P O R VONGSAKORN PIWSAMANG
T F O L I O PHOTOGRAPHER
01
PORTRAIT 02
FASHION 03
DOCUMENTARY 04
FOOD 05
ARCHITECTURE 06
DRONE 07
LANDSCAPE 08
COLLAGE 09
MAGAZINE
PORTRAIT
-/ CAMPING OCCUPATION LABOR LABOR FAMILY
CAMPING
OCCUPATION
LABOR
LABOR FAMILY
FASHION
-/
FASHION SAILOR FASHION FOR MEN FASHION FOR NAPAL The Other side
FASHION SAILOR
FASHION FOR MEN
FASHION FOR NAPAL
The Other side About Sadiam & Masochiam that happens in specific person. The motivation maybe from many reasons and only specific person will know how it feels.
DOCUMENTARY
-/ ANGKOR PROJECT
FOOD
ARCHITECTURE
-/ COOL DOWNS RESORT MAERIM
DRONE AERIAL PHOTOGRAPHY
-/ Aerial drone photography and videography
Aerial Drone Photography
Aerial Drone Videography “Ride for life” Indian motorcycle black chief & Bmw r60us Link For Watching : https://vimeo.com/197512963
“Volkswagen 1958 Split bus” Link For Watching : https://vimeo.com/196562601
LAND SCAPE
DIGITAL COLLAGE
MAGAZINE
-/ Mure Magazine : นิตยสารเล่มนี้เป็น Project ทำ�ร่วมกันในชั้นเรียน เพื่อทำ�เป็นนิตยสาร FREE COPY แจกในจังหวัดเชียงใหม่ Proud Of Chiang Mai By Thainews : ภาพถ่ายของผมได้ลงใน นิตยสาร Proud Freecopy ViewPlusMagazine issue.40 October 2016 : ผลงาน Digital Collage ของผมได้ลงในนิตยสาร ViewPlusMagazine issue.40 Showcase Digital Magazine Online and Free download
Mure Magazine
Proud Of Chiang Mai By Thainews
1.pdf
1
9/5/2558 BE
1:27 AM
OF CHIANGMAI BY THAINEWS
ISSUE 11 | SEPTEMBER 2015
The Heart of City
สถาปตยกรรมเชิงอนุรักษ ใครก็ตามที่รัก ตนไม และใครก็ตามที่ชื่นชอบการเดินปา อาจารย จ ุ ล คื อ ผู เ ชี ่ ย วชาญในด า นของ พันธุไมพื้นถิ่น เปนนักสำรวจผืนปาและผู ปลูกปาในคราวเดียวกัน เขาคือคนที่ปลูก อาจารยจลุ - จุลพร นันทพานิช สถา- ปาใหกับเมืองๆ นี้มาแลวนับไมถวน ปนิกเจาของ North Forrest Studio หัวขอการสนทนาในฉบับนี้วาดวยเรื่อง ที่ผลิตผลงานเชิงอนุรักษ เปนที่รูจักกัน ของการพัฒนาเมืองควบคูไปกับการพัฒนา เปนอยางดีสำหรับใครก็ตามที่ชื่นชอบงาน พื้นที่สีเขียวในเมือง และเราจะพาผูอานไป รูจักวาอะไรที่ปลูกฝงเขาใหกลายมาเปน คนที่เคารพและรักธรรมชาติรวมถึงสิ่งแวดลอมมากขนาดเพียงนี้ แลวที่สำคัญ ทำไมเราทุกคนถึงควรเคารพตนไมและสิ่งแวดลอม อาจจะเพราะวา “ตนไมคือหัวใจ ของความเปนเมือง” เราทุกคนในฐานะของ ‘คนเมือง’ ผูดำรงชีวิตอยูในเมืองจึงตอง ตระหนักเปนอยางยิ่งวา เราไมสามารถ ปลอยใหเมืองสูญเสียหัวใจของเมืองลงไป เพราะนั่นหมายความวาเมืองของเราทุกคน กำลังจะตาย (อานตอหนา 9)
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
The conversation between sunlight and green architecture สถาป ต ยกรรมสี เ ขี ย วต า งจากสถาปตยกรรมทั่วไปหรือไม หรือจะตองเปน สถาปตยกรรมทีป่ ระหยัดพลังงาน (Energy saving) อนุรักษสิ่งแวดลอม (Environment conservation) เปนสถาปตยกรรมพื้นถิ่น (Vernacular architecture) ดังเชนบานเรือนในอดีตไดหรือไม หรื อ ต อ งเป น สถาป ต ยกรรมสมั ย ใหม (Modern architecture) ที่ตองใชเทคโนโลยีทันสมัยในการกอสรางหรือใชงาน ซึ่งในการตอบคำถามเหลานี้ดวยบทสนทนา
