รางวัลชนะเลิศ การจัดการระบบ e-Learning ในระดับอุดมศึกษา ประจาปี 2554 ของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
จัดทำโดย สำนักกำรจัดกำรศึกษำออนไลน์ Office of Online Education (OOE)
กันยำยน 2554
เอกสารเชิญชวนเขารวมโครงการ ประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
คํานํา มหาวิทยาลัยศรีปทุมตระหนักถึงความสําคัญของการพัฒนาการศึกษา มุงที่จะสรางผูมีความรู เพื่อ สร า งศั ก ยภาพทางด า นความรู ใ ห กั บ นั ก ศึ ก ษา เพื่ อ นํ า ไปสู ห นทางแห ง ความก า วหน า ในอนาคต ทางมหาวิทยาลัยศรีปทุมมีนโยบายสนับสนุนการศึกษาของนักศึกษาในสถาบัน ใหสามารถเรียนรูไดโดยไร ขีดจํากัด ในดานตางๆ ทั้งการพัฒนาดานวิชาการ ดานเทคโนโลยนีสารสนเทศ ดานกายภาพและสิ่งแวดลอม ดานกิจการนักศึกษา ดานการกีฬา รวมถึงศักยภาพในการแสดงออกในความรู ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ ของคณาจารย ตลอดจนบุคลากรของสถาบันแหงนี้ใหมีพรอม ทุกขณะในการเปนแหลงถายทอดความรู จากนโยบายและวิสัยทัศนที่มุงมั่นเปนมหาวิทยาลัยเอกชนชั้นนํา แหลงสรางมืออาชีพ มีความโดดเดน ดานวิชาการ เทคโนโลยี และความรับผิดชอบตอสังคม จึงมีการกําหนดยุทธศาสตรขอหนึ่งของมหาวิทยาลัย ใน การเปน e-University ชั้นนําของประเทศ จึงไดดําเนินการงานตามยุทธศาสตรดังกลาว โดยมีพัฒนาระบบ โครงสรางพื้นฐาน ที่ทันสมัย เพื่อรองรับการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิง พัฒนาทักษะของนักศึกษา อาจารย และบุคลากร ใหมีความรูดาน ICT อยางทั่วถึง และมีการใชเทคโนโลยี ICT เพื่อบริการการเรียนรูตลอดชีวิตดัง จะเห็นไดจากรายละเอียดในรูปเลมตอไป จัดทําโดย สํานักการจัดการศึกษาออนไลน Office of Online Education (OOE) กันยายน 2554
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
คํานํา
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
สารบัญ รายการ 1.ดานนโยบายอีเลิรน นิงของสถาบันการศึกษา 1.1 การวางยุทธศาสตรและนโยบายการจัดโครงการอีเลิรนนิงที่ชัดเจน ดานวิสยั ทัศน พันธกิจ แผนยุทธศาสตร แผนปฏิบัติการ 1.2 การดําเนินโครงการการจัดการศึกษาแบบอีเลิรนนิง - การดําเนินงาน ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2543) - การดําเนินงานระยะที่ 2 (พ.ศ. 2544 – พ.ศ.2547)
หนา 1 1 3 3 4
- การดําเนินงานระยะที่ 3 (มกราคม 2548 – 2549)
13
- การดําเนินงานระยะที่ 4 (พ.ศ. 2550 – พ.ศ. 2552)
15
- การดําเนินงานระยะที่ 5 (พ.ศ. 2553 – ปจจุบัน)
16
2.ดานโครงสรางทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.1 ระบบโครงสรางพื้นฐาน จํานวนอุปกรณ เครือขายสื่อสารภายใน ภายนอกพรอม ใหบริการแกนักศึกษาอยางเพียงพอ 2.2 ระบบบริหารจัดการเรียนการสอน LMS 2.3 ระบบการติดตอสื่อสาร
18 18 30 44
3.ดานทรัพยากรสนับสนุน 3.1 จํานวนสื่อดิจิตอลทีผ่ ลิต/บริการ 3.2 จํานวนฐานขอมูล เอกสาร ตํารา และวารสารอิเล็กทรอนิกส 3.3 ระบบการแนะนําวิธกี ารเรียน การสื่อสาร การใชเครื่องมือสื่อสาร 3.4 บุคลากรสนับสนุนการผลิตสื่อดิจิตอล
47 47 49 57 67
4.ดานหลักสูตรการสอน 4.1 วิธีการจัดทําและจัดหาหลักสูตรแบบอีเลิรนนิง 4.2 การดูแลดานคุณภาพ มาตราฐานหลักสูตรแบบอีเลิรนนิง 4.3 การออกแบบการเรียนและการสอนแบบอีเลิรนนิง
72 72 72 75
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
สารบัญ I
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
รายการ 4.4 การจัดการเรียนและการสอนแบบอีเลิรนนิง 4.5 การประเมินการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิง
หนา 92 98
5. การสนับสนุนอาจารย 5.1 การสนับสนุนและอํานวยความสะดวกดานการผลิตสื่อดิจิตอล 5.2 การสนับสนุนและอํานวยความสะดวกดานการออกแบบการสอนอีเลิรนนิง 5.3 การพัฒนาอาจารยดานการสอนแบบอีเลิรนนิง
101 101 102 103
6. การสนับสนุนนักศึกษา 6.1 ระบบแนะนําวิธีการเรียน การสือ่ สาร การใชเครื่องมือสื่อสาร 6.2 ระบบสนับสนุนและใหคําแนะนําแกนักศึกษาแบบประสานเวลา (Synchronous/Real-Time) 6.3 ระบบสนับสนุนและใหคําแนะนําแกนักศึกษาแบบไมประสานเวลา (Asynchronous)
106 106 109 110
ภาคผนวก
. E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
สารบัญ II
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
สารบัญรูปภาพ ภาพที่ 1.
หนา เครือขายคอมพิวเตอรของมหาวิทยาลัยศรีปทุม
25
2. การเชื่อมตอของระบบเครือขาย
26
3. แสดงจํานวนจุดใหบริการ Wireless LAN มหาวิทยาลัยศรีปทุม
27
4. ขั้นตอนการทํางานของโปรแกรม Camtasia Relay
28
5. หนาเว็บไซตอีเลิรนนิงเดิมของมหาวิทยาลัยที่ใชระบบการจัดการเรียน การสอน Edugether
32
6. หนาเว็บไซตอีเลิรนนิงปจจุบันของมหาวิทยาลัยที่ใชระบบการจัดการเรียน การสอน Moodle
34
7. หนาเพจ Login เขาสูระบบ
35
8. ตรวจสอบการเขาหองเรียนในระบบ Moodle
37
9. ตัวอยาง Certificate ในระบบ Moodle
38
10. รูปแบบชนิดของขอสอบในระบบคลังขอสอบที่หลากหลาย
40
11. ตัวอยางการรายงานผล โดยใช Google Analytics
40
12. Log file การใชงานของผูเรียนที่เขาเรียนในรายวิชาบนเว็บไซตอีเลิรนนิง
41
13. สถิติการเขาใชงานภายในบทเรียนของผูเรียน
41
14. การกําหนดสิทธิการเขาใชงาน
42
15.
42
รายงานแสดงการใชเนื้อที่ในแตละรายวิชา
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
สารบัญ III
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
ภาพที่
หนา
16.
ตัวอยางหนาจอการใชงาน Moodle บน Mobile Devices
43
17.
หนาเว็บไซตระบบ SCMS
44
18.
ตัวอยางของสื่อสมบูรณ
47
19.
ตัวอยางของสื่อเสริม
48
20.
ตัวอยาง e-Book คูมือการใชงาน Moodle สําหรับอาจารย
57
21.
ตัวอยางคูมือการบันทึกการสอนดวยโปรแกรม Camtasia Relay
58
22.
ตัวอยาง e-Book คูมือการใชงาน Camtasia Studio
59
23.
ตัวอยาง e-Book คูมือการใชงาน Camtasia Studio
60
24.
ตัวอยาง e-Book คูมือการใชงาน Moodle สําหรับนักศึกษา
61
25.
ระบบหองสมุดอัตโนมัติ Program Horizon
62
26.
หองปฏิบัติการคอมพิวเตอรและคอมพิวเตอรที่ใหบริการแกนักศึกษา
64
27.
การติดตอสื่อสารผาน Web-board
68
28.
ตัวอยางการออกแบบโครงสรางและลักษณะของบทเรียนอิเล็กทรอนิกส
77
29.
ตัวอยางการพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส
18
30.
ตัวอยางการทํางานของโปรแกรม Camtasia Relay
87
31.
System Architecture ของระบบ
87
32.
บทเรียนที่บันทึกดวยโปรแกรม Camtasia Relay
89
33.
ตัวอยาง สื่อ Project-Based Learning
91
34.
ตัวอยางบทเรียนที่ใชเปนสื่อเสริม ในระบบ LMS Moodle
93
35.
ตัวอยางบทเรียนสื่อเติมเต็มการเรียน ในระบบ LMS Moodle
95
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
สารบัญ IV
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
ภาพที่
หนา
36.
การเรียนแบบผสมผสานในหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิตแบบอีเลิรนนิง
96
37.
แบบทดสอบกอนเรียนในระบบบริหารจัดการเรียนการสอน
99
38.
หนาเพจของผลคะแนนการทําแบบทดสอบกอนเรียนของผูเรียน
100
39.
บรรยากาศการฝกอบรม
104
40.
หนาเว็บไซตโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย (TCU) การเขารายวิชา เรียนตามอัธยาศัย
105
41.
หนาเพจคูมือแนะนําการใชงานเครื่องมือ และวิธีการเรียนแบบอีเลิรนนิง
107
42.
การประชาสัมพันธการเขาใชงานระบบอีเลิรนนิงบนสื่อ Digital Signage
108
43.
ตัวอยางการสนทนาออนไลนบน My Messenger ของระบบ LMS Moodle
109
44.
Webboard ในรายวิชา สําหรับผูเรียนพูดคุย ซักถาม อาจารยผูสอน
110
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
สารบัญ V
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
1. ดานนโยบายอีเลิรนนิงของสถาบันการศึกษา 1.1 การวางยุทธศาสตรและนโยบายการจัดโครงการอีเลิรนนิงที่ชัดเจน ดานวิสยั ทัศน พันธกิจ แผนยุทธศาสตร แผนปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดเห็นความสําคัญของการศึกษา มุงที่จะสรางผูมีความรู เพื่อสรางศักยภาพ ทางดานความรูใหกับนักศึกษา เพื่อนําไปสูหนทางแหงความกาวหนาในอนาคต ทางมหาวิทยาลัยศรีปทุมมี นโยบายสนับสนุนการศึกษาของนักศึกษาในสถาบัน ใหสามารถเรียนรูไดโดยไรขีดจํากัด จึงไดริเริ่มโครงการ ผลิตสื่อการเรียนการสอน เพื่อใหนักศึกษานําไปศึกษาดวยตัวเอง โดยมีทานรองอธิการบดีอาวุโส รศ.ดร.อุทัย ภิรมยรื่น เปนผูดูแล และไดมีการพัฒนามาอยางตอเนื่อง ในป 2548 มหาลัยศรีปทุมไดมีคําสั่ง ใหโอนงานและบุคลากรงานพัฒนาสื่อการเรียนการสอนไปสังกัด ศูนยมีเดีย แตงตั้งวันที่ 1 กุมภาพันธ 2548 (อางอิง คําสั่งมหาวิทยาลัยศรีปทุมที่ 133/2548) แตก็ยังดําเนินการ เกี่ยวกับสื่อการเรียนการสอนเหมือนเดิม และในป 2550 มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดมีคําสั่ง ใหโอนงานและบุคลากรงานพัฒนาสื่อการเรียนการ สอนไปสังกัดศูนย ICT และอยูในความดูแลของบริษัท เอสพีที เวนเจอร เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2550 จนกระทั่ง ในปจจุบัน เพื่อความเหมาะสมในการบริหาร และกํากับดูแลการบริหารงานพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ใหมี เอกภาพและประสิทธิภาพงานพัฒนาสื่อการเรียนการสอน มีการเปลี่ยนหนวยงานที่สังกัด โดยจัดตั้งสํานักการ จัดการศึกษาออนไลน ขึ้นมาเพื่อรองรับและสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนออนไลน และโอนยายบุคลากร เดิมที่ทํางานดาน e-Learning ที่สังกัดบริษัท เอสพีที เวนเจอร ยายกลับเขามาสังกัดมหาวิทยาลัยศรีปทุม เพื่อใหการดําเนินการเกี่ยวกับ การผลิตสื่อการเรียนการสอนและการประสานงานใหเปนไปตามกระบวนการ มากยิ่งขึ้น จะเห็นไดวา มหาวิทยาลัยศรีปทุมมีเสนทางพัฒนาการดําเนินการเกี่ยวกับการจัดโครงการการเรียน การสอนแบบอีเลิรนนิงมาอยางตอเนื่องยาวนาน โดยมีนโยบายและการวางแผนยุทธศาสตรการจัดโครงการอี เลิรนนิงเปนที่เดนชัด ดังจะเห็นไดจากแผนพัฒนามหาวิทยาลัย ระยะ 5 ป (ปการศึกษา 2553-2557) ซึ่งมี วิสัยทัศน พันธกิจ แผนยุทธศาสตร แผนปฏิบัติการ ดังนี้
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 1
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
วิสัยทัศน (Vision) เปนมหาวิทยาลัยเอกชนชั้นนํา แหลงสรางมืออาชีพ มีความโดดเดนดานวิชาการ เทคโนโลยี และความ รับผิดชอบตอสังคม อัตลักษณมหาวิทยาลัยศรีปทุม (Identity) “โดดเดนดาน ICT” (Outstanding in ICT) บัณฑิตของมหาวิทยาลัยศรีปทุมตองเปนผูมีความรูและทักษะโดดเดนในดานไอซีที มีความชํานาญใน การใชไอซีทีประกอบวิชาชีพจนเปนทีย่ อมรับของบุคคลทั่วไป ยุทธศาสตร (Strategy) เพื่อกําหนดจุดเนนในการพัฒนามหาวิทยาลัยใหมีความชัดเจน สอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจ และ สังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มหาวิทยาลัยจึงไดกําหนดยุทธศาสตรมุงเนนการเปน e-University ชั้นนําของประเทศ ดังนี้ ยุทธศาสตรที่ 2 การเปน e-University ชั้นนําของประเทศ มีเปาหมายของยุทธศาสตร คือ 2.1 e-University รองรับการเรียนการสอน 2.2 e-University รองรับการบริการ 2.3 e-University รองรับการบริหารการจัดการ
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 2
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
1.2 การดําเนินโครงการการจัดการศึกษาแบบอีเลิรนนิง การดําเนินงานโครงการดานการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิง ตั้งแตกอตั้งโครงการจนถึงปจจุบันนั้น ได ดําเนินการสนองตอนโยบาย ยุทธศาสตร ของมหาวิทยาลัยตลอดมา โดยมีการจัดตั้งหนวยงานตางๆ จัดสรร บุคคลากร และคัดเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับมหาวิทยาลัยในแตละชวงเวลานั้น มีการปรับโครงสราง การดําเนินงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาแบบอีเลิรนนิงและกาวเขาสูการดําเนินการแบบ e-University โดยมีรายละเอียดการดําเนินการ พอสรุปไดดังนี้ การดําเนินงาน ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2543) ในระยะที่ 1พ.ศ. 2543 มหาวิทยาลัยศรีปทุม ไดเล็งเห็นความสําคัญในการใชเทคโนโลยีเขามามีสวน ชวยในการจัดการเรียนการสอน เริ่มตนตั้งแตการใชคอมพิวเตอร เปนเครื่องมือในการเรียนการสอน โดยมีการ สรางสื่อการเรียนการสอนรูปแบบใหม แทนที่เอกสารหนังสือที่เรียกวา สื่อคอมพิวเตอรชวยสอน หรือ CAI นําเสนอในรูปแบบ CD-ROM ในลักษณะออฟไลน ดังโครงการตอไปนี้ ชื่อโครงการ CAI (คอมพิวเตอรชวยสอน) ผลิต Content รูปแบบคอมพิวเตอรชวยสอน CAI (Computer assisted Instruction) โดยใชโปรแกรม Adobe Authorware จํานวน 6 วิชา เพื่อผลิตเปน CD แจกใหกับ นักศึกษาที่เรียนในวิชานั้นๆ โดยใช งบประมาณเกี่ยวกับ Hardware และ Software ที่จําเปนในการผลิต 240,420 บาท ซึ่งไดแก Computer จํานวน 2 เครื่อง และ Software License ของ Adobe Authorware สรุปผลการดําเนินงานระยะที่ 1 การผลิต Content ในระยะนี้มีปญหามากเนื่องจากตองใชเวลานานในการผลิตในแตละวิชา รวมทั้ง การแกไขทําไดยาก หากผูที่แกไข ไมมีความสามารถในการใชโปรแกรม ก็จะทําไดยาก
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 3
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
