เอกสารประกอบการอภิปรายหัวข้ อ “เสียงจากหมูบ่ ้ านเพื่อการแก้ ปัญหาอย่างยัง่ ยืน” หลักสูตรประกาศนียบัตรชันสู ้ งการเสริมสร้ างสังคมสันติสขุ รุ่นที่ 5 4 กรกฎาคม 2557 สถาบันพระปกเกล้ า
ชุมชนศรั ทธาสร้ างพลังสันติภาพชายแดนใต้ พื ้นที่จงั หวัดชายแดนภาคใต้ อันประกอบด้ วยจังหวัดปั ตตานี ยะลา นราธิวาสและจังหวัดสงขลา บางส่วน เป็ นพื ้นที่ที่มีลกั ษณะเฉพาะที่มีเอกลักษณ์ของตนเอง นับถือศาสนาอิสลามเป็ นส่วนใหญ่ ใช้ ภาษา มลายูสาเนียงปาตานีในชีวิตประจาวัน ใช้ ตวั อักษรยาวีและอักษรรูมีในการสื่อสาร ดาเนินชีวิตในกรอบของ วัฒนธรรมอิสลามเป็ นหลักอ้ างอิงสาคัญในทุกอิริยาบถของชีวิต ปั ญหาความไม่สงบที่ เกิดขึ ้นในพื ้นที่ ส่วนหนึ่งอาจเกิดมาจากระบบที่ไม่มีความต่อเนื่องของการ บริหารจัดการของภาครัฐเอง และอีกส่วนหนึง่ เกิดจากการกระบวนการบริ หารจัดการของภาครัฐที่ไปกดทับ ด้ วยความไม่เข้ าใจในลักษณะเฉพาะของวิถีชีวิตที่ผูกโยงอย่างแนบแน่นระหว่างหลักทางศาสนากับทุก บริ บทของการดาเนินชีวิตของประชาชนในพื ้นที่ ทาให้ ก่อให้ เกิดความรู้สึกที่ไม่เป็ นธรรมเกิดขึ ้นมาในจิตใจ ยิ่งนานยิ่งสะสมมากขึ ้น หลายรัฐบาลที่ผา่ นมา พยายามแก้ ไขปัญหาด้ วยหลักคิดและวิธีการต่างๆมากมาย ส่วนมากเป็ นวิธีการแก้ ปัญหาเฉพาะหน้ าเป็ น ด้ านหลัก ทาให้ ขาดความต่อเนื่อง สามารถบรรเทาปั ญหาได้ ในระดับหนึ่งเท่านัน้ แต่ขาดความยัง่ ยืนในกระบวนการปฏิบตั ิ การดึงการมีส่วนร่วมจากประชาชนไม่เป็ น ผลสาเร็จเท่าที่ควร อาจจะเป็ นเพราะมีข้อจากัดในระบบมากมาย ทังๆที ้ ่พยายามทุ่มเทเม็ดเงินงบประมาณ เพื่อการแก้ ไขปัญหาจานวนมากไปแล้ วก็ตาม ก็ไม่ทาให้ ประสบผลสาเร็จที่ยงั่ ยืนได้ ในขณะเดียวกันด้ วยเหตุปัจจัยและเงื่อนไขที่มีอยู่ ยังไม่ได้ รับการคลี่คลายแก้ ไขให้ ตรงจุดและการ ปฏิบตั ิการยังไม่สอดคล้ องกับบริ บทวิถีชีวิตประชาชนเท่าใดนัก การมองปั ญหาอาจยังไม่เป็ นเอกภาพ การ กาหนดทิศทางในการปฏิบตั ิการรวมถึงการดาเนินการตามเอกสารนโยบายยังไม่สามารถบูรณาการได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะที่ยุทธศาสตร์ สาคัญของกระบวนการแก้ ไขปั ญหาพื ้นที่ชายแดนภาคใต้ ต้อง อาศัยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนที่มีแนวทางการดาเนินงานที่สอดคล้ องเชื่อมโยงกัน ได้ แก่ภาคส่วนบน ที่เป็ นคณะรัฐบาลรวมทังส่ ้ วนราชการระดับสูง ภาคส่วนระดับกลางที่เป็ นนักวิชาการ นักธุรกิจ ภาคประชา สังคมที่มีจิตอาสา