บทความเรื่อง หอไตรกลางน้ำวัดคูยาง ศิลปะท้องถิ่นอายุกว่า 160 ปี

Page 1


1

หอไตรกลางน้าวัดคูยาง ศิลปะท้องถิ่นอายุกว่า 160 ปี

หอไตรกลางน้​้า วัดคูยาง มรดกพุทธสถานแห่งจังหวัดก้าแพงเพชร จังหวัดก้าแพงเพชรเป็นเมืองมรดกโลก ที่มีแหล่งท่องเที่ยว และพุทธสถานอัน เป็นแหล่งความรู้ที่น่าสนใจ หอไตรกลางน้​้าวัดคูยาง เป็นอีกหนึ่งในความ วิจิตรบรรจงของศิลปกรรมงานช่างพื้นถิ่นสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พุทธสถาน เก่ า แก่ ที่ เ ป็ น แหล่ ง รวบรวมพระไตรปิ ฎ ก อั น เป็ น ที่ ร วบรวมค้ า สอนของ พระพุทธเจ้า อีกทั้งยังเป็นมรดกแห่งความศรัทธาของ 2 ชนเผ่า วัดคูยางวัดราษฎร์ฝ่ายมหานิกาย วัดคูยาง ตั้งอยู่ เลขที่ 27 ถนนราชด้าเนิน 1 ซอย 4 กับถนนวิจิตร ต้าบลในเมือง อ้าเภอเมือง จังหวัดก้าแพงเพชร สภาพเดิมเป็นวัดเก่าแก่มา ตั้งแต่โบราณ สันนิษฐานสร้างมาแล้วไม่น้อยกว่า 400 ปี จนถึงรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 จึงได้มีผู้ก่อสร้างวัดขึ้น ใหม่ในบริเวณเดิม


หอไตรกลางน้าวัดคูยาง ศิลปะท้องถิ่นอายุกว่า 160 ปี

หลายคนอาจจะยังไม่รู้ถึงความเป็นมาของหอไตรกลางน้​้าวัดคูยาง ซึ่ ง เป็ น แหล่ ง โบราณสถานที่ เ ก็ บ รวบรวมเรื่ อ งราว ภู มิ ปั ญ ญา ศิ ล ปะ วัฒนธรรม ความเป็นอยู่ และวิถีชีวิตของคนพื้นถิ่น ผู้เขียนบทความได้เล็งเห็น ถึงความส้าคัญของโบราณสถานแห่งนี้ จึงศึกษาข้อมูล การสร้างว่าสร้างขึ้น เพื่อวัตถุประสงค์ใด ท้าไมหอไตรจึงต้องสร้างไว้กลางน้​้า ความเป็นมาในการ เริ่มสร้าง ตั้งแต่อดีต ถึงปัจจุบัน และสามารถพบเห็นหอไตรกลางน้​้าแห่งอื่นได้ หรือไม่ เรือ่ งราวทัง้ หมดทีผ่ เู้ ขียนบทความได้เกริน่ น้าจะเป็นอย่างไรต้องติดตาม

2


3

หอไตรกลางน้าวัดคูยาง ศิลปะท้องถิ่นอายุกว่า 160 ปี

หางหงส์

ช่อฟ้า

ลักษณะหอไตรวัดคูยาง เป็นอาคารทรงไทยพื้นถิ่นก้าแพงเพชรสร้างด้วยไม้ หลังคามุงกระเบื้องเกล็ด ใต้ถุนสูง กว้าง 6 เมตร ยาว 12 เมตร ตั้งอยู่กลางคูน้า ภายในอาคารเป็นโถงโล่ง โถงกลางมีเสากลมรองรับ ด้านละสามต้น หลังคาโถงกลางเป็นทรงจั่ว มี ช่อฟ้าหางหงส์ ท้าด้วยปูนปั้นประดับอยู่รอบจั่วทั้งสองด้าน มีหลังคาปีกนกคลุมฝาหนังทั้งสี่ด้าน ฝาผนังเป็นแบบฝาปะกน ฝาผนังด้านข้างมีหน้าต่างข้างละสี่ช่อง ฝาผนังด้านหน้าและหลังมีประตูด้านละหนึ่งช่อง และมีหน้าต่างด้านละสองช่อง มี พาไล(มุขที่มีชายคาคลุม และมีเสารองรับ) ทั้งด้านหน้าและหลัง พาไล เป็นชั้นลดลงมาจากโถง มีบันไดขนาดสามขั้นพาดขึ้นไปสู่โถงใน ทั้งด้านหน้าและหลัง เฉพาะพาไลด้านหน้ามีนอกชานยื่นออกไปตรงกลางใช้เป็นที่พาดบันไดขนาดเจ็ ดขั้น เชื่อมต่อกับสะพานไปยังพื้นดิน


หอไตรกลางน้าวัดคูยาง ศิลปะท้องถิ่นอายุกว่า 160 ปี

4


5

หอไตรกลางน้าวัดคูยาง ศิลปะท้องถิ่นอายุกว่า 160 ปี

ก่อนจะเป็นวัดคูยาง วัดคูยาง ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 27 ถนนราชด้าเนิน 1 ซอย 4 ต้าบลในเมือง อ้าเภอเมืองก้าแพงเพชร สภาพเดิมเป็น วัดเก่าแก่มาตั้งแต่ครั้งโบราณกาล มีรากฐานอุโบสถและแท่น พระประธานซึ่ ง ก่ อ ด้ ว ยศิ ล าแลงหั น ไปทางทิ ศ ตะวั น ออก ตั้ ง อยู่ บ ริ เ วณวั ด เดิ ม อดี ต ด้ า นเหนื อ ของวั ด เป็ น ที่ ตั้ ง โรง ฝึ ก งาน ปั จ จุ บั น เป็ น โรงเรี ย นวั ด คู ย าง ซึ่ ง สมั ย ที่ เ ป็ น โรง ฝึกงานไม่ปรากฏหลักฐานว่าชื่ออะไร ใครเป็นผู้สร้าง สร้าง ในสมัยไหน แต่มีผู้สันนิษฐานว่าสร้างมาแล้วไม่น้อยกว่า 400 ปี จนถึ ง สมั ย รั ช สมั ย ของพระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ระหว่าง พ.ศ. 2394 – 2399 จึงได้มี ผู้สร้างวัดขึ้นใหม่ ในบริเวณที่ตั้งเดิมซึ่งมีเนื้ อที่ประมาณ 28 ไร่เศษ  ภาพพระวิหารหลวงหลังเก่า (ไม่ปรากฏว่าถ่ายเมื่อใด)

