีๆกับเราครับ หากคุณผู้อ่านสนใจอยาก รู้จักกับวง Chickenwings มากขึ้น ขอให้ไป เยี่ยมชมลิ้งค์ข้างล่างเลยครับ https://www.facebook.com/chickenwingsband เพลง “รักไม่มีเหตุผล” http://www.youtube.com/watch?v=wmpqXkVhrPU เพลง “เรื่องเศร้าเช้านี้” http://www.youtube.com/watch?v=D4rZPuNEePI เพลง “คิดถึงกันให้มอง...” http://www.youtube.com/watch?v=XtSuUYjMypA ช่อง YouTube ของค่าย Stay Young Music http://www.youtube.com/user/StayYoungMusic/videos
บทสัมภาษณ์ โดย พาย IndieCampfire
www.facebook.com/indiecampfire
Film
The Accidentally Love “รัก...นะจ๊ะ”
เป็ น เรื่ อ งราวของความรั ก ที่ เ กิ ด จากอุ บั ติ เ หตุ ที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด ความรั ก ขึ้ น โดยเคนและนิ ส าเป็ น คน กรุ ง เทพที่ ต ้ อ งการมาหาแรงบั น ดาลใจในการท� ำ งานของพวกเขา และได้ บั ง เอิ ญ เจอกั น อี ก ครั้ ง ที่ เชี ย งใหม่ เลยเริ่ ม เกิ ด ความรู ้ สึ ก ดี ๆ บางอย่ า งระหว่ า งทั้ ง สองคนขึ้ น และนั้ น คื อ จุ ด เริ่ ม ต้ น ของ อุ บั ติ เ หตุ ที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด รั ก นะจ๊ ะ ของทั้ ง สองคน
Play Video
ภาพยนตร์โดย สาขาวิชานิเทศศาสตร์ แขนงการสื่อสารมวลชน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ที่ปรึกษาอ�ำนวยการสร้าง : อาจารย์ รักษิณา พวงล�ำ
Writer
เรื่องวันนั้น
ผู้เขียน : 12091979
“ของส่วนตัว”
ความทรงจ� ำ ความทรงจ�ำเกิดขึ้นเพราะ เหตุการณ์ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในเวลาและ สถานที่ใดที่หนึ่ง “12 ปีที่แล้ว ฉันเคยมาที่นี่ มาโดยที่ไม่รู้ว่าที่ นี่ คือ ที่ไหน ฉันไม่รู้อะไรเกี่ยวกับสถานที่นี้ มากนัก ฉันเพิ่งได้ยินชื่อสถานที่นี้ครั้งแรก ตอนก่อนจะมา ฉันจ�ำได้ว่าเรามากันหลาย คน แต่ฉันจ�ำได้แน่ชัดถึงหนึ่งคนเดียวใน หลายคนนั้น ฉันจ�ำได้ถึงรูปทรงที่ธรรมชาติ สรรค์สร้าง ฉันจ�ำโขดหินไม่ได้ทุกโขด ฉันจ�ำ โขดที่เราไปนั่งเล่นกีตาร์ร้องเพลงกันได้ ฉัน จ�ำเสียงของสายน�้ำที่ไหลเขี่ยว ฉันจ�ำได้ 12 ปีที่ผ่านมา ฉันไม่ได้มาที่นี่อีกเลย ครั้งนี้ เป็น ครั้ง ที่ 2 ฉั น รู ้ จัก ที่ นี่ ไ ม่ได้มากกว่า ไป ครั้งแรกที่มาเลย รู้จักแต่เพียงชื่อ ฉันรู้ว่าที่นี่
เปลี่ยนไป แต่ไม่รู้ว่าอะไรที่เปลี่ยนไปบ้าง ฉันเห็นนักท่องเที่ยวมากขึ้นกว่าครั้งแรก ที่มา ฉันเห็นโขดหินมากมาย แต่ฉันจ�ำได้ แค่โขดเดิม ฉันได้ยินเสียงของสายน�้ำที่ ไหลเชี่ยว ใช่ เส้นทางน�้ำเดิม แต่ไม่ใช่น�้ำ หยดเดิม มองไปที่ โ ขดหิ น เดิ ม ไม่ มี ใ ครนั่ ง เล่ น กีตาร์ร้องเพลง แต่ฉันจ�ำได้ ว่าเคยมี” หลายคราเราคิดถึงภาพเหตุการณ์เก่าๆ ความทรงจ�ำ ความประทับใจที่เคยเกิด ขึ้นกับใครบางคน ความทรงจ�ำเกิดขึ้น เพราะเหตุการณ์ เหตุการณ์ที่ผ่านไปกับ เวลาและสถานที่ ... และกับคนอย่างน้อย อีกคน เอาเข้าจริงๆ แต่ละคนไม่มีสิทธิจะ เลื อ กจ� ำ หรื อ เลื อ กลื ม สิ่ ง ใดๆได้ ต าม อ�ำเภอใจ
บางเหตุ ก ารณ์ เ ดี ย วกั น คน 2 คน ก็ จ ดจ� ำ เหตุการณ์นั้นไม่เหมือนกัน อาจจะคล้ายกัน มากมาย แต่ในความรู้สึกลึกๆเชื่อเถอะว่าต่าง กัน ที่ส�ำคัญบางเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ความทรง จ�ำที่เกิดขึ้น เมื่อผ่านเวลาไป บางคนยั ง จ� ำ แต่ บ างคนได้ ลื ม ไปแล้ ว “เหตุการณ์” อาจดูเหมือนเป็นความรับผิดชอบ ของคนมากกว่าหนึ่ง แต่ความทรงจ�ำเป็น “ของ ส่วนตัว” ของส่วนตัว แต่ละชิ้น ของแต่ละคน ย่อมมีค่ากับคนแต่ละคนมิเท่ากัน บางคนยังคง เก็บไว้ บางคนได้ปล่อยหายไปกับกาลเวลา อาจ จะไม่ทันรู้ว่า หายไปตอนไหน ไม่มีใครเลือกใคร ให้ ลื ม หรือใครจ�ำ อะไรได้อย่า งที่ใจต้อ งการ แม้แต่ตัวเองเรา “ของส่วนตัว” ที่เลือกไม่ได้ว่า จะทิ้งหรือเก็บไว้ อยากจะทิ้งแทบตาย เหมือน จะหายไป เพียงได้กลับมาเจอ สถานที่และเวลา “ของส่วนตัว” ที่หลบหน้า ก็โผล่ออกมาทักทาย อีกครั้ง
www.facebook.com/comonfolks
ติดต่อโฆษณา 086 -194-5747