และระดับล่างสุดที่เป็ นผู้นาชุมชนและประชาชนรากหญ้ า ต้ องมียทุ ธศาสตร์ ร่วมและมี ส่วนแบ่งในการขับเคลื่อนงานตามแต่บทบาทของแต่ละฝ่ ายอย่างประสานเชื่อมโยงกัน ดังนันจึ ้ งจะสามารถ ต่อยอดกิจกรรมและเกื ้อหนุนซึง่ กันและกันได้ อันจะนาไปสูก่ ระบวนการสร้ างสันติภาพที่ยงั่ ยืนในที่สดุ ตลอดระยะเวลา 10 ปี ที่ผา่ นมา คนทางานในพื ้นที่ที่มีบทบาทเกี่ยวข้ องกับการแก้ ไขสถานการณ์ทงั ้ ในส่วนของภาคราชการและภาคประชาสังคมต่างได้ รับประสบการณ์และมีบทเรี ยนจากการปฏิบัติง าน อย่างหลากหลายอยูไ่ ม่น้อย ในขณะเดียวกันทังสองภาคส่ ้ วนมีข้อจากัดและบริบทการทางานที่ตา่ งกัน จึงมี ผลลัพธ์ และผลกระทบที่แตกต่างกัน ควรนาปั จจัยและเงื่อนไขเหล่านี ้ของแต่ละภาคส่วนมาวิเคราะห์และ ถอดบทเรี ยนการทางานให้ เห็นแนวโน้ มที่ชดั เจน จนสามารถยกระดับการทางานและสร้ างความร่วมมือใน
1
เอกสารประกอบการอภิปรายหัวข้ อ “เสียงจากหมูบ่ ้ านเพื่อการแก้ ปัญหาอย่างยัง่ ยืน” หลักสูตรประกาศนียบัตรชันสู ้ งการเสริมสร้ างสังคมสันติสขุ รุ่นที่ 5 4 กรกฎาคม 2557 สถาบันพระปกเกล้ า
การคลี่ คลายสถานการณ์ ที่ดีขึน้ และจากการศึกษาเรี ยนรู้ บทเรี ยนการสร้ างกระบวนการสันติภาพจน สามารถประสบความสาเร็ จในการยุติความรุนแรงจากประเทศเพื่อนบ้ าน ได้ แก่ กรณีของพื ้นที่อาเจะห์ใน ประเทศอินโดนีเซีย และกรณี พืน้ ที่มินดาเนาของประเทศฟิ ลิปปิ นส์ จะเห็นว่านอกจากการมีเจตจานงที่ มุ่งมัน่ เพื่อสันติภาพของผู้นาประเทศหรื อคณะรัฐบาลแล้ ว ภาคประชาสังคมและประชาชนมีส่วนสาคัญ อย่างยิ่งในการสร้ างความต่อเนื่องให้ กับกิจกรรม ซึ่งเป็ นรากฐานสาคัญที่มีผลต่อการหนุนเสริ มในการ ขับเคลื่อนกระบวนการพูดคุยเจรจาสันติภาพต่อไป จากประสบการณ์การทางานของภาคประชาชนในนามของเครื อข่ายชุมชนศรัทธา กัมปงตักวาใน พื ้นที่อย่างใกล้ ชิดตลอดระยะเวลา 10 ปี ที่ผ่านมาได้ เรี ยนรู้วิถีชีวิตความเป็ นอยู่ ได้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น กับประชาชนทังในเมื ้ องและชนบท ได้ ทราบถึงสาเหตุของปั ญหาและแนวทางแก้ ไขค่อนข้ างชัดเจน ซึ่งสิ่งที่ ประชาชนให้ ความสนใจและรู้สึกอึดอัดใจมากที่สดุ มีอยู่ 2 ประการหลัก ประการแรกเกี่ยวกับความเป็ นชน ชาติมลายู เป็ นความแตกต่างของประชาชนในพืน้ ที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ กับประชาชนส่วนใหญ่ของ ประเทศ ประชาชนรู้สกึ ถึงความได้ เปรี ยบเสียเปรี ยบ ได้ รับการปฏิบตั จิ ากทังเจ้ ้ าหน้ าที่ของรัฐหรื อผู้นาชุมชน ที่ได้ รับการแต่งตังจากรั ้ ฐอย่างไม่เท่าเทียมกัน โดยเฉพาะประเด็นของการใช้ ภาษามลายูซึ่งเป็ นภาษาแม่ ไม่ได้ รับการยกระดับการพัฒนาจากรัฐเท่าที่ควร ประการที่สองเกี่ยวกับการปฏิปัติตามหลักการของศาสนา อิสลาม ซึ่งเป็ นหลักการสูงสุดที่ครอบคลุมทุกอิริยบทของการดาเนินชีวิต ประชาชนรู้ สึกว่าไม่ได้ รับการ ปฏิบตั ิที่จริ งใจจากรัฐ มักจะถูกปฏิบตั ิในลักษณะที่เป็ นอุปสรรคต่อการพัฒนาทังในแง่ ้ ของด้ านการศึกษา ด้ านเศรษฐกิจ หรื อด้ านสังคมอื่นๆของประชาชนให้ มีความสอดคล้ องกับความเป็ นอยูข่ องตน ด้ วยเหตุนี ้ เพื่อเป็ นการลดข้ อจากัด เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้ กระบวนการแก้ ไขปั ญหา ของภาครัฐในอีกด้ านหนึง่ ควรให้ โอกาสแก่ภาคประชาสังคมหรื อภาคประชาชนในการเข้ ามามีบทบาทเคียง บ่าเคียงไหล่ในการแก้ ไขปั ญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ กันอย่างจริ งจัง โดยภาครัฐควรมีบทบาทในการ อานวยความสะดวกหรื อหนุนเสริ ม ในสิ่ ง ที่ ภ าคประชาสัง คมขาดแคลน ซึ่ง ควรเป็ นไปในลักษณะขจัด จุดอ่อนซึง่ กันและกัน ผลในที่สดุ เราจะได้ ประชาชนทุกหมู่เหล่าเข้ ามามีส่วนร่วมอย่างแท้ จริง ซึง่ เป็ นกุญแจ สาคัญที่สดุ ของการแก้ ปัญหาในครัง้ นี ้
2
เอกสารประกอบการอภิปรายหัวข้ อ “เสียงจากหมูบ่ ้ านเพื่อการแก้ ปัญหาอย่างยัง่ ยืน” หลักสูตรประกาศนียบัตรชันสู ้ งการเสริมสร้ างสังคมสันติสขุ รุ่นที่ 5 4 กรกฎาคม 2557 สถาบันพระปกเกล้ า
ทัง้ นี ใ้ นระดับ นโยบายทุก รั ฐ บาลยอมรั บ เป็ น เสี ย งเดี ย วกัน ว่ า ต้ อ งใช้ ห ลัก การ “การเมื อ งน า การทหาร” หรื อ “ใช้ กระบวนการสันติวิธี” ในการแก้ ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ จึงจะนาพาความสงบที่ แท้ จริ งได้ ซึ่งในเวลาต่อมานาไปสู่กระบวนการพูดคุยเจรจาระหว่างฝ่ ายรัฐบาลกับกลุ่มผู้ก่อการเพื่อแก้ ไข ความไม่สงบและนาไปสู่การสร้ างสันติภาพในระยะยาวต่อไป แต่ในทุกกิจกรรมของกระบวนการสร้ าง สันติภาพในระดับรัฐภาคส่วนบนจาเป็ นต้ องอาศัยแรงสนับสนุนจากประชาชนระดับล่างสุด โดยเฉพาะ ประชาชนในพื ้นที่ที่สมั ผัสกับเหตุการณ์โดยตรงในทุกขณะ จาเป็ นอย่างยิ่งที่จะต้ องให้ ประชาชนเหล่านี ้เข้ า มามีส่วนอย่างสาคัญในกระบวนการออกแบบและดาเนินกิจ กรรมด้ วยตนเองด้ วย โดยเฉพาะในระดับ หมูบ่ ้ าน/ชุมชน โดยมีเป้าหมายร่วมกันเพื่อคืนสูส่ นั ติภาพที่ยงั่ ยืนให้ แก่บ้านเกิดเมืองนอนของตนเอง