พระธรรมภาณพิลาส1 กล่าวว่า “เมื่อ พ.ศ. 2321

สมเด็จพระยามหากษัตริย์ศึก เป็นแม่ทัพไปปราบเมืองศรีสัต นาคนหุต ตีได้เมืองเวียงจันทร์และหลวงพระบางแล้วได้กวาด ตอนพวกเชลยมา ได้จัดให้ไปอยู่ตามหัวเมื องต่างๆ เฉพาะ เมืองก้าแพงเพชรนี้มี ชาวขมุ และ ยาง ทั้งชาวขมุ และ ยาง มาตั้งหลักปักฐานอยู่ทาง ปากคลองสวนหมาก ลงมาตาม ล้าแม่น้าปิง สร้างบ้านเรือนอยู่ทางใต้วัดพระบรมธาตุลงไป จนถึงคลองกร่าง ”

 พระธรรมภาณพิลาส (ฉายา อมโร)

 ภาพยายแหวว ผู้ให้ข้อมูลหอไตรวัดคูยาง

ผู้ เ ขี ย นบทความได้ สั ม ภาษณ์ ข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม จาก ยายแหวว2 “เมื่อสมัยก่อนแถวนี้มันจะเป็นบ้านหลังสูงนะ ใน

เมืองแถวนี้ส่วนมากจะเป็นคนจีนกับคนไทย ส่วนลาวหรือไอ้ที่ เค้าเรียกว่าขมุจะอยู่แถวๆนครชุมโน้นหนะ แล้วไอ้พวกยาง พวกกะเหรี่ย งนิจ ะอยู่แถวๆ ครองสวนหมากโน้นน่ะ ไล่ม า จนถึงคลองกร่าง คือคนที่เคยอยู่เก่าปลูกบ้าน มุงหญ้าคา มุง สังกะสี ก็ขายที่ดินหมดแล้ว ตอนนี้ก็เป็นของคนอื่น”  ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ ร.5 เสด็จประพาสต้นคลองสวนหมาก เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2448


หอไตรกลางน้าวัดคูยาง ศิลปะท้องถิ่นอายุกว่า 160 ปี

6

 รูปชาวขมุ (เวียงจันทร์)

ลักษณะนิสัย ชาวขมุเป็นผู้ที่รักความสงบ ไม่ชอบทะเลาะ วิวาท ขยัน อดทน ซื่อสัตย์ ชอบมีเพื่อฝูง มีการกินข้าวกินเหล้า ร่วมกัน ชาวขมุจะให้ความเคารพผู้เฒ่าผู้แก่ และญาติผู้ใหญ่ของ ตนอย่างเคร่งครัด  ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ ร.5 เสด็จประพาสต้นคลองสวนหมาก ภาษา ที่ชาวขมุใช้สันนิษฐานว่าอยู่ในกลุ่มภาษาออสโตร เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2448 เอเซียติค สาขามอญ-เขมร สาขาย่อยขมุอิค3 ลักษณะบ้า นเรือน ชาวขมุจะตั้งถิ่นฐานอยู่บนที่สูง ชอบ จากค้ากล่าวของพระธรรมภาณพิลาส และยายแหวว ได้กล่าวถึงการตั้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัยของชาวขมุ และ ยาง ใน สร้างบ้านอยู่ตามชายเขา ตัวบ้านจะสร้างด้วยไม้ไผ่ ยกเว้นเสาและ เขตพื้นที่จั งหวั ด ก้า แพงเพชร ผู้ เขี ย นบทความจึ งได้ ศึก ษา ขื่อ4 รองรับหลังคาใช้ไม้แผ่นประกอบ หลังคาใช้ใบจาก5 ฝาบ้านใช้ ข้อมูลพื้นฐานของชาวขมุ และยาง ให้ผู้อ่านดังนี้ แฝก6 ในปัจจุบันบ้านที่ฐานะดีจะเปลี่ยนจากไม้ไผ่เป็นไม้แผ่น ใต้ถุน บ้านจะเป็นที่เก็บฟืน และสัตว์เลี้ยงพวก ไก่ หมู ส่วนบริเวณจันทัน7 แปลว่า “คน” เป็นค้าที่ชาวขมุใช้ เรียกตัวเอง ส่วน จะใช้เป็นที่เก็บของพวก ตะกร้า อาหารแห้ง กับดักสัตว์ เมล็ดพันธ์ ใหญ่จะอยู่ที่ประเทศลาวเป็นแหล่งใหญ่ ที่นั้นเรียกชาวขมุว่า พืช และสิ่งมีค่าอื่นๆ ลักษณะครอบครัวของชาวขมุ มีขนาดเล็ก สมาชิกน้อย มี “ลาวเทิง” หรือก็คือ “ลาวบนที่สูง” ในประเทศไทย ชาวขมุได้ เข้ามาในไทยนานพอสมควร ชาวขมุนั้นแบ่งออกได้เป็นหลาย ระบบเครือญาติค่อนข้างซับซ้อน ให้ความส้าคัญทั้งพ่อแม่ฝ่ายชาย กลุ่ม ตามลักษณะการใช้ภาษา วัฒนธรรม และความเป็นอยู่ และฝ่ายหญิง กฎการแต่งงานของขมุ ในหมู่ญาติลูกชายจะแต่งงานกับ ค้าที่ชาวขมุใช้เรียกพวกกันเองแต่ว่าต่างกลุ่มคือ “ตม้อย” โดยเขาจะใช้ลักษณะเฉพาะของกลุ่มนั้นๆ ต่อท้าย เช่น ตม้อย- ลูกพี่ลูกน้องได้ ส่วนลูกหญิงจะต้องแต่งกับคนอื่น ปูลวง (ชาวขมุจากหมู่บ้านที่อยู่เดิม) ตม้อยดอย (ชาวขมุจาก เขตภูเขา) ตม้อยลื้อ(ชาวขมุที่อยู่ในกลุ่มพวกลื้อ)

ขมุ


7

หอไตรกลางน้าวัดคูยาง ศิลปะท้องถิ่นอายุกว่า 160 ปี

อาหารการกินของชาวขมุจะกิน ข้าวเหนียวเป็นหลัก และกินเนื้อสัตว์กับผัก ทุกชนิด อาหารประจ้าวันส่วนใหญ่จะเป็น พวกพื ช ผั ก ต่ า งๆที่ ป ลู ก ไว้ ใ นไร่ จะมี บางส่ว นได้ ม าจากจากการล่า สั ต ว์ หา ของป่า ได้ทราบมาว่าอาหารจ้าพวกหมู ไก่ จะใช้เฉพาะในพิธีกรรม และชาวขมุจะ หมั ก เหล้า ไว้ ใ ช้ เอง เหล้า ของชาวขมุ เป็ น เหล้าอุ8 ที่เรียกกันว่า “ปูจ” เอาไว้ต้อนรับ แขกกับเซ่นไหว้ผี  ภาพเหล้าอุ หรือ เหล้าปูจ  ภาพของชาวขมุในปัจจุบัน

