คู่มือมาตรฐานโรงพยาบาลระดับสากล

Page 1

1

คู่มือมาตรฐานโรงพยาบาล ระดับสากล JCI standard for hospital 5th edition Queen Sirikit Heart Center of The Northeast October 2016/ตุลาคม 2559


2 คูม่ อื นี้ เป็นการสรุปเนือ้ หามาตรฐานระดับสากล : JCI ทีส่ ำ� คัญ 2 ส่วน ประกอบด้วยส่วนทีเ่ ป็นมาตรฐานทีเ่ น้น ผูป้ ว่ ยเป็นศูนย์กลาง ส�ำหรับบุคลากรทีป่ ฏิบตั งิ านด้านคลินกิ ทุกคนทีม่ สี ว่ นดูแลผูป้ ว่ ยโดยตรงต้องรู้ ส่วนที่ 2 เป็นมาตรฐาน สถานบริการ ส�ำหรับส่วนบุคลากรที่ปฏิบัติงานทุกคน ทุกด้านต้องรู้ ดังนี้ Patient-Centered Standards

มาตรฐานที่มุ่งเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง

ประกอบด้วย International Patient Safety Goals (IPSG) เป้าหมายความปลอดภัยผู้ป่วยสากล Access to Care and Continuity of Care (ACC) การเข้าถึงบริการและการดูแลอย่างต่อเนื่อง Patient and Family Rights (PFR) สิทธิผู้ป่วยและครอบครัว Assessment of Patients (AOP) การประเมินผู้ป่วย Care of Patients (COP) การดูแลผู้ปว่ ย Anesthesia and Surgical Care (ASC) การดูแลด้านวิสัญญีและศัลยกรรม Medication Management and Use (MMU) การจัดการด้านยาและการใช้ยา Patient and Family Education (PFE) การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและครอบครัว


3 Health Care Organization Management มาตรฐานการบริหารจัดการสถานพยาบาล ประกอบด้วย Quality Improvement and Patient Safety (QPS) การพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัยของผู้ป่วย Prevention and Control of Infections (PCI) การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ Governance Leadership, and Direction (GLD) การก�ำกับดูแลกิจการ การน�ำ และทิศทางองค์กร Facility Management and Safety (FMS) การจัดการอาคารสถานที่และความปลอดภัย Staff Qualifications and Education (SQE) คุณสมบัติและการศึกษาของบุคลากร Management of Information (MOI) การจัดการกับสารสนเทศ **********************


4

วิสัยทัศน์ เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยระดับสากล ที่มีคุณค่าต่อสังคมและมวลมนุษยชาติ (world class university hospital that brings value to Thai society and all mankind)

พันธกิจ 1. มุ่งเน้นการรักษาพยาบาล 2. บริการวิชาการ 3. สร้างงานวิจัย 4. ฝึกอบรมผู้เชี่ยวชาญและบุคลากรด้านโรคหัวใจและหลอดเลือด 5. สนับสนุนการเรียนการสอนของนักศึกษาในสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ


5

อัตลักษณ์ เชิดชูคุณธรรม เชี่ยวชาญโรคหัวใจ ใส่ใจบริการ

ค่านิยม Q : Quality S : Safety H : Humanitarian hospital C : Customer ศูนย์ระดับสากล รักษาโรคหัวใจเน้นความปลอดภัยเป็นเลิศด้วยพระเมตตาองค์ราชินสี ิริกิติ์ฯ ************************


6 MOI: นโยบายการควบคุมเอกสารและบันทึกคุณภาพ (Policy on Policy)

ระดับของเอกสาร แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. นโยบายระดับครอบคลุมทั้งองค์กร (Hospital–wide) : ประกอบด้วย Bylaws, Rule and Regulation, Plan, Hospital Policy 2. เอกสารที่มีแผนกหรือผู้เกี่ยวข้องมากกว่า 1 แผนก : ประกอบด้วย Work Procedure, Form, Patient Instruction, Supporting Document 3. เอกสารเฉพาะแผนก : ประกอบด้วย Work Instruction, Form, Supporting Document การเปลีย่ นแปลง เพิ่มเติมเอกสารใดๆ นโยบาย ระเบียบการปฏิบัติงานจะพิจารณาจาก 1. เมื่อต้องการให้มีการประกาศบังคับใช้นโยบายการปฏิบัติอันใหม่ 2. มีการทบทวนแนวทางการปฏิบัติระหว่างหน่วยงานใหม่ 3. มีการเปลี่ยนแปลงแนวทางการรักษาทางด้านการแพทย์ 4. มีการเปลี่ยนแปลงที่มาอ้างอิงจากด้านวิชาการทางการแพทย์ 5. มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีใหม่ๆ 6. มีการเพิ่มบริการในหน่วยงาน


7 การทบทวนเอกสาร • เอกสารที่ส�ำคัญกับการดูแลรักษาผู้ป่วยต้องได้รับการทบทวนทุก 1 ปี หรือหากมีการเปลี่ยนแปลงแนวทาง ปฏิบัติสามารถทบทวนหรือแก้ไขก่อนเวลาที่ก�ำหนดได้ • เอกสารอื่นๆ ที่ไม่ส�ำคัญเกี่ยวกับการดูแลรักษาผู้ป่วยต้องได้รับการทบทวนทุก 2 ปี หรือหากมีการเปลี่ยน แนวทางปฏิบัติสามารถทบทวนหรือแก้ไขก่อนเวลาที่ก�ำหนดได้ การควบคุมเอกสารให้เป็นปัจจุบัน • เอกสารฉบับปัจจุบันให้อ้างอิงจากเอกสารที่อยู่ในระบบ Electronic document เท่านั้น โดยเอกสาร จะระบุเป็นเอกสารบังคับใช้ และก�ำหนดฉบับที่ของการแก้ไข (หากเอกสารนั้นมีการแก้ไข) เอกสารฉบับ ที่ พิ ม พ์ อ อกมาใช้ ต ามหน่ ว ยงานไม่ ส ามารถอ้ า งอิ ง ได้ ก� ำ หนดให้ ใ ช้ เ ฉพาะเพื่ อ การฝึ ก อบรมเท่ า นั้ น เอกสารล้าสมัยจะระบุประเภทเอกสารที่ว่าเป็นเอกสารล้าสมัย เอกสารที่น�ำมาใช้จากหน่วยงานภายนอก • เอกสารที่รับจากภายนอก เป็นส่วนประกอบอ้างอิงเพื่อการปฏิบัติงานที่มีผลกระทบต่อระบบคุณภาพและ ความปลอดภัยของผูป้ ว่ ย และถ้าเอกสารดังกล่าวมีความจ�ำเป็นต้องแจกจ่ายให้ผเู้ กีย่ วข้องมากกว่า 1 แผนก ต้องน�ำเอกสารดังกล่าวเข้าสู่ระบบการควบคุมเอกสารของโรงพยาบาล ตามขั้นตอนการขออนุมัติเอกสาร และก�ำหนดประเภทเอกสารเป็น Supporting Document (SD) ต่อท้าย E


8

• นโยบายและระเบียบการปฏิบตั งิ านทุกฉบับจะต้องจัดท�ำตามเอกสารมาตรฐานรูปแบบทีผ่ า่ นการเห็นชอบแล้ว จากฝ่ายพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล • เอกสารแต่ละประเภทจะประกอบด้วย รหัสของเอกสาร หมายเลขเอกสาร รหัสเอกสารระบุประเภทและ ความหมายของเอกสารนั้นๆ วันที่จัดท�ำเอกสาร • เอกสารทุกประเภทเมื่อผ่านการพิจารณาอนุมัติแล้วจะได้รับการบันทึกในระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อประกาศ ใช้งานต่อไป เอกสารมีผลบังคับใช้หลังการประกาศใช้ 30 วัน

SQE: คุณวุฒิ สิทธิการรักษา การฝึกฝน และการประเมินแพทย์

• แพทย์ที่มีส่วนรับผิดชอบในการบริหาร งานคุณภาพ และงานการศึกษาฝึกอบรมภายในศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ โดยก�ำหนดความรับผิดชอบของแต่ละท่านไว้ในเอกสารบอกลักษณะงาน (Job Description) ทีเ่ ป็นปัจจุบนั • แพทย์ทมี่ สี ว่ นในการดูแลผูป้ ว่ ยทุกราย จะต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรม ทีถ่ กู ต้อง ตามกฎหมาย โดยมีการตรวจสอบความถูกต้องจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Source Verification) เพื่อให้เกิด ความมั่ น ใจว่ า แพทย์ มี คุ ณ วุ ฒิ ความสามารถเฉพาะทางในการรั ก ษา คุ ณ สมบั ติ ใ นการดู แ ลผู ้ ป ่ ว ย ตามขั้นตอนการปฏิบัติงานของโรงพยาบาล


9

• ฝ่ายการแพทย์และหน่วยการเจ้าหน้าที่ โดยคณะกรรมการที่ดูแลเรื่อง SQE ได้มีการก�ำหนดการทบทวน การตรวจสอบคุณสมบัตขิ องแพทย์ทกุ ๆ 2 ปี เพือ่ ให้แน่ใจว่าแพทย์มใี บอนุญาตประกอบวิชาชีพอย่างต่อเนือ่ ง แพทย์ไม่ได้เกีย่ วข้องกับการฟ้องร้อง มีเอกสารทีส่ นับสนุนการขอสิทธิในการรักษาเพิม่ เติม (New Privilege) เช่น ใบวุฒิบัตร ประกาศนียบัตร ฯลฯ การพิจารณาตัดสินให้อยู่ในความเห็นชอบของผู้อ�ำนวยการ ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ และ/หรือหัวหน้าฝ่ายการแพทย์ ร่วมเป็นผู้ทบทวนสิทธิในการรักษา ทั้งนี้ ผลของการ ทบทวนจะถูกเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลของแพทย์


10 MOI: นโยบายสารสนเทศและการสื่อสาร สิทธิ์ในการเข้าถึง การใช้ และการให้ข้อมูล ระดับของข้อมูล ผู้สามารถเข้าถึงข้อมูล ผู้มีสิทธิในการท�ำรายการ 1. ข้อมูลทั่วไป เจ้าหน้าที่ทุกคน - หัวหน้าหน่วยงาน - ผู้ได้รับมอบหมาย ซึ่งเป็นผู้ให้บริการนั้นๆ 2. ข้อมูลส�ำคัญ ของโรงพยาบาล

การให้ข้อมูล เจ้าหน้าที่ทุกคนสามารถ ให้ข้อมูลได้

- ผู้บริหารระดับสูง - ผู้บริหาร ให้อยู่ในดุลยพินิจของ - หัวหน้าหน่วยงานที่ - หัวหน้าหน่วยงานทีไ่ ด้รบั การมอบหมาย ผู้อำ� นวยการ รพ. และ เกี่ยวข้องกับข้อมูลนั้นๆ รองผูอ้ �ำนวยการ รพ.ฝ่ายการแพทย์


11 ระดับของข้อมูล ผู้สามารถเข้าถึงข้อมูล 3. ข้อมูลส่วน บุคคลของผู้ป่วย

- แพทย์ พยาบาล และบุคลากรทางการ แพทย์ ที่เป็นผู้ให้การ บริการ - บุคลากรอื่นที่ท�ำงาน เกี่ยวข้องกับการให้ ข้อมูลผู้ป่วยโดยตรง เช่น ประชาสัมพันธ์, ศูนย์ประกันสุขภาพ, ศูนย์จ�ำหน่ายและ เรียกเก็บ เป็นต้น

ผู้มีสิทธิในการท�ำรายการ - ข้อมูลของผู้ป่วย เช่น ชื่อ-สกุล อายุ ที่อยู่ ผู้มีสิทธิ ท�ำรายการคือ เจ้าหน้าที่เวชระเบียน - รายละเอียดเกี่ยวกับห้องพัก ผู้ป่วย ผู้มีสิทธิท�ำรายการ คือ เจ้าหน้าที่ admission

การให้ข้อมูล ให้ท�ำตามนโยบายเรื่อง สิทธิผู้ป่วย และการรักษา ความลับของผู้ป่วย


12 ระดับของข้อมูล ผู้สามารถเข้าถึงข้อมูล 4. ข้อมูลความลับ แพทย์, พยาบาล และ บุคลากรทางการแพทย์ ที่เป็นผู้ให้บริการแก่ ผู้ป่วย

ผู้มีสิทธิในการท�ำรายการ

การให้ข้อมูล

- ข้อมูลการวินิจฉัยโรค การรักษาที่ ให้ท�ำตามนโยบายเรื่อง ผู้ป่วยได้รับ, แผนการรักษา ผู้มีสิทธิ สิทธิผู้ป่วย และการรักษา ท�ำรายการ คือ แพทย์ที่เป็นผู้ให้บริการ ความลับของผู้ป่วย - ข้อมูลทางการพยาบาล ผู้มีสิทธิท�ำ รายการ คือ พยาบาลประจ�ำหอผู้ป่วย พยาบาลประจ�ำคลินิกต่างๆ ที่ผู้ป่วย มาใช้บริการ - ผลการตรวจทางห้อง ปฏิบัติการ ผลเอ็กซเรย์ ข้อมูลทางด้านยาและ ผลการตรวจพิเศษอื่นๆ ผู้มีสิทธิท�ำ รายการ คือเจ้าหน้าที่ ประจ�ำหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งได้รับการมอบหมาย จากหัวหน้า


13 นโยบายการบริหารรหัสผ่าน • รหัสผ่าน (password) ในการเข้าถึงข้อมูลส�ำคัญ เช่น ระบบ HIS ถือเป็นความลับ ชื่อผู้ใช้จะต้องเป็นผู้ใช้ เพียงหนึ่งคน ต่อหนึ่งรหัส จะไม่อนุญาตให้ชื่อผู้ใช้ และรหัสผู้ใช้ ใช้ร่วมกับผู้ใช้อื่น • รหัสผ่านที่มีชื่อผู้ใช้ระบุอยู่ จะต้องไม่จัดเก็บให้เห็นชัดเจนในที่เปิดเผย ฉะนั้นผู้ใช้ข้อมูลจะต้องไม่จดบันทึก รหัสผ่านและชื่อผู้ใช้ไว้บนกระดาษ หรือหน้าข้อมูลอื่นที่ชัดเจน • รหัสผ่านจ�ำเป็นต้องมีการเปลี่ยนอย่างสม�่ำเสมอ ในระยะเวลานานที่สุด ร้อยแปดสิบ (180) วัน รหัสผ่าน ทั้งหมดต้องท�ำการเปลี่ยนทันที เมื่อมีข้อสงสัยว่ามีผู้ลักลอบใช้ หรือมีผู้ใช้ผู้อื่นเข้ามา จะต้องติดต่อ ศูนย์คอมพิวเตอร์ทันที • ผู้ใช้ต้องตั้งรหัสผ่านเป็นตัวสัญลักษณ์ ไม่ต�่ำกว่า แปด (8) ตัว **************************

International Patient Safety Goals (IPSG)

IPSG1: การบ่งชี้ตัวผู้ป่วย : Identify Patients Correctly Policy ตัวชี้บ่งที่ 1 คือ ชื่อ-นามสกุล ของผู้ป่วย ตัวชี้บ่งที่ 2 คือ วันเดือนปีเกิด ของผู้ป่วย โดย......วิธีสอบถามจากผู้ป่วยโดยตรง (Active Communication) “ขอทราบชื่อ นามสกุลผู้ป่วยค่ะ” หรือ “คุณ..... ขอทราบ นามสกุลผู้ป่วยค่ะ” “ขอทราบวันเดือนปีเกิดของผู้ป่วยด้วยค่ะ (ครับ)”


14 ........วิธีการดูป้ายข้อมือ/ข้อเท้า (Wristband) (Passive Communication) ให้ดูชื่อ-นามสกุล และ วัน เดือน ปี เกิด ที่ป้ายข้อมือ/ข้อเท้า เทียบกับข้อมูลใน Medical Record/Medical Form/VN Slip หรือ ข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตรงกัน การบ่งชี้ผู้ป่วยในขั้นตอนการลงทะเบียน ตรวจสอบข้อมูลจากชือ่ - นามสกุล และเลขบัตรประชาชน 13 หลัก ก่อนลงทะเบียนผูป้ ว่ ยใหม่ หรือ บัตรประจ�ำตัว โรงพยาบาล / บัตรประชาชน / ใบนัด ทวนสอบข้อมูลกับผูป้ ว่ ยโดยใช้ตวั บ่งชี้ 2 ตัว คือ ชือ่ - นามสกุล และ วันเดือนปีเกิด เทียบกับ Medical Record / ข้อมูลในระบบ คอมพิวเตอร์ กรณีที่ผู้ป่วยมาตรวจแต่ไม่สามารถตรวจสอบชื่อ-นามสกุลและรายละเอียดเกี่ยวกับผู้ป่วยได้ ให้ บันทึกชื่อ ในระบบคอมพิวเตอร์ ดังนี้ “ชายหรือหญิง ไม่ทราบชื่อ ใส่เสื้อสี......” การบันทึกประวัติการรักษาผู้ป่วย ต้องชัดเจน สามารถอ่านออก ลายมือชื่อและต�ำแหน่งต้องสามารถบ่งชี้ตัว บุคคลได้ทั้งที่เป็นลายลักษณ์อักษรและที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ ห้ามใช้ดินสอในการบันทึก


15 Progress Note บันทึกเนื้อหาครอบคลุม S O A P (subjective, objective, assessment, Plan) ทุกวันใน 3 วันแรก ส�ำหรับข้อมูลในวันแรกอนุโลมให้ใช้การซักประวัติและการตรวจร่างกายแรกรับได้ ในการลงลายมือชื่อผู้บันทึกในเวชระเบียน ต้องทราบว่าใครและต�ำแหน่งใดเป็นผู้บันทึก บันทึกวันเวลา ทุกครั้งที่ได้รับการรักษาใดๆ หรือในขณะสังเกตอาการหรือโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ เวลา ให้ใช้เป็น 24 ชั่วโมงในรูปแบบภาษาอังกฤษหรือภาษาไทย ได้แก่ภาษาอังกฤษ 13.00 และ ภาษาไทย 13.00 น.หรือ 13 น. วันที่ ให้ระบุเป็น วัน/เดือน/ปี คริสต์ศักราช หรือ พุทธศักราช ได้แก่ ภาษาอังกฤษ 01/01/2014 หรือ 1 January 2014 หรือ 1 Jan 14 ภาษาไทย 01/01/2557 หรือ 1 มกราคม 2557 หรือ 1 ม.ค. 57 การแก้ไขเอกสาร สามารถกระท�ำได้โดยการขีดเส้นทับข้อความนั้นโดยให้ขีดทับเพียงเส้นเดียว และลงลายมือชื่อ และห้ามลบข้อมูลนั้นๆ

หรือ


~9~

ชาชน หรื อ สาเนา หรื อ สาเนาใบเกิด หรื อ ชการออกให้และมีเลข ชาชน

16 การขอถ่ ายสาเนา

~9~

นโยบายการให้ ประวัติการรักษาของผู ้ป่วย การขอถ่ ายสาเนา การขอถ่ ายสาเนา ผู้ป่วย / ญาติ / การขอถ่ายส�จนท.เวช ำเนา สาเนาบัตรประชาชน หรื อ สาเนา ผู้ป่วย / ญาติ / ตัวแทน ติดระเบี ต่อ ยน ผู้ป่วย/ญาติ / นการ ที่ ดาเนิ

~9~

~9~

สาเนาบัตรประชาชน หรื อ สาเนา

สาเนาบัตรประชาชน ทะเบีจนท.เวช ยนบ้หรืานอ สหรืาเนาอ สาเนาใบเกิด หรื อ จนท.เวช ้ป่วย / ญาติ / รับเอกสาร รับเอกสาร ตัวผูแทน ติทะเบี ดต่ยอนบ้าน หรื อ สาเนาใบเกิด หรื อ ทะเบียนบ้าน หรื อ สาเนาใบเกิด หรื อ ส าเนาบั ตเนา รที ระเบี ยน่ราชการออกให้และมีเลข ระเบียน ตัวแทน ติดต่อ ส� ำ เนาบั ต รประชาชน หรื อ ส� ำ ส าเนาบั ต รที ่ ร าชการออกให้ แ ละมี เ ลข ส าเนาบั ต รที ่ ร าชการออกให้ แ ละมี เ ลข ทีที่ ่ ประจดาเนิ าตัดวนหรื ประชาชน การอ ดาเนินการ จนท.เวชระเบี ยน ทะเบียนบ้าน หรือ ส�ำเนาใบเกิ

จนท.เวช ระเบี น รับยเอกสาร ดาเนินการ

ประจาตัวประชาชน ประจาตัวประชาชน รับเอกสาร ตัวแทน ติดต่อยนที่ งานเวชระเบี ด�ำเนินการ ส�ำเนาบัตรที่ราชการออกให้และมีเลข งานเวชระเบี งานเวชระเบียยนน งานเวชระเบี ย นและสถิ ต ิ ประจ� ำ ตั ว ประชาชน และสถิ ติ และสถิ ตติ ิ และสถิ การพิจารณาทาประกัน หรื อประกอบการรั บาเนาประวั เงินชดเชยติการรั ต้ องช าระ * การขอส กษาเพื **่อการขอส การขอส ประกอบการพิ าเนาประวั จ ารณาท ต ก ิ ารรั าประกั ก ษาเพื น ่ อ หรื ประกอบการพิ อ ประกอบการรั จ ารณาท บ เงิ น ชดเชย าประกั น ต้ หรื อ งช อ าระ ประกอบการรั บ เงิ น ชดเชย ต้ อ งช าระ าเนาประวัติการรักษาเพื่อประกอบการพิจารณาทาประกัน หรื อประกอบการรับเงินชดเชย มเนียม 300 บาทที่การเงิน ค่าธรรมเนียม 300 บาทที่การเงิน ค่าธรรมเนี ม 300 บาทที ารเงินบาทที่การเงิน ค่ายธรรมเนี ยม ่ก300

รับเอกสาร

ต้ องชาระ

*การขอส�ำเนาประวัติการรักษาเพื่อประกอบการพิจารณาท�ำประกัน หรือประกอบการรับเงินชดเชย จะต้ องมีการทาบันทึกแสดงความจ กรณีขอข้ อานงขอข้ มูลประวัอตมูิผล้ ูปทางการแพทย์ ่ วยเพื่อทบทวนการรั กรณีขอข้ต้ออมูกงช� ลษา ประวั ติผอ้ ูปงมี ่ าวยเพื การท ่อทบทวนการรั าบันทึยกม แสดงความจ กษา จะต้ านงขอข้ องมีก่การท อารเงิ มูลาบัทางการแพทย์ นนทึกแสดงความจานงขอข้ อมูลทางการแพทย์ ำจะต้ ระค่ ธรรมเนี 300 บาทที

ษา กรณี อมูการโดยได้ ลประวั ตริผับ้มอบหมายเท่ กษามัติ จะต้ องมีการทนผูาบั นทึกแสดงความจานงขอข้ อมูลทางการแพทย์ ูป่วยเพื่อทบทวนการรั ดยผู้อานวยการโรงพยาบาลเป็และจะด นผู้ลงนามอนุ มัติ และไม่ นุญาตให้ มขี อข้ าเนินการโดยได้ รับอมอบหมายเท่ และจะด านัาเนิ ้น นโดยผู ้อานวยการโรงพยาบาลเป็ านั้นนผูโดยผู ้ ลงนามอนุ ้ อานวยการโรงพยาบาลเป็ และไม่ อนุญาตให้ ม้ลี งนามอนุมัติ และไม่ อนุญาตให้ มี และจะด าเนิ น การโดยได้ ร ั บ มอบหมายเท่ า นั ้ น โดยผู ้ อ านวยการโรงพยาบาลเป็ มัติ และไม่ อนุญาตให้ มี คส์ ยกเว้นกรณีเพื่อประโยชน์การส่ ในการรั ้ ปอ ่ วยมูตลิผประวั มูอข้ ลประวั ้ ปู ่ วยทางระบบอิ เลคทรอนิ งข้ อมูอ ประวั คส์ ยกเว้ ติผ้ปู ่ นวยทางระบบอิ กรณีเพืก่อษา ประโยชน์ เจะต้ ลคทรอนิ ใอนการรั ษาผูน้ ปำ่กรณี วยบันเพืทึ่อก ประโยชน์ ในการรักษาผู ้ป่วยนผู้ลงนามอนุ กรณีงข้กขอษาผู ตผิ ป้การส่ ู ว่ ยเพื ่ ลทบทวนการรั งมีคส์กกยกเว้ ารท� แสดงความจ� ำนงขอข้ อมูลทางการแพทย์

การส่ งข้ อมูลประวัติผ้ปู ่ วยทางระบบอิเลคทรอนิคส์ ยกเว้ นกรณีเพื่อประโยชน์ ในการรักษาผู้ป่วย

มอบหมายเท่ า่ วยและผู นัาการปกปิ ้น โดยผู งนามอนุ มัติ และไม่ นุญาตให้มี งทาการปกปิ ดชื่ อและจะด� และรายละเอี ามารถจะระบุ ตัี่นวาข้ ผู้ปอ่ มูวยได้ ผูำ้ ทยเนิ ี่ ใดที ห้ ขน่ส้ อการโดยได้ มู ลผู้ป่วยและผูถร้ ทึงับ ผูล้ ทไปใช้ ี่ ให้ ข้อจมูะต้ลผูอ้ ปงท ้ ที่ นดชื าข้่ ออ้อและรายละเอี มู�ำลนวยการโรงพยาบาลเป็ ไปใช้ จะต้ยอดที งท่สาการปกปิ ามารถจะระบุ ดชื่ อและรายละเอี ถึงตัน วผูผู้ ป่้ล วยได้ ยดที่สามารถจะระบุ ถึงตัวผู้ปอ่ วยได้