ระหว า งแสงแดดกั บ สถาป ต ยกรรม เป น วาทะของปรากฎการณเชิงเปรียบเทียบของ เหตุ ก ารณ เ มื ่ อ แสงอาทิ ต ย ต กกระทบบน พื้นผิวของสถาปตยกรรมอันเปนเหตุและ ผลของคุณสมบัติที่ควรมีของสถาปตยกรรมสีเขียว การกลาวถึง แสงแดด (Sunlight) ซึง่ เปนปจจัยที่มีหลายบทบาทในการแสดงตัว ตน อันอาจกลาวไดวาแสงแดดมีตนกำเนิด มาจากปรากฏการณลูกโซของอะตอมไฮโรเจนที่เรียกวานิวเคลียรฟวชั่น (Nuclear fusion) เกิดเปนความรอนปริมาณมหาศาล ที่สูงเกินกวาที่จะจินตนาการไดถึง 6,000 องศาเซลเซี ย สบริ เ วณผิ ว นอกของดวง อาทิตย ปลดปลอยเปนรังสีที่ถูกแผไปใน รูปของพลังงานคลื่นแบบตางๆ ผานชั้น... (อานตอหนา 12)
ภาพ : วงศกร ผิวสำอางค
Cool City That’s So Cool ‼
คุณปอ - ภราดล พรอำนวย นักดนตรี แจส เขาคือนักดนตรีและเจาของรานดนตรี Jazz ชื่อดังของเชียงใหม เปนนักเดินทาง ที่พกพาเอาหัวใจและ Saxophone ติดตัว ไปดวยที่หนแหง ผูที่เดินทางจากเมืองไทย สูอีกฟากหนึ่งของโลก และผูเขียนบันทึก
Health & Beauty
How to look good when you wake up หนา 22
การเดินทางที่วาดวยเรื่องราวของเขาภาย ใตชื่อหนังสือวา ‘ลมใตปอด’ ครั้งนี้เขาไดเปนผูนำของกลุมที่ใชชื่อ วากลุม ‘มือเย็นเมืองเย็น’ กลุม ทีข่ บ ั เคลือ่ น การปลู ก ต น ไม ใ นจั ง หวั ด เชี ย งใหม และ สรางกระแสในเชิงบวกตอผูค นและชาวเมือง ดวยการปลูกตนไมในเมืองเชียงใหม ครั้งนี้เราคุยกันวาดวยเรื่องของแนวคิด และตั ว ตนของเขาที ่ เ กี ่ ย วกั บ เรื ่ อ งของ ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมลวนๆ แลวคุณ จะรับรูไดวาตนไมสำคัญอยางไร (อานตอหนา 10)
Restaurant & Cafe
Woo - Cafe • Art Gallery • Lifestyle Shop หนา 19
ในขณะที่โครงการเกี่ยวกับโครงสราง พื ้ น ฐานของความเป น เมื อ งอย า งระบบ สาธารณูปโภค ระบบโทรคมนาคม ระบบ ขนสงมวลชน ศูนยการคาขนาดเล็กไปจน ถึงใหญ ไดรับการนำเสนอสูมวลชน และมี การพัฒนาโครงการไปอยางตอเนื่องแลว นั้น รูหรือไมวาความเปนเมืองที่กลาวมานั้น ไดใชทรัพยากรในปริมาณมหาศาล โดย เฉพาะทรัพยากรธรรมชาติที่นับวันจะเหลือ นอยลงทุกที ซึ่งนำมาสูการไรซึ่งสูญเสีย ลมหายใจ ถึงแมวาเมืองจะโตเพียงใดการสู ญ สิ ้ น ของธรรมชาติ ป า และเขา ก็ ค ื อ หายนะสำหรั บ มนุ ษ ย ท ุ ก คน เพราะพื ้ น ที ่ เหลานี้คือ ‘ปอด’ ของโลก
Travel
ทองเที่ยวสไตลใหม วิถีไทย ใกลบาน หนา 18
วาระเช น นี ้ PROUD ฉบั บ เดื อ น กันยายน ขอใหพน้ื ทีห่ นาปกหนังสือของเรา เปนสีขาวดำเพื่อไวอาลัยใหกับการพัฒนา เมืองที่ตองแลกมาดวยการใชทรัพยากร อันจำกัดอยางไมจบไมสิ้น อยางไรก็ตาม หลังจากไดพูดคุยกับกลุมคนที่รักในสิ่งแวดลอมและธรรมชาติ ทำใหเราไดรูวาเรา ทุกคนยังมีความหวังได และความหวังของ เราก็คือพื้นที่สีเขียวทุกจุดไมวาจะเล็กหรือ ใหญ ทั ้ ง สวนสาธารณะในเมื อ ง ไร แ ละ แปลงผักของเกษตรกร สวนหลังบานของ ทุกคน ปาทุกหนแหงหรือแมแตตนไมหนึ่ง ตนทามกลางพื้นที่วางเปลา พื้นที่สีเขียว เหลานี้จึงเปนความหวังของเราทุกคน
Story
PROUD ฉบับนี้มีเนื้อหาวาดวยความหวั ง เป น เรื ่ อ งราวของการพั ฒ นาพื ้ น ที ่ สีเขียวในเมือง ทั้งบทสัมภาษณของนักเคลื่อนไหวที่รวมกลุมกันเพื่อพัฒนาพื้นที่ สีเขียวของตัวเมือง สถาปนิกที่ออกแบบ งานเชิงอนุรักษ นักวิจัยเพื่อพัฒนาโครงการดานสิ่งแวดลอม รวมถึงบทความที่พูด ถึงโครงสรางผังเมืองและสถาปตยกรรม สีเขียว ทัง้ หมดนีค้ อื เรือ่ งราวทีจ่ ะจุดประกาย ความหวังสำหรับการพัฒนาเมืองอยาง ยั่งยืน เพื่อใหผูอานไดรูวาเมืองของเรา สามารถกลายเป น เมื อ งในฝ น ที ่ เ ติ บ โต อยางถูกทิศทาง เพื่อใหรูวา ‘ปอด’ และ ‘ลมหายใจ’ ของเรายังไมสูญหายไปไหน
Lost in Capital คนเคยหลงกรุงฯ หนา 24
ViewPlusMagazine issue.40 October 2016
-/ THANKYOU