ประมวลโดยสรุปแล้ วปัจจัยและเงื่อนไขแห่งความสาเร็จสู่กระบวนการสร้ างสันติภาพอย่างยัง่ ยืน สาหรับพื ้นที่จงั หวัดชายแดนภาคใต้ มีดงั นี ้ 1. การเข้ าใจรากเหง้ าของปั ญหาอย่างแท้ จริง 2. การมีมมุ มองต่อปัญหาที่สอดคล้ องและเป็ นเอกภาพให้ มากที่สดุ 3. การแสดงเจตจานงสันติภาพที่มงุ่ มัน่ ของระดับนโยบาย 4. ความจริงจังในการปฏิบตั ิตามเอกสารนโยบายสันติภาพ 5. การมีสว่ นร่วมจริงของภาคประชาสังคมและภาคประชาชน 6. ชุมชนมีความเข้ มแข็งสามารถดูแลบริหารจัดการชุมชนของตนเองได้ 7. ทุกระดับทุกภาคส่วนมีการทางานที่ประสานเชื่อมโยงกันอย่างบูรณาการเป็ นเอกภาพ
3
เอกสารประกอบการอภิปรายหัวข้ อ “เสียงจากหมูบ่ ้ านเพื่อการแก้ ปัญหาอย่างยัง่ ยืน” หลักสูตรประกาศนียบัตรชันสู ้ งการเสริมสร้ างสังคมสันติสขุ รุ่นที่ 5 4 กรกฎาคม 2557 สถาบันพระปกเกล้ า
8. การปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมของภาคส่วนราชการให้ สอดคล้ องกับบริ บทของพื ้นที่
แนวทางของชุมชนศรั ทธา กัมปงตักวา “เครื อข่ายชุมชนศรัทธา กัมปงตักวาจังหวัดชายแดนใต้ ” เป็ นองค์กรที่กาเนิดจากความร่วมมือของ ภาคประชาชน ภาคประชาสังคมและนักพัฒนาเอกชน มาประมาณ 10 ปี ได้ ดาเนินงานสร้ างความเข็มแข็ง ให้ กบั หมูบ่ ้ าน/ชุมชน โดยเน้ นกระบวนการการสร้ างการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื ้นที่เป็ นหลักที่ได้ ยึดเอา สี่เสาหลักคือ ผู้นาท้ องที่ ผู้นาท้ องถิ่น ผู้นาศาสนา และผู้นาชุมชนตามธรรมชาติ ในการดาเนินงานการ พัฒนาชุมชนเชิงบูรณาการร่ วมกันเพื่อเสริ มสร้ างความเข้ มแข็งของชุมชนซึ่งแต่เดิมนันก่ ้ อนเกิดเครื อข่าย ชุมชนศรัทธานันสภาพของความร่ ้ วมมือการแก้ ไขปั ญหาพื ้นที่มีน้อยมาก ซึ่งจากเวทีการถอดบทเรี ยนใน พื น้ ที่ ห ลายพื น้ ที่ พ บว่า สาเหตุเ นื่ อ งจาก มี ก ารพัฒ นาจากภายนอก ชุม ชนขาดการเรี ย นรู้ และเป็ นผู้ กาหนดการพัฒนาด้ วยตัวเอง บทบาทการทางานเป็ นเชิงเดี่ยว ประสานงานน้ อย และการทากิจกรรมที่ขาด การมีสว่ นร่วมในชุมชน เหล่านี ้คือโจทย์สาคัญที่มีการค้ นหาวิธีการทางานร่วมกันซึง่ ในระยะต่อมาได้ จดั เป็ น เครื อข่ายชุมชนศรัทธาในปี 2550 และให้ ชมุ ชนเป็ นแกนหลักของการทางานร่วมมือและการสร้ างเครื อข่าย พื ้นที่มีจานวนชุมชน 200 พื ้นที่ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ สรุปสาระสาคัญโดยมีหลักคิดสาคัญ ประการแรก เพื่อสนับสนุนสร้ างเงื่ อนไขให้ ประชาชนมี จิตสานึกด้ วยการลุกขึน้ มาแก้ ปัญหาทุก ปั ญหาด้ วยตนเองโดยไม่ต้องรอการพัฒนาจากภายนอกทังหมด ้ โดยวิธีการที่ม่งุ หาทุนทางสังคมพื ้นที่มา เป็ นแนวทางในการพัฒนาชุมชนของตนเอง เช่น ศักยภาพของคน และความเข็มแข็งทางศาสนา ความรู้ ท้ องถิ่น ฯลฯ ที่สามารถนามาประกอบในการบริ หารจัดการกับพื ้นที่ในทุกๆด้ านด้ วยตนเอง และเกิดความรู้ ในการพัฒนาตนเองและการคิด ค้ นหากิจกรรมด้ วยตัวของชุมชนเองได้ รวมทังการสร้ ้ างความร่ วมมือกับ ภาคีภายนอกมาสนับสนุนชุมชน ประการที่ ส อง นาหลัก การศาสนามาบูรณาการใช้ กับการพัฒนา การศึกษา เศรษฐกิ จ สัง คม รวมทังการเมื ้ องการปกครอง เพื่อให้ หลักคุณธรรมในศาสนาได้ รับการปฏิบตั ินามาเป็ นแนวทางให้ เกิดหลัก ธรรมาภิบาลในการบริ หารจัดการบ้ านเมืองที่ดี และเป็ นเกราะป้องกันการกระทาที่เป็ นภัยต่อวิถีชีวิตความ เป็ นอยู่ของประชาชนเอง ซึ่งในจานวน 200 พื ้นที่ ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้ นาเอาหลักการทางศาสนา มาร่ วมแก้ ไขปั ญหาและทาให้ เกิดรู ปธรรมในการแก้ ไขปั ญหาได้ เช่น เกิดการทากิจกรรมด้ านศาสนาใน กลุ่มเยาวชน สร้ างเสริ มกลุ่มสตรี ให้ เข้ าใจการพัฒนาชุมชน เกิดกิจกรรมใหม่ๆ เช่น กิจกรรมกีรออาตีที่มี ส่วนร่วมมากขึ ้นระหว่างผู้สงู อายุ เยาวชนและคนทัว่ ไป การระดมทุนด้ วยศรัทธาทากิจกรรมสาธารณะ การ ดูแลซี่งกันและกัน
4
เอกสารประกอบการอภิปรายหัวข้ อ “เสียงจากหมูบ่ ้ านเพื่อการแก้ ปัญหาอย่างยัง่ ยืน” หลักสูตรประกาศนียบัตรชันสู ้ งการเสริมสร้ างสังคมสันติสขุ รุ่นที่ 5 4 กรกฎาคม 2557 สถาบันพระปกเกล้ า
การเสริ มสร้ างสังคมที่สงบสันติสุขให้ กับพืน้ ที่ ความรุ นแรงที่ยืดเยือ้ มาอย่างยาวนานในจัง หวัด ชายแดนภาคใต้ มีข้อสังเกตุและข้ อสรุ ปที่สาคัญคือ การผลักดันให้ คนทุกระดับชันต้ ้ องเข้ ามามีส่วนแบ่งใน การขับเคลื่ อนงานด้ วยตัวเองผ่านการมี ส่วนร่ วมกันที่เห็นชัดคือ การสร้ างงานพัฒ นาเอาสี่เสาหลักมา ร่วมกันคิดและออกแบบ มองหาต้ นทุนพื ้นที่เป็ นปั จจัยหลัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเริ่ มต้ นที่ฐานล่างสุด ทุก ภาคส่วนภาคีต้องเข้ ามาส่วนร่วมและเห็นความสาคัญในการกระตุ้นสร้ างความกระตือรื นร้ นของประชาชน ตังแต่ ้ ระดับรากหญ้ าขึน้ ไปมาร่ วมกันทาให้ เกิดกระบวนการพัฒนาพื ้นที่ที่สามารถแก้ ไขปั ญหาดังกล่าว ข้ างต้ นได้ ซึง่ การมองว่าทิศทางที่สอดคล้ องที่มองเห็นผลระยะยาวระหว่างภาคส่วนต่างๆและชุมชนศรัทธา กัมปงตักวาหากมีการดาเนินงานอย่างต่อเนื่องและบูรณาการงานระหว่างกัน จะเป็ นนวัตกรรมสาคั ญใน การสร้ างพลังสันติภาพให้ กับพื ้นที่ชายแดนภาคใต้ อย่างยัง่ ยืน รวมทังการเกิ ้ ดการขยายผลในอีกหลาย พื ้นที่ด้วยเช่นกัน เพื่อสร้ างสังคมที่สนั ติสขุ อันเป็ นเป้าหมายที่สาคัญ
ความคาดหวังของคนทางานชุมชนศรั ทธา กัมปงตักวา คนทางานเครื อข่ายชุมชนศรัทธา กัมปงตักวาทุกระดับเชื่อมัน่ ว่าแนวทางนี ้ เป็ นแนวทางที่ได้ ผ่าน การทดสอบจากการปฏิ บัติง านจริ ง ด้ วยตัวประชาชนเองและได้ พิสูจ น์ ถึงทิศทางการทางานมาแล้ วว่า ประชาชนมี ค วามเชื่ อ มั่น หากใช้ ห ลัก ศาสนามาเป็ น แนวทางในการแก้ ไ ขปั ญ หาความรุ น แรงในพื น้ ที่ ชายแดนภาคใต้ เพียงแต่เพิ่มเติมให้ ประชาชนได้ เกิดการเรี ยนรู้ในเชิงการปฏิบตั ิให้ มากขึ ้น โดยนาหลักการ ทางศาสนาลงสู่การปฏิ บัติที่เ ป็ นรู ปธรรมและสอดคล้ องกับสภาพชี วิตที่ ดารงอยู่จ ริ ง แต่ทัง้ นี ้ บทเรี ยน กระบวนการสร้ างสันติภาพทัว่ โลกได้ ชี ใ้ ห้ เห็นแล้ วว่า การสร้ างสันติภาพที่ยงั่ ยืนนันต้ ้ องอยู่บนพื ้นฐานของ การพูดคุยสร้ างความเข้ าใจต่อกัน และผู้คนในสัง คมทุกระดับต้ องมี ส่วนแบ่ง ในการขับเคลื่ อนงานใน
5
เอกสารประกอบการอภิปรายหัวข้ อ “เสียงจากหมูบ่ ้ านเพื่อการแก้ ปัญหาอย่างยัง่ ยืน” หลักสูตรประกาศนียบัตรชันสู ้ งการเสริมสร้ างสังคมสันติสขุ รุ่นที่ 5 4 กรกฎาคม 2557 สถาบันพระปกเกล้ า
กระบวนการนี ด้ ้ วยกัน จึง จะสามารถบรรลุ เป้าหมายแห่ง สันติภ าพได้ และประการส าคัญ ด้ วยวิ ธี ก าร ดังกล่าวนี ้ จึงจะสามารถดึงประชาชนเข้ ามามีสว่ นร่วมอย่างจริ งจัง ด้ วยความบริ สทุ ธิ์ใจ เครื อข่ายชุม ชนศรั ทธา กัม ปงตักวามี ความพร้ อมอย่างเต็ม เปี่ ยมที่ จ ะร่ วมกับทุกภาคส่วนเพื่ อ คลี่คลายสถานการณ์ ความรุ นแรงที่กาลังเกิดขึน้ ในพืน้ ที่ โดยขัน้ ตอนกระบวนการที่ เหมาะสมด้ วยวิ ทย ปั ญญา อันจะนาไปสู่การสร้ างความมัน่ คงเข้ มแข็ง ของประชาชน ด้ วยความรักความสามัคคี จึงหวังว่าจะ ได้ รับการสนับสนุนอย่างเต็มกาลัง จากสังคมในพื ้นที่และนอกพื ้นที่ ในการก่อร่างสร้ างพลังสันติภาพ สร้ าง สังคมเข้ มแข็งให้ กบั ประเทศชาติสืบไป
แวรอมลี แวบูละ เครื อข่ายชุมชนศรัทธา กัมปงตักวา จังหวัดชายแดนใต้ 64/14 หมูบ่ ้ านมัน่ คงปูโบ๊ ะ ตาบลตะลุโบะ อาเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี มือถือ : 084-8602929 อีเมล์ : waeromlee@hotmail.com
6