การดําเนินงานระยะที่ 2 (พ.ศ. 2544 – พ.ศ.2547) ตอมาในป พ.ศ. 2544 เนื่องจากเทคโนโลยีมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง ดังนัน้ ทางผูชว ยอธิการบดีอาวุโส รศ.ดร.อุทัย ภิรมยรื่น เห็นสมควรวาควรจะผลิตสื่อที่มีความรวดเร็ว และงายตอการแกไข เพื่อใหมเี นื้อหาที่ ทันสมัยจึงไดจัดตั้งโครงการดังตอไปนี้ โครงการ Digital Content รวมกับ บริษทั ออลเนท จํากัด (สิงหาคม พ.ศ.2544 – กันยายน พ.ศ. 2545) ทางมหาวิทยาลัยศรีปทุมไดทําสัญญาวาจางจัดทํา Digital Content กับบริษัท ออลเนท จํากัด จํานวน 4 รายวิชา คือ 1. วิชา ENG122 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 2. วิชา ECN205 เศรษฐศาสตรมหภาค 3. วิชา ACC204 หลักการบัญชีเบื้องตน 4. วิชา MAT101 สถิติเบื้องตน โดยในระยะนี้รูปแบบการเรียนการสอนผาน Web หรือที่เรียกวา WBI (Web Base Instruction) เปน เทคโนโลยีที่ไดรับความสนใจและมีประสิทธิภาพในการใชเปนสื่อการสอนไดอยางดี แตก็ยังมีขอจํากัดในเรื่อง ศักยภาพของผูสอนที่ตองเรียนรูเรื่องเทคโนโลยีและคอมพิวเตอรมากขึ้น เพราะวาแนวทางการดําเนินงานคือ ตอ งการให อาจารย ผูสอนผลิตเองไม มี ทีม งานผลิต ให แตการดํา เนิน งานจริ ง ๆตอ งชว ยเหลื อในการผลิ ต อยางมาก โครงการพัฒนาการเรียนการสอนผานระบบเครือขาย เนื่องจากปจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ทําใหเกิดการประยุกตใชใน งานตางๆ มากมาย ทั้งในภาครัฐและเอกชน ในดานธุรกิจมีการประยุกตใชระบบสารสนเทศตาง ๆ เพื่อใชใน การดําเนินการและแขงขันทางดานธุรกิจเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดสถาบันการศึกษาในและตางประเทศ ตาง ใหความสนใจและเห็นถึงความสําคัญที่จะตองทําการปรับปรุงโครงสรางและกลยุทธในการจัดการศึกษา เพื่อ รองรับการแขงขันที่สูงขึ้นและสนับสนุนการเรียนการสอนที่เปลี่ยนแปลงไป E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 4
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
การจัดการศึกษาในรูปแบบของ e-Learning เปนการจัดการเรียนการสอนทางไกลที่ใชสื่อ อิเลคทรอนิกส ผานทางเครือขายอินเทอรเนต หรือที่นิยมเรียกวา Online – Teaching and Learning ซึ่งเปน การเรียนการสอนที่ดําเนินการบนเครือขายอินเทอรเนตมีความสะดวกและคลองตัวสูง ผูเรียนสามารถเรียนที่ ไหน (Anywhere) และเวลาใดก็ได (Anytime) ไมมีขอจํากัด ผูเรียนสามารถเขาถึงแหลงขอมูลที่มีอยูทั่วโลก อย า งไร ข อบเขต สามารถทํ า กิ จ กรรมหรื อ แบบฝ ก ปฏิ บั ติ ต า งๆ ใช บ ริ ก ารบนเครื อ ข า ย ในหลายรู ป แบบ เนื่องจาก มีการพัฒนาองคความรูบนเครือขายอินเทอรเนต เพื่อเผยแพรและแลกเปลี่ยนความรูทางวิชาการทุก แขนงวิ ช าและพร อ มที่ จ ะให ผู เ รี ย นและผู ส อนใช เ ป น ช อ งทางในการติ ด ต อ สื่ อ สารระหว า งกั น ซึ่ ง การจั ด การศึกษาในรูปแบบนี้ ดําเนินตามนโยบายของ การปฎิรูปการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 เปนอยางดี กลาวคือ เปนการขยายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษา (Outreach Education) อยาง มีคุณภาพ ตอบสนองการเรียนรูของผูเรียน อันกอใหเกิดการเรียนรูตลอดชีวิต (Lifelong Learning) เปนการ เรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง (Student centered) ผูสอนเปนผูจัดการ(Facilitator) ใหเกิดการเรียนรู นอกจากนี้แลวการเรียนการสอนผานระบบเครือขายอาจจะนํามาใชในการฝกอบรมบุคลากรโดยผานเครือขาย ที่เรียกวา Web–Based Training ซึ่งชวยลดขอจํากัด ของการขาดแคลนทรัพยากรในการจัดการเรียนการสอน อันไดแก อาจารยผูสอน หองเรียน และตารางเวลาที่กําหนดใหมีการเรียนการสอนเกิดขึ้น ดังนั้นจึงจัดใหมี โครงการพัฒนาการเรียนการสอนผานระบบเครือขายขึ้นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนและการ พัฒนาบุคลากรใหสอดคลองกับการปฎิรูปการศึกษาและพัฒนาบัณฑิตของมหาวิทยาลัยสูสังคมอยางมี คุณภาพ สมดังปณิธานที่วา “ปญญา เชี่ยวชาญ เบิกบาน คุณธรรม” โครงการพัฒนาการเรียนการสอนผานระบบเครือขาย ไดแบงการดําเนินการออกเปน 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 (ตุลาคม 2544 - กรกฎาคม 2545) การดําเนินโครงการในระยะที่ 1 เริ่มจากเดือนตุลาคม 2544 ถึงเดือนกรกฎาคม 2545 มหาวิทยาลัย ไดอนุมัติงบประมาณเพื่อดําเนินการโครงการ โดยเปน - คาใชจายในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณและการฝกอบรม - คาพัฒนาเว็บรายวิชา
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 5
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
ซึ่งผลสรุปของการดําเนินโครงการพัฒนาการเรียนการสอนผานระบบเครือขาย ในระยะที่ 1 คือ มหาวิทยาลัยสนับสนุนงบประมาณใหกับอาจารยผูที่สนใจผลิตสื่อการเรียนการสอน Online จํานวน 20 รายวิชา รายวิชาที่ไดรับทุนสนับสนุนในการผลิตมีดังนี้ คณะ ศูนยวิชาการศึกษาทั่วไป
รายชื่อวิชา
รายชื่อวิชา
MAT 101
คณิตศาสตรทั่วไป
THI 113
การใชภาษาไทย
THI 114
ทักษะการใชภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
ENG 121
ภาษาอังกฤษ 1
ENG 122
ภาษาอังกฤษ 2
CMM 131
ทฤษฎีสื่อสารมวลชน
ADS 210
หลักการโฆษณา
คณะศิลปศาสตร
ENG 204
การเขียนภาษาอังกฤษเบื้องตน
คณะบริหารธุรกิจ
MGT 207
องคการและการจัดการ
คณะสารสนเทศศาสตร
BCS110
คอมพิวเตอรและวิทยาการสารสนเทศเบื้องตน
CSE 101
การแกปญหาชุดคําสั่งและคอมพิวเตอร
คณะนิเทศศาสตร
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 6
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
คณะ คณะสถาปตยกรรมศาสตร
รายชื่อวิชา
รายชื่อวิชา
ARC 102
การออกแบบเบื้องตน 2
ARC 112
กราฟกสื่อสาร
คณะนิติศาสตร
LAW 206
กฎหมายแพงและพาณิชย วาดวยยืม ฝากทรัพย ฯลฯ
คณะเศรษฐศาสตร
ECN 101
หลักเศรษฐศาสตร
ECN 204
เศรษฐศาสตรจุลภาค 1
CEN 322
การวิเคราะหโครงสราง 2
CEN371
กลศาสตรของไหล
ACC 210
การบัญชีการเงิน
ACC 211
การบัญชีจัดการ
คณะวิศวกรรมศาสตร
คณะบัญชี
เพื่ออํานวยความสะดวกใหกับอาจารยผูผลิตสื่อ ทางทีมงานพัฒนาสื่อการเรียนการสอนไดมีการจัด อบรมการสราง Homepage รายวิชาและอบรมการใชงาน Software ที่จําเปนในการผลิต ไดแก โปรแกรม Macromedia Dreamwaver, โปรแกรมแตงภาพ, Upload ไฟลขอมูลขึ้นสูระบบ โดยโปรแกรม CuteFTP 4.0
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 7
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
ตัวอยางผผลงาน
THI 1133 วิชาการใชภาษาไทย. ภ
GSCC 141 วิชามนุษยกับ สิ่งแวดลอม
THI 114 วิชาทักษะการใชภาษาไทยเพื ภ ่อ IMG 4699 วิชา การจัดการ การสื่อสาร สิ่งแวดลอมทางอุ ม ตสาหกกรรม
MGTT 207 วิชาองคการ แ และการจั ดการ
BCS110 วิชาคอมพิ ช วเตออรและ วิทยาการสสารสนเทศเบืองต อ้ น
จากการดําเนินงานที น ่ผานมา มหาวิทยาลัยได ไ ปรับสถานะโโครงการพัฒนาการเรียนการสสอนผานระบบบ ไ มีการจัดทํา เครือขาย เปนงานพัฒนาาสื่อการเรียนการสอน สังกัดศูนยเทคโนโลยียีทางการศึกษาา ซึ่งในระยะนี้ได ช โดยตองมีการทําวิจัยควบคูไปดวยพรมอกั อ บ โครงการวิจัจยการเรียนการรสอนผานระบบบเครือขาย จํานวน 50 รายวิชา การปรับสถานะโครงการ มีรายละเอียดดั ย งนี้ โครงการพ พัฒนาการเรีรียนการสอนผานระบบเคครือขาย ระยะที่ 2 (มกราคม 25546 - ธันวาคมม 2546) จากการดําเนินการผลิ น ตสื่อการเรี ก ยนการสอน Online ในนระยะที่ 1 สื่อเหล อ านี้ไดผลิตเสร็จสิ้นประะมาณ เดือน กรกกฎาคม 2545 ตอมาไดเริ่มดําเนินโครงการรนี้อีกครั้ง ในเดือนมกราคม 2546 โดยมหหาวิทยาลัยไดมีมปรับ สถานะโครงการพัฒนาการเรียนการสอนผานระบบเครือขาย เปปนงานพัฒนาาสื่อการเรียนกการสอน สังกัดศู ด นย เทคโนโลยียีทางการศึกษา ษ พรอมกับการจั ก ดทําโครงงการวิจัยการเรียนการสอนนผานระบบเคครือขาย จํานววน 50 รายวิชา โดยใหทุนอาจาารยผูสอนในกการจัดทําวิจัยควบคู ย การผลิตสื่อการสอนน งานวิจัยที่จัดทํ ด าขึ้น มีสํานักวิจัย E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 8
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
เป น เจ า ของเรื่ อ ง และงานพั ฒ นาสื่ อ การเรี ย นการสอนเป น ผู ส นั บ สนุ น โดยมหาวิ ท ยาลั ย อนุ มั ติ ว งเงิ น งบประมาณเพื่อดําเนินการดังนี้ - งบดําเนินการของสวนกลาง - งบพัฒนาเว็บรายวิชาโดยตั้งเปนงบการวิจัยในระดับคณะจํานวน 50 โครงการๆ ซึ่งผลสรุปจากการดําเนินงานตามโครงการวิจัยและพัฒนาการเรียนการสอนผานระบบเครือขาย ใน ระยะที่ 2 มีดังนี้ 1. ไดจัดซื้อ Server สําหรับจัดเก็บขอมูล 1 เครื่อง 2. คณะตางๆ ไดสงโครงการวิจัยการพัฒนาบทเรียนเพื่อใชสอนผานเครือขาย (e-Learning) ให คณะกรรมการพัฒนางานวิจัยของมหาวิทยาลัยพิจารณา โดยมีผูสนใจสงเสนอมาจํานวน 40 โครงการ และ คณะกรรมการพัฒนางานวิจัยไดพิจารณาอนุมัติแลวจํานวน 23 โครงการ และยังเหลืออีกจํานวน 17 โครงการ ซึ่งทางคณะกรรมการพัฒนางานวิจัยพิจารณาแลวและใหนํากลับไปแกไขในสวนที่ไมถูกตองกอนแลวสงนําสง ให ค ณะกรรมการฯพิ จ ารณาอี ก ครั้ ง ภายในวั น ที่ 30 พฤศจิ ก ายน 2546 ซึ่ ง โครงการที่ ไ ด รั บ อนุ มั ติ จ าก มหาวิทยาลัยจะสิ้นสุดลงในเดือนธันวาคม 2546 จึงเห็นสมควรขยายเวลาดําเนินการออกไปอีกจนถึงสิ้นป การศึกษา แตเนื่องจากมีเทคโนโลยีเกี่ยวกับ e-Learning ใหมๆ เกิดขึ้น และมีบริษัทเอกชนหลายรายที่ใหบริการ และเสนอ Solution ตางๆมาใหมหาวิทยาลัยพิจารณา จึงทําใหโครงการนี้ไดระงับการดําเนินการไป แตไดมีนโยบาย สนับสนุนใหอาจารยจัดทํา Homepage รายวิชาเอง โดยมีการจัดฝกอบรมโครงการอบรมการสราง Homepage รายวิชาขึ้น เพื่อเปนสื่อเสริม โดยงานพัฒนาสื่อการเรียนการสอน และจากจัดฝกอบรมการสราง Homepage ทํา ใหมีโฮมเพจรายวิชา จํานวน 94 รายวิชา นอกจากนีย้ ังไดพยายามพัฒนาซอฟทแวรจัดการเรียนการสอนผานอินเทอรเน็ต (LMS) มาระยะเวลา หนึง่ โดย อ.ธนิต สงวนเนตร หลังจากทําการปรับปรุงครั้งลาสุด ไดนาํ มาติดตั้งทีว่ ิทยาเขตบางเขน เมื่อปลาย เดือนพฤศจิกายน 2546 ตอมาในป 2547 งานพัฒนาสื่อการเรียนการสอนไดรวมกับศูนยคอมพิวเตอรและศูนยสารสนเทศเพื่อ การจัดการ ไดปรับการตั้งคาซอฟทแวรดดังกลาว (Re-configuration) ใหสามารถเชื่อมตอกับระบบฐานขอมูล นักศึกษา อาจารย และฐานขอมูลรายวิชาของมหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตบางเขน โดยงานพัฒนาสื่อ การเรียนการสอนไดดําเนินการทดสอบ (Test) โปรแกรม และทดลองใชงาน (Trial Run) ในระหวาง ภาคการศึกษาที่ 2/2546
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 9
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
อีกทั้ง มหาวิทยาลัยศรีปทุม ยังมีนโยบายผลิต Digital Content ในรายวิชาวิชาตางๆ แตยังขาด เครื่องมือผลิตเนื้อหาแบบดิจิตอล (Authoring Tools) ที่สามารถชวยผูสอนผลิตเนื้อหาดังกลาวอยางรวดเร็ว ผอ.ศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษาไดไปรวมรับการอบรมวิธีการใช Authoring Tools ของบริษัท AcuLearn สิงคโปร และดูงานการผลิตเนื้อหาแบบดิจิตัลโดยใชเครื่องมือของบริษัทดังกลาวที่ Nanyang Technology University เมื่อปลายเดือนพฤศจิกายน 2546 และไดเสนอรองอธิการบดีฝายเทคโนโลยีใหเรงดําเนินการจัดซื้อ ซอฟทแวรดังกลาว พรอมจัดตั้งสตูดิโอสําหรับผลิต digital content ขณะนั้น การดําเนินงานโดยงานพัฒนาสือ่ การเรียนการสอน ศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา มี ผูปฏิบัติงานเต็มเวลา 3 คน เปนนักเทคโนโลยีการศึกษา 2 คน และวิศวกรซอฟทแวร 1 คน โครงการพัฒนาซอฟตแวรสําหรับการบริหารการเรียน (LMS อ.ธนิต) จากการพัฒนาซอฟทแวรจัดการเรียนการสอนผานอินเทอรเน็ต (LMS) ของ อ.ธนิต สงวนเนตร มหาวิทยาลัยจึงจัดการอบรมการใชงานระบบ SPU-LMS ที่ทางบุคลากรมหาวิทยาลัยเปนผูพัฒนาขึ้นเอง เพื่อใหอาจารยผูสอนสามารถจัดการรายวิชาที่รับผิดชอบสอน และเพิ่มชองทางการสื่อสารกับนักศึกษาใหมี มากขึ้นไดมีการจัดทําระบบ SPU-LMS เพื่อใชในการเรียนการสอนผานระบบเครือขายและมีผลงานตางๆ ดังนี้ 1. มีการพัฒนาตัวระบบ SPU-LMS เพื่อใชในการเรียนการสอนผานระบบเครือขายฯ โดยอาจารยธนิต และในขณะนี้เลิกใชงานไปแลว 2. เขียนคูมือการใชงานระบบ SPU-LMS สําหรับอาจารยผูสอน 1 เลม และเอกสารประกอบการใชงาน สําหรับนักศึกษา 1 ชุด 3. การพัฒนาและฝกอบรมคณาจารยใหมีความรูความสามารถและทักษะในการใชระบบ SPU-LMS เพื่อ เปนประโยชนตอการเรียนการสอนไดสูงสุด 4. บรรยายแนะนําการใชงานระบบ SPU-LMS และการสราง e-content อยางงายๆ ดวย Microsoft Producerใหกบั คณะบริหารธุรกิจ วันที่ 3 มิถุนายน 2547 จํานวน 30 คน 5. บรรยายและฝกปฏิบัติการใชงานระบบ SPU-LMS และการสราง e-content อยางงายๆดวย Microsoft Producerใหกับ คณะสารสนเทศศาสตร วันที่ 4 มิถนุ ายน 2547 จํานวน 15 คน
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 10
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
6. การใหการสนับสนุนในการผลิตสื่อการสอนและคอยใหคําปรึกษาปญหาตางๆ ดังนี้ - ใหบริการแปลงเทปวีดิโอและสําเนาเปน VCD เพื่อใชในการสอน จํานวน 20 แผน - จัดทําระบบ Multimedia Synchronized แนะนํามหาวิทยาลัย 6 คณะสําหรับชวงการรับ สมัครนักศึกษาใหม - ปรับปรุงโฮมเพจของศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา - ถาย VDO การสอนเพื่อผลิตบทเรียนผานระบบเครือขายรายวิชา CHM 110 ปฏิบัติการเคมี ทั่วไป - ถาย VDO การสอนเพื่อผลิตบทเรียนผานระบบเครือขายรายวิชา ENG 331 โครงการ Digital Content รวมกับ บริษทั สามารถเทลคอมฯ และบริษัทโปรเกรส อินฟอรเมชั่น จํากัด นอกจาก มหาวิทยาลัยยังมีโครงการผลิตสื่อการสอนอีก โดยไดทดสอบการใชงานระบบ LMS และ Content วาจางบริษัทเอกชนในการผลิต Digital Content ไดแก บริษัท สามารถเทล คอมฯ จํานวน 2 รายวิชา และ บริษัทโปรเกรส อินฟอรเมชั่น จํากัด จํานวน 4 รายวิชา รวมทั้งหมดจํานวน 6 รายวิชา ดังนี้ สื่อที่ผลิตโดยบริษัท สามารถเทล คอมฯ จํานวน 2 รายวิชา ไดแก - THI102 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร - GSC141 มนุษกับสิ่งแวดลอม สื่อที่ผลิตโดยบริษัท โปรเกรสอินฟอรเมชัน่ จํากัด จํานวน 4 รายวิชา ไดแก - MAT121 สถิติทั่วไป - PHY111 ฟสิกส 1 - ENG121 ภาษาอังกฤษ 1 - ENG122 ภาษาอังกฤษ 2 อีกทั้งยังมีโคงการจัดทํา Content ในรูปแบบ VDO On-Demand ที่จดั ทํารวมกับศูนยมีเดีย จํานวน 7 รายวิชา ดวยกัน ไดแก 1. วิชา ACT201 2. วิชา CEN 262 3. วิชา EEG211
การบัญชีการเงิน การวิเคราะหโครงสราง วงจรไฟฟา
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 11
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
4. 5. 6. 7.