การแต่งตัว ของชาวขมุ ไม่มีการทอผ้าเอง จะมีก็เฉพาะในกลุ่มขมุ ลื้อ ส่วนใหญ่ชอบใส่เสื้อผ้าสีด้า หรือสีคล้​้าเข้ม ผู้หญิงจะใส่ซิ่นลายขวาง ใส่ เสื้อผ้าหนาสีน้าเงินเข้มตัวสั้น ตกแต่งด้วยผ้าด้ายสีบ้าง และเหรียญเงินบ้าง โพกผ้าสีขาว หรือสีแดง ส้าหรับผู้ชายปัจจุบันจะแต่งตัวไม่ต่างจากคนเมือง และในบางหมู่บ้านจะไม่พบการแต่งกายประจ้าเผ่าเลย อาชีพ จะท้าการเกษตรเป็นหลัก ปลูกข้าว เผือก มัน และเครื่องปรุง รสอาหารต่างๆ ปลูกพืชไร่ และไม้ยืนต้นเล็กน้อย ส่วนใหญ่ปลูกไว้กิน หากมี เหลือก็จะแบ่งปันให้ญาติพี่น้อง นอกจากนี้ก็มีการเลี้ยงสัตว์ เช่น หมู ไก่ วัว ควาย ส่วนมากจะเลี้ยงไว้เพื่อใช้ประกอบพิธีกรรม ความเชื่อและพิธีกรรม ชาวขมุนับถือผี(โร้ย) มีพิธีเซ่นไหว้ด้วย หมู ไก่ ข้า ว เหล้า จะเลี้ย งผี ใ นพิ ธีส้า คั ญ ๆต่ า งๆ มี ทั้งผี ป่ า ผีบ้ า น ผี น้า ผี หมู่บ้าน ทุกบ้านจะมีผีเรือน (โร้ยกาง) ซึ่งเชื่อว่าอยู่ที่บริเวณเตาหุงข้าวเวลา มีพิธีเลี้ยงผีจะมีการติด “เฉลว””9 (ตแล้) ไว้เป็นเหมื อนเครื่องหมายที่ ปฏิบัติมาตั้งแต่สมัยก่อน

 ภาพหลอดที่ท้าจากไผ่ลวก ใช้ดูดเหล้าอุ

 รูปภาพการต้อนรับแขกด้วยเหล้าอุ

 ภาพ “เฉลว” หรือ(ตแล้)


หอไตรกลางน้าวัดคูยาง ศิลปะท้องถิ่นอายุกว่า 160 ปี

 ภาพ ยาง หรือ ชาวกะเหรี่ยง

ยาง หรื อ ชาวกะเหรี่ ย ง เดิ ม อาศั ย อยู่ แ ถบ บริเวณต้นแม่น้าสาละวิ นในประเทศจีนแล้วจึงอพยพเข้า สู่ พม่าและไทย ลักษณะนิสัย ชาวกะเหรี่ยงเป็นกลุ่มคนที่รักความ สงบ ผู ก พั นกั บธรรมชาติ แ ละไม่ ช อบการต่ อ สู้ หรื อ ความ รุ น แรง ในอดี ต ชาวกะเหรี่ ย งจึ ง มั ก หลี ก เลี่ ย งที่ จ ะไม่ ข้ อ ง เกี่ย วกั บคนภายนอกชุ ม ชนของตน และมั ก ตั้ ง หมู่ บ้า นอยู่ ห่างไกลชุมชนอื่น ภาษา ที่ช าวกะเหรี่ย งใช้ สันนิษฐานว่ า เป็ นภาษา ตระกูลจีน -ทิเบต10 ภาษากะเหรี่ยงที่ใช้มากในประเทศไทย คือ ภาษากะเหรี่ยงโปว และภาษากะเหรี่ยงสะกอ ซึ่งถึงจะ เป็นกะเหรี่ยงเหมือนกันแต่ก็ไม่สามารถเข้าใจกันได้ทั้งหมด เพราะทั้งสองภาษามีความแตกต่างกันในเรื่องของเสียงและ ค้าศัพท์ค่อนข้างมาก ลักษณะที่อยู่ ของกะเหรี่ยงมีลักษณะเด่นอันหนึ่งที่ ไม่เหมือนกับชาวเขาเผ่าอื่นก็คือการตั้งหมู่บ้านอย่างถาวร การสร้างบ้านของชาวกะเหรี่ยงนิยมสร้างเป็นบ้านยกพื้น มี ชานบ้ า น หรื อ ไม่ ก็ ใ ช้ เ สาสู ง แม้ ว่ า อยู่ บ นที่ สู ง ก็ ต าม ซึ่ ง แตกต่างจากชาวเขาเผ่าอื่นๆ ที่นิยมสร้างบ้านชั้นเดียว พื้น ติดดิน ลักษณะครอบครัว ของชาวกะเหรี่ยงเป็นครอบครัว เดี่ยว ในบ้านหลังหนึ่งมีพ่อแม่และลูกเท่านั้น เมื่อลูกสาว แต่งงาน ฝ่ายชายจะต้องมาอยู่บ้านฝ่ายหญิงก่อนเป็นเวลา 7-8 เดือน ตั้งแต่ปลูกข้าวและเก็บเกี่ยวข้าว หลังจากนั้นก็จะ ปลูกบ้านใหม่หลังเล็กๆ ใกล้กับพ่อแม่ฝ่ายหญิง

