วันอาสาฬหบูชา

Page 1

👇

วันอาสาฬหบูชา วันขึ้น 15 คํ่า เดือน 8 ของทุก ๆ ป สําหรับ วันอาสาฬหบูชา 2563 ตรงกับวันอาทิตยที่ 5 กรกฎาคม ถือเปนวันหยุดราชการและวันหยุดธนาคาร ซึ่งวัน นี้มีความสําคัญคัญอยางไรมาดูกัน

คลิกเลยคะ https://dai.ly/x7bz0k6 หองสมุดประชาชนอําเภอเปอยนอย


สําหรับพุทธศาสนิกชนทุกคน คงทราบกันดีวา ทุก วันขึ้น 15 คํ่า เดือน 8 ของทุกป จะตรงกับวันสําคัญทางพุทธ ศาสนาอีกหนึ่งวัน นั่นคือ "วันอาสาฬหบูชา" ซึ่งในป 2563 วันอาสาฬหบูชา ตรงกับวันอาทิตยที่ 5 กรกฎาคม (ขึ้น 15 คํ่า เดือน 8) แตหลายทานอาจจะยังไมทราบความเปนมา เกี่ยวกับวันอาสาฬหบูชาเทาใดนัก ดังนั้นวันนี้เรามี ประวัติ วันอาสาฬหบูชา มาฝากกันคะ

ทั้งนี้ คําวา "อาสาฬหบูชา" สามารถอานได 2 แบบ คือ อา-สาน-หะ-บู-ชา หรือ อา-สา-ละ-หะ-บู-ชา ซึ่งจะ ประกอบดวยคํา 2 คํา คือ อาสาฬห ที่แปลวา เดือน 8 ทาง จันทรคติ กับคําวา บูชา ที่แปลวา การบูชา เมื่อนํามารวมกัน จึงแปลวา การบูชาในเดือน 8 หรือการบูชาเพื่อระลึกถึง เหตุการณสําคัญในเดือน 8


วันอาสาฬหบูชา คือวันที่พระพุทธเจาไดทรงประกาศพระพุทธศาสนาเปนครั้งแรก หลังจากตรัสรูได 2 เดือน โดย แสดงปฐมเทศนาโปรดพระปญจวัคคียทั้ง 5 ไดแก พระโกณฑัญญะ พระวัปปะ พระภัททิยะ พระมหานามะ และพระอัสสชิ ที่ปา อิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี แควนมคธ จนพระอัญญาโกณฑัญญะ ไดบรรลุธรรมและขอบวชเปนพระภิกษุรูปแรกใน พระพุทธศาสนา จึงถือวาวันนี้มีพระรัตนตรัยครบองคสามบริบูรณครั้งแรกในโลก คือ มีทั้งพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ ซึ่ง เหตุการณนี้เกิดขึ้นกอนพุทธศักราช 45 ป ทั้งนี้ พระธรรมที่พระพุทธเจาทรงแสดงแกปญจวัคคียทั้ง 5 เรียกวา "ธัมมจักกัปปวัตนสูตร" แปลวา พระสูตรแหงการ หมุนวงลอธรรม ซึ่งหลังจากปฐมเทศนา หรือเทศนากัณฑแรกที่พระองคทรงแสดงจบลง พระอัญญาโกณฑัญญะก็ไดดวงตา เห็นธรรม สําเร็จเปนพระโสดาบัน จึงขออุปสมบทเปนพระภิกษุในพระพุทธศาสนา พระพุทธเจาก็ไดประทานอุปสมบทใหดวย วิธีที่เรียกวา "เอหิภิกขุอุปสัมปทา" พระโกณฑัญญะจึงไดเปน พระอริยสงฆองคแรกในพระพุทธศาสนา ตอมา พระวัปปะ พระ ภัททิยะ พระมหานามะ และพระอัสสชิ ก็ไดดวงตาเห็นธรรม และไดอุปสมบทตามลําดับ


สําหรับใจความสําคัญของการปฐมเทศนา มีหลักธรรมสําคัญ 2 ประการ คือ 1. มัชฌิมาปฏิปทา หรือทางสายกลาง เปนขอปฏิบัติที่เปนกลาง ๆ ถูกตองและเหมาะสมที่จะใหบรรลุถึงจุดหมายได มิใชการ ดําเนินชีวิตที่เอียงสุด 2 อยาง หรืออยางหนึ่งอยางใด คือ การหมกมุนในความสุขทางกาย มัวเมาในรูป รส กลิ่น เสียง รวมความเรียกวาเปนการหลงเพลิดเพลินหมกมุนในกาม สุข หรือกามสุขัลลิกานุโยค การสรางความลําบากแกตน ดําเนินชีวิตอยางเลื่อนลอย เชน บําเพ็ญตบะการทรมานตน คอยพึ่งอํานาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เปนตน ซึ่งการดําเนินชีวิตแบบที่กอความทุกขใหตนเหนื่อยแรงกาย แรงสมอง แรงความคิด รวมเรียกวา อัตตกิลมถานุโยค ดังนั้น เพื่อละเวนหางจากการปฏิบัติทางสุดเหลานี้ ตองใชทางสายกลาง ซึ่งเปนการดําเนินชีวิตดวยปญญา โดยมีหลัก ปฏิบัติเปนองคประกอบ 8 ประการ เรียกวา อริยอัฏฐังคิกมัคค หรือ มรรคมีองค 8 ไดแก

1. สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบ คือ รูเขาใจถูกตอง เห็นตามที่เปนจริง 2. สัมมาสังกัปปะ ดําริชอบ คือ คิดสุจริตตั้งใจทําสิ่งที่ดีงาม 3. สัมมาวาจา เจรจาชอบ คือ กลาวคําสุจริต 4. สัมมากัมมันตะ กระทําชอบ คือ ทําการที่สุจริต 5. สัมมาอาชีวะ อาชีพชอบ คือ ประกอบสัมมาชีพหรืออาชีพที่สุจริต 6. สัมมาวายามะ พยายามชอบ คือ เพียรละชั่วบําเพ็ญดี 7. สัมมาสติ ระลึกชอบ คือ ทําการดวยจิตสํานึกเสมอ ไมเผลอพลาด 8. สัมมาสมาธิ ตั้งจิตมั่นชอบ คือ คุมจิตใหแนวแนมั่นคงไมฟุงซาน


2. อริยสัจ 4 แปลวา ความจริงอันประเสริฐของอริยะ ซึ่งคือ บุคคลที่หางไกลจากกิเลส ไดแก 1. ทุกข ไดแก ปญหาทั้งหลายที่เกิดขึ้นกับมนุษย บุคคลตองกําหนดรูใหเทาทันตามความเปนจริงวามันคืออะไร ตองยอม รับรู กลาสูหนาปญหา กลาเผชิญความจริง ตองเขาใจในสภาวะโลกวาทุกสิ่งไมเที่ยง มีการเปลี่ยนแปลงไปเปนอยางอื่น ไมยึด ติด 2. สมุทัย ไดแก เหตุเกิดแหงทุกข หรือสาเหตุของปญหา ตัวการสําคัญของทุกข คือ ตัณหาหรือเสนเชือกแหงความ อยากซึ่งสัมพันธกับปจจัยอื่น ๆ 3. นิโรธ ไดแก ความดับทุกข เริ่มดวยชีวิตที่อิสระ อยูอยางรูเทาทันโลกและชีวิต ดําเนินชีวิตดวยการใชปญญา 4. มรรค ไดแก กระบวนวิธีแหงการแกปญหา อันไดแก มรรคมีองค 8 ประการดังกลาวขางตน


กิจกรรมวันอาสาฬหบูชา พิธีกรรมโดยทั่วไปที่นิยมกระทําในวันนี้ คือ การทําบุญ ตักบาตร รักษาศีล ฟงพระธรรมเทศนา และสวด มนต ในตอนคํ่าก็จะมีการเวียนเทียนที่เปนการสืบทอดประเพณีอันดีงามของไทยเรา ดังนั้น พุทธศาสนิกชนทั้งหลายควรเขาวัด เพื่อนอมระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย อีกทั้งยังเปนการชวยชะลางจิตใจใหปลอดโปรงผองใส จะไดมีรางกายและจิตใจที่พรอม สําหรับการดําเนินชีวิตในยุคที่คาครองชีพถีบตัวสูงขึ้นอยางนี้…

ขอบคุณขอมูลจาก - ธรรมะไทย - สํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.