วิชา CEN371 วิชา EGR211 วิชา MAT213 วิชา MAT116
กลศาสตรของไหล วัสดุวิศวกรรม คณิตศาสตรวิศวกรรม แคลคูลัสสําหรับวิศวกร
ในระยะนี้ ถือวาเปนชวงที่มหาวิทยาลัยทดลองใชเทคโนโลยีระบบจัดการการเรียนการสอน (LMS) และสรรหาการผลิต Content รูปแบบตางๆ ที่นา สนใจ แตปญหาทีพ่ บ คือ ระบบไมสามารถบริหารจัดการ ตอบสนองตอรูปแบบการสอนที่มีผูสอนหลายคนในรายวิชาเดียวกันได สวน Content นั้น เปนรูปแบบ Flash Animation ทีม่ ีความนาสนใจ แตคาใชจายในการผลิตก็คอนขาง โครงการผลิต High Quality e-Content จากการดําเนินงานในโครงการตางๆ ที่ผานมาในการดําเนินงานระยะที่ 2 (พ.ศ. 2544 – พ.ศ.2547) แสดงใหเห็นวา มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดใหความสําคัญในดานวิชาการ และเทคโนโลยีอยางมาก ในการจัด การเรียนการสอนรูปแบบ e-Learning นั้น ก็ไดนําเอาเทคโนโลยีตางๆ มาสนับสนุนการเรียนการสอนดาน วิชาการอยางเต็มที่ โดยที่ผานมามหาวิทยาลัยไดดําเนินการใช e-Learning ใน รูปแบบเปนสื่อเสริมการเรียน ของนักศึกษา โดยใชสื่อประกอบการสอนตางๆที่อาจารยผูสอนจัดทําไวเพื่อการสอนในชั้นเรียน Upload เขาใน ระบบบริหารจัดการเรียนการสอน (LMS) ใหนักศึกษาเขาไปศึกษาทบทวน เนื่องจากที่ผานมาไดมีการจัดจางผลิต e-Content โดยบริษัทเอกชนภายนอกหลายรายแตก็เกิดปญหา และอุปสรรคในการผลิตมากมาย ไมวาจะเปนเรื่องของรูปแบบ และคุณภาพงาน ระยะเวลา การดําเนินงาน และ ราคาคาจางที่คอนขางสูง ทั้งที่จริงตนทุนเรื่องอุปกรณการผลิตบางสวน ตลอดจนวัตถุดิบ (Content) ตางๆ มหาวิทยาลัยมีพรอมอยูแลว ขาดเพียงแคทีมงานผลิตงานในปริมาณมากๆ ขณะนี้ไดมีหลายรายวิชานําสื่อ ประกอบการสอน Upload ขึ้นในระบบบริหารจัดการเรียนการสอน (LMS) อยางครบถวน จึงเห็นวาโครงการผลิต High Quality e-Content นี้จะเปนประโยชนอยางมากในการนําเอาสื่อประกอบการสอนเหลานั้นมาพัฒนาให เปน e-Content ที่สมบูรณ และพรอมที่จะใชทดแทนการเรียนในชั้นเรียนบางสวนได โดยใชแนวคิดในการผลิตที่ ไมซับซอนและรวมกับอาจารยเจาของรายวิชาในการผลิตและนําไปใชจริง แนวคิดในการผลิต High Quality e-Content คือ ทําสิ่งที่เปนนามธรรมในบทเรียนใหเห็นเปนรูปธรรม โดยการเลือกรูปแบบการนําเสนอที่เหมาะสมกับการเรียนรูที่จะเกิดขึ้นไดดีที่สุด เชน บทเรียนเปน Text หนึ่ง หนากระดาษ หากสามารถดึงใจความสําคัญใหเหลือเพียงหนึ่งยอหนา แลวผูเรียนอานแลวสามารถเขาใจได E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 12
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
งาย ก็ถือวามีคุณภาพพอ แตหากผูเรียนอานยอหนาเดียวนั้นแลวไมเขาใจ อาจจะจัดหาภาพประกอบ เพื่อให เขาใจมากขึ้น แลวในบทเรียนใด ที่ตองการสาธิต หรือแสดงตัวอยาง การปฏิบัติ ก็อาจจะใช การบันทึก VDO หรือผลิตเปน Flash Animation เขามานําเสนอก็ไดโดยการผลิตนั้น จะสงไปผลิตตาม Story board ที่ออกแบบ ไวเปนชิ้นๆ (Order per piece) เพื่อตัดปญหาเรื่องคุณภาพงาน และระยะเวลาที่ใชในการผลิตผลงานที่ผลิต เสร็จสมบูรณแลวนั้นจะมีรูปแบบเปน e-Content ที่ผูเรียนสามารถมีปฏิสัมพันธ (Interactive) กับ บทเรียนได โดยมีรูปแบบการนําเสนอที่หลากหลายเหมาะสมกับเนื้อหาและการเรียนรู โดยจะมี Format เปน HTML ซึ่ง ผูเรียนสามารถเขาถึงบทเรียนไดงายและรวดเร็วดวยโปรแกรม Internet Explorer ซึ่งทําให ไมตองรอโหลด ขอมูลนานแบบ Format e-Content รูปแบบอื่นๆ และมีมาตรฐาน SCORM (Shareable content object reference model) โดยเลือกใชโปรแกรมสําเร็จรูปในการประกอบ ชื่อ Elicitus
การดําเนินงานระยะที่ 3 (มกราคม 2548 – 2549) มหาวิ ท ยาลั ย ได โ อนย า ยงานพั ฒ นาสื่ อ การเรี ย นการสอน มาสั ง กั ด ศู น ย มี เ ดี ย แต ง ตั้ ง วั น ที่ 1 กุมภาพันธ 2548 (อางอิง คําสั่งมหาวิทยาลัยศรีปทุมที่ 133/2548) และไดจัดทําโครงการจัดการเรียนการสอน แบบอีเลิรนนิงอยางตอเนื่อง โดยมีโครงการดังตอไปนี้ โครงการ CAI Pre-University กับ บริษทั Third wave โดยไดจางบริษัท Third wave ผลิต Digital content จํานวน 5 รายวิชา คือ 1. วิชาบัญชีการเงิน 2. วิชาเศรษศาสตรพื้นฐาน 3. วิชาฟสิกส 4. วิชาคณิตศาสตรพื้นฐาน 5. วิชาคณิตศาสตรประยุกต สรุปผลการดําเนินงานโครงการ CAI Pre-University จากทั้งหมด 5 รายวิชาแลวเสร็จจํานวน 2 รายวิชา คือ - รายวิชาบัญชีการเงิน - รายวิชาหลักเศรษฐศาสตรทั่วไป E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 13
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
สวนวิชาที่เหลือ ยังไมแลวเสร็จเนื่องจากกรรมการตรวจรับยังพบขอผิดพลาด ตอมาไดตรวจรับสื่อที่ได แกไขปรับปรุงเรียบรอยแลว โครงการสงเสริมนิสิต นักศึกษาทําสรุปเนื้อหารายวิชาในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส (ทุน สกอ.) มีรายวิชาที่ไดทําการสรุปเนือ้ หาในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส ดังนี้ -
โครงสรางสถาปตยกรรม เศรษฐศาสตรการเกษตร เศรษฐศาสตรมหภาค หลักการโฆษณา ปฏิบัติการเคมี ประมวลกม.แพงละพาณิชย วาดวยค้ําประกันจํานอง จํานํา ประมวลกม.แพงละพาณิชย วาดวยครอบครัว สัมมนาการจัดการทรัพยากรมนุษย หลักการบัญชีขั้นตน การบัญชีบริหาร การวิเคราะหโครงสราง กลศาสตรของไหล การเขียนเพื่ออาชีพและธุรกิจ อุตสาหกรรมการทองเที่ยว กราฟฟกสื่อสาร 2 การออกแบบสถาปตยกรรม 1 โครงสรางขอมูลและสวนชุดคําสั่งขนาดใหญ การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องตน
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 14
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
โครงการจัดซื้อโปรแกรมบริหารจัดการเรียนการสอน จากปญหาทีพ่ บในการใชซอฟตแวรสําหรับการบริหารการเรียน (LMS) ที่พฒ ั นาโดย อาจารยธนิต สงวนเนตร คือ ระบบไมสามารถบริหารจัดการตอบสนองตอรูปแบบการสอนทีม่ ีผูสอนหลายคนในรายวิชา เดียวกันได มหาวิทยาลัยศรีปทุมจึงไดอนุมัติงบประมาณในการจัดซือ้ โปรแกรมบริหารจัดการเรียนการสอน (LMS) ชื่อวา Edugether V3.0 และโปรแกรมบริหารจัดการแฟมผลงาน (Electronic portfolio v2.0) ตั้งแตวันที่ 4 ส.ค. 2548 กับบริษัท ทีโอที จํากัด มหาชน ซึง่ Edugether เปนระบบการเรียนการสอนแบบ LMS (Learning Management System) ที่ใชบริหารจัดการการเรียนรูท ี่อํานวยความสะดวกในการจัดการเนื้อหาและกิจกรรม การเรียนรู การสื่อสารโตตอบระหวางผูสอน (Instructor/Teacher) กับผูเรียน (Student) รวมทัง้ การสราง แบบทดสอบรูปแบบตางๆ และการประเมินผลบนเครือขายอินเทอรเน็ต
การดําเนินงานระยะที่ 4 (พ.ศ. 2550 – พ.ศ. 2552) ในระยะที่ 4 พ.ศ. 2550 มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดมีคําสั่งใหโอนงานและบุคลากรงานพัฒนาสื่อการเรียน การสอนไปสังกัดศูนย ICT และอยูในความดูแลของบริษัท เอสพีที เวนเจอร เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2550 และ ไดเพิ่มจํานวนนการผลิตเนื้อหาใหกับหนวยงานตางๆ โดยโครงการตางๆ มีการดําเนินการจนถึง พ.ศ. 2552 ดังนี้ โครงการผลิต MP3 รายวิชาในคณะศิลปศาสตร ผลิตสื่อที่เปน MP3 เขาในระบบ LMS โดยประสานงานกับผูสอนเกี่ยวกับไฟลเสียง โครงการผลิต Content ใหกับวิทยบริการ เปนความรวมมือระหวาง 3 หนวยงาน โดยมี วิทยบริการเปนผูจัดหาอาจารย และ หนวยงานศูนย มีเดีย ถาย VDO และใหทางหนวยงาน e-Learning นํา VDO ที่ถายทํา มาทําการเชื่อมกับ PowerPoint ของ ผูสอนโดยใช Software Microsoft Producer จํานวน 4 รายวิชา โดยรวมมือกับศูนยมีเดียในการถาย VDO บันทึกการสอน
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 15
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
โครงการผลิต Content ใหกับสํานักงานวิชาการศึกษาทั่วไป ทางมหาวิทยาลัยไดมีนโยบายในการผลิตเนื้อหาใหกบั สํานักวิชาการเปนโครงการนํารอง โดยผลิตใน รายวิชาพืน้ ฐานใหนักศึกษาไดใชทบทวนบทเรียน
การดําเนินงานระยะที่ 5 (พ.ศ. 2553 – ปจจุบัน) ในระยะที่ 5 พ.ศ. 2553 – ปจจุบัน มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดมีนโยบายในการกาวขึ้นเปน e-University ชั้นนําของประเทศ ดูไดจากแผนพัฒนามหาวิทยาลัยศรีปทุม ระยะ 5 ป (ปการศึกษา 2553-2557) จะเห็นไดวา มหาวิทยาลัยมีการกําหนดยุทธศาสตรในการดําเนินงานใหเปน e-University ชั้นนําของประเทศ โดยนํา เทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการเรียนการสอน การบริหาร และการจัดการของมหาวิทยาลัยใหมีคุณภาพและ ประสิทธิภาพดี เพื่อใหสอดคลองกับเปาหมายยุทธศาสตรดังกลาว มหาวิทยาลัยศรีปทุม จึงไดจัดตั้งสํานักการ จัดการศึกษาออนไลนขึ้นในเดือนมิถุนายน 2553 (อางถึง : มศป.0301/พิเศษ 8) โดยมีวิสัยทัศนในการสงเสริม สนับสนุนและสรางสรรคใหมหาวิทยาลัยเปนองคกรชั้นนําในการจัดการศึกษาโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารเพื่อตอบสนองความคาดหวังของผูเกี่ยวของ ทั้งในสังคมไทย และสังคมโลก และมีพันธกิจใน การจัดการเรียนการสอนออนไลน 5 ดาน [อางถึง : แผนพัฒนา สํานักการจัดการศึกษาออนไลน” มหาวิทยาลัย ศรีปทุม ระยะ 5 ป (ปการศึกษา 2553-2557)] ไดแก 5.1 e-Learning Infrastructure จัดหาและเตรียมความพรอมดานสาธารนูปโภคดานการจัดการเรียนการสอนดวยระบบ e-Learning ทีเ่ หมาะสมตอการใหบริการจัดการเรียนการสอนทั้งในรูปแบบชอง Supplement, Complement และ Replacement 5.2 Production Unit ผลิตสื่อการสอน e-Learning สําหรับคณะ/วิชาของมหาวิทยาลัย 5.3 Educational Technology, Academic and Technical Support in e-Learning สนับสนุนดานวิชาการและเทคโนโลยีดาน e-Learning สาหรับการจัดการเรียนการสอนแกบุคคลากร มหาวิทยาลัย 5.4 Human Resource Development พัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัยในการใช e-Learning เปนเครื่องมือในการเรียนการสอน E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 16
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
5.5 Research & Develop e-Learning Technology วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการสอนผานระบบ e-Learning ที่เหมาะสมกับการใชงานของมหาวิทยาลัย ทั้งในปจจุบนั และในอนาคต สํา นัก การจัด การศึ ก ษาออนไลนไดจั ดทํา แผนพัฒ นาสํา นัก การจั ดการศึก ษาออนไลน ระยะ 5 ป (ป ก ารศึ ก ษา 2553-2557) ที่ มี ค วามสอดคล อ งกั บ แผนพั ฒ นามหาวิ ท ยาลั ย ศรี ป ทุ ม โดยวิ เ คราะห ก าร เปลี่ยนแปลง สภาพแวดลอมภายในและภายนอก มีการดําเนินงานและรูปแบบการใหบริการที่สอดคลองกับ ความตองการของมหาวิทยาลัยที่กาวสูการเปน e-University หนาที่หลักของสํานักการจัดการศึกษาออนไลน คือ ใหการสนับสนุนการดําเนินการบริหารการจัด การเรียนการสอนแบบ e-Learning รองรับหลักสูตรออนไลนจากคณะและวิชาตางๆ ของมหาวิทยาลัย ให สอดคลองตรงตามเปาหมายของแผนพัฒนามหาวิทยาลัยในการขยายโอกาสการศึกษาไปยังกลุมผูเรียนที่ หลากหลายทั้งในและตางประเทศ ทั้งการศึกษาในหลักสูตรปกติ เพื่อการจัดการศึกษาอยางตอเนื่อง และ การจัดการศึกษาตลอดชีวิต อยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล นอกจากนี้ยังใชเปนเครื่องมือเพื่อการสื่อสาร ไปยังหนวยงาน และผูเกี่ยวของอื่นๆในมหาวิทยาลัย ไดแก ผูบริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัย ผูบริหารคณะ ผูบริหารหนวยงานสนับสนุน คณาจารย บุคลากร ภายในและภายนอกสานักฯ ไดมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับ ทิศทางการพัฒนาสานักการจัดการศึกษาออนไลน และมีสวนรวมและใหการสนับสนุนในดานตางๆตอไป มีการดําเนินการเพื่อการเปดการสอนแบบผสมผสานในหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิตแลว และยังได เริ่มการจัดหลั ก สู ตรอบรมออนไลน กั บคณะบัญชี ซึ่ง เปนหลั ก สู ตรระยะสั้น 6 รายวิชา ซึ่ง มีการเริ่ม บัน ทึก การสอนในช ว งเดื อ นธั น วาคม 2553 ที่ ผ า นมา และมี ข อ ตกลงเบื้ อ งต น เพื่ อ การดํ า เนิ น การในหลั ก สู ต ร มหาบัณฑิตดานบริหารธุรกิจแลว อีกทั้ง ยังมีการผลิตบทเรียนแบบอีเลิรนนิงจํานวนมาก แบงตามรายวิชา รวมทั้งสิ้น 251 รายวิชา เปน สื่อสมบูรณทั้งสิ้น 15 รายวิชา และเปนสื่อเสริมทั้งสิ้น 236 รายวิชา (ดูจากภาคผนวก ก.) และเปลี่ยนจากระบบ บริหารจัดการเรียนการสอนที่ชื่อวา Edugether V3.0เปนระบบบริหารจัดการเรียนการสอน (Learning Managment System: LMS) แบบรหัสเปด (Open Source) คือ Moodle เวอรชั่น 1.9 และไดรับการปรับปรุง เพิ่มเติมจนเปน Moodle version 1.9.9 ซึ่งมีประสิทธิภาพและความสามารถสูงกวาระบบปกติ กลาวคือ ได ศึกษาถึง สวนขยาย (extension) ตางๆ มาอํานวยความสะดวกทั้งผูสอน ผูเรียน ผูบริหารจัดการมหาวิทยาลัย ตลอดจนผูบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 17
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
2. ดานโคครงสรางทางเทคโนโลยีสารสนเทศ า มหาวิทยาลัยศรี ศ ปทุมไดมีความมุ ว งมั่นในกการพัฒนาโคครงสรางพื้นฐาานทางเทคโนนโลยีสารสนเททศมา น มสร ส างศักยภาพพใหกาวไปเปน e-Universitty ชั้นนําของประเทศ มีการนํ ก า อยางตอเนืนื่อง เพื่อพัฒนาและเสริ เทคโนโล ยี ส ารสนเทศ และการสื่ อ สารมาใช ส เ พื่ อเพิ อ ่ ม คุ ณ ภาพพและประสิ ท ธิ ภ าพในการรจั ด การศึ ก ษาของ ษ มหาวิทยาาลัยในการขยายโอกาสทางงการศึกษาใหหกวางขวางมากยิ่งขึ้น ไปยัยังกลุมผูเรียนทีที่หลากหลายยทั้งใน ประเทศแลละตางประเทศ โดยมีการวางแผนและพััฒนาโครงสรางพื า ้นฐานทางงดานเทคโนโลลยีสารสนเทศศอยาง ทั่วถึง มีคุณภาพ ณ ประสิสิทธิภาพ ประหหยัด รวดเร็ว ทันตอความกกาวหนาของรระบบสารสนเททศในอนาคต โดยมี การปรับปรุ ป งคุณภาพกการใชเทคโนโลยีสารสนเท ศเพื่อการเรียนการสอน กาารวิจัย การบริิการวิชาการร และ การบริหารรจัดการอยางสม่ําเสมอ จึงไดวางเครือขายโครงสร า างแและระบบเทคโโนโลยีสารสนเทศและการสืสื่อสาร ในทุกหนวยงานและทุ ว กวิทิ ยาเขตใหมีมคี วามพรอมในนการรองรับการเปน e-Univversity
2.1 ระบบโครงสรา งพื้นฐาน จํานวนอุ า ปกรณ ณ เครือขายสืสื่อสารภายในน ภายนอกพ พรอมใหบริการแก า นักศึกษาอยางเพี ง ยงพอ
ก กราฟแสดงจํ านวนระบบโครรงสรางพื้นฐานน จํานวนอุปกรณ ก เครือขายสื ย ่อสารภายในน ภายนอก E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 18
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
Server มหาวิทยาลัยศรีปทุม ไดมีระบบโครงสรางพื้นฐาน ครอบคลุมทุกหนวยงาน ดังนี้
ที่มีประสิทธิภาพ มีเครือขายขนาดใหญ และ
1. Server มีจาํ นวนทั้งสิน้ ทัง้ หมด 136 เครื่อง โดยมีรายละเอียดังนี้ No. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25
Detail IDP Management ACS Tacacs 4.0 Radius Funk Mng All Check Point Mng Cisco-WCS Backup3 Root, DHCP Root, DHCP AD2 ICT Intercom AD1 Camtasia Log- Bluecoat Tel Me More App_Test ICT_MONITOR ICT Center2 E-Office WEBMIC41PHY WEBMIC42PHY WEBMIC43PHY WEBMIC3 WEBMIC1 MICBACKUP
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
Hostname IDP Management SPU-ACS sattaban BUALUANG Check Point Mng Cisco-WCS backup3 BUSABAN BUSAKORN ad2.bangkhen.spu.ac.th intercom ad1.bangkhen.spu.ac.th ooe blueCoaReporter icttmm Aspen ict_monitor ictcenter2 eoffice WEBMIC41PHY WEBMIC42PHY WEBMIC43PHY WEBMIC3 WEBMIC1 LIBRALY-SERVER หนา 19
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554 No. 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56
Detail MICDB_SPU MICDB_SPU spulibrary Domain Mic WEBMIC2 WEBMIC4 WEBMIC5 NEW-LXR MIC- SQL Thaigoodview (NFS) Thaigoodview (Database) Thaigoodview (Web.net) SPUFriends E--lerning1 E--lerning2 E--lerning3 Engineer idpmgt student KALYANEE Bongkoj Linjong Trenmicro ICT_dms Agent ICT_DMS2(Altiris Managment) ICT-PRINTQUE Trend-Micro DNS1 DNS2 DB test MIC03
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
Hostname MICDB_SPU MICDB_SPU spulibrary mic.spu.ac.th WEBMIC2 WEBMIC4 WEBMIC5 NEW-LXR MICDB Thaigoodview.net Thaigoodview.net Thaigoodview.net www.spufriends.com SPU-Content SPU-DB SPU-WEB engineer.spu.ac.th student KALYANEE Bongkoj Linjong trend-tmcm ict_dns ict_dns2 Trend
SCMSBACKUP MIC03 หนา 20
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554 No. 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87
Detail WEBMIC WEBMIC WEBMIC E--lerning1 E--lerning2 E--lerning3 E--lerning4 E--lerning5 E--lerning6 E--lerning7 E--lerning8 ICT_ADschoollive 68.16 WEBMIC1 69.44 MIC03 69.23 Clean MIC08 Template 69.123 Off ICT_WIndows Live 68.19 ICT_Windows Live II 68.18 ICTAPP 68.32 (ImportDB) Intercom2 68.23 SCMS_Front_DBS 99.120 SPT_Test 68.61 BLOG Windows 68.36 EMM 99.42 FIS 68.112 ICT_CUBICLE 99.55 ICT_HORTENSIA 69.27 ICT_ISI 68.37 ICT_MIC01 69.21 ICT_MIC04 69.24 (69.99) ICT_TULIP 68.38 ILM 99.16
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
Hostname SCMSMIC01 SCMSMIC02 SCMSMIC03 lmsweb1 lmsweb2 lmsweb3 lms DB lms Stream lms Testbank Camtasia 1 Camtasia 2 adscoollive.adschoolive.org WEBMIC1 MIC03 MIC08 ns1.spulive.net ns2.spulive.net ICTAPP intercom2 SCMS-DBS SPTTest blog emm FIS ICTCUBICLE HORTENSIA ICTISI MIC01 MIC02 ICTTULIP ILM หนา 21
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554 No. 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 106 107 108 109 110 111 112 113 114 115 116 117 118
Detail LINUXWEB17 68.17 MIC04 69.24 Clean (69.124) SCMS_BOP 99.110 SCMS_BOP_VC 99.102 SCMSAPP 68.47 SCMSAPPT 68.48 SPT_Test 68.61 SPU_AIS 68.71 webmaster.or.th 68.34 Clone_Prometric HR2 (Hollyhock) 69.25 HRM (Holly) 69.26 HR2T 69.122 Temp for 69.26 ICT_ICDL 4.45 ICT_Library 68.218 info.spu.ac.th 68.70 Intl_web 68.41 SCMS_Ruby 68.52 thaigoodview.com 68.33 Tivoli Backup 99.67 ICT_ FileServer 99.52 ICT_EVERLASTING 68.46 ICT_Google 68.81 ICT_MIC07 69.45 ICT_WEBschoolive 68.28 ImportDB 68.22 Live@EDU 98.35 Off Lotus Traveler 98.21 OOE 4.20 PhoneDirectory 99.32 Radio 68.224
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
Hostname LINUXWEB17 MIC04 scms-bop scms-bop-vc SCMSAPP SCMSAPPT SPT_Test SPU_AIS web prometric HR2 HR3 HR2T ICDL ICTLIBRARY aster joomla sap www.thaigoodview.com tivolibackup fs01 EVERLASTING ICTGOOGLE MIC07 webschoollive IMPORTDB Live@EDU 98.35 Off traveler ooe phonedirectory Radio หนา 22
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554 No. 119 120 121 122 123 124 125 126 127 128 129 130 131 132 133 134 135 136
Detail SPSS 11.43 AccessControl 98.69 ED_CM2_T 68.44 ED_EDDB2_T 68.49 ED_Process_T 68.55 ED_Process2_T 68.56 ED_Webpage_T 68.57 ED_WID61_T 68.42 EDDB2 68.49 EDoc_CM2 68.44 EDoc_Process 68.55 EDoc_Process II 68.56 EDoc_Process IV 68.58 EDoc_Webpage 68.57 EDoc_WID61 68.42 Edoc55 LMS 68.40 MIC06 69.42 Clean
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
Hostname SPSS accesscontrol contentweb EDDB2 edocprocess edoc56 IBMProcessIII ICTWID61 EDDB2 EDCM2 edocprocess1 edocprocess2 edocprocess3 EDWebpage EDWID edocprocess LMS MIC06
หนา 23
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
ปจจัยสําคัญที่สุดในการใหบริการดาน ICT คือ การประกันความเสถียรของระบบใหสามารถใชงานได อยางมีประสิทธิภาพ จึงจําเปนตองมีกระบวนการทบทวน กลั่นกรอง ตรวจสอบอยางเปนระบบและตอเนื่อง ซึ่ง ศูนย ICT ไดกําหนดมาตรการเพื่อควบคุมดูแล รักษาระบบโครงสรางพื้นฐาน ดังนี้
เครื่องมือ รูปแบบ โปรแกรมตรวจสอบ 1. PRTG (Paessler Router Traffic Grapher) 2.โปรแกรม Orion Monitor Network
ลักษณะการตรวจสอบ การใชงานระบบเครือขายของมหาวิทยาลัย /หนวยงานในเครือขาย http://ictcenter2.spu.ac.th/mrtg/ เปนการ Monitor อุปกรณ ในระบบเครือขาย ผานทาง Software Orion Monitor Network ตาม Link ดานลาง http://172.31.1.60/Orion/SummaryView.aspx?viewid=1& netobject= 3.VMware VCenter 5 ใชสําหรับ บริการจัดการ Server ในหมวดของ VMware ทั้งหมด ผาน Software VCenter ตัวนี้
