โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลำโพง

Page 1

โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area นางสาววรกมล นาคหรั่ง 1601020551111 นางสาวมัณฑณี หินอ่อน 1601020551134 นายภัคพล สังข์ทอง 1601020551139

รายวิชา ปฎิบัติการอนุรักษ์และฟื้นฟูบูรณะเมือง Urban Conservation and Rehabilition studio URA 5212

1


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

บทที่ 1 วิเคราะห์พื้นที่ศึกษา (พื้นที่ศึกษา) 1.1 ที่มาและความสาคัญ 1.1.1 ที่ตั้งและขอบเขตพื้นที่ศึกษา 1.1.2 บทบาทของพื้นที่ศึกษาและความสัมพันธ์กับพื้นที่โดยรอบ 1.2 วิวัฒนาการของย่านหัวลาโพง 1.3. ย่านหัวลาโพงในปัจจุบัน 1.3.1 ข้อมูลเชิงกายภาพ เช่น - โครงสร้างและองค์ประกอบทางกายภาพของย่านหัวลาโพง - โครงข่ายการคมนาคม - การใช้ประโยชน์ที่ดิน - การใช้ประโยชน์อาคาร - ลักษณะอาคารและสิ่งปลูกสร้าง - ระบบที่ว่างและพื้นที่เปิดโล่ง - สภาพภูมิทัศน์และมุมมองสาคัญ 1.3.2 ข้อมูลเชิงสังคมและวัฒนธรรม เช่น - ข้อมูลประชากร - ข้อมูลชุมชน - การรวมกลุ่มทางสังคม - มรดกวัฒนธรรมที่จับต้องได้ - มรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ - วิเคราะห์และประเมินคุณค่ามรดกวัฒนธรรม 1.3.3 ข้อมูลเชิงเศรษฐกิจ เช่น - กิจกรรมการค้า - กิจกรรมการท่องเที่ยว 1.4 การศึกษาข้อมูลโครงการในอนาคตที่เกี่ยวข้อง 1.4.1 โครงการโดยภาครัฐ 1.5 ข้อมูลด้านกฎหมาย 1.5.1 ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร 1.5.3 ข้อบัญญัติควบคุมอาคาร

3 4 5 6

7 13 16 17 18 19 20 21 22 23 24 24 25 26 27 29 30 31

1.6 สรุปผลการวิเคราะห์ศักยภาพ ปัญหา โอกาส และภาวะคุกคาม บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และกรณีศึกษาที่เกีย่ วข้อง 2.1 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2.2 กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 ภาพอนาคตของย่านหัวลาโพง (พื้นที่ศึกษา) 3.1 เทรนด์การเปลี่ยนแปลงของย่านหัวลาโพง 3.2 วิเคราะห์ผู้ใช้งานปัจจุบันและอนาคต (User Analysis) 3.3 บทบาทของย่านในอนาคต (ที่คาดว่าจะเป็น) และความสัมพันธ์กับพื้นที่โดยรอบ 3.4 วิสัยทัศน์ของย่านหัวลาโพง 3.5 ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และฟื้นฟูย่าน - ด้านมรดกวัฒนธรรม - ด้านการใช้ที่ดิน - ด้านภูมิทัศน์ - ด้านจราจร - ด้านสาธารณูปโภค - ด้านสาธารรูปการณ์ - ด้านกายภาพวิถีชุมชน - ด้านการท่องเที่ยว บทที่ 4 ผังแม่บทเพือ่ การอนุรก ั ษ์ฟน ื้ ฟูยา่ นหัวลาโพง 4.1 การกาหนดขอบเขตพืน ้ ที่โครงการ 4.2 ผังแนวคิดเพือ่ การอนุรก ั ษ์และฟืน ้ ฟูพน ื้ ที่ 4.3 ผังกาหนดแนวทางการออกแบบตามมาตรฐานทางสถาปัตยกรรมผังเมือง 4.3.1 ผังรายละเอียดการใช้ประโยชน์ที่ดิน 4.3.2 ผังรายละเอียดด้านพื้นที่โครงการ (Zoning) 4.3.3 ผังโครงข่ายการสัญจร 4.3.4 ผังรายละเอียดด้านพื้นที่ว่างสาธารณะและภูมิทัศน์ 4.3.5 ผังการควบคุมและส่งเสริมภูมิทัศน์ 1) ผังการควบคุมความสูงตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร 2) ผังแนวทางการส่งเสริมภูมิทัศน์พื้นที่ 4.4 ผังโปรแกรมการอนุรักษ์และฟืน ้ ฟูพน ื้ ที่ 4.5 ผังแม่บท Master Plan 4.6 การพัฒนาเชิงพืน ้ ที่ 4.7 โครงการอนุรก ั ษ์และฟืน ้ ฟูพน ื้ ที่นาร่อง 4.8 แนวทางการดาเนินโครงการตามผังแม่บทสู่การปฏิบต ั ิ

32 34 35 36 37 38 39 40

42 46 47 48 49 50 51 52 53 57 58 60 69 92

2


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ที่ตั้งและอาณาเขต ตั้งอยู่ที่ภาคกลาง ของจังหวัดกรุงเทพมหานคร พื้นที่ศึกษาครอบคลุม 2 แขวง คือ แขวงรองเมือง และ แขวงป้อมปราบ มีขนาด

ภาพ 1.1 ที่ตั้ง และ ขอบเขตพื้นที่ศึกษา

อาณาเขตติดต่อดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ

ที่มา จากผู้ศึกษา 2564

ติดต่อกับ คลองแสนแสบ

ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ถนนจารุเมือง

ทิศตะวันตก

ติดต่อกับ แขวงวัดเทพศิรินทร์

ทิศใต้

ติดต่อกับ ถนนพระรามที่ 4

3


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

บทบาทของพื้นที่ศึกษาและความสัมพันธ์กับพื้นที่โดยรอบ ย่านตลาดมหานาค

ความสัมพันธ์ของพื้นที่โดยรอบ มีที่งหมด 6 พื้นที่ ได้แก่ 1. ย่านตลาดมหานาค เป็นตลาดขายส่งผลไม้ขนาดใหญ่ ซึ่งตั้งอยู่บริเวณทางเดินทางเข้า คลองมหานาค เป็นร้านแผงลอยอยู่ติดๆกัน 2. ย่านป้อมปราบศูตรพ่าย เป็นย่านประเภทแหล่งงาน แหล่งจับจ่ายใช้สอย สถานที่บริการ สาธารณะและธุรกรรมในระดับสูง 3.ย่านเยาวราช เป็นย่านการค้าของคนจีนและคนไทยเชื้อสายจีน ธุรกิจการค้าในย่านเยาวราช มีความหลากหลาย ทั้งธุรกิจการค้า, การเงิน, ร้านอาหาร, รวมไปถึงโรงแรมที่พักต่าง ๆ 4.ย่านตลาดน้อย พื้นที่บริเวณตลาดน้อยเป็นถิ่นอยู่อาศัยของชาวจีนและชาวไทยเชื้อสายจีน 5.ย่านจุฬาฯสามย่าน เป็นย่านที่มีความผสมผสานของไลฟ์สไตล์, การช้อปปิ้ง และ บรรยากาศของย่านสานักงานและการศึกษา 6.ย่านราชเทวี จัดเป็นย่านคอนโดมิเนียมระดับไฮเอนด์ และอพาร์ทเม้นท์ให้เช่าปรับราคาสูงขึ้น ตามภาวะตลาด

ย่านราชเทวี ย่านป้อมปราบ ศูตรพ่าย

ย่าน จุฬาฯสามย่าน

ย่านเยาวราช

ย่านตลาด น้อย

ภาพ 1.2 ความสัมพันธ์กับพื้นที่โดยรอบ ที่มา จากผู้ศึกษา 2564 4


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

วิวัฒนาการของย่าน วิวัฒนาการของย่านมีทั้งหมด 3 ย่านในพื้นที่ศึกษา ได้แก่ 1. ย่านหัวลาโพง 2. ย่านตลาดโบ๊เบ๊ และ 3. ย่านวงเวียน 22 กรกฎาคม

ภาพ 1.3 วิวัฒนาการของย่าน ที่มา จากผู้ศึกษา 2564 5


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ย่านในพื้นที่มีทั้งหมด 3 ย่าน ได้แก่ ในปัจจุบัน 1. ย่านหัวลาโพง เป็นย่านศูนย์กลางการเดินทางโดยรถไฟและเป็นพื้นที่เปลี่ยนถ่ายของคน และสิ่งของ ย่านหัวลาโพงจึงเปรียบเสมือนประตูเมืองเก่าที่จะเข้าไปสู่พื้นที่วัฒนธรรมเก่าแก่ ย่านหัวลาโพงมีความสาคัญและมีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานและบริเวณย่านหัวลาโพง 2. ย่านตลาดโบ๊เบ๊ เป็นย่านเตลาดจาหน่ายเสื้อผ้าขายส่งแหล่งใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของ กรุงเทพฯที่มีความความหลากหลายทางสังคม ทั้งผู้คนหรือสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ 3. ย่านวงเวียน 22 กรกฎาคม เป็นย่านที่มีความประวัติศาสตร์ ส่วนใหญ่ในพื้นที่ทาธุรกิจ อะไหล่ยนต์เป็นหลักและเป็นย่านของอร่อย มีร้านอาหารและคาเฟ่เยอะในพื้นที่

ย่านตลาดโบ๊เบ๊

ย่านวงเวียน 22 กรกฎาคม

ย่านหัวลาโพง

ภาพ 1.4 ย่านในพื้นที่ในปัจจุบัน ที่มา จากผู้ศึกษา 2564

6


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ข้อมูลเชิงกายภาพ - โครงสร้างและองค์ประกอบทางกายภาพของย่านหัวลาโพง องค์ประกอบทางกายภาพของย่านหัวลาโพงในอดีตที่ยังคงมีอยู่ในปัจจุบัน เช่น วัดบรมนิวาส ราชวรวิหารที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน และยังมีหัวลาโพงที่มีประวัติศาสตร์ สาคัญในพื้นที่และยังเป็นจุดหมายตาสาคัญของพื้นที่

ภาพ 1.5 โครงสร้างของย่านหัวลาโพง ที่มา จากผู้ศึกษา 2564

7


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ข้อมูลเชิงกายภาพ - ย่านที่สาคัญในพื้นที่ จะมี 3 ย่าน ได้แก่ 1.ย่านตลาดโบ๊เบ๊ เป็นย่านตลาดจาหน่ายเสื้อผ้าขายส่งแหล่งใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของกรุงเทพฯ 2.ย่านหัวลาโพง เป็นย่านที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานของพื้นที่ และยังเป็นย่านศูนย์กลางการเดินทางโดยรถไฟ 3. ย่านวงเวียน 22 กรกฎาคม สร้างขึ้นเพื่อราลึกถึงวันที่ ร.6 ที่ไทยประกาศร่วมรบกับฝ่ายสัมพันธมิตร ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส

ภาพ 1.6 ย่านที่สาคัญในพื้นที่ ที่มา จากผู้ศึกษา 2564

8


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ข้อมูลเชิงกายภาพ - จุดหมายตาในพื้นที่ มีทั้งหมด 9 แหล่ง ที่โดดเด่นและเป็นจุดนาสายตาให้คนที่มาเยือนในพื้นที่จดจาพื้นที่ได้ มีเอกลักษณ์แต่ละแหล่งที่แตกต่างกัน เช่น หัวลาโพง วงเวียน 22กรกฎาคม วัดบรมนิวาส ราชวรวิหาร และอาคารศรีจุลทรัพย์

ภาพ 1.7 จุดหมายตาในพื้นที่ ที่มา จากผู้ศึกษา 2564

9


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ข้อมูลเชิงกายภาพ - ศาสนสถานที่มีความสาคัญในพื้นที่และเป็นที่ศักการะของผู้คนทั่วไปที่เข้ามาเยือนในพื้นที่ เช่น วัดบรมนิวาส ราชวรวิหาร เป็นวัดหลวงทีม่ ีความสาคัญทางประวัติศาสตร์ อยู่ในกรุงรัตนโกสินทร์มาอย่างยาวนานและต่อเนื่องและได้ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน

ภาพ 1.8 ศาสนสถานที่สาคัญ ที่มา จากผู้ศึกษา 2564 10


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ข้อมูลเชิงกายภาพ - โบราณที่ขึ้นทะเบียนและจับต้องได้ ได้แก่ วัดบรมนิวาส ราชรวิหาร คลองผดุงกรุงแกษม และ สะพานเจริญราษฏร์ 32 และที่จับต้องไม่ได้ จะเป็นพวก ประเพณีวัฒนธรรม ที่สืบทอดต่อกันมา ได้แก่ งานทอกกฐินวัดดวงแข

ภาพ 1.9 โบราณที่ขึ้นทะเบียน ที่มา จากผู้ศึกษา 2564 11


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ข้อมูลเชิงกายภาพ - บริบทกายภาพคลองผดุงกรุงเกษมที่มีต่อพื้นที่ เช่น วัฒนธรรมและสังคม การสัญจรในเมือง เศรษฐกิจและการท่องเที่ยว สิ่งแวดล้อม