8

 ภาพการแต่งกายของชาวยาง

การแต่งงาน เป็นแบบผัวเดียวเมียเดียว ซึ่งเป็นกฎ ที่เคร่งครัดมากการหย่าร้างมีน้อย การแต่งงานใหม่ไม่ ค่อยมี ส่วนมากจะไม่มีการได้เสียก่อนแต่งงาน เพราะถือ ว่าเป็นกฎข้อห้ามถ้าได้เสียก่อนจะถูกสังคมรังเกียจ อาหารการกิน ชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยงจะกินข้า ว จ้าวที่ปลูกบนภูเขาแล้วน้ามาต้าในครกก่อนน้าไปต้มเพื่อ ท้าอาหาร อาหารที่ชอบรับประทานเรียกว่า “ต่าโยเผาะ” (คนไทยเรียก “ข้าวเบ๊อะ”) มีลักษณะคล้ายข้าวต้มหรือแกง คั่วของคนไทย โดยจะมีส่วนผสมพวก หมู เนื้อ ไก่ และผัก ต่างๆ ตามโอกาส ลงไปในข้าวที่ ต้มไว้ ปรุงรสด้วยเกลือ และพริกป่น สามารถกินได้ในทันทีโดยที่ไม่ต้องมีกับข้าวก็ ได้ การแต่งตัว ชาวกะเหรี่ยงนิยมแต่งชุดสีต่างๆตาม วัย เด็กๆจะแต่งชุดสีสดใส สีแดง สีฟ้า และวัยรุ่นส่วนมาก จะแต่ ง ชุ ด สี ข าว ซึ่ ง เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ข องหญิ ง สาว พรหมจรรย์ ส่วนวัยผู้ใหญ่ วัยชรามักจะแต่งชุดสีด้า อาชีพ ปลู ก พืช หมุ นเวี ย น พืช ที่ นิย มปลูก ได้ แ ก่ ข้า วไร่ ข้า วโพด ถั่ว เหลือ ง นอกจากนี้ยังมี อ าชี พ หนึ่งที่ นิยมและสร้างรายได้ให้กับชาวกะเหรี่ยงจ้านวนมาก ก็คือ การท้าเครื่องเงิน ซึ่งช่างที่มีฝีมือจะสืบทอดเอกลักษณ์การ ท้าลวดลายเครื่ องเงินในแบบฉบับของตัวเอง และสืบทอด กันทางสายเลือดจากรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง ความเชื่อและพิธีกรรม จะให้ความส้าคัญในสิ่งลี้ ลับเหนือธรรมชาติมาก มีการนับถือผี ผีที่กะเหรี่ยงนับถือ และมีความส้าคัญ ก็จะมีผีเจ้าที่ ผีบรรพบุรุษ และผีต่างๆ ที่สิงสถิตอยู่ตามป่าเขา ล้าน้​้า ในไร่ และในหมู่บ้าน ผีที่ถือ กันว่าเป็นผีร้ายนั้นเชื่อว่าเป็นผีที่จะท้าให้ต้องเจ็บป่วย จึงมี การเอาอกเอาใจด้ ว ยการเซ่ น สั ง เวยด้ ว ยอาหารต่ า งๆ จ้าพวก หมู ไก่ และในปัจจุบันคนกะเหรี่ยงได้หันไปนับถือ พุทธศาสนา และคริสต์ศาสนากันมากขึ้น


9

หอไตรกลางน้าวัดคูยาง ศิลปะท้องถิ่นอายุกว่า 160 ปี

 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะทรงศีล

พระธรรมภาณพิ ล าส กล่ า วว่ า “ครั้ ง สมั ย

พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว ในระหว่ า งที่ พระองค์ ผ นวชอยู่ พระองค์ ท รงเชี่ ย วชาญแตกฉานใน พระไตรปิ ฎ กอย่ า งกว้ า งขวาง ได้ ท รงประดิษ ฐานธรรม ยุติก-นิกาย11 ขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ทั้งพระองค์ได้ทรง สมณศั ก ดิ์ เ ป็ น พระราชาคณะด้ ว ย และผนวชอยู่ ถึ ง 27 พรรษา จึงได้ทรงลาผนวชออกมาครองราชย์ เมื่อ พ.ศ. 2394 ครั้นพระองค์ได้เถลิงถวัลย์ราชสมบัติแล้วได้รับสั่งทั้ง ในพระนครและหัวเมือง ให้ฟื้นฟูด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และพระพุทธศาสนา ในการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาซึ่งถือว่า เป็นหลั ก ใหญ่ หรือแกนกลางของการปกครองในสมั ย นั้น เพราะเป็นศาสนาประจ้าชาติเสมือนเป็นเข็มทิศที่จะชี้ให้ปวง ชนได้ เห็นความสว่าง ความร่มเย็นเป็นสุขแก่ผู้ศึกษา ค้นคว้า ประพฤติ ป ฏิ บั ติ อั น จะส่ ง ผลให้ อ ยู่ ร่ ว มกั น เป็ น หมู่ ค ณะ ประชา ช นขอ งชา ติ จ ะได้ อยู่ ร่ ว มกั น อย่ า งสั น ติ สุ ข เจริญรุ่งเรืองเป็นบึกแผ่นเพราะแรงพลังแห่งสามัคคีธรรม ของบุคคลในชาติ” พร้อมทั้งเป็นสถานทีเ่ ผย

 ป้าสมพิศ ผู้ให้ข้อมูลวัดคูยาง

ผู้เขียนบทความเห็นว่า ปัจจัย และเหตุผลดังกล่า ว ข้างต้น คงจะท้าให้ชาวขมุ และยาง เกิดก้าลังศรัทธาอันแรง กล้ า และมองเห็ น ว่ า การสร้ า งวั ด ในพระพุ ท ธศาสนานั้ น เปรีย บเสมื อนการสร้า งวิม านชั้ นสูง เพื่อให้พระภิก ษุสงฆ์ผู้ ด้ า รงพระพุ ท ธศาสนาได้ อ ยู่ อ าศั ย เพื่ อ ศึ ก ษาค้ น คว้ า และ ปฏิบัติธรรม พร้อมทั้งเป็นสถานที่เผยแผ่พระธรรมค้าสั่งสอน ขององค์ สมเด็ จ พระสั ม มาสัม พุ ท ธเจ้ า ชาวขมุ และยางได้ ตระหนัก และเชื่อมั่นว่าพระธรรมนี้มีอานุภาพมากล้น ที่จะ ส่งผลดลบันดาลให้ผู้ปฏิบัติได้รับความสุข ความเจริญยิ่งๆ ขึ้น ไป ด้ ว ยเหตุ ที่ ว่ า ชาวขมุ และยาง เกิ ด ความเลื่ อ มใส ศรัทธาในพระพุทธศาสนา จึงพร้อมใจกันขออนุญาตต่อพระยารามรณรงค์สงคราม12 (นุช) เจ้าเมืองก้าแพงเพชร เพื่อ สร้างวัดนี้ขึ้น โดยย้ายอุโบสถไปทางทิศตะวันออก ซึ่งเป็นที่ลุ่ม เรียกว่า “นาทราย” ปัจจุบันคือที่ตั้งของอุโบสถหลังเก่า พร้อม กั บ ได้ ร่ ว มมื อ ร่ ว มใจกั น ขุ ด เอาดิ น ขึ้ น มาถมพื้ น ที่ ด้ า นทิ ศ ตะวันออก และทิศใต้ นอกจากขุดดินขึ้นมาถมพื้นที่แล้ว ยั ง เอามาท้าอิฐ กระเบื้องมุงหลังคาอุโบสถ และวิหารด้วย ส่วน ด้ า นทิศใต้ ได้ ก่อ สร้า งหอไตรไว้ ก ลางคู เพื่อ ป้ อ งกันมดและ ปลวก คูที่ขุดขึ้นใหม่นี้กว้างประมาณ 12 เมตร ลึก 4 เมตร การก่อสร้างทั้งหมดใช้เวลาหลายปี เพราะมีอุปสรรคเกิดจาก ฝนตกน้​้ า ท่ว ม แต่ ด้ ว ยศรัท ธาอั น แรงกล้า การครั้ง นี้จึ งได้ ส้าเร็จลุล่วงไปด้วยดีและได้ขนาดนามวัดนี้ว่า “วัดคูยาง”ดังที่ ได้ทราบกันอยู่ตราบเท่าทุกวันนี้ ชาวบ้านในละแวกนั้นต่างมีความเชื่อว่าวัดนี้มีความ ศักดิ์สิทธิมากใครคิดที่จะท้าอะไรไม่ดีไม่ร้ายกับวัดจะต้องมีอัน เป็นไป เหมือนกับเรื่องเล่าจากปากของ ป้าสมพิศ13 “ในตรงที่