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 24
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
ระบบเครือขายคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดเห็นประโยชนและความสําคัญของระบบเครือขายคอมพิวเตอร จึงไดพัฒนา และสนั บ สนุ น การใช ง านเครื อ ข า ยเทคโนโลยี ส ารสนเทศให เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพในกิ จ กรรมทุ ก ด า นของ มหาวิทยาลัย จึงไดทําการติดตั้งระบบขึ้นมาและมีการปรับปรุงมาเรื่อยจนถึงปจจุบันนี้ ในอดีตนั้น เครือขายที่ใชเปน Backbone เปนแบบ Gigabit Ethernet 1Gbps โดยมีการเชื่อมโยง Network ไปยังจุดหลักตางๆ เปนแบบ Ethenet Switch 1 Gbps และไปยัง Switch ยอยเปนแบบ Ethernet Switch 100 Mbps ปจจุบัน มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดจะทําการพัฒนาระบบใหมีศักยภาพสูงขึ้นอีกโดยการเพิ่ม Backbone ขึ้นมาอีกหนึ่งตัวเพื่อทําเปน Load Balancing และขยายเครื่อขายไปที่ไปตามจุดหลักตางๆจะเปนแบบ 10 Gbps การเชื่อมเครือขายนั้นจะมีเปนแบบ Wi-Max speed 100 Mbps โดยใชเชื่อมไปยังหอพักนักศึกษาและ เครือขายที่เชื่อมไปยังศรีปทุมวิทยาเขตพญาไทเปน Leased Line speed 1 Mbps Ksc รวมแลว 60 Mpbs สวนการเชื่อมตอเพื่อใชระบบเครือขายภายในองคกรทั้งหมดขนาด 60 Mpbs แยกออกเปน True 30 Mbps และ KSC 30 Mbps
ภาพที่ 1 เครือขายคอมพิวเตอรของมหาวิทยาลัยศรีปทุม E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 25
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
จะเห็นไดวา มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดมีการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของมหาวิทยาลัยใหอยาง พอเพี ย งทั่ ว ถึ ง ไปยั ง วิ ท ยาเขตต า ง ๆ และให ส ามารถรองรั บ ระบบมั ล ติ มี เ ดี ย ได ส มบู ร ณ แ บบ ทํ า ให เ กิ ด การเรียนรูไดอยางกวางขวางและกระจายไปทุกที่ รูปแบบการเชื่อมตอ
ภาพที่ 2 การเชื่อมตอของระบบเครือขาย
เครือขายแลนแบบไรสาย (Wireless Lan) นอกจากระบบเครือขายขางตน ศูนย ICT มหาวิทยาลัยศรีปทุม ไดทําการติดตั้งเครือขายแลนแบบ ไรสาย (Wireless Lan) เพื่อใหบริการแกนักศึกษา อาจารยและบุคลากรที่ใชเครื่องคอมพิวเตอรแบบพกพา เชน โนตบุค ปาลมทอป ตอเชื่อมเขาเครือขายของมหาวิทยาลัย สามารถใชงานอินเทอรเน็ตไดอยางพอเพียงและ ทั่วถึง โดยมีจุดเชื่อมตออินเตอรเน็ตไรสายในทุกอาคาร จํานวน 237 จุด ครอบคลุมทั้งมหาวิทยาลัย ดังนี้
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 26
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
-
อาคาร 1 อาคาร 2 อาคาร 4 (หอสมุดกลาง) อาคาร 5 อาคาร 6 อาคาร 9 อาคาร 10 อาคาร 11
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน
27 8 8 67 11 25 18 73
ตัว ตัว ตัว ตัว ตัว ตัว ตัว ตัว
ภาพที3่ แสดงจํานวนจุดใหบริการ Wireless LAN มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยศรีปทุม ไดมีบริการการใชงานอินเทอรเน็ตจากที่บานเชื่อมตอเขาสูมหาวิทยาลัย ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อรองรับการใชงานดานตางแกนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัย มากกวา 400 คูสาย และ นอกจากนี้ศูนย ICT ยังไดกําหนดใหผูใชงานสามารถตอใชงานไดนานสูงสุดไมเกิน 2 ชั่วโมงตอครั้ง ทั้งนี้เพื่อ เปนการกระจายการใชงานใหแกทุกคนไดมีสิทธในการใชงานเสมอภาคกัน สําหรับรายละเอียดของโมเด็มแตละ รุนที่ใหบริการ เพื่อเปนการขยายโอกาสทางการศึกษาใหครอบคลุมและกวางไกล เพื่อสนับสนุนการเรียนรู ตลอดชีวิต E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 27
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
เลลขหมายสําหรัรับเชื่อมตอ Intternet 02-5618000 (360 คูคสาย) นักศึกษา ษ 02-94001300 (50 คูสาย) ส บุคลากรร 02-5618300 (30 คูสาย) ส บุคลากรร ระบบบันทึกการสอน ศ ป ทุ ม เป น มหาวิ ม ท ยาลั ยแห ย ง เดี ย วในนประเทศไทยยที่ ใ ช ร ะบบบัั น ทึ ก การสอนนด ว ย ม หาวิ ท ยาลั ย ศรี R ซึ่งเปนโปรแกรมที โ ่งายในการบันทึกสื่อการเรียนการสอน น ผูสอนจะบั อ นทึกและทํ แ า โปรแกรม Camtasia Relay การเผยแพพรการบรรยายหรือการนําเสนอของอาจ เ ง ยน ารยผูสอน เนนื้อหาที่อาจารยผูสอนทําการสอนในหองเรี หรือวิทยากรอบรมใหกับบุ บ คลากรไดทุทุกที่ทุกเวลา ไม ไ วาจะเปนหองเรี อ ยน หองปประชุม โตะทํางาน า หรือแมกระทั ก ่ง ที่บานของงเราเอง และสสามารถนําขึ้นระบบได น ทันตามเวลาที่กําหนด า ดวยคววามสามารถขของระบบที่มีความ รวดเร็วในการ Upload ขึ้นสูระบบ LMS L โดยการทํทํางานของ Caamtasia Relaay ในการบันทึกจะทํางานออยูบน ไ ขึ้นไปยังเครื เ ่อง Serverr เพื่อทําการ Produce P ไฟลล แลว เครื่องของงผูนําเสนอ หรืรือผูสอนจากนันั้นจะทําารสงไฟล ทําการเผยยแพรไปยังจุดหมายปลาย ด ยทางที่เราตองการได ง แบบอัอัตโนมัติ คือ เข เ าสูระบบ e--Learning แบบ อัตโนมัติ โดยอาจารย โ ผูผูบันทึกจะไดรัรับแจงผลทางง e-mail ทําใหการผลิตสื่อดวยโปรแกรมนี้ใชบุคลากรที่ เกี่ยวของคคอนขางนอยใในระยะยาว การบันทึการเเรีียนการสอนใในหองเรียนนีน้้ จะเปนสื่อเสริริมสําหรับนักศึกษา สามารถททบทวนเนื้อหาาของการเรียนการสอน น แลละเปนประโยชนอยางยิ่งสําหรับนักศึกษาที ษ ่ขาดเรียน หรือ นักศึกษาทีที่ไมเขาใจเนื้อหาในชั้นเรียน สามารถดูบทเรี ท ยนนั้นซ้ําไปมาได จนกรระทั่งเขาใจในเเนื้อหานั้น สงผลตอ คุณภาพของนักศึกษาอีกดวย
น างานของโปรแกรม Camtasiaa Relay ภาพที่ 4 ขั้นตอนการทํ E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 28
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
ตัวอยาง ระยะเวลาในรายวิชา ICT112 ตั้งแตเริ่มทําการบันทึกการสอนจนกระทั่งนําขึ้นสูร ะบบ LMS รายวิชา ICT112 เริ่มบันทึกการสอนเวลา 12:12:55 PM รวมระยะเวลาในการบันทึกการสอน 2:29:07 ชั่วโมง Description STEP 1 เริ่มทําการ Upload จาก Client ไปยัง Server หมายเหตุ : เวลาในการ Upload นัน้ ขึ้นอยูกับจํานวนไฟล หรือรายวิชาทีไ่ ดมีการบันทึก และไดจัดเรียงลําดับรอทําการ Process ที่เครื่อง Server STEP 2 เริ่มทําการ Process (Server : camtasia2) ในกระบวนการนี้จะมีการ Encode ไฟลใหออกมาใน 3 รูปแบบ เพื่อใหสามารถรองรับการแสดงผลไดตาม Device ตางๆ คือ 1. Flash - Processing - Upload ขึ้นระบบ LMS 2. iPad - Processing - Upload ขึ้นระบบ LMS 3. iPod and iPhone ใชเวลาในการ - Processing - Upload ขึ้นระบบ LMS
Start Time
End Time
2:31:02 PM 3:03:14 PM
Total Time 0:32:46
3:03:15 PM
3:03:15 PM 0:57:07 0:00:7 3:03:15 PM 2:26:17 0:00:8 3:03:15 PM 1:33:43 0:00:6
จะเห็นไดวา Camtasia Relay ใชเวลาในการดําเนินการไมมาก ซึ่งโปรแกรมนี้ไดเขามาแกปญหาใน การผลิตสื่อแบบเดิมที่ใชบุคลากรและระยะเวลาในการดําเนินการที่คอนขางมาก ตั้งแตขั้นตอนการผลิตจนถึง นําขึ้นสูระบบ
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 29
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
ขอดีสําหรับการนําระบบ Camtasia Relay มาใชในการบันทึการสอนของมหาวิทยาลัย 1. การบันทึการสอนทําไดงาย รวดเร็ว ไมเปนการรบกวนอาจารยและผูเรียน ดวยโปรแกรม Camtasia Relay คลิ๊กหนาจอเพียงแค 3 ครั้งเทานั้น คลิ๊กครั้งแรกเพื่อทําการบันทึก คลิ๊กครั้งที่ 2 เมื่อสิ้นสุดการบันทึก และ คลิกครั้งสุดทายเพื่อสงไฟลขึ้นสูระบบเพื่อทําการประมวลผล ซึ่งใชเวลาไมนาน หลังจากนั้นผูเรียนสามารถเขา ดูบทเรียนที่บันทึกไวในรูปแบบของวิดีโอ สามารถเขาชมไดทันที ไมวาจะใชอุปกรณคอมพิวเตอรแบบพกพา หรือโทรศัพทมือถือ 2. ดวยการทํางานของโปรแกรมเหมือนกับระบบ LDAP, การบันทึกสื่อจะขึ้นอยูกับความตองการของ ผูใช โดยมีการแจงผลการบันทึกผานทางอีเมลโดยอัตโนมัติ และมีความยืดหยุนในการบันทึก การตั้งคาการนํา สื่อไปใชงาน โปรแกรม Camtasia Relay จะบันทึกหนาจอไดงายกวาโปรแกรมบันทึกหนาจออื่นๆ ทั้งยังมีความ ปลอดภัยในดานเครือขาย, ระบบปฏิบัติการเครือขาย (window server), ระบบปฏิบัติการ Mac และ ระบบปฏิบัติการอื่นๆ 3. สามารถกําหนดขอบเขตการใชงานไดอยางกวางขวางตั้งแตระดับหนวยงานจนถึงระดับองคกร ซึ่ง ขึ้นอยูกับงบประมาณทีม่ ี และมีคาใชจายในการบริหารที่คอนขางนอย 2.2 ระบบบริหารจัดการเรียนการสอน LMS มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดมีระบบบริหารการจัดการเรียนการสอนที่ใชในการจัดการเรียนการสอนแบบ e-Learning ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบนั มีดวยกัน 3 ระบบ ไดแก 1) ซอฟตแวรสําหรับการบริหารการเรียน (LMS) ที่พัฒนาขึ้นเองโดย อาจารยธนิต สงวนเนตร เปนระบบริหารจัดการเรียนการสอนระบบแรกที่ใชในการจัดการเรียนการสอนแบบ e-Learning และไดยกเลิกการใชงานไปแลว 2) Edugether เปนระบบริหารจัดการเรียนการสอน อีกระบบหนึง่ ที่เคยใชงานกอนเปลีย่ นมา เปนระบบบริหารจัดการเรียนการสอน Moodle ในปจจุบนั 3) Moodle เปนระบบริหารจัดการเรียนการสอนที่ใชอยูในปจจุบัน
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 30
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
ป พ.ศ.2546 - พ.ศ. 2547 โครงการพัฒนาซอฟตแวรสําหรับการบริหารการเรียน (LMS) พัฒนาเองโดย อาจารยธนิต สงวนเนตร เปนระบบริหารจัดการเรียนการสอน (LMS) ระบบแรกที่ใชในการจัดการเรียนการสอนแบบ e-Learning และได ยกเลิกการใชงานไปแลว ป พ.ศ.2548 - พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดจัดซื้อโปรแกรมบริหารจัดการเรียนการสอน (LMS) ชื่อวา Edugether V3.0 และโปรแกรมบริหารจัดการแฟมผลงาน (Electronic portfolio v2.0) ตั้งแตวันที่ 4 ส.ค. 2548 กับบริษัท ทีโอที จํากัด มหาชน แทนระบบการบริหารจัดการเรียนการสอนเดิม ซึ่ง Edugether เปนระบบการจัดการเรียนการ สอนแบบ LMS (Learning Management System) ที่เคยใชงานกอนเปลี่ยนมาเปนระบบบริหารจัดการเรียน การสอน Moodle ในปจจุบัน (สามารถเขาถึงไดที่: http://spulms.spu.ac.th/) Edugether เปนระบบที่ใชบริหารจัดการการเรียนรูที่อํานวยความสะดวกในการจัดการเนื้อหาและ กิจกรรมการเรียนรู การสื่อสารโตตอบระหวางผูสอน (Instructor/Teacher) กับผูเรียน (Student) รวมทั้ง การสรางแบบทดสอบรูปแบบตางๆ และการประเมินผลบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยแบงกลุมของผูใชแบง ออกเปน 3 กลุม คือ 1. กลุมผูบริหารระบบ (Administrator)) 2. กลุมอาจารยหรือผูสรางเนือ้ หาการเรียน (Instructor/Teacher) 3. กลุมผูเรียน (Student/Guest) องคประกอบของระบบ - Web Portal Management System (WMS) ระบบการสราง Website ใหมหรือเปลี่ยน Website เกาที่มีอยูแลว ใหเปน Website แหงการเรียนรู สําหรับครู-อาจารย และนักศึกษา รวมถึงผูปกครองและชุมชนได เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู ระหวางกัน อีกทัง้ ยังปรับปรุงขอมูลขาวสารใหมีความเปนปจจุบนั ไดโดยงาย - Course Management System (CMS) ระบบการจัดการเรียนการสอนเพื่อตอบสนองการศึกษาแนวใหมในยุค e-Learning อยางเต็มรูปแบบ และพัฒนาภายใตมาตรฐาน SCORM (Sharable Content Object Reference Model), AICC ที่
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 31
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
ยอมรับกันทั่วโลลก โดยระบบนีนี้มีระบบยอยตตางๆ อีกมากมมายที่ครอบคลลุมตั้งแต การเรียน, การสอนน กิจกรรมการปฎิฎิสัมพันธ, การทดสอบและกการประเมินผล, การแสดงผผลงานตอสาธธารณะ D Libraryy System (DLLS) - Digital ระะบบบริหารจัดการห ด องสมุดเสมื ด อนบนเครืรือขายที่ผูใชทกคนสามารถ ุ เขาใชเนื้อหาไไดพรอมกันอยา งไม จํากัดเวลา สถาานที่ โดยเนื้อหานั ห ้นจะอยูในรู น ปแบบของดิจิตอลหลากหลายแบบ เชน eBook, eDocument, DigitalVDO, D D Digital Soundd, Multimediaa, Digital Pictture, html… U Manageement Systeem (UMS) - User ระะบบบริหารจัดการสมาชิ ด กในน Website สาามารถควบคุมสิ ม ทธิการใชงานได า อยางเปนอิ น สระ โดย สามารถจะจัดกลุ ก มเปนระดับได บ ดังตอไปนี้ กลุมผูดูแลระะบบ กลุมอาจารยผูสอน กลุลุม นักเรียนนักศึกึ ษา ว กลุมผูเยี่ยมชมททั่วๆ ไปตามการเขาใชงาน อีกทั้งยังสามาารถจัดกลุมผูเรีเ ยนตามสภาพจริงไดอีกดวย
ไ อีเลิรนนิงเดิ เ มของมหาวิทยาลั ท ยที่ใชระบบการจั ะ ดการเรียนการสอนน Edugetherr ภาพพที่ 5 หนาเว็บไซต
E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 32
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
ป พ.ศ. 2554 จนถึงปจจุบัน ไดนําระบบระบบบริหารจัดการเรียนการสอน Moodle เวอรชั่น 1.9 และไดรับการปรับปรุงเพิ่มเติมจน เปน Moodle version 1.9.9 ซึ่งมีประสิทธิภาพและความสามารถสูงกวาระบบปกติ กลาวคือ ไดศึกษาถึงสวน ขยาย (extension) ตางๆ มาอํานวยความสะดวกทั้งผูสอน ผูเรียน ผูบริหารจัดการมหาวิทยาลัย ตลอดจน ผูบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ Moodle เปนระบบการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน (Learning Management System : LMS) ที่มีความนิยมกันอยางแพรหลายสูงสุดในปจจุบัน และไดมีการนํามาใชเพื่อจัดการเรียนการสอนในสถาบัน ศึกษาชั้นนําจํานวนมากในหลายประเทศทั่วโลก เนื่องจากเปนระบบที่มีประสิทธิภาพสูง ใชงานงาย มี ความสามารถในการบริหารจัดการเนื้อหาไดเปนอยางดี อีกทั้งยังมีเครื่องมือตางๆใหนํามาใชงานและพัฒนาตอ ยอดได อี ก ทั้ ง มหาวิ ท ยาลั ย ได มี บุ ค คลากรที่มี ค วามผูเ ชี่ย วชาญและมีป ระสบการณ ในการพั ฒ นา ระบบ Moodle และคลังขอสอบ คือ อาจารยวรสรวง ดวงจินดา ไดเปนผูเชี่ยวชาญ Moodle Course Creator สําหรับ Moodle เวอรชั่น 2 (ลาสุด) นับเปนคนแรกของประเทศไทย (ในทุกเวอรชั่น) ซึ่งการรับรองนี้ สามารถตรวจสอบ ไดจากทั่วโลก โดยไปที่ http://certificates.moodle.com/manage/view.php?code=6AZT-XAUO-EIRJHDFM
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 33
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
ภาพพที่ 6 หนาเว็บไซต ไ อีเลิรนนิงปจจุบันของมหหาวิทยาลัยที่ใช ใ ระบบการจัดการเรี ด ยนการรสอน Moodlee ก งาน Moodle ไดแก หนวยงานภายใในมหาวิทยาลัลัยศรีปทุมทีม่ ีการใช - http://eelearning.spu.ac.th/ เปนเว็ น บไซตอีเลิรนนิ น งของมหาวิวิทยาลัยที่ใชในป น จจุบนั - กลุมงาานวิทยบริการ http://asclearn.spu.ac.th/ - กลุมงาานกิจการสัมพันธ http://sppufriendslms.spu.ac.th - สถาบันวิ น ทยาการสาารสนเทศ httpp://isilms.spu.ac.th
E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 34
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
ในนระบบบริหารรจัดการเรียนกการสอน (LMSS) Moodle ที่ทางงมหาวิทยาลัยได ย ใชงานนัน้ มีคุณสมบัติเดดนๆ ดังนี้ อ อกับระบบบฐานขอมูลกลางของม ล หาวิทยาลัย โดยสามารถใช โ ช User และ Password P เดียวกั ย บ 1. การเชื่อมต ระบบ e-M Mail ของมหาวิวิทยาลัย โดยผูผูใ ชไมจําเปนตอง Register ใหม
ภาพที่ 7 หนาเพจ า Login เขขาสูระบบ
E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 35
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
2. การบริริหารจัดการใในรายวิชา ผูสอนสามารถน ส นํา Modules ตตางๆ ที่ทางผูดูดแลระบบไดเพิพ่มเติม เพื่ออํานวย า ความสะดดวกในการใชงาน เชน - การใช Module M Attendance สําหรับตรวจสอบกา บ ารเขาหองเรียน โดยการเช็คชื ค ่อโดยผูสอน ซึ่งสามารถแสสดง เปนเปอรเซ็ซนตของการเขขาเรียน
E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 36
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
ภาพที่ 8 ตรวจสอบการเขาหองเรียนในระบบ น Mooodle
E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 37
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
- Modulee Certificate เปนการมอบใใบรับรองโดยออัตโนมัติ โดยผูสอนไดกําหนนดสิ่งที่ตองทํา และเมื่อทําสํสาเร็จ ผูเรียนจะไไดรับ Certificate โดยอัตโนนมัติ พรอมทั้งสามารถบันทึกไฟลออกมาเปน pdf ไฟลได ซึ่งจะมีอีกหลาย Modules ที่จะชวยใหอาจารย า สะดวกในการทํางานน
C ในนระบบ Moodle ภาพทีที่ 9 ตัวอยาง Certificate
E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 38
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
3. การทําคลังขอสอบ การเลือกรูปแบบชนิดของขอสอบที่มีใหใชงานอยางหลากหลาย
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 39
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
ภาาพที่ 10 รูปแบบบชนิดของขอสอบในระบบ อ คลังขอสอบทีหลากหลาย ่ 4. การบริริหารจัดการรระบบ a. การรายยงานผล โดยใใช Google Annalytics
ภาพที่ 11 ตััวอยางการรายยงานผล โดยใใช Google Annalytics E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 40
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
b. การเก็บ Log file เพื่อดูการเขามาทํากิจกรรมในระบบ
ภาพที่ 12 Log file การใชงานของผูเรียนที่เขาเรียนในรายวิชาบนเว็บไซตอีเลิรนนิง
ภาพที่ 13 สถิติการเขาใชงานภายในบทเรียนของผูเรียน E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 41
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
c. การกําหนดสิ ห ทธิการเขขาใชงานในแตละฟงกชนั่ เชชนการกําหนดดสิทธิ์ผสู อน Staff S หรือผูบริหารให ห สามารถถ กระทําหรือสามารถดู อ ไดอยางเดียว เพืพื่อความนาเชือถื อ่ อของขอมูล
ภาาพที่ 14 การกํกําหนดสิทธิการเข า าใชงาน d. แสดงการใชเนื้อที่ในแแตละรายวิชา เพื่อตรวจสอบบความพอเพียงของ ย Hardddisk ใน Serveer
ภาพที่ 15 รายงานแสดงการใชเนื้อที่ในแตละรายวิชิ า E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 42
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
5.รองรับการใชงานบน Mobile Devices โดยสามารถเปดใชงานผาน Mobile Devices ไมวาจะเปน iPhone, BlackBerry, IPAD, Android ฯลฯ ทําใหผูเรียนมีความสะดวกสบาย และสามารถเขาถึงไดทุกที่ ทุกเวลา
ภาพที่ 16 ตัวอยางหนาจอการใชงาน Moodle บน Mobile Devices
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 43
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
2.3 ระะบบการติดตตอสื่อสาร - มีศูนยบริการใหคําปรึกษาา หรือ Help Desk D ติดตอเบบอรภายใน 3333 แ คลากร ของ ข - e-Student มีระบบสารสนนเทศเพื่อการจจัดการ (SCMS) สําหรับผูเรียน อาจารย และบุ มหาวิทยาลัยั
ภาพที่ 17 หนนาเว็บไซตระบบ SCMS E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 44
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
- ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (ee-Mail) ดวยรระบบ SPU Gm mail สําหรับมหาวิทยาลัยศรีปี ทุม โดยใช ษ รับสิทธิการใช ก์ งาน Em mail ของมหาวิทยาลัยตลอดชีพ บริการ Gmaail ของ Googgle โดยนักศึกษาได และไดรับพืนที ้น ่จัดเก็บขอมูลสวนตัว จํานวน น 25 GB พร พ อมทั้งมี Weeb Blog สวนตตัวและอัลบั้ม รูปภาพ
- กระดานสนททนา (Webbooard) ในรายวิชาที่เรียน
E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 45
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
- หองสนทนา (Chatroom) ในรายวิชาที่เรียน
- Moodle & Test Bank Clinic เปนคลินิกสําหรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน และคลังขอสอบ ดวยระบบ Moodle โดยจะเปนการพบปะหารือและใหคาํ ปรึกษาในบรรยากาศแบบเปนกันเอง ใน ทุกๆวันจันทร ตั้งแตเวลา 9.00 – 12.00 น. ของทุกสัปดาห ณ อาคาร 10 ชั้น 4 หอง 403
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 46
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
3. ดานทรัพยากรสนับสนุน มหาวิทยาลัยศรีปทุม มีจาํ นวนทรัพยากรสนับสนุนเกีย่ วของกับการจัดการเรียนสอนแบบอีเลิรนนิงที่ ทันสมัย เพียงพอตอความตองการ สามารถสนองตอความตองการของผูใชและการใชทรัพยากรสารสนเทศ รวมกันทัง้ ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย เพื่อพัฒนาการเรียนรูดวยตนเองที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลางและ นําไปสูการสรางนวัตกรรมในสังคมการเรียนรู ดังนี้ 3.1 จํานวนสื่อดิจิตอลที่ผลิต/บริการ ปจจุบัน มีจํานวนสื่อที่ผลิตและใหบริการแบงตามรายวิชาทีถ่ ูกสรางแบบอีเลิรนนิง รวมทัง้ สิ้น 251 รายวิชา แบงเปนสื่อสมบูรณ ทั้งสิน้ 15 รายวิชา และเปนเปนสื่อเสริมทั้งสิน้ 236 รายวิชา (ดูจากเอกสาร ภาคผนวก ก.)