ภาพ 1.10 บริบทกายภาพคลองผดุงกรุงเกษมที่มีต่อพื้นที่ ที่มา จากผู้ศึกษา 2564 12


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ข้อมูลเชิงกายภาพ - โครงข่ายการคมนาคม มีทั้ง บก รางและน้า โครงข่ายการคมนาคมทางบก ถนนสายหลักได้แก่ ถนนพระรามที่ 1และพระรามที่ 4 ถนนสายรอง ได้แก่ ถนนรองเมือง ถนนไมตรีจิตต์และถนนสายย่อยจะเป็นถนนใน ชุมชนเช่น ชุมชนตรอกสลักหิน

ภาพ 1.11 โครงข่ายการคมนาคมทางบก ที่มา จากผู้ศึกษา 2564 13


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ข้อมูลเชิงกายภาพ

- โครงข่ายการคมนาคม มีทั้ง บก รางและน้า โครงข่ายการคมนาคมทางราง ได้แก่ ทางด่วนศรัช รถไฟฟ้าสายสีแดง และ MRT หัวลาโพง

ภาพ 1.12 โครงข่ายการคมนาคมทางราง ที่มา จากผู้ศึกษา 2564 14


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ข้อมูลเชิงกายภาพ - โครงข่ายการคมนาคม มีทั้ง บก รางและน้า โครงข่ายการคมนาคมบอกตาแหน่งทางน้า ได้แก่ คลองแสนแสบที่อยู่ทิศเหนือของพื้นที่และคลองผดุง-กรุงเกษมที่มีความสาคัญในพื้นที่

ภาพ 1.1 โครงข่ายการคมนาคมทางน้า ที่มา จากผู้ศึกษา 2564 15


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ข้อมูลเชิงกายภาพ - การใช้ประโยชน์ที่ดิน การใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ เป็นที่ดินประเภทพาณิชยกรรม และที่ดินประเภทสถาบันราชการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ

ภาพ 1.14 การใช้ประโยชน์ที่ดิน ที่มา จากผู้ศึกษา 2564

16


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ข้อมูลเชิงกายภาพ - การใช้ประโยชน์อาคาร การใช้ประโยชน์อาคารในพื้นที่ 7 ประเภท ได้แก่ อาคารพาณิชยกรรม อาคารพักอาศัย อาคารราชการ อาคารราชการ ขนส่ง อาคารกึ่งพาณิช คลังสินค้า และศาสนสถาน

ภาพ 1.15 การใช้ประโยชน์อาคาร ที่มา จากผู้ศึกษา 2564 17


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ข้อมูลเชิงกายภาพ - ลักษณะอาคารและสิ่งปลูกสร้าง ลักษณะสถาปัตยกรรมจะแบ่งออกเป็นแต่ละสมัย เริ่มตั้งแต่ สมัยรัชกาลที่5 มีอาคาร ได้แก่ สถานีหัว-ลาโพง สมัยรัชกาล ที่7 มีอาคาร ได้แก่ พาณิชยกรรมที่เป็น ตึกแถวที่มีความสวยงามและมีลักษณะที่โดดเด่น สมัยรัชกาที่ 9 มีอาคาร ได้แก่ อาคารบ้านเรือน 2-3 ชั้นแบบไม้และกึ่งปูน และ สมัยตึกแถวยุคใหม่ มีอาคารได้แก่ อาคารพาณิชยกรรม 2-7 ชั้น ส่วนใหญ่จะสร้างด้วยปูน

ภาพ 1.16 ลักษณะอาคารและสิ่งปลูกสร้าง ที่มา จากผู้ศึกษา 2564

18


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ข้อมูลเชิงกายภาพ - ระบบที่ว่างและพื้นที่เปิดโล่ง ระบบที่ว่างและพื้นที่เปิดโล่งในพื้นที่ ได้แก่ ถนน ที่จอดรถ พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ใต้ทางด่วน สนามและสุสาน

ภาพ 1.17 ระบบที่ว่างและพื้นที่เปิดโล่ง ที่มา จากผู้ศึกษา 2564 19


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ข้อมูลเชิงกายภาพ - สภาพภูมิทัศน์และมุมมองสาคัญ ฯลฯ มุมมองสาคัญในพื้นที่ ได้แก่ สถานีหัวลาโพงที่มีความโดดเด่นเป็นมุมมองที่สวยงามในพื้นที่ อาคารกระทรวงพลังงานที่มีความสูงและมีเอกลักษณ์ของตึก

ภาพ 1.18 สภาพภูมิทัศน์และมุมมองสาคัญ ที่มา จากผู้ศึกษา 2564

20


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

1.3.2 ข้อมูลเชิงสังคมและวัฒนธรรม ประชากร การเปลี่ยนแปลงประชากรในพื้นที่มีลักษณะลดลงอย่างต่อเนื่อง จากสภาพแวดล้อมที่มีลักษณะเป็นชุมชนแออัด และจากปัญหายาเสพติดในพื้นที่

ภาพที่ 1.18 แสดงอัตราการเปลี่ยนแปลงประชากร แขวงรองเมือง

21


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

1. 2. 3. 4. 5. 6.

ชุมชนในพื้นที่ ชุมชนในตลาดโบ๊เบ๊ ชุมชนชาวไทยจีนในตลาดโบ๊เบ๊ที่ส่วนใหญ่เป็นพ่อค้าแม่ค้าในตลาด ชุมชนวัดบรมนิวาส ชุมชนวัดบรมนิวาสบริเวณหลังตลาดโบเบ๊ ชุมชนแฟลตการรถไฟ ชุมชนแฟลตการรถไฟบริเวณสถานีหัวลาโพง ชุมชนวัดดวงแข ชุมชนชาวไทยจีนบริเวณวัดดวงแข ชุมชนตรอกสลักหิน ชุมชนชาวไทยจีนเก่าแก่ในพื้นที่อดีตเคยเป็นพื้นที่สีแดงที่มีปัญหายาเสพติดใน พื้นที่ปัจจุบันมีการรณรงค์และฟื้นฟูให้ กลายเป็นย่านสร้างสรรค์ 22 ชุมชนมัสยิดมหานาค ชุมชนชาวมุสลิมบริเวณริมคลองมหานาคมีชุมชนที่มีประวัติความเป็นมาในพื้นที่


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

การรวมกลุ่มทางสังคม ประชากรมีลักษณะของคนจนเมือง มีลักษณะเป็นสังคมที่ค่อนข้างแออัด แต่ความสัมพันธ์ของคนภายในค่อนข้างแนบแน่น มีการให้ ความสาคัญกับชุมชนที่อยู่อาศัย และมีความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชนโดยรอบ โดยมีการจัดเทศกาลร่วมกัน ตามวะระสาคัญต่างๆ

23


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

มรดกวัฒนธรรมทีจ่ ับต้องได้

มรดกที่จับต้องได้ในพื้นที่ ส่วนใหญ่ยังมีการใช้งานและมีการพัฒนาตามยุคสมัยเช่น สถานีหัวลาโพงที่ปัจจุบันยังมีการใช้งานอยู่และ มีแนวทางจะพัฒนาต่อไปในอนาคต

มรดกวัฒนธรรมทีจ่ ับต้องไม่ได้

ภาพที่ 1.21 แสดงมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องได้

มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้จะเป็นลักษณะของกิจกรรมของคนในพื้นที่และการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนที่สามารถสังเกตได้ว่า เมื่อมีกิจกรรมหรือเทศกาลคนในพื้นที่ก็จะให้ความสาคัญและมีส่วนร่วมกับกิจกรรมนั้น แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ที่ดีของชุมชนใน พื้นที่และการให้ความสาคัญของคนภายในชุมชน

ภาพที่ 1.22 แสดงมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้

24


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

การวิเคราะห์มรดกวัฒนธรรมที่จบ ั ต้องได้ คะแนน

ชื่อ

เลทที่

A-1

คลองผดุงกรุงเกษม วัดบรมนิวาสราชวรวิหาร และ หัวลาโพง

5

5

5

5

5

25

1

A-2

วงเวียน 22 กรกฎาคม วัดสามง่าม วัดสระบัว วัดดวงแข วัดพลับพลาชัย และ วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร

4

4

4

4

4

20

2

A-3

อาคารบ้านเรือนคุณค่า การรถไฟแห่งประเทศไทย

4

3

3

4

4

18

3

A-4

ชุมชนตลาดโป๊เบ๊ ชุมชนตรอกสลักหิน

3

4

2

3

2

14

4

A-5

โรงพยาบาล สถานรตาราวจ

2

2

2

2

3

11

5

มรดกวัฒนธรรมคุณค่าระดับ 5 มรดกวัฒนธรรมคุณค่าระดับ 4 มรดกวัฒนธรรมคุณค่าระดับ 3 มรดกวัฒนธรรมคุณค่าระดับ 2 มรดกวัฒนธรรมคุณค่าระดับ 1

25


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

1.3.3 ข้อมูลเชิงเศรษฐกิจ กิจกรรมการค้า เศรษฐกิจของพื้นที่มีความโดนเด่นในด้าน คมนาคมขนส่ง ธุรกิจอะไหล่ยนต์ ธุรกิจค้าส่งเสื้อผ้าราคาถูก ย่านของอร่อย และ ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์

ย่านโบ๊เบ๊ ย่านการแพทย์ กระทรวงพลังงาน ย่านสตรีท ฟูด

ย่า นธุรกิจ ขนส่ง

ย่านธุร กิจ ขนส่ง

ย่านวงเวียน 22

ภาพที่ 1.24 แสดงกิจกรรมทางเศรษฐกิจในพื้นที่ ย่านธุร กิจ ท่องเที่ยว ย่า นธุรกิจ ท่องเที่ยว

สัญลักษณ์ ย่า นธุรกิจ ค้า ส่ง เสื้อผ้า ย่า นธุรกิจ สตรีทฟูด ย่า นธุรกิจ ท่องเที่ยว สถานีหัวลาโพง ย่า นสานักงาน ย่า นธุรกิจ ผสมผสาน

1. 2. 3. 4. 5. 6.

กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ย่านตลาดโบ๊เบ๊ การค้าส่งเสื้อผ้าสาเร็จรูป กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ตลาดกลางคืน บริเวณริมคลองผดุง กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ท่องเที่ยวสถานีหัวลาโพง กิจกรรมทางเศรษฐกิจ สตรีทฟูด วงเวียน 22 กิจกรรมทางเศรษฐกิจ สตรีทฟูด ซอยยศเส กิจกรรมทางเศรษฐกิจ แหล่งรวมอะไหล่รถยนต์ (ล้อ ยาง)

ย่า นธุรกิจ ขนส่ง

ภาพที่ 1.23 แสดงกิจกรรมทางเศรษฐกิจในพื้นที่

26


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

กิจกรรมการท่องเทีย่ ว กิจกรรมการท่องเที่ยวในพื้นที่มีลักษณะเป็น แหล่งค้าส่งเสื้อผ้าราคาถูก ย่านของกิน สถานที่ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ และปัจจุบัน มีการฟื้นฟูชุมชนตรอกสลักหินเพื่อดึงดูนักท่องเที่ยวให้เข้ามาในพื้นที่ เป็นแหล่งเรียนรู้วิถีชุมชน

ภาพที่ 1.25 แสดงกิจกรรมการท่องเที่ยวในพื้นที่ 27


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

1.5 ข้อมูลด้านกฎหมาย

แผนที่ 1.26 แสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ศึกษา

1.5.1 ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 พื้นที่ พ.๓ – ๒๑ ที่ดินประเภท พ. ๓ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ใช้ประโยชน์เป็นศูนย์พาณิชยกรรมของเมือง เพื่อรองรับการประกอบ กิจกรรมทางธุรกิจ การค้า การบริการ และนันทนาการที่ให้บริการแก่ประชาชนโดยทั่วไป พื้นที่ ส – ๔๖ ที่ดินประเภท ส. มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นสถาบันราชการและการดาเนินกิจการของรัฐที่เกี่ยวกับการสาธารณูปโภค สาธารณูปการ หรือสาธารณประโยชน์

28


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

1.4 การศึกษาข้อมูลโครงการในอนาคตทีเ่ กี่ยวข้อง 1.4.1 โครงการโดยภาครัฐ ความเป็นมาโครงการเกิดจากปลายปี2564 ศูนย์กลางการรถไฟจะย้ายไปสถานีกลางบางซื่อ จากการศึกษาพบว่าสถานีหัวลาโพง มี ความเป็ น มาทางประวั ติ ศ าสตร์ ร ะดั บ ประเทศ และยั ง เป็ น พื้ น ที่ ก ลางเมื อ งและมี ศั ก ยภาพรองรั บ การพั ฒ นาในด้ า นเศรษฐกิ จ สั ง คม วัฒนธรรม และการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ สามารถเป็นศูนย์กลางใหม่ของกรุงเทพมหานคร 1. โครงการพัฒนาริมคลองผดุงกรุงเกษม 2. โครงการวิจย ั อนุรักษ์และพัฒนาสถานีรถไฟ กรุงเทพ-หัวลาโพง 3. โครงการรถไฟฟ้าสายสีแดง

ภาพที่ 1.27 แสดงโครงการในอนาคต

29


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

1.5.2 ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องควบคุมความสูงและระยะร่นริมแม่น้าเจ้าพระยาและริมคลอง

1.