โบสถ์เก่านะ ก็จะมีปล่องอยู่ตรงด้านหลังโบสถ์อะนะ ศักดิ์สิทธิ์ คนสมั ย ก่ อ นนิ เค้ า จะใครไปลั ก ไปขโมยนะ จะมาสมบาน ตรงหน้าปล่องแล้วจะมีอันเป็นไป แต่สมัยนี้เค้าไม่เชื่อ สมัยก่อน นี้เค้าไม่ได้เลยหล่ะ เวลาเค้าไปในวัดนะใครไปพูดไม่ดี ท้าอะไร ไม่ดีนะ แล้วก็มีอยู่ครอบครัวหนึ่งอะนะ เค้ามีปัญหาอะไรไม่รู้ เหมือนกับว่าจะมาขุดเอาพระซุมกอไป ทีนี้ ก็โดนเข้าฝันว่าเอา ของกูคืนมา!!! ทีนี่เค้าก็เอาของที่ขุดไปใส่ไหมา แล้วก็เอาไป วางคืนไว้ที่ตรงแถวพระประธานเก่า ก่อนที่เค้าจะเอาไปคืนไว้ นะ เมียเค้าหัวล้านหมดเลยแล้วก็ค่อยๆตายไปทั้งครอบครัว” ปัจจุบันวัดคูยางเป็นอารามราษฎร์ มิ ใช่อารามหลวง อย่างที่หลายท่านเข้าใจ เป็นส้านักศาสนศึกษา คือเป็นสถานที่ เล่า เรี ย นพระธรรมวิ นัย ของ พระภิก ษุ สามเณร ทั้ งแผนก ธรรม และบาลี มีพระภิกษุ สามเณรอยู่ประจ้าประมาณ 50 รูป อีกทั้งยังเป็นวัดที่เป็นศูนย์รวมการปกครองของคณะสงฆ์ จังหวัดก้าแพงเพชรด้วย


หอไตรกลางน้าวัดคูยาง ศิลปะท้องถิ่นอายุกว่า 160 ปี

หอไตรวัดคยาง คูยาง หอไตร เป็นอาคารสถานที่ที่เป็นบริวารของวัดใดวัด หนึ่ง ซึ่งนิยมสร้างอยู่ในเขตพุทธาวาส(สถานที่ประกอบสังฆ กรรม) มากกว่าในเขตสังฆวาส(ที่อยู่อาศัยของพระสงฆ์) ใช้ เป็นที่เก็บรักษาพระไตรปิฎก หรือ พระธรรมคัมภีร์จึงเรียก กั น โดยย่ อ ว่ า “หอไตร” พร้ อ มต้ า รายาต่ า งๆ ไว้ ศึ ก ษา ค้ น คว้ า เล่า เรี ย นกั น เมื่ อ ประสงค์ จ ะน้า คั ม ภีร์ ธรรมต่ า งๆ ออกไปใช้นอกหอไตรก็ชักสะพาน และบันได้เชื่อมข้ามไป เมื่อ เลิ ก ใช้ ก็ ดึ ง สะพานและบั น ใดออก โดยทั่ ว ไปรู ป แบบหรื อ รู ป ทรงของหอไตร มั ก มี ลั ก ษณะเป็ น ทางไทยตามแบบ ประเพณีนิยมของแต่ละจังหวัดหรือแต่ละภาค ยายแหวว กล่าวว่า ได้มีการกล่าวถึงหอไตรกลาง น้​้า แห่งอื่นที่คุ ณยายเคยได้อ่ า นมา โดยจากค้า กล่า วที่ว่ า

“...หอไตรที่เขาท้าไว้ในน้​้าที่อื่นก็มีเหมือนกัน ยายเองก็เคย อ่านเจอในหนังสือที่พระครูให้มา มีทั้งหอไตรวัดทุ่งศรีเมือง จังหวัดอุบลราชธานี หอไตรวั ดสันก้า แพง จั ง หวัดล้าพูน หอไตรวัดหน้าพระธาตุ(วัดตะคุ) จังหวัดนครราชสีมา และ หอไตรวัดใหญ่สุวรรณาราม จังหวัดเพชรบุรี...”

 หอไตรกลางน้​้าวัดทุ่งศรีเมือง จ.อุบลราชธานี

10


11

หอไตรกลางน้าวัดคูยาง ศิลปะท้องถิ่นอายุกว่า 160 ปี

ส้าหรับหอไตรวัดคูยางหลังนี้เป็นสิ่งที่หาดู ได้ ย าก และมี อ ยู่ไม่ กี่แ ห่งในประเทศไทยสันนิ ษ ฐานว่ า เป็ น สถาปั ตยกรรมสมั ยรัต นโกสินทร์ต อนกลาง ซึ่งก็คงได้ รับ อิทธิผลมาจากรูปแบบหอไตรสมัยอยุธยาตอนปลาย หรือไม่ ก็สมัยรัต นโกสินทร์ตอนต้ น โดยปลูกสร้า งไว้กลางคูน้าใน ราว พ.ศ.2400 - 2420 แต่ดูจากสภาพโดยทั่วๆ ไปแล้ว คาดว่าคงเคยได้รับการซ่อมแซม ในเวลาต่อมาตามสมควร ลักษณะโดยทั่วไปก็ไม่ผิดกับหอไตรในที่อื่นๆ มาก นัก กล่าวคือ มีลักษณะคล้ายเรือนหอโดดหลังคาทรงจั่วมี น้​้าหล่อเสาตลอดปี เหตุที่ท้าเช่นนี้ก็เพื่อป้องกันปลวกและหนู ไปกัดกินท้าลายคัมภัร์ซึ่งเป็นใบลานและกระดาษให้เกิดความ เสียหาย ซึ่งคูนี้ขุดคั่นระหว่างกุฏิ กับ อุโบสถ และมีคูไปเกือบ รอบบริเวณอุโบสถ ตามประวัติกล่าวว่า พวกยาง หรือชน ชาติกะเหรี่ยง ขุดเอาไปถมที่ลุ่ม ส่วนนึ่งน้าเอาไป ท้าอิฐิ กระเบื้องมุงหลังคา อุโบสถ และวิหาร ส่วนเสาเป็นไม้เนื้อแข็ง ฝาประตู หน้าต่า ง พื้น หน้า บัน ช่อฟ้ า ใบระกาเป็นไม้สัก

 ภาพหอไตรภาพที่แรก ถ่ายเมื่อ พ.ศ.2516

มีพาไลทั้งด้านหน้าและด้านหลัง พาไลเป็นชั้นลดลงมา จาก โถง เฉพาะพาไลด้านหน้ามีนอกชานยื่นออกไปตรงกลางใช้ เป็นที่พาดบันได เชื่อมต่อกับสะพานไปยังพื้นดิน ริมชานท้า พนักวง โดยเว้นเฉพาะด้านหน้าไว้เป็นทางขึ้น ส่วนหลังคามุง กระเบื้องดินเผา หอไตรนี้กว้าง 6 เมตร ยาว 12 เมตร เมื่ อ พ.ศ. 2528 ได้ รั บ เงิ น อุ ด หนุ น บู ร ณะจาก กรมการศาสนาจ้านวน 70,000 บาท จึงเปลี่ยนกระเบื้องมุง หลังคาใหม่หมดทั้งหลัง เพราะของเดิมแตกหักจนไม่สามารถ คุ้ ม ฝนได้ ขั ด ฝาผนั งทั้ ง ด้ า นใน และด้ า นนอก แล้ ว ทาใหม่ เปลี่ ย นตั ว ไม้ บ างตั ว ที่ ค่ อ นข้ า งผุ ตลอดจนกระทั่ ง ช่ อ ฟ้ า ใบระกาก็ต้องใช้ปูนปั้นเสริมเหล็กใหม่หมด เพราะของเก่าช้ารุด แตกหั ก ไปมาก เป็ น ที่ น่ า สั ง เกตว่ า ตามที่ ท ราบมา ช่ อ ฟ้ า ใบระกา ดั้ ง เดิ ม นั้ น เป็ น ไม้ สัก แต่ ใ นช่ ว งซ่ อ มแซมเมื่ อ พ.ศ. 2528 เป็นปูนอยู่ก่อนแล้ว จึงเชื่อได้ว่ามีการบูรณมาบ้างแล้ว ไม่น้อยกว่าหนึ่งครั้ง

 ภาพหอไตรภาพที่สอง ถ่ายเมื่อ พ.ศ.2528

 ภาพหอไตรภาพที่สาม ถ่ายเมื่อ พ.ศ.2554

ภาพหอไตรภาพแรกสันนิษฐานว่าถ่ายภาพเมื่อประมาณปีพุทธศักราช 2516 สภาพ หอไตรค่อนข้างทรุดโทรม แต่จากหลักฐานการบูรณะครั้งหลัง พบว่า หอไตรได้รับการบูรณะ ซ่อมแซมมาก่อนหน้านี้แล้ว จากหลักฐานที่ว่า โดยปกติช่อฟ้าหางหงส์สมัยโบราณจะต้องท้า จากไม้ สั ก หรือ ไม้ เ นื้อ แข็ ง แต่ ก่ อ นการบู รณะครั้ งถั ด ไปพบว่ า ได้ เ ปลี่ ย นจากไม้ เป็ นปู น จึ ง สันนิษฐานว่ าได้มีการบูรณะซ่อมแซมมาก่อนหน้านี้แล้ว แต่ ไม่ได้ ปรากฏหลักฐานหรือการ บันทึกไว้ ภาพหอไตรภาพที่ 2 ถ่ายภาพเมื่อปีพุทธศักราช 2528 มีการบูรณะซ่อมแซมโดย การเปลี่ ย นกระเบื้ อ งเก่ า ที่ ช้ า รุ ด แตกหั ก เป็ น กระเบื้ อ งใหม่ ทั้ ง หมด ภาพหอไตรภาพที่ 3 ถ่ายภาพเมื่อปีพุทธศักราช 2554 หลังจากที่ได้บูรณะเมื่อปี 2553 ซึ่งได้ให้กรมศิลปากรเป็น ผู้ออกแบบซ่อมแซมใหม่ทั้งหมด

 ภาพหอไตรช่วงบุรณะ เมื่อ พ.ศ.2553


หอไตรกลางน้าวัดคูยาง ศิลปะท้องถิ่นอายุกว่า 160 ปี

12

ยายแหวว สุดใจ วรนุช ได้เล่าเกี่ยวกับหอไตรว่า “...เมื่อก่อนนั้นตอนยายยังเป็นสาว เกิดมาก็เห็นหอไตร

แล้ว ก่อนนั้นยังเป็นศาลาที่ท้าจากไม้เก่าๆ อยู่กลางคูน้า พอหลังๆ เค้าก็แบบว่ามาท้ามาทาสีซ่อมแซมให้มันก็ดูใหม่ เมื่อก่อนยายมาอยู่ที่นี่ก็หลวงพ่อทอนตาย แล้วก็มาหลวงพ่อทองพาน แล้วก็มาหลวงพ่อคนปัจจุบันเนี้ยที่มาท้า ใหม่ เมื่อก่อนก็เป็นเก่าๆ ตอนที่สององค์ก่อนนั้นเค้าก็ไม่ได้ท้าอะไรเลย ก็เป็นเก่าๆ ไม่มีใครอยากถ่ายรูปและไม่มีใคร ขึ้นไปหรอก มันไม่สวยมันดูโหลๆ มันดูเหมือนว่าจะพังไม่พัง อันนี้เค้ามาจ้างท้าหมดหลายแสนนะ เค้าก็จ้างช่าง จากศิลปกรมาซ่อมอะนะ หลวงพ่อองค์เนี้ย เค้าก็จ้างมาเลยหล่ะ ก็มานอนมากินมาอยู่ที่วัดเนี้ย มาตกแต่ง มันถึง สวยงาม เมื่อก่อนมันจะเป็นเซเซ โซโซ และก็ไม้ที่พาดขึ้นไปหอไตรงะนะ เดินดีไม่ดีก็ตก...”

โบราณศิลปวัตถุที่ส้าคัญภายในหอไตร

ตู้พระธรรม ตู้พระธรรมขาหมูลายรดน้​้า ท้าด้วยไม้ มี บานประตูสองบาน แต่ละตู้มีลายรดน้​้าลงรักปิดทองโดยรอบ โดย เขียนเป็นภาพต่างๆ เช่น ภาพเล่าเรื่องพุทธประวัติ รามเกียรติ์ ภาพ จับ คือรูปบุคคลต่างๆ จับกันในท่วงท่าต่างๆ นิยมท้าเป็นรูปยักษ์กับ ลิงในเรื่องรามเกียรติ์ ลายนก และ เครือเถา หรือพันธุ์พฤกษา ภาพ ป่าหิมพานต์ ภาพเสี้ยวกาง (ทวารบาลแบบศิลปะจีน) ด้วยฝีมือช่าง ราวสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ประมาณรัชกาลที่ 3 ถึง 5 ที่ประณีต งดงามยิ่งนัก จ้านวน 5 หลัง 1.

2. หี บ พระธรรม ส่ ว นใหญ่ ท้ า ด้ ว ยไม้ ท รง สี่เหลี่ยมผืนผ้ามีฝายกเปิดปิดด้านบน ถ้าเป็นหีบแบบศิลปะ ไทย ก็มีลายรดน้​้าลงรักปิดทอง เขียนลายแบบไทยๆ ถ้าเป็น แบบศิลปะจีน ก็จะเขียนสีเป็นภาพเรื่องวรรณกรรมจีน เช่น สามก๊ก หีบพระธรรมนี้ที่เป็ นเหล็ก ก็มี และ หีบพระธรรม เหล่านี้ล้วนมีอยู่ในสมัยรัชกาลที่ 3 ถึง 5


13

หอไตรกลางน้าวัดคูยาง ศิลปะท้องถิ่นอายุกว่า 160 ปี

3. ธรรมาส์เท้าสิงห์ ศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์ ท้า ด้วยไม้ลงรักปิดทอง เป็นเครื่องสังเค็ด (ทานวัตถุที่ถวายแด่ สงฆ์ เ มื่ อ เวลาปลงศพ หรื อ มี ง านศพ) พนั ก ด้ า นหลั ง มี ข้อ ความเขี ย นว่ า “ทรงพระราชอุ ทิ ศ ในงานพระบรมศพ พ.ศ. 2451” อยู่ภายใต้พระปรมาภิไธยย่อ จปร. และพระ เกี้ยว

4. เอกสารโบราณ ที่บรรจุอยู่ในตู้ และหีบพระ ธรรม ประกอบด้ ว ย คั ม ภี ร์ พ ระธรรมวิ นั ย คั ม ภี ร์ไ ตรภู มิ คัมภีร์พระมาลัย ซึ่งส่วนใหญ่ใช้สวดในงานศพ และต้ารายา เป็นต้น เอกสารโบราณเหล่านี้มีทั้งที่เป็นใบลานและสมุดข่อย 5. ผ้าห่อพระคัมภีร์ คัมภีร์ใบลานหรือสมุดข่อยแต่ ละประเภทมักผูกและห่อด้วยผ้าเก็บไว้เป็นชุดๆ ผ้าที่ใช้ห่อ คัมภีร์เหล่านี้มีทั้งเป็นผ้าพิมพ์ลายอย่างไทย เช่น ลายพุ่ม ข้าวบิณฑ์ ลายก้านต่อดอก เป็นต้น ผ้าที่มีลายอย่างนี้เป็น ผ้ า พิม พ์สั่ งท้ า จากอิ นเดี ย ตั้ งแต่ ส มั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธยาตอน ปลายจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น รวมทั้งผ้าลายเม็ ด มะม่วงแบบอินเดีย ผ้าไหม(แพร) จีน ผ้าจีวร และผ้ายกดิ้น เงินดิ้นทองแบบของกษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ 6. พระบฏ เป็นแผ่นผ้าฝ้ายสีขาว เขียนสีเป็นภาพ เล่าเรื่องเวสสันดรชาดก จ้านวน 13 กัณฑ์ โดยดึงเอาฉาก ส้าคัญของแต่ละกัณฑ์ ออกมาวาด พร้อมบอกชื่อกัณฑ์ไว้ที่ ด้านล่า งของผ้าด้ว ย พระบฏของวัดคู ยางนี้ คงใช้ ในงาน เทศกาลเทศน์ม หาชาติ ก ลางเดื อ น 10 ของวั ด คู ย างแต่ใ น ขณะนี้มีเหลืออยู่ 9 กัณฑ์

จากเรื่องราวทั้งหมดของหอไตรวัดคูยาง ผู้เขียน บทความขอให้ค้าจ้ากัดความว่า “...สองพลังสามวิเศษสูห่ อไตร...” สองพลังนั้นคือความสามัคคีของชาวขมุ และชาวยาง ซึ่ง ได้ เ กิ ด แรงศรั ท ธาร่ ว มกั น ที่ จ ะท้ า นุ บ้ า รุ ง ส่ ง เสริ ม พระพุทธศาสนา ท้าให้เกิดวัดคูยางขึน้ มา และน้ามาสู่การ สร้างหอไตร เพื่อที่จะเก็บรักษาของวิเศษสามสิ่งนั่นก็คือ พระไตรปิฎก อันได้แก่ พระวินัยปิฎก พระอภิธรรมปิฎก พระสุตตันตปิฎก ด้ ว ยหลั ก ฐาน ความส้ า คั ญ และเหตุ ผลต่างๆ ดังกล่าว หอไตรวัดคูยาง จึงนับว่าเป็นโบราณ สถานที่ท รงคุณ ค่า ยิ่ง และมีเ หลือ อยู่เ พีย งแห่ง เดี ย วใน จังหวัดก้าแพงเพชร สมควรที่ ชาวก้าแพงเพชรและชาว ไทยทุกคนจะต้องให้ความใส่ใจในการปกป้องอนุรักษ์ให้เป็น มรดกทางศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นและของชาติสืบไป


เชิงอรรถ พระธรรมภาณพิ ล าส เจ้ า คณะจั ง หวั ด ก้าแพงเพชร เจ้าอาวาสวัดคูยาง อายุ 61 ปี 𝑤 2 ยายแหวว หรือ นางสุดใจ วรนุช อายุ 71 ปี 𝑤 3 ศูนย์พัฒนาสังคมหน่วยที่ ๒๕ จังหวัดน่าน. (2554). ชนเผ่าขมุ. หน้า 1 𝑤 4 ขื่ อ เป็ น ชื่ อ ไม้ เ ครื่ อ งบนเรื อ น ส้ า หรั บยึ ด ปลาย เสา 2 ข้างตามด้านขวาง 𝑤 5 ใบจาก เป็นต้นไม้ชนิดหนึ่งใช้ใบมุงหลังคา และ กรุฝา 𝑤 6 แฝก เป็น ชื่อหญ้า ชนิดหนึ่งขึ้นเป็นกอ ใบแบน ยาว ใช้ซ้อนเป็นตับมุงหลังคา 𝑤 7 จั น ทั น เป็ น ไม้ เ หลี่ ย มแบนขนาด 5 x 25 เซนติเมตร แต่งรูปอ่อนช้อยตามแบบอยู่ระหว่างสองข้างของ สามเหลี่ยมโครงหลังคา ท้าหน้าที่รับน้​้าหนักของหลังคาที่ ถ่ายทอดมายังกลอนและแป จันทันนี้ มีอยู่เฉพาะ ส่วนของ ห้องที่ไม่มีหน้าจั่ว และใช้กับดั้งแขวนเท่านั้น ส่วนห้องที่มีหน้า จั่วให้แผงหน้าจั่วรับน้​้าหนักจากหลังคา แทนจันทัน 𝑤 8 เหล้ า อุ เป็ น เหล้ า ที่ ท้ า แล้ ว บรรจุ ล งในไห อุ เ ป็ น ภาษาท้องถิ่นหมายถึง ไห 𝑤 9 เฉลว เป็ น เครื่ อ งหมายท้ า ด้ ว ยเส้ น ตอกไม้ ไ ผ่ หรือหวายเส้น หักขัดกันเป็นมุม ตั้งแต่สามมุมขึ้นไป 𝑤 10 กมลวรรณ สายปินตา. (2547). วิถีชีวิตชาว กะเหรี่ยง. เว็บไซต์http://sps.lpru.ac.th/script/show. 𝑤 11 ธรรมยุ ติ ก นิ ก าย เป็ น พระสงฆ์ ค ณะธรรมยุติกนิกาย หรือที่เรียกสั้นๆ ว่าธรรมยุต หรือเรียกอีก อย่ า งหนึ่ ง ว่ า อรั ญ ว าสี นั้ น เป็ น ผลจากก ารฟื้ น ฟู พระพุทธศาสนา และการแก้ไขวัตรปฏิบัติให้ถูกต้องตามพระ ธรรมวินัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขณะ ผนวชอยู่ กล่าวคือพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะเมื่ อ ยั งผนวชอยู่นั้ น ได้ ทรงศึก ษาพระไตรปิ ฎ กอย่า ง แตกฉานท้าให้มีพระวิจารณญาณเกี่ยวกับความเป็นมาของ พระพุทธศาสนา และความประพฤติปฏิบัติของพระสงฆ์ได้ อย่างละเอียดถี่ถ้วน 𝑤 12 พระยารามรณรงค์ ส งคราม หรื อ พระยาก้ า แพงเพชร (นุ ช ) เจ้ า เมื อ งก้ า แพงเพชร ภริ ย าชื่ อ ท่ า น ผู้หญิงชี (ชื่ อ จริงเรีย ก "กาว") ราชธิด าเจ้า ผู้ ครองนครเชี ย งราย ภายหลั ง ได้ ไ ปราชการทั พ หลายครั้ ง มี ค วามดี ความชอบพระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลกได้ พระราชทาน ดาบด้ามทองฝักทองค้าเป็นบ้าเหน็จ (ปัจจุบัน ประดับไว้ที่ศาลากลางจังหวัดก้าแพงเพชร) และยังได้รับ 𝑤1

พระราชทานต้ า แหน่ ง ให้ เ ป็ น ผู้ ส้ า เร็ จ ราชการเมื อ ง ก้า แพงเพชร (ผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด ก้ า แพงเพชรคนแรก) ปรากฏราชทินนานามว่า "เจ้าพระยารามรณรงค์ สงคราม รามภักดี อภัยพิรยบราภาหุ" ถือศักดินา 10000 (นาหมื่นที่ รั้งหัวเมืองชั้นโท) และเป็นต้นสกุล "นุชนิยม" 𝑤 13 สมพิศ จันโทสถ อายุ 62 ปี บรรณานุกรม กมลวรรณ สายปิ นตา. (2547). วิ ถีชี วิ ต ชาวกะเหรี่ย ง. [อ อ น ไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ที่ ม า : http://sps.lpru .ac.th/ script/show. [2556, กันยายน 09]. กระทรวงวั ฒ นธรรม. (ม.ป.ป.). แฝก. [ออนไลน์ ]. แหล่งที่มา : http://www.rayong- culture. org/sun thonpu9.php. [2556, กันยายน 08]. นางสุดใจ วรนุช. อายุ 71 ปี. สัมภาษณ์วันที่ 13 กันยายน 2556 พจนานุก รมไทย. (2556). ขื่อ. [ออนไลน์ ]. แหล่งที่ม า :http://www.online-english-thai-dictio nary. com/?word1. [2556, กันยายน 08]. พระธรรมภาณพิลาส. อายุ 61 ปี. สัมภาษณ์วันที่ 13 กันยายน 2556 พจนานุกรมไทย. (2556). ใบจาก. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://dictionary.sanook.com/search/ dict-th-th-pleang/81.[2556, กันยายน 08]. ภาพรั ช การที่ 4. (ม.ป.ป.). [ออนไลน์ ]. แหล่ ง ที่ ม า : http://commons.wikimedia.org/wiki/ File:Mongkut_in_the_Sangha.jpeg. [2556, กันยายน 10]. วิกิพีเดีย สารานุก รมเสรี. (2556). เฉลว. [ออนไลน์ ]. แหล่งที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki /%E0%B9%80%E0%B8%89%E0%B8 %A5%E0%B8%A7. [2556, กันยายน 08]. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2555). หอไตรวัดหน้าพระธาตุ. [ออนไลน์].แหล่งที่มา: http://th.wikipedia. org/wiki/. [2556, กันยายน 08].


วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2556). เจ้าเมืองก้าแพงเพชร. [ออนไลน์].แหล่งที่มา: http://th.wikipe dia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8 %B2%E0%8%A3. [2556, กันยายน 09]. วัดหน้าพระธาตุ จ.นครราชสีมา. (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.comingthailand. com/nakhonratchasima/wat-naphra that.html. [2556, กันยายน 11]. วัดใหญ่สุวรรณาราม. (2552). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.oknation.net/blog/prin t.php?id=463700. [2556, กันยายน 11]. ศูนย์ข้ อมู ลกลางทางวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม. (2556). หอไตรวัดหน้าพระธาตุ. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.m-culture.in.th /moc_new/album/190118/. [2556,กันยายน 08]. ศูนย์พัฒนาสังคมหน่วยที่ ๒๕ จังหวัดน่าน. (2554). ชน เผ่าขมุ. หน้า 1. ม.ป.ท. : ม.ป.พ. สมพิศ จันโทสถ. อายุ 62 ปี. สัมภาษณ์วันที่ 13 กันยายน 2556 หอไตรกลางน้​้า วัดทุ่งศรีเมือง. (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://guideubon.com/ news/view.php?t=18&s_id=26&d_id =2. [2556, กันยายน 11]. หอไตรในเมืองล้าพูน ศิลปกรรมความรุ่งเรืองของพุทธศาสนา. (2556). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http: //www.sri.cmu.ac.th/~lamphun_envi //modules.php?name=News&file=art icle&sid=77. [2556, กันยายน 11]. ฤทัย จงใจรัก. (ม.ป.ป.). จันทัน. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://guru.sanook.com/search/%E 0%B8%88%E0%B8%99%E0%B8% 97%E0%B8%B1%E0%B8%99. [2556, กันยายน 09].


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.