ภาพที่ 18 ตัวอยางของสื่อสมบูรณ E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 47
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
ภาพที่ 19 ตัวอยางของสื่อเสริม
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 48
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
3.2 จํานวนฐานขอมูล เอกสาร ตํารา และวารสารอิเล็กทรอนิกส มหาวิทาลัยศรีปทุม มีจาํ นวนฐานขอมูล เอกสาร ตํารา และวารสารอิเล็กทรอนิกส ดังตอไปนี้ จํานวนทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยศรีปทุม ลําดับที่
ประเภท
จํานวน (ชื่อเรื่อง/ฐาน)
1
ฐานขอมูลออนไลน
17
2
หนังสืออิเล็กทรอนิกส
3,730
3
วารสารอิเล็กทรอนิกส
14,830
4
สื่อโสตทัศน
11,822
1. ฐานขอมูลออนไลน ปจจุบัน มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดบอกรับฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกส จํานวน 17 ฐาน จําแนกตามกลุม สาขา สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)/หลักสูตรบัณฑิตวิทยาลัย ไดแก กลุม วิทยาศาสตรกายภาพ กลุมวิศวกรรมศาสตร กลุมบริหารธุรกิจ กลุมมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร กลุม สถาปตยกรรมศาสตร กลุมศึกษาศาสตร เพื่อใหนักศึกษา อาจารย บุคลากร และผูใชบริการหองสมุดสามารถ สืบคนวรรณกรรมจากวารสาร วิทยานิพนธ งานวิจัย ฯลฯ ไดอยางกวางขวางครบถวน ซึ่งสามารถสืบคนผาน ระบบเครื อ ข า ยคอมพิ ว เตอร ม หาวิ ท ยาลั ย ศรี ป ทุ ม ได ที่ ห น า Home Page ของสํ า นั ก หอสมุ ด (http://librarytest.spu.ac.th/content/0/18966.php) โดยมีฐานขอมูลเรียงลําดับชื่อตามลําดับอักษร (Browse by title) ดังตอไปนี้
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 49
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
1. ABI/Infform Full text & abstract dattabase on business b , finance and economics e Description : 1971 – preesent Coverage : เ ดานการบบริหารจัดการ การตลาด การเงิน เศรษฐศศาสตร จากวารสาร ฐานขอมูลฉบับเต็ม และสาระสังเขป มากกวา 1,000 1 รายชื่อ ตัง้ แตป ค.ศ 1971-ป 1 จจุบัน จําแนกเปน 1. ABI/INFORM A Global เนื้อหาด ห านบริหารรและการจัดกาาร จากวารสารจํานวน 2,9000 รายชื่อ A M Trade & Inddustry เนื้อหาาดานการคาและอุ แ ตสาหกรรม จากวารสาาร 2. ABI/INFORM และสิ แ ่งพิมพจานวน าํ 1,200 รายชื่อ 3. ABI/INFORM A Dateline เนือหาด ้ านธุรกิจ จากสิง่ พิมพในประเทศสหหรัฐอเมริกาแลละ แคนาดา แ จํานววน 190 รายชือ่ 4. Dissertations D & Theses: A&I A วิทยานิพนธ น ทางดานบริริหารธุรกิจ จํานวน 18,000 รายการ -------------------------2. Academic Search Premier
Description : Full text & abstract dattabase on interdisciplinary sciencess Coverage : 1975 - present บ ม และสาระะสังเขป สหสาาขาวิชา ไดแกก ศึกษาศาสตตร บริหารธุรกิจ สังคมศาสตร ฐานขอมูลฉบับเต็ มนุษยศาสสตร วิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี วิทยาศาสตรสุขภาพพ มีดรรชนี หรืรือสาระสังเขปป บทความวารรสาร 8,500 ชื่อ บทความวารสารฉบับเต็ม (Full text) 4,600 ชื่อ และสามารถสืบคนเอกสาร น ฉบับเต็ บ มยอนหลังได ง ถึง ปค.ศ 19775 --------------------------------
E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 50
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
3. ACM Digital D Libraryy Full text & abstract dattabase on information technology t a computter and sciences 1974 - present Coverage : บ ม และสาระะสังเขป ดานเเทคโนโลยีสารรสนเทศและวิทยาการ-คอม ท พิวเตอรของ ฐานขอมูลฉบับเต็ จ วารสาร นิตยสสาร รายงาน เออกสารการประชุม Association for Compputing Machinnery (ACM) จากบทความว และขาวสาร ตั้งแตปค.ศศ 1974- ปจจุบับน ------------------------Description :
4. ASCE Description : Full text & abstract dattabase on civil c engineeering Coverage : Articles more than 80,000 items บ ม และสาระะสังเขป ของบบทความวารสาร ทุกสาขาวิชาด ช านวิศวกรรรมโยธา จํานววน ฐานขอมูลฉบับเต็ 8 รายกาาร มากกวา 80,000 -----------------------5. Busineess Source Premier P
b m management, , finance andd Full text & abstract dattabase on business, economicss 1965 – preesent Coverage : บ ม และสาระะสังเขป เพื่อการวิ ก จยั ทางธุรกิ ร จ การตลาดด การบริหารจัจัดการ ฐานขอมูลฉบับเต็ น 2,100 ชื่อ ยอนหลังถึงฉบั ฉ บป ค.ศ 19965 รวมถึง บัญชี เศรรษฐศาสตร แลละการเงิน จาากวารสารจํานวน Companyy Profiles, Coountry Econoomic Reportss และอื่นๆ โดยยมีวารสารที่ ผผานการตรวจปประเมิน (peerreviewed) โดยผูทรงคุณวุ ณ ฒิ จํานวนกกวา และสามาารถคนชื่อการรอางถึงผลงานน (cited refereences) ยอนหหลัง ไดถึงปค.ศศ 1998 -----------------------Description :
E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 51
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
6. E-Bookk Collection
d on interdisciplinary sciencees Description : E-books database Coverage : 1971 – 20007 ฐานขอมูลหนังสืออิเล็กทรอนินิกส ของบริษทั OCLC Onliine Computeer Library Center, Inc. รวบบรวม ม ตางๆ ในสหหสาขาวิชา จํานวน า 3,731 รายชื ร ่อ สิ่งพิมพฉบับบเต็มของหนันังสือ วรรณกรรรม และสิ่งพิมพ ---------------------------7. EBSCO O A to Z Description : A tool for one-stop seearching of electronic joournals ่ รอิเล็กทรอนิกสทุกชื่อใน เคครื่องมือที่ชว ยอํานวยความสสะดวกในการรสืบคนโดย เชือมโยงวารสาร ฐานขอมูลต ล างๆ ----------------------------8. Emeraald Managem ment
Full text & abstract dattabase on business, b m management, , applied sciences and a social sciences s Online jouurnals more than 225 tittles Coverage : บ ม และสาระะสังเขป ดานบริ น หารธุรกิจ การจั ก ดการ เศรษฐศาสตร วิศวกรรมศาสตตร ฐานขอมูลฉบับเต็ น งคมศาสตรร ภาษาศาสตรร หองสมุดและสารสนเทศ สืบคนวารสาร เทคโนโลยียี วิทยาศาสตรรประยุกต ดานสั ออนไลน สาขาการจั ส ดการ 24 สาขา ได ไ มากกวา 2225 ชื่อ หนังสือ วารสาร ฐานนขอมูลบรรณาานุกรม และ กรณีศึกษาา ---------------------------Description :
E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 52
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
9. ERIC
Full text & abstract dattabase on education e Description : 1966 – preesent Coverage : บ ม และสาระะสังเขป ดานกการศึกษา จาากหนังสือ วารรสาร รายงานนการประชุม ฐานขอมูลฉบับเต็ งานวิจยั วิทยานิพนธ ฯลลฯ สามารถคคนยอนหลังไดดจนถึงป ค.ศ. 1966 --------------------------10. IEEE
Full text & abstract dattabase on electrical e enggineering, coomputer a informaation technoloogy sciences and 1988 – preesent Coverage : บ ม และสาระะสังเขป ดานวิวิศวกรรมไฟฟา วิทยาการคคอมพิวเตอร อิเล็กทรอนิกส ฐานขอมูลฉบับเต็ เทคโนโลยียี-สารสนเทศแและวิทยาศาสตร จากวารสาร นิตยสาร รายงานการปประชุม มาตรฐฐาน ฯ ใหเอกกสาร ฉบับเต็มเกืกือบ 3 ลานราายการ วารสาาร 151 ชื่อ รายงานการปร ร ระชุมมากกวา 900 รายการร เอกสารมาตรฐาน 3,400 รายยการ หนังสืออิเล็กทรอนิกส 400 รายการ มีขอ มูลตั้งแตตป ค.ศ. 19888 จนถึงปจจุบนั -------------------Description :
11. ProQuest Description : An abstract databasee on internaational disseertations Coverage : 1977 – preesent พ ปริญญาเออก และปริญญาโท สาขาวิวิชาตางๆ ของ ฐานขอมูลสาระะสังเขป ครอบบคลุมวิทยานิพนธ จ บนั กวา 2.77 ลานรายการร มี Preview ของวิทยานิพนธ น สหรัฐอเมริริกาและประเททศอืน่ ๆ ตั้งแตป 1977 ถึงปจจุ ปริญญาเออกและปริญญาโท ญ ดูไดฟรจํ รี านวน 24 หนนา -----------------------E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 53
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
12. Sciennce Direct Full text & abstract dattabase on interdisciplinary sciences Description : 1995 – preesent Coverage : บ ม และสาระะสังเขป สหสาาขาวิชา ใหบทความวารสาารและบทความในหนังสือ ฐานขอมูลฉบับเต็ 9 ลานรายกาาร จากวารสาารทีไ่ ดรับการรัรับรองจากนักวิชาการมากกกวา 2,500 รายยชื่อ และหนังสื ง อ มากกวา 9.5 มากกวา 11,000 1 เลม สืบคนวารสารยยอนหลังไดกอนป อ ค.ศ 19955 ----------------------------13. SPU Knowledge Bank Institutionaal repository database of o Sripatum University Description : 2005 – preesent Coverage : ฐานขอมูลคลังปปญญาของมหหาวิทยาลัยศรีรีปทุม เพื่อการรรวบรวมและเเผยแพรผลงานนของ อาจารยย ศ ปทุม ปจจุบันมีขอมูลประมมาณ 1,400 รายการ ร นักวิจัย แลละ นักศึกษามมหาวิทยาลัยศรี ----------------------------14. SPU Online Public Access Catalog C (OPAAC) Description : Bibliographic databasee Coverage : 1970 – preesent ณานุกรม สํานักหอสมุด มหหาวิทยาลัยศรีปทุ ป ม ใหขอมูลรายการทรั ล พยากรห ย องสมุดทุ ด ก ฐานขอมูลบรรณ แ สถานที่จดเก็ ดั บในหองสมุด ประเภท และ -----------------------------
E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 54
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
15. ThaiLLIS Digital Coollection ( TDDC) Full text & abstract daatabase on dissertationss of Thai universities Description : บ ม และสาระะสังเขปของเคครือขายหองสมมุดสถาบันอุดมศึ ด กษา ประเเทศไทย (ThaiiLIS) ฐานขอมูลฉบับเต็ ท พนธ แลละรายงานการรวิจยั ของมหาวิวิทยาลัยในปรระเทศ รวบรวมวิทยานิ --------------------------16. Westlaw Full text & abstract dattabase on international law Description : 1970 – preesent Coverage : บ ม และสาระะสังเขป ดานกฎหมายนาน น นาชาติ มีวารสารและสิ่งพิมพ ม ตอเนื่อง ด ฐานขอมูลฉบับเต็ ห 900 ชื่อเรื่อง ขอมูลเอกสารรทางกฎหมายของประเทศสสหรัฐอเมริกา านกฎหมาายและการบริหารประมาณ รวมถึง กลุลุมประเทศในเเครือจักรภพบางประเทศ กลุมประเทศยุโรป โ และประเเทศอืน่ ๆ ตั้งแต แ ป ค.ศ.19700 ถึงปจจุบัน --------------------------17. มติชน ช e-Library News clippings of Thhai newspappers Description : 1997 – preesent Coverage : เ บทวิจารณ จ รายงาาน ฐานขอมูลกฤตภาคขาว ใหขอมูลขาว บทสสัมภาษณ บททความ บทวิเคราะห ย น่ ๆ เกีย่ วขของกับองคกร ภาครัฐ และเเอกชน รวมทั้งบุคคลสําคัญในภาคธุ ใ รกิจทุกประเภท หรือขอเขียนอื มากกวา 10 1 หมวดหมู หรื ห อกวา 2,0000 หัวเรื่องยอย สืบคนยอนหลังไดตั้งแตป พ.ศ. 2540 ---------------------------
E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 55
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
2. หนังสืออิเล็กทรอนิกส จํานวนหนังสืออิเล็กทรอนิกส(e-books) ในฐาน Net library จําแนกตามสาขาวิชา รายการ
จํานวน
Arts
247
Business, Economics and Management Computer Science Education General Works and Reference Home Economics Language and Linguistics Law Mathematics and Statistics Networking and Telecommunications Political Science Social Sciences: General Technology, Engineering and Manufacturing Travel and Geography Others Total
678 258 389 329 23 191 117 253 86 96 133 202 84 471 3,730
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 56
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
3.3 ระะบบการแนะะนําวิธีการเรียน การสื่อสาร ส การใชเครื่อื งมือสื่อสาาร มีระบบแนะนําวิธีการเรียน การสื ก ่อสาร กาารใชเครื่องมือสื่อสาร โดยจััดทําเปนคูมือการใชงานตางๆ า ไว ใ ปแบบของง Textfle (pdff) และ e-Boook (สามารถเขขาถึงไดที่: htttp://202.44.668.40/ บนระบบ Moodle ทั้งในรู manual.html)) ชวยใหอาจาารยและผูเรียนสามารถเข น าถึงระบบการเรีรียนแบบอีเลิรนนิงไดสะดวกก และ webooe/m งายตอการใชงาน ดังนี้ 1. คูมื อการใชงานน Moodle สําหรั ห บอาจารย
ภาาพที่ 20 ตัวอยยาง e-Book คูมือการใชงานน Moodle สําหรั ห บอาจารย E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 57
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
2. คูมื อการบันทึกการสอนดวยโโปรแกรม Cam mtasia Relayy
ย Caamtasia Relaay ภาพทีที่ 21 ตัวอยางคูมือการบันทึกการสอนดวยโปรแกรม
E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 58
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
3. คูมื อการใชงานน Camtasia Studio : สรางสืสื่อดวยโปรแกรม Camtasiaa เพื่อการใชงานในระบบ า LM MS ของมหาวิทยาลลัยศรีปทุม
ว าง e-Bookk คูมือการใชงาน ง Camtasiaa Studio ภาพที่ 22 ตัวอย
E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 59
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
4. คูมื อการใชงานนระบบ LMS
ว าง e-Bookk คูมือการใชงาน ง Camtasiaa Studio ภาพที่ 23 ตัวอย
E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 60
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
5. คูมื อการใชงานน Moodle สําหรั ห บนักศึกษา
ภาพที่ 24 ตัวอยาง า e-Book คูมืมอื การใชงาน Moodle สําหรั ห บนักศึกษา
E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 61
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
มีระบบ e-Libraary เพื่อบริการการสืบคนทรัรัพยากรของหอ งสมุด ฐานขขอมูลวิชาการ Reference ง้ การฝกอบรรม Databasee และแหลงเรียนรูอ ื่นๆ ในระะบบออนไลนผผานระบบเครือขายคอมพิวเตอร พรอมทังมี การใชงานนแกนักศึกษาททุกปการศึกษาา มีระบบบริการยื า ม คืน และะจองหนังสือออนไลน อ ทําใหหนกั ศึกษาสามมารถ เขาถึงทรัพยากรสารสน พ เทศไดสะดวก รวดเร็ว โดยใใชระบบหองสมุดอัตโนมัติ Program P Horiizon ซึ่งเปนระะบบที่ ทันสมัย และเป แ นสากล (สามารถเขาถึงไดที่ : http://202.44. h 68.214/ipac220/ipac.jsp?ssession=P299P98716I375.142830&proofile menu=account&ts=12929987169390#ffocus) =main&m
ภาพที่ 255 ระบบหองสมุดอัตโนมัติ Program P Horrizon E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 62
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
มีหองปฏิ บัติการคอมพิวเตอรที่ติดตั้งอุปกรณที่มีความทัน สมัย มี จํานวนคอมพิวเตอรที่ใหบริการ เพียงพอตอความตองการของนักศึกษา และเทคโนโลยีตางๆ ที่ทันสมัย เพื่อรองรับการใชงานและการฝกปฏิบัติ ที่สามารถนําไปใชงานไดจริง ในชีวิตการทํางานในอนาคต ซึ่งไดจัดมีการจัดการหรือจัดบริการเพื่อใหนักศึกษา มีเครื่องคอมพิวเตอรรวม Notebook และ Mobile Device ตาง ๆ ประมาณ 6,609 เครื่อง ใชในอัตราไมสูงกวา 8 FTES ตอเครื่อง ประกอบดวย เครื่องคอมพิวเตอรในหองปฏิบัติการ จํานวนทั้งสิ้น 1,925 เครื่องหองเรียน จํานวน 132 เครื่อง และมีเครื่อง Notebook และ Mobile Device จํานวน 4,552 เครื่อง ซึ่งอุปกรณเทคโนโลยี และเครื่องคอมพิวเตอร ที่ใหบริการสามารถรองรับการเรียนการสอนของนักศึกษา และการใชงานอื่นๆ เชน การใช ง านอิน เทอรเ น็ ต สื บคน ขอมู ลตา งๆ เพื่อเพิ่ม พูน ความรู ทั้ ง ทางด า นเทคโนโลยี และดา นสั ง คม ซึ่ ง ทรัพยากรที่มีอยางเพียงพอ กับเทคโนโลยีสารสนเทศในรูปแบบตางๆ เปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งในการสนับสนุน การเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิงของนักศึกษา
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 63
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
ภาพที่ 26 หองปฏิบัติการคอมพิวเตอรและคอมพิวเตอรที่ใหบริการแกนักศึกษา นอกจากนี้ ยังมีการนํารูปแบบการติดตอสื่อสารแบบ 2 ทาง (Two-way Communication) มาใช ประกอบในระบบแนะนําวิธีการเรียน การสื่อสาร การใชเครื่องมือสื่อสาร เพื่อใชเปนเครื่องมือที่จะชวยใหผูเรียน ไดติดตอสอบถาม ปรึกษาหารือ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางผูเรียนกับอาจารยผูสอน และระหวาง ผูเรียนกับเพื่อนรวมชั้นเรียนคนอื่นๆ โดยเครื่องมือที่ใชในการติดตอสื่อสารอาจแบงไดเปน 2 ประเภทดังนี้ E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 64
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
1) ประเภทชวงเวลาเดียวกัน (synchronous) ไดแก Chat
2) ประเภทชวงเวลาตางกัน (asynchronous) ไดแก Web-board, E-mail
ภาพที่ 27 การติดตอสื่อสารผาน Web-board E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 65
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
นอกจากนี้ ยัง มี การจัดฝก อบรมเพื่อสนั บสนุนการใชงานเครื่ อ งมือและพัฒนาความสามารถทาง เทคโนโลยีสารสนเทศใหบุคลากรในมหาวิทยาลัยเพื่อตอบรับกับนโยบาย e-University และเพื่อพัฒนา ประสิ ท ธิ ภ าพการทํ า งานของบุ ค ลากรของมหาวิ ท ยาลั ย อย า งมากมาย ดั ง โครงการพั ฒ นาบุค ลากรด า น คอมพิวเตอรเพื่อมุงสู ICDL Certificate เปนโครงการอบรมพัฒนาทักษะความรูความสามารถดานการใชงาน โปรแกรมประยุกตในสํานักงาน (Microsoft Office) ที่ไดรับการรับรองตามมาตรฐานสากล โดยการสอบวัด ความรูเพื่อรับประกาศนียบัตรของ ICDL Certified การใชงานระบบ e-Learning 1. ศึกษา และ ทบทวนเนื้อหาบทเรียน 2. ฝกปฏิบัติแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อเตรียมตัวกอนสอบ Certified จริง
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 66
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
3.4 บุคลากรสนับสนุนการผลิตสื ต ่อดิจิตอล ในนการผลิตสื่อดิจิตอลของมหหาวิทยาลัยศรีรปทุม มีหนวยงงานและบุคลาากรในการผลิต ดังตอไปนี้ - สํานักการจัดการศึ ก กษาออนไลน เปป น หน ว ยงานนกลางของมหหาวิ ท ยาลั ย ในการสนั ใ บ สนนุ น คณะวิ ช า ต า งๆในการ จั ด การศึ ก ษาาแบบ e-Learninng ทั้งการใชชงานเพื่อการสนับสนุนการรเรียนการสอนนแบบปกติในชชั้นเรียนและกการใชเพื่อสนับสนุ บ น การเรียนกการสอนทางไกกลบางสวน ปจจุ จ บันมีโครงสสรางบุคลลากรรของหนวยงานดังนี้
E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 67
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
- ศูนย ICT เปปนหนวยงานใในการนําเทคโโนโลยีสารสนเเทศมาประยุกตใชในการบริรหาร จัดการ เพพื่อสนับสนุนกิจการ ของมหาวิทยาลัยและสนนับสนุนการพััฒนาความเปปนเลิศทางดานเทคโนโลยี น สารสนเทศแก า สังคม เพื่อมุงสูความ C ปจจุบันมีโครงสรางบุ า คลลากรของหนวยงานดดังนี้ เปน ICT Campus
E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 68
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
- ศูนยมีเดีย เปนหนวยงานที่มีหนาที่ในการผลิตใหบริการดานการผลิตงานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน ใหกับหนวยงานภายในและภายนอก โดยนําเทคโนโลยี ICT มาผนวกกับเทคโนโลยีการรับสงโทรทัศน และ เทคโนโลยีการสื่อสารอันทันสมัยอื่นๆ เขาไวดวยกัน ปจจุบันมีโครงสรางบุคลลากรของหนวยงานดังนี้
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 69
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
- คณะดิจิตอลมีเดีย เปนสวนหนึ่งของการผลิตสื่อดิจิทอลใหกับการจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิงของมหาวิทยาลัย ศรีปทุม ปจจุบันมีโครงสรางบุคลลากรของหนวยงานดังนี้
อธิการบดี
ณัฐกมล ถุงเงินสุวรรณ ผ.ช.คณบดี ฝายวิชาการ
ดร.กมล จิราพงษ คณบดีดิจิทัลมีเดีย
วรากร ใชเทียมวงศ ผ.ช.คณบดี ฝายกิจการนักศึกษา
ณัฐกมล ถุงเงินสุวรรณ รักษาการ.หน.สาขาวิชา การออกแบบอินเตอร แอคทีฟและเกม
วรากร ใชเทียมวงศ รักษาการ.หน. สาขาวิชาคอมพิวเตอร
ณัฎฐา พันเจริญ รักษาการ.หน. สาขาวิชาเอฟแฟกต
สํานักงานเลขานุการคณะ ธิติรัตน เจียมบุญศรี ผจก.สํานัก - สุทธินีย เตชะปรัชญา - อรวรรณ เพียจุน เจาหนาที่
นพเกลา ศรีมาตยกุล หน.สาขาวิชา ดิจิทัลอารตส
นพเกลา ศรีมาตยกุล รักษาการ.หน.สาขาวิชา การออกแบบกราฟก
แอนิเมชั่น
สาขาวิชาการออกแบบ อินเตอรแอคทีฟและเกม - นภนต คุณะนิติสาร - อรุณ อินทนนท อาจารย
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
-
สาขาดิจิทัลอารตส อติเทพ แจดนาลาว อาคม จงไพศาล สาคเรศ ลิ้มสีทอง กัณยาวีย เพชรสุข ภานุวัฒน สิทธิโชค วิชัย โยธาวงศ อาจารย
หนา 70
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
ซึ่งบุคลากรในสายสนับสนุนการผลิตสื่อดิจิตอลนี้ มีบุคคลที่มีความเชี่ยวชาญและประสบการณดาน เทคโนโลยี การออกแบบและการผลิตสื่อการเรียนการสอน จนไดรับความไววางใจและการยอมรับจากองคกร ทั้งขนาดกลางขนาดใหญ ดวยการไดรับเชิญไปเปนวิทยากรบรรยายตามสถาบันตางๆ เปนจํานวนมาก (ดูภาคผนวก ข.) ดังเชน 1. อบรมผูสอนวิชาศึกษาทัว่ ไปเรื่อง “เตรียมความพรอมกอนเปดเทอม” ในวันที่ 3 มิถุนายน 2554 ณ หองประชุมราชนครินทร ชั้น 5 อาคาร 100 ป สมเด็จพระศรีนครินทร มหาวิทยาลัยศรีปทุม โดยเชิญอาจารยวรสรวง ดวงจินดา เปนวิทยากรบรรยาย 2. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการใช FaceBook ในการเรียนการสอน โดย ศูนยสนับสนุนและ พัฒนาการเรียนการสอน รวมกับ สํานักการจัดการศึกษาออนไลน โดยเชิญอาจารยวรสรวง ดวงจินดา เปนวิทยากรบรรยาย ในวันที่ 18 พฤษภาคม 2554 3. การประชุมเชิงปฏิบัติการการดําเนินกิจกรรมบนเครือขายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา ครั้งที่ 23 โดย สํานักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา (UniNet) สํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ณ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา ในวันที่ 26 - 28 มกราคม 2554 โดยเชิญอาจารยวรสรวง ดวงจินดา เปนวิทยากรบรรยาย 4. อบรมเชิงปฏิบตั ิการเรื่องการบูรณาการการใช e-Learning และ Open Source ในหนวยงานทาง การศึกษา ในวันที่ 17 มกราคม 2554 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร โดยเชิญอาจารยวรสรวง ดวงจินดา เปนวิทยากรบรรยาย 5. การประชุมเชิงปฏิบัติการ "การดําเนินกิจกรรมบนระบบเครือขายสารสนเทศ เพื่อพัฒนาการศึกษา ครั้งที่ 22" ในวันที่ 28-30 กรกฎาคม 2553 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา โดยเชิญอาจารยวรสรวง ดวงจินดา เขารวมประชุมและเปนวิทยากรบรรยาย 6. โครงการบรรยายพิเศษหัวขอเรื่อง “แนวโนมนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร” ใน วันที่ 4 กันยายน 2553 ณ หอง 5201 อาคาร 5 ชั้น 2 มหาวิทยาลัยหอการคาไทย โดยเชิญ อาจารยวรสรวง ดวงจินดา เปนวิทยากรบรรยาย 7. การอบรมเรื่อง Innovative e-Learning Technology ในวันที่ 15 มีนาคม 2553 ณ มหาวิทยาลัยขอนแกน โดยเชิญอาจารยวรสรวง ดวงจินดา เปนวิทยากรบรรยาย 8. การอบรม เรื่อง “ขอควรปฎิบัติในการทําหนาที่ Liaison Officer” ในวันที่ 10 มีนาคม 2553 ณ หอง บงกช อาคาร 10 มหาวิทยาลัยศรีปทุม โดยเชิญอาจารยวรสรวง ดวงจินดา เปนวิทยากรบรรยาย พิเศษ E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 71
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
9. จัดนิทรรศการ “NEdNET” ในสวนการจําลองหองเรียนการสอนทางไกลที่สามารถโตตอบกันได ระหวางนักเรียนมัธยมตนและมัธยมปลายจากพื้นที่ตางๆ ของประเทศไทยและสาธารณรัฐเกาหลี หรือ เกาหลีใต เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2553 ณ ศูนยแสดงสินคาและการประชุม อิมแพค เมือง ทองธานี จังหวัดนนทบุรี โดยเชิญอาจารยวรสรวง ดวงจินดา เปนวิทยากรบรรยาย 10. โครงการการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวิจยั “ราชนครินทรวิชาการและวิจยั ครั้งที่ 5 “ ใน วันที่ 22 -23 มิถุนายน 2554 ณ อาคารเรียนรวมและอํานวยการและพืน้ ที่ภายในมหาวิทยาลัยราช ภัฎราชนครินทร จ.ฉะเชิงเทรา โดยเชิญอาจารยวรสรวง ดวงจินดา เปนวิทยากรบรรยาย 11. สัมมนาทางนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาเรื่อง “Social Network มีบทบาทตอการศึกษา มากกวาที่คิด” ในวันเสารที่ 22 มกราคม 2554 มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนาม จันทร โดยเชิญอาจารยวรสรวง ดวงจินดา เปนวิทยากรบรรยาย 12. สถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทายาลัยนเรศวร หัวขอ”อุดมศึกษายุค ใหม Communicate อยางไรผาน Social Network” ในวันที่ 17 สิงหาคม 2554 ณ อาคาร ศูนยบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทายาลัยนเรศวร โดยเชิญอาจารยวรสรวง ดวงจินดา เปนวิทยากรบรรยาย นอกจากนี้ มหาวิทยาลัย ยังมีทรัพยากรบุคคลที่มีความเชี่ยวชาญเปนพิเศษจนไดรับการยอมรับใน ระดับนานาชาติ ดาน Moodle Course Creator สําหรับ Moodle เวอรชั่น 2 (ลาสุด) ซึ่งก็คือ อาจารยวรสรวง ดวงจินดา รักษาการผูอํานวยการสํานักการจัดการศึกษาออนไลน นับเปนคนแรกของประเทศไทย (ในทุกเวอร ชั่น) ซึ่งในประเทศไทยนั้นมีผูเชี่ยวชาญในดานนี้เพียง 2 ทานเทานั้น การรับรองนี้ สามารถตรวจสอบไดจากทั่ว โลก (เขาถึงไดจาก [Online] Available: http://certificates.moodle.com/manage/view.php?code=6AZTXAUO-EIRJ-HDFM)
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 72
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
4. ดานหลักสูตรการสอน 4.1 วิธีการจัดทําและจัดหาหลักสูตรแบบอีเลิรนนิง มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดดําเนินการบริหารจัดการหลักสูตร โดยมีระบบและกลไกการเปดหลักสูตรใหม การปรับปรุงและการปดหลักสูตรหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่กําหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ ดํ า เนิ น การตามระบบที่ กํ า หนด (ดู จ ากภาคผนวก ค.) ซึ่ ง การบริ ห ารจั ด การหลั ก สู ต รแบบอี เ ลิ ร น นิ ง (e-Learning) ไดรวมอยูกับคณะ หรือวิทยาลั ย ตน สัง กัดของสาขาหลักสูตร หรือบั ณฑิ ตวิท ยาลัยของ มหาวิทยาลัย ดวยเนื้อหาลักสูตรที่จัดทํานั้น อาจารยผูสอนประจําคณะจะเปนผูที่มีความเชี่ยวชาญและมี ประสบการณในดานศาสตรนั้นๆ เปนอยางดี จากการไดรับมอบนโยบายจากทางมหาวิทยาลัย สํานักการจัดการศึกษาออนไลน ผูรับผิดชอบดาน การจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิง โดยการประชุมกลุมกับอาจารยผูสอน ศึกษาถึงความเปนไปไดใน การจัดทําหลักสูตร ธรรมชาติของหลักสูตร และไดทําวิจัยอยางงายเพื่อทดสอบตลาดการเรียนแบบออนไลน โดยการทดลองประชาสัมพันธและวิเคราะหผลตอบรับ จากการกระจายขาวสารไปยังชมรมตางๆ มีกลุม ตัวอยางประมาณ 200 คน โดยมีขอเสนอและความสนใจตางๆ ยอนกลับมาในเกณฑที่ดี 4.2 การดูแลดานคุณภาพ มาตราฐานหลักสูตรแบบอีเลิรนนิง ในการดูแลดานคุณภาพ มาตราฐานหลักสูตรแบบอีเลิรนนิงนัน้ มหาวิทยาลัยศรีปุทมไดดําเนินการ ดังนี้ มาตรฐานหลั ก สู ต รและรายวิ ช า เป น หลั ก สู ต รที่ ส อดคล อ งกั บ ความต อ งการของสั ง คมและ หนวยงานจางงาน เปนหลักสูตรที่เปนที่ยอมรับการรับรองหลักสูตรโดยสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) และสํานักงานคณะกรรการขาราชการพลเรือน (ก.พ.) โดยในแตละหลักสูตรที่จัดทําแบบอีเลิรนนิงจะ ประกอบดวยรายละเอียดของหลั กสูตร ไดแก โครงสรางหลักสูตร รายวิชา เนื้อหา บทเรียน กิจกรรมวิชา เอกสารประกอบการเรี ย น (หากมี ) วั น เริ่ ม เรี ย น และรายละเอี ย ดของผู ส อน เพื่ อ แสดงว า มี แ ก น สาร (Substantial) และเหมาะสมกับจํานวนหนวยกิตที่ได
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 73
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
มาตรฐานดานการออกแบบการเรียนการสอน ไดดําเนินการตามมาตรฐานหลักสูตรแบบอีเลิรนนิง โดยใชเกณฑที่มีความเปนสากล คือ หลักการออกแบบการสอน ADDIE MODEL ดังนี้
(ภาพประกอบจาก: http://202.28.17.101/prachyanun/dte/dte10/index.php?option=com_content&view =article&id=10:addie-model&catid=1:instructional-design&Itemid=34) มาตรฐานคณาจารย มีอาจารยผูเชี่ยวชาญเนื้อหา (Content Expert) ในศาสตรการสอนนั้นๆ และมี การจัดฝกอบรมและสัมมนาวิชาการใหอาจารยอยางตอเนื่อง เพื่อพัฒนาคณาจารยในดานตางๆ ที่เกี่ยวของกับ อีเลิรนนิง ไมวาจะเปนดานเทคโนโลยี ดานการออกแบบ ดานการพัฒนาคอรสแวร ดานการนําเสนอ ดานวิจัย และดานการวัดผล
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 74
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
4.3 การออกแบบการเรียนและการสอนแบบอีเลิรน นิง การออกแบบการเรียนการสอนในรูปแบบ e-Learning ผานระบบ LMS มีกระบวนการและขั้นตอน การออกแบบและพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) ที่ไดตามมาตรฐานการออกแบบการเรียน การสอน (Instructional
Design) โดยมีกระบวนการและขั้นตอนในการพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิก ส
(e-Courseware) ตามหลักการพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) ADDIE Model ดังตอไปนี้
Courseware Production Process Analysis Phase: 1 ‐ ‐ ‐ ‐
Analyze Course Analyze Content & Resource Analyze Learning Activity Analyze Constraint & Problem
Design Phase: 2 ‐ ‐ ‐
Design Courseware Presentations Design User Interface Design Learning Activity
Implementation Phase: 4 ‐ ‐ ‐
Implementation on LMS. Create Learning Activity on LMS. Test Course Ware
Evaluation Phase: 5 ‐ ‐
Course ware Quality Control (QC) Revise
Development Phase: 3 ‐ ‐ ‐ ‐ ‐ ‐ ‐
Develop Course Ware Template Develop Course Out line (TOC) Sound/VDO Record (Perhaps) Edit Sound/VDO Develop Course Ware Publish to SCORM. Develop Document Download
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 75
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
1. Analysis ขั้นตอนการวิเคราะหบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) เปนขั้นตอนแรกของ
การออกแบบการเรียนการสอน (Instructional Design) โดยขั้นตอนนี้ เปนขั้นตอนของการวิเคราะห (Analysis) องคประกอบทั้งหมดที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนแบบ e-Learning (อีเลิรนนิ่ง) ไมวาจะเปนเนื้อหาบทเรียน ออนไลน e-Learning
(อี เ ลิ รน นิ ง ) ผู เ รี ย น วั ตถุ ป ระสงค ข องการเรี ย นการสอน วิ ธี ก ารสอน กิจ กรรม
การเรียน รวมทั้งอุปกรณ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่ใชในการเรียนการสอน โดยผูออกแบบระบบการสอน (Instructional
Designer)
ไดจัดทําแบบฟอรมรายละเอียดเนื้อหาการสอนในการผลิตสื่อขึ้น (ดูไดจาก
ภาคผนวก ง.) เพื่อใชในการตรวจรับเนื้อหาจากผูสอน โดยนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะห เพื่อเลือกกิจกรรม วิธี การสอน และสื่อที่นํามาใชในการนําเสนอในขั้นตอนการออกแบบบทเรียน ใหมีความเหมาะสมกับบริบทใน เนื้อหารายวิชานั้นๆ ตอไป 2. Design ขั้นตอนการออกแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware)
‐ การออกแบบโครงสร า งและลั ก ษณะของบทเรี ย นอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (e-Courseware) ในการออกแบบโครงสรางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) จะตองคํานึงถึงลักษณะ การใชง านและความสามารถทางการเรี ย นของผูเ รีย นที่ แตกต า งกั น ดั ง นั้น การออกแบบ หนาจอบทเรียน ควรมีการออกแบบที่ดี ตองคํานึงถึงหลักการเรียนรูของผูเรียนประกอบกับ หลักของความสวยงามเปนสําคัญ ควรมีการเลือกสี รูปภาพ กราฟค ตัวอักษรที่เหมาะสมกับ เนื้อหาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) ตามหลักการออกแบบ รวมทั้งการนําเสนอ บทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) ตองมีความทันสมัย และทันตอเหตุการณเสมอ
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 76
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
Course Name
Logo
TEXT
•
________
•
________
•
________
Graphic
Graphi
ภาพที่ 28 ตัวอยางการออกแบบโครงสรางและลักษณะของบทเรียนอิเล็กทรอนิกส ‐ การออกแบบรูปแบบการนําเสนอบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) ตองออกแบบใหมี ความนาสนใจ ซึ่งจะเปนสวนที่กระตุนผูเรียนใหเกิดความอยากรูอยากเรียน อีกทั้งยังลดความ นาเบื่อในการเรียนที่มีความยาวนานในการเรียน ดังนั้น ควรมีการนําเสนอที่ตื่นตาตื่นใจ ชวน ใหนาสนใจ และมีความเหมาะสมกับเนื้อหาบทเรียน จะชวยใหผูเรียนสนใจ ตั้งใจในการเรียน และเกิดความคงทนของการจําเหตุการณหรือเนื้อหาไดอีกดวย ‐ การออกแบบเนื้อหาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) ในสวนของการออกแบบเนื้อหา บทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) นั้น มีลักษณะเปน Learning Object โดยบทเรียน อิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) ตองไดรับการจําแนกเปนหนวยๆ เพื่อใชงายตอการเรียนรู และมีวัตถุประสงคการเรียนรูในหนวยการเรียนนั้นๆ รวมถึงเนื้อหาตองมีความถูกตอง ชัดเจน ครอบคลุมวัตถุประสงค
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 77
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
3. Development ขั้นการพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) เปนขั้นตอนของการผลิต
ตามเอกสารการออกแบบเปนการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน e-Learning (อีเลิรนนิง) โดยเริ่มจากเขียน Storyboard ตามเอกสารการออกแบบที่ไดรับการตรวจสอบเนื้อหาที่ถูกตองแลว การเขียน Storyboard เปน การอธิบายหนาจอของการเรียนการสอนในแตละหนาวาผูเรียนจะเห็น ไดยินหรือวามีปฎิสัมพันธอะไรกับ บทเรียนออนไลน Online e-Learning (อีเลิรนนิง) บาง Storyboard จะเปนเครื่องมือในการทํางานของทีม กราฟก ทีมตัดตอเสียง/ภาพ และเจาหนาที่ผลิตสื่อในการผลิตบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) และ บทเรียนออนไลน Online e-Learning (อีเลิรนนิง) ที่เสร็จสมบูรณ ตลอดจนตองไดรับการตรวจสอบความ ถูกตองและรูปแบบที่ตองการสื่อความหมายจากผูที่มีความเชี่ยวชาญดานเนื้อหากอนมีการนําไปใชงานจริง
Log
Course Name
TEXT
•
________
Graphic
•
________
•
________
ภาพที่ 29 ตัวอยางการพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส ทางสํานักการจัดการศึกษาออนไลน มหาวิทยาลัยศรีปทุม ไดใชโปรแกรม Adobe Flash เปนหลักใน การผลิตสื่อลักษณะดังกลาว การถายทอดเนื้อหาในสื่อการเรียนจึงอยูในระดับ High Quality Online Course เปนสื่อที่อยูในรูปของมัลติมีเดียที่มีลักษณะมืออาชีพ มีการปฏิสัมพันธกับผูเรียน สามารถชวยในการถายทอด เนื้อหาไดใกลเคียงกับการสอนจริงของครูผูสอนโดยสมบูรณได
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 78
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
การผลิตตองใชทีมงานในการผลิตที่ประกอบดวย 1. ผูเชี่ยวชาญเนื้อหา ผูเชี่ยวชาญการออกแบบการสอน (instructional designers) 2. ผูเชี่ยวชาญการผลิตมัลติมีเดีย (multimedia experts) ซึ่งหมายถึง โปรแกรมเมอร (programmers) 3. นักออกแบบกราฟค (graphic designers) และ/หรือผูเชี่ยวชาญในการผลิตแอนิเมชั่น (animation experts) เปนตน 4. Implementation ขั้นตอนการนําบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) ไปใช ขั้นตอนนี้เปนสวน หนึ่ ง ของการนํ า บทเรี ย นอิ เ ล็ก ทรอนิก ส (e-Courseware)
ไปใชใ นการเรีย นการสอน โดยนํา บทเรีย น
e-Learning (อีเลิรนนิง) ขึ้นในระบบ LMS จากนั้นทําการตรวจสอบการใชงานของบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) และระบบ LMS พรอมกับมีฝายเทคนิค รวมทั้งผูชวยสอนใหการชวยเหลือผูเรียนในการใช งานบทเรียนออนไลน (Online e-Learning) ไมวาจะเปนดานโปรแกรมหรือวาเครื่องมือการใชงานบทเรียน e-Learning (อีเลิรนนิง) ในการทดลองใชงานนี้ผูเรียนจะตองทําแบบประเมินบทเรียน เพื่อนําขอมูลที่ไดไปแกไข ปรับปรุง กอนนําไปใชงานจริงโดยมีแบบประเมินบทเรียนที่มหาวิทยาลัยใชในการประเมินผลดังนี้
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 79
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
แบบประเมินบทเรียน หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต แบบ e-Learning บทเรียน วิชา................................................................................สําหรับนักศึกษาระดับ....................................... อาจารยผูสอน...................................................................................................................................................... แบบประเมินนี้ประกอบไปดวยการประเมิน 2 สวนคือ สวนที่ 1 ประเมินดานคุณภาพของสื่อ สวนที่ 2 ประเมินทางดาน องคประกอบโดยรวม มีการเกณฑการใหคะแนนระดับความเหมาะสมของคุณภาพของบทเรียน ดังนี้ 5 หมายถึง อยูในระดับ ดีมาก หมายถึง อยูในระดับ ดี 4 3 หมายถึง อยูในระดับ ปานกลาง 2 หมายถึง อยูในระดับ พอใช 1 หมายถึง อยูในระดับ ควรปรับปรุง คําชี้แจง ขอใหทานพิจารณาตรวจสอบความเหมาะสมของบทเรียนโดยทําเครื่องหมาย 9ลงในชองตามความคิดเห็น สวนที่ 1 คุณภาพของสื่อ ระดับความเหมาะสม ลําดับ หัวขอการประเมิน 5 4 3 2 1 1. ลักษณะการใชงานของบทเรียน 1.1 ความสะดวกและรวดเร็วในการเขาใชเนื้อหา 1.2 ความหลากหลายของรูปแบบในการนําเสนอเนื้อหา 1.3 การเรียงลําดับและการจัดวางองคประกอบของเนื้อหาสะดวกตอการเรียน 1.4 ความเหมาะสมของเครื่องมือชวยอํานวยความสะดวกในการเรียนรู เชน ปุมนําทาง ตางๆ การลงทะเบียน 2. ปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนกับบทเรียน 2.1 ชองทางการติดตอสื่อสารระหวางผูเรียนกับบทเรียนผานเครื่องมือที่ไดจัดเตรียมไว ให เชน กระดานสนทนา, e-mail 3. เนื้อหาและการนําเสนอเนื้อหาในบทเรียน e-Learning 3.1 การนําเสนอบทเรียน - การนําเสนอเนื้อหามีความกระชับ ไมยืดเยื้อ - รูปภาพ มีความชัดเจน สอดคลองกับเนื้อหา - เสียง มีความชัดเจน สอดคลองกับเนื้อหา - VDO มีความชัดเจน สอดคลองกับเนื้อหา E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 80
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
ลําดับ
ระดับความเหมาะสม 5 4 3 2 1
หัวขอการประเมิน
3.2 ความสอดคลองของเนื้อหากับวัตถุประสงคในรายสัปดาห 3.3 ความเหมาะสมของรูปแบบในการนําเสนอเนื้อหา 3.4 ความเหมาะสมของจํานวน กิจกรรมประกอบการเรียนการสอนรายสัปดาห 3.5 ความสะดวกในการเขาใชคูมือ และคําแนะนําวิธีใชบทเรียน รูปแบบการจัดวาง หัวขอการบรรยาย เพื่อความสะดวกตอการเรียนรูเนื้อหารายวิชาในหัวขอยอย ตางๆ สวนที่ 2 องคประกอบโดยรวม ลําดับ
ระดับความเหมาะสม 5 4 3 2 1
หัวขอการประเมิน
1. การออกแบบหนาจอเว็บไซตบทเรียนหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต 1.1 การจัดวางองคประกอบหนาจอ งายตอการใชงาน 1.2 รูปแบบเมนู มีความสะดวกตอการใชงาน 1.3 การออกแบบและจัดวาง -
ปุม มีความเหมาะสม เห็นไดชัดเจน
-
สัญรูป มีความเหมาะสม เห็นไดชัดเจน
-
ขอความ มีความเหมาะสม เห็นไดชัดเจน อานงาย
-
รูปภาพเหมาะสมสื่อสารกับผูใชไดอยางเหมาะสม
1.4 ความเหมาะสมของ ขนาด และสีของตัวอักษร ความคิดเห็นเพิ่มเติม ทานคิดวาคุณภาพของบทเรียนโดยรวมอยูในเกณฑใด ดีมาก
ดี
พอใช
ปรับปรุง
ขอเสนอแนะเพิ่มเติม ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 81
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
5. Evaluation ขั้นการประเมินผลบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) เปนขั้นตอนสุดทาย คือ ประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน Online e-Learning (อีเลิรนนิง) ที่ผลิตขึ้นมาโดยอาจารยผูสอนและ คณะกรรมการเปนผูตรวจสอบความถูกตองของบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) โดยขั้นตอนและแบบ ประเมินผลบทเรียน ดังนี้
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 82
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
Flow Chart ขั้นตอนการประเมินสื่อการสอน ดังนี้ ผูรับผิดชอบ
อาจารยผสู อน
คุณสิริยากร/คุณณิชชา (ผูตรวจประเมินสื่อ)
คุณสุนทร/คุณธีรศานต (ทีมผลิตสื่อ)
คุณสุนทร/คุณธีรศานต
ตรวจสอบคุณภาพเบื้องตน ตัวอักษร
กระบวนการ
รูปภาพประกอบ
ตรวจสอบตามที่ไดรับ
ปรับแกตามที่ไดรับ
Upload ไฟลที่ได
ขอเสนอแนะ พรอมทั้ง
การเสนอแนะ
ปรับแกแลวขึ้นสูระบบ Moodle
ตรวจสอบเพิ่มเติม
เอกสารแนบ
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 83
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554CODE : C2
แบบฟอรม ตรวจสอบคุณภาพเนื้อหาหลังการผลิตสื่อในรูปแบบดิจิตอล จากผูเชี่ยวชาญ (อาจารยผูสอน) สํานักการจัดการศึกษาออนไลน มหาวิทยาลัยศรีปทุม หลักสูตร ............................................................... วิชา ..................................................... คณะ .............................................. ภาคการศึกษา .............. ปการศึกษา ............. การบรรยายครั้งที่ ....................... หัวขอ ............................................................ วันที่รับมอบงาน ........../........../........... อาจารยผูสอน ........................................................................ ผูประสานงาน ..................................................................... ตรวจสอบความถูกตอง และคุณภาพของเนื้อหาหลังการผลิตสื่อในรูปแบบดิจิตอล เพื่อยืนยันความถูกตอง หรือดําเนินการ ปรับแก ตรวจสอบเนื้อหา [ ] ยืนยันความถูกตองการนําเสนอสื่อในรูปแบบดิจิตอล การปรับแก ( 20 % ของเนื้อหาการบรรยายและไมเกิน 3 ครั้ง ) [ ]
การปรับแกครั้งที่ 1
[ ] การปรับแกครั้งที่ 2
หัวขอการประเมิน
1.
[ ] การปรับแกครั้งที่ 3 ระดับมาตรฐานของบทเรียนดานเนื้อหา ผาน ไมผาน หมายเหตุ
การออกแบบสื่อบทเรียน 1.1 ความเหมาะสมของสื่อการนําเสนอ 1.2 การเชื่อมโยงเนื้อหามีความสะดวกตอการเรียน 1.3 การออกแบบ ขอความ รูปภาพ วีดีทัศน ภาพเคลื่อนไหว ความเหมาะสม ความสมบูรณในการออกแบบ 1.4 การใชสีของพื้นหลังและสีตัวอักษร มีความตัดกัน อยาง เหมาะสม ไมระคายเคืองตอสายตา 1.5 การจัดวางหัวขอเรื่อง เนื้อหา และ ปุมควบคุมตาง ๆ ให เหมาะสม 1.6 มีการเนนขอความที่สําคัญดวยสี หรือ ขนาด ที่แตกตาง 1.7 ขอความแตละหนามีความยาวที่เหมาะสม
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 84
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
ตารางแจกแจงรายละเอียดการแกไขงาน
ชวงระยะเวลา หรือ สไลดบรรยายที่
เสียงประกอบ
ภาพประกอบ
วิดีโอประกอบ
อื่น ๆ
ตารางแจกแจงรายละเอียดการแกไขงาน ชวงระยะเวลา หรือ สไลดบรรยายที่
เสียงประกอบ
ภาพประกอบ
วิดีโอประกอบ
อื่น ๆ
อาจารยผูสอนประจําวิชา
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
(...................................................................) ................................................................... วันที่ ........../........../.......... หนา 85
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
นอกจากการผลิตบทเรียนขางตนแลว ยังไดมีการผลิตสื่ออีกประเภทหนึ่ง เปนการบันทึกการเรียน การสอนในหองเรียนเพื่อนํามาใชเปนสื่อเสริมใหกับผูเรียนในการทบทวนเนื้อหาบทเรียน โดยมีรายละเอียดดังนี้ วิธีการผลิตแบบเดิม ทางสํานักการจัดการศึกษาออนไลนใชโปรแกรม Camtasia Studio ในการบันทึกการเรียนการสอนใน หองเรียน เสร็จแลวนําไฟลที่ทําการบันทึกมาปรับแตงเสียงและเพิ่มตารางเนื้อหา (TOC) เพื่องายตอนักศึกษา ในการเลือกเรียนเนื้อหาไดตามอัธยาศัย ขอจํากัดของการบันทึกการเรียนการสอนดวยโปรแกรม Camtasia Studio คือ เรื่องของการสิ้นเปลือง เวลาและบุคลากรที่จะทําการนําไฟลที่บันทึกการเรียนการสอนจากหองเรียนมาทําการผลิตแลวนําขึ้นระบบ ซึ่ง มีไฟลจํานวนมากการผลิตมีความลาชาเนื่องจากจํานวนบุคลากรที่มีอยู ทําใหเนื้อหาที่ผลิตไมสามารถนําขึ้น ระบบไดตามเวลาที่กาหนดไว
วิธกี ารผลิตแบบใหม (อยูในขั้นตอนการดําเนินการ) ทางสํานักการจัดการศึกษาออนไลน ไดทําการทดสอบโปรแกรม Camtasia Relay ซึ่งเปนโปรแกรมที่ งายในการบันทึกสื่อการเรียนการสอนและยังสามารถนําขึ้นระบบไดทันตามเวลาที่กาหนด โดยการทํางานของ Camtasia Relay โดยการบันทึกจะทํางานอยูบนเครื่องของผูนําเสนอ หรือผูสอนจากนั้นจะทําการสงไฟลขึ้นไป ยังเครื่อง Server เพื่อทําการ Produce ไฟล แลวทําการเผยแพรไปยังจุดหมายปลายทางที่เราตองการไดแบบ อัตโนมัติ ทําใหการผลิตสื่อดวยโปรแกรมนี้ใชบุคลากรที่เกี่ยวของคอนขางนอยในระยะยาว ขอดี โปรแกรม Camtasia Relay เปนโปรแกรมที่จะบันทึกและทําการเผยแพรการบรรยายหรือ การนํ าเสนอของอาจารย ผูสอน เนื้ อหาที่อาจารย ผูสอนทํ า การสอนในห อ งเรี ย นหรือวิ ทยากรอบรมใหกับ บุคลากรไดทุกที่ทุกเวลา ไมวาจะเปนหองเรียน หองประชุม โตะทํางาน หรือแมกระทั่งที่บานของเราเอง และ สามารถนําขึ้นระบบไดทันเวลาที่ตองการ
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 86
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
ภาพที่ 30 ตัวอยางการทํางานของโปรแกรม Camtasia Relay
ภาพที่ 31 System Architecture ของระบบ
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 87
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 88
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
ภาพที่ 32 บทเรียนทีบ่ ันทึกดวยโปรแกรม Camtasia Relay
ในการผลิตสื่อการเรียนนั้น มหาวิทยาลัยศรีปทุมยังไดมีการบริการวิชาการตอสังคม จากโครงการ พัฒนาคอรสแวรดานเทคนิคการจัดการเรียนการสอนสําหรับคณาจารยในระดับอุดมศึกษา โดยเครือขาย ภาคกลางตอนบน (ดูอางอิงจากภาคผนวก จ.) มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดเปนสวนหนึ่งในการผลิตคอรสแวร โดย สํานักการจัดการศึกษาออนไลนรวมกับคณะดิจิตอลมีเดีย พัฒนาคอรสแวร ใน Module 1 : เทคนิคการสอน ที่ไมใชการบรรยาย หัวขอ Project-based Learning จนไดรับคําชื่นชมและไดรับการคัดเลือกเปนสื่อตัวอยาง ในการนําเสนอตอแมขายผูดูแลการผลิตสื่อ (โครงการดังกลาวยังอยูระหวางการดําเนินการ)
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 89
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 90
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
ภาพที่ 33 ตัวอยาง สื่อ Project-based Learning
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 91
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
4.4 การจัดการเรียนและการสอนแบบอีเลิรนนิง ปจจุบันการจัดการเรียนและการสอนแบบอีเลิรนนิงของมหาวิทยาลัยศรีปทุม ไดนํา e-Learning ไปใช ประกอบการจัดการเรียนการสอน ดังนี้ 1. สื่อเสริมการเรียนการสอน (Supplementary) หรือการนําเนื้อหาบทเรียน ไปใชในลักษณะของ สื่อเสริมการเรียนการสอน นักศึกษาสามารถเขาเรียนไดตามอัธยาศัย หรือกลับไปเรียนทบทวนไดเมื่อไมเขาใจ เปนการจัดหาทางเลือกใหมอีกทางหนึ่งสําหรับผูเรียนในการเขาถึงเนื้อหาเพื่อใหประสบการณพิเศษเพิ่มเติมแก ผูเรียน โดยการจัดการเรียน e-Learning แบบสื่อเสริม เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนในระบบปกติ โดยมี สํ า นัก การจัด การศึ ก ษาออไนลนร ว มกับ สํ า นั ก การจั ด การศึก ษาทั่ ว ไปร ว มกั น ดู แ ลเนื้อ หาวิช าที่จ ะช ว ยให การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นในทุกๆ รายวิชา โดยเฉพาะในวิชาที่มีปญหาในการเรียนรูของนักศึกษา เชน วิชาภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร ฟสิกส และเคมี เปนตน
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 92
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
ภาพที่ 34 ตัวอยางบทเรียนที่ใชเปนสื่อเสริม ในระบบ LMS Moodle
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 93
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
2. สื่ออีเลิรนนิงเติมเต็มการเรียน (Complement) เทียบเคียงไดกับการเรียนการสอนแบบ ผสมผสาน (Blended/Hybrid) ซึ่งหมายถึง การใชอีเลิรนนิง (e-Learning) เปนขั้นตอนหนึ่งในกระบวน การเรียนการสอน นอกจากการบรรยายในหองเรียนแลว ยังออกแบบเนื้อหาใหผูเรียนเขาไปศึกษาเนื้อหา เพิ่มเติมจาก e-Learning โดยเนื้อหาที่ผูเรียนเรียนจาก e-Learning อาจารยผูสอนไมจําเปนตองสอนซ้ําอีก แต สามารถใชเวลาในชั้นเรียนอธิบายในเนื้อหาที่เขาใจไดยาก คอนขางซับซอน หรือเปนคําถามที่มีความเขาใจผิด บอย ๆ นอกจากนี้ ยังสามารถใชเวลาในการทํากิจกรรมที่เนนใหผูเรียนไดเกิดการคิดวิเคราะหแทนได โดยสื่อที่ ใชในการจัดการเรียนแบบนี้ ผลิตโดยโปรแกรม Adobe Flash เปนหลัก เปนบทเรียนที่นําเสนอในลักษณะสื่อ หลายมิติ มีการปฏิสัมพันธกับผูเรียน สามารถชวยในการถายทอดเนื้อหาไดใกลเคียงกับการสอนจริงของ อาจารยผูสอนโดยสมบูรณได ซึ่งสื่อนี้จะมีความนาตื่นเตนชวนใหศึกษามากกวาบทเรียนปกติ เนื่องจากตอง จัดทําอยางพิถีพิถันและยอยเนื้อหาใหชัดเจนกระจางตอความเขาใจโดยงาย เพื่อการเรียนรูดวยตนเอง
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 94
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
ภาพที่ 35 ตัวอย ว างบทเรียนสื น ่อเติมเต็มกาารเรียน ในระบบบ LMS Mooodle ห อแบบผสมผสาน ในนการจัดการเรีรียนการสอนใในแบบสื่ออีเลิรนนิงเติมเต็มการเรียน (Coomplement) หรื (Blendedd/Hybrid) นี้ มหาวิทยาาลัยศรีปทุมไดดมีหลักสูตรทีที่กําลังดําเนินการเป น ดรับสมัครการเรียนแบบ น ผสมผสานนในหลักสูตรนินิติศาสตรมหาบัณฑิตแลว และยั แ งไดเริ่มการจั ก ดหลักสูตรอบรมออนไลลนกับคณะบัญชี ญ ซึ่ง เปนหลักสูตรระยะสั้น 6 รายวิชา ซึ่งได ง มีการเริ่มบันทึกการสอนนในชวงเดือนธธันวาคม 25553 ที่ผานมา และมี ขอตกลงเบืบื้องตนเพื่อกาารดําเนินการในหลักสูตรมหหาบัณฑิตดานบริ น หารธุรกิจแล แ ว (ดูภาคผนนวก ฉ.)
E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 95
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
ภาพที่ 36 การเรียนแแบบผสมผสานในหลักสูตรนินิติศาสตรมหาาบัณฑิตแบบอีอีเลิรนนิง
E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
หนา 96
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
สําหรับกิจกรรมในระบบจัดการเรียนการสอน Learning Management System (LMS)แบบ Blended/Hybrid นั้น จะประกอบไปดวยกิจกรรมที่มีปฏิสัมพันธกับผูเรียนโดยเนนผูเรียนเปนจุดศูนยกลาง การเรียนรู ประกอบดวย o ประมวลผลรายวิชา o บทคัดยอรายวิชา o บทคัดยอประจําสัปดาห o เนื้อหาประจําสัปดาห o เอกสารประกอบการบรรยาย o กิจกรรมการเรียนการสอน • กระดานถามตอบอาจารยประจําสัปดาห • กระดานสนทนาระหวางผูเรียน • แบบทดสอบ • การบาน นอกจากการจัดการเรียนการสอนทั้ง 2 แบบแลว มหาวิทยาลัยศรีปทุมจะทําหลักสูตรอีเลิรนนิงที่คืน กําไรใหสังคม เชน การสอนภาษาอังกฤษ การอบรมคอมพิวเตอร การใชซอฟแวรอยางงาย หรือเนื้อหาตางๆ ที่ คิดวามีประโยชนตอสังคมซึ่งทุกคนสามารถเขามาเรียนรูไดฟรี
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 97
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
4.5 การประเมินการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิง มหาวิทยาลัยศรีปทุม ไดมีการจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิงในรายวิชาตางๆ ทั้งที่เปนในลักษณะ ของสื่อเติมเต็มและสื่อเสริม การประเมินการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิง จึงเปนสวนประกอบสําคัญที่จะทําให การเรียนแบบอีเลิรนนิงเปนการเรียนที่สมบูรณแบบและเกิดประสิทธิภาพสูงสุดตามกระบวนการเรียนรูของ ผูเรียน ดังนั้นการเรียนแบบอีเลิรนนิงของมหาวิทยาลัย จึงมีวิธีการประเมินผลผูเรียน ดังนี้ - การประเมินดวยแบบทดสอบ เปนการประเมินการเรียนรูของผูเรียนดวยตนเองในอีเลิรนนิง โดยการทําแบบทดสอบกอนเรียน และ แบบทดสอบหลังเรียน โดยแบบทดสอบออนไลนนี้ อาจารยผูสอนจัดทําไวในระบบ เมื่อผูเรียนเขาเรียนแตละ รายวิชาก็มีแบบทดสอบกอนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียนใหผูเรียนทํา โดยระบบบริหารการเรียน Moodle จะเรียกขอสอบที่จะใชมาจากระบบบริหารคลังขอสอบ (Test Bank System) และเมื่อทําแบบทดสอบเสร็จสิ้น ทางระบบจะทําการประเมินผลการสอบใหผูเรียนทราบทันที หรืออาจปรับระบบใหผูเรียนทราบในภายหลังก็ได ซึ่ ง การประเมิ น ดว ยแบบทดสอบนี้ จะเป น สว นย อยที่ร วมอยู ใ นระบบบริห ารจั ด การเรี ย นการสอน (LMS) Moodle ที่มหาวิทยาลัยใชอยูนั่นเอง
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 98
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
ภาพที่ 37 แบบทดสอบกอนเรียนในระบบบริหารจัดการเรียนการสอน
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 99
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
ภาพที่ 38 หนาเพจของผลคะแนนการทําแบบทดสอบกอนเรียนของผูเรียน โดยระบบคลังขอสอบนี้ มีขอดี คือ -
ระบบการสรางขอสอบเพื่อการประเมินผลผูเรียนทําไดงา ย
-
ควบคุมเวลาการสอบไดงาย
-
สามารถใหขอมูลยอนกลับ (Feedback) คะแนน ผลการสอบใหแกผูเรียนไดงายและรวดเร็ว
-
มีระบบจัดเก็บขอมูล และติดตามการเรียน (Tracking) และทํากิจกรรมตางๆของผูเรียน สําหรับนํามาวิเคราหขอมูลภายหลังได
-
สามารถนําขอมูล จากสถานการณตางๆ ทีอ่ ยูในระบบเครือขายอินเทอรเน็ตมาใชสราง ความนาสนใจในการเรียนการประเมินผลได
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 100
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
5. การสนับสนุนอาจารย 5.1 การสนับสนุนและอํานวยความสะดวกดานการผลิตสื่อดิจิตอล มหาวิทยาลัยศรีปทุม ไดสนับสนุน สงเสริมใหอาจารยทุกทานมีคอมพิวเตอร Notebook ใชงาน เพื่อใช ในการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนของตนเอง ตามนโยบายของมหาวิทยาลัยที่มุงสูการเปนมหาวิทยาลัยชั้นนํา ดาน ICT ดวยการจัดโครงการใหกูยืมเงินซื้อ Notebook สําหรับอาจารย และมีหนวยงานตางๆ ในการสนับสนุนและอํานวยความสะดวกแกอาจารยผูสอนดานการผลิตสื่อ ดิจิตอล โดยมีสํานักการจัดการศึกษา คณะดิจิตอลมีเดียออนไลน และศูนยมีเดีย ใหบริการผลิต Content ใน รูปแบบสื่อ Multimedia อีกทั้งยังบริการใหคําปรึกษาในการออกแบบและผลิตสื่อดิจิตอล และมีศูนย ICT ใหบริการแปลงไฟล (Convert) และตัดตอวิดีโอ (VDO) การสอนของอาจารย เพื่อผลิตเนื้อหา (Content) ใน รูปแบบของสื่อ Digital & Multimedia อีกดวย มี ก ารพั ฒ นาอาจารย ผู ส อนในการผลิ ต สื่ อ ให มี ค วามรู ค วามสามารถ และมี ค วามพร อ มใน การดําเนินการ โดยมีผูเชี่ยวชาญทั้งในและนอกมหาวิทยาลัยมาเปนวิทยากรบรรยายแลกเปลี่ยนเรียนรู ใน รูปแบบตางๆ ทั้งการฝกอบรม การสัมมานาวิชาการ และการประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อใหการศึกษาแบบ e-Learning ของมหาวิทยาลัยศรีปทุมเปนไปไดอยางมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพสูง ดังตอไปนี้ โครงการ ฝกอบรม “การพัฒนาสื่อการสอนและติดตั้งใชงานผานระบบการจัดการศึกษาออนไลน มหาวิทยาลัยศรีปทุม ” เพื่อใหการพัฒนาระบบการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน ภายในมหาวิทยาลัยศรีปทุม มีศักยภาพ สูงสุด การพัฒนาสื่อการเรียนที่มีคุณภาพ จึงเปนเรื่องที่มีความสําคัญเปนอยางมาก แตดวยรูปแบบการพัฒนา ที่แตกตางกันออกไปจึงทําใหไดคุณภาพของสื่อที่มีคุณภาพแตกตางกัน โดยเครื่องมือที่ใชในการพัฒนานั้นก็จะ มีระดับความยากงายในการใชงานที่แตกตางกันออกไปดวยเชนกัน ดวยตระหนักถึงปญหาดังกลาว สํานักการ จัดการศึกษาออนไลน จึงมีแนวคิดในการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ดวยการผสมผสานจากเครื่องมือที่มี คุณสมบัติที่งายตอการใชงาน ทําใหสามารถพัฒนาสื่อการเรียนการสอนที่มีคุณภาพไดในระยะเวลาอันรวดเร็ว เพื่อลดระยะเวลาในการทํางานและสรางความสะดวกสบายในการพัฒนาเนื้อหาของทานคณาจารย สํานักฯ จึงจัดการบรรยายประจําเดือนมีนาคม 2554 ในหัวขอ “การพัฒนาสื่อการสอนและติดตั้งใชงานผานระบบ การจัดการศึกษาออนไลน มหาวิทยาลัยศรีปทุม” เพื่อสรางทางเลือกในการพัฒนาสื่อในดานตางๆ ของคณาจารย ภายในมหาวิทยาลัยศรีปทุม ใหมี ความสะดวกและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น และไดสื่อการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ เพื่อประกอบการบรรยาย และนํา ขึ้นสูระบบเพื่อเสริมในการเรียนการกสอนในกิจกรรมตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 101
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
วิทยากรผูบรรยาย ‐ อาจารยวรสรวง ดวงจินดา ‐ นางสาวปทมา เหมียนคิด
รักษาการผูอํานวยการสํานักการจัดการศึกษาออนไลน Senior Instructional & Content Designer
การฝกอบรมการใชงานโปรแกรมบันทึกการสอนและเขาใชงานระบบ e-Learning การจั ด ฝ ก อบรมการใช ง านโปรแกรมบั น ทึ ก การสอนและเข า ใช ง านระบบ e-Learning ของ มหาวิท ยาลัย ศรี ปทุ ม ให แกอาจารย เ ขาใหม เพื่อใหรับ ทราบในนโยบายการบัน ทึ กการสอนและสามารถ ดําเนินการผลิตสื่อใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน ในวันปฐมนิเทศบุคลากรใหมในแตละเดือน โดยมีคุณอชิรญา ทาบโลหะ เปนวิทยากร โครงการโปรแกรม Moodle เพื่อผลิตคลังขอสอบ เมื่อวันที่ 8-11 กุมภาพันธ 2554 สํานักงานวิชาการ ไดมีการจัดฝกอบรมโปรแกรม Moodle เพื่อผลิต คลังขอสอบ แกอาจารยผูสอน แนะนําการเขาใชงานระบบ e-Learning และระบบบริหารจัดการเรียนการสอน (LMS) Moodle และระบบ Moodle Test Bank การสรางขอสอบและการวิเคราะหผลสอบ 5.2 การสนับสนุนและอํานวยความสะดวกดานการออกแบบการสอนอีเลิรนนิง มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดมีการสนับสนุนและอํานวยความสะดวกดานการออกแบบการสอนอีเลิรน นิง ของอาจารยผสู อน ดังนี้ ในการออกแบบการสอนแบบอี เ ลิ ร น นิ ง อาจารย ผู ส อนในแต ล ะรายวิ ช า จะมี นั ก ออกแบบระบบ การสอน สังกัดสํานักการจัดการศึกษาออนไลน คอยชวยเหลือ สนับสนุนและอํานวยความสะดวกอาจารย ผูสอนในการวางแผนจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิง และแนะนําแนวทางในการออกแบบการเรียนการสอน สําหรับอาจารย ไมวาจะเปนการออกแบบการจัดกิจกรรมในรายวิชา การออกแบบและเลือกใชเครื่องมือตางๆ บนอินเทอรเน็ตมาใชในการจัดการเรียนการสอน รวมทั้งการประเมินผลผูเรียน
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 102
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
5.3 การพัฒนาอาจารยดานการสอนแบบอีเลิรนนิง มหาวิทยาลัยศรีปทุม ไดมีการจัดฝกอบรมอาจารยดานการสอนแบบอีเลิรนนิงอยางสม่ําเสมอ ซึ่ง การพัฒนาอาจารยดานการสอนแบบอีเลิรนนิง โดยการฝกอบรมนั้น เปนกิจกรรมที่สําคัญ ที่ชวยใหคณาจารย ไดมีโอกาสเพิ่มพูนความรู ทักษะและประสบการณ รวมทั้งปรับปรุง เจตคติ และเทคนิคตางๆ ในการเรียน การสอน ซึ่งจะสงผลตอคุณภาพของนักศึกษา ดังโครงการตอไปนี้ โครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารเทคนิคการสอนแบบมืออาชีพ การจัดฝกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการสอน ดวยโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเทคนิคการสอนแบบมือ อาชีพ จัดขึ้นในวันที่ 4 พฤษภาคม 2554 ณ หองคอนเวนชั่น อาคาร 11 โดยมีรองศาสตราจารย ดร.พิมพันธ เดชะคุปต และ รองศาสตราจารยพเยาว ยินดีสุข
ภาควิชาหลักสูตรการสอนและเทคโนโลยีการศึกษา
คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย เปนวิทยากร เพื่อใหอาจารยมีทักษะในการจัดการเรียนการสอน อยางมีประสิทธิภาพและนําไปใชในการออกแบบการสอนแบบอีเลิรนนิงอีกดวย
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 103
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
ภาพที่ 39 บรรยากาศการฝกอบม โครงการเสริมใหคณาจารยมีความรูและความเชีย่ วชาญทางดานการเรียนการสอน เมื่อวันที่ 2 - 3 มิถุนายน 2554 สํานักงานวิชาการและสํานักการจัดการศึกษาออนไลน จัดโครงการ อบรม เรื่อง การใชโปรแกรม Camtasia Relay รวมกับ โปรแกรม Moodle ในการบันทึกการเรียนการสอน เพื่อ พัฒนาไปสูระบบการจัดการเรียนรูดวยสื่ออิเล็กทรอนิกส (e-Learning)
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 104
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
นนอกจากโครงกการฝกอบรมแลลว สํานักการจจัดการศึกษาอออนไลน มหาวิวิทยาลัยศรีปทุทม ไดดําเนินการให ก อาจารยของมหาวิ อ ทยาลลัยศรีปทุม ไดรับบัญชีผูใช Login L เขาสูระบบ ะ รายวิชาเเรียนตามอัธยาศัย เกิดการเรียนรู ตลอดชีวิต และคูมือ “แแหลงทรัพยากกรการเรียนรู” จากโครงกาารมหาวิทยาลััยไซเบอรไทย (TCU) ทําให ใ เกิด ประโยชนมากมายในกา ม ารพัฒนาตนเอองของอาจารยยผูสอน ซึ่งสงผลต ผ อคุณภาพพของนักศึกษาาอีกดวย
ย ธยาศัศัย ภาพที่ 40 หนาเว็บไซตโครงกการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทยย (TCU) การเเขารายวิชาเรียนตามอั
E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
ห า 105 หน
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
6. การสนันับสนุนนักศึกษา ก 6.1 ระะบบแนะนําวิธีกี ารเรียน การสื ก ่อสาร การใชเครื่องมืมือสื่อสาร การศึกษาแบบ e-Learning (อี ( เลิรนนิง) จําเป า นตองมีบริการสนับสนุนพิ น เศษมหาวิทยาลั ท ยศรีปทุมจึ ม งได มีระบบที่เรี เ ียกวา “โตะให ใ ความชวยเหหลือ (Help Desk)” หรือ “ศูนยรับโทรศัศัพท (Call Center)” เบอรติติดตอ ภายใน 33333 ใหนักศึกษาสามารถอี ษ เมล ม หรือโทรศัพท พ ขอความชวยเหลื ว อไดตลออดเวลา มีระบบแนะนําวิธิ ีการเรียนแบบบอีเลิรนนิง โดยได โ จัดทําเปปนคูมือแนะนํนําวิธีการเรียนแบบอี น เลิรนนิงไว ง ใน ห ดการเรียนการสอน ย ( (LMS) ของมหาวิทยาลัยโดยเข โ า ไปที่ http://elearnin h ng.spu.ac.th/ หรือ ระบบบริหารจั สามารถเขขาถึงไดจากหนนาเว็บมหาวิทยาลั ท ย หัวขอ นักศึกษา เลือก อ คูมือการใชชงานบทเรียนสํสําหรับนักศึกษา ษ
E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
ห า 106 หน
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
ภาพที่ 411 หนาเพจคูมือแนะนํ อ าการใชชงานเครื่องมือ และวิธีการเเรีียนแบบอีเลิรรน นิง นนอกจากแนะนํนาวิธีการเรียนแแบบอีเลิรนนิงที ง ่จัดทําไวบนระบบบริ น หารจจัดการเรียนการสอน (LMSS) แลว ยังมีการประชาสัมพันธการเขาใชงานนระบบอีเลิรนนิงเพื่อทบทวนนเนื้อหาบนสื่อ Digital Signnage ตามจุดต ด างๆ ท ย ดวยรูปแบบการนํ ป าเสสนอที่โดดเดน สวยงาม ชวยสร ย างความดึดึงดูดใจในการรรับชม และยังทํ ง าให ทั่วมหาวิทยาลั สามารถกกระจายขาวสาารไดเปนวงกวาง แสดงใหเห็นถึงความพพรอมในดานตางๆ ไมวาจะเปน Technology และความใสใจในการใหหขอมูลสนับสนุนแกนักศึกษา ษ
E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
ห า 107 หน
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
ภาพที่ 42 การประชาสัมพันธการเขาใชงานระบบอีเลิรนนิงบนสื่อ Digital Signage
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 108
โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554
6.2 ระบบสนับสนุนและใหคําแนะนําแกนักศึกษาแบบประสานเวลา (Synchronous/Real-Time) มีระบบสนับสนุนและใหคําแนะนําแกนักศึกษาแบบประสานเวลา เพื่อใหคําแนะนํา คําปรึกษา ถาม ตอบปญหาขอของใจของนักศึกษา ในลักษณะที่นักศึกษาและอาจารยผูสอนอยูรวมกันในเวลาเดียวกัน โดย ผานการสนทนาออนไลน ดวยหองสนทนาสด และ My Messenger บนระบบ LMS Moodle โดยระบบ สนับสนุนและใหคําแนะนําออนไลนนี้ เปนผลดีแกนักศึกษาที่ไมกลาแสดงความคิดเห็น หรือไมกลาถามขอ สงสัยในชั้นเรียน และเพื่อเปนเกร็ดความรูเพิ่มเติมนอกเหนือจากการเรียนในชั้นเรียน
ภาพที่ 43 ตัวอยางการสนทนาออนไลนบน My Messenger ของระบบ LMS Moodle
E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.
หนา 109
โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554
6.3 ระบบสนับสนุนุนและใหคําแนะนํ แ าแกนักศึ ก กษาแบบไไมประสานเววลา (Asynchrronous) โ านเครื่องมื ง อที่เรียกวา มีระบบสนับสนุนุนและใหคําแนนะนําแกนกั ศึกษาแบบไมประสานเวลา โดยผ ก งสามารถถบันทึกความรู ความกาวหนนาในการเรียน สะทอนความมคิด Webboarrd, E-mail นออกจากนีน้ ักศึกษายั ลงบน Weeblog หรือ Bloog ไดอีกดวย
ภาพที่ 44 Webbboard ในรายวิวิชา สําหรับผูเรี เ ยนพูดคุย ซัักถาม อาจารยยผูสอน ‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐ สิ้นสุดเอ อกสาร
E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.
ห า 110 หน