การส่งข้ทัอ้งมูหมด ลประวัติผู้ป่วยทางระบบอิ เลคทรอนิคส์ ยกเว้นกรณีเพื่อประโยชน์ในการรักษาผู้ป่วย ผูทั้ ท้งี่หมด ให้ ข้อมูลผู้ป่วยและผู้ที่นาข้ อมูลไปใช้ จะต้ องทาการปกปิ ดชื่ อและรายละเอียดที่สามารถจะระบุ ถึงตัวผู้ป่วยได้ ผู้ที่ให้ข้อมูลผู้ป่วยและผู ้ท่ีน�ำข้อมูลไปใช้จะต้องท�ำการปกปิดชื่อและรายละเอียดที่สามารถจะระบุถึง ทั้งหมด ตัวผู้ป่วยได้ทั้งหมด


17 การเก็บรักษาข้อมูลเวชระเบียนผู้ป่วย งานเวชระเบียนและสถิ ติเป็ น ผู ้ รับ ผิ ดชอบในการเก็ บ รั กษา และติ ด ตามเวชระเบี ย นกลั บคื นเพื่ อ จั ด เก็ บ ยังที่ปลอดภัยให้ครบถ้วน

OPD case ภายใน 24 ชั่วโมง

IPD case หลังจากผู้ป่วยจ�ำหน่าย 3 วัน โดยในระยะเวลา 3 วัน เวชระเบียนผู้ป่วย จะถูกเก็บรักษาในตู้ที่ล็อคได้ในหอผู้ป่วย


18 ล�ำดับ

ประเภทผู้ป่วย

สี Wristband

ผู้ด�ำเนินการใส่ Wristband

1

ผู้ป่วยใน (IPD) ทุกราย

สีฟ้า

เจ้าหน้าที่หอผู้ป่วยเป็นผู้ใส่ Wrist band ให้ก่อนส่งผู้ป่วยไปที่ ward

2

ผู้ป่วยนอกที่ต้องท�ำ Invasive Procedure เช่น TEE, AVF (ยกเว้นฉีดยา เจาะเลือด ให้ IV ใส่ NG Tube หรือ ใส่ Foley’s catheter) 2.1 ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงพลัดตกหกล้ม ผู้ป่วยฉุกเฉิน (ER)

สีฟ้า

เจ้าหน้าที่ห้องตรวจผู้ป่วยนอกใส่ป้ายข้อมือ (wrist band)

สีเหลือง สีฟ้า

เจ้าหน้าที่จุดคัดกรองผู้ป่วย เจ้าหน้าห้องตรวจฉุกเฉิน

3.1 ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงพลัดตกหกล้ม

สีเหลือง

เจ้าหน้าห้องตรวจฉุกเฉิน

3 4

ผู้ป่วยในจาก รพ. อื่น มาท�ำหัตถการ เป็น ผู้ป่วยนอก

สีฟ้า

พยาบาลที่แผนกผู้ป่วยท�ำหัตถการ

5

ผู้ป่วยเสียชีวิต ทั้งผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน

สีฟ้า

เจ้าหน้าที่หรือพยาบาลในแผนกนั้น


19 การชี้บ่งผู้ป่วยกรณีให้บริการตรวจสุขภาพ (Check up) เมื่อลงทะเบียนท�ำการบ่งชี้ผู้ป่วยโดยใช้ตัวบ่งชี้ 2 ตัวโดยวิธี Active Communication และในกระบวนการ ต่อไปให้ทำ� การบ่งชีด้ ว้ ยวิธี Passive Communication ให้ดชู อื่ -นามสกุล และ วัน เดือน ปี เกิด ของผูป้ ว่ ยจากบัตรประจ�ำตัว เทียบกับข้อมูลใน Medical Record/ID Picture หรือ ข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตรงกัน การชี้บ่งผู้ป่วยเมื่อท�ำการเจาะเลือดและเก็บสิ่งส่งตรวจอื่นๆ

• ก่อนเจาะเลือดทุกครั้ง พยาบาลหรือเจ้าหน้าที่เจาะเลือดต้องทวนสอบชื่อ - นามสกุล และวันเดือนปีเกิด ของผู้ป่วยให้ตรงกับชื่อ - นามสกุล และ วันเดือน ปีเกิดที่ระบุใน Sticker • หลังจากนั้นติด Sticker ชื่อ – นามสกุลผู้ป่วย วันเดือนปีเกิด ที่ หลอดเก็บเลือด หรือ ภาชนะใส่สิ่งส่งตรวจ ที่เตรียมไว้ และให้ผู้ป่วยทวนสอบความถูกต้องอีกครั้ง • เมื่อเจาะเลือดหรือเก็บสิ่งส่งตรวจเสร็จให้ใส่ Specimen ที่ได้ลงในหลอดเก็บเลือดหรือภาชนะที่เตรียมไว้ ต่อหน้าผู้ป่วย • กรณีที่ยังไม่มี Sticker ให้เทียบกับ VN Slip/Medication Record/wristband • กรณีที่ติด Sticker ตามหลัง Sticker ที่มีชื่อ - สกุลที่ติดไว้ในครั้งแรก ไม่ให้แปะ Sticker ทับ Sticker เดิม


20

• กรณีการเก็บสิ่งส่งตรวจชนิดอื่นๆ หลังจากติดสติ๊กเกอร์บนภาชนะที่ต้องการเก็บสิ่งส่งตรวจแล้วให้อธิบาย วิธีการเก็บสิ่งส่งตรวจให้ผู้ป่วยเข้าใจ

การบ่งชี้สิ่งส่งตรวจที่ห้องปฏิบัติการ

• เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการท�ำการตรวจสอบชื่อ - นามสกุล, วันเดือนปีเกิด และ Lab Number ให้ตรงกับ Lab Request ในทุกขัน้ ตอนทัง้ กระบวนการ Pre - analytical กระบวนการ Analytical และกระบวนการ Post Analytical • กรณีทห่ี น่วยงานไม่ได้ใช้ Sticker Barcode ติดบนหลอดเก็บเลือด หรือภาชนะบรรจุสงิ่ ส่งตรวจ เจ้าหน้าที่ ห้องปฏิบัติการจะท�ำการติด Barcode โดยตรวจสอบ ชื่อ - นามสกุล วันเดือนปีเกิด และ Lab Number ให้ตรงกัน โดยไม่ติดทับชื่อ - นามสกุล ที่หน่วยงานติดมาในครั้งแรก

การบ่งชี้ผปู้ ่วยเมื่อตรวจทางรังสี

• เจ้าหน้าที่แผนกเอกซเรย์ท�ำการทวนสอบชื่อ - นามสกุล และวันเดือนปีเกิดโดยเทียบกันให้ตรงกับ Wristband หรือ Request Order ของแผนกเอกซเรย์ที่พิมพ์ออกจากระบบ Computer • ก่อนท�ำการตรวจทางรังสีให้ทวนสอบชนิดและต�ำแหน่งการตรวจกับผู้ป่วยอีกครั้งโดยนักรังสีการแพทย์/ เจ้าพนักงานรังสีการแพทย์


21 การบ่งชี้ผู้ป่วยเมื่อท�ำหัตถการแบบ Invasive Procedure Invasive Procedure ทุกอย่าง (ยกเว้นการฉีดยา การเจาะเลือด การให้ IV การใส่ NG Tube และการใส่ Foley Catheter) ให้ปฏิบัติดังนี้ • กรณีผู้ป่วยนอกที่ท�ำหัตถการที่ห้องตรวจโดยที่แพทย์และผู้ป่วยไม่ได้ละจากกันก่อนท�ำหัตถการ ให้ท�ำการ บ่งชีผ้ ปู้ ว่ ยโดยใช้ 2 ตัวบ่งชีไ้ ด้แก่ ชือ่ - สกุล และ วันเดือนปีเกิด โดยการทวนสอบร่วมกับผูป้ ว่ ยและเทียบกับ ข้อมูลที่อยู่ใน Medical Record/VN Slip และท�ำการตรวจสอบ ตามขั้นตอนการท�ำ Time Out (ไม่ต้องผูก wristband) • กรณีผปู้ ว่ ยนอกทีต่ อ้ งส่งผูป้ ว่ ยไปท�ำหัตถการทีภ่ ายนอกหน่วยงาน เช่น ส่งผูป้ ว่ ยจากห้องตรวจไปท�ำหัตถการ ที่ห้องผ่าตัด พยาบาลห้องตรวจที่เป็นผู้ส่งผู้ป่วยใส่ Wristband สีฟ้าที่ข้อมือขวาผู้ป่วยก่อนส่งผู้ป่วย ไปยังแผนกที่จะท�ำหัตถการ ก่อนท�ำหัตถการ ให้ท�ำการบ่งชี้ผู้ป่วยโดยใช้ 2 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ชื่อ - สกุล และ วัน/เดือน/ปี เกิด ที่ระบุบน Wristband เทียบกับข้อมูลที่อยู่ใน Medical Record/VN Slip และท�ำการตรวจสอบตามขั้นตอนการท�ำ Time Out • กรณีผู้ป่วยใน ก่อนท�ำหัตถการ ให้ท�ำการบ่งชี้ผู้ป่วยโดยใช้ 2 ตัวบ่งชี้ได้แก่ ชื่อ - สกุล และ วันเดือนปีเกิด ที่ระบุบน wristband เทียบกับข้อมูลที่อยู่ใน Medical Record/VN Slip และท�ำการตรวจสอบ ตามขั้นตอน การท�ำ Time Out


22 การบ่งชี้กรณีผู้ป่วยเสียชีวิต

• ท�ำการบ่งชีผ้ ปู้ ว่ ยเสียชีวติ โดยใช้ตวั บ่งชี้ 2 ตัว ทีป่ า้ ยข้อมือสีฟา้ ข้างขวาของผูป้ ว่ ย โดยเทียบกับข้อมูลทีอ่ ยูใ่ น Medical Record/Medical Form

การบ่งชีผ้ ู้ป่วยเมื่อส่งมอบยาให้แก่ผู้ป่วยโดยเภสัชกร • สอบถามและทวนสอบชื่อ-นามสกุล และวันเดือนปีเกิดของผู้ป่วย เปรียบเทียบกับใบสั่งยา ก่อนท�ำการ แนะน�ำและ ส่งมอบยาให้กับผู้ป่วย การบ่งชี้ตัวผู้ป่วยกรณีผู้ป่วยปกปิด ให้ปฏิบัติตามนโยบายการรักษาความลับผู้ป่วยปกปิดตามมาตรฐาน MOI (Management of Information) ข้อควรระวัง/ข้อแนะน�ำ

• เมื่อพบว่าป้ายข้อมือ/ข้อเท้า (Wristband) ของผู้ป่วย ช�ำรุด หรือ มีร่องรอยการแกะออก จะต้องด�ำเนิน การบ่งชี้ผู้ป่วยใหม่และเปลี่ยนป้ายข้อมือใหม่ทันที • ผูกป้ายข้อมือ/ข้อเท้า Wristband ให้พอดีกบั ขนาดของข้อมือ/ข้อเท้าของผูป้ ว่ ย เพือ่ ป้องกันป้ายหลุด หรือ ถอดออกได้


23

• กระดาษที่บันทึกข้อมูลผู้ป่วยได้แก่ ชื่อ-นามสกุล อายุ วันเดือนปีเกิด ให้ติดเทปใสทับทุกครั้งเพื่อป้องกัน ป้ายกระดาษหลุด และข้อความลบเลือน • กรณีผู้ป่วยไม่ได้ใส่ Wristband เนื่องจากเหตุผลต่อไปนี้ - ผู้ป่วยปฏิเสธ - Wristband ท�ำให้ผู้ป่วยเกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง - ผู้ป่วยถอด Wristband ออกเอง

พยาบาลด�ำเนินการดังนี้ - พยาบาลให้ข้อมูลเรื่องความเสี่ยงจากการไม่ใส่ Wristband - ผู้ป่วยจะต้องได้รับการบ่งชี้โดยวิธีการใช้รูปภาพ (Picture ID) - ระบุเหตุผลที่ผู้ป่วยไม่สามารถใส่ Wristband ในเวชระเบียนผู้ป่วย - เขียนรายงานอุบัติการณ์ Incident Occurrence Report Online (IOR) • กรณีผู้ป่วยที่ไม่สามารถบ่งชี้ตัวเองได้ เช่น เด็ก ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว การบ่งชี้ผู้ป่วยจะต้องให้ผู้ปกครองหรือ ญาติมีส่วนร่วมในการบ่งชี้ผู้ป่วยด้วยเสมอ • Alternative Patient Identifier กรณีที่ไม่สามารถใช้ 2 ตัวบ่งชี้ตามที่ก�ำหนดได้ให้ใช้ตัวบ่งชี้ตัวอื่นคือ บัตรประจ�ำตัวผูป้ ว่ ยทีม่ รี ปู ถ่ายบ่งชีไ้ ด้อย่างชัดเจน เช่น บัตรประจ�ำตัวประชาชน ใบขับขี่ บัตรนักศึกษา หนังสือเดินทาง (Passport) ID Picture


24 IPSG-2.1: นโยบายตัวย่ออันตรายห้ามใช้ : Prohibition of Dangerous Abbreviation Use Policy Intended Meaning (ความหมายที่ต้องการสื่อ)

No

Abbrev. (ตัวย่ออันตราย)

Correct (ค�ำที่ใช้ทดแทน)

1

U or u

For Unit

Unit

2

IU

International Unit

International Unit

3

cc

Cubic centimeters

ml

4

µg

Microgram

mcg

5

RM

Re Medication

Use Complete drug name

6

EOD

Every other day

every other day, “วันเว้นวัน”

7

MO

Morphine sulfate

Morphine sulfate

8

MgSO4

Magnesium sulfate

Magnesium sulfate


25 Intended Meaning (ความหมายที่ต้องการสื่อ)

No

Abbrev. (ตัวย่ออันตราย)

9

Trailing zero after decimal point

10

No leading zero before a 0.5 mg decimal dose (e.g. .5 mg)

Use zero before a decimal point when the doses is less than a whole unit

11

oral

oral

12

intravenous

IV

13

intramuscular

IM

1 mg

Correct (ค�ำที่ใช้ทดแทน) Do not use tailing zero for doses expressed in whole numbers


26 No

Abbrev. (ตัวย่ออันตราย)

14

Intended Meaning (ความหมายที่ต้องการสื่อ)

Correct (ค�ำที่ใช้ทดแทน)

Nasogastric tube

Feed ทาง NG

15

PT

Physiotherapist

Physiotherapist

16

UA

Uric acid

Uric acid

UA

Unstable Angina

Unstable Angina

U/A

Urine Exam

Urine Exam

17

IC

Intra Coronary

Intra Coronary

18

IA

Intra Artery

Intra Artery

intrathecal

intrathecal

19

IT


27 Intended Meaning (ความหมายที่ต้องการสื่อ)

No

Abbrev. (ตัวย่ออันตราย)

20

PT

Alanine aminotransferase SGPT, GPT, ALT (Glutamic pyruvate transaminase)

21

OT

Aspartate aminotransferase SGOT, GOT, AST (Glutamic oxaloacetic transaminase)

22

D/C

Dilate & Curette

Dilate & Curette

D/C

Discharge

Discharge

C/S

Culture & susceptibility (sensitivity) Culture & susceptibility (sensitivity)

C/S

Consult

23

Correct (ค�ำที่ใช้ทดแทน)

Consult


28 IPSG-2.1: การรับค�ำสั่งการรักษาด้วยวาจา : Receiving verbal medical order การรับค�ำสั่งการรักษาทางวาจาและทางโทรศัพท์ Write down : เมื่อรับค�ำสั่งการรักษา ให้บันทึกค�ำสั่งการรักษาทันที ลงใน Doctor’s Order Sheet หรือ OPD Card ทันที - กรณีทคี่ ำ� สัง่ เป็นจุดทศนิยม ให้เขียน 0 ก่อนหน้าจุดทศนิยมและไม่ให้เขียน 0 หลังจากจุดทศนิยมเพื่อป้องกัน การเข้าใจผิดพลาด - กรณีค�ำสั่งที่เป็นตัวเลขซึ่งอ่านออกเสียงแล้วอาจท�ำให้เข้าใจผิดเป็นตัวเลขอื่น เช่น เลขที่ลงท้ายด้วยค�ำว่า “เอ็ด” กับ“เจ็ด” (21, 31 กับ 27, 37) จึงควรอ่านว่า “ยี่สิบหนึ่ง, สามสิบหนึ่ง” กับ “ยี่สิบเจ็ด, สามสิบเจ็ด” เป็นต้น Read back : ผู้รับค�ำสั่งการรักษา อ่านทวนค�ำสั่งการรักษาตามที่บันทึกไว้ให้แพทย์หรือทันตแพทย์ผู้สั่งการรักษารับฟัง - กรณีค�ำสั่งที่เป็นตัวเลขซึ่งอ่านออกเสียงแล้วอาจท�ำให้เข้าใจผิดเป็นตัวเลขอื่น เช่น เลขที่ลงท้ายด้วยค�ำว่า “เอ็ด” กับ“เจ็ด” (21, 31 กับ 27, 37) จึงควรอ่านว่า “ยี่สิบหนึ่ง, สามสิบหนึ่ง” กับ “ยี่สิบเจ็ด, สามสิบเจ็ด” เป็นต้น


29 - กรณีค�ำสั่งการรักษาที่ฟังไม่ชัด ไม่แน่ใจ หรือบันทึกไม่ถูกอาจเนื่องจากสาเหตุว่าค�ำนั้นไปพ้องเสียงกับ ค�ำอื่นหรือสะกดไม่ถูก ให้สอบถามกลับทันทีด้วยการสะกดค�ำ (Spelling) โดยใช้ค�ำเปรียบเทียบกับพยัญชนะเพื่อสะดวก และให้มคี วามชัดเจนในการสือ่ สาร โดยใช้ Hospital Alphabet เช่น A = America หรือ B = Bangkok ตามรายละเอียด The hospital Alphabet Confirmed : ผูส้ งั่ การรักษาตอบยืนยันค�ำสัง่ การรักษา ผูส้ งั่ ค�ำสัง่ การรักษา ยืนยันค�ำสัง่ เรียบร้อยแล้ว ผูร้ บั ค�ำสัง่ ประทับตรายาง ค�ำว่า “Read back and confirmed” ระบุชื่อและนามสกุลผู้รับค�ำสั่ง, ระบุต�ำแหน่งของผู้รับค�ำสั่ง, วันเดือนปีและ เวลาที่รับค�ำสั่ง, บันทึกชื่อแพทย์ผู้สั่งการรักษา และระบุวิธีการรับค�ำสั่งดังนี้ - รับค�ำสั่งทางวาจา ให้ท�ำเครื่องหมาย  ในช่อง Verbal Order - รับค�ำสั่งทางโทรศัพท์ ให้ท�ำเครื่องหมาย  ในช่อง Telephone Order โดย ตรายางปั้ม ด้วยหมึกสีน�้ำเงินและพยาบาลบันทึกด้วยหมึกน�้ำเงิน - กรณีที่ค�ำสั่งการใช้ยาไม่ชัดเจน เภสัชกรทวนค�ำสั่งการรักษากับแพทย์โดยทางวาจาหรือทาง โทรศัพท์ และประสานงานกับพยาบาล เปลี่ยนแปลงการรักษา - ก�ำหนดให้แพทย์ผู้สั่งการรักษาทางวาจาลงนามก�ำกับ พร้อมลงวันที่ และเวลา ในค�ำสั่งการรักษาภายใน 24 ชั่วโมง ให้ค�ำสั่งการรักษาที่มีการประทับตรา เพื่อให้ยืนยันค�ำสั่งการรักษานั้น


30

- กรณีที่แพทย์ผู้สั่งการรักษาไม่มาลงนามก�ำกับค�ำสั่งการรักษาทางวาจาหรือทางโทรศัพท์ภายใน 24 ชั่วโมง แพทย์เจ้าของไข้ผู้ป่วยในครั้งนั้น/แพทย์หัวหน้าหน่วยหรือหัวหน้าภาควิชา หรือรองผู้อ�ำนวยการหรือ ผู้อ�ำนวยการศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ เป็นผู้รับผิดชอบ ลงนามก�ำกับพร้อมลง วันที่และเวลา ในค�ำสั่งการ รักษาแทนแพทย์ผสู้ งั่ การรักษา ในกรณีทสี่ งสัยค�ำสัง่ การรักษาให้ประสานงานกลับต่อแพทย์ผทู้ ำ� การสัง่ การรักษา

Repeat back : การพูดทวนค�ำสัง่ การรักษาในเหตุการณ์ฉกุ เฉิน วิกฤติทไี่ ม่สามารถเขียนลงบันทึกได้ ในกรณีการรับค�ำสัง่ การรักษา กรณีผู้ป่วยฉุกเฉินมีภาวะวิกฤติหรือขณะช่วยฟื้นคืนชีพให้ด�ำเนินการดังนี้ - เมือ่ แพทย์สงั่ การรักษา พยาบาลผูป้ ฎิบตั ติ อ้ งพูดทวนค�ำสัง่ การรักษาทีไ่ ด้ยนิ ด้วยระดับเสียงทีแ่ พทย์ได้ยนิ ชัดเจน - พยาบาลก่อนให้การรักษาพยาบาลจะต้องให้ผู้สั่งการรักษา Confirmed ค�ำสั่งการรักษาทุกครั้ง - แพทย์ลงนามยืนยันค�ำสั่งการรักษา เมื่อสิ้นสุดภาวะฉุกเฉิน ตรายางปั๊ม

Read back and confirmed Physician…………………………….........................…….. Date…....….......…....……..time…………......….......…… Receiving by…………….........……RN/Pharmacist) ( ) Verbal Order ( ) Telephone Order


31

The Hospital Alphabet A

America

I

India

Q

Queen

Y

Yellow

B

Bangkok

J

Japan

R

Russia

Z

Zebra

C

Canada

K

Korea

S

Singapore

D

Denmark

L

London

T

Thailand

E

England

M

Mexico

U

Ukraine

F

Finland

N

Netherland V

Vietnam

G

Germany

O

Oman

W

Washington

H

Hong Kong P

Poland

X

X –ray


32 ชนิดของการตรวจวิเคราะห์

Critical value

ชนิดของการตรวจวิเคราะห์

Critical value

1. Glucose

<60, >400 mg/dl 14. INR

> 4.0

2. Sodium

< 120, >160 mmol/L 15. PTT

> 80 sec.

3. Potassium

< 3.0, > 6.0 mmol/L 16. Glucose NSY

< 40 mg/dl

4. Chloride

<80, > 120 mmol/L 17. Hematocrit NSY

> 70%

5. CO2

< 10, >40 mmol/L 18. Hemoculture

Positive

6. hs Troponin-T 7. CK-MB 8. CK

> 100 ng/L > 50 U/L > 1,000 U/L

9. Calcium

< 7.0, >13.0 mg/dl

10. Magnesium

< 1.0, > 4.7 mg/dl

11. Phosphorus

< 1.0, > 8.0 mg/dl


33 นโยบาย Reporting Critical test and Critical Result : Reporting Critical test and Critical Result Policy

- ผู ้ รายงานผลการตรวจวิเคราะห์ เป็นผู้รายงานแพทย์ผู้ท�ำการรักษาหรือแพทย์ประจ�ำตึกหรือแพทย์เวร (คนใดคนหนึ่ง) ทันที โดยแจ้งแพทย์โดยตรงทางโทรศัพท์ ภายใน 15 นาที นับจากทราบผล - แพทย์ผู้รับรายงาน บันทึกการรายงาน (Write down) ใน Doctor order sheet หรือ OPD record อ่านทวนผลการตรวจวินิจฉัยตามที่ได้รับรายงาน (Read back) - ผู้รายงานผลการตรวจวิเคราะห์พูดยืนยันความถูกต้องของผลการตรวจวินิจฉัย (Confirm) - ผู ้ รั บ รายงานบั น ทึ ก วั น ที่ - เวลา ค่ า วิ ก ฤติ ชื่ อ ผู ้ ร ายงาน ชื่ อ ผู ้ รั บ รายงาน การรายงานแพทย์ แ ละ การตอบสนองของแพทย์ลงใน FM-IPSG2-QSHC-001 บันทึกการรับรายงานค่าวิกฤติ - ผู้รายงานบันทึกชื่อผู้รับรายงานลงในระบบ บันทึกการรายงานค่าวิกฤต บันทึกการรับรายงานค่าวิกฤติ วันที่ ..............................................................ค่าวิกฤติ ..................................................................... ผู้รายงาน .......................... เวลา .................ผู้รับรายงาน ........................................................... รายงานแพทย์ ..................... เวลา ...................... การตอบสนองของแพทย์...................................... FM-IPSG2- QSHC-001 บันทึกการรับรายงานค่าวิกฤติ


34 IPSG 2: นโยบาย Hand Over Communication : Hand Over Communication Policy

ใช้ SBAR เทคนิค ในการช่วยรวบรวมข้อมูลของผู้ป่วย กรณี 1. เมื่อมีการเปลี่ยนช่วงเวลาการท�ำงาน 2. พยาบาลส่งข้อมูลให้แพทย์หรือแพทย์ต้องการส่งข้อมูลให้พยาบาล 3. เมื่อมีการส่งต่อผู้ป่วยระหว่างแผนกผู้ป่วยนอก ไปยังแผนกผู้ป่วยใน 4. เมื่อมีการย้ายผู้ป่วยจากหน่วยห้องตรวจผู้ป่วยฉุกเฉินไปยังหอผู้ป่วยใน หอผู้ป่วยวิกฤต ตรวจวินิจฉัยหรือ ท�ำหัตถการต่างๆ ได้แก่ห้องผ่าตัด ห้องตรวจสวนหัวใจ 5. เมื่อมีการย้ายผู้ป่วยในไปยังหน่วยงาน/ห้องตรวจอื่นๆ 6. เมื่อมีการย้ายจาก ห้องผ่าตัด ห้องตรวจสวนหัวใจ หรือห้องตรวจพิเศษทางหัวใจและหลอดเลือด ไปยังผู้ป่วยใน 7. เมื่อมีการย้ายผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลอื่นๆ สถานพยาบาลอื่น