บริเวณกรุงรัต นโกสินทร์ชั้นในตามข้อ บั ญญัติ ก รุงเทพมหานคร เรื่อ ง กาหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง ใช้หรือเปลี่ยนการใช้อาคารบางชนิด หรือบางประเภทภายในกรุงรัตนโกสินทร์ชั้นใน

2.

บริเวณกรุงรัต นโกสินทร์ชั้นในตามข้อ บั ญญัติ ก รุงเทพมหานคร เรื่อ ง กาหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง ใช้หรือเปลี่ยนการใช้อาคารบางชนิด หรือบางประเภทภายในกรุงรัตนโกสินทร์ชั้นนอก

4.

บริเวณพื้นที่ต่อเนื่องกรุงรัตนโกสินทร์ชั้นนอก

ภาพที่ 1.28 แสดงโซนข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร

30


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

1.5.3 ข้อบัญญัติควบคุมอาคาร ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร ภายในพื้นที่ต่อเนื่องกรุงรัตนโกสินทร์ชั้นนอกเขตพระนคร เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เขตสัมพันธวงศ์ ควบคุมความสูง ไม่เกิน 37 เมตร ในพื้นที่มีทั้งอาคารสูงที่เป็น

ภาพที่ 3.1 แสดงการความคุมความสูงพื้นที่ศึกษา

ภาพที่ 3.1 แสดงความสูงอาคารในพื้นที่ศึกษา

31

ภาพที่ 1.29 แสดงFARและOSRในพื้นที่


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

จุดแข็งและโอกาส ด้านกายภาพ - พื้นที่มีประวัติสาสตร์ที่ยาวนาน - การเข้าถึงพื้นที่ได้หลากหลาย ได้ทั้ง ทางบก ทางน้า และทางราง - มีโครงข่ายทางชุมชนที่เข้มแข็ง - มีโอกาสในการปรับเปลี่ยนของภาครัฐ ด้านสังคม - พื้นที่ใช้งานตลอด 24 ชั่วโมง - การซ้อนทับของกลุ่มคนและกิจกรรมที่หลากหลาย - การใช้ประโยชน์ที่ดินแบบผสมผสาน - มีโอกาสส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวในย่านและรอบ ด้านเศรษฐกิจ - เป็นศูนย์การการค้าและส่งออกเสื้อผ้าสาเร็จรูประดับภูมิภาคและระดับนานาชาติ - เป็นการค้าแหล่งรวมอะไหล่รถยนต์ (ล้อ ยาง) วงเวียน 22 กรกฎาคม - มีย่านท่องเที่ยวสถานีหัวลาโพง ที่กาลังจะปรับเปลี่ยนเป็นพิพิธภัณฑ์ ในชื่อโครงการ โครงการวิจัยอนุรักษ์และพัฒนาสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลาโพง)

32


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

จุดอ่อนและภัยคุกคาม ด้านกายภาพ -เส้นทางสัญจรในตลาดแคบ เป็นอุปสรรคต่อการขนส่งสินค้า และประชาชน การเข้าถึง เพื่อควบคุมกรณีเกิดเพลิงไหม้ -ที่จอดรถไม่เพียงพอ -ปัญหาชุมชนแออัด ด้านสังคม - ความหลากหลายของกลุ่มคนในพื้นที่ ทาให้ความสัมพันธ์และความรู้สึกเรื่องความเป็น เจ้าของพื้นที่น้อยลง - ปัญหายาเสพติดในพื้นที่ - การต้าประเวณีแถว วงเวียน 22 กรกฎาคม ด้านเศรษฐกิจ - ตลาดโบ๊เบ๊มีความคับแคบ พื้นที่เกือบทุกตารางนิ้วถูกจับจองด้วย ร้านค้า แผงขายนของ ทาให้มีผลต่อการขยายกิจกรรมร้านค้า

33


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และกรณีศึกษาที่เกี่ยวข้อง 2.1 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง -เมืองกระชับ (Compact City) แนวความคิดนี้เป็นการค้นหาทางออกของการออกแบบชุมชนเมือง ที่จะสนองตอบกับแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่จริงจัง เน้นการสร้างความกระชับ ลดการกระจายตัวโดยใช้การ พัฒนาในทางสูงบริเวณใจกลางเมือง เพื่อประหยัดการใช้ที่ดินและเพิ่มคุณค่าการใช้ที่ดินให้ได้ประโยชน์สูงสุด ทาให้สามารถรักษาและฟื้นฟูธรรมชาติรอบเมืองได้มุ่งเน้นการประหยด พลังงานที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ลดการเดินทางติดต่อและการใช้รถยนต์ส่วนตัว ค้นหาระบบสันดาปพลังงานหมุนเวียนของเมือง ส่งเสริมการใช้พนื้ ที่อย่างผสมผสานและสร้างความ หลากหลายมีชีวิตชีวา สร้างคุณภาพชีวิตที่ดีด้วยปฏิสัมพันธ์ที่มากขึ้นแหล่งงานสมดุลกับที่พักอาศัย การเข้าถึงระบบบริการสาธารณะพื้นฐานและได้รับบริการเหล่านั้นอย่างสะดวก ปัญหาของกระบวนทัศน์แบบเมืองกระชับแน่นก็คือ การทาลายย่านเก่าแก่ในเมืองที่เป็นมรดกและมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ศิลปะวัฒนธรรม เพื่อการพัฒนาที่หนาแน่นขึ้นปัญหา ความแออัด สภาพแวดล้อมและมลภาวะในกลางเมืองจะรุนแรงขี้น การจราจรในเมืองก็จะหนาแน่นขึ้นนอกจากนี้ยังมีปัญหาทางสังคมและทัศนคติในด้านการอยู่อาศัยและใช้ชีวิตใน อาคารสูงกับผู้คมที่ไม่รู้จักกันเป็นจา นวนมาก และดูเหมือนแนวคิดนี้จะมุ่งไปสู่การเป็นเมืองใหญ่และอาคารสูง

ภาพ 2.1 แนวคิด เมืองกระชับ ที่มา จากผู้ศึกษา 2564 34


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

2.2 กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้อง เมือง "โคจิ" ซึ่งเป็นเมืองขนาดกลาง ทางภาคใต้ของประเทศญี่ปุ่นอุณหภูมิที่นี่ค่อนข้างต่า เมื่อ เทียบกับเมืองนในแถบศูนย์สูตร มีภูมิประเทศตั้งอยู่บนพื้นที่ราบโอบล้อมด้วยภูเขาสูงและชายฝั่งที่มี ทรัพยากรทางทะเลอุดมสมบูณ์ เป็นเมืองที่มีความหน้าแน่นประชากรต่า ด้วยย่านพักอาศัยแนวราบ รอบเมือง มีย่านพาณิชยกรรมที่เป็นดงตึกสูงใจกลางเมือง มีการคมนาคมขนส่งที่สะดวกคล่องตัว เพราะเน้นระบบการขนส่งมวลชนรวม ทั้งรถราง-Tram รถไฟและรถเมล์ วิถีพลเมืองเป็นแขบชาวภูธ ที่ม่มุ่งความฟุ้งเอศิวิไลซ์เหมือนเมืองใหญ่เช่น เกี่ยวโต โตเกียว และโอซากาวิถีผู้คนเมืองนี้ใช้ชีวิตแบบ เรียบง่าย สมถะ และมีฐานอาชีพที่พึ่งพาระบบนิเวศของพื้นที่เกษตร และทรัพยากรทางทะเล ผสมกับ ย่านโรงงานอุตสาหกรรมเพียงเล็กน้อย จึงเป็นเมืองฟักอาศัย และเมืองศูนย์ราชการ ที่น่าอยู่ น่าเทียว แบบพอเพียง ระบบฝังเมืองถูกออกแบบให้เป็นเมืองแบบกระชับ (Compact City) ขณะที่การวางฝังละแวกย่าน ถูกวางด้วยแนวคิดการอยู่ในระยะเดินถึงและปั่นถึง (Walking Distance/Cycling City) ด้วยการสัญจร แบบยั่งยืน (Sustainable Mobility)ด้วยการสัญจรแบบใช้แรงกายช่วย (Active Mode) และการเป็น เมืองสีเขียว (Green City) และเมืองลดโลกร้อน ความน่าสนใจของโคจิอีกด้านหนึ่งก็คือ องค์ประกอบเมืองด้านนิเวศเมืองยั่งยืน (Natural Component) ที่ไม่มีการบุกรุก ทาลายโครงข่ายน้าของเมือง การไม่รุกล้าพื้นที่สาธารณะในเมืองเช่น ฟุตบาท ผิวจราจร และพื้นที่รกร่างว่างเปล่า การฟื้นฟูชุมชนบนเขาสูงจากเคยเป็นพื้นที่เขาเสื่อมโทรม จากอุตสหกรรมค้าไม้ซุง มาฟื้นฟูเป็นชุมชนเกษตรยั่งยืนที่อนุรักษ์ต้นน้าสาธาร และใช้วิถีเศรษฐกิจ พอเพียงและเกษตรปลอดสารพิษ การปลูกฝัก ผลไม้กินเองแบบ "การเกษตรในเมือง" (Urban Farm) การที่ชุมชนต่อต้านการวางแผนขยายถนนคร่อมคลองของภาครัฐ เพื่อก็บรักษาโครงข่ายนิเวศเมือง เป็นต้น ภาพ 2.2 สภาพภูมิทัศน์อาคาร ที่มา จากผู้ศึกษา 2564

35


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

บทที่ 3 ภาพอนาคตของย่าน 3.1 เทรนด์การเปลี่ยนแปลงของย่าน ปลายปี2564 ศูนย์กลางการรถไฟจะย้ายไปสถานีกลางบางซื่อ ส่งผลให้สถานีหัวลาโพงลดบทบาทในการเป็นศูนย์กลางการรถไฟ เกิดโครงการ พัฒนาพื้นที่สถานีหัวลาโพง ให้การเป็นศูนย์กลางใหม่ของกรุงเทพ เทรนด์การเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ มีลักษณะเป็นเทรนด์ในด้านการเป็นพื้นที่ สร้างสรรค์ ลักษณะชุมชนสร้างสรรค์ หรือจะเป็นแหล่งเรียนรู้วิถีชีวิต ที่มีการเกิดขึน ้ ของกิจกรรมอย่างต่อเนื่องด้วยความร่วมมือจากทั้งภาครัฐ และคนในพื้นที่ ที่ต้องการพัฒนาพื้นที่และ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เยาวชนในพื้นที่ที่จะช่วยลดปัญหายาเสพติดในพื้นที่

ภาพที่ 3.1 แสดงเทรนด์การเปลี่ยนแปลงในพืน้ ที่

36


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

3.2 วิเคราะห์ผู้ใช้งานปัจจุบันและอนาคต ปัจจุบันพื้นที่ศึกษามีลักษณะเป็นพื้นที่24ชม.ที่จะมีกิจกรรมเกิดขึน ้ ภายในพื้นที่ตลอด24ชม. โดยช่วงเวลาที่มีกิจกรรมมากที่สุด เป็นช่วง 12.00-18.00น และในอนาคตหลังจากสถานีหัวลาโพงพัฒนาเป็นพื้นที่สร้างสรรค์ คาดว่าจะมีปริมาณนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นและ จะมีนักท่องเที่ยวไปอยู่ในกิจกรรมภายในพื้นที่ เช่น ตลาดโบเบ๊ หรือย่านวงเวียน22

ภาพที่ 3.2 แสดงผูใ้ ช้งานในพืน้ ที่

37


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

3.3 บทบาทของย่านในอนาคต เดิมบริเวณพื้นที่ศึกษามีบทบาทเป็นพื้นที่ศูนย์กลางการรถไฟที่เป็นทั้ง จุดเปลี่ยนถ่าย พื้นที่ค้าขาย ย่านของกิน ย่านสานักงาน และ แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ โดยที่ชุมชนหรือผู้ที่พักอาศัยอยู่ในพื้นที่มีลักษณะเป็นคนจนเมืองโดยเป็นกลุ่มคนที่มีรายได้น้อยถึงปาน กลางที่เป็นแรงงานที่มีความสาคัญต่อพื้นที่ในเมือง โดยหลังจากที่การพัฒนาสถานีหัวลาโพงและการพัฒนาพื้นที่โดยรอบ จะส่งผลให้ บทบาทในพื้นที่มีลักษณะเป็นพื้นที่สร้างสรรค์จากการพัฒนาสถานีหัวลาโพง และเป็นพื้นพักอาศัยที่รองรับผู้มีรายได้น้องถึงปลานกลาง ทั้งผู้ที่เป็นแรงงาน นักท่องเที่ยว และนักศึกษา

38


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

3.4 วิสัยทัศน์ของย่าน ย่านพักอาศัยระดับกลาง แหล่งวัฒนธรรมดั้งเดิม เชื่อมโครงข่ายพื้นที่สีเขียว ส่งเสริมการท่องเที่ยววิถีชุมชน ย่านพักอาศัยระดับกลาง ที่รองรับผู้มีรายได้น้อยถึงปานกลางทั้งพักอาศัยถาวรและชั่วคราว แหล่งวัฒนธรรมดั้งเดิม เป็นพื้นที่ที่มีกลิ่ น อายวัฒนธรรมภายในพื้นที่ ที่เป็นลักษณะชาวไทย-จีน มีวัฒนธรรมเก่าแก่เช่น การทาโคมจีน การทากระดุมจีน เชื่อมโครงข่ายพื้นที่สี เขียว เพิ่มพื้นที่สีเขียวและสร้างความเชื่อมต่อในพื้นที่และโดยรอบ ส่งเสริมท่องเที่ยววิถีชุมชน ส่งเสริมให้ชุมชนมีสภาพแวดล้อม แล ะ บรรยากาศที่ดีขึ้นเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวที่จะเข้ามาในพื้นที่

39


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

3.5 ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และฟื้นฟูยา่ น

ยุทศาสตร์ด้านมรดกวัฒนธรรม

ภาพที่ 3.3 ยุทศาสตร์ด้านมรดกวัฒนธรรม

ยุทศาสตร์ด้านการใช้ที่ดิน

ภาพที่ 3.4 ยุทศาสตร์ด้านการใช้ที่ดิน

ยุทศาสตร์ด้านภูมิทัศน์

ภาพที่ 3.5 ยุทศาสตร์ด้านภูมิทัศน์

ยุทศาสตร์ด้านการจราจร

ภาพที่ 3.6 ยุทศาสตร์ด้านการจราจร

40


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

3.5 ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และฟื้นฟูยา่ น

ยุทศาสตร์ด้านสาธารณูปโภค

ภาพที่ 3.7 ยุทศาสตร์ด้านสาธารณูปโภค

ยุทศาสตร์ด้านสาธารณูปการ

ภาพที่ 3.8 ยุทศาสตร์ด้านสาธารณูปการ

ยุทศาสตร์ด้านกายภาพและวิถีชุมชน

ภาพที่ 3.9 ยุทศาสตร์ด้านกายภาพและวิถีชุมชน

ยุทศาสตร์ด้านการท่องเที่ยว

ภาพที่ 3.10 ยุทศาสตร์ด้านการท่องเที่ยว

41


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

บทที่ 4 ผังแม่บทเพือ่ การอนุรก ั ษ์ฟื้นฟูย่าน การกาหนดขอบเขตพืน ้ ทีโ่ ครงการ พื้นที่โครงการตั้งอยู่ที่ชุมชนตรอกสลักหินโดยเกณฑ์กาหนดพื้นที่โครงการมา จากการศึกษาด้านการประเมินค่ามรดกวัฒนธรรม ตาแหน่งวัฒนธรรมประเพณี มรดก ที่จับต้องไม่ได้ มรดกที่จับต้องได้ โบราณสถานที่ขึ้นทะเบียน โบราณสถานที่ไม่ขึ้นทะเบียน

ภาพ 4.1 การ Overly พื้นที่โครงการ ที่มา : จากผู้ศึกษา , 2564

42


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

นามาซึ่งพื้นที่โครงการ ชุมชนตรอกสลักหิน พื้นที่โครงการ 0.53 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมชุมชนตรอกสลักหินและพื้นที่ย่านรองเมือง โดยมีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตลาดโบ๊เบ๊ ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ทางด่วนศรีรัช ทิศตะวันตก ติดต่อกับ สถานีหัวลาโพง ทิศใต้ ติดต่อกับ บางรัก

ภาพ 4.2 พืน้ ทีโ่ ครงการ ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

43


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ความสาคัญของย่านโดยรอบ ศึกษาความสาคัญของย่านโดยรอบ โดยย่านที่ล้อมรอบพื้นที่โครงการ มี ย่านที่สาคัญติดกับพื้นที่โครงการถึง 6 ย่านได้แก่ 1.ย่านโบ๊เบ๊ เป็นแหล่งค่าส่งสินค้าประเภทเสื้อผ้า แหล่งรวมแฟชั่น ราคาส่ง 2.ย่านยศเส เป็นแหล่งอาหารที่ขึ้นชื่อจนได้ฉายาว่า “ ยศเสที่นี้มี แต่ของอร่อย ” 3.ย่านวงเวียน 22 เป็นย่านที่มีกิจกรรมการค้าที่หลายหลาย เช่น อาหาร และสินค้าที่โดดเด่นมากที่สุดในย่านคือกิจกรรมการค้ายาง รถยนต์ที่ใหญ่ที่สุด 4.ย่านหัวลาโพง เป็นย่านที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงในอนาคต เป็นพื้นที่สาธารณะที่ใหญ่ที่สุด เป็นย่านที่มีการปรับเปลี่ยน และจะส่งผลให้ ย่านบริเวณโดยรอบมีการเปลี่ยนแปลงไปด้วย 5.ย่านบางรัก เป็นมีบทบาทในด้านการเป็น ศูนย์กลางพาณิชยก รรมหลากหลายรูปแบบ และแหล่งรวมสานักงานเป็นย่านที่มีความเจริญแล้ว และเป็นพื้นที่ที่มีประวัติศาตร์วัฒนธรรมที่สาคัญเกี่ยวกับการตั้งถิ่นฐานใน อดีต

ภาพ 4.3 ย่านที่สาคัญโดยรอบพื้นที่โครงการ ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564 44


ความสาคัญของย่านโดยรอบ ศึกษาความสาคัญของย่านภายในพื้นที่โครงการ มีย่านที่สาคัญติดกับ พื้นที่โครงการถึง 4 ย่านได้แก่ 1.ย่านชุมชนตรอกสลักหิน ย่านที่มีมรดกทางวัฒนธรรมที่ ยาวนานมีการพับกระดาษ การทากระดุมจีน การทาขนมเทียน และเป็น พื้นที่ที่มีการพัฒนาเป็นชุมชนสร้างสรรค์ 2.ย่านวัดดวงแข ย่านโบราณสถานที่เก่าแก่ด้านหน้าวัดเป็น พื้นที่ตลาดที่มีการพบปะกับ มีการทา Teng Lung ที่มีการสืบทอดมาอย่างยาวนาน 3.ย่านขนส่ง ย่านขนส่งที่มีบริษัทขนส่งมากและเป็นพื้นที่ที่มี การปรับเปลี่ยนในอนาคตสูงเมื่อหัวลาโพงถูกปรับเปลี่ยน 4.ย่านวัดสระบัว ย่านวัดสระบัวที่อยู่ติดถนนพระรามที่ 1 มี บริษัทใหญ่ตั้งอยู่เป็นจานวนมาก และเป็นบริษัทที่อยู่มาอย่างยาวนาน

ย่านสลักหิน

ย่านวัดดวงแข

ย่านที่มีมรดกทางวัฒนธรรม ที่ยาวนานมีการพับกระดาษ การทากระดุมจีน การทาขนม เทียน และเป็นพื้นที่ที่มีการ พัฒนาเป็นชุมชนสร้างสรรค์

ย่านโบราณสถานที่เก่าแก่ ด้านหน้าวัดเป็นพื้นที่ตลาด ที่มีการพบปะกับ มีการทา Teng Lung ที่มีการสืบทอด มาอย่างยาวนาน

ย่านขนส่ง

ย่านขนส่งที่มีบริษัทขนส่งมาก และเป็นพื้นที่ที่มีการปรับเปลี่ยน ในอนาคตสูงเมืองหัวลาโพงถูก ปรับเปลี่ยน

ย่านวัดสระบัว

ย่านวัดสระบัวที่อยู่ติดถนน พระรามที่ 1 มีบริษัทใหญ่ ตั้งอยู่เป็นจานวนมาก และ เป็นบริษัทที่อยู่มาอย่าง ยาวนาน

ภาพ 4.4 ย่านที่สาคัญในพื้นที่โครงการ ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

45


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ผังแนวคิดเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูพื้นที่

นามาสู่ผัง Conceptual plan ที่พัฒนาพื้นที่พาณิชยกรรม พื้นที่กิจกรรมการ ท่องเที่ยว พื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์ พื้นที่อยู่อาศัย พื้นที่วิถีชุมชน และพื้นที่ ธุรกิจใหม่

จากการวิเคราะห์และนาแนวความคิดในการออกแบบวางผังพื้นที่โครงการ เพื่อที่เข้าสู่การวาง DIAGRAM เพื่อเชื่อมโยงพื้นที่ การเชื่อมโยงพื้นที่ ชุมชนสลักหินที่เป็นชุมชนสร้างสรรค์ โดยเป็นพื้นที่ที่รองรับนักท่องเที่ยว จากย่านหัวลาโพง โดยภายในพื้นที่โครงการก็จะมียา่ นพาณิชยกรรม ย่านธรุกิจ พื้นที่มรดกวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงกันในพื้นที่เป็นทั้งแหล่ง เรียนรู้วิถีชีวิต แหล่งพาณิชยกรรม พื้นที่ขนส่งดั้งเดิม และยังมีมรดก วัฒนะรรมในพื้นที่อีกด้วย

ภาพ 4.5 Conceptual plan ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564 ภาพ 4.5 Concept Diagram ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

46


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ผังกาหนดแนวทางการออกแบบตาม มาตรฐานทางสถาปัตยกรรมผังเมือง มีการกาหนดลักษณะผังการสัญจร ผังพื้นที่โล่งว่าง และผังการใช้ประโยชน์ที่ดินใหม่

ภาพ 4.6 การเปรียบเทียบผังก่อน - หลังการพัฒนา ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564 47


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ผังรายละเอียดการใช้ประโยชน์ที่ดิน มีการกาหนดผังการใช้ประโยชน์ที่ดินเสนอแนะในพื้นที่โครงการขึ้นใหม่ เนื่ อ งจากผั ง การใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น เก่ า มี ก ารก าหนดลั ก ษณะการใช้ ประโยชน์ที่ดิน ที่เป็นพาณิชยกรรมเพียงอย่างเดียว แต่ผังใหม่มีการนา ลั ก ษณะการใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น แบบผสมผสานเข้ า มาในพื้ น ที่ มี ก าร กาหนดพื้นที่ศาสนสถานอย่างชัดเจน

ภาพ 4.7 แสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินที่เสนอแนะ ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

ผังระบบคมนาคมขนส่ง การก าหนดต าแหน่ ง การคมนาคมขนส่ ง ใหม่ โดยในพื้ น ที่ มี ร ถตุ๊ ก ๆ ค่อนข้างมาก และมีการกาหนดป้ายรถประจาทางอย่างชัดเจนเราจึงส่งเสริมจุด ขึ้นลงรถประจาทางดดยการจัดจุดจอดรถจักรยานไว้ในทุกๆส่วนของการขึ้น ลงรถประจาทาง และในพื้นที่ยังมีการจัดวางตาแหน่งรถตุ๊กๆมาในพื้นที่ เพื่อ คอยบริการนักท่องเที่ยว หรือผู้คนที่ใช้งานในพื้นที่

ภาพ 4.12 แสดงตาแหน่งการคมนาคมขนส่งที่เสนอแนะ ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

48


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

Zoneing

ZONE A พื้นที่ธุรกิจและบริการ ZONE B พื้นที่เรียนรู้มรดกและวัฒนธรรม ZONE C พื้นที่พาณิชยกรรม ZONE D พื้นที่พาณิชยกรรมดั้งเดิม ZONE E พื้นที่ชุมชนสร้างสรรค์ ZONE F พื้นที่สาธารณะ

49


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ผังโครงข่ายการสัญจร การกาหนดลักษณะโครงข่ายการสัญจรใหม่ โดยมรการตัดถนน ให้มีลั ก ษณะเป็นตรอก ซอก ซอยเพื่ อ ให้เ หมาะแก่ ก ารพั ฒ นาเป็ น พื้ น ที่ พ าณิ ชยกรรม และมี ก ารเพิ่ ม โครงข่ า ยทางจั ก รยานขึ้ น มาใน พื้นที่มากขึ้นเพิ่มให้เกิดการเชื่อมโยงในโครงการโดยลดการใช้รถยนต์

ภาพ 4.10 แสดงการปรับปรุงถนนสายต่างๆใหม่ ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

ภาพ 4.9 แสดงโครงข่ายทางสัญจรที่เสนอแนะ ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

ภาพ 4.11 แสดงการปรับปรุงถนนสายต่างๆใหม่ (ต่อ) ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564 50


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ผังการควบคุมและส่งเสริมภูมิทัศน์ ผังรายละเอียดด้านพื้นที่ว่าง สาธารณะและภูมิทัศน์ มีการออกแบบพื้นที่ว่างสาธารณะให้เป็นโครงข่ายพื้นที่สีเขียวที่อยู่ รอบๆชุมชน การแทรกพื้นที่สีเขียวเข้าไปในชุมชนและเป็นพื้นที่ ส่วนกลาง การจัดรูปแบบอาคารใหม่ให้มพ ี ื้นที่สีเขียวแล้วล้อมรอบด้วย อาคาร โดยพื้นที่ว่างสามารถเป็นพื้นที่ปรับเปลี่ยน เป็นสวนผักให้คน ในชุมชน

ภาพ 4.13 ผังแสดงด้านพื้นที่ว่างสาธารรณะและภูมิทัศน์ ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

1) ผังการควบคุมความสูงตามข้อบัญญัตก ิ รุงเทพมหานคร โบราณสถาน ริมฝั่งแม่น้า เจ้าพระยา และริมคลอง

ตามข้อบัญญัติการควบคุมความสูงของกรุงเทพ โบราณสถาน ในพื้นที่ไม่มีเกณฑ์ ในการควบคุมความสูงรอบโบราณสถานที่เคร่งครัด แต่เป็นพื้นที่ที่มี FAR 7.00 สามารถก่อสร้างอาคารที่สูงมากกว่า 37 เมตรได้แต่ในพื้นที่มีโบราณสถานที่รอการ ขึ้นทะเบียน จึงควรมีกฎหมายควบคุมความสูงของอาคารโดยรอบโบราณสถาน

ภาพ 4.14 ผังการควบคุมความสูงขามข้อบัญญัติกรุงเทพ ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

51


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

2) ผังแนวทางการส่งเสริมภูมิทศ ั น์พน ื้ ที่ แนวทางเสนอแนะการควบคุมความสูงรอบโบราณสถานโดยมีการกาหนดขอบเขต ของโบราณสถานอย่างชัดเจน - ห้ามก่อสร้างโดยรอบโบราณสถานเป็นระยะทาง 20 เมตรจากโบราณสถาน - ควบคุมความสูงอาคารที่สูงไม่เกิน 20 เมตร - ควบคุมความสูงอาคารที่สูงไม่เกิน 30 เมตร - ถัดจากนั้นสามารถก่อสร้างอาคารสูงได้ตามกฎหมาย FAR 7.00 ได้อย่างเต็ม พื้นที่เพื่อเป็นการส่งเสริมภูมิทศ ั น์บริเวณโบราณสถาน ไม่ให้อาคารสูงมาบดบังภูมท ิ ัศน์ ของโบราณสถาน

ภาพ 4.15 ผังการควบคุมความสูงขามข้อบัญญัติกรุงเทพ ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

ภาพ 4.16 ก่อนการออกกฎหมาย (บน) , หากไม่มีกฎหมาย (ล่าง) ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

52


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

การควบคุมภูมิทัศน์บริเวณดวงแข

อุโบสถเป็นโบราณสถานที่กาลังจะรอขึ้นทะเบียน จึงควรมีการจัดภูมท ิ ัศน์บริเวณ ด้านหน้าให้สวยงาม

อุโบสถกว้าง 13.20 เมตร ยาว 22.10 เมตร ไม่มีชอ่ ฟ้า ใบบระกา เป็นศิลปะแบบจีนกวางตุ้งผสมศิลปะไทย ไม่มีเสา รอบ นอกมีอิฐก่อหนาใหญ่คล้ายเสารับเชิงชาย ภายในอุโบสถ ประดิษฐานพระประธานหล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ปิดทองคาปางมาร วิชัย หน้าตักกว้าง 63 นิ้วมีพุทธลักษณะงดงาม

ภาพ 4.18 อุโบสถวัดดวงแขที่รอขึ้นทะเบียน ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

ภาพ 4.17 อุโบสถวัดดวงแขที่รอขึ้นทะเบียน ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

ภาพ 4.19 แนวทางการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณวัดดวงแข ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

53


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

การควบคุมภูมิทัศน์บริเวณถนน ตรอก

ถนน ภาพตัวอย่างแนวทางการส่งเสริมภูมิทัศน์ และสภาพแวดล้อม

แนวทางการส่งเสริมภูมิทัศน์ และสภาพแวดล้อม

-

-

-

-

-

ภาพตัวอย่างแนวทางการส่งเสริมภูมิทัศน์ และสภาพแวดล้อม

แนวทางการส่งเสริมภูมิทัศน์ และสภาพแวดล้อม

ถนนมีขนาด 2 ช่องจราจรขึ้นไป ถนนบริเวณฝั่งด้านที่ติดกับอาคารควรมีพื้นที่ สาหรับทางเดินโดยมีขนาด มากกว่า 1.5 เมตรและทางจักรยาน มากกว่า 2 เมตร ความสูงของต้นไม้ให้อยู่แนวระดับเดียวกับชั้น 1 ของอาคาร ความสูงของเสาไฟส่งสว่างให้อยู่ให้อยู่แนว เดียวกับชั้นสองของอาคาร และอยู่ติดกับ ถนน

- แผงลอยจากร้านค้าที่อยู่ภายในอาคารห้ามตั้งแนว เลยชายคาหรือกั้นสาดของอาคารนั้น - ถนนบริเวณฝั่งด้านที่ติดกับอาคารควรมีพื้นที่ สาหรับทางเดิน/ทางจักรยาน - ภายในทางสัญจรควรมีการบริหารจัดการเวลา จอดรถ หรือขนส่งสินค้าให้อยู่ภายในช่วงเวลาที่ เหมาะสม

ถนนมีขนาด 2 ช่องจราจรขึ้นไป ถนนบริเวณฝั่งด้านที่ติดกับอาคารควรมีพื้นที่ สาหรับทางเดินโดยมีขนาด มากกว่า 1.5 เมตรและทางจักรยาน มากกว่า 2 เมตร ความสูงของต้นไม้ให้อยู่แนวระดับเดียวกับชั้น 1 ของอาคาร ความสูงของเสาไฟส่งสว่างให้อยู่ให้อยู่แนว เดียวกับชั้นสองของอาคาร และอยู่ติดกับ ถนน

- ถนนบริเวณฝั่งด้านที่ติดกับอาคารควรมีพื้นที่ สาหรับทางเดิน/ทางจักรยาน - ภายในทางสัญจรควรมีการบริหารจัดการเวลา จอดรถ หรือขนส่งสินค้าให้อยู่ภายในช่วงเวลาที่ เหมาะสม - ความสูงของเสาไฟส่งสว่างให้อยู่ให้อยู่แนว เดียวกับชั้นสองของอาคาร และอยู่ติดกับถนน

ตาราง 4.1 แนวทางการส่งเสริมภูมิทัศน์และสภาพแวดล้อมบริเวณถนนและตรอก ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

54


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

การควบคุมภูมิทัศน์บ้านบริเวณชุมชนตรอกสลักหิน ทางเท้ากว้าง 3 เมตร

ในปัจจุบันชุมชนมีสภาพที่ทรุดโทรมแต่ลก ั ษณะของบ้านนั้นมีความเป็นเอกลักษณ์ที่ควรจะ รักษาและควรที่จะเป็นแนวทางของลักษณะบ้านในชุมชนตรอกสลักหิน

พื้นที่หน้าบ้าน 1 เมตร สามารถวางต้นไม้และขายของได้

ถนนถว้าง 6 เมตร

ภาพ 4.22 แนวทางการจัดการสภาพแวดล้อมในชุมชนตรอกสลักหิน ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564 ภาพ 4.20 ลักษณะบ้านในชุมชนตรอกสลักหิน ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

ภาพ 4.23 กิจกรรมที่เกิดขึ้นในชุมชนสลักหิน ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564 ภาพ 4.21 แนวทางการพัฒนาบ้านในชุมชนตรอกสลักหิน ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

55


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

การควบคุมภูมิทัศน์บ้านบริเวณริมถนน รางรถไฟหัวลาโพง ในปัจจุบันมีอาคารที่เป็นอาคารเก่า แต่ในปัจจุบันถูกตัดแปลงจนมีลก ั ษณะที่ เปลี่ยนไปเล็กน้อย จึงมีการกาหนดลักษณะอาคารหลังนี้ให้กลับมาในรูปแบบเดิม เพื่อ อนุรักษ์ไว้ซึ่งอาคารเก่า

ภาพ 4.24 ลักษณะบ้านในถนนเรียบทางรถไฟ ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

ภาพ 4.25 แนวทางการพัฒนาบ้านเก่าริมถนนทางรถไฟ ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

56


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ผังโปรแกรมการอนุรักษ์และฟื้นฟูพน ื้ ที่ Land mark

รักษาจุดหมายตาในย่าน Façade Guidline

กาหนดรูปแบบควบคุมอาคารก่อสร้าง เพื่อรักาความต่อเนื่อง Existing

อาคารที่ไม่ได้ปรับเลี่ยนคงสภาพไว้ Adaotive reuse

เปลี่ยนองค์ประกอบของอาคารให้เหมาะกับการใช้งาน Open space rehabitation

ออกแบบพื้นที่โล่งว่างและกาหนดการใช้งานใหม่ Community rehabitation

ฟื้นฟูชุมชนโดยการปรับปรุงอาคาร ทางสัญจร และพื้นที่สาธารณะให้ดีขึ้นเพื่อรักษาอัตลักษณ์ของชุมชน Laissez-faire

ปล่อยตามธรรมชาติไม่ทาอะไรเลย Re - block

รื้ออาคารหรือส่งปลูกสร้างเดิมแล้วสร้างใหม่และวางโครงสร้างทางสัญจรขึ้นมาใหม่ให้เหมาะกับสภาพ

ภาพ 4.26 ผังโปรแกรมการอนุรักษ์และฟื้นฟูพนื้ ที่ ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

57


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ผังแม่บท Master Plan

สถานีกรุงเทพ (หัวลาโพง)

วัดสระบัว

อาคารศรีจลุ ทรัพย์ อาคารเก่าบริเวณริมทางรถไฟ

ชุมชนตรอกสลักหิน

วัดดวงแข

โรงแรม Twin Town ย่านขนส่งทีเ่ ป็นการค้าดัง้ เดิม

58


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

โครงการในพื้นที่

โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองย่านหัวลาโพง

1.โครงการปรับปรุง Façade อาคารพาณิชยกรรมบริเวณ ถนนพระรามที่1 2.โครงการพัฒนารูปแบบการจัดกลุ่มของอาคาร ให้ตอบสนองกับการใช้งานมนพื้นที่ 15.โครงการปรับปรุงพื้นที่บริเวณใต้ทางด่วนเป็นพื้นที่สาธารณะ 7.โครงการเพิ่มพื้นที่กิจกรรมและพื้นที่สาธารณะ 4.โครงการพัฒนา ตรอก ซอก ซอย ย่านที่พักอาศัยระดับกลาง 9.โครงการตัดถนนพื้นที่พาณิชยกรรมดั้งเดิม เพื่อให้สะดวกแก่สัญจร

16.โครงการปรับปรุงพื้นที่บริเวณใต้ทางด่วนเป็นพื้นที่พบปะ พื้นที่กิจกรรมทางการค้า 5. โครงการพัฒนาอาคารให้เป็นที่พักอาศัยประเภท คอนโด 6. โครงการพัฒนาอาคารให้เป็นที่พักอาศัยประเภท อพาร์เม้นท์ 8.โครงการการพัฒนาบล็อกอาคารในย่านพาณิชยกรรมดั้งเดิม

3.โครงการบูรณปฏิสังขรณ์แหล่งมรดกวัดดวงแข

17.โครงการปรับปรุงพื้นที่บริเวณใต้ทางด่วนเป็นพื้นที่จอดรถ

12.โครงการปรับปรุงพื้นที่ Node ของชุมชน

14.โครงการสร้างพื้นที่การเรียนรู้วิถีชุมชน 10.โครงการขยายทางเดินภายในชุมชนสลักหิน 11.โครงการปรับปรุง Facade อาคารในชุมชนตรอกสลักหิน

13.โครงการสร้างพื้นที่กราฟฟิตี้เต็มรูปแบบ (ผนัง ถนน ) ในซอยตรอกสลักหิน

59


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

การพัฒนาเชิงพื้นที่ โครงการที่ 2 โครงการพัฒนารูปแบบการจัดกลุ่ม ของอาคาร ให้ตอบสนองกับการใช้งานในพื้นที่

โครงการที่ 1 โครงการปรับปรุง Façade อาคาร พาณิชยกรรมบริเวณ ถนนพระรามที่1 โครงการที่ 1

โครงการที่ 2

โครงการปรับปรุง อาคารพาณิชยกรรมบริเวณ ถนนพระรามที่1

โครงการพัฒนารูปแบบการจัดกลุ่มของอาคาร ให้ตอบสนองกับ การใช้งานมนพื้นที่

รายละเอียดโครงการ

การจัดวางอาคารแบบล้อมรอบอาคารสานักงาน ตรงกลางเป็นพื้นที่ ส่วนกลางใช้เป็นพื้นที่พบประของคนที่เข้ามา

รายละเอียดโครงการ

กิจกรรมที่สาคัญของโครงการ

เพื่อปรับปรุงเส้นทางการเข้าถึงพื้นที่ และส่งเสริมให้เป็นพื้นที่ย่าน ธุรกิจ ที่มีพื้นที่สาธารณะรองรับการใช้งานของคนที่เข้ามาในพื้นที่

กิจกรรมที่สาคัญของโครงการ

จัดระเบียบบล็อก ประภูมิทัศน์ให้มีความเหมาะสมกับการใช้งานและ ลดพื้นที่เสื่อมโทรม

ระยะเวลาและสถานที่ดาเนินงาน

ระยะยาว /อาคารสานักงานริมถนนพระรามที่ 1

ระยะเวลาและสถานที่ดาเนินงาน

ระยะยาว /เส้นทางภายในอาคารสานักงานริมถนนพระรามที่ 1

งบประมาณ

116,540,000 บาท

งบประมาณ

เป็นการปรับปรุงพื้นที่เสื่อมโทรม และจัดรูปแบบอาคารให้ ตอบสนองการใช้งาน

116,540,000 บาท

แหล่งที่มาของงบประมาณ

เอกชน

แหล่งที่มาของงบประมาณ

เอกชน

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

เอกชน

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

เอกชน

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

เอกชน

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

สานักเทศกิจ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผลที่คาดว่าจะได้รับ

พื้นที่มีการเข้าถึงที่ดีขึ้นและมีเศษฐกิจของธุรกิจในพื้นที่ที่ดีขึ้น

พื้นที่เกิดความเชื่อมต่อกับโดยรอบมากขึ้น และตอบสนองการใช้ ในพื้นที่

ประเภทโครงการ ความสาคัญ ลักษณะการดาเนินการ

ลาดับที่ 3 กายภาพ/กิจกรรม

ตารางที่ 4.4 ตารางรายละเอียดการพัฒนาเชิงพืน้ ที่โครงการที่ 2 ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

ประเภทโครงการ

-

ความสาคัญ

ลาดับที่ 3

ลักษณะการดาเนินการ

กายภาพ

ตารางที่ 4.4 ตารางรายละเอียดการพัฒนาเชิงพืน้ ที่โครงการที่ 2 ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

60


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

โครงการที่ 3 โครงการบูรณปฏิสังขรณ์แหล่งมรดกวัดดวงแข โครงการที่ 3

รายละเอียดโครงการ

กิจกรรมที่สาคัญของโครงการ

ระยะเวลาและสถานที่ดาเนินงาน

โครงการที่ 4 โครงการพัฒนา ตรอก ซอก ซอย ย่านที่พักอาศัยระดับกลาง

โครงการบูรณปฏิสังขรณ์แหล่งมรดกวัดดวงแข

บูรณะโบราณสถาน วัดดวงแขและวัดสระบัว และปรับปรุงภูมิทัศน์วัด รวมถึงกาหนด มาตรการกฎหมาย ไม่ให้บดบังอาคาร

โครงการที่ 4

รายละเอียดโครงการ

ปรับปรุงภูมิทัศน์ และส่งเสริมที่อยู่อาศัยในพื้นที่

กิจกรรมที่สาคัญของโครงการ

การพัฒนาอาคารให้เป็นอาคารที่อยู่อาศัยในพื้นที่

ระยะเวลาและสถานที่ดาเนินงาน

ระยะกลาง/พื้นที่พักอาศัยบริเวณโรงแรม Twin Town

เพื่องส่งเสริมแหล่งมรดกวัฒนธรรมในพื้นที่ และเป็นการกาหนดข้อบังคับในการทาลายภูมิ ทัศน์ในพื้นที่

ระยะสั้น / ชุมชนวัดดวงแข งบประมาณ

งบประมาณ แหล่งที่มาของงบประมาณ หน่วยงานที่รับผิดชอบ

เอกชน

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

เอกชน

วัด

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

พื้นที่โบราณสถานมีการส่งเสริม และมีกฎหมายควบคุม

ลักษณะการดาเนินการ

แหล่งที่มาของงบประมาณ วัด

สานักวัฒนธรรมกีฬาและการท่องเที่ยว.กรมศิลปากร

ความสาคัญ

38,675,000

71,935,000 บาท

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ประเภทโครงการ

โครงการพัฒนา พื้นที่สาธารณะ ย่านพักอาศัยระดับกลาง

ลาดับที่ 1 กายภาพ/มาตรการ/จิตสานึก

ตารางที่ 4.5 ตารางรายละเอียดการพัฒนาเชิงพืน้ ที่โครงการที่ 3 ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

สานักโยธา.สานักการระบายน้า.สานักสิ่งแวดล้อม.สานักเทศกิจ. สานักส่งเสริมการลงทุน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

มีการเข้ามาของผู้ใช้งานในพื้นที่รอบๆมากขึ้นทั้งนักศึกษา และคนงาน

ประเภทโครงการ

-

ความสาคัญ

ลาดับที่ 2

ลักษณะการดาเนินการ

กายภาพ

ตารางที่ 4.6 ตารางรายละเอียดการพัฒนาเชิงพืน้ ที่โครงการที่ 4 ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

61


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

โครงการที่ 5 โครงการพัฒนาอาคารให้เป็นที่พักอาศัยประเภท คอนโด โครงการที่ 5

รายละเอียดโครงการ

โครงการที่ 6 โครงการพัฒนาอาคารให้เป็นที่พักอาศัยประเภท อพาร์เม้นท์

โครงการพัฒนาอาคารให้เป็นที่พักอาศัยประเภท คอนโด

ปรับปรุงภูมิทัศน์ และส่งเสริมที่อยู่อาศัยในพื้นที่

โครงการที่ 6

รายละเอียดโครงการ

โครงการพัฒนาอาคารให้เป็นที่พักอาศัยประเภทอพาร์เมนท์

ปรับปรุงภูมิทัศน์ และส่งเสริมที่อยู่อาศัยในพื้นที่

กิจกรรมที่สาคัญของโครงการ

การพัฒนาอาคารให้เป็นอาคารที่อยู่อาศัยในพื้นที่ประเภท คอนโด

กิจกรรมที่สาคัญของโครงการ

การพัฒนาอาคารให้เป็นอาคารที่อยู่อาศัยในพื้นที่ประเภท คอนโด

ระยะเวลาและสถานที่ดาเนินงาน

ระยะกลาง/พื้นที่พักอาศัยบริเวณโรงแรม Twin Town

ระยะเวลาและสถานที่ดาเนินงาน

ระยะกลาง/พื้นที่พักอาศัยบริเวณโรงแรม Twin Town

งบประมาณ

38,675,000

งบประมาณ

38,675,000

แหล่งที่มาของงบประมาณ

เอกชน

แหล่งที่มาของงบประมาณ

เอกชน

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

เอกชน

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

เอกชน

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

สานักโยธา.สานักการระบายน้า.สานักสิ่งแวดล้อม.สานักเทศกิจ. สานักส่งเสริมการลงทุน

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

เอกชน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

มีการเข้ามาของผู้ใช้งานในพื้นที่รอบๆมากขึ้นทั้งนักศึกษา และคนงาน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

มีการเข้ามาของผู้ใช้งานในพื้นที่รอบๆมากขึ้นทั้งนักศึกษา และคนงาน

ประเภทโครงการ

-

ประเภทโครงการ

-

ความสาคัญ

ลาดับที่ 2

ความสาคัญ

ลาดับที่ 2

ลักษณะการดาเนินการ

กายภาพ

ลักษณะการดาเนินการ

กายภาพ

ตารางที่ 4.7 ตารางรายละเอียดการพัฒนาเชิงพืน้ ที่โครงการที่ 5 ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

ตารางที่ 4.8 ตารางรายละเอียดการพัฒนาเชิงพืน้ ที่โครงการที่ 6 ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

62


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

โครงการที่ 7 โครงการเพิ่มพื้นที่กิจกรรมและพื้นที่สาธารณะ โครงการที่ 7

โครงการที่ 8 โครงการการพัฒนาบล็อกอาคารในย่านพาณิชยกรรมดั้งเดิม

โครงการเพิ่มพื้นที่กิจกรรมและพื้นที่สาธารณะ

โครงการที่ 8

โครงการการพัฒนาบล็อกอาคารในย่านพาณิชยกรรมดั้งเดิม

รายละเอียดโครงการ

ปรับปรุงและออกแบบเส้นทางเสื่อมโทรมในพื้นที่ และออกแบบพื้นที่ สาธารณะ

รายละเอียดโครงการ

กิจกรรมที่สาคัญของโครงการ

เพิ่มการเข้าถึงของพื้นที่ให้มีความสะดวกขึ้น และเพิ่มพื้นที่กิจกรรม

กิจกรรมที่สาคัญของโครงการ

ฟื้นฟูเส้นทางสัญจร เพื่อรองรับการขนส่งในพื้นที่

ระยะเวลาและสถานที่ดาเนินงาน

ระยะกลาง/ถนนพื้นที่พาณิชกรรมบริเวณโรงแรม Twin Town

ระยะเวลาและสถานที่ดาเนินงาน

ระยะกลาง/ย่านขนส่งบริเวณถนนจรัสเมือง

งบประมาณ แหล่งที่มาของงบประมาณ

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

38,675,000 บาท สานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร

สานักงานเขต/รัฐ

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

สานักโยธา.สานักการระบายน้า.สานักสิ่งแวดล้อม.สานักเทศกิจ. สานักการจราจร

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

มีพื้นที่กิจกรรมที่เพียงพอต่อการใช้งานและการเข้าถึงสะดวกขึ้น

ประเภทโครงการ ความสาคัญ ลักษณะการดาเนินการ

ลาดับที่ 2 การภาพ/กิจกรรม

ตารางที่ 4.9 ตารางรายละเอียดการพัฒนาเชิงพืน้ ที่โครงการที่ 7 ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

งบประมาณ

ปรับปรุงเส้นทางและภูมิทัศน์ และเพิ่มที่สาธารณะเพื่อรองรับการใช้งาน ในอานคต

149,845,000

แหล่งที่มาของงบประมาณ

เอกชน

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

เอกชน

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

สานักส่งเสริมการลงทุน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

พื้นที่สามารถรองรับนักท่องเที่ยวได้ ตอบสนองการใช้งานและเชื่อมต่อ กับธุรกิจในพื้นที่โดยรอบ

ประเภทโครงการ ความสาคัญ ลักษณะการดาเนินการ

ลาดับที่ 2 กายภาพ/กิจกรรม

ตารางที่ 4.10 ตารางรายละเอียดการพัฒนาเชิงพื้นที่โครงการที่ 8 ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

63


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

โครงการที่ 9 โครงการตัดถนนพื้นที่พาณิชยกรรมดั้งเดิม เพื่อให้สะดวกแก่สัญจร โครงการที่ 9

รายละเอียดโครงการ

โครงการตัดถนนพื้นที่พาณิชยกรรมดั้งเดิม เพื่อให้สะดวกแก่สัญจร

ปรับปรุงเส้นทางและภูมิทัศน์ และเพิ่มที่สาธารณะเพื่อรองรับการใช้ งานในอานคต

กิจกรรมที่สาคัญของโครงการ

ฟื้นฟูเส้นทางสัญจร เพื่อรองรับการขนส่งในพื้นที่

ระยะเวลาและสถานที่ดาเนินงาน

ระยะกลาง/ย่านขนส่งบริเวณถนนจรัสเมือง

งบประมาณ แหล่งที่มาของงบประมาณ

โครงการที่ 10 โครงการขยายทางเดินภายในชุมชนสลักหิน

149,845,000 เอกชน

โครงการที่ 10

รายละเอียดโครงการ

โครงการขยายทางเดินภายในชุมชนสลักหิน

ปรับปรุงและพัฒนาทางเดินภายในชุมชนวัดดวงแข

กิจกรรมที่สาคัญของโครงการ

เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวในอนาคต มีลานกิจกรรมให้นักท่องเที่ยวและ คนในพื้นที่ได้ทากิจกรรมร่วมกัน

ระยะเวลาและสถานที่ดาเนินงาน

ระยะสั้น / ชุมชนวัดดวงแข

งบประมาณ แหล่งที่มาของงบประมาณ

24,540,000 บาท สานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร

เอกชน/รัฐ

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

รัฐ

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

สานักการระบายน้า สานักส่งเสริมการลงทุน สานักเทศกิจ.

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

สานักการโยธา.สานักการระบายน้า.สานักสิ่งแวดล้อม.สานักเทศกิจ. สานักจราจรและขนส่ง.สานักส่งเสริมการลงทุน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

พื้นที่สามารถรองรับนักท่องเที่ยวได้ ตอบสนองการใช้งานและ เชื่อมต่อกับธุรกิจในพื้นที่โดยรอบ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ชุมชนวัดดวงแขได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวที่เข้ามาให้พื้นที่มาก ขึ้น และทาให้คนในชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

ประเภทโครงการ ความสาคัญ ลักษณะการดาเนินการ

ลาดับที่ 2 กายภาพ/กิจกรรม

ตารางที่ 4.11 ตารางรายละเอียดการพัฒนาเชิงพื้นที่โครงการที่ 9 ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

ประเภทโครงการ ความสาคัญ ลักษณะการดาเนินการ

ลาดับที่ 1 กายภาพ/กิจกรรม

ตารางที่ 4.12 ตารางรายละเอียดการพัฒนาเชิงพื้นที่โครงการที่ 10 ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

64


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

โครงการที่ 12 โครงการปรับปรุงพื้นที่ จุดศูนย์รวมของชุมชน

โครงการที่ 11 โครงการปรับปรุง Facade อาคารในชุมชนตรอกสลักหิน โครงการที่ 11

รายละเอียดโครงการ

โครงการที่ 12

โครงการปรับปรุง Facade อาคารในชุมชนตรอกสลักหิน

ปรับปรุงหน้าตาอาคารบ้านเรือน ชุมชนตรอกสลักหินและเพิ่มลาน กิจกรรมของคนในชุมชนและนักท่องเที่ยว

รายละเอียดโครงการ

โครงการปรับปรุงพื้นที่ จุดศูนย์รวมของชุมชน

ปรับปรุงและพัฒนา พื้นที่ลานกิจกรรมและพื้นที่สีเขียวของชุมชน มีการวาดกราฟ ฟิตี้บนกาแพง

กิจกรรมที่สาคัญของโครงการ

เพื่อส่งเสริมพื้นที่ให้เป็นชุมชนสร้างสรรค์ มีลานกิจกรรมให้ นักท่องเที่ยวและคนในพื้นที่ได้ทากิจกรรมร่วมกัน

กิจกรรมที่สาคัญของโครงการ

มีลานกิจกรรมและพื้นที่สีเขียวให้คนในชุมชนได้ใช้ร่วมกันและเป็นพื้นที่รองรับ นักท่องเที่ยว

ระยะเวลาและสถานที่ดาเนินงาน

ระยะสั้น / ชุมชนตรอกสลักหิน

ระยะเวลาและสถานที่ดาเนินงาน

ระยะสั้น / ชุมชนตรอกสลักหิน

งบประมาณ

20,360,000 บาท

งบประมาณ

แหล่งที่มาของงบประมาณ

เอกชน

แหล่งที่มาของงบประมาณ

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

เอกชน

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

18,346,950 บาท สานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร รัฐ

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

สานักการโยธา.สานักการระบายน้า.สานักสิ่งแวดล้อม.สานักเทศกิจ. สานักจราจรและขนส่ง.สานักส่งเสริมการลงทุน

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

สานักการโยธา. สานักสิ่งแวดล้อม.

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวที่เข้ามาให้พื้นที่มากขึ้น และทาให้คน ในชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ชุมชนได้ใช้พื้นที่เต็มศักยภาพและเป็นพื้นที่รองรับนักท่องเที่ยวในอนาคต

ประเภทโครงการ ความสาคัญ ลักษณะการดาเนินการ

ลาดับที่ 1 กายภาพ/กิจกรรม

ตารางที่ 4.13 ตารางรายละเอียดการพัฒนาเชิงพื้นที่โครงการที่ 11 ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

ประเภทโครงการ ความสาคัญ ลักษณะการดาเนินการ

ลาดับที่ 1 กายภาพ/กิจกรรม

ตารางที่ 4.14 ตารางรายละเอียดการพัฒนาเชิงพื้นที่โครงการที่ 12 ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

65


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

โครงการที่ 13 โครงการสร้างพื้นที่กราฟฟิตี้เต็ม รูปแบบ (ผนัง ถนน ) ในซอยตรอกสลักหิน โครงการที่ 13

รายละเอียดโครงการ

โครงการที่ 14 โครงการสร้างพื้นที่การเรียนรู้วิถีชุมชน

โครงการสร้างพื้นที่กราฟฟิตี้เต็มรูปแบบ (ผนัง ถนน ) ในซอยตรอกสลัก หิน ปรับปรุงและพัฒนาทางเดินภายในชุมชน และมีการวาดภาพกราฟฟิตี้บน กาแพง ถนน และอาคารในซอยตรอกสลักหิน

โครงการที่ 14

รายละเอียดโครงการ

โครงการสร้างพื้นที่การเรียนรู้วิถีชุมชน

ปรับปรุงและพัฒนาทางเดินภายนานที่ไม่ได้มีการอยู่อาศัยให้เป็นพื้นที่ เรียนรู้ในชุมชน

กิจกรรมที่สาคัญของโครงการ

เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวในอนาคต และเป็นแหล่งท่องเที่ยวชุมชนสร้างสรรค์

กิจกรรมที่สาคัญของโครงการ

เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวในอนาคต และเป็นแหล่งท่องเที่ยวชุมชน สร้างสรรค์

ระยะเวลาและสถานที่ดาเนินงาน

ระยะสั้น / ชุมชนตรอกสลักหิน

ระยะเวลาและสถานที่ดาเนินงาน

ระยะสั้น / ชุมชนตรอกสลักหิน

งบประมาณ แหล่งที่มาของงบประมาณ หน่วยงานที่รับผิดชอบ

6,540,000 บาท รัฐ สวท.

งบประมาณ แหล่งที่มาของงบประมาณ

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

6,540,000 บาท สานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร

รัฐ

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

สานักโยธา.สานักการระบายน้า.สานักสิ่งแวดล้อม.สานักเทศกิจ.สานักจราจร และขนส่ง.สานักส่งเสริมการลงทุน

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

สวท.

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

มีนักท่องเที่ยวที่เข้ามาให้พื้นที่มากขึ้น และทาให้คนในชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

มีนักท่องเที่ยวที่เข้ามาให้พื้นที่มากขึ้น และทาให้คนในชุมชนมีรายได้ เพิ่มขึ้น

ประเภทโครงการ ความสาคัญ ลักษณะการดาเนินการ

ลาดับที่ 1 กายภาพ/กิจกรรม

ตารางที่ 4.15 ตารางรายละเอียดการพัฒนาเชิงพื้นที่โครงการที่ 13 ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

ประเภทโครงการ ความสาคัญ ลักษณะการดาเนินการ

ลาดับที่ 1 กายภาพ/กิจกรรม

ตารางที่ 4.16 ตารางรายละเอียดการพัฒนาเชิงพื้นที่โครงการที่ 14 ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

66


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

โครงการที่ 16 โครงการปรับปรุงพื้นที่บริเวณใต้ทาง ด่วนเป็นพื้นที่พบปะ พื้นที่กิจกรรมทางการค้า

โครงการที่ 15 โครงการปรับปรุงพื้นที่บริเวณใต้ทางด่วนเป็นพื้นที่สวนสาธารณะ

โครงการที่ 15

โครงการปรับปรุงพื้นที่บริเวณใต้ทางด่วนเป็นพื้นที่สวนสาธารณะ

โครงการที่ 16

โครงการปรับปรุงพื้นที่บริเวณใต้ทางด่วนเป็นพื้นที่พบปะ พื้นที่ กิจกรรมทางการค้า

รายละเอียดโครงการ

เพิ่มพื้นที่สีเขียวใต้ทางด่วนและมีลานทากิจกรรม ปรับปรุงพื้นที่จอดรถ

รายละเอียดโครงการ

กิจกรรมที่สาคัญของโครงการ

มีพื้นที่สาธารณะรองรับการใช้งานของคนที่เข้ามาในพื้นที่และคนในพื้นที่

กิจกรรมที่สาคัญของโครงการ

มีพื้นที่สาธารณะรองรับการใช้งานของคนที่เข้ามาในพื้นที่และคนใน พื้นที่

ระยะเวลาและสถานที่ดาเนินงาน

ระยะยาว/ใต้ทางด่วนศรีรัช

ระยะเวลาและสถานที่ดาเนินงาน

ระยะยาว/ใต้ทางด่วนศรีรัช

งบประมาณ แหล่งที่มาของงบประมาณ หน่วยงานที่รับผิดชอบ

10,845,000 บาท การทางพิเศษ รัฐ

งบประมาณ

ใต้ทางด่วนเป็นพื้นที่การค้า พื้นที่กิจกรรมของชุมชน

10,845,000 บาท

แหล่งที่มาของงบประมาณ

การทางพิเศษ

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

การทางพิเศษ

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

สานักโยธา.สานักการระบายน้า.สานักสิ่งแวดล้อม.สานักเทศกิจ.สานักงานเขต

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

การทางพิเศษ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

มีพื้นที่สาธารณะและลานกิจกรรมให้คนในพื้นที่และคนภายนอกได้ใช้ประโยชน์ ร่วมกัน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

มีพื้นที่สาธารณะและลานกิจกรรมให้คนในพื้นที่และคนภายนอกได้ใช้ ประโยชน์ร่วมกัน

ประเภทโครงการ

ประเภทโครงการ

ความสาคัญ

ความสาคัญ ลักษณะการดาเนินการ

-

ลาดับที่ 3 ลาดับที่ 3

กายภาพ/กิจกรรม ลักษณะการดาเนินการ

ตารางที่ 4.17 ตารางรายละเอียดการพัฒนาเชิงพื้นที่โครงการที่ 15 ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

กายภาพ/กิจกรรม

ตารางที่ 4.18 ตารางรายละเอียดการพัฒนาเชิงพื้นที่โครงการที่ 16 ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

67


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

โครงการที่ 17 โครงการปรับปรุงพื้นที่บริเวณใต้ทางด่วนเป็นพื้นที่จอดรถ โครงการที่ 17

โครงการปรับปรุงพื้นที่บริเวณใต้ทางด่วนเป็นพื้นที่จอดรถ

รายละเอียดโครงการ

เพิ่มพื้นที่สีเขียวใต้ทางด่วนและมีลานทากิจกรรม ปรับปรุงพื้นที่จอดรถ

กิจกรรมที่สาคัญของโครงการ

มีพื้นที่สาธารณะรองรับการใช้งานของคนที่เข้ามาในพื้นที่และคนในพื้นที่

ระยะเวลาและสถานที่ดาเนินงาน

ระยะยาว/ใต้ทางด่วนศรีรัช

งบประมาณ

10,845,000 บาท

แหล่งที่มาของงบประมาณ

การทางพิเศษ

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

การทางพิเศษ

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

การทางพิเศษ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

มีพื้นที่สาธารณะและลานกิจกรรมให้คนในพื้นที่และคนภายนอกได้ใช้ประโยชน์ร่วมกัน

ประเภทโครงการ ความสาคัญ

ลักษณะการดาเนินการ

ลาดับที่ 3

กายภาพ/กิจกรรม

ตารางที่ 4.19 ตารางรายละเอียดการพัฒนาเชิงพื้นที่โครงการที่ 17 ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

68


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

Before

แนวทางการใช้ประโยชน์ อาคารจอดรถ

แนวทางการใช้ประโยชน์ อาคารสานักงาน

A

ZONE A พื้นที่ธุรกิจ

สานักงาน ที่จอดรถ สานักงาน ที่จอดรถ

สานักงาน

ที่จอดรถ

สานักงาน

ที่จอดรถ

After

ที่จอดรถ

ที่จอดรถ ที่จอดรถบรรทุก ที่จอดรถ

ในการพัฒนาอาคารบริเวณพื้นที่ธุรกิจ 1. การแบ่งชั้นที่ 1 เป็นพื้นที่พาณิชยกรรม 2. การแบ่งชั้นที่ 2 – 3 เป็นพื้นที่จอดรถยนต์ 3. การแบ่งชั้นที่ 4 – 6 ขึ้นไปเป็นสานักงาน/Home Office

ในการพัฒนาอาคารบริเวณพื้นที่พาณิชยกรรมดั้งเดิม 1. เป็นพื้นที่จอดรถ

69


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ผังขยาย Zone E พื้นทชุมชนสร้างสรรค์

70


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูพน ื้ ที่นาร่องที่ 1 โครงการปรับปรุงพื้นที่ชุมชนย่านสลักหิน เนื่องชุมชนสลักหินเคยเป็นพื้นที่ที่มีปัญหายาเสพติด และปัจจุบัน เป็นชุมชนแออัด แต่ในตอนนี้ได้รับ การพัฒนาจากทางภาครัฐและการมีส่วน ร่วมหลายๆฝ่ายเข้ามาช่วยพัฒนาพื้นที่ ทาให้พื้นที่พ้นจากการเป็นพื้นที่สีแดง และภายในยังมีกิจกรรมที่เป็นวิถีชุมชน คือการทากระดาษพับ การทาขนม เทียนโบราณ การทากระดุมจีน

แนวทางการพัฒนาบ้านในชุมชนตรอกสลักหิน ทางเท้ากว้าง 3 เมตร พื้นที่หน้าบ้าน 1 เมตร สามารถวางต้นไม้และขายของได้

ลานปรับเปลี่ยน สนามเด็กเล่นใต้ทางด่วน สวนผักชุมชน สวนผักชุมชน ถนนถว้าง 6 เมตร

การใส่ลวดลายทางเดิน

สวน

อาคารพัก อาศัยที่จัดใหม่

อาคารพัก อาศัยที่จัดใหม่

อาคารการเรียนรู้

รายละเอียดผังขยายพื้นที่ ชุมชนสลักหิน

แนวทางการจัดการสภาพแวดล้อมในชุมชนตรอกสลักหิน

กิจกรรมในชุมชนสลักหิน 71


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ภาพทัศนียภาพ

คาเฟ่รถไฟ นารถไฟที่เป็นสัญลักษณ์ ของพื้นที่มาใช้ประโยชน์ เป็นคาเฟ่ในชุมชน

72


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

73


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ผังขยาย Zone C พื้นที่พก ั อาศัยระดับกลาง

74


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong ลักษณะอาคารarea Food truck

โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูพน ื้ ที่นาร่องที่ 2 โครงการพัฒนาพืน ้ ทีพ ่ ก ั อาศัยระดับกลาง เนื่องจากพืน ้ ที่ดั้งเดิมเป็นย่านที่มีการประการธุรกิจขนส่ง และด้วย บทบาทที่จะเปลี่ยนของหัวลาโพงจึงทาให้พน ื้ ที่ขนส่งแห่งนี้จะได้รับการเปลี่ยนไป มากขึ้นด้วย และพืน ้ ที่บริเวณโดยรอบเป็นย่านการศึกษา จึงมีแนวคิดที่จะ พัฒนาพื้นที่เป้นพื้นที่พักอาศัยสาหรับคนงานและนักศึกาทีม่ ีรายได้ระดับกลาง เพื่อเป็นพื้นที่รองรับจากย่านรอบข้างอย่างจุฬา สามย่าน เป็นต้น

ลักษณะอาคารพาณิชยกรรม

ลักษณะอาคารพักอาศัย ย่านที่พักอาศัย ชั่วคราว ย่านที่พักนักศึกษา

อาคารพาณิชยกรรม อาคาร Food truck คนวัยทางาน

สวนปรับเปลี่ยน

อาคารจอดรถ

อาคารจอดรถ

รายละเอียดผังขยายพื้นที่พักอาศัยระดับกลาง

75


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

Before แนวทางการใช้ประโยชน์อาคาร (โรงแรม)

แนวทางการใช้ประโยชน์อาคาร (อาคารพาณิชยกรรม)

แนวทางการใช้ประโยชน์อาคาร (อาคารจอดรถ)

พื้นที่พักอาศัย

ห้องพักอาศัย ห้องพักอาศัย

ที่จอดรถ ที่จอดรถ

พื้นที่พักอาศัย ห้องพักอาศัย ที่จอดรถ

After ห้องพักอาศัย

ผับ / บาร์ ที่จอดรถ ห้องพักอาศัย

ผับ / บาร์ ที่จอดรถบรรทุก

พื้นที่รองรับ นักท่องเที่ยว

ในการพัฒนาอาคารบริเวณพื้นที่ธุรกิจ 1. การแบ่งชั้นที่ 1 พื้นที่รองรับนักท่องเที่ยว 2. การแบ่งชั้นที่ 2 – 5 พื้นที่พักอาศัย / ห้องพัก

ถนนรถไฟ

ในการพัฒนาอาคารบริเวณพื้นที่พาณิชยกรรมใหม่ 1. การแบ่งชั้นที่ 1 – 2 เป็นพื้นที่พาณิชยกรรม 2. การแบ่งชั้น 3 – 4 เป็นพื้นที่พักอาศัย

ในการพัฒนาอาคารบริเวณพื้นที่ พาณิชยกรรมดั้งเดิม 1. เป็นพื้นที่จอดรถ

ถนนศรีรัช

เชื่อมโยงเข้าหัวลาโพง KEY MAP

76


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ห้องพักอาศัย ห้องพักอาศัย

ห้องพักอาศัย

โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองย่านหัวลาโพง

ห้องพักอาศัย ห้องพักอาศัย

ห้องพักอาศัย

ห้องพักอาศัย

ห้องพักอาศัย ห้องพักอาศัย

ห้องพักอาศัย Food truck

ห้องพักอาศัย

ในการพัฒนาอาคารบริเวณพื้นที่ธุรกิจ 1. การแบ่งชั้นที่ 1 พื้นที่รองรับนักท่องเที่ยว 2. การแบ่งชั้นที่ 2 – 5 พื้นที่พักอาศัย / ห้องพัก

ห้องพักอาศัย

ห้องพักอาศัย

พื้นที่รองรับ นักท่องเที่ยว

ในการพัฒนาอาคารบริเวณพื้นที่ธุรกิจ 1. นที่ประกอบอาหารของ Food truck

ห้องพักอาศัย

พาณิชยกรรม

ในการพัฒนาอาคารบริเวณพื้นที่ธุรกิจ 1. การแบ่งชั้นที่ 1 พื้นที่พาณิชยกรรม 2. การแบ่งชั้นที่ 2 – 5 พื้นที่พักอาศัย / ห้องพัก

พาณิชยกรรม

ในการพัฒนาอาคารบริเวณพื้นที่ธุรกิจ 1. การแบ่งชั้นที่ 1 พื้นที่พาณิชยกรรม 2. การแบ่งชั้นที่ 2 – 8 พื้นที่พักอาศัย / ห้องพัก

แนวทางการจัดสภาพแวดล้อม ทางเท้ากว้าง 3 เมตร

ทางเท้ากว้าง 3 เมตร

กิจกรรมตอน 08.00 – 16.00

พื้นที่หน้าบ้าน 1 เมตร สามารถวางต้นไม้และขายของได้ ถนนถว้าง 6 เมตร

กิจกรรมตอน 16.00 – 00.00

พื้นที่หน้าบ้าน 1 เมตร สามารถวางต้นไม้และขายของได้ ถนนถว้าง 6 เมตร (ปิดถนน)

77


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

รูปด้าน

รูปตัด

KEY PLAN

78


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

รูปทัศนียภาพ Zone C พื้นที่พก ั อาศัยระดับกลาง พื้นที่พักอาศัยระดับกลางของนักศึกษา

พื้นที่พักอาศัยของกลุ่มคนงาน

พื้นที่พักพาณิชยกรรม

79


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

โครงการพัฒนาพืน ้ ทีพ ่ น ื้ ทีส่ าธารณะใต้ทางด่วนศรีรชั การเชื่อมโยงพื้นที่ใต้ทางด่วนศรีรชั

พื้นที่ใต้สะพานในปัจจุบน ั

80


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

โครงการพัฒนาพืน ้ ทีพ ่ น ื้ ทีส่ าธารณะเป็นสวนสาธารณะ

แนวทางการออกแบบพืน ้ ทีส่ วนสาธารณะ

สนามบาส

ที่จอดรถ

สวน

ลานไม้

ลานน้าพุ

KEY PLAN

สนามเด็กเล่น

81


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

โครงการพัฒนาพืน ้ ทีพ ่ น ื้ ทีส่ าธารธณะเป็นสวนสาธารณะ

แนวทางการออกแบบพืน ้ ทีส่ วนสาธารณะ

82


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

83


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

โครงการพัฒนาพืน ้ ทีพ ่ น ื้ ทีส่ าธารณะเป็นพืน ้ ทีก ่ ารค้า

ที่จอดรถ

อาหารสาเร็จ

ที่จอดรถ

อาหารสด

KEY PLAN

84


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

โครงการพัฒนาพืน ้ ทีพ ่ น ื้ ทีส่ าธารธณะเป็นพืน ้ ทีก ่ ารค้า

แนวทางการออกแบบพืน ้ ทีก ่ ารค้า

Green Corridor

รูปแบบร้าน

ต้นชมพูพันธุ์ทิพย์

85


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

86


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

โครงการพัฒนาพืน ้ ทีพ ่ น ื้ ทีส่ าธารณะใต้ทางด่วนศรีรชั เป็นพืน ้ ทีข่ นส่ง

ที่จอดรถ

KEY PLAN

สานักงาน ขนส่งชัว่ คราว

87


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

แนวทางการออกแบบพืน ้ ทีก ่ ารขนส่ง โครงการพัฒนาพืน ้ ทีพ ่ น ื้ ทีส่ าธารธณะใต้ทางด่วนศรีรชั เป็นพืน ้ ทีข่ นส่ง

Green Corridor

ต้นหางนกยูง

88


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

โครงการพัฒนาพืน ้ ทีพ ่ น ื้ ทีส่ าธารธณะใต้ทางด่วนศรีรชั เป็นพืน ้ ทีข่ นส่ง

ที่จอดรถแท็กซี่

KEY PLAN

ที่จอดรถตุก ๊ ๆ

ที่จอดรถ

89


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

แนวทางการออกแบบพืน ้ ทีก ่ ารขนส่ง โครงการพัฒนาพืน ้ ทีพ ่ น ื้ ทีส่ าธารธณะใต้ทางด่วนศรีรชั เป็นพืน ้ ทีข่ นส่ง

ต้นราชพฤกษ์

ที่จอดรถแท็กซี่

ที่จอดรถตุก ๊ ๆ

ที่จอดรถ

90


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

การเชื่อมโยง เส้นทางท่องเที่ยวที่สอดคล้องมาจากโครงการวิจยั อนุรก ั ษ์ และพัฒนาสถานีรถไฟกรุงเทพ - รถไฟหัวลาโพง


แนวทางการดาเนินโครงการตามผังแม่บทสู่การปฏิบัติ หลักเกฑณ์ในการกาหนดลาดับการพัฒนา 1.ความพร้อมในการพัฒนาโครงการนาร่อง 2.การปรับปรุงพื้นที่สาธารณะให้สอดคล้องกับการพัฒนาโครงการนาร่อง ลาดับการพัฒนาโครงการ ระยะ

ระยะที่ 1

ระยะที่ 2

ระยะที่ 3

ระยะที่ 4

ระยะเวลา

ระยะเวลา 2565 - 2570

ระยะเวลา 2571 - 2575

ระยะเวลา 2576 - 2584

สมบูรณ์

ภาพโครงการ

รายละเอียดการพัฒนา

บทบาทหน้าทีข่ อง กทม.

-

ปรับปรุงและพัฒนาพื้นที่แหล่งการเรียนรู้ วิถีชุมชนสลักหิน และวัดดวงแข พัฒนาถนน ทางเท้า และพื้นที่สาธารณธ ดาเนินโครงการน่าองที่มีความพร้อมสูง

- กทม.หารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและชาว ชุมชนในการดาเนินโครงการพัฒนารท่องเที่ยว วิถีชมุ ชน ร่วมถึงทางเดิน ถนนและพืน้ ที่ สาธารณะ - กทม.ร่วมกับเอกชนในดาเนินโครงการในพืน้ ที่ เอกชน

-

-

-

พัฒนาย่านพาณิชยกรรมการค้าดัง้ เดิม (ขนส่ง) โดยการจัดกลุม่ อาคาร ดาเนินโครงการนาร่องที่มีความพร้อม ปรับปรุง บูรณะ ปฎิสงั ขรณ์แหล่งมรดก

-

กทม.หารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและ ชาวชุมชนในการดาเนินโครงการพัฒนาร ท่องเที่ยววิถีชมุ ชน ร่วมถึงทางเดิน ถนน และพืน้ ที่สาธารณะ กทม.สนับสนุนงบประมาณบริหารจีด การพืน้ ที่โครงการที่ก่อสร้างเสร็จ

-

-

-

ดาเนินโครงการนาร่องที่ต้องอาศัยความ พยายาม พัฒนาย่านที่พักอาศัยระดับกลางพัฒนาถนน ทางเท้า และพื้นที่สาธารณะย่านใต้ทางด่วนศรี รัช

- บริหารจัดการพืน้ ที่ตามที่วางไว้

กทม.หารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและชาว ชุมชนในการดาเนินโครงการพัฒนาร ท่องเที่ยววิถีชมุ ชน ร่วมถึงทางเดิน ถนนและ พืน้ ที่สาธารณะ กทม.สนับสนุนงบประมาณบริหารจีดการ พืน้ ที่โครงการที่ก่อสร้างเสร็จ

- กทม.สนับสนุนงบประมาณบริหารจีด การพืน้ ที่โครงการที่ก่อสร้างเสร็จ และ ผลักดันให้เกิดการบริการจัดการพืน้ ที่ โดยชุมชนและประชาชนทั่วไป

ตารางที่ 4.20 ตารางลาดับการพัฒนา ที่มา : จากผูศ้ กึ ษา , 2564

92


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

การแบ่งตามประเภทโครงการ

93


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ผู้จัดทำ

นางสาววรกมล นาคหรั่ง รหัส 1601020551111

นางสาวมัณฑณี หินอ่อน รหัส 1601020551134

นายภัคพล สังข์ทอง รหัส 1601020551139

94


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

ข้อเสนอแนะ 1.ในการออกแบบโครงการในครั้งนี้ควรมีจุดเชื่อมโยงพื้นที่โครงการ กับหัวลาโพง ซึ่งการสร้าง ความสัมพันธ์ของหัวลาดพงและพื้นที่โครงการควรเป็นโจทย์หลักในการออกแบบ 2.การนาแนวคิดเมืองสร้างสรรค์มาใช้ ควรมีการใส่รายละเอียดให้มากกว่านี้ ให้เห็นถึงความ สร้างสรรค์ได้ชัดเจน 3.ในวิสัยทัศน์มีการกล่าวถึงการเชื่อมโยงพื้นที่สีเขียว แต่ในการออกแบบควรมีการสื่อให้เห็น อย่างชัดเจนว่าลักษณะโครงข่ายสีเขียวนีเ้ ป็นอย่างไร แล้วมีเหตุผลอะไรที่จะเชื่อมโยงนามาซึ่ง วิสัยทัศน์

95


โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองชุมชนริมคลองผดุงกรุงเกษม : ย่านหัวลาโพง Urban Conservation and Rehabilitation Project of Klong Phadung Krung Kasem Community : Hua Lamphong area

บรรณานุกรม โครงการวิจัยอนุรักษ์และพัฒนาสถานีรถไฟกรุงเทพ – รถไฟหัวลาโพง.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , 2563 ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬากรณ์มหาวิทยาลัย.(2558).โครงการจัดทาผังแม่บทการฟื้นฟูย่านเมืองเก่า สานักผังเมืองกรุงเทพ.โครงการปรับปรุงฟื้นฟูย่านคลองผดุงกรุงเกษม . 2552 ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬากรณ์มหาวิทยาลัย.มาตราฐานผังเมือง.2553

96


97


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.