การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ • International Business Management 1
สภาพแวดล้อมทางการเมืองและ กฎหมาย: รัฐบาล 1. การส่งเสริมการดาเนินงานของธุรกิจระหว่างประเทศ 2. การจากัดการดาเนินงานของธุรกิจระหว่างประเทศ
วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
2
การส่งเสริมการดาเนินงานของธุรกิจ ระหว่างประเทศ 1. การปกป้องอาชีพและการจ้างงานในประเทศ 2. การปกป้องอุตสาหกรรมที่รัฐเกื้อหนุนอุ้มชู (Infant Industry) 3. การอุดหนุนหรือการช่วยเหลือ (Subsidies) 4. 5. 6. 7.
นโยบายส่งเสริมการส่งออก การรักษาสัมพันธไมตรีกับประเทศคู่ค้า การรักษาความมั่นคงของชาติ การกาหนดสัดส่วนขององค์ประกอบที่ผลิตภายในประเทศ วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
3
การจากัดการดาเนินงานของธุรกิจระหว่าง ประเทศ 1. การกาหนดภาษีศุลกากร (Duty) 2. การสร้างอุปสรรคที่ไม่ใช่พิกัดภาษีศุลกากร (Nontariff Barrier) – – – – – –
โควต้า นโยบายการซื้อสินค้าท้องถิ่น มาตรฐาน การอนุญาตเป็นการเฉพาะ การควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตรา ขั้นตอนการดาเนินงานที่ล่าช้า
3. การใช้นโยบายป้องกันธุรกิจข้ามชาติเข้ามาทุ่มตลาด 4. มาตรการ Sanction / Embargo / Boycott วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
4
ข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศ ทวิภาคี (Bilateralism) เอกภาคี (Unilateralism) พหุภาคี (Multilateralism) แนวคิด “โลกไร้พรมแดน” แนวคิดทางการค้าโดยเสรี
วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
5
WTO • GATT (1947-1994) • WTO (1995 เป็นต้นมา) สมาชิก 162 ประเทศ (since 30 November 2015) “ WTO the World Trade Organization (WTO) is the only international organization dealing with the global rules of trade between nations. Its main function is to ensure that trade flows as smoothly, predictably and freely as possible.” ที่มา: https://www.wto.org/english/thewto_e/whatis_e/inbrief_e/inbr00_e.htm วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
6
โครงสร้างความตกลงภายใต้ WTO
Dr.Wannarat Wattananimitkul
สภาพแวดล้อมในการบริการธุรกิจระหว่างประเทศ
7
ข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศ ภายใต้ WTO ข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยพิกัดอัตราภาษีศุลกากรและ การค้า General Agreement on Tariffs and Trade (GATT) General Agreement on Trade in Services (GATS) สาหรับบริการ Agreement on Trade-Related Aspects of Intellectual Property Rights (TRIPS) ทรัพย์สินทาง ปัญญา
Dr.Wannarat Wattananimitkul
สภาพแวดล้อมในการบริการธุรกิจระหว่างประเทศ
8
การเจรจาประเด็นสาคัญที่เกี่ยวกับอุปสรรคการค้าที่ไม่ใช่ ภาษีศุลกากร • 1. มาตรฐานอุตสาหกรรม (Industrial Standard) • 2. การจัดหาของรัฐบาล (Government Procurement) • 3. การช่วยเหลือและการขัดขวาง (Subsidies and Countervailing Duties) • 4. การอนุญาต (Licensing) • 5. การตีราคาของศุลกากร (Custom Valuation) Dr.Wannarat Wattananimitkul
สภาพแวดล้อมในการบริการธุรกิจระหว่างประเทศ
9
หลักการปฏิบัติต่อชาติที่ได้รับความ อนุเคราะห์ยิ่ง (MFN) ต้องให้กับทุกประเทศเหมือนกัน มีข้อยกเว้นเฉพาะ
1. สินค้าอุตสาหกรรมจากประเทศด้อยพัฒนา 2. การยินยอมในกลุ่มเศรษฐกิจ 3. ประเทศที่ต่อต้าน 4. ประเทศที่ไม่ได้ลงนามรับรองในข้อตกลงเฉพาะเรื่อง 5. การกาหนดเงื่อนไขเฉพาะเป็นข้อยกเว้น 6. การกาหนดข้อยกเว้นในช่วงสงคราม วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
10
องค์กรสากลที่ส่งผลต่อธุรกิจระหว่าง ประเทศ • • • •
องค์การสหประชาชาติ (United Nations) ธนาคารโลก (World Bank) IMF ADB
Dr.Wannarat Wattananimitkul
สภาพแวดล้อมในการบริการธุรกิจระหว่างประเทศ
11
รูปแบบของกลุม ่ ทางเศรษฐกิจ 1. เขตการค้าเสรี EFTA และ NAFTA 2. สหภาพศุลกากร 3. ตลาดร่วม 4. สหภาพทางเศรษฐกิจ 5. สหภาพการเมือง
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจและความร่วมมือ ทางทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
12
ผลของการรวมกลุม ่ ทางเศรษฐกิจ ผลดี • การค้าในกลุ่มที่เพิ่มสูงขึ้น • การสร้างความเป็นหนึ่งเดียวกัน • การเกิดขนาดการผลิตที่ประหยัด • การทวีประสิทธิผลของปัจจัยการ ผลิต – ต้นทุน และราคาสินค้า • การมีอานาจต่อรองเพิ่มขึ้น • โอกาสการจ้างงาน
ผลเสีย • การเบี่ยงเบนทางการค้า -ประเทศ นอกกลุ่มเสียเปรียบในการแข่งขัน • การสูญเสียการจ้างงาน • การสูญเสียความเป็นชาติ
รูปแบบของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ • ข้อตกลงการให้สิทธิพิเศษทางภาษีศล ุ กากร (Preferential Tariff Agreement) • เขตการค้าเสรี (Free trade area) • สหภาพศุลกากร (Customs union) • ตลาดร่วม (Common market) • สหภาพเศรษฐกิจ (Economic union) • สหภาพการเมือง (Political union)
ระดับความเข้มข้น ของความร่วมมือ รูปแบบของ การรวมตัว
กาจัดกาแพง การค้าในกลุ่ม สมาชิก
ใช้ระบบภาษี ศุลกากรกับ ประเทศนอก กลุ่มในอัตรา เดียวกัน
สามารถ เคลื่อนย้ายปัจจัย การผลิต (วัตถุดิบ แรงงาน เงินทุน) ได้
ร่วมกาหนด นโยบายทาง เศรษฐกิจ
เขตการค้าเสรี (Free trade area)
√
สหภาพศุลกากร (Customs union)
√
√
ตลาดร่วม (Common market)
√
√
√
สหภาพเศรษฐกิจ (Economic union)
√
√
√
√
สหภาพการเมือง (Political union)
√
√
√
√
ใช้นโยบายทาง การเมืองและ ความมั่นคง ร่วมกัน
√ 15
ภาพแสดงระดับการรวมกลุ่มเศรษฐกิจ สหภาพการเมือง (Political union) สหภาพเศรษฐกิจ (Economic union) ตลาดร่วม (Common market) สหภาพศุลกากร (Customs union) เขตการค้าเสรี (Free trade ข้อarea) ตกลงการ ให้สิทธิพิเศษ ทางภาษี ศุลกากร (Preferential Tariff Agreement)
ระดับความเข้มข้นของ ความร่วมมือ น้อย-มาก
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจที่สาคัญ
ประโยชน์ของการรวมกลุม ่ ทางเศรษฐกิจ 1. การสร้างการค้าและการเบี่ยงเบนการค้า 2. การลดราคาสินค้า 3. การเกิดขนาดการผลิตที่ประหยัด 4. การทวีประสิทธิผลของปัจจัยการผลิต 5. การมีอานาจต่อรองเพิ่มขึ้น
วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
18
สหภาพยุโรป : EU จุดประสงค์ที่สาคัญคือ การเคลื่อนย้ายอย่างเสรีของปัจจัย การผลิตทั้งสี่ได้แก่ แรงงาน เงินทุน สินค้าและบริการ สนธิสัญญาแห่งมาสทริชน์ (Maastricht Treaty) มี 2 กิจกรรม 1. นโยบายร่วมทางเศรษฐกิจและการเงิน 2. นโยบายร่วมทางการเมือง
วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
19
สนธิสัญญาเขตการค้าเสรีอเมริกา เหนือ:NAFTA - ประโยชน์ที่ได้รับในเรื่องของค่าจ้างแรงงานที่ต่า - มีการทาลายสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น กลุ่มลาตินอเมริกัน (Latin American Integration) รวมตัวกันเพื่อสร้างนโยบายการทดแทนการนาเข้า กลุ่มที่สาคัญ ได้แก่ กลุ่มกลุ่มเมอร์คอเซอร์
วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
20
การรวมกลุ่มของประเทศในทวีปเอเชีย - อาเซียน ASEAN ประกอบด้วย บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์สิงคโปร์ ไทย กัมพูชา ลาว พม่าและเวียดนาม - สุ่ AFTA - AEC - APEC มีสมาชิกทั้งหมด 18 ประเทศ - การร่วมมืองของประเทศในทวีปแอฟริกา (African Cooperation) มีจุดหมายด้านการเมืองและเศรษฐกิจ เป็นสาคัญ วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
21
ข้อตกลงของสินค้าและกลุ่มของประเทศที่ ทาสัญญาร่วมมือกัน 1. พันธมิตรของผู้ผลิต 2. ข้อตกลงในการควบคุมสินค้านานาชาติ - กลุ่มประเทศที่ทาสัญญาร่วมมือกัน (Cartel)
วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
เช่น OPEC
22
https://www.wto.org/english/tratop_e/region_e/regfac_e.htm Dr.Wannarat Wattananimitkul
สภาพแวดล้อมในการบริการธุรกิจระหว่างประเทศ
23
Dr.Wannarat Wattananimitkul
www.eurunion.org
สภาพแวดล้อมในการบริการธุรกิจระหว่างประเทศ
24
http://www.nafta-sec-alena.org/DefaultSite/index_e.aspx
Dr.Wannarat Wattananimitkul
สภาพแวดล้อมในการบริการธุรกิจระหว่างประเทศ
25
กลุ่มแอนเดียน http://www.comunidadandina.org/
Dr.Wannarat Wattananimitkul
สภาพแวดล้อมในการบริการธุรกิจระหว่างประเทศ
26
http://www.mercosur.int/msweb/principal/contenido.asp กลุ่มเมอร์คอเซอร์ Dr.Wannarat Wattananimitkul
สภาพแวดล้อมในการบริการธุรกิจระหว่างประเทศ
27
http://www.apec.org/ กลุ่มเอเปก Dr.Wannarat Wattananimitkul
สภาพแวดล้อมในการบริการธุรกิจระหว่างประเทศ
28
บรรณานุกรม • กตัญญู หิรัญญสมบูรณ์. การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ, พิมพ์ครั้งที่ 10. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง, 2554. • ชนงกรณ์ กุณฑลบุตร. การบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ : โรง พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555. • สมชนก (คุ้มพันธุ์) ภาสกรจรัส. หลักการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แมคกรอ-ฮิล, 2551. • Charles W. Hill. International Business: Competing in Global Marketplace. McGraw-Hill Higher Education, 2013, Online Learning Center http://highered.mheducation.com/sites/0078029244/student_view0/index. html • https://www.wto.org/english/tratop_e/region_e/regfac_e.htm 29