35 I-SBAR เทคนิค

I : Identification บ่งชี้ตัวผู้ป่วยถูกต้อง S : Situation ระบุชื่อผู้จัดส่งข้อมูล ต�ำแหน่ง หน่วยบริการ ชื่อผู้ป่วย ข้อมูลปัจจุบันของผู้ป่วย B : Background เน้นข้อมูลประวัตกิ ารเจ็บป่วย การตรวจร่างกาย ปัญหาปัจจุบนั การรักษาทีผ่ ปู้ ว่ ยได้รบั ในปัจจุบนั และอาการเปลี่ยนแปลงที่พบในปัจจุบัน A : Assessment สรุปปัญหาที่พบในปัจจุบัน และประเมินความรุนแรงของผู้ป่วยโดยใช้เกณฑ์การประเมิน ตามเอกสารแนบท้าย R : Recommendation อธิบายสิ่งที่ผู้ป่วยต้องการการดูแลรักษาต่อและเวลาที่จะต้องด�ำเนินการ


36

Handover Form

ส�ำหรับหน่วยงานที่ไม่มีแบบบันทึกในการส่งต่อข้อมูลผู้ป่วย Visit date..…..….OPD/Ward.…………Physician…………….Allergies….…….…..Date.……….…From…..……..to…..……… Sender………………… time.……………… position…………………. Receiver……………… time.……………… position…………………. Reason to transfer □ Admit □ Investigate □ Treatment/Procedure □ Improve condition □ Deteriorate □ Return to ward □ other…………………… 1. Chief complaint……….............………… 2. Procedure/treatment/Intervention………................……… 3. Current problem........................... 4. Most recent vital signs BP..….…… mmHg RR …..……. ครั้ง/นาทีPR ………… ครั้ง/นาที Temp. …….……°C O2 Sat. ……..…… % 5. Special care/precaution □ N/A □ Vital signs/hemodynamic condition □ Airway management □ Isolation precaution □ Bleeding precaution □ Fall precaution □ Special equipment come with patient..….. □ Special equipment to be prepared……… □ Medication management ………. □ Valuable ……. □ Other……… □ Escort by: ………. Position: □ Physician □ RN □ PN/NA


37 IPSG 3: นโยบายความปลอดภัยในการใช้ยาทีต่ อ้ งระมัดระวังสูง : Improve the Safety of High Alert Medications กลุ่มยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drug: HAD) ตามที่คณะกรรมการการจัดการด้านยาและการใช้ยา (Medication Management and Use; MMU) ประกาศ มีทั้งสิ้น 18 กลุ่มยา 79 รายการ และกลุ่ม Look Alike Sound Alike Drug (LASA) Drug: Look Alike Drug 17 คู่ยา Sound Alike Drug 15 คู่ยา ได้แก่ สารละลายอิเล็คโตรไลท์ที่มีความเข้มข้นสูง (Concentrated Electrolytes) หมายถึง สารละลาย Potassium chloride (KCl) ความเข้มข้นมากกว่า หรือ เท่ากับ 2 mEq/ml, Potassium phosphate, Sodium chloride (NaCl) ความเข้มข้นมากกว่า 0.9% และ Magnesium sulfate (MgSO4) 1 g สารละลายอิเล็คโทรไลท์ที่มีความเข้มข้นสูง (Concentrated electrolytes) ที่มีในโรงพยาบาล ได้แก่ - Potassium chloride (KCl) (15%=20mEq/10ml ) injection Dipotassium phosphate (K2HPO4) 20mEq/20ml injection - Sodium chloride (NaCl) 3% injection 500 ml Magnesium sulfate 10% (10ml), 50% (2ml) = 1 gm/amp injection - Sodium bicarbonate 7.5% injection - Cardioplegia solution


38 ยาที่มีความเสี่ยงสูงที่ก�ำหนดให้มีการติดตามผลหลังการใช้ยาอย่างใกล้ชิด (HAD-Close Monitor) รายการยา ที่มีรายงานเกิด Serious Adverse Drug Event หรือ Sentinel Event ที่ควรต้องมีการติดตามอาการหลังการใช้ยา อย่างใกล้ชิด19 รายการได้แก่ 1) Adrenaline 1 mg/ml injection (Epinephrine HCl) 2) Adenosine 6 mg/2 ml injection 3) Amiodarone HCl 150 mg/3 ml injection 4) Calcium gluconate 10% 10 ml injection 5) Dobutamine HCl 250 mg/20 ml injection 6) Dopamine HCl 50 mg/5 ml และ 250 mg/5 ml injection 7) Heparin sodium 5,000 IU/ml 5 ml injection 8) Magnesium sulfate 50% 2 ml injection 9) Midazolam HCl 5 mg/ml 1 ml injection 10) Morphine sulfate 10 mg/ml 1 ml injection 11) Phenytoin 250 mg/ 5 ml injection 12) Potassium chloride 20 mEq/10ml injection 13) Regular insulin injection 14) Sodium chloride ( NaCl ) 3% injection 500 ml 15) Norepinephrine 4 mg/4 ml injection 16) Warfarin 3 mg, 5 mg tablet 17) Digoxin 0.25 mg/ml injection 18) Vancomycin 500 mg injection 19) Sodium nitroprusside 50 mg injection


39 การเก็บรักษาการจัดเก็บและการส�ำรองยา สถานทีเ่ ก็บยา: ทุกหน่วยบริการทีม่ กี ารส�ำรองยาหรือเก็บยา High Alert Drug ให้แยกเก็บยา High Alert Drug ออกจากยาอื่นๆ และ พร้อมทั้งติดป้ายให้ชัดเจนที่ชั้นยา รวมทั้งยาที่ต้องเก็บในตู้เย็นโดยป้ายค�ำเตือนต้องเห็นได้ชัดเจน ก�ำหนดเป็นป้ายสีแดง ระบุค�ำว่า “High Alert Drug” ตัวอักษรสีด�ำ - กรณี ยา High Alert Drug อยู่ในรถยาฉุกเฉิน ต้องจัดเก็บในกล่อง ยาฉุกเฉิน เท่านั้น ซึ่งมีการปิด โดยสายคาด และเมื่อมีการเปิดใช้ให้ท�ำการแลกกล่องยาฉุกเฉิน กับ ห้องจ่ายยาทันที พร้อมด้วย Copy Doctor’s Order Sheet - ยา High Alert Drug กลุ่ม High Concentration Electrolytes ได้แก่ Potassium chloride Injection 20 mEq/10 ml และ Sodium chloride 3% injection ไม่มีส�ำรองตามแผนกต่างๆนอกกลุ่มงาน เภสัชกรรม ยกเว้นหอผู้ป่วยวิกฤตศัลยศาสตร์หัวใจและหลอดเลือด การสั่งใช้ยา High Alert Drug (แพทย์) เขียนค�ำสั่งใช้ยาที่อ่านได้ง่ายชัดเจนสมบูรณ์ประกอบด้วย 1. ผู้สั่งใช้ยา คือ แพทย์เท่านั้นและสั่งใช้ยาโดยพิจารณาข้อบ่งใช้ ข้อห้ามใช้ 2. การเขียนชื่อยาในค�ำสั่งใช้ยาหรือ การเลือกชื่อยาที่ปรากฏในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ต้องแสดงชื่อยา ให้เห็นความแตกต่างที่ชัดเจน เช่น DoPAmine กับ doBUtamine injection


40 3. ห้ามการสั่งยาในลักษณะสัดส่วน เช่น DoPAamine (1:1) หรือ DoPAmine (1:2) เพราะท�ำให้เกิด ความสับสนให้เขียนเป็นจ�ำนวนของยาเป็นน�้ำหนัก (กรัม, มิลลิกรัม, หรือไมโครกรัม) และปริมาณของสารละลายทีใ่ ช้ ยกตัวอย่างเช่น DoPAmine (1:1) คือ DoPAmine 100 mg in 5% D/W 100 ml หรือ Insulin (1:1) คือ 100 unit in 0.9% NSS 100 ml เป็นต้นตามนโยบายของ International Patient Safety Goals 2 (IPSG2) 4. กรณีต้องการหยุดค�ำสั่งใช้ยา ให้เขียนค�ำสั่งหยุดใช้ยา ลงใน Doctor Order Sheet ใหม่ ไม่น�ำค�ำสั่ง ใช้ครั้งก่อน มาเขียนค�ำสั่งหยุดใช้ยา 5. ห้ามการใช้ตัวย่อห้ามใช้และไม่เป็นสากลทั้งในส่วนของชื่อยาวิธีใช้ยาตามนโยบายของ International Patient Safety Goals 2 (IPSG2) 6. กรณีสั่งยาในกลุ่ม HAD- Close Monitor แพทย์ระบุการวินิจฉัยใน Progress Note ด้านซ้ายของใบสั่งยา 7. ไม่ควรออกค�ำสั่งใช้ยาทางวาจา: ยกเว้นกรณีฉุกเฉินและไม่สามารถเขียนค�ำสั่งใช้ยาหรือ Key ค�ำสั่งผ่าน คอมพิวเตอร์ให้ปฏิบตั ติ ามแนวทางการปฏิบตั ใิ นการรับค�ำสัง่ การรักษาด้วยวาจา (Receiving Verbal Medical Orders) ตามนโยบายของ International Patient Safety Goals 2 (IPSG2)


41 การรับค�ำสั่งใช้ยา High Alert Drug (พยาบาล) รับค�ำสั่งใช้ยาจาก Doctor Order Sheet (กรณี ผู้ป่วยใน) โดย 1. ตรวจสอบความถูกต้องด้านชื่อผู้ป่วย/ชนิดยา/ขนาดยา/วิธีการใช้ยา/วิถีการให้ยา/ข้อบ่งใช้/ข้อห้ามใช้ยา/ ประวัติการแพ้ยา 2. กรณีค�ำสั่งยาไม่ชัดเจนให้ติดต่อแพทย์ผู้เขียนค�ำสั่งโดยตรง 3. กรณีแพทย์สั่งยาโดยเลือกสารละลายหรือระบุความเข้มข้นของยาไม่เหมาะสมต้องติดต่อแพทย์ผู้เขียน ค�ำสั่งเพื่อเปลี่ยน Order ทุกครั้ง 4. หากมีการสัง่ ใช้ยาในขนาดทีม่ ากกว่า Maximum Dose ตามมาตรฐานแนวทางการใช้ยาทีม่ คี วามเสีย่ งสูง ต้องตรวจสอบกับแพทย์ผู้สั่งใช้ยาก่อนให้ยา 5. ในกรณี รั บ ค� ำ สั่ ง ทางวาจาให้ ป ฏิ บั ติ ต ามแนวทางการปฏิ บั ติ ใ นการรั บ ค� ำ สั่ ง การรั ก ษาทางวาจาตาม Patient Safety Goal 2: แนวทางการปฏิบัติในการรับค�ำสั่งการรักษาด้วยวาจา (Receiving Verbal Medical Orders) จากแพทย์ แล้วส่งค�ำสั่งใช้ยาต่อไปยังเภสัชกรโดยใช้ Copy Doctor Order Sheet


42 เภสัชกรรับค�ำสั่งใช้ยา โดยมี Copy Doctor Order Sheet (กรณีผู้ป่วยใน) ท�ำการตรวจสอบความถูกต้องในเรื่อง 1. ชื่อผู้ป่วย/ชนิดยา/ขนาดยา/วิธีการใช้ยา/วิถีการให้ยา/ข้อบ่งใช้/ข้อห้ามใช้ยา/ประวัติการแพ้ยา 2. ความเข้มข้น ชนิด ของสารละลาย 3. หากพบว่าขนาดยา วิธีใช้ยา ความเข้มข้น ชนิดของสารละลาย หรือข้อมูลอื่นๆไม่เหมาะสม จะต้องยืนยัน ค�ำสั่งใช้ยากับแพทย์ผู้เขียนค�ำสั่งทุกครั้งก่อนจ่ายยา พร้อมกับลงบันทึก และลงนามก�ำกับในส�ำเนาใบสั่งยาให้ชัดเจน โดยแพทย์ต้องแก้ไขค�ำสั่งใช้ยาในใบสั่งยาต้นฉบับที่หอผู้ป่วยด้วย การเตรียมยา และการจ่ายยา 1. เจ้าหน้าที่จัดยาด้วยระบบ Double Check 2. การจัดยาให้มีการระบุสัญลักษณ์การเป็นยา High Alert Drug โดยการใช้ซองแดง หรือการติด Sticker ที่มีค�ำว่า “High Alert Drug” ไปพร้อมกับยา (กรณีผู้ป่วยใน) 3. เภสัชกร ตรวจสอบยาก่อนจ่าย โดยการทวนสอบกับค�ำสัง่ ใช้ยา ทัง้ ชือ่ ผูป้ ว่ ย/ชนิดยา/ขนาดยา/วิธกี ารใช้ยา/ วิถีการให้ยา/ข้อบ่งใช้ ประวัติการแพ้ยา/ข้อห้ามใช้ยา/จ�ำนวน หากมีการสั่งใช้ยาในขนาดที่มากกว่า Maximum Dose (กรณีเป็นยาที่มีการก�ำหนด Maximum Dose) ต้องทวนสอบกลับกับแพทย์ผู้สั่งใช้ยาก่อนจ่ายยา


43 4. เภสัชกรเป็นผู้จ่ายยากลับบ้าน ให้ข้อมูล/ความรู้เกี่ยวกับยาในด้านการใช้ยา และผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น แก่ผู้ป่วย/ครอบครัว เพื่อให้ผู้รับบริการสามารถประเมิน สังเกตตนเองรวมทั้ง วิธีการจัดการ แก้ไขหากมีอาการรุนแรง เมื่ออยู่ที่บ้าน การบริหารยา 1. พยาบาล ต้อง ตรวจสอบค�ำสัง่ ใช้ยาของแพทย์ใน Doctor Order Sheet กับใบ Medication Administration Record ให้ตรงกันก่อนการให้ยาทุกครั้ง 2. การเตรียมยาและการให้ยากระท�ำโดยพยาบาล 2 ท่านซึ่งแยกกันกระท�ำการโดยอิสร (Independent) เพื่อ Double Check และ Co-sign 3. Monitor ค่า Parameter, Lab ที่ควรระวังและรายงานแพทย์ทันทีเมื่อพบความผิดปกติและพยาบาล ลงบันทึกผลที่ท�ำการวัดหรือประเมินลงในแบบบันทึก 4. พยาบาลผู้ท�ำการให้ยา ต้องตรวจสอบข้อควรระวัง/ข้อห้ามหลักส�ำหรับยานั้นๆ 5. กรณีมีการยกเลิกค�ำสั่งใช้ยาหรือมีค�ำสั่งให้หยุดใช้ยาให้ส่งยาที่เหลือคืนห้องยาทันที


44 IPSG4: นโยบาย Eliminate wrong-site, Wrong patient, wrong procedure Surgery First verification โดยพยาบาลหน่วยงานที่เป็นผู้เตรียมผู้ป่วย Patient identification การบ่งชี้ผู้ป่วยถูกต้อง ■ บ่งชี้ผู้ป่วยโดยใช้ 2 ตัวบ่งชี้ คือ ชื่อ-นามสกุล และวันเดือนปีเกิด Consent form ทวนสอบการเซ็นยินยอมท�ำหัตถการ/การผ่าตัดที่ระบุรายละเอียดการผ่าตัดให้ตรง กับบันทึก การตรวจรักษาและค�ำสั่งการท�ำหัตถการ ตรงกับข้อมูลที่ได้รับจากผู้ป่วยหรือผู้แทนตามกฎหมายของผู้ป่วย Mark site การท�ำเครื่องหมายบ่งชี้ต�ำแหน่งหรือข้างที่จะท�ำหัตถการหรือผ่าตัด ท�ำที่หอผู้ป่วย กรณี เร่งด่วน และ OPD CASE อนุญาตท�ำที่ Pre-area ■ ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการท�ำ mark site กรณีผู้ป่วยเด็กต้องได้รับความยินยอมจากผู้ปกครอง ■ Mark site โดยแพทย์ผู้ท�ำผ่าตัด/หัตถการ หรือ ทีมแพทย์ผู้ได้รับมอบหมาย ■ ท�ำสัญลักษณ์เครือ่ งหมาย “O” (วงกลม) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 ซม. บ่งชีบ้ ริเวณทีท่ ำ� ผ่าตัด/ หัตถการส�ำหรับอวัยวะดังนี้ ○ อวัยวะที่มี 2 ข้าง เขียน วงกลม ข้างที่จะท�ำผ่าตัด ○ อวัยวะที่เป็นระยางค์ เช่น นิ้วมือ นิ้วเท้า แขน ขา


45 ■ Mark site ด้วยปากกาชนิดพิเศษ (Marking pen) ที่ไม่ลบเลือนภายหลังจากที่ท�ำความสะอาดผิว เพื่อท�ำผ่าตัด (Drape) กรณีที่ไม่ต้องท�ำ Mark site อันเนื่องมาจากสาเหตุดังต่อไปนี้ ■ อวัยวะที่มีต�ำแหน่งเดียวของร่างกาย เช่น Heart, Appendic, Nose, Maxillar เป็นต้น ■ ผูป้ ว่ ยและญาติไม่ยนิ ยอมให้ทำ� Mark site แต่ยงั ต้องทวนสอบต�ำแหน่งของการผ่าตัดร่วมกับผูป้ ว่ ยหรือ ผู้แทนผู้ป่วยเทียบกับผลการตรวจวินิจฉัย เช่น X-ray และMark site diagram ตามรูป (เอกสารแนบ) ■ Intervention ที่มีการวินิจฉัยด้วย CT, Ultrasound ใหม่ทุกครั้งและท�ำในคราวเดียวกัน โดยไม่ได้ ละจากผู้ป่วย เช่น Intervention in X-ray Department ■ ต�ำแหน่งที่จะท�ำผ่าตัดสามารถมองเห็นได้ชัดเจน ■ ทีมแพทย์ผู้ท�ำหัตถการไม่ได้ละจากผู้ป่วย ■ ท�ำการผ่าตัดอวัยวะทั้ง 2 ข้างในการผ่าตัดคราวเดียวกัน ■ การกลืนกล้องตรวจหัวใจ (Transesophageal echocardiography:TEE) การส่องกล้องกระเพาะ อาหาร การส่องกล้องล�ำไส้ และการผ่าตัดทีเ่ ป็น midline incision เช่น การผ่าตัดหัวใจ การส่องกล้อง ผ่าตัดนิ่วถุงน�้ำดี ตรวจหัวใจ ■ การท�ำหัตถการที่ไม่มีผลต่อการรักษา เช่น Cut down, Central line, Cath lab procedure เป็นต้น ให้ระบุบนเวชระเบียน


46 กรณีที่มีข้อบ่งชี้ในการท�ำ mark site แต่ไม่ได้ด�ำเนินการให้พยาบาลบันทึกเหตุผลในเวชระเบียนผู้ป่วยด้วย ทุกครั้ง ได้แก่กรณีผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว และ ให้ทวนสอบต�ำแหน่งกับพยาบาลที่มากับผู้ป่วยและญาติผู้ป่วย Second verification (Sign in) การทวนสอบความถูกต้องโดยพยาบาลหน่วยงานที่ท�ำหัตถการ เช่น ห้องผ่าตัด, ห้องตรวจสวนหัวใจฯ Third verification (Time out) ทีมทีร่ บั ผิดชอบการท�ำผ่าตัดหรือหัตถการทุกคนท�ำการขานเพือ่ ตกลงความเห็นชอบ ร่วมกันในเรื่องของความถูกต้องทั้งหมดก่อนที่จะให้การระงับความรู้สึกแก่ผู้ป่วย (Pre induction) Postoperative verification (Sign out) ทีมที่รับผิดชอบการท�ำผ่าตัดหรือหัตถการทุกคนท�ำการขานเพื่อตกลง ความเห็นชอบร่วมกันในเรื่องของความถูกต้อง


47


48~ ~ 50


~ 51 ~49


~ 52 ~

IPSG6:นโยบาย Reduce 50 the Risk of Patient Harm Resulting Form Falls IPSG6: นโยบาย Reduce theผูRisk of Patient Harm Resulting Form Falls ้ป่วยนอก ผู้ป่วยนอก - -

- กรณี ผปู ้ ่ วยสามารถช่ ยเหลือนตนเองได้ ดี ประเมิ Low าที่ปฏิบตั ิตาม stand กรณีผู้ป่วยสามารถช่ วยเหลื อตนเองได้ดีวประเมิ เป็น Low risk ให้นเป็ เจ้านหน้ าที่ปrisk ฏิบให้ ัติตเจ้ามาหน้standard fall precaution - กรณี พบว่าเป็ นผูป้ ่ วยที่มีอายุ น้อยกว่า 7 ปี และมากกว่า 65 ปี หรื อ มีปัญหาการทรงตัวบกพร่ อง กรณีพบว่าเป็นผู้ป่วยที่มีอายุ น้อยกว่า 7 ปี และมากกว่า 65 ปี หรือ มีปัญหาการทรงตัวบกพร่อง บตั ิ strict ตาม strict fall precaution และชี ป้ ่ วยกลุ ่มี High ประเมินเป็น HighHigh risk ให้risk เจ้าให้ หน้เจ้าาทีหน้ ่ปฏิาบทีัต่ปิ ฏิตาม fall precaution และชี ้บ่งผู้ บ้ป่ง่วผูยกลุ ่มที่ม่มี ทีHigh risk risk ด้วยกา ีอกั ษรที่มFALL ด้วยการติดด้วยสติที้ก่มเกอร์ ีอักษร FALL

เจ้าหน้ท�าำทีการประเมิ ่/ พยาบาลน OPD ทาการประเมิ น Fall นทึกในแบบบั ทึกผูป้ป่ วยนอก - เจ้าหน้าที/่ พยาบาล- OPD Fall และบั นทึกในแบบบั นทึและบั กผูป้ ว่ ยนอก OPD/ER นและให้ ฏิบตั ติ ามOPD/ ER Standard fall precaution Standard fall precaution - กรณีแพทย์ Admit ผู้ป่วย ให้เจ้าหน้าที่พยาบาล ชี้บ่งผู้ป่วยกลุ่มที่มี High risk ด้วยการติดป้าย - กรณี Admit ่ยผูงให้ ป้ ่ วยหน่ให้วยงานที เจ้าหน้่ดาทีูแ่พลผูยาบาล ้ บ่งผูป้ ่ วยกลุ่มที่มี High risk ด้วยการติดป้าย ข ข้อมือสีเหลือง และส่ งต่อแข้พทย์ อมูลความเสี ้ป่วยต่อชีไป ส่ งต่อข้อมูลความเสี่ ยงให้หน่วยงานที่ดูแลผูป้ ่ วยต่อไป


51 การดูแลผู้ป่วยใน - พยาบาลประเมิน Fall Risk ในผูป้ ว่ ยรับใหม่ โดยใช้แบบฟอร์ม แบบประเมินความเสีย่ งต่อการพลัดตกหกล้ม Hendrich II (Fall risk assessment tool : Hendrich II) (IPD) - พยาบาลจะท�ำการ Reassessment fall risk ซ�้ำ ดังนี้ 1. ประเมินซ�้ำอย่างน้อยทุก 8 ชั่วโมง บันทึกลงในแบบประเมิน fall risk assessment tool : Hendrich II (IPD) 2. เมื่อผู้ป่วยมีอาการเปลี่ยนแปลง 3. หลังท�ำผ่าตัด/หัตถการ 4. เมื่อแพทย์มีการเปลี่ยนแปลงการรักษา/Transfer Level of Care 5. เมื่อผู้ป่วยได้รับยากลุ่มเสี่ยงต่อ Fall - พยาบาลให้การพยาบาล การดูแลผู้ป่วยและให้ค�ำแนะน�ำ ตาม Fall Score ดังนี้ 1. Fall Score 1-4 Follow Standard fall precaution 2. Fall Score ≥ 5 Follow Strict fall precaution และบันทึกปัญหาการพยาบาลและค�ำแนะน�ำลงในใบ Nurse Note


52 แบบประเมินพลัดตกหกล้ม ในผู้ป่วย 0-13 ปี Modified จาก Humpty Dumpty Fall Scale การบันทึกแรกรับทุกราย ในกรณีมีความเสี่ยงคะแนน มากกว่า 12 ให้ประเมินทุกเวร/คะแนน 7-11 ประเมินทุกวัน คะแนน 7-11 low risk, 12-23 high risk


53 ACC: Access to Care and Continuity of Care การเข้าถึงบริการและการดูแลอย่างต่อเนื่อง นโยบายการรับไว้เป็นผู้ป่วยใน

1. การรับไว้เป็นผู้ป่วยใน ให้เป็นไปตามปัญหาหรือความต้องการการดูแลทางคลินิกของผู้ป่วย แต่ละราย ตามที่ทีมผู้คัดกรองและตามที่แพทย์สืบค้นปัญหาทางคลินิก และให้รับผู้ป่วยไว้รักษาเฉพาะบริการที่ โรงพยาบาลมีศักยภาพในการให้บริการได้เท่านั้น ยกเว้นการรักษาแบบฉุกเฉิน ที่จ�ำเป็นต้องให้การ ดูแลรักษาในภาวะฉุกเฉินก่อนส่งต่อ 2. ผู ้ ป ่ ว ยที่ รั บ ไว้ เ ป็ น ผู ้ ป ่ ว ยในจะต้ อ งมี แ พทย์ เ จ้ า ของไข้ รั บ ผิ ด ชอบผู ้ ป ่ ว ยและเป็ น แพทย์ ที่ มี สิ ท ธิ์ รั ก ษา (Privileges) ของโรงพยาบาลเท่านั้น 3. การรับไว้เป็นผู้ป่วยในทุกรายต้องมีค�ำสั่งแพทย์ในเวชระเบียน 4. แพทย์เป็นผู้ให้ดุลยพินิจในการการคัดกรองอาการ การตรวจวินิจฉัยและแพทย์เจ้าของไข้ส่ือสารกับทีมใน Multidisciplinary & Progress Note 5. ผู้ป่วยที่รับเป็นผู้ป่วยในทุกราย จะได้รับการผูกป้ายข้อมือส�ำหรับการชี้บ่ง ตลอดการเข้ารับการรักษา โดยในป้ายข้อมือจะระบุชื่อสกุล วันเดือนปีเกิดและ HN ส�ำหรับผู้ป่วยทารกแรกเกิดจะต้องติดป้าย ทั้งข้อมือและข้อเท้า


54 กรณีมีผู้ป่วย admit มากกว่า 1 รายในเวลาเดียวกัน ให้จัดล�ำดับความส�ำคัญดังนี้ 1. ย้ายผู้ป่วยฉุกเฉินหรือผู้ป่วยจากห้องผ่าตัดเป็นล�ำดับแรก 2. ย้ายผู้ป่วยจากหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤติเป็นล�ำดับสอง 3. ย้ายผู้ป่วยจากหอผู้ป่วยสามัญอื่นหรือหอผู้ป่วยพิเศษเป็นล�ำดับถัดมา 4. กรณีที่มีข้อโต้แย้งในการเคลื่อนย้าย ให้ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลหรือตัวแทนผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาล (ผู้ตรวจการพยาบาล) เป็นผู้ไกล่เกลี่ยกรณีพิพาทนั้น การส่งต่อหรือจ�ำหน่ายผู้ป่วย ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องในแผนกอื่นๆ ผู้ป่วยโรคหัวใจที่มีโรคร่วม ผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย กรณีผู้ป่วยในขออนุญาตออกนอกโรงพยาบาลระหว่างรับการรักษาในโรงพยาบาล โรงพยาบาล ไม่มีนโยบาย อนุญาตให้ผู้ป่วยออกนอกโรงพยาบาลระหว่างรับการรักษา


55 กรณีผปู้ ว่ ยผูป้ ว่ ยไม่สมัครใจอยูโ่ ดยแจ้งหรือมิได้แจ้งให้เจ้าหน้าทีท่ ราบ ให้ - ติดตามผูป้ ว่ ยโดยพยาบาลผูจ้ ดั การความเสีย่ ง โรงพยาบาล เพื่อทราบถึงการจัดการด้านการรักษาต่อเนื่องของผู้ป่วยภายใน 24 ชั่วโมง - พยาบาลในหอผู ้ ป ่ ว ยนั้ น บั น ทึ ก ข้ อ มู ล ในแบบรายงาน Incidence Report ส่ ง คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงโรงพยาบาล เพื่อพิจารณาแนวทางการแก้ไขต่อไป - งานการพยาบาลผู้ป่วยนอกติดตามผู้ป่วยที่มิได้มารับการรักษาตามนัด ในกลุ่มผู้ป่วยที่ต้องได้รับการรักษา แบบซับซ้อนตามที่อยู่ในเวชระเบียนผู้ป่วย


56 Transfer and referral แนวทางปฏิบัติในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย - มีภาวะหรือโรคที่เกินศักยภาพของโรงพยาบาล ในการดูแลรักษาผู้ป่วย (ทั้งนี้ ขึ้นกับดุลยพินิจของแพทย์ เจ้าของไข้) - ผู้ป่วยที่ต้องดูแลต่อเนื่องที่โรงพยาบาลใกล้บ้าน - ญาติผู้ป่วยหรือผู้ป่วยมีความประสงค์จะไปรับการรักษาที่สถานพยาบาลอื่น - ผู้ป่วยมีสิทธิรักษาที่สถานพยาบาลอื่น - กรณีเตียงเต็มทั้งโรงพยาบาล และไม่สามารถหาเตียงว่างได้ภายใน 6 ชั่วโมง - ผู้ป่วยที่จ�ำเป็นต้องตรวจพิเศษต่างๆ ที่ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯไม่สามารถตรวจได้ เช่น CT, MRI, Ultrasound, Scope, Heart scan การเคลือ่ นย้ายด้วยรถพยาบาลต้องอธิบายให้ผปู้ ว่ ยเข้าใจถึงความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ ได้ในระหว่างการเคลือ่ นย้าย ให้ผู้ป่วยหรือญาติลงนามในแบบฟอร์ม “ใบแสดงความยินยอมในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปยังสถานพยาบาลอื่น” การเคลือ่ นย้าย/ส่งต่อผูป้ ว่ ยต้องบันทึกลงในเวชระเบียนของผูป้ ว่ ย ประกอบด้วยชือ่ หน่วยงาน/บุคลากรทีร่ บั ผูป้ ว่ ย เหตุผลการเคลื่อนย้าย เอกสารผู้ป่วย อาการผู้ป่วย และข้อมูลที่ส�ำคัญหรือจ�ำเป็นอื่นๆ


57 กรณีมีการส่งต่อผู้ป่วย (Refer Out) แพทย์เจ้าของไข้ คุยกับผู้ป่วยและ/หรือญาติถึงเหตุผลที่ต้องส่งต่อ (Refer Out) ให้ผู้ป่วยและหรือญาติเข้าใจ มีสว่ นร่วมในการตัดสินใจและลงนามในแบบฟอร์ม “ใบแสดงความยินยอมในการเคลือ่ นย้ายผูป้ ว่ ยไปยังสถานพยาบาลอืน่ ” แพทย์เจ้าของไข้ แจ้งข้อมูลผู้ป่วย ได้แก่ ชื่อ นามสกุล อายุ การวินิจฉัยโรค อาการส�ำคัญ หัตถการ การตรวจ รักษาต่างๆที่ท�ำแล้ว สาเหตุของการส่งต่อ การดูแลต่อเนื่องและสรุปข้อมูลผู้ป่วยทั้งหมดลงในแบบฟอร์ม “แบบส�ำหรับ ส่งผู้ป่วยไปรับการตรวจหรือรักษาต่อ”กับโรงพยาบาลปลายทาง แนวทางปฏิบัติกรณีเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ ปฏิบัติดังนี้ 1. กรณีผู้ป่วยอาการทรุดลงระหว่างเคลื่อนย้าย 1.1 พยาบาล refer (หรือแพทย์ ถ้ามีแพทย์ไปด้วย) ประเมินอาการผูป้ ว่ ยและน�ำส่งโรงพยาบาลทีใ่ กล้ทสี่ ดุ เมื่อถึงโรงพยาบาลแจ้งอาการผู้ป่วยให้ทีมแพทย์และพยาบาลทราบ 1.2 แจ้งแพทย์เจ้าของไข้ทราบทันที (กรณีไม่มีแพทย์ไปด้วย) แจ้งหัวหน้างาน หรือ หัวหน้าหอผู้ป่วย (กรณีเวลาราชการ) แจ้งผู้ตรวจการพยาบาล (กรณีนอกเวลาราชการ) 1.3 ประสานงานกับโรงพยาบาลปลายทางที่รอรับผู้ป่วยแจ้งอาการเปลี่ยนแปลง


58 1.4 กรณีแพทย์ไปด้วยให้แพทย์และพยาบาล refer ให้การรักษาพยาบาลผู้ป่วยโดยมีทีมบุคลากรของ โรงพยาบาลที่ผู้ป่วยอยู่ในขณะนั้นเป็นทีมให้ความช่วยเหลือ (Assistant) 1.5 แจ้งแพทย์เจ้าของไข้กรณีผปู้ ว่ ยมีอาการคงทีแ่ ละปลอดภัย ให้เคลือ่ นย้ายไปยังโรงพยาบาลปลายทาง และแจ้งให้โรงพยาบาลปลายทางรับทราบ 1.6 กรณีทไี่ ม่สามารถเคลือ่ นย้ายผูป้ ว่ ยต่อไปได้จากสาเหตุใดๆก็ตามให้ผปู้ ว่ ยพักรักษาทีโ่ รงพยาบาลนัน้ ก่อน และแจ้งให้โรงพยาบาลปลายทางรับทราบและทีมส่งต่อเดินทางกลับ 2. กรณีผปู้ ว่ ยเสียชีวติ ระหว่างการเคลือ่ นย้าย (เสียชีวติ ในรถพยาบาลหรือเสียชีวติ ในโรงพยาบาลทีเ่ ข้ารับการ รักษาอย่างฉุกเฉิน) พยาบาล refer ปฏิบัติดังนี้ 2.1 แจ้งแพทย์เจ้าของไข้ (กรณีไม่มแี พทย์ไปด้วย) แจ้งหัวหน้าหอผูป้ ว่ ย หรือ หัวหน้างาน (กรณีเวลาราชการ) แจ้งผู้ตรวจการพยาบาล (กรณีนอกเวลาราชการ) ทั้งข้อมูลผู้ป่วยและค่าใช้จ่ายในการรักษา 2.2 ประสานงานกับโรงพยาบาลปลายทางที่รอรับผู้ป่วย 2.3 ประสานงานกับโรงพยาบาลทีผ่ ปู้ ว่ ยรับการรักษาฉุกเฉินเกีย่ วกับค่าใช้จา่ ย การเรียกเก็บตามระเบียบ ของโรงพยาบาลและตามสิทธิ์ของผู้ป่วยให้เรียบร้อย 2.4 เขียนอุบัติการณ์ รายงานตามระบบการรายงานอุบัติการณ์


59 PFR: Patient and Family Rights สิทธิผู้ป่วยและครอบครัว Patient and Family Rights - ให้ติด “ค�ำประกาศสิทธิผู้ป่วย” ในหน่วยบริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน - ผู้ป่วยและครอบครัวจะได้รับการแจ้งและแจกเอกสารคู่มือผู้ป่วย - แพทย์เป็นผู้ให้ข้อมูลผลการตรวจ การวินิจฉัยโรค ทางเลือกในการรักษา ผลลัพธ์การรักษาที่คาดหวังและ ไม่คาดหวังที่อาจเกิดขึ้นได้ - กรณีทราบภายหลังว่าผู้ป่วยหรือผู้มีสิทธิตัดสินใจแทนผู้ป่วยเข้าใจไม่ตรงกันกับที่แพทย์ให้ข้อมูล หรือ ไม่เข้าใจ หรือ ต้องการได้ข้อมูลเพิ่มเติม ให้ทีมพยาบาลประสานงานกับแพทย์เจ้าของไข้เพื่อตอบสนอง ต่อปัญหา/ความต้องการดังกล่าว - เมื่อรับเป็นผู้ป่วยใน แพทย์จะให้ข้อมูลการรักษา โดยเฉพาะกรณีเมื่อได้ผล investigate, เมื่อเปลี่ยน การวินิจฉัยโรคและเมื่อเปลี่ยนวิธีรักษาจะต้องให้ข้อมูลการรักษาแก่ผู้ป่วยทุกครั้ง - พยาบาลมีบทบาทในการร่วมรับรู้กระบวนการให้ข้อมูลและการตัดสินใจของผู้ป่วยหรือผู้ที่รับผิดชอบ แทนผู้ป่วย และลงนามเป็นพยานฝ่ายโรงพยาบาลทุกครั้ง


60

- กรณีทผี่ ปู้ ว่ ยมีปญ ั หาซับซ้อนหรือผูป้ ว่ ยและ/หรือครอบครัวต้องการความชัดเจนเกีย่ วกับสภาพความเจ็บป่วย หรือต้องการข้อมูลและ/หรือค�ำแนะน�ำเป็นกรณีพเิ ศษ ให้จดั ประชุมร่วมกันระหว่างทีมแพทย์ พยาบาลกับ ผู้ป่วยและครอบครัวเป็นกรณีพิเศษเพื่อตอบสนองความต้องการดังกล่าว - กรณีมีการเปลี่ยนแผนการรักษา ยุติการรักษา ปฏิเสธการรักษา ไม่ว่าจะเปลี่ยนโดยแพทย์หรือจากการ ร้องขอจากผู้ป่วยหรือผู้มีสิทธิตัดสินใจแทนผู้ป่วย แพทย์จะต้องบันทึกเหตุผลของการเปลี่ยน หรือบันทึก ข้อมูลเกีย่ วกับผลลัพธ์หรือผลกระทบ ทางเลือกทีใ่ ห้กบั ผูป้ ว่ ยหรือผูม้ สี ทิ ธิตดั สินใจแทนผูป้ ว่ ยในเวชระเบียน รวมทัง้ สรุปข้อมูลการรักษาทีส่ ำ� คัญในเวชระเบียนให้แพทย์ทา่ นอืน่ ดูแลต่อเนือ่ ง และ/หรือ บันทึกในเอกสาร ส�ำหรับส่งต่อเพื่อให้ผู้ป่วยและครอบครัวน�ำไปใช้ในการรักษาตามที่ต้องการ - ห้ามน�ำข้อมูลทางการแพทย์และข้อมูลสุขภาพอื่นๆของผู้ป่วยไปติดประกาศไว้ที่ที่ผู้อื่นเห็นได้ง่าย เช่น บริเวณเตียงหน้าห้องผู้ป่วย, บริเวณ nurse station หน้าหน่วยงาน เป็นต้น - ห้ามเจ้าหน้าที่เปิดเผยข้อมูลผู้ป่วยในที่สาธารณะ - ผู้ป่วยหรือผู้มีสิทธิ์ตัดสินใจแทนผู้ป่วย สามารถขอข้อมูลด้านการรักษา (เฉพาะ Discharge summary เท่านั้น) โดยต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรเท่านั้น ที่งานเวชระเบียนและสถิติ


61

- หากมีการขอข้อมูลเพื่อการรักษาต่อเนื่องที่อื่น รวมถึงกรณีมีการขอเวชระเบียนทั้งเล่ม จะให้ผู้ป่วยหรือ ผูม้ สี ทิ ธิต์ ดั สินใจแทนผูป้ ว่ ย ติดต่อเจ้าหน้าทีง่ านเวชระเบียนและสถิติ เพือ่ เจ้าหน้าทีเ่ วชระเบียนจะได้ดำ� เนิน การขออนุมัติถ่ายส�ำเนาเอกสารให้อีกครั้ง (อ้างอิงตามนโยบาย MOI) - ทีมผู้ให้บริการมีหน้าที่แจ้งให้ผู้ป่วยและผู้มีสิทธิตัดสินใจแทนผู้ป่วยทราบวิธีรักษาข้อมูลเป็นความลับ และ ข้อยกเว้นในการอนุญาตให้น�ำข้อมูลด้านการรักษาออกไปใช้ได้ - การท�ำวิจยั ในมนุษย์ ในโรงพยาบาล จะต้องด�ำเนินการขออนุมตั ติ ามทีโ่ รงพยาบาลก�ำหนด โดยการวิจยั นัน้ จะต้องท�ำตามนโยบายคุณภาพและความปลอดภัยของผู้ป่วยในโรงพยาบาล อีกทั้งต้องด�ำเนินการ ตามมาตรฐานสากลในการท�ำวิจัยในมนุษย์ - หากมีผู้โทรศัพท์มาสอบถามถึงผู้ป่วย เจ้าหน้าที่จะถามก่อนว่าเป็นใคร มีความเกี่ยวข้องอย่างไรกับผู้ป่วย เป็นญาติสายตรงกับผูป้ ว่ ยหรือไม่ และก่อนทีจ่ ะให้ขอ้ มูลแก่ผทู้ โี่ ทรศัพท์มาสอบถาม จะสอบถามผูป้ ว่ ยก่อนว่า ผู้ป่วยจะอนุญาตให้เจ้าหน้าที่ให้ข้อมูลแก่ผู้ที่โทรศัพท์มาสอบถามได้หรือไม่


62 No Resuscitations การตัดสินใจไม่ยอมรับการรักษาฟื้นคืนชีพ (no resuscitations) นั้น จะต้องมีองค์ประกอบครบ 4 ประการ ดังต่อไปนี้ 1. อาการเจ็บป่วยของผู้ป่วยเป็นระยะสุดท้าย ไม่สามารถรักษาให้หายได้หรือสามารถตรวจสอบได้ว่าเป็น ระยะสุดท้าย 2. ผู้ป่วยและหรือครอบครัว ทีมผู้ให้การดูแลผู้ป่วย มีการประชุมเพื่ออธิบายเกี่ยวกับแผนการรักษาผู้ป่วย และ/หรือครอบครัวสามารถตัดสินใจเกีย่ วกับการรักษาพยุงชีพผูป้ ว่ ยภายหลังการประชุม และการให้คำ� ปรึกษาโดยแพทย์ ผู้รับผิดชอบ พยาบาลผู้ดูแล และทีมสุขภาพที่เกี่ยวข้อง 3. มีการประชุมเพือ่ ลงความเห็นร่วมกันในทีมสุขภาพผูด้ แู ลผูป้ ว่ ยทุกคน และญาติสายตรงทุกคนในครอบครัว เพื่อให้สามารถลงความเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการไม่ช่วยฟื้นคืนชีพ 4. กรณีที่มีข้อพิจารณาทางด้านจริยธรรม หรือ กฎหมาย หรือ มติไม่เป็นเอกฉันท์ในทีมผู้ดูแลผู้ป่วยให้มีการ พิจารณาโดยในเวลาราชการพยาบาลหัวหน้าเวรรายงานต่อหัวหน้าหอผู้ป่วยหรือหัวหน้างาน นอกเวลาราชการรายงาน พยาบาลเวรตรวจการพยาบาลเพื่อพิจารณาแนวทางแก้ไข


63 Against medical advice 4 กรณี กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 3 กรณีที่ 4

ผูป้ ว่ ยนอก (OPD) ปฏิเสธการรักษาตามคาํ แนะนาํ ของแพทยแ ละสภาวะผูป้ ว่ ยไม่อยูใ่ นสถานการณท จี่ าํ เป็นหรือ เร่งดวนในการรักษา ผูปวยปฏิเสธการเขารับเปนผูปวยใน (Admission IPD) โรงพยาบาลตามคําแนะนําของแพทย์ผู้รับผิดชอบ และสภาวะผูปวยไมอยูในสถานการณที่จําเปนหรือเรงดวนในการรักษา เมื่อผูปวยเขารับการรักษาเปนผูปวยใน (IPD) แลว และผูปวยปฏิเสธการตรวจ รักษาและ/หรือการพักรักษา ตอในโรงพยาบาล กอนที่แพทยผูรับผิดชอบจะทําการประเมิน อาการและสภาวะผู้ป่วยวาพรอมในการ กลับไปพักรักษาตัวที่บานโดยสภาวะผูปวยไมเปนอันตรายตอชีวิต สภาวะผู้ป่วยไม่พร้อมที่จะกลับบ้านและเสี่ยงอันตรายต่อชีวิตทั้งในกรณีที่ผู้ป่วยปฏิเสธการเข้ารับเป็นผู้ป่วย ในโรงพยาบาลและเมื่อผูปวยเขารับการรักษาเปนผูปวยในแลว แต่ผูปวยปฏิเสธการตรวจรักษาและ/ หรือการพักรักษาตอในโรงพยาบาล กอนที่แพทย์ ผูรับผิดชอบจะทําการประเมินอาการและสภาวะผู้ป่วย ว่าพรอมในการกลับไปพักรักษาตัวตอที่บาน


64 ข้อควรระวัง/ข้อแนะน�ำ/ข้อสังเกตเพิ่มเติม 1. กรณีที่ผูปวยรูสึกตัว บรรลุนิติภาวะ และสามารถแสดงเจตนาไดตามปกติ แตไมสามารถลงลายมือชื่อ ในเอกสารได ใหผ แู ทนตามกฎหมายของผูป ว ยลงนามแทนพรอ มกับระบุเหตุผลในหนังสือแสดงความยินยอมรับการรักษา/ การผ่าตัด/การทําหัตถการโดยระบุเหตุผลที่ผูปวยไมสามารถลงนามดวยตนเองไดและบันทึกรายละเอียดขอมูลของผู ที่ลงนามแทนผูปวยอันประกอบดวย ชื่อ-นามสกุล ความสัมพันธกับผูปวย ที่อยู หมายเลขเอกสารแสดงตน เชน เลขที่บัตรประจําตัวประชาชน/เลขที่หนังสือเดินทาง Passport (กรณีผูปวยชาวตางชาติ) พรอมทั้งสําเนาหลักฐาน ประจําตัวของผูที่ลงนามแทนแนบไวพรอมกับหนังสือแสดงความยินยอมดวยทุกครั้ง 2. กรณีที่ผูปวยไมอาจแสดงเจตนาไดตามปกติดวยอาจมีความผิดปกติของรางกายและ/หรือจิตใจ หรือ ผูปวยที่อายุไมเกิน18 ปบริบูรณ (ตามประกาศสิทธิของผูปวย ณ วันที่12 สิงหาคม 2558) จะตองใหบิดา/มารดา หรือ ผูแทนที่ถูกตองตามกฎหมายเป็นผูใหความยินยอมแทนผูปวย แลวแตกรณีไป 3. กรณีที่แพทยไดอธิบายรายละเอียดใหผูปวยรับทราบอยางชัดเจนแลว แตผูปวยหรือผู้แทนปฏิเสธ การลงลายมือชื่อในใบแสดงความไม่ยินยอมรับการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาล ใหแพทยผูรักษาลงรายละเอียด การปฏิเสธของผูปวยในใบบันทึกการรักษา OPD card และProgress Note พยาบาลผูรับผิดชอบทําการบันทึก รายละเอียดใน Nurse’s Note พรอมทั้งลงลายมือชื่อ และพยานทั้ง 2 ฝ่าย


65 AOP: Assessment of Patient การประเมินผู้ป่วย การประเมินผู้ป่วยนอก

• ผูป้ ว่ ยจะผ่านการคัดกรองด่านหน้าและหลังจากผูป้ ว่ ยลงทะเบียนทีเ่ วชระเบียนเสร็จแล้ว ผูป้ ว่ ยจะถูกส่งไปยัง คลินกิ ทีเ่ หมาะสมกับอาการทีม่ ารับการรักษา • พยาบาลวิชาชีพประเมินความเร่งด่วนการดูแลรักษาและหรือผูช้ ว่ ยพยาบาลจะเป็นผูบ้ นั ทึกเบือ้ งต้นในแบบ บันทึกผู้ป่วยนอก (OPD Record) สถานะเมื่อมาถึง จุดประสงค์ ลักษณะโดยทั่วไปของผู้ป่วย น�้ำหนัก ส่วนสูง สัญญาณชีพ กรณีผู้ป่วย แรกเกิด - 18 ปีและกลุ่มผู้ป่วยโรคหัวใจพิการแต่ก�ำเนิด วัดความดันโลหิต และค่าความอิม่ ตัวของออกซิเจนทีป่ ลายนิว้ 4 รยางค์ ผูป้ ว่ ยผูใ้ หญ่ วัดความดันโลหิตและค่าความอิม่ ตัวของ ออกซิเจนทีป่ ลายนิว้ 2 รยางค์ ส�ำหรับการตรวจครัง้ แรกทุกราย และประเมินการป้องกันการพลัดตกหกล้ม • แพทย์ที่มีใบประกอบโรคศิลป์จะเป็นผู้บันทึกในส่วนของผู้ป่วยนอก แบบฟอร์มนี้จะต้องเสร็จสมบูรณ์ และ เก็บไว้ในเวชระเบียน เมื่อผู้ป่วยจ�ำหน่ายจากคลินิก การบันทึกรวมถึงอาการที่ส�ำคัญที่ท�ำให้มาโรงพยาบาล การเจ็บป่วยในปัจจุบนั การตรวจร่างกายของแพทย์ ผลการวินจิ ฉัย ยา การรักษา ค�ำแนะน�ำ การนัดมาตรวจ เพื่อติดตามอาการ ร่วมกับลายเซ็นของแพทย์


66

• พยาบาลวิชาชีพจะเป็นผู้บันทึกเบื้องต้น ในแบบฟอร์ม OPD Record (Nurse) แบบฟอร์มนี้ต้องบันทึก เสร็จสมบูรณ์และอยู่ในแฟ้มเวชระเบียนของผู้ป่วย เมื่อจ�ำหน่ายผู้ป่วยออกจากคลินิก • พยาบาลวิ ช าชี พ จะเป็ น ผู ้ ป ระเมิ น ระดั บ ความเจ็ บ ปวดในเบื้ อ งต้ น โดยใช้ เ ครื่ อ งมื อ ในการประเมิ น ให้เหมาะสมกับช่วงอายุของผู้ป่วย

การประเมินผู้ป่วยในเมื่อแรกรับ โรงพยาบาล ผลการประเมินเบื้องต้นนั้นจะถูกบันทึกในแบบฟอร์ม Patient Admission Assessment Form โดยต้องมีลายเซ็นแพทย์ที่มีใบประกอบโรคศิลป์และมีสิทธิในการดูแลรักษาผู้ป่วย และพยาบาลที่มีใบประกอบโรคศิลป์ รับรองโดยสภาการพยาบาลที่ท�ำการประเมินในตอนแรกรับเป็นผู้เซ็นก�ำกับในแบบฟอร์ม การประเมินผู้ป่วยตอนแรกรับจะประกอบด้วย

• ระยะเวลา : แบบฟอร์มส่วนแรก จะต้องมีลายเซ็นแพทย์ผู้ประเมินและพยาบาลวิชาชีพเซ็นก�ำกับและต้อง ประเมินภายใน 24 ชั่วโมง • อาการส�ำคัญ (chief complaint) ความเจ็บป่วยในปัจจุบนั (present illness) โรคร่วม (underlying disease) ประวัติการแพ้ (allergy) ประวัติการเจ็บป่วยที่ผ่านมาและประวัติสุขภาพส่วนบุคคล (past illness and personal history) ประวัติสุขภาพของครอบครัว (family history)


67

• การประเมินเฉพาะส�ำหรับผู้สูงอายุ (ส�ำหรับผู้มีอายุมากกว่า 65 ปีขึ้นไป) • สัญญาณชีพ (vital sign) • การตรวจร่างกายโดยแพทย์ (PE) ผลการตรวจที่พบ และการตรวจพบที่ชัดเจนเกี่ยวกับลักษณะโดยทั่วไป (general appearance), ระบบหัวใจและหลอดเลือด (cardiovascular), ระบบทางเดินหายใจ (respiratory), ระบบทางเดินอาหาร (gastrointestinal), ระบบประสาท (neurological) และระบบกล้ามเนือ้ และกระดูก (musculoskeletal) • ผลการตรวจในภาพรวม เหตุผลในการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล แผนการรักษา แผนการจ�ำหน่าย ผู้ป่วย และวันที่คาดว่าจะสามารถกลับบ้านได้ เซ็นชื่อและวันที่ที่ท�ำการประเมินโดยแพทย์ผู้ประเมิน • ระยะเวลา : แบบฟอร์มส่วนที่ 2 จะต้องบันทึกโดยพยาบาลวิชาชีพภายใน 24 ชัว่ โมง บางกรณีอาจต้องบันทึก ภายในระยะเวลาที่สั้นกว่านี้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในแต่ละบุคคลและแผนกนั้นๆ หรือขึ้นอยู่กับ ความต้องการของผู้ป่วย ถ้าข้อมูลไม่ได้ถูกบันทึกภายใน 24 ชั่วโมงอาจบันทึกในแบบฟอร์ม Admission Form 24 hours หลังจากเข้ารับการรักษาโดย ต้องระบุวันและเวลาพร้อมทั้งเซ็นชื่อก�ำกับด้วย • ข้อมูลทั่วไปที่ต้องบันทึก : วันที่ เวลา การเคลื่อนย้าย เครื่องมือทางการแพทย์ ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องการ ระบุตัวผู้ป่วยโดยใส่ป้ายข้อมือ การย้ายจากโรงพยาบาลอื่นเพื่อมารักษาต่อ และผู้ดูแลค่ารักษาพยาบาล


68

• การทบทวนตามระบบ (system review) ตา หู จมูก ปาก และริมฝีปาก คอและล�ำคอ ระบบประสาท ระบบหายใจ ระบบหัวใจและการไหลเวียนเลือด ระบบย่อยอาหาร ระบบสืบพันธุ์ กล้ามเนือ้ อวัยวะสืบพันธุ์ ผิวหนัง ถ้าพยาบาลประเมินปัญหาเชิงระบบได้ในการทบทวน จะท�ำการระบุปัญหาเพื่อวางแผนการ ดูแลรักษาและติดตามต่อไป • ยา กรณีผู้ป่วยมีการใช้ยามาก่อนต้องมีการบันทึกยาที่ใช้มาในแบบฟอร์ม Medication Reconciliation Report • การประเมินความเสี่ยงของผิวหนัง: ระบบคะแนน Barden scale จะบ่งชี้ถึงระดับให้การพยาบาล • สถานะภาพทางจิตสังคม • ประเมินการท�ำหน้าที่พื้นฐานของร่างกาย (functional) ยกเว้นผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 6 ปีจะไม่ประเมิน ในหัวข้อ Activities of Daily Living: ถ้าคะแนนได้มากกว่า หรือเท่ากับ 2 คะแนนให้แจ้งแพทย์เจ้าของไข้ รับทราบเพื่อปรึกษาด้านกายภาพต่อไป • การประเมินความเจ็บปวด (pain assessment) : ต้องมีการบันทึกให้ครบถ้วน เวลาที่มีอาการ พร้อมทั้ง ใช้เครื่องมือในการประเมินให้เหมาะสมกับอายุของผู้ป่วยด้วย • การประเมินภาวะโภชนาการ เพื่อตัดสินใจว่าจ�ำเป็นต้องส่งต่อให้แก่ทีมโภชนาการหรือไม่ และต้องแจ้งทีม โภชนาการถ้าพบว่ามีการระบุการประเมินข้อใดข้อหนึ่ง


69

• การประเมินภาวะความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม (fall risk assessment) คะแนนของการประเมิน จะเป็นตัวบ่งชี้ว่าควรให้การพยาบาลแบบไหนแก่ผู้ป่วย ถ้าคะแนน ≤ 24 ให้การพยาบาลตามมาตรฐาน ทั่วไป (standard precaution) ถ้าคะแนน 25 - 50 ต้องให้การพยาบาลแบบระมัดระวัง (moderate risk precaution) ถ้าคะแนน >50 ต้องให้การพยาบาล แบบระมัดระวังเป็นพิเศษ (high risk precaution)


70 AOP: นโยบายการประเมินผู้ป่วยซ�้ำ : Reassessment Policy แพทย์ ผู้ป่วยทุกคนได้รับการประเมินซ�้ำจากแพทย์ทุกวัน เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอาการและ/หรือเปลี่ยนแปลง การวินิจฉัย และเมื่อมีการตรวจสอบการตอบสนองต่อการ วิสัญญีแพทย์ มีหน้าที่รับผิดชอบในการบันทึกการดมยาในแบบฟอร์มที่ก�ำหนด รวมถึงการประเมินผู้ป่วยก่อนและ หลังการดมยา พยาบาล ในกรณีผู้ป่วยที่ไม่มีอาการเปลี่ยนแปลง ให้ท�ำการประเมินผู้ป่วยซ�้ำอย่างน้อยเวรละ 1 ครั้ง เพื่อประเมิน การตอบสนองต่อการดูแลรักษาและวางแผนการรักษาต่อเนื่องหรือเพื่อการจ�ำหน่าย ในกรณีผู้ป่วยที่มีอาการเปลี่ยนแปลงเฉียบพลัน อยู่ในระยะวิกฤต ผู้ป่วยจะได้รับการประเมินซ�ำ้ เป็นระยะๆ ตามอาการที่เปลี่ยนแปลง นักโภชนาการ : ใช้ Initial Nutritional Assessment Form แพทย์เฉพาะทางเวชศาสตร์ฟื้นฟู/นักกายภาพ/นักอาชีวบ�ำบัด : การประเมินผู้ป่วยซ�้ำต้องปฏิบัติอย่างสม�่ำเสมอ


71 Long Term Care หมายถึงผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลทางด้านการแพทย์ การพยาบาล หรือการช่วยพยุงชีวิต ที่ไม่สามารถให้การดูแลผู้ป่วยที่บ้านได้ ผู้ป่วยได้รับการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาลนานเกินกว่า 30 วัน - ผูป้ ว่ ยจะต้องมีแพทย์เจ้าของไข้ทเี่ ป็นแพทย์ประจ�ำของโรงพยาบาล (Full Time) ร่วมดูแล มีแผนการรักษา ทั้งทางการแพทย์และการพยาบาล - กรณีที่มีการวินิจฉัยโรคแล้วและไม่มีปัญหาทางด้านการแพทย์ที่เฉียบพลัน แพทย์จะมีการประเมินผู้ป่วย อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง - ปัญหาทางการพยาบาล พยาบาลมีการประเมินปัญหาทางการพยาบาลทุกวันและทุกเวร - กรณีที่พยาบาลประเมินพบว่ามีปัญหาใหม่จะแจ้งให้แพทย์เจ้าของไข้รับทราบเพื่อประเมินปัญหาใหม่ - กรณีที่พบปัญหาผู้ป่วยใหม่ให้ประเมินผู้ป่วยเช่นเดียวกับในระยะเฉียบพลัน คือ ประเมินผู้ป่วยทุกวัน


72 Care of Patients (COP) การรดูแลผู้ป่วย Resuscitation Policy


73


74 COP: การดูแลผู้ป่วยความเสี่ยงสูงและการบริการผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง (Care of High-Risk Patients and Provision of High-Risk Services) บริการที่มีความเสี่ยงสูง บริการที่มีความเสี่ยงสูง - การช่วยฟื้นคืนชีพ (Cardiopulmonary resuscitation:CPR) - การใช้และการให้เลือด/ผลิตภัณฑ์จากเลือด - การผูกยึดผู้ป่วย - การฟอกเลือดด้วยเครื่อง continuous renal replacement therapy (CRRT) - การผ่าตัดหัวใจ - การตรวจสวนหัวใจ - การตรวจหัวใจด้วยวิธีพิเศษ (Non-invertive) หัตถการ (Coronary angiography: CAG, Percutaneous coronary intervention: PCI, ROTABLATOR Rotational Atherectomy ROTA, INTRA-AORTIC BALLOON PUMP: IABP, Right Heart Catheterization: RHC, Left Heart Catheterization:LHC, Pediatric Catheterization, Permanent Pacemaker: PPM, Automated Implantable Cardioverter-Defibrillator: AICD, Electrophysiology Study: EPS, Radiofrequency Ablation: RFA, Peripheral Angiogram: PAG. Percutaneous Transluminal Angioplasty: PTA)


75

ขั้นตอนการปฏิบัติ - ผู้ป่วยความเสี่ยงสูงทุกรายจะได้รับการประเมินและข้อมูลการประเมินนั้นจะต้องถูกบันทึกในเวชระเบียน - ข้อมูลทีไ่ ด้จากการรวบรวมปัญหาจากการประเมิน ผูป้ ว่ ยความเสีย่ งสูงหรือผูป้ ว่ ยทีม่ ปี ญ ั หา เรือ่ ง ความซับซ้อน ของภาวะสุขภาพ จะบันทึกไว้ในแบบฟอร์ม Progress & Multidisciplinary Note ทีมสหสาขาวิชาชีพ ที่มีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยทุกคน สามารถเข้าถึงและน�ำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนการดูแลผู้ป่วย - ในระหว่างการดูแลผู้ป่วยความเสี่ยงสูง จะต้องมีการประเมินและติดตามเฝ้าระวังความเสี่ยงที่อาจ จะเกิดขึ้นเป็นระยะๆ และบันทึกในเวชระเบียน

Restrain Patients แพทย์ และ/หรือ พยาบาล ประเมินพฤติกรรมหรืออาการของผูป้ ว่ ยทีเ่ สีย่ งต่อการเกิดอันตรายต่อตัวผูป้ ว่ ย หรือ ผู้อื่นและบันทึกเหตุผลความจ�ำเป็นของการจ�ำกัดการเคลื่อนไหว เช่น การผูกยึด รวมถึงการดูแลรักษาวิธีอื่นที่ได้ให้กับ ผู้ป่วยแล้ว แต่ไม่สัมฤทธิ์ผล ในเวชระเบียนการให้ข้อมูลและความยินยอม 1. แพทย์ และ/หรือ พยาบาล อธิบายพูดคุยกับผูป้ ว่ ยและญาติ ถึงเหตุผลการจ�ำกัดการเคลือ่ นไหว และบทบาท ของญาติในช่วงเวลาทีอ่ ยูก่ บั ผูป้ ว่ ย พยาบาลบันทึกเหตุผลการจ�ำกัดการเคลือ่ นไหวและส่งต่อข้อมูลกับพยาบาลเวรต่อไป โดยใช้แบบบันทึกการประเมินผู้ป่วยที่มีการผูกยึด


76 2. ให้ผู้มีสิทธิ์ตัดสินใจแทนผู้ป่วยลงชื่อในใบแสดงความยินยอมในการจ�ำกัดการเคลื่อนไหวและผูกยึดผู้ป่วย และพยาบาลบันทึกการสื่อสารลงในเวชระเบียนให้ครบถ้วน การดูแลผู้ป่วยระหว่างที่ถูกจ�ำกัดการเคลื่อนไหว/ผูกยึด 1. พยาบาลประเมินผู้ป่วยที่ได้รับการผูกยึดตามแบบประเมินผู้ป่วยที่มีการผูกยึด 2. ประเมินการบาดเจ็บ คลายและเปลี่ยนต�ำแหน่งการผูกยึดทุก 2 ชั่วโมง และติดตามอาการ ดังนี้ ก. ความเหมาะสมของอุปกรณ์ผูกมัด อันตรายที่จะเกิดบริเวณที่ผูกมัด ข. ต�ำแหน่งที่สะดวกสบาย ปลอดภัยและเป็นส่วนตัว ค. อุณหภูมิ ระบบไหลเวียนโลหิต และสภาพของผิวหนัง ง. การขับถ่าย จ. สภาวะน�้ำในร่างกาย ฉ. การเคลื่อนไหวของแขนขา ต้องแน่ใจว่าผู้ป่วยไม่สามารถถอดเครื่องผูกมัดเองได้ ช. สภาวะการหายใจ 3. ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยา sedate ตามแนวทางการรักษาหรือตามแนวปฏิบัติ Moderate sedation 4. รายงานแพทย์เมื่อครบ 24 ช.ม. เพื่อให้แพทย์พิจารณาการหมดความจ�ำเป็นในการผูกยึด 5. สรุปการดูแลในแต่ละเวรในแบบบันทึกแบบประเมินผู้ป่วยที่มีการผูกยึด


77 6. แพทย์หรือพยาบาลอาจต้องให้ข้อมูลเหตุผลการผูกยึดเป็นระยะ หากไม่สามารถยุติการผูกยึดได้ 7. การดูแลในช่วงก่อนยุตกิ ารผูกยึด หากประเมินแล้วพบว่าควรจะยุตกิ ารผูกยึดได้ ให้คลายการผูกมัดทีละจุด และประเมินผู้ป่วยซ�้ำ 8. เมือ่ สิน้ สุดการจ�ำกัดการเคลือ่ นไหวให้สรุปผลลัพธ์การดูแลโดยรวม ว่ามีบาดเจ็บหรือไม่ ถ้ามีให้ระบุลกั ษณะ และจ�ำนวนครั้งที่พบการบาดเจ็บ


78 Warning Sign ส�ำหรับผู้ใหญ่ Topic 1. Heart attack

2. Cardiac tamponade

3. bleeding

1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 4.

Early Warning Sign อาการไม่สบายในอก เจ็บแน่น บีบรัด เจ็บตื้อๆ หายใจไม่สะดวก เหงือ่ ออก ตัวเย็น เวียนศีรษะ หน้ามืด คลืน่ ไส้ อาเจียน EKG ST T change

เหนื่อยหอบขึ้นทันทีทันใด BP drop ทั้งๆที่ได้รับยา Inotropic drugs HR เร็วในช่วงแรก และมีแนวโน้มช้าลง Back’s triad , Hypotension Muffled Heart sound , Jugular venous distension 5. EKG พบ ST segment change , Low voltage QRS complex 6. Pulse pressure แคบ < 30 mmHg 7. Drain ออกมากกว่า 100 ใน 1 ชั่วโมง

1. 2. 3. 4. 5. 6. 1. 2. 3. 4.

Nursing Care ประเมิน Pain score Record vital sign q 15 นาที Appropriated O2 Therapy EKG 12 lead Notify แพทย์ 1st call, 2nd call ดูแลให้ยา PRN Appropriated O2 Therapy EKG 12 lead เตรียมเครื่อง Echocardiogram Notify แพทย์ 1st call, 2nd call

ใช้ร่วมกับ MEW scores


79 Topic 4. Adult Pre-Arrest Signs

Early Warning Sign 1. HR <40 หรือ >130 ครั้ง/นาที 2. SBP <90 mmHg 3. RR< 8หรือ > 28 ครั้ง/นาที 4. O2 sat < 90% ขณะได้รับ oxygenแล้ว 5. ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง 6. Urine output < 50 mlใน 4 ชม ประเมินคลื่นไฟฟ้าหัวใจเพิ่มเติม พบArrthymia ที่อันตรายดังนี้ 1. Second degree AV block mobitze I ขึ้นไป 2. SVT (Supraventricular tachycardia) 3. AF (Atrail fibrillation with rapid ventricular response) 4. Short run PVC 5. Tall peak T wave 6. ST T change

Nursing Care ประเมิน MEW Scores *Red zone (MEWS≥6 หรือเมื่อMEWSเพิ่มขึ้น จากเดิม2) กิจกรรมพยาบาล 1. รายงานแพทย์ 2. เตรียมรถ Emergency 3. ตามทีม CPR 4.Stroke


80 Topic

Early Warning Sign

Nursing Care *Yellow zone (MEWS=4-5) กิจกรรมพยาบาล Record vital sign ถี่ขึ้น โดย - v/s ทุก1/2 ชม. ในชม. แรก หรือ ถีก่ ว่านัน้ ถ้าไม่มขี อ้ บ่งชี้ - v/s ทุก 1 ชม. ส�ำหรับ 4 ชม.ถัดมา - v/s ทุก 4 ชม. ส�ำหรับ24 ชม.ถัดมา *Green zone(MEWS=1-3) กิจกรรมพยาบาล - ช่วยลดความเจ็บปวด ลดไข้ ลดภาวะไม่สุขสบาย - Check vital sign สังเกตอาการบ่อยๆ ปรึกษาพยาบาล หัวหน้าทีม


81 Topic 5. Stroke

1. 2. 3. 4. 5.

Early Warning Sign รู้สึกชา อ่อนแรง ที่แขน ขา ใบหน้าซีกเดียว เกิดสับสนทันที ทันใด รูส้ กึ ล�ำบากหรือยากทีจ่ ะพูด หรือเข้าใจ การมองเห็นล�ำบาก (ข้างเดียวหรือ สองข้าง) ทันทีทันใด ล�ำบากในการเดิน งุนงง เสียการทรงตัว ทันที ทันใด เกิดอาการปวดศีรษะอย่างไม่ทราบสาเหตุ ทันทีทนั ใด

Nursing Care 1. Support ABC (airway, breathing, circulation) 2. Monitor ECG 3. ให้ O2 3 lpm (ถ้า O2< 94%) 4. ประเมิน onset (เวลาที่พบอาการผิดปกติ หรือ ครั้งสุดท้ายที่พบว่ามีอาการปกติ) Gold < 3 hr. 5. เช็ค DTX, Vital sign, ECG 12 Lead 6. NPO 7. รายงานแพทย์ 8. ประเมินหลังการให้ ABC 8. Take LAB (BUN, Cr, Electrolyte, CBC, PT/INR, PTT) 9. เปิดเส้นด้วย Medicut No >18 10. ติดต่อ Stroke Fast Track - ศูนย์ Refer 63455 แพทย์ คุยกับแพทย์ เวรAE - CT emer สอบถามเบอร์ First Call CT ที่เบอร์ 63133ให้แพทย์consult กันเอง


82 Topic

Early Warning Sign

Nursing Care - ห้องอ่านฟิล์ม :63218 - ห้องResus :63715,63977 การบันทึก Nurse note บันทึกแบบ FAST F = หน้าเบี้ยว ปากเบี้ยว ,มุมปากตก A = แขน ขา อ่อนแรงข้างใด S = ลักษณะการพูดไม่เป็นค�ำ T = เวลาที่พบว่าผู้ป่วยมีอาการ เอกสารที่ต้องเตรียม 1. ใบ Request CT copy 1 แผ่น 2. ใบขอเลขที่ ศธ. copy 1 แผ่น 3. ใบRefer - ห้องอ่านฟิล์ม :63218 - ห้องResus :63715,63977


83 ส�ำหรับเด็ก

Topic Pediatric Pre-arrest sign

Early Warning Sign 1. อายุ>1 ปี หายใจ > 40 อายุ < 1 ปี หายใจ > 60 ครั้ง/นาที 2. อายุ < 8 ปี ชีพจร <80 หรือ >160 ครั้ง/นาที 3. อายุ > 8 ปี ชีพจร <60 หรือ > 140 ครั้ง/นาที 4. ความดัน systolic เด็ก 1-10 ปี < 70 mmHg + (อายุเป็นปี+2) 5. หายใจเร็วผิดปกติ ปีกจมูกบาน retraction หายใจมี เสียงคราง ใช้กล้ามเนื้อในการหายใจเพิ่มขึ้น 6. การเปลี่ยนแปลงของระดับความรู้สึกตัว กระสับกระส่าย เซื่องซึม ตัวอ่อน ชัก 7. คล�ำชีพจรที่ปลายมือ ปลายเท้าไม่ชัดเจน capillary refill time ≥4 seconds 8. A cyanotic heart SpO2 < 95% กรณี Cyanotic heart desaturation ≥ 25% จาก baseline ของผู้ป่วย

Nursing Care ประเมิน PEW score Red zone (≥5 หรือ PEWS เพิ่มขึ้นจากเดิม 2) กิจกรรมพยาบาล 1. ตามแพทย์เจ้าของไข้ภายใน 20 นาที 2. ประเมินสัญญาณชีพทุก 15 นาที 3. ปรับเพิ่มยา 4. เตรียมรถ Emergency 5. ตามทีม RRT


84 Topic

Early Warning Sign

Nursing Care Yellow zone (3-4) กิจกรรมพยาบาล 1. รายงานแพทย์ภายใน 60 นาที 2. ประเมินสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง 3. มอบหมายพยาบาลผู้ดูแลเป็นระดับ senior 4. ดูแลให้/เพิ่มออกซิเจน 5. Observe สัญญาณชีพ 6. ให้ข้อมูลญาติ Green zone (0-2) กิจกรรมพยาบาล 1. ช่วยลดความเจ็บปวด ลดไข้ ลดความไม่สุขสบาย 2. ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง


85 Topic Hypoxic spells

Early Warning Sign 1. เขียวมากขึ้น 2. หายใจหอบลึก 3. ระดับการรู้สติลดลง 4. ตัวอ่อน

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

Nursing Care จัดท่า Knee chest position ให้ออกซิเจน 100% วัดสัญญาณชีพ Monitor O2sat ปลอบให้เด็กอยู่ในความสงบ ตรวจสอบ IV Line Morphine sulfate 0.1-0.15 mg/kg Intravenous fluid NSS sodium bicarbonate 1-2 mEq/kg


86 COP: Blood preparation and Handing use หลักการ • • • • • •

คลังเลือดกลางเตรียมเลือด การเตรียมขนส่งเลือดมีกระติกเก็บอุณหภูมิ ice pack ปรอทวัดอุณหภูมิ การขนส่งเลือดเก็บในภาชนะที่ควบคุมอุณหภูมิ 2-10 องศาเซลเซียส การจัดเก็บเลือดเก็บในตู้เย็นควบคุมอุณหภูมิ ตามประเภท PRC อุณหภูมิ 2-6 องศาเซลเซียส FFP อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียส

COP: Pain Management Policy ทุ ก หน่ ว ยบริ ก ารผู ้ ป ่ ว ย จะมี ก ารประเมิ น ความรุ น แรงของอาการปวด ประเมิ น โดยใช้ Pain Scale (เครือ่ งมือประเมินความรุนแรงของอาการปวดโดยการให้คะแนน) ทีเ่ หมาะสม (เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการประเมิน Pain ได้แก่ FLACC, Faced Rating, Numeric Rating)


87 Entry ผู้ป%วยอยู่ใน ภาวะวิกฤต

yes

ส่งพบแพทย์และช่วยเหลือให้ พ้นภาวะวิกฤต

No คัดกรองความปวด ส่งพบแพทย์

No

ปวด

ให้การพยาบาลตาม แผนการรักษาอืKนๆ

yes

ประเมินความปวด

OPD ปวดน้อย (PS < 3)

IPD ปวดปานกลาง / ปวดมาก (PS > 3)

- Non-Drug Pain Relief - ประเมินซEําระหว่างพบแพทย์

- Non-Drug Pain Relief - ส่งพบแพทย์ทันที ส่งพบแพทย์

ให้การพยาบาลตามแผน การรักษา

Reassesment No

ปวด yes ปวดปานกลาง / ปวดมาก PS > 3

ปวดน้อย PS 1-3 - Non-Drug Pain Relief - Reassesment

- Drug Pain Relief - Non -Drug Pain Relief - Reassesment

ปวด

PS = 0 - Non drug pain Relief

PS 1-3

ประเมินการได้รับยา PS > 3 หรือมีอาการ „้างเคียง ระงับปวด:PS,PR,RR,BP, Sedation และอาการ „้างเคียง จากยา PS =0 และไม่มีอาการ „้างเคียง

ผู้ป%วยและญาติ พึงพอใจ

Entry

- รายงานแพทย์เพืKอปรับ เปลีKยนยา - แก้ไ „อาการ „้างเคียง – Admit / Observe


88 ASC: Anesthesia and Surgical Care การดูแลด้านวิสัญญีและศัลยกรรม การประเมินและเตรียมผู้ป่วยก่อนเข้ารับการผ่าตัดหรือท�ำหัตถการ ผู้ป่วยทุกรายที่วางแผนเข้ารับการผ่าตัดหรือท�ำหัตถการของร่างกาย ภายใต้การให้ยาระงับความรู้สึกทั่วตัว (general anesthesia) ยาชาเฉพาะส่วน (regional anesthesia) และยาชาเฉพาะที่ (Local anesthesia) ทั้งภายใน และภายนอกห้องผ่าตัด ได้รับการประเมินและเตรียมผู้ป่วยก่อนเข้ารับการผ่าตัดหรือท�ำหัตถการ การประเมินผูป้ ว่ ยก่อนผ่าตัด/ท�ำหัตถการ ควรท�ำภายในระยะเวลาไม่เกิน 30 วัน ก่อนการผ่าตัด/ท�ำหัตถการนัน้ ๆ เมือ่ ผูป้ ว่ ยผ่านการประเมินความพร้อมส�ำหรับการผ่าตัด วิสญ ั ญีแพทย์จะประเมินผูป้ ว่ ย ตามแนวทางการประเมิน Anesthesiology Pre-operative Evaluation (การประเมินผู้ป่วยก่อนให้ยาระงับความรู้สึก) ผู้ป่วยที่มีโรคประจ�ำตัวเช่น coronary artery disease, diabetes mellitus, hypertensive, หอบหืด functional thyroid disease, COPD, chronic renal failure, chronic liver disease, coagulopathy สูบบุหรีม่ าก ให้ปรึกษาแพทย์เฉพาะทาง ให้มีการส่งตรวจเพิ่มเติมตาม ความเห็นของแพทย์ที่ปรึกษา เช่น echocardiogram, pulmonary function test, arterial blood gas, thyroid function test, liver function test, coagulation test เป็นต้น ผูป้ ว่ ยอายุ 80 ปีขนึ้ ไปหรือ ASA lll ท�ำตาม 4.1.1 ต้องจองแผนกผูป้ ว่ ยวิกฤติ (ICU) ส�ำหรับการเฝ้าระวังหลังผ่าตัด


89 Moderate sedation

- ฤทธิ์ยาท�ำให้เกิดการกดความรู้สึกตัวบ้าง ระหว่างนั้นผู้ป่วยสามารถตอบสนองต่อค�ำสั่ง ทางวาจาหรือการ กระตุ้นด้วยการสัมผัสเบาๆ - หายใจได้ปกติโดยไม่จ�ำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ช่วยเปิดทางหายใจเพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง - การท�ำงานของระบบหัวใจและหลอดเลือดยังคงต้องได้รับการดูแล แม้ไม่ได้รับผลกระทบจากยาที่ได้รับ เหมาะสมส�ำหรับผูท้ มี่ ใิ ช่วสิ ญ ั ญีแพทย์ในการท�ำหัตถการภายในโรงพยาบาลใช้กบั การให้ยาระงับความรูส้ กึ ในระดับปานกลางในทุกๆ แผนกและทุกพื้นที่ ได้แก่ - ห้องผ่าตัด, ห้องตรวจพิเศษทางหัวใจและหลอดเลือด - ห้องตรวจสวนหัวใจ, ห้องฉุกเฉิน, หอผู้ป่วยต่างๆ

Anesthesia Care การวางแผนการดูแลผูป้ ว่ ยทีใ่ ห้การระงับความรูส้ กึ บันทึกไว้ในเวชระเบียน เพือ่ เป็นแนวทางในการให้การระงับ ความรู้สึก และการให้ยาระงับปวดหลังผ่าตัดแก่ผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย 1. วิสัญญีแพทย์ผู้ท�ำการประเมินผู้ป่วยเป็นผู้วางแผนและระบุวิธีการให้การระงับความรู้สึก 2. วิสัญญีแพทย์วางแผนการเฝ้าระวัง ผู้ป่วยขณะให้การระงับความรู้สึก รวมทั้งการ Monitor


90

3. วิสัญญีแพทย์วางแผนการดูแล และวิธีการให้ยาระงับปวดแก่ผู้ป่วยหลังการผ่าตัด 4. ส�ำหรับการใช้ยาชาเฉพาะที่ ให้แพทย์เจ้าของไข้หรือแพทย์ผทู้ �ำหัตถการ เป็นผูว้ างแผนการระงับความรูส้ กึ แผนการเฝ้าระวังผูป้ ว่ ยขณะให้การระงับความรูส้ กึ แผนการดูแลหลังการผ่าตัด และบันทึกไว้ในเวชระเบียน

Post anesthesia care อาการคลื่นไส้และอาเจียน • ยารักษาที่มี antiemetic agents (เช่น 5-HT3 antagonists, dimenhydrinate หรือ metoclopramide) การให้ออกซิเจนเพิ่มเติม • เสนอแนะให้มกี ารเสริมเติมออกซิเจนแก่ผปู้ ว่ ยทีเ่ สีย่ งต่อการเกิดภาวะ hypoxemia การให้และบริหารจัดการของสารน�้ำ • ควรมีการบริหารจัดการในเรื่องของสารน�้ำในห้องพักฟื้น ได้แก่ ชนิดและ ปริมาตรของสารน�้ำ การท�ำให้อณ ุ หภูมริ า่ งกายของผูป้ ว่ ยอยูใ่ นเกณฑ์ปกติ • การใช้ตวั ยา pharmacologic agents ส�ำหรับการลดอาการสัน่ การให้ยาต้านฤทธิ์ยาจ�ำพวก sedatives, analgesics และ neuromuscular block opioids การฟื้นฟูผู้ป่วยจาก neuromuscular blocker


91 Implanting for medical device กรณีผู้ป่วยใส่ Implant บันทึกวัน เวลาที่ใส่ รหัส ขนาด ชนิด ของอุปกรณ์หรือ Implant ที่ใส่ พร้อมทั้งบริษัทผู้ผลิตหรือบริษัท ผู้รับผิดชอบลงในเวชระเบียนผู้ป่วยนอก และ เวชระเบียนผู้ป่วยใน (operative note/Procedure note) เอกสารที่สง่ มอบให้ผู้ป่วยในวันที่จ�ำหน่าย ได้แก่ บัตรประจ�ำตัวผู้ป่วยที่ใส่อวัยวะเทียม หรือในรูปของเอกสาร ของศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ การติดตามผลการใช้ ให้หน่วยงานทีด่ ำ� เนินการในการจ�ำหน่ายผูป้ ว่ ยกลุม่ ทีไ่ ด้รบั หัตถการดังกล่าว คัดลอก (Copy) ใบนัดตรวจติดตาม ผลการรักษา จ�ำนวน 2 ชุด ชุดที่ 1 ส่งมอบให้ผู้ป่วย ชุดที่ 2 น�ำส่งเจ้าหน้าที่แผนกผู้ป่วยนอก (OPD) ที่รับผิดชอบในการติดตามผู้ป่วย มาตรวจตามนัดทุกวัน โดยก�ำหนดให้ระยะการติดตามผลมี 2 ระยะดังนี้คือ ระยะที่ 1 ติดตามผลการใส่อุปกรณ์การแพทย์/อวัยวะเทียม หลังใส่เป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์ ระยะที่ 2 ติดตามผลการใส่อุปกรณ์การแพทย์/อวัยวะเทียม หลังใส่เป็นระยะเวลา 3 เดือน (ประมาณ 90 วัน)


92 หมายเหตุ ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่มาติดตามผลการตรวจตามนัด ให้พยาบาลแผนกผู้ป่วยนอกที่ได้รับมอบหมาย (OPD) ในการติดตามผู้ป่วย ท�ำหน้าที่ส่งต่อข้อมูลการมาตรวจตามนัดของผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวกลับไปยังหน่วยงานที่ใส่อุปกรณ์ การแพทย์/อวัยวะเทียม ได้แก่ ห้องผ่าตัด และห้องตรวจสวนหัวใจ ทุกวัน เพื่อด�ำเนินการติดตามผู้ป่วยในล�ำดับต่อไป โดยการโทรติดตามอาการ PFE: Patient and Family Education การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและครอบครัว หัวข้อการให้ความรู้ ควรครอบคลุมเรื่องต่อไปนี้ Diagnosis โรค ให้ความรู้เรื่องโรคที่เป็นอยู่ถึงสาเหตุ อาการ การปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง Medicine ยา Environment & Economic การจัดการสิ่งแวดล้อมที่บ้าน/อุปกรณ์ทางการแพทย์ เศรษฐกิจการ Treatment ทักษะที่จ�ำเป็นตามแผนการรักษา เช่น การท�ำแผล Health การส่งเสริมฟื้นฟูสภาพทางด้านร่างกายและจิตใจ Diet ค�ำแนะน�ำด้านโภชนาการ Out patient ชี้แจงให้ผู้ป่วยและญาติ ตระหนัก/เข้าใจถึงความส�ำคัญของการมาตรวจตามนัด และอาการผิดปกติ ที่ต้องมาก่อนนัด


93 การลงบันทึกและแบบบันทึกความก้าวหน้า - ผู้ป่วยใน บันทึกลงแบบฟอร์ม และแบบบันทึกการให้ความรู้ ค�ำแนะน�ำแก่ผู้ป่วยและครอบครัว - ผู้ป่วยนอก บันทึกลงแบบฟอร์ม OPD Record


สุ กใส SAR,

RS Co.V, nza และ

ใส SAR,

S Co.V, SAR, Naใส95 และ S Co.V, a และ

ามดันลบ

94

PCI: Prevention ~ 100 ~ and Control Infection การป้องกันการแพร่ ~ 100 ก ~ระจายเชื้อ การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ (Isolation Precaution)

1. Standard 2. Transmission – based Precautions อุจจาระร่ วง, แผลติดเช วัณโรคปอด ใส SAR, หัดเยอรมั น, คางทูม,Precautions ปอดบวม , ,หัด,อุสุจกจาระร่ วง, แผลติดเชืหั้ อด, เยอรมั ตาแดง,น, คางทูม, ปอดบวม, ~ การป้~อ100 งกันมาตรฐาน

~ 100 มาตรการเลื ~ 100 ~ อกใช้กับผู้ป่วยเมื่อ~ทราบช่ อง

EBOLA, MERS Co.V, มือเท้ าปาก, ติดเชื้อดื้อไอกรน ยา เช่น, เยื่อหุกม้ ระจายเชื ไอกรนที,่ใเยืช้ป่อหุฏิม้บัตสมองอั สมองอัก้อเสบ ิกับผู้ปก่วเสบ ยทุก ทางการแพร่ และสงสัย Avian influenza และ ไข้หวัด,~ไข้100 หวัดใหญ่ ไข้ ห วั ด , ไข้ ห วั ด ใหญ่ MRSA , VRE, CRE, ~ ~ 100 ~ ~ 100 ~ Rabies

ณโรคปอด ,หัดม,สุ, กปอดบวม ใส SAR, หัดวัเยอรมั น, คางทู ,

Air borne : AP

MDR, ESBL

Droplet: DP ,หัแผลติ ด,มสุ,กดใส หัวัดอุณเยอรมั ปอดบวม , จโรคปอด จาระร่นว, ง,คางทู เชื้อSAR, , ตาแดง,

Contact: CP

มือเท้าปาก, ติดเชื้อด

MRSA , VRE, MDR, ESB

หัดเยอรมั น, วคางทู ม, ปอดบวม , อุจจาระร่ ง, แผลติ ดเชื้อ, ตาแดง,

อุจจาระร

EBOLA, EBOLA, มือเท้,าปาก ดเชื้อCo.V, ดื้อกยาเสบเช่น มือเท้ ดเชื้อดืก้ อเสบ ยา เช่น มือเท้าป ไอกรน , เยื่อหุMERS ม้ สมองอัCo.V, กเสบ ไอกรน เยื่อMERS หุ, ม้ ติสมองอั ไอกรน , เยืาปาก ่อหุ ม้ , ติสมองอั ฝอยละอองน� ำ ้ มู ก น� ำ ้ ลาย ฝอยละอองน� ้ำ,กมูใส ก SAR, น�้ำลาย, วั ณ โรคปอด , หั ด , สุ ก ใส SAR, วั ณ โรคปอด , หั ด , สุ หน้ า กาก N 95 หัดAvian เยอรมั น , คางทู ม , ปอดบวม , หั ด เยอรมั น , คางทู ม ปอดบวม หั ด เยอรมั น , คางทู ม , ปอดบวม , อุจจาระร่ ง,, ถุไข้ เชื2. เชื้อ, ตาแดง, 1.ถุงมือุอจจาระร ้ อเสื, ตาแดง, การสั ส,แผลติ เชืหVRE, ้งดทางตรง หน้หาวักากอนามั Surgical หน้มากากอนามัอุยจไข้ (จาระร่ Surgical งVRE, มืหอวักดดประมาณ 2.เส และ Avian และ ้ อคลุ ไข้ ดีข,นาดเล็ ไข้หวัดยก(ใหญ่ ไข้ทีห่มinfluenza วัีขว1. ดนาดเล็ ใหญ่ หวัดมว,ผัง,ไข้ วั้อดทัใหญ่ MRSA ,แผลติ CRE, MRSA CRE, MRS ที่มinfluenza ประมาณ และทางอ้ อ ม EBOLA, MERS Co.V, EBOLA, MERS Co.V, มือเท้,าปาก ติสมองอั ดเชื้อดื้อกยาเสบเช่น มือ)เท้ ดเชื้อดืก้ อเสบ ยา เช่น มือเท้าป ไอกรน , เยื่อหุ5ม้mask สมองอั ไอกรน เยื่อ5หุ, ม้ ไมครอน ไอกรน , เยืาปาก ่อหุ ม้ , ติสมองอั ) กเสบ mask ไมครอน Rabies Avian ไข้หวัinfluenza ด, ไข้หวัดใหญ่และ Rabies ห้องแยก

RabiesMDR, ESBL Avian และ ไข้หinfluenza วัด, ไข้ หวัดใหญ่ MRSA , VRE, CRE, Rabies เว้นระยะห่ อ้ ื่นอย่าง ห้องแยกความดั นMDR, ลบ างจากผู ESBL

MDR, ESBL

M MRS MDR, ESBL เว้นระยะห่างจากผูอ้ ื่นM

ไข้ หวัด, ไข้,หVRE, วัดใหญ่CRE, MRSA

ห้องแยก


กใส SAR,

S Co.V, za และ

กใส SAR,

S Co.V, 95 za และ กใส SAR, S Co.V, มดันลบ za และ ressure 95 )

~ 100 ~

~ 100 ~

95

~ 100 ~

วัณโรคปอด,หั ด,สุSAR, กใส SAR, หัด,เยอรมั นใส, คางทู ม, อุจจาระร่วง, แผลติดเชื้อ, วัหัณดโรคปอด ด,สุ กมใส ดว,สุง,กมแผลติ SAR, เยอรมัน,,หัคางทู , ปอดบวม, วัหัณดโรคปอด เยอรมั น, หัคางทู , ปอดบวม , หัดเยอรมั น, คางทู ม, ปอดบวม , อุจจาระร่ ดเชื้อ, ตาแดง, อุจจาระร่ วง, แผลติ ดเชื้อ, ตาแดง, EBOLA, MERS Co.V, EBOLA, Co.V, 100 ~ ไอกรน, Avian เยืMERS ่อหุ ม้ ~influenza สมองอั กเสบ และ Rabies Avianไข้influenza หวัด, ไข้หวัดและ ใหญ่

Rabies

~ วัณโรคปอด,หัด,สุ~ก100 ใส SAR,

หัดเยอรมัน,หน้ คางทู ม, Nปอดบวม ากาก 95 ,

EBOLA, Co.V, ไอกรน ,ากาก เยืMERS ่อหุNม้ 95 สมองอั กเสบ หน้หน้ ากากอนามั ย(Surgical Avianไข้influenza หวัด, ไข้หวัดและ ใหญ่ mask วัหัณดโรคปอด ด,สุ กมใส,) ปอดบวม SAR, ห้นอ,,หังแยกความดั นลบ , เยอรมั คางทู Rabies (Negative pressure) EBOLA, Co.V, ไอกรน, เยืMERS ่อหุ ม้ สมองอั กเสบ ห้องแยกนลบ ห้องแยกความดั Avianไข้influenza หวัด, ไข้หวัดและ ใหญ่ (Isolation room)) (Negative หน้ ากาก Npressure 95(Surgical หน้ า กากอนามั ย Rabies mask)

ปอดบวม, ไอกรน, เยื่อหุ้ม ตาแดง, มือเท้าปาก, ติดเชื้อ EBOLA, MERS Co.V, ~ 100 ~ 100 มื อ เท้ า ปาก , ติ ด เชื อ ดื อ ยา เช่ น เท้ ปาก ,MRSA, ติดเชื~ ้ ้ ้ อกดืเสบ ้ อยา เช่น ไอกรน , เยื่อหุกเสบ ม้ สมองอั เยื่อาเช่ หุ ม้ น~สมองอั สมองอั ไข้หกวัเสบ ด, ไข้ ไอกรน ดืมื้อ,อยา VRE, หวัหดวั,ใหญ่ CRE, ESBLCRE, Avianไข้influenza และ หMRSA วัด, ไข้ ดVRE, ใหญ่ CRE, ไข้หMRSA วัด, ไข้MDR, ห,วัVRE, ดใหญ่

Rabies

MDR, ESBL

MDR, ESBL

~ ~ย ~ 100 ~ วัหัณดโรคปอด ดาว,กากอนามั สุง,กม100 ใส SAR, เยอรมั นหน้ ,,หัคางทู , ปอดบวม , หัดเยอรมั นถุง, มืคางทู ม2. , ปอดบวม , อุจจาระร่ แผลติ ดเชื้อ, ตาแดง, อุ1.จจาระร่ ้ อ, มตาแดง, อวง, แผลติ เสืด้อเชืคลุ

(Surgical mask)

EBOLA, มื,อเยืเท้MERS , ติCo.V, ดเชืก้ อเสบ ดื้อยา เช่น ไอกรนมื,อเท้ , ติดเชื้อกดืเสบ ้ อยา เช่น ไอกรน ่อาหุปาก ม้ สมองอั เยื่อาปาก หุ ม้ สมองอั ากาก หน้หน้ ากากอนามั (อSurgical 1.Nถุงยมื95 2.เสื้อคลุม หน้ากากอนามั 1.ถุงมืย(อSurgical 2.เสื้อคลุม Avianไข้influenza และ หMRSA วัด, ไข้หวั, ดVRE, ใหญ่ CRE, ไข้หMRSA วัด, ไข้ห,วัVRE, ดใหญ่ CRE, mask ) mask ) ปอดบวม ห้ อ งแยก วัหัณดโรคปอด , หั ด , สุ ก ใส SAR, เว้ น ระยะห่ า งจากผู เยอรมั น , คางทู ม , ปอดบวม , หั ด เยอรมั น , คางทู ม , ,าง อุจจาระร่MDR, วง, แผลติ ดเชื้อ, ตาแดง, อุจจาระร่MDR, วง, แผลติ ด้อเชื​ื่น้ ออย่, ตาแดง, Rabies ESBL ESBL (Isolation room) น้ อ ย 3 เมตร EBOLA, , ติCo.V, ดเชืก้ อเสบ ดื้อยา เช่น ไอกรนมื,อเท้ , ติดเชื้อกดืเสบ ้ อยา เช่น ไอกรนมื,อเยืเท้MERS ่อาหุปาก ม้ สมองอั เยื่อาปาก หุ ม้ สมองอั ระยะห่ างจากผู เว้นระยะห่ งจากผูอ้ ื่นอย่าง ห้องแยก ห้อางแยก ห้เว้อนงแยกความดั นลบอ้ ื่นอย่าง Avianไข้influenza และ หMRSA วัด, ไข้หวั, ดVRE, ใหญ่ CRE, ไข้หMRSA วัด, ไข้ห,วัVRE, ดใหญ่ CRE, น้อN ย 3 เมตร น้ อ ย 3 เมตร2.เสื) อคลุม (Isolation room ) ( Isolation (Negative pressure ) หน้ ากาก1. 95 หน้ า กากอนามั ย ( Surgical หน้ า กากอนามั ย ( Surgical ถุงมือ 2.เสื้ อคลุม 1.MDR, ถุงมือroom Rabies MDR, ESBL ESBL้ mask) mask)

อุจจาระร่ วง, แ

มือเท้าปาก,

MRSA , MD

อุจจาระร่ วง, แ

มือเท้าปาก, 1.ถุงม

MRSA , อุจจาระร่MD วง, แ มือเท้าปาก, เว้นระยะห่าง MRSA , อถุยงม3 1.น้MD


101~~ ~~101

1. Standard Precaution Precaution 1. Standard Precaution

96

่ยวกับบ การป้อองกั งกันนมาตรฐานในการดู มาตรฐานในการดูแแลผู ลผูป้ ป้ ่ วย ่ วยโดยให้ โดยให้ถถือือว่ว่าาผูผูป้ ป้ ่ วยทุ ่ วยทุกกรายมี รายมีกการติ ารติดดเชืเชื้ อ้ อในร่ ในร่างกาย างกายเป็เป็นการปฏิ นการปฏิบบตั ิเตั กีิเ่ยกีวกั การป้ การป้​้ อา งกั น มาตรฐานในการดู แ ลผู ป ้ ว ่ ย โดยให้ ถ อ ื ว่ า ผู ป ้ ว ่ ยทุ ก รายมี ก ารติ ด เชื อ ้ ในร่ า งกาย เป็ น การปฏิ บ ต ั เลือดสารน สารคั ด หลั ง ของร่ า งกายทุ ก ชนิ ด รวมทั ง เยื อ ่ บุ ผ ว ิ หนั ง และบาดแผล โดยปฏิ บ ต ั ิ เ หมื อ นกั น ทุ ก ครั ง กั สารคัดหลัง่ ่ ของร่ างกายทุกชนิด รวมทั้ง้ เยือ่ บุผิวหนังและบาดแผล โดยปฏิบตั ิเหมือนกันทุกครั้งกั้ บเิ บกีย่ วกับ เลือดสารน� ผูป้ ่ วยทุำ้ กสารคั คน ดหลัง่ ของร่างกายทุกชนิด รวมทัง้ เยือ่ บุผวิ หนังและบาดแผล โดยปฏิบตั เิ หมือนกันทุกครัง้ กับผูป้ ว่ ยทุกคน แบ่งออกเป็ หลับบกตั ตปฏิ ัติทญญี่ส10 �ำ10คัข้ญข้ออ10 แบ่งออกเป็ นหลักกนปฏิ ปฏิ ั ิทิที่สี่สบาคั าคั นหลั ดัดังงนีข้นี้ อ้ ดังนี้ 1.11.1 การล้การล้ างมืออา(Hand (Hand hygiene)hygiene) ตอน ดัขัดัง้นงนีนีตอน งมือ (Hand hygiene) ขัขั้น้ นตอน ้ ้ ดังนี้

ฝ่ามือ

ซอกมือ

หลังมือ

ก�ำปั้น

หัวแม่มือ

ปลายนิ้ว

ข้อมือ


~97 102 ~


98

~ 103 ~

ข้อบ่งชี้การล้างมือ (8 moment : 5 + 3moment) ต้องล้างมือเมื่อปฏิบัตกิ ิจกรรม ดังนี้

ข้อบ่งชี้การล้างมือ (8 moment : 5 + 3 moment) ต้องล้างมือเมื่อปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้ 1.ล้างมือก่อนสัมผัสผู้ป่วย 1. ล้างมือก่อ2.ล้ นสัามงมืผัสอผูก่อ้ปนท ่วยากิจกรรม Aseptic technique 2. ล้างมือก่อนท�กับำผูกิ้ปจ่วกรรม ย Aseptic technique กับผู้ป่วย 3.ล้ า งมื อ หลั 3. ล้างมือหลังสัมผัสผู้ป่วงสัยมผัสผู้ป่วย หลังสัดมหลั ผัสสารคั ่งจากร่้ปางกายผู 4. ล้างมือหลั4.ล้ งสัมางมื ผัสอสารคั ่งจากร่ดหลั างกายผู ่วย ้ป่วย 5.ล้างมือหลังสัมผัสสิง่ แวดล้อมรอบตัวผู้ป่วย 5. ล้างมือหลังสัมผัสสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วย 6.ล้างมือเมื่อต้องเปลี่ยนตาแหน่งในการให้การ 6. ล้างมือเมื่อต้ดูอแงเปลี ่ยนต�ำแหน่งในการให้การดูแลผู้ป่วยรายเดิม ลผู้ป่วยรายเดิม 7. ล้างมือหลั7.ล้ งถอดถุ มืองถอดถุงมือ างมืองหลั 8. ล้างมือหลั8.ล้ งเข้าางมืห้ออหลั งน�ง้ำเข้าห้องน้า

1.2 สวมอุปกรณ์ ป้องกันตามความเหมาะสม (Personal Protection Equipment: PPE) หลักการในการสวมใส่ อุ ป กรณ์ ป้องกันร่ป้างกาย ังนี้ สวมอุ ป กรณ์ อ งกั นมีดตามความเหมาะสม (Personal Protection Equipment: PPE)

1.2 หลักการในการสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย มีดังนี้ 1) ประเมินความเสี่ยงของกิจกรรม 2) เลือกใช้อุปกรณ์ให้เหมาะสม เพื่อป้องกันความเสี่ยง


99 3) ใส่ - ถอด อย่างถูกวิธี 4) หลังถอด PPE ทุกครั้งต้องล้างมือ (ปฏิบัติตามนโยบาย HP-PCI-QSHC-002-การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล) 1.3 การใช้เข็ม และอุปกรณ์มีคมอย่างปลอดภัย หลีกเลี่ยงการถูกของมีคมทิ่มต�ำ หลักปฏิบัติเพื่อความ ปลอดภัยมี ดังนี้ 1) ห้ามสวมปลอกเข็มกลับคืนหลังใช้งาน และห้ามปลดเข็มจาก syringe โดยมือเปล่า 2) ทิ้งของมีคมหลังใช้เสร็จทันที โดยทิ้งลงในภาชนะที่ป้องกันการทะลุทะลวงได้ กรณีที่ไม่สามารถ ทิ้งได้ทันที ต้องมีการสื่อสารที่ชัดเจน และปลอดภัย 3) หลี ก เลี่ ย งการหยิ บ ใส่ ปลดใบมี ด ออกจากด้ า ม ให้ ใ ช้ เ ครื่ อ งมื อ เช่ น Holder หรื อ Clamp ช่วยแทนการใช้มือเปล่า การปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุจากของมีคมและสัมผัสสารคัดหลั่งของผู้ป่วย มีดังนี้


~ 105 ~

100


101 1.4 การจัดการอุปกรณ์/เครื่องมือที่ใช้กับผู้ป่วย มีหลักการปฏิบัติดังนี้ 1) การจัดเก็บอุปกรณ์สะอาด ปราศจากเชื้อ - จัดเก็บตามหลัก First-in First- out - อุปกรณ์ปราศจากเชื้อประเภทห่อผ้า เก็บในตู้มิดชิด ไม่มีฝุ่น ที่วางไม่ชื้น - อุปกรณ์สะอาด หีบห่อจากบริษัท เก็บในตู้/ชั้น ไม่มีฝุ่น ไม่ชื้น - ก่อนหยิบอุปกรณ์ปราศจากเชื้อเก็บทุกครั้งต้องล้างมือ 2) การน�ำอุปกรณ์สะอาด/ปราศจากเชื้อไปใช้ - ล้างมือทุกครั้งก่อนหยิบอุปกรณ์สะอาด/ปราศจากเชื้อไปใช้ - ตรวจสอบบรรจุภัณฑ์ก่อนเปิด ไม่เปียก ไม่มีรู ไม่รั่ว ไม่ฉีกขาด ไม่หมดอายุ - External และ Internal Indicator ผ่านกระบวนการปราศจากเชื้อตามที่ก�ำหนด 3) การจัดการอุปกรณ์ที่ใช้แล้ว/อุปกรณ์ปนเปื้อน - สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันร่างกายก่อนหยิบจับทุกครั้ง - บรรจุลงในถุงพลาสติก ไม่ล้าง ไม่วางทิ้งไว้ ไม่หิ้วถุงน�ำส่ง ต้องบรรจุใส่กล่องที่จัดเตรียมให้ น�ำส่งงานจ่ายกลางตามเวลาที่ก�ำหนด (อุปกรณ์ที่ใช้กับผู้ป่วยติดเชื้อร้ายแรง เช่น เชื้อดื้อยา โรคระบาด ต้องระบุข้อความเพื่อสื่อสารกับผู้ล้างท�ำความสะอาดให้ชัดเจน)


102 - การท�ำความสะอาดและท�ำลายเชื้อ อุปกรณ์ที่ใช้กับผู้ป่วยให้ปฏิบัติตามนโยบายที่โรงพยาบาล ก�ำหนด (HP-PCI-QSHC -003-การท�ำความสะอาด การท�ำลายเชื้อและท�ำให้ปราศจากเชื้อในโรงพยาบาล) 1.5 การดูแลสิ่งแวดล้อม มีหลักปฏิบัติดังนี้ 1) เช็ดท�ำความสะอาดอย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง หรือเมื่อเปื้อน และทุกครั้งก่อนใช้กับผู้ป่วยรายใหม่ อุปกรณ์ที่ใช้ท�ำความสะอาดต้องแยกเฉพาะรายไม่ใช้ร่วมกัน 2) เช็ดจากบริเวณ/อุปกรณ์ที่ไกลตัวผู้ป่วยก่อน สู่บริเวณ/อุปกรณ์ที่ใกล้ตัวผู้ป่วย 3) ทิศทางการเช็ดให้เช็ดไปในทิศทางเดียว หรือวนจากด้านในสู่ด้านนอก 4) เน้นจุดที่มีการสัมผัสบ่อยๆ เช่น ไม่กั้นเตียง ลูกปิดประตู โทรศัพท์ เป็นต้น 5) กรณีเปือ้ นเลือด หรือสารคัดหลัง่ ผูป้ ว่ ยเป็นบริเวณกว้าง ให้ซบั คราบปนเปือ้ นออกด้วยกระดาษส�ำหรับซับ จากนั้ น ทิ้ ง ในขยะติ ด เชื้ อ ฉี ด พรม/ราดให้ ทั่ ว ด้ ว ยน�้ ำ ยาท� ำ ลายเชื้ อ (Verkon 1ซอง/น�้ ำ ลิ ต ร) ทิ้งไว้ 10 นาที แล้วซับ/เช็ดออกด้วยกระดาษอีกครั้ง จากนั้นเช็ดซ�้ำด้วยน�้ำสะอาด 6) ผู้ที่เช็ดท�ำความสะอาดต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันร่างกายที่เหมาะสม 7) เช็ดท�ำความสะอาดด้วยน�้ำยาท�ำความสะอาดที่โรงพยาบาลก�ำหนด


103 1.6 การจัดการผ้าเปื้อน ก�ำหนดให้ผ้าเปื้อนในศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ มี 2 ชนิด ดังนี้ 1) ผ้าเปื้อนติดเชื้อ ได้แก่ ผ้าที่เปื้อนเลือด สารคัดหลั่งจากร่างกายผู้ป่วย การจัดเก็บ : ใส่ถุงแดง/ถังผ้าเปื้อนติดเชื้อ หรือถังที่รองรับด้วยถุงผ้าสีแดง 2) ผ้าเปื้อนทั่วไป ได้แก่ ผ้าที่ใช้กับผู้ป่วยที่ไม่มีบาดแผล เปื้อนคราบเหงื่อไคลทั่วไป ชุดบุคลากร และผ้าที่ด�ำเนินการซักล้างท�ำความสะอาดในโรงพยาบาล การจัดเก็บ : ใส่ถุงน�้ำเงิน/ถังผ้าเปื้อนทั่วไป ถังที่รองรับด้วยถุงผ้าสีน�้ำเงิน การขนส่ง : ผูท้ ที่ ำ� หน้าทีข่ นส่งผ้าเปือ้ นต้องใส่อปุ กรณ์ปอ้ งกันร่างกายทีเ่ หมาะสมห้ามอุม้ แบก ลากถุงผ้า ต้องขนส่งด้วยพาหนะทีก่ ำ� หนดให้ และล้างท�ำความสะอาดทุกครัง้ หลังเสร็จสิน้ ในแต่ละรอบ ตามเส้นทางและระยะเวลา ที่ก�ำหนด 1.7 การจัดการขยะ ก�ำหนดให้ขยะในศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้ 1) ขยะติดเชื้อ การจัดการ 1.1) ขยะติดเชื้อมีคมได้แก่ เข็ม ใบมีด ทิ้งในถังสีแดง/ถังขยะติดเชื้อมีคมที่จัดให้ 1.2) ขยะติดเชื้อทั่วไป(ที่ไม่มีคม) ทิ้งในถังขยะติดเชื้อ/ถังที่รองรับด้วยถุงสีแดง 2) ขยะทั่วไป การจัดการ : ทิ้งในถังขยะทั่วไป/ถังขยะที่รองรับด้วยถุงสีด�ำ


104 3) ขยะอันตราย/ขยะพิษ การจัดการ : ทิ้งในถังขยะอันตราย/ถังขยะที่รองรับด้วยถุงสีเทา โดยแยก ประเภทตามวิธีการก�ำจัด 4) ขยะรีไซเคิล การจัดการ : ทิ้งในถังขยะรีไซเคิล/ถังขยะที่รองรับด้วยถุงพลาสติกใส 1.8 การจัดสถานที่ส�ำหรับผู้ป่วย (Patient placement) เพื่อควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ 1) ผู้ป่วยทั่วไป : ระยะห่างระหว่างเตียงผู้ป่วยอย่างน้อย 3 ฟุต ท�ำความสะอาดทุกวัน และเปลี่ยน/ ซักม่านรอบเตียงทุกเดือน


105 ขยะมูลฝอยติดเชื้อ (ถุงแดง ถังขยะใช้ชนิดเท้าเหยียบเท่านัน้ ) 1. ขยะติดเชื้อมีคม (ถังสีแดงกันการทิ่มทะลุก่อนทิ้งลงถุง) - เข็มฉีดยา เข็มเจาะเลือด ใบมีด - สไลด์แก้ว แผ่นกระจกปิดสไลด์ หลอดแก้วจากการตรวจทางห้องปฏิบตั กิ าร 2. ขยะติดเชื้อไม่มีคม - ส�ำลี ผ้าก็อส ที่เปื้อนสารคัดหลั่ง ผู้ป่วย - ท่อยางและถุงต่างๆที่ปนเปื้อนสาร คัดหลั่ง สายน�้ำเกลือที่ ถุงมือชนิดที่ใช้ ครั้งเดียว กระบอกฉีดยาพลาสติก หมวก - แพมเพอร์ท ผ้าอนามัย ถุงยาง อนามัยที่ใช้แล้วกับผู้ป่วย

(ถุงด�ำ) 1. มูลฝอยจากหอผู้ป่วย/ โรงพยาบาล - มูลฝอยจากโรงครัว - มูลฝอยที่เกิดจากการ ใช้ชีวิตประจ�ำวัน ที่ไม่ปน เปื้อนเลือดหรือสารคัดหลั่ง จากผู้ป่วย

(ถุงสีเทา)

ขยะ Recycle (ถุงสีเหลือง)

1. ยา ขวดยา ยาหมดอายุ ยาที่ไม่ใช้ ยาปฏิชีวนะ 2. ขยะพิษ เผาได้ เช่น ตลับหมึก ปากกา เคมี แผ่นซีดี เป็นต้น เผาไม่ได้ เช่น กระป๋อง สเปรย์ ถ่านไฟฉาย หลอดไฟ เป็นต้น 3. สารเคมี เช่น น�้ำยาเคมี น�้ำยาท�ำลายเชื้อ

1. พลาสติกต่างๆที่ใช้แล้ว ไม่ปนเปื้อน สารคัดหลั่งจาก ร่างกายผู้ป่วย 2. กระดาษทุกชนิดที่ไม่ปน เปื้อนสิ่งคัดหลั่ง เช่น กล่อง กระดาษ กล่องยา ถุงต่างๆ หนังสือพิมพ์ เศษกระดาษ เอกสาร สมุด หนังสือ


106 ขยะมูลฝอยติดเชื้อ (ถุงแดง ถังขยะใช้ชนิดเท้าเหยียบเท่านัน้ ) - สิ่งปนเปื้อนจากการตรวจทางห้อง ปฏิบัติการ - ชิ้นส่วนร่างกายเล็กๆ เศษเยื่อบุต่างๆ - เศษวัสดุต่างๆที่เปื้อนสิ่งคัดหลั่งจาก ผู้ป่วย (ของเหลวต่างๆ ที่ออกจากตัวผู้ป่วยให้เท ทิ้งลง SEPTIC TANK หรือโถส้วม ก่อนที่ จะทิ้งภาชนะที่ใส่ลงถังขยะแดง)

(ถุงด�ำ)

(ถุงสีเทา)

ขยะ Recycle (ถุงสีเหลือง) 3. ขวดแก้วทุกชนิดที่ไม่ แตกและไม่บรรจุยา หรือ สารอันตราย เช่น ขวดน�้ำ เกลือแก้ว/ขวดน�้ำเกลือ พลาสติกที่ไม่มีการผสมยา ใดๆลงไป หรือผสมเฉพาะ Vit C, Bco และ Heparine เท่านั้น


107 2) ผูป้ ว่ ยทีต่ ดิ เชือ้ ดือ้ ยา: ห่างจากเตียงผูป้ ว่ ยอืน่ อย่างน้อย 3 ฟุต ท�ำความสะอาดเตียงและโต๊ะข้างเตียง ทุกวันด้วยน�ำ้ ยาท�ำลายเชือ้ (ทีโ่ รงพยาบาลก�ำหนด) และเปลีย่ น/ซักม่านเมือ่ เปลีย่ นผูป้ ว่ ยรายใหม่ 3) ผู้ป่วยที่สงสัย/มีการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ: ให้อยู่ในพื้นที่แยก/ห้องแยก 1. Droplet precaution: ผูป้ ว่ ยไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ ติดเชือ้ ระบบทางเดินหายใจส่วนปนทีม่ อี าการไอ จาม และผู้ป่วยที่ใส่เครื่องช่วยหายใจ จัดให้อยู่ในห้องแยกทั่วไป 2. Airborne Precaution: ผู้ป่วยสงสัย/วัณโรคปอดระยะแพร่กระจายเชื้อ ใช้ห้องแยกที่มีระบบ ความดันอากาศเป็นลบ (Negative Pressure Room) การดูแลท�ำความสะอาดห้องแยก: ท�ำความสะอาดทุกวันด้วยน�้ำยาท�ำลายเชื้อ และเปลี่ยนม่านทุกเดือน กรณี ที่ห้องไม่มีการใช้อย่างต่อเนื่องให้ท�ำความสะอาดและเว้นระยะการใช้ห้องเพื่อให้มีการบ�ำบัดอากาศภายในด้วยระบบ หมุนเวียนอากาศ 12 ACH เป็นเวลา 30 นาที ก่อนที่จะเปิดใช้ห้องครั้งต่อไป 1.9 การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยติดเชื้อ (Transport of infected patients) มีหลักการดังนี้ 1) ควรเคลือ่ นย้ายผูป้ ว่ ยติดเชือ้ เท่าทีจ่ ำ� เป็น บุคลากรทีท่ ำ� หน้าทีเ่ คลือ่ นย้ายและผูป้ ว่ ยต้องสวมใส่อปุ กรณ์ ป้องกันร่างกายที่เหมาะสม (เช่น mask, ถุงมือ, เสื้อคลุม เป็นต้น) 2) สือ่ สารให้ทมี งานทีด่ แู ลผูป้ ว่ ยได้รบั ทราบและเตรียมพร้อมในการดูแล เส้นทางทีเ่ คลือ่ นย้ายควรดูแล ไม่ให้แออัด


108 1.10 การจัดการอุปกรณ์บรรจุอาหารและน�้ำดื่มของผู้ป่วย มีหลักการดังนี้ 1) ผูป้ ว่ ยโรคติดเชือ้ แยกล้าง/ไม่ล้างรวมกับของผูป้ ว่ ยทัว่ ไป หรือใช้ชนิดทีใ่ ช้แล้วทิง้ ให้แยกรอบกับทีใ่ ช้ กับผูป้ ว่ ยทัว่ ไป(ล้างหลังสุด) และต้องผ่านกระบวนการท�ำลายเชือ้ ทีเ่ หมาะสมทัง้ ก่อนและหลังการล้าง กรณีที่ล้างด้วยเครื่องควรใช้อุณหภูมิ 85-95 ํC 2) ผู้ที่ท�ำหน้าที่ในการรวบรวม หรือล้างด้วยมือต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันร่างกายที่เหมาะสม ใช้น�้ำยา ล้างจานและล้างน�้ำสะอาดอย่างน้อย 2 น�้ำ แล้วผึ่งให้แห้งจากนั้นต้มในน�้ำเดือด 20-30 นาที ก่อนน�ำไปใช้ครั้งต่อไป 2. Transmission – based Precautions เป็นมาตรการการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ที่ปฏิบัติเพิ่มเติมร่วมกับ Standard Precaution เมื่อสงสัยหรือ ทราบช่องทางการแพร่กระจายเชื้อที่ชัดเจน ดังนี้ 2.1 การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ (Air borne precautions; AP) เป็นการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคทางอากาศ ซึ่งเกิดจากฝอยละอองน�้ำมูก น�้ำลาย ขนาดเล็กกว่า 5 ไมครอน จากการไอ จาม หรือพูดคุยในระยะใกล้กว่า 3 ฟุต


109 วิธีการปฏิบัติในการป้องกัน มีดังนี้

1. ลดการฟุ้งกระจายในอากาศ โดยการสวมใส่หน้ากากอนามัยให้กับผู้ป่วย 2. ลดการปนเปื้อนของอากาศ โดยการแยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยก ที่มีระบบความดันอากาศเป็นลบ (Negative Pressure Room) และมีระบบหมุนเวียนอากาศ 12 ACH 3. ลดการสูดดมละอองฝอยเชื้อที่ปนเปื้อนในอากาศ โดยการสวม Mask N95 ก่อนเข้าห้องผู้ป่วยทุกครั้ง 4. แนะน�ำการปฏิบัติตัวแก่ญาติ ในการเข้าเยี่ยมผู้ป่วย โดยการจ�ำกัดจ�ำนวนผู้เข้าเยี่ยม ผู้มีภูมิคุ้มกันต�่ำ ไวต่อการติดเชื้อได้ง่าย ไม่ควรเข้าไปใกล้ผู้ป่วย เช่น เด็ก คนชรา ไม่ควรเข้าเยี่ยม 5. เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกจากห้องเมื่อจ�ำเป็นเท่านั้น และต้องให้ผู้ป่วยสวมหน้ากากอนามัย (Surgical mask) ไว้ตลอดเวลาเพื่อป้องกันการฟุ้งกระจายในอากาศ 6. ล้างมือก่อนและหลังให้การรักษาพยาบาล หรือเข้าตรวจเยี่ยมผู้ป่วยทุกครั้ง 7. แนะน�ำผู้ป่วยในการไอจามที่ถูกวิธี โดยให้ใช้ผ้าหรือกระดาษเช็ดหน้า ปิดปากและจมูกทุกครั้งในการไอ จาม รวมทัง้ การบ้วนเสมหะและการทิง้ กระดาษเช็ดหน้าทีใ่ ช้ ในภาชนะทีจ่ ดั ไว้ให้ ซึง่ ต้องมีฝาปิดมิดชิดและ มีถุงพลาสติกรองรับอยู่ภายใน 8. อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ ท�ำความสะอาดห้อง เตียงผู้ป่วย ให้ใช้วิธีเดียวกันกับ Standard Precaution 9. สื่อสารทีมที่ให้การดูแล โดยติดสติ๊กเกอร์ป้ายสัญลักษณ์ “Droplet Precautions; DP” ที่หน้าห้อง หน้าเตียง chart หรือใบส่งต่อผู้ป่วย


110 2.2 การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางฝอยละออง (Droplet precautions; DP) เป็นการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคทางอากาศ จากละอองฝอยเสมหะ น�้ำมูก น�้ำลาย จากการไอ จาม ที่มีขนาดใหญ่กว่า 5 ไมครอน วิธีปฏิบัติมีดังนี้

1. ลดการฟุ้งกระจายในอากาศ โดยการสวมใส่หน้ากากอนามัยให้กับผู้ป่วย แนะน�ำการไอจามที่ถูกวิธี โดยใช้ผ้าหรือกระดาษเช็ดหน้า ปิดปากและ จมูกทุกครั้งในการไอ จาม การทิ้งในภาชนะที่เหมาะสม การล้างมือทุกครั้ง 2. ลดการปนเปื้อนในอากาศ โดยแยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยก ถ้าไม่มีให้แยกเตียงผู้ป่วยให้ห่างจากผู้อื่น อย่างน้อย 3 ฟุต 3. ลดการสูดดมละอองฝอยเชื้อที่ปนเปื้อนในอากาศ โดยการสวม Surgical Mask ทุกครั้งเมื่อให้การดูแล ผู้ป่วยในระยะใกล้เกิน 3 เมตรหรือเข้าในห้องผู้ป่วย 4. สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันร่างกายเพิ่มเติม เพื่อป้องกันการสัมผัสสารคัดหลั่งผู้ป่วยในสิ่งแวดล้อมรอบเตียง ในการให้การดูแล ได้แก่ ถุงมือ เสื้อคลุม เป็นต้น 5. ล้างมือก่อนและหลังการให้การพยาบาล หรือหลังสัมผัสอุปกรณ์เครือ่ งใช้ทใี่ ช้กบั ผูป้ ว่ ยทุกครัง้ หรือหลังถอด ถุงมือทันที


111

6. ไม่เคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยไม่จ�ำเป็น ถ้าจ�ำเป็นต้องดูแลให้ผู้ป่วยสวมใส่หน้ากากอนามัยไว้ตลอดเวลา 7. การท�ำความสะอาดห้อง เตียงผู้ป่วย อุปกรณ์เครื่องมือ เครื่องใช้ ให้ใช้วิธีเดียวกันกับแบบ Standard Precautions 10. แนะน�ำการปฏิบัติตนแก่ญาติ ในการเข้าเยี่ยมผู้ป่วย และจ�ำกัดจ�ำนวนผู้เข้าเยี่ยมผู้ที่ติดโรคได้ง่าย เช่น เด็ก, คนชรา, ผู้ที่มีภูมิต้านทานต�่ำ ไม่ควรเข้าเยี่ยม 11. สื่อสารทีมที่ให้การดูแล โดยติดสติ๊กเกอร์ป้ายสัญลักษณ์ “Droplet Precautions; DP” ที่หน้าห้อง หน้าเตียง chart หรือใบส่งต่อผู้ป่วย 2.3 การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางสัมผัส (Contact precautions; CP) เป็นวิธีป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคที่ติดต่อได้โดยการสัมผัสทั้งทางตรงและทางอ้อม

วิธีปฏิบัติมีดังนี้

1. สวมถุงมือเมื่อต้องสัมผัสผู้ป่วย หรือสารคัดหลั่งที่มีเชื้อโรค 2. สวมเสื้อคลุม ผ้ากันเปื้อนพลาสติก เมื่อให้การดูแลผู้ป่วย หรือท�ำกิจกรรมที่คาดว่าจะต้องสัมผัสกับ สิ่งแวดล้อม และสิ่งคัดหลั่งจากตัวผู้ป่วย เช่น อาบน�้ำ เช็ดตัว เป็นต้น


112

3. ถอดเสื้อคลุมและถุงมือทันทีหลังให้การรักษาพยาบาลผู้ป่วยแต่ละครั้ง และล้างมือทันที 4. แยกของใช้ผู้ป่วย ไม่ให้ใช้ร่วมกับผู้ป่วยรายอื่น 5. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ให้ผู้ป่วยสวมเครื่องป้องกันตามความเหมาะสม โดยให้มีการ ห่อหุ้ม หรือปกปิด ในส่วนที่มีการติดเชื้อ เช่น บาดแผล หรือบริเวณที่มีสารคัดหลั่งที่ปนเปื้อนเชื้อโรคออกมา เพื่อป้องกัน การแพร่กระจายเชื้อไปสู่ผู้อื่นและการปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม 6. อุปกรณ์เครื่องมือ เครื่องใช้ ให้ใช้วิธีเดียวกันกับแบบ Standard Precaution 7. แนะน�ำให้ผู้ป่วยล้างมือทุกครั้งหลังถ่ายอุจจาระ หรือสัมผัสสิ่งคัดหลั่งจากร่างกาย เช่น หนอง บาดแผล 8. มูลฝอยจากตัวผู้ป่วย เช่น ก๊อซ ส�ำลี กระดาษช�ำระที่เปื้อนอุจจาระ หรือสิ่งคัดหลั่งจากร่างกายผู้ป่วย ให้แยกทิ้งในถังขยะติดเชื้อ 9. เตียงผู้ป่วย/ห้องให้ท�ำความสะอาดทุกวัน และเปลี่ยน/ซักม่านรอบเตียงทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนผู้ป่วย 10. จ�ำกัดจ�ำนวนคนเข้าเยี่ยม และแนะน�ำให้ผู้เข้าเยี่ยมล้างมือหลังสัมผัสผู้ป่วยทุกครั้ง 11. สื่อสารทีมที่ให้การดูแล โดยติดสติ๊กเกอร์และป้ายสัญลักษณ์ “Contact precautions; CP” ที่หน้าห้อง, หน้าเตียง, chart หรือใบส่งต่อผู้ป่วย


113 การเฝ้าระวังโรคติดเชื้อในบุคลากร ก�ำหนดให้มีการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อส�ำหรับบุคลากรศูนย์หัวใจสิริกิติฯ จ�ำนวน 7 โรค ได้แก่ โรควัณโรค, โรคสุกใส, ตาแดง, โรคหัด, โรคหัดเยอรมัน ไวรัสตับอักเสบ A หลักการปฏิบัติ มีดังนี้ 1) เมือ่ พบการเจ็บป่วยในบุคลากรด้วยโรคตามทีก่ ำ� หนด ต้องแจ้งให้หวั หน้าหน่วยงาน/หัวหน้าหอผูป้ ว่ ย หรือ เวรตรวจการ (นอกเวลาราชการ)และพยาบาลควบคุมการติดเชือ้ ในโรงพยาบาลทราบทันที เพือ่ ควบคุมการแพร่กระจาย ชื้อในโรงพยาบาลและ ติดตามการตรวจรักษาอย่างถูกต้อง เหมาะสม และรวดเร็ว รวมทั้งค้นหา เฝ้าระวังการเจ็บป่วย เพิ่มเติมในผู้ป่วยรายใหม่ 2) ควบคุมการแพร่กระจายเชื้อในโรงพยาบาล โดยการพิจารณาให้หยุดปฏิบัติหน้าที่ทันทีเมื่อทราบและ ได้รับการวินิจฉัยยืนยันการเจ็บป่วยจากแพทย์ผู้ตรวจ และกลับเข้าปฏิบัติหน้าที่ได้ ตามรายละเอียดโรคและระยะเวลา ในการแพร่กระจายดังที่แสดงไว้ในตาราง


114 โรค

ระยะเวลาที่กลับเข้าทำงานได้

วัณโรคปอดระยะแพร่กระจายเชือ้ - หลังรับการรักษาทีเ่ หมาะสมเป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์ (Active Pulmonary TB) ร่วมกับอาการดีขนึ้ และผลการตรวจเสมหะ(Sputum AFB) เป็นลบ ติดต่อกัน 3 ครั้ง โรคสุกใส

- จนกว่าตุ่มน�้ำใสแห้งและตกสะเก็ด

หัด

- จนกว่าผื่นจะหาย (อย่างน้อยที่สุด 4 วัน)

หัดเยอรมัน

- จนกว่าผื่นจะหาย (อย่างน้อยที่สุด 5 วัน)

ตาแดง

- จนกว่าจะหาย

อหิวาตกโรค

- จนกว่าจะหาย

ไวรัสตับอักเสบ A

- จนกว่าจะหาย


115 QPS: Quality Improvement and Patient Safety plan คุณภาพและความปลอดภัยของผู้ป่วย เพือ่ ให้ผปู้ ว่ ยและผูร้ บั บริการของศูนย์หวั ใจสิรกิ ติ ฯิ์ ได้รบั ความปลอดภัยสูงสุด และสร้างความมัน่ ใจว่าศูนย์หวั ใจ สิริกิติ์ฯ ให้การบริการแก่ผู้ป่วยอย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพสูงสูดโดยระบบการควบคุมคุณภาพและการพัฒนา คุณภาพอย่างต่อเนื่อง อุบัติการณ์ความเสี่ยง คือ เหตุการณ์ที่ไม่ควรเกิดขึ้นในศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ Sentinel Event คือ เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์รุนแรงจนถึงแก่ชีวิต พิการ หรือสูญเสียหน้าที่การท�ำงานของอวัยวะ


116 ระดับ

ผลกระทบ

A

เหตุการณ์ซึ่งมีโอกาสจะก่อให้เกิด ความคลาดเคลือ่ น หรือเกิดภายในหน่วยงาน แต่ไม่มี ความเสียหายใด

B C D

รายงาน ภายใน

ระดับการรายงาน ในเวลา นอกเวลา ราชการ ราชการ

หัวหน้า หน่วย/ หั วหน้า เกิดความคลาดเคลือ่ นขึน้ ระหว่างหน่วยงาน 24 ชั่วโมง หอผู้ป่วย/ ซึ่งไม่ถึงผู้ป่วย/โรงพยาบาล/เจ้าหน้าที่ หัวหน้างาน แต่ยัง ไม่มีความเสียหายใด เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วย/รพ./ เจ้าหน้าที่ แต่ไม่ได้รับอันตราย/เสื่อมเสีย ชื่อเสียง/มูลค่าไม่เกิน 5,000 บาท เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วย/ โรงพยาบาล/เจ้าหน้าที่ ซึ่งต้องเฝ้าระวัง/ ติดตามเพิม่ เติม/มูลค่า 5,000-10,000 บาท

หัวหน้างาน

ปิด IR ภายใน

หัวหน้าเวร 30 วัน

ผู้ตรวจการ ศูนย์หัวใจฯ


117 ระดับ E

F

ผลกระทบ เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วย/ โรงพยาบาล/เจ้าหน้าที่ ส่งผลให้เกิด อันตรายชั่วคราว และต้องมีการบ�ำบัด รักษามูลค่ามากกว่า 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 50,000 บาท เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วย/ โรงพยาบาล/เจ้าหน้าที่ ส่งผลให้เกิด อันตรายชั่วคราวและ ต้องนอนโรงพยาบาล หรืออยู่โรงพยาบาลนานขึ้นมูลค่าตั้งแต่ 50,000 บาท แต่ไม่เกิน 100,000 บาท

รายงาน ภายใน

ระดับการรายงาน ในเวลา นอกเวลา ราชการ ราชการ

24 ชั่วโมง หัวหน้าฝ่าย, ผู้ตรวจการ PCT ศูนย์หัวใจฯ

ปิด IR ภายใน

15 วัน


118 ระดับ

ผลกระทบ

G

เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วย/ โรงพยาบาล/เจ้าหน้าที่ ส่งผลให้เกิด อันตรายถาวร มีมูลค่าตั้งแต่ 100,000 บาท แต่ไม่เกิน 200,000 บาท

H

เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วย/ โรงพยาบาล/เจ้าหน้าที่ ส่งผลให้ต้องท�ำการ ช่วยชีวิตมูลค่าตั้งแต่ 200,000 บาท แต่ไม่เกิน 500,000บาท

I

เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วย/ โรงพยาบาล/เจ้าหน้าที่ ซึ่งอาจเป็น สาเหตุของการ เสียชีวิต มีมูลค่ามากกว่า 500,000 บาท

รายงาน ภายใน

ทันที

ระดับการรายงาน ในเวลา นอกเวลา ราชการ ราชการ

หัวหน้าฝ่าย/ PCT/ ผู้ตรวจการ ประธาน ศูนย์หัวใจฯ/ RM, SHE/ ผู้อ�ำนวยการ ผู้อ�ำนวยการ นอกเวลา ศูนย์หัวใจฯ

ปิด IR ภายใน

7 วัน


119 FMS: Facility Management and Safety Code แผนปฏิบัติการฉุกเฉินศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ Contact Center  แจ้งเหตุฉุกเฉินโทร.เบอร์ 5 YELLOW

เกิดไฟไหม้เบื้องต้น

RED

เกิดไฟไหม้ลุกลาม เริ่มอพยพและเคลื่อนย้าย

GREEN

ประกาศยุติแผนอัคคีภัย

PINK

ปฏิบัติการฉุกเฉินเมื่อเกิดเหตุเด็กหาย

BLACK

ปฏิบัติการรองรับเหตุพยายามฆ่าตัวตาย

BLUE

ปฏิบัติการกู้ชีพ CPR

BROWN

ปฏิบัติการรองรับเหตุทะเลาะวิวาท

VIOLET

ปฏิบัติการรองรับระบบ computer down


120 Resuscitation (CPR) : Code blue (สีน�้ำเงิน) หมายถึง ภาวะหัวใจหยุดเต้นกระทันหัน พบเหตุ เรียกปลุก/ประเมินชีพจร (หัวใจหยุดเต้น/Cardiac Arrest) เรียกขอความช่วยเหลือ  แจ้งสถานที่/ ชื่อผู้แจ้ง... (2 ครั้ง ติดต่อกัน) /อาการผู้ป่วย (โทร.ภายในหมายเลข 5)  ท�ำ BLS รอทีมช่วยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุ (มีรายละเอียดใน นโยบายหมวด COP: Resuscitation Policy) Fire : อัคคีภัย code Yellow

(สีเหลือง) หมายถึง เกิดเหตุเพลิงไหม้เบื้องต้น เพลิงไม่รุนแรง ยังไม่ลุกลาม เมื่อพบเหตุ ให้กดสัญญาณเตือนภัยระบบอัตโนมัติ หรือโทรศัพท์แจ้ง เบอร์ 5 ทั้งในและนอกเวลาราชการ ด้วยข้อความว่า “CODE yellow ที.่ .......ชือ่ ผูแ้ จ้ง..... (2 ครัง้ ติดต่อกัน)” และเจ้าหน้าทีศ่ นู ย์วทิ ยุจะประกาศผ่านเสียงตามสายด้วยข้อความ “ โปรดทราบๆ CODE yellow ที่.........(จุดที่เกิดเหตุ)เวลานี้ ” (ประกาศจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 6 ครั้ง ห่างกันไม่เกิน 3 วินาที)

code RED (สีแดง) หมายถึงเพลิงไหม้รุนแรงไม่สามารถควบคุมได้และต้องใช้น�้ำในการเข้าดับเพลิง เจ้าหน้าที่ศูนย์วิทยุประกาศผ่านเสียงตามสายและกดสัญญาณเตือนภัยควบคู่กับระบบเตือนภัยอัตโนมัติ “ โปรดทราบๆ CODE red ที่............(ระบุสถานที่เกิดเหตุ) ให้ใช้จุดรวมพลที่......(ระบุล�ำดับที่ของจุดรวมพลที่ใช้ว่าใช้จุดรวมพลที่ 1 หรือ 2) และให้บริเวณ.......(ระบุพื้นที่) เป็นพื้นที่อันตราย ” (ประกาศจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 6 ครั้ง ห่างกันไม่เกิน 3 วินาที เมื่อประกาศไปแล้ว 3 ครั้ง ให้กดสัญญาณเตือนไฟไหม้ เป็นเสียงยาว 30 วินาที 3 ครั้ง เว้น 2 วินาที)


~ 127 121 ~

code GREEN GREEN code “โปรดทราบีโปรดทราบีCODE Green ณีบัดน้” “โปรดทราบ โปรดทราบ CODE Green ณ บัดนี้” การยุ การยุติแผนปฏิ บัตติกิแารผนปฏิบัติการ (ีประกาศจานวนไม่น้อยกว่าี6ีครั้งีห่างกันไม่เกินี3ีวินาท) (ประกาศจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 6 ครั้ง ห่างกันไม่เกิน 3 วินาที)

ถังดังบ4เพลิ การใช้ถการใช้ ังดับเพลิ ขั้นงี4ีขั ตอน้นตอน


122

เส้นทางหนีไฟ - ทิศเหนือ ชื่อ B - ทิศใต้ ชื่อ A1 - ทิศตะวันตก ชื่อ A2

บันไดหนีไฟ ทิศตะวันตก A2

บันไดหนีไฟ ทิศใต้ A1

จุดรวมพล คือ สนามหญ้าระหว่างอาคาร สว. และศูนย์หัวใจฯ ลานจอดรถศูนย์หัวใจฯ ทางทิศใต้


123 สารเคมีและวัตถุอันตราย (Hazardous Material and Waste Plan) แบ่งตามสหประชาชาติ (UN) ดังนี้ สัญลักษณ์แสดงความเป็นอันตรายของสารเคมี 1. วัตถุระเบิด (Explosives)

ของแข็งหรือของเหลว หรือสารผสมที่สามารถเกิดปฏิกิริยา ทางเคมีด้วยตัวเอง ให้เกิดการระเบิดได้

2. ก๊าซ (Gases) ก๊าซไวไฟ 3. ของเหลวไวไฟ (Flammable Liquids)

ก๊าซไม่ไวไฟ-ไม่เป็นพิษ

ของเหลวหรือของเหลวผสมที่มีจุดวาบไฟ (Flash Point) ไม่เกิน 60.5 องศาเซลเซียส เช่น อะซีโตน ทินเนอร์

ก๊าซพิษ


124 4. ของแข็งไวไฟ (Flammable Solids) ของแข็งไวไฟ

สารที่เสี่ยงต่อการลุกไหม้ได้เอง

สารออกซิไดซ์

สารอินทรีย์เปอร์ออกไซด์

5. สารออกซิไดซ์และสาร อินทรีย์เปอร์ออกไซด์ 6. สารพิษและสารติดเชื้อ สารพิษ

7. สารกัมมันตรังสี (Radiation)

สารติดเชื้อ

วัตถุที่สามารถแผ่รังสีที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย เช่น โคบอลต์ เรเดียม

สารที่ถูกน�้ำแล้วให้ก๊าซไวไฟ


125 8. สารกัดกร่อน (Corrosive Substances)

มีฤทธิ์กัดกร่อนท�ำความเสียหาย ต่อเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตอย่าง รุนแรง

9. วัสดุอันตรายเบ็ดเตล็ด

สารหรือสิ่งของที่ในขณะขนส่งเป็นสารอันตรายซึ่งไม่จัดอยู่ใน ประเภทที่ 1 ถึงประเภทที่ 8

ระบบการรักษาความปลอดภัยด้านกล้องวงจรปิดและวิทยุสื่อสาร - เฝ้าสังเกตการณ์ภาพจากกล้องวงจรปิด ตลอด 24 ชม. สามารถแจ้ง รปภ.ที่ใกล้ที่สุดเข้าระงับเหตุ - โทรศัพท์ สายด่วน หมายเลข 5 และวิทยุสอื่ สารเครือ่ งด�ำ 171.575 วิทยุสอื่ สารเครือ่ งแดง ช่อง 62 ช่อง 35


126 การรักษาความปลอดภัยส�ำหรับผูร้ บั เหมาช่วง ผูร้ บั เหมา ต้องแลกบัตรทุกครัง้ ทีเ่ ขามาปฏิบตั งิ านให้ตดิ บัตรบริเวณ เหนือระดับเอวขึน้ ไปตลอดเวลาทีป่ ฏิบตั งิ านในพืน้ ที่ และต้องให้เจ้าหน้าที่ รปภ. ตรวจสอบการน�ำทรัพย์สนิ เครือ่ งมือและ อุปกรณ์ต่างๆก่อน เข้า ออก โรงพยาบาลทุกครั้ง การรักษาความปลอดภัย การเข้า-ออก ของยานพาหนะ รถยนต์ ของเจ้าหน้าที่ จะต้องติดสติกเกอร์ฯ การรักษาความปลอดภัยในในการเยี่ยมผู้ป่วยในโรงพยาบาลหลังหมดเวลาเยี่ยม - เวลาเยี่ยม ช่วงเช้า เวลา 06.00-08.00 น. ช่วงบ่ายเวลา 11.00-13.00 น.ช่วงเย็นเวลา 17.00- 20.00 น. - ในกรณีที่หมดเวลาเยี่ยมผู้ป่วยในเวลาวิกาล ตั้งแต่เวลา 20.30-05.30 น. ติดต่อ รปภ.ประจ�ำจุดหน้าลิฟต์ การวางระบบความปลอดภัยภายในและภายนอกอาคาร - บริการช่วงผลัดกลางวันและช่วงผลัดกลางคืน


127

วันท�ำการ (จันทร์ - ศุกร์ เวลา 08.30 - 16.30 น.) หมายเลขภายใน 68736


128 การจัดการระบบสาธารณูปโภค ระบบไฟฟ้า ศูนย์หวั ใจสิรกิ ติ ฯิ์ ใช้ไฟฟ้าจากงานไฟฟ้า มข. กรณี งานไฟฟ้า มข. ไม่สามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าให้ได้ตามปกติ มีเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าส�ำรอง (Generator) 2 เครื่อง เครื่องที่ 1 ขนาด 450 kVAหลังจากไฟฟ้าดับ จะมีไฟฟ้าส�ำรอง ภายใน 7 วินาที (หอผู้ป่วย ICU, IPD, พิเศษ, ระบบแก๊สทางการแพทย์,ลิฟต์โดยสาร) เครื่องที่ 2 (UPS) ขนาด300 kVA จะไม่มีไฟฟ้าดับ (ห้องตรวจสวนหัวใจ,ห้องผ่าตัด) ระบบน�้ำประปา ใช้น�้ำประปาจากการงานประปา มข.เป็นแหล่งจ่ายน�้ำ โดย จัดให้มีถังเก็บน�้ำส�ำรอง ดังนี้ สถานที่

จ�ำนวนถัง จัดเก็บ

ปริมาณน�้ำที่จัด เก็บได้

ถังเก็บน�้ำใต้ดิน

1

260 ลบ.ม.

ถังเก็บน�้ำดาดฟ้า

1

80 ลบ.ม.

รวม

2

340 ลบ.ม.

ปริมาณการใช้น�้ำ เฉลี่ยต่อวัน

กรณีน�้ำขาดใช้ ส�ำรองได้

ส�ำรอง 7 วัน ต้องใช้น�้ำ

ทั้งโรงพยาบาล 200 ลบ.ม./วัน

ปริมาณน�้ำที่จัดเก็บ ได้ 1.7 วัน

1,400 ลบ.ม.

200 ลบ.ม.

1.7 วัน

1,400 ลบ.ม.


129 กรณี การประปาไม่สามารถจ่ายน�้ำได้ตามปกติ มีการส�ำรองน�้ำ โดยขอรับการสนับสนุนจากศูนย์ป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย เขต 6 ขอนแก่น ส่งน�้ำเข้าบ่อเก็บน�้ำใต้ดินขนาด 260 ลบ.ม. และ แผนส�ำรองกรณีน�้ำประปาขาดแคลน โดยขอรับการสนับสนุนจาก ส�ำนักทรัพยากรน�้ำบาดาล เขต 4 ขอนแก่น ส่งน�้ำบาดาลที่ผ่านการบ�ำบัดเข้าถังพัก ระบบปรับอากาศ ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ ใช้ระบบปรับอากาศ 2 ประเภท คือ

- แบบรวมศูนย์ (CHILLER) มี 3 เครือ่ ง ขนาดเครือ่ งละ 400 ตัน ใช้ผลิตน�ำ้ เย็นส่งเข้า เครือ่ งเป่าลมเย็น (FCU) 199 เครื่อง - เครื่องส่งลมเย็น (AHU) 55 เครื่อง และ เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน (split type) 120 เครื่อง


130 MMU: ADR Safety Monitoring เรื่อง แนวทางป้องกันการเกิดปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา (Drug Interaction Alert and Procedure) 1. วัตถุประสงค์ - เพื่อประเมินอัตราการสั่งใช้ยาที่เกิด Drug Interaction Level 1 และ Level 2 ภายในศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ - เพื่อเป็นข้อมูลในการหาแนวทางป้องกันการเกิดปฏิกิริยาระหว่างกันของยา (Drug Interaction) 2. ขอบเขต : รายการยาในบัญชียาศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ 3. ค�ำจ�ำกัดความ - Drug Interaction (DI) หมายถึงปฏิกิริยาระหว่างยาตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปที่ท�ำให้ฤทธิ์ยาเปลี่ยนไปจากเดิม (ฤทธิข์ องยามากขึน้ หรือลดลง) ซึง่ ส่งผลให้ประสิทธิภาพของยาลดลงหรือมากขึน้ จนเกิดอันตรายต่อผูป้ ว่ ยได้ นอกจากนี้ยังรวมถึงปฏิกิริยาระหว่างยากับอาหาร ยากับสมุนไพร และยากับโรค - Drug Interaction Alert หมายถึง ปฏิกิริยาระหว่างยา 2 ชนิดเมื่อใช้ร่วมกันแล้วจะเกิดอันตรายหรือ ผลเสียต่อผู้ป่วยอย่างรุนแรงหรือถึงแก่ชีวิต ซึ่งจัดอยู่ในระดับ 1 และ 2


131 • ระดับ 1 ไม่ควรใช้ยา 2 ชนิดที่ระบุไว้พร้อมกัน อาจเกิดอันตรายรุนแรงต่อชีวิตได้ • ระดับ 2 ไม่ควรใช้ยา 2 ชนิดที่ระบุไว้พร้อมกัน ยกเว้นมีความจ�ำเป็นอย่างมาก ซึ่งต้องมีการติดตามผลทางห้องปฏิบัติการที่ และอาจต้องปรับขนาดยาให้ เหมาะสมกับผู้ป่วย


132 4. แผนผังการด�ำเนินงาน

~ 100 ~

แพทย์ สั่งใช้ยา ~ 100 ~

่เกิด~ มDI ที่เ~กิด ADR วัณโรคปอด,หัด,สุ กใส SAR, เภสัชกรพบยาที หัดเยอรมัน, คางทู , ปอดบวม , รุนแรง 100 อุจจาระร่ วง, แผลติดเชื้อ, ตาแดง,

EBOLA, MERS Co.V, มือเท้าปาก, ติดเชื้อดื้อยา เช่น ไอกรน, เยื่อหุลม้ การเกิ สมองอัดกเสบ DI, ,การติดตาม วัณโรคปอด,หัด,สุ กใส SAR,เภสัชกรเสนอข้ หัดเยอรมันอ, มูคางทู ม, ปอดบวม อุ จ จาระร่ วง, แผลติดเชื้อ, ตาแดง, Avian influenza และ~ 100 ~ ไข้หวัด, ไข้หวัดใหญ่ MRSA ~ 100 ~ , VRE, CRE, EBOLA, MERS Co.V, มือเท้าปาก, ติดเชื้อดื้อยา เช่น ไอกรน , เยื อ ่ หุ ม ้ สมองอั ก เสบ แพทย์พิจารณาการสั่งใช้ยา วัRabies ณโรคปอด,หัด,สุ กใส SAR, ESBL หัดเยอรมัน, คางทูม, ปอดบวม, อุจจาระร่MDR, วง, แผลติ ดเชื้อ, ตาแดง, Avian influenza และ ไข้หวัด, ไข้หวัดใหญ่ MRSA , VRE, CRE, EBOLA, MERS ยืนยันการสั ่งใช้ยCo.V, า งด/เปลี ย ่ นค� สั่งเช่ใช้นยา มื อ เท้ า ปาก , ติ ด เชื ้ อดื้อำยา ไอกรน , เยื อ ่ หุ ม ้ สมองอั ก เสบ Rabies MDR, ESBL บันทึกข้นอ, มูคางทู ลยาใหม่ ในระบบฯ บัNนทึ95นก,และ การเฝ้ า, ระวั มหวัSAR, วัณโรคปอด,หัด,สุ กใส SAR, วัณ~โรคปอด ด,สุ, กไข้ใส Avianหน้influenza ด, ไข้อุจหยจาระร่ วั(Surgical ดใหญ่ ~,งหัในแฟ้ ~ ดเยอรมั คางทู ม100 ปอดบวม หัวง,ดเยอรมั ม100 , MRSA ปอดบวม าหักาก แผลติดเชื้อ,~ตาแดง, หน้ากากอนามั 1.ถุงมื,อVRE, 2.เสืCRE, ม วง, แผลติดเชื้อ, ตาแดง, ้ ออุคลุจจาระร่ ประวั ต ข ิ องผู ป ้ ว ่ ย EBOLA, MERS Co.V,Rabies ไอกรน, เยื่อEBOLA, มือเท้ , ติดเชื, ้เยือดื่อ้อหุยาม้ สมองอั เช่น กMDR, หุ ม้ สมองอักMERS เสบ Co.V, ไอกรน เสบ ESBL มือเท้าปาก, ติดเชื้อดื้อยา เช่น mask ) าปาก หน้ากาก N 95 หน้ า กากอนามั ย ( Surgical 1. ม Avian influenza และ influenza และ MRSA , ไข้ ไข้หวัด,Avian ไข้หวัดใหญ่ หวัด,CRE, ไข้หวัดใหญ่ ถุงมือ 2.เสื้ อคลุMRSA VRE, , VRE, CRE, ให้ ข อ ้ มู ล การเฝ้ า ระวั ง แก่ ผ ป ้ ู ว ่ ย/ญาติ / mask ) วัRabies ณโรคปอด,หัด,สุ กใส SAR, ห้องแยกความดั วั ณ โรคปอด , หั ด , สุ ก ใส SAR, Rabies ระยะห่ างจากผู ดเยอรมั คางทูม, ปอดบวมหน้ , ากากอนามั หัวดง,เยอรมั ,เชืคางทู มเว้แ,นก่ปอดบวม , อ้ ื่นอย่อุาจงจาระร่MDR, ห้ออุงแยก MDR, ESBL จยจาระร่ แผลติ วง, แผลติ ดเชื้อ, ตาแดง, ้ อ, ตาแดง, หน้าหักาก N 95นน, ลบ จ่ESBL านดยยาให้ ผู้ร1.ับถุบริ (Surgical งมืกอาร2.เสื้ อคลุม ผู้ดูแล/บุEBOLA, คลากรทางการแพทย์ EBOLA, MERS Co.V, (Negative MERS Co.V, อย 3 เมตร room ), ติดเชื pressure ) มือเท้ าปาก เช่น กน้เสบ มือเท้าปาก, ติดเชื้อดื้อยา เช่น ไอกรน , เยื่อหุม้ สมองอั กเสบ (Isolation ไอกรน , เยื้อดื่อ้อหุยาม้ สมองอั mask เว้นระยะห่างจากผูอ้ ื่นอย่าง ห้องแยก) ห้องแยกความดันลบ Avianหน้influenza และ influenza และ ไข้หวัด,Avian ไข้หวัดหน้ ใหญ่ หวัด,CRE, ไข้หวัดใหญ่ MRSA หน้ , ไข้ VRE, MRSA , VRE, CRE, ากาก N 95 ากาก N 95 หน้pressure ากากอนามัย)(Surgical น้อย 3 เมตร 1.ถุง)มือ ากากอนามั 2.เสื้อคลุยม(Surgical 1.ถุงมือ 2.เสื้อคลุม (Isolation room (Negative Rabies Rabies


133 ตารางที่ 1 : รายการยาที่มีอันตรกิริยาระหว่างกัน (Drug Interactions : DIs) ระดับ 2 (Level 2) ยาที่เกิดอันตรกริยาระหว่างกัน Anticogulant: Amiodarone Warfarin Ciprofloxacin Cotrimoxazole Isoniazid (≥ 600 mg daily) Metronidazole Paracetamol (≥ 2 g/day) Phenytoin Barbiturates (e.g.Phenobarbitone) Rifampicin Vitamin K and analogues (e.g.Phytomenadione (Vitamin K1))

ผล Potentiation → Increase INR and bleeding risk

Monitor - ติดตาม INR อย่างใกล้ชิด ในระหว่าง สัปดาห์ที่ 6-8 ของการรักษาร่วมกัน - ควรลดขนาดของ warfarin ลง 30-50%

Inhibition → reduce INR and increase thromboembolic risk

- ติดตาม INR - ติดตามผลของ anticoagulant


134 ยาที่เกิดอันตรกริยาระหว่างกัน

ผล

Monitor

Aminoglycsides : Loop Diuretics : Amikacin, Furosemide Gentamicin

- พิษต่อหูเพิ่มมากขึ้น - การได้ยิน แบบ irreversible - ห้ามใช้ยาเกินขนาด - ลดขนาดยาในผู้ป่วยโรคไต

Beta-blockers: Atenolol, Metoprolol, Propranolol

เสริมฤทธิ์ลดอัตราการ - Monitor cardiac function เต้นของหัวใจ

Verapamil


135 ยาที่เกิดอันตรกริยาระหว่างกัน Digoxin

ผล

Monitor

Furosemide, Furosemide Hydrochlorothiazide (HCTZ) รบกวนระดับของ electrolyte (เพิ่มการขับออกของ K+, Mg2+) ส่งผลต่อ cardiac muscle tone

- ติดตามระดับ K+, Mg2+

Amiodarone Clarithromycin Verapamil

- ติดตามวัดระดับยา digoxin ในเลือด - สังเกตอาการพิษของ digoxin

ระดับของ digoxin เพิ่มขึ้น


136 ยาที่เกิดอันตรกริยาระหว่างกัน

ผล

Monitor

Epinephrine

Propranolol Carvedilol

ท�ำให้เกิดภาวะ bradycardia (nonselective beta-blocker กับ alpha-receptor effect)

- ควรหลีกเลี่ยงการใช้ epinephrine - หากจ�ำเป็นต้องใช้รว่ มกันหยุด beta-blocker ก่อน 3 วัน

Atorvastatin Rosuvastatin Simvastatin (>/=10 mg/day)

Gemfibrozil

เพิ่มโอกาสเสี่ยงต่อ Myopathy และ rhabdomyolysis

- หลีกเลี่ยงการใช้ยาร่วมกัน - ติดตามผลข้างเคียงที่ เกิดขึ้น

Simvastatin (>/=20 mg/day)

Amlodipine

เพิ่มโอกาสเสี่ยงต่อ Myopathy

- ใช้ในขนาดปลอดภัย - ติดตามผลข้างเคียงที่ เกิดขึ้น


137 ยาที่เกิดอันตรกริยาระหว่างกัน

ผล

Monitor

ACEI : Enalapril, Captopril, Peridopril

spironolactone

- เพิ่มระดับ serum potassium

- Renal function - Serum Potassium

ARB : Azilasartan, Losartan, Candesartan, Irbesartan, Telmisartan,

- ลดระดับความดัน โลหิต - เพิ่มระดับ serum potassium

- BP - Renal function - Serum Potassium

Penicillin : Amoxicillin, Ampicillin, Cloxacillin, Dicloxacillin, Penicillin V, Penicillin G

Doxycyclin, Tetracyclin

- ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา - หลีกเลี่ยงการใช้ยาร่วมกัน ของยากลุ่ม Penicillinลดลง


138 ยาที่เกิดอันตรกริยาระหว่างกัน

ผล

Monitor

Moduretic

Enalapril, Captopril

- เพิ่มระดับ serum potassium

- Renal function - Serum Potassium

Dopamine

Phenytoin

- เพิ่มโอกาสเกิด hypotension และ cardiac arrest

- ห้ามให้ phenytoin ในขณะ ที่มีdopamine Infusion - BP

ตารางที่ 2 : รายการยาที่ควรหลีกเลี่ยงในผู้ป่วยที่มีภาวะขาดเอนไซม์ G6PD ที่มีในศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ กลุ่มยา

รายการยาที่มีในศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ

ยาฆ่าเชือ้ แบคทีเรีย กลุม่ Fluoroquinolone Ciprofloxacin, Norfloxacin, Ofloxacin ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย กลุ่ม Sulfa

Co-trimoxazole


139 ตารางที่ 3 : รายการยาทีค่ วรใช้ดว้ ยความระมัดระวังในผูป้ ว่ ยทีม่ ภี าวะขาดเอนไซม์ G6PD (ทัง้ นีอ้ าจขึน้ กับขนาดยา ที่ใช้) ที่มีในศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ กลุ่มยา ยารักษาวัณโรค ยาแก้ปวด ลดไข้ ยากันชัก ยาเบาหวาน ยาลดความดันโลหิต ยารักษาโรคหัวใจและหลