viewplusmag vol.14

Page 1

Showcase Digital Magazine Free download February 2014

Vol.14

Artist Interviews Design Fashion Music Illustration Photography Motion/Film Lifestyle




artist : SICHAYA NOJIT (BOO SCREAM)

ชื่องาน Here comes the fun!





Showcase Digital Magazine Free download

TEAM Editor numpong mudcome Columnist Khatthleeya Srikanta Sukkanok Thongsuk 12091979 Py Indie Campfire Nattawat Sombat Smalllike Graphic designer Smalllike Photographer Khatthleeya Srikanta Sukkanok Thongsuk Smalllike Bazstation Khingiesss Disc jockey Viewplusplay Dj Boss Arnon Chaiyakham Dj Nook Nick Dj Fangko Dj Tony Jabb

“เดือนแห่งความรัก มี 12 เดือน” รักกันไว้ รักกันหนอ :) น�ำพงศ์ หมุดค�ำ บรรณาธิการ

////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////

VIEWPLUSMAG www.facebook.com/viewplusmagazine Contact : Tel. 086-194-5747 E-mail : viewplusmag@gmail.com 134/42 Moo.1 Tonpao Sankumphang , Chiang Mai 50130


contents february 2014

vol.14

-artPiyaporn Jansiriwilaikul PATIPAT PINTAWANA

ศิชยา โนจิตร กมณีย์ พุทธภาทา พัชรียา คงรักษ์

-musicOtiie Nannue Tipitier -film-

ชั้น5 ... ท้าตาย -Writer-

เทคโนโลยี ?


event event

กั๊น

นิทรรศการแสดงผลงานคณะศิลปกรรม และสถาปัตยกรรมศาสตร์ 15 - 16 มกราคม 2557 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่

Photo by Khatthleeya Srikanta , Sukkanok Thongsuk


BLOWING WEST 16 Jan-14 Feb 2014 ,

at minimal art gallery

Photo by Bazstation


event

JIVE GARDEN 8 18 January 2014 , บุระล�ำปาย อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน

Photo by Smalllike


Pig art & music festival 2014 24-25 January 2014 , น�้ำพุร้อนดอยสะเก็ด อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่

Photo by Smalllike


event event

“ back to nature” 29 January 2014 , ร้านรออยู่ตรงนี้ เชียงใหม่

Photo by Smalllike


F28 Opening Exhibition 4 February 2014

CMU Arts Centre

Photo by Bazstation


event

space • time • place by Orn On-orratai*

5 - 28 February 2014 , ร้าน จ๊าง “ (Elephants) ถนนนิมมานเหมินทร์

Photo by Bazstation


มัน เนื้อ เหนือ 8 February 2014 , ประเสริฐแลนด์ (กาดเชิงดอย) จ.เชียงใหม่

Photo by Smalllike , Bazstation




“waiting”


COVER DESIGN BY

Piyaporn Jansiriwilaikul


UNTITLED

Piyap Jansiriw


D29 Project

porn wilaikul Bangkok ,Thailand Contact : facebook: UNTITLED29Project



Piyaporn Jansiriwilaikul



Piyaporn Jansiriwilaikul



Piyaporn Jansiriwilaikul



Piyaporn Jansiriwilaikul



Piyaporn Jansiriwilaikul



Piyaporn Jansiriwilaikul



Piyaporn Jansiriwilaikul



Piyaporn Jansiriwilaikul



Piyaporn Jansiriwilaikul



Piyaporn Jansiriwilaikul



Piyaporn Jansiriwilaikul



Piyaporn Jansiriwilaikul










NUTKAI

PATI PINTAWANA


NUTKAI

ATIPAT INTAWANA Chiang Mai ,Thailand Contact : www.facebook.com/ NUTKAIstudio



PATIPAT PINTAWANA



PATIPAT PINTAWANA











PATIPAT PINTAWANA



PATIPAT PINTAWANA



PATIPAT PINTAWANA



PATIPAT PINTAWANA



PATIPAT PINTAWANA



PATIPAT PINTAWANA





PATIPAT PINTAWANA




ศิชยา โนจิตร

contact :http://sichaya-nojit.tumblr.com


FAT FAST FOOD STYLE การบริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ดกลายเป็นส่วนหนึ่งของคนทุกเพศทุกวัย เนื่อมาจากสังคมการบริโภคเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ธุรกิจ อาหารตะวันตกชนิดนี้เติบโตอย่างต่อเนื่อง เป็นอาหารที่พ่อแม่เลือกให้ ลูกรับประทานเป็นอาหารมื้อหลัก ด้วยเวลาที่เร่งรีบในการด�ำเนินชีวิต ท�ำให้อาหารเหล่านี้ได้รับความนิยม ผู้สร้างสรรค์มีความสนใจสร้างผล งานภาพถ่ายในแนวคิดความสัมพันธ์ระหว่างกระแสการบริโภคอาหาร ฟาส์ตฟู้ดของเด็กวัยรุ่น กับเด็กที่เป็นโรคอ้วนที่เกินขนาดจึงท�ำให้ต้อง เผชิญกับโรคอ้วน โดยการน�ำเอาภาพวาดประกอบอาหารฟาสต์ฟู้ดที่ เหนือจริงมาผสมกับภาพถ่ายเด็กอ้วน โดยอิงหลักของศิลปะแอ็พโพรพ ริ เอชั่ น จากการหยิบยืมภาพผลงานจิตกรรมส�ำคั ญ ที่ มี ชื่อ เสี ยงจาก ประวัติศาสตร์น�ำกลับมาสร้างสรรค์ในผลงานของตนเองในรูปแบบของ ภาพถ่ายดิจิตอลอาร์ตขึ้นใหม่อีกครั้ง โดยผ่านมุมมองของข้าพเจ้า จึงมี เรื่ อ งราวของดิ จิ ต อลอาร์ ต ที่ สั ม พั น ธ์ ส อดคล้ อ งกั บ แนวคิ ด ข้ า งต้ น ว่าด้วยเรื่องของการ “น�ำสิ่งเก่ากลับมาสร้างสรรค์ใหม่” จึงเล็งเห็นถึง ความสัมพันธ์ที่เกี่ยวเนื่องกันทั้งมวล จึงท�ำให้ข้าพเจ้าสร้างสรรค์ผลงาน ภาพถ่ายศิลปนิพนธ์ที่ได้รับแรงบันดาลใจจาก การหยิบยืมภาพผลงาน จิตกรรมส�ำคัญที่มีชื่อเสียง ดังที่กล่าวไว้ข้างต้น



ศิชยา โนจิตร



ศิชยา โนจิตร



ศิชยา โนจิตร



ศิชยา โนจิตร


กมณีย์ พุทธภาทา


“Monsters” ฮาโลวีน (Halloween) เป็นงานเทศกาลรื่นเริง เป็นวันที่ผู้คนจะ แต่ ง กายเป็ น ผี ปี ศาจออกมาเฉลิมฉลองกัน ในปั จ จุ บั น เทศกาลนี้ ไม่เพียงแค่นิยมในชาติตะวันตก แต่ก็ได้รับความสนใจจากชาติตะวัน ออกด้วยเช่นกัน ฮาโลวีนนั้นไม่ได้เป็นเพียงแค่เทศกาลแต่ยังมีอิทธิพล ต่อสินค้าแฟชั่น ซึ่งได้รับความสนใจเป็นอย่างมากที่มีเอกลักษณ์ใน รูปแบบที่หลากหลาย รวมไปถึงผู้สร้างสรรค์มีความสนใจในตัวละครผี ปีศาจในเรื่องราวสยองขวัญ หากนึกถึงวันฮาโลวีนก็ต้องนึกถึงเทศกาล การฉลอง ความสนุกสนาน และการแต่งกายเป็นผีปีศาจ ด้วยเหตุนี้เอง ผู ้ ส ร้ า งสรรค์ จึ ง ต้ อ งการน� ำ เสนอภาพลั ก ษณ์ ข องความสนุ ก สนาน ในเทศกาลฮาโลวีนที่แสดงให้เห็นถึงการปลดปล่อยตัวตนอย่างอิสระ ผ่านตัวละครผีปีศาจที่เข้าใจง่าย และรูปแบบเสื้อผ้าที่มีเอกลักษณ์ของ ตัวละครเหล่าผีปีศาจที่น�ำมาประยุกต์ ในรูปแบบแปลกใหม่ทันสมัย โดยผ่านมุมมองของข้าพเจ้าที่มีต่อเทศกาลฮัลโลวีน และผสมผสานกับ สไตล์ญี่ปุ่นที่ข้าพเจ้าสนใจเข้ามาในผลงาน



กมณีย์ พุทธภาทา



กมณีย์ พุทธภาทา


พัชรียา คงรักษ์


Home sweet home เมื่อพูดถึง“ภาพถ่าย”ความหมายของภาพถ่ายในปัจจุบันนั้นไม่ได้ หมายถึงเพียงภาพที่แสดงถึงความจริงที่เกิดขึ้นขณะที่กล้องจับภาพนั้น อีกต่อไป เมื่อเริ่มมีการตัดต่อภาพเกิดขึ้นในช่วงปี1920 และได้รับความ นิยมอย่างกว้างขวางควบคู่มากับศิลปะแบบ Surrealism ท�ำให้เกิด ภาพศิลปะเหนือจริงที่สร้างโดยภาพถ่าย และใช้จินตนาการและความ รู้สึกซึ่งไม่ขึ้นกับเหตุผลหรือตรรกะใดๆ ของโลกกายภาพ ในงานชิ้นนี้ แสดงถึงความประทับใจส่วนตัวทีม่ คี วามชอบในขนมหวานมา ตัง้ แต่เด็กๆ การได้ทานขนมเหมือนการได้ลิ้มรสชาติที่คุ้นเคยในวัยเด็ก จึงคิดว่า หากน�ำขนมหวานมาสร้างเป็นที่อยู่อาศัยเพื่อยู่กับมันตลอดเวลาได้ เป็นเรื่องที่น่าสนุกดี และอยากถ่ายทอดจินตนาการนั้นออกมาให้ผู้ชม ได้เห็น และสัมผัสกับบรรยากาศที่ดูหอมหวานจากห้องในบ้านธรรมดา ที่ถูกสร้างมาด้วย วัสดุที่ทุกอย่างกินได้ซึ่งเป็นเรื่องที่ไม่ได้พบได้ใน ความเป็นจริง โดยใช้ภาพถ่ายขนมและ Photo manipulation



พัชรียา คงรักษ์



พัชรียา คงรักษ์




Otiie music




Otiie โอตี่ ศุภชัย ต่ ว นชะเอม ศิ ล ปิ นเดี่ ยว จากชลบุ รี น� ำ เสนอแนวเพลงในแบบ indie pop/ Folk แต่ โอตี่ อ ยากให้ ความ หมายของแนวเพลงว่ า เป็ น melodic ที่ ม าจากการเล่ า เรื่ อ งด้ ว ยอารมณ์ เ พลง ตามความรู้สึกช่วงนั้นเป็นหลัก ทุกเพลง เกิ ด มาจากเรื่ อ งจริ ง ในชี วิ ต ของโอตี่ ใช่ ค วามจริ ง เล่ า เรื่ อ ง อาจจะไปโดนใจ ใครหลายๆคน แต่ส�ำหรับโอตี่แค่ได้เขียน มั น ก็ มี ค วามสุ ข มากๆแล้ ว ที่ ไ ด้ ถ ่ า ยทอด ความรู ้ สึ ก อยากให้ ทุ ก คนลองฟั ง เพลง ที่ ม าจาก อารมณ์ แ ละความรู ้ สึ ก เค้ า ดู นะครับ บางที อ าจตรงกั บ ความรู ้ สึ กคุ ณ ก็ได้

Play Video

ติดตามผลงาน และช่องทางการติดต่อ Tel . 088 5232 808 www.facebook.com/xOtiiex youtube : Otiie - ลืม / ทุกวินาที - Otiie


Thai Indie Revolution by: py Indie Campfire

Nannue Tipitier เขตน่าน จันทิมาธร

Indie Campfire



“เราต้องอยู่ในกรอบก่อน จึงจะเข้าใจ อิ ส รภาพของการไม่ มี ก รอบได้ อ ย่ า ง แท้จริง” ตอนที่ผมเรียนชั้นประถม ผมจ�ำได้ว่าผม ร้องเพลงของพี่เบิร์ด ชุด “พริกขี้หนู” ของพี่ ติ๊กชีโร่ ชุด “โชะ ไชโย” แล้วก็ของวงคารา บาว ชุด “โนพลอมแพลม” ได้ทุกเพลง เพราะพ่อแม่ซื้อเทปเบิร์ดกับติ๊กชีโร่ไว้เปิด ในรถ ส่วนคาราบาวนี่เป็นเพราะคนขับรถ นักเรียนเปิดกรอกหูให้ฟังทุกเช้า-เย็น ตอน นั้นผมยังเป็นเด็ก มีอะไรให้ฟังก็ฟัง ถ้าติด หูก็ฟัง ไม่มีก�ำแพงที่ขวางกั้นหูผมจากการ ฟังเพลงเลย แต่พอผมขึ้น ม.1 ผมเริ่มฟัง วงอย่าง Nirvana, Pearl Jam, Stone Temple Pilots, Pantera, Oasis และวง ฝรั่งอีกมากมายที่คนส่วนใหญ่ไม่ค่อยฟัง กัน โดยปิดกั้นดนตรีอื่นๆทุกแนวที่มัน ‘ไม่เจ๋ง’ ในความคิดของผม

วั น นี้ ผ มได้ ม าสั ม ภาษณ์ ศิ ล ปิ น ดนตรี อิเล็กทรอนิกส์ที่เคยมีชื่อเสียงในวงการเพลง ใต้ดินตั้งแต่ปี 2002 ชื่อว่า Nannue Tipitier ชื่อจริงว่า เขตน่าน จันทิมาธร หรือชื่อเล่นที่ ผมเรียกคือ ‘พี่ขนุน’ ซึ่งท�ำดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ ด้ ว ยคอมพิ ว เตอร์ ล ้ ว นๆเป็ น คนแรกๆใน ประเทศไทย เขาเคยท�ำงานร่วมกับศิลปินดังๆ อย่างดีเจสหฤท สยามวาลา, ดีเจซี้ด นรเศรษฐ หมัดคง, ริค วชิรปิลันธ์ และจีน กษิดิศ เป็นต้น การพูดคุยกับพี่ขนุนท�ำให้ผมรู้สึกว่าเราเคยมี ความคิดคล้ายๆกันในเรื่องกรอบทางดนตรีที่ เราสร้ า งขึ้ น มาเองที่ ท� ำ ให้ เ ราปิ ด กั้ น การฟั ง ดนตรี ห ลายๆแบบ ซึ่ ง ในบทสั ม ภาษณ์ น้ี พี่ขนุนได้ให้มุมมองและแบ่งปันประสบการณ์ ของเขาไว้ได้น่าสนใจทีเดียวครับ

อะไรท�ำให้พขี่ นุนเริม่ ท�ำเพลงอิเล็กทรอนิกส์... ตอนสมัยที่เรียนมหาวิทยาลัยอยู่ที่อังกฤษใน ช่วง 90’s ปลายๆ พี่ขนุนเล่นกีต้าร์และแต่ง ผมคิ ด ว่ า เด็ ก แนวทุ ก ยุ ค ทุ ก สมั ย จะรู ้ สึ ก เพลงอยู่แล้ว แต่พอต้องย้ายจากเมืองเล็กๆที่ ‘คู ล’ ที่ตัวเองฟั ง เพลงที่ ค นทั่วไปไม่รู้จัก อยู่ตอนแรกมาอยู่เมือง Brighton ซึ่งใหญ่ แล้วก็ตอ่ ต้านแนวดนตรีตลาดอยูไ่ ม่มากก็นอ้ ย กว่า อยู่ติดทะเล ไม่ไกลจากกรุงลอนดอน



และมี ม หาวิ ท ยาลั ย อยู ่ ใ นเมื อ งนี้ ถึ ง 2-3 แห่ง ก็พบว่าในสังคมมหาวิทยาลัย ตอนนั้น ดนตรีใต้ดินเริ่มเปลี่ยนเทรนด์ จากดนตรี ส ดเป็ น ดนตรี อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แล้ว พอพี่ขนุนอยากจะเล่นดนตรีสดก็ ไม่ มี ใ ครเล่ น ด้ ว ยเพราะใครๆก็ เ ล่ น แต่ เพลงอิเล็กทรอนิกส์ “ตอนขึน้ ปีสาม พ่อแม่ ซื้อคอมฯ laptop ยี่ห้อ Toshiba ไว้ให้ท�ำ วิทยานิพนธ์ แต่ผมก็เอาคอมฯมาหัดท�ำ เพลงด้วย โดยขอเรียนรู้การท�ำเพลงจา ก รู ม เ ม ท ที่ บั ง เ อิ ญ ท� ำ ด น ต รี แ น ว อิเล็กทรอนิกส์อยู่พอดี แล้วก็ทดลองเล่น ด้วยตัวเอง” พี่ขนุนนับว่าเป็นคนที่อยู่ใน เหตุ ก ารณ์ แ ละสถานที่ เ กิ ด ของเทรนด์ ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แนว Big Beat ใน ยุคนั้นพอดี แต่พอกลับมาเมืองไทยก็มา พบว่า scene ดนตรีแนวอิเล็กทรอนิกส์ ยังค่อนข้างเล็กมาก พี่ขนุนกลับมาท�ำเพลงในเมืองไทยเมื่อ ไหร่ อย่างไรบ้าง... “พอกลั บ มาเมื อ งไทยประมาณเดื อ น สิงหาคม ปี 2001 ยังไม่รู้ว่าจะท�ำอะไรก็ไป ฝึกงาน แต่ท�ำไปท�ำมาก็ไม่สนุก ก็มาเห็น สถาบัน SAE Institute ที่สอนทางด้าน

Audio Engineering เลยสมัครเรียนซึ่งเป็น รุ่นแรกพอดี” พี่ขนุนได้เล่าว่านักเรียน SAE Institute รุ่นนั้นมีคนที่มีชื่อเสียงอยู่หลายคน เช่น ดีเจมังกร เป็นดีเจคนแรกๆ ที่ท�ำให้คน ไทยได้รู้จักแนว Drum & Bass, มิ้นต์ - Mint in Motion นักร้องหญิงเดี่ยว และอาร์ต 7th Scene ซึ่งเป็น Sound Engineer ให้กับพี่ บอย โกศิยพงษ์ และเป็นศิลปินของค่าย Love Is อีกด้วย “การเรียน SAE ตอนนั้นท�ำให้ผม เข้าใจว่าการที่ท�ำเพลงมั่วๆแบบครูพักลักจ�ำที่ ผมท�ำมา กับแบบที่เราเรียนมันเชื่อมโยงกันยัง ไง” ระหว่างที่ยังเรียนอยู่ พี่ขนุนก็ได้มีโอกาสร่วม งานกับดีเจซี้ด นรเศรษฐ หมัดคง และรีมิกซ์ เพลง ‘ฝัน’ (Different Song) ให้ ซึ่งเป็นเพลง ในอัลบั้มรวม Smallroom 003 จากนั้นก็ได้รับ การแนะน�ำให้รู้จักคนในวงการดนตรีเพิ่ม อย่าง เช่ น คุ ณ ไบรอั น ยมจิ น ดา ที่ เ ป็ น ผู ้ ก� ำ กั บ ภาพยนตร์และโฆษณา และเป็นโปรดิวเซอร์ อัลบั้ม Eclextic Suntaraporn ที่ท�ำร่วมกับดี เจซี้ ด ในการน� ำ เพลงของวงสุ ท ราภรณ์ ม า ดัดแปลงใหม่ และคุณทวนทอง นิยมชาติ หรือ พี่ทวน Day Tripper ซึ่งบุคคลสองท่านนี้เป็นผู้ ให้โอกาสพี่ขนุนได้ท�ำอัลบั้มของตัวเองในนาม


Nannue Tipitier ในปลายปี 2002 กับค่าย Junk Food Records และขายในงาน Fat Fest ที่อิมพีเรียลเวิลด์ ลาดพร้าว “ตอนนั้น เป็นช่วงเวลาที่ตื่นเต้น มีสังคมที่ค่อนข้าง แฮ็ปปี้มาก ได้ออกอัลบั้ม ได้คลุกคลีกับคน ที่ชอบในสิ่งที่ผมท�ำ ได้เรียนที่ SAE ด้วย” แต่พี่ขนุนก็เล่าว่าอาจเป็นเพราะใช้นามสกุล เดียวกับคุณสุรชัย จันทิมาธร หรือน้าหงาคาราวาน ที่ท�ำให้มีนักข่าวสนใจและมีคนมา รี วิ ว อัลบั้ม ให้ ม ากมาย “...ก็ได้เ รื่องสื่อ มากกว่าเรื่องอื่ น แต่ ก็ ไ ด้ เป็นที่รู้จัก บ้า ง ก็ เพราะผู้ใหญ่ช่วยผม” พี่ขนุนกล่าว หลังจากนั้น ก็มีดีเจสุหฤท สยามวาลา มา ชวนพี่ขนุนท�ำเพลงด้วยกันโดยติดต่อผ่าน ทางค่าย Junk Food Records “ตอนนั้น ท�ำงานสนุกมาก เพราะดีเจสุหฤทเป็นคนที่ ชอบเหมือนผม คือชอบอะไรแปลกๆเหมือน กัน” พี่ขนุนเปรียบว่าเขากับดีเจสุหฤทเป็น เหมือนคู่รักชั่วคราว คนหนึ่งมีไอเดีย อีกคน หนึ่งมีของ คือดีเจสุหฤทเป็นคนที่ชอบเสียง แปลกๆ ซึ่งพี่ขนุนสามารถสร้างได้ แต่ชอบ ท�ำดนตรีตามแบบแผน มีโครงสร้างดนตรี มีท่อนเพลงชัดเจน ท�ำให้สามารถฟังและ เข้าใจได้ง่าย “จริงๆแล้วตอนนั้นผมมีความ

ต่อต้าน ไม่ชอบ และขยะแขยงความเป็น แบบแผนของดนตรีป็อป เพราะว่าดนตรี อิเล็กทรอนิกส์อยู่ในบริบทที่ท�ำอะไรก็ได้ แต่พอได้ท�ำงานกับดีเจสุหฤทก็โอเคและ เข้าใจรายละเอียดตรงนั้นมากขึ้น การยื่น หมูยื่นแมวแบบนี้สนุกและลงตัวกว่าที่คิด ท�ำให้ผมเปิดใจให้กับการสร้างดนตรีแบบ นั้นมากขึ้น โดยที่ยังคงความสุดโต่งของตัว เองอยู่” อัลบั้ม Digital Punk ของดีเจ สุหฤทนี้ก็ออกมาโดยมี คุ ณ David วง Futon มาโปรดิวซ์ให้ และพี่ขนุนก็ได้เป็น co-producer ด้วย ซึ่งอัลบั้มนี้เองที่ท�ำให้ Nannue Tipitier ได้เข้าสู่วงการอย่างเป็น ทางการ พอเริ่มเข้าไปในวงการลึกมากขึ้น ก็เริ่ม รู้สึกว่าอะไรๆก็ไม่แน่นอน... “พอผมได้ ท� ำ เพลงออกกั บ ค่ า ยในฐานะ co-producer ก็ มี ค วามยิ บ ย่ อ ยเรื่ อ ง รายละเอียด ก็งงๆและไม่ค่อยเข้าใจ เริ่มมี ปั ญ หากั บ หลายๆอย่ า งเพราะรู ้ สึ ก ว่ า มั น ไม่แฟร์ พอลองงัดๆกับเรื่องเหล่านั้นก็ได้ เข้าใจในที่สุดว่ามันไม่เป็นอย่างที่เราคาด หวัง ท�ำให้เราต้องเผชิญกับปัญหา กับความ ไม่แน่นอน และความไม่มั่นคง ท�ำให้เข้าใจ



บทบาทของเรากับสิ่งที่อยู่ตรงหน้า การวางตัว รายได้ ซึ่งมันท�ำให้สะอึกเล็กน้อย...” พี่ขนุน ย้อนเล่าถึงความขมขื่นและบทเรียนที่ได้รับ จากวงการดนตรี “แต่ตอนนั้นพอเรียน SAE จบแล้วอาจารย์ของผมก็ชวนให้ไปสอนวิชา EMP (Electronic Music Production) ก็เลยได้ท�ำงานต่อใน SAE เลย ผมจึงรู้สึก ว่าชีวิตมั่นคงมากขึ้น แล้วก็ตอบโจทย์ในสิ่งที่ ผมต้องการ คือ ผมสามารถท�ำเพลงโดยไม่มี ใครมาบังคับผมได้ ไม่ตอ้ งอยูภ่ ายใต้กฏเกณฑ์ ใครทัง้ นัน้ แล้วก็มเี วลาฝึกฝีมอื ทีโ่ รงเรียนด้วย” ตั้งแต่ปี 2003 พี่ขนุนก็เลยถอยกลับไปตั้ง หลั ก แล้ ว เปลี่ ย นแนวไปเน้ น การเล่ น สด underground แบบ Live Electronic คือ เป็นการแสดงดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แบบสด นัน่ เอง โดยใช้ชอื่ ศิลปินว่า Nannue Tipitier และ Lord 101 ซึ่งเป็น Side Project กับ เพื่อนร่วมรุ่นจาก SAE คือ มิ้นต์ (Mint in Motion) และ แมกซ์ (Max Petersen) “การ เล่นแบบนี้เซ็ตหนึ่งความยาวอาจแค่ 20 นาที แต่ จริง ๆแล้ ว ต้ องใช้ เวลาเตรีย มเพลงและ ซ้ อ มนานมากเมื่ อ เที ย บกั บ การเล่ น เป็ น วง ดนตรีสดที่อ าจซ้ อมกั น แค่ ซัก 3 ชั่วโมงก็ เล่นได้ แล้วตอนนั้นพอเวลาคนชวนไปเล่น

งานไหน ผมก็จะท�ำเซ็ตใหม่ไปเล่นทุกครั้ง เพราะท�ำซ�้ำมันน่าเบื่อ แล้วมันก็ฝึกให้เราท�ำ เพลงเร็วขึ้นด้วย” แต่แสดงไปแสดงมา คนดูกลับไม่ได้เยอะ ขึ้น งานก็น้อย รายได้ก็ไม่เพิ่ม จึงสงสัยว่า ท�ำไม... “เวลาไปแสดง บางครั้งก็มีคนดูสิบคน บาง ครัง้ ก็หา้ สิบคน ไม่แน่นอนเอาเลย เราอยาก ให้มีคนมาเยอะขึ้นเป็นร้อยสองร้อยคนเพื่อ หวังจะมีรายได้บ้าง แต่คนดูก็ไม่เพิ่ม ยอด วิวก็ไม่ขึ้น ไม่มี offer งานจากไหนเลย ก็ สงสัยตัวเองว่าท�ำไม” พี่ขนุนเล่าถึงปัญหาที่ พบหลังจากเริม่ แสดงแบบ Live Electronic มากขึ้น ซึ่งพอได้พิจารณาแล้วก็เข้าใจว่า ปัญหาอาจเกิดมาจากตัวของเขาเอง ซึ่งพี่ ขนุ น ได้ อ ธิ บ ายไว้ ว ่ า “คนท� ำ เพลง อิเล็กทรอนิกส์บางคนอยากยัดเยียดความ เป็นอิเล็กทรอนิกส์ที่สุดยอดที่สุดของเขาให้ คนฟัง แต่พอคนฟังไม่เข้าใจหรือไม่สนใจก็ มักจะสรุปว่าเขายังไม่พร้อมที่จะรับเพลง ของตัวเองหรือไม่ก็หูไม่ถึง ซึ่งจริงๆแล้วเขา นั่นเองต่างหากที่ไม่เข้าใจหน้าที่ที่แท้จริง ของศิลปินที่มีอยู่สองครึ่งด้วยกัน ครึ่งแรก คือถ่ายทอดสิ่งที่เราคิดออกมาเป็นเพลง


อีกครึ่งหนึ่งคือเชื่อมโยงกับคนฟัง ถ้ามัวแต่ ถ่ายทอดสิ่งที่เราคิดแต่ไม่สนว่าคนฟังเข้า ถึ ง ได้ ห รื อ เปล่ า ก็ เ หมื อ นเรามี วิ ช าแต่ ถ่ายทอดไม่ได้ แต่ถ้าจุดมุ่งหมายคืออยาก ท�ำสิ่งที่เราชอบจริงๆ ก็ไม่ควรหวังว่าจะต้อง มีคนชอบเยอะหรอก ซึ่งหลายๆคนก็เป็น แบบนี้เช่นกัน” การตั้งตนว่าต้องไม่มีกรอบ ว่าแนวของเรา เท่านั้นดีที่สุด ท�ำให้เรากลายเป็นเผด็จการ ดนตรีได้... “คนที่โหยหาแต่อิสรภาพที่ปฏิเสธการอยู่ใน กรอบ อาจจะท� ำ ให้ ใ จและสัง คมของเรา แคบลง ถ้าไม่เคยถูกกักขังบังคับมาก่อนเรา จะเข้ า ใจว่ า อิ ส รภาพที่ แ ท้ จ ริ ง ได้ อ ย่ า งไร ถ้าเป็นศิลปินแล้วอยากจะสื่อสารกับคน เยอะๆ ต้ อ งการการยอมรั บ จากผู ้ ฟ ั ง เราต้องรู้ว่าเขารู้สึกอย่างไรถึงจะท�ำได้” นอกจากนี้ พี่ขนุนยังเล่าว่าการท�ำงานประจ�ำ แม้จะเป็นสิ่งที่ไม่อยากท�ำ แต่ก็ท�ำให้เข้าใจ อะไรๆมากขึ้น การไม่ประสบความส�ำเร็จ อย่างที่คาดหวังก็เหมือนกัน มันท�ำให้ได้ค้น พบตัวเอง ได้รู้จักกับความบกพร่องของตัว เอง ไม่ใช่เป็นการมองหาจุดอ่อนแต่เป็นการ

ค้ น พบความแตกต่ า งที่ ตั ว เองมี เ พื่ อ ให้ สามารถพัฒนาตัวเองต่อไปได้ ไม่ว่าจะเพื่อ การท�ำเพลงหรือสิ่งอื่นๆในชีวิต “เมื่อมอง ย้อนไป ชีวิตตอนนั้นดราม่าสุดๆ แต่พอมา คิดในตอนนี้ ทุกอย่างมันคือประสบการณ์ และทุกๆประสบการณ์ที่ผมได้รับในช่วง 5-7 ปีนั้นเป็นบทเรียนที่คุ้มค่ามากๆ มันท�ำให้ผม มีความสุขกับดนตรีในทุกๆด้านเลย” ไม่ว่าคุณรักที่จะท�ำอะไร จงรักมันไปจนกว่า จะหมดรัก และรักต่อไปไม่ได้แล้ว... “มี ช ่ ว งหนึ่ ง ที่ เ ข้ า ใจผิ ด คิ ด ว่ า ต้ อ งรู ้ จั ก คน เยอะๆเข้าไว้ ต้องออกไปเที่ยวไปฟังเพลง เยอะๆจนดึกๆดื่นๆ หลงไหลกับแสงสีเสียง และภาพลวงตา เพื่อที่ประสบการณ์นั้นๆจะ ท�ำให้เราท�ำเพลงดีๆได้มากขึ้น แต่ก็มารู้ตัวว่า เรามีเวลาท�ำเพลงได้น้อยลงทั้งๆที่ความสุข คือการได้ท�ำเพลงจริ ง ๆ คื อ ท� ำ ตลอดเวลา โดยไม่แคร์ว่าใครจะฟังไม่ฟัง ไม่ได้ต้องการ ท�ำเพลงให้คนกรี๊ด ท�ำมาก็ปล่อยออกไป คน จะชอบหรือไม่ ชอบก็ ไม่ เ ป็ นไร อะไรที่ ไม่ จ�ำเป็นต่อการท�ำเพลงก็ตัดๆๆมันออกไป...” “จากการตอบค�ำถามในการสัมภาษณ์นี้ ท�ำให้ ผมเข้าใจตัวเองมากขึ้นเหมือนกันนะ ท�ำให้




ตัวเองได้รู้ว่าสิ่งที่ส�ำคัญที่สุดในการใช้ชีวิต คือการท�ำสิ่งที่ตัวเองรักที่สุด และต้องท�ำ อย่างแน่วแน่เข้มแข็งมาก เพราะบางทีผลที่ ได้อาจจะไม่ได้เป็นอย่างที่เราคาดหวังเสมอ ไป ในการใช้ชีวิตมันจะมีปัจจัยอื่นๆที่ดึงเรา ออกจาก passion ที่ เรามี อยู่เ สมอ ผม อยากบอกย�้ำเตือนตัวเองและคนอ่านว่า ถ้า รักสิ่งใด ก็ให้รักมันถึงที่สุดจนกว่าจะหมด รักแม้ว่าจะต้องเจ็บปวดจนรักต่อไปไม่ได้ แล้วขนาดไหน ไม่ว่าเรื่องงานหรือเรื่องอะไร ก็ได้ คุณต้องท�ำให้ดีที่สุด จนกว่าเราจะไม่รู้ สึกรักมันอีกแล้ว...” จากการพูดคุยกับพี่ขนุนท�ำให้ผมสรุปได้ว่า การมีทิฐิยึดมั่นอยู่ในอุดมคติของตนเอง นั้น จะท�ำให้เราปิดกั้นตัวเองจากอิสรภาพ ที่ แ ท้ จ ริ ง นอกจากนี้ ก ารเรี ย นรู ้ ผ ่ า น ประสบการณ์ที่ขมขื่นและบีบบังคับบ้างจะ ท�ำให้เราเข้าใจสิ่งต่างๆได้มากขึ้น ท�ำให้เรา เปิดใจและมีความสุขได้มากยิ่งขึ้น เหมือน กับที่พี่ขนุนได้เรียนรู้ความไม่มีกรอบของ ดนตรี อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ จ ากการต้ อ งอยู ่ ใ น กรอบก่อนนั่นเอง ผมขอให้ทุกคนที่ก�ำลัง พยายามไขว่ ค ว้ า ความฝั น ของตั ว เองใน ตอนนี้ได้อดทนกับ ‘กรอบ’ ที่เราต้องอยู่

เถอะนะครับ เพราะมันจะเป็นตัวพิสูจน์ว่า เรารักสิ่งที่เราท�ำมากแค่ไหน และสุดท้่ายมัน จะท�ำให้เราสามารถพัฒนาตัวเองไปได้อย่าง ไม่สิ้นสุดครับ ผมขอขอบพระคุณพี่ขนุนมากๆครับที่สละ เวลามาให้ผมสัมภาษณ์ และแบ่งปันมุมมอง ใหม่ๆที่ดีส�ำหรับการใช้ชีวิตและการท�ำเพลง หากเพื่อนๆอยากรู้จัก Nannue Tipitier ให้ มากกว่านี้ ขอให้ติดตามได้ตามลิ้งค์เหล่านี้ เลยครับ https://www.facebook.com/NannueTipitier http://nannuetipitier.bandcamp.com https://soundcloud.com/nannuetipitier https://soundcloud.com/allfortheloveofmusic

ขอขอบคุ ณ น้ อ งอะตอม โสธร ฉุ ด พิ ม าย ส�ำหรับภาพถ่ายพี่ขนุนเล่นเปียโนและกีต้าร์ ครับ บทสัมภาษณ์ โดย พาย IndieCampfire

www.facebook.com/indiecampfire http://indiecampfire.wordpress.com


Film

ชั้น5 ... ท้าตาย เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ ความคึกคะนองของวัยรุ่น ที่ชอบท้าพิสูจน์ ชอบท้าทาย ในสิง่ ทีม่ องไม่เห็น จนท�ำให้เกิดเรือ่ งราวร้ายๆขึน้ โดยเนือ้ หาของหนังจะเกีย่ วกับวัยรุน่ สามคน สามคาแรคเตอร์ ที่ไปท้าพิสูจน์ในตึกหนึ่งของมหาลัย ที่มีเรื่องเล่ากันว่าผีดุจนถึงกับต้อง ปิดตายชั้น5ทั้งชั้น ทั้งสามคนต้องพบเจอกับเรื่องราวที่น่าขนลุกจนสิ่งที่พวกเขาต้องการ จะมาท้าทาย กลับท�ำให้พวกเขาต้องรู้จักกับค�ำว่าท้าตาย


ภาพยนตร์โดยนักศึกษาจาก สาขาออกแบบมัลติมีเดีย สมทบ รุ่น22 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ติดตามข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่แฟนเพจ www.facebook.com/5thfloordead

Play Video


Writer

เทคโนโลยี ? ผู้เขียน : หมีขาว


ในปั จ จุ บัน ที่ ชี วิ ต เราอยู่ท่า มกลางเทคโนโลยีและเมื อ งที่ ก� ำ ลั ง พัฒ นา เมื่ อมองไปรอบตั ว ผมสัมผัสได้ทันทีว่า โลกใบเก่ าสมั ยที่ ผ มเคย สร้ างมิ ต รภาพด้ ว ยการนั่งดีดลูก แก้วกับเพื่อนแบบตอนยั ง เป็ น เด็ ก นั้ น คงไม่ มีอีก แล้ว การละเล่นของเด็ก ยุค ใหม่ แ ปรเปลี่ ยน ไปอยู ่ บนฐานของระบบดิจิตอล บนรถโดยสารเราต้องเคยเห็นคนที่เ อาแต่เ ล่นสมาร์ ท โฟน ไม่ สนใจว่ าจะยื น เบี ยดเสีย ดกันแค่ไหน ไม่ ส นใจเรื่ องความปลอดภัย ไม่สนใจว่า ตัวเองได้ ส ร้ างภาระต่ อ สัง คมแค่ ไ หนเวลาตัวโอนไปเอนมา เมื่ อมื อที่ ส มควรเอาไว้จับราวให้มั่นคง ต้องมาถือ โทรศั พ ท์



เมื องที่ เต็ ม ไปด้วยตึก สูงและมลพิษ ถนนหนทางห้ างร้ านที่ เพิ่ ม ขึ้ น ทุ ก วั น สวนทางกับสวนสาธารณะสีเ ขีย วที่ ห าได้ ยากใน ปั จ จุ บั น เป็ น สิ่ ง ที่เ ราต้องการจริง เหรอ ? ท�ำไมเมื่ อ หลั ง จาก การตรากตร� ำ งานหนัก หรือเหนื่อยล้า กับความวุ ่ น วายในเมื อ ง พวกเรามั ก จะเลือกไปพัก ผ่อนในที่ที่สังคมเมืองยั ง เข้ าไม่ ถึ ง ไปให้ ธ รรมชาติ บ�ำบัดร่า งกายและจิตใจ และเคยรู ้ สึ ก เหมือนกันไหมว่า เราต่า งโหยหาธรรมชาติ มากขึ้ น ทุ ก ครั้ ง เมื่ อเราหามันได้น้อยลงเรื่อย ๆ จากสัง คมเมื อ ง แม้ เวลาที่ คิ ด ถึ งใครสัก คนจากที่เ คยส่ง จดหมายหรื อ ฝาก บทกลอนรั ก หวานซึ้ง ผ่า นตัวหนัง สือลงในกระดาษ ทุ ก วั น นี้ เราสามารถพิมพ์ส่ง ให้กันได้อย่า งรวดเร็ ว ผ่ านระบบที่ เขาเรี ย กกั น ว่ า โซเซีย ลเน็ตเวิร ์ค หรื อจะให้ อี โ มชั่นการ์ตูนสุดน่า รัก ในแอพพลิเ คชั่ น ท� ำ หน้ าที่ แทนก็ ไ ม่ มี ปั ญ หา


ผมไม่ มี ป ั ญหากั บ เทคโนโลยีหรือคนที่สร้า งมันและไม่ ได้ ท�ำ ตั ว ขว้ าง โลกที่ ก� ำ ลั ง พั ฒ นาอย่า งไม่คิดจะหยุดนี้ ถึงแม้ ตัว ผมเองจะถือได้ว่า เป็นมนุษ ย์ที่อ่อนแอเรื่อ งเทคโนโลยี และยั ง ตื่ น เต้ น ทุ ก ครั้งเมื่อต้องขึ้นรถไฟฟ้า หรือรถไฟใต้ ดิ นก็ เ ถอะ ผมเพี ย งแต่ คิ ด ว่ าเรื่องบางเรื่องที่คนเราต้องใช้อารมณ์ ความรู ้ สึ ก ส่ง ต่ อมิ ต รภาพอั น ดีต่อกันบนพื้นฐานของความจริง ใจ เทคโนโลยี อาจเป็ น สิ่ง ที่ท�ำให้ความจริงใจเหล่า นั้นค่ อ ย ๆ กลายเป็ น ความฉาบฉวย เมื่ อ เราให้หน้า จอแทนสายตา แทนค� ำ พู ด และการกระท�ำของเรามากจนเราลืมว่า เราเคยอิ่ มเอมใจ แค่ไหนกั บ การ์ ด อวยพรที่เ ขีย นด้วยลายมือใบแรก


ร่างกายและจิ ต ใจของคนเราไม่ได้ถูก สร้า งด้วยแผงวงจรแบบ ระบบดิ จิตอล มัน เป็ น สิ่ง ที่ ล ะเอี ย ดอ่อนเกินกว่า จะสามารถเติมเต็ มความรู ้ สึ ก และคุ ณภาพชี วิตทั้งหมดด้วยเทคโนโลยี สุด ท้ า ยผมก็ ยั ง แอบเชื่อว่า ต้องมีคนที่ต้องการ ต้น ไม้ กั บ ทุ ่ ง หญ้ า โล่ง ๆ พร้ อมควายสัก ตัวสองตัว แทนรถไฟฟ้ ากั บ ความแออัดในเมืองใหญ่ และยั ง ยิ้ ม มี ค วามสุขทุก ครั้งที่เ ขีย นความรู้สึก ด้วยลายมื อ ในการ์ ด เพื่อ เป็ น ของขวั ญ ให้กับคนส�ำคัญ # หมี ข าว

เพจงานเขีย น หมีขาว Facebook : www.facebook.com/mheekaw


www.facebook.com/comonfolks


ติดต่อโฆษณา 086 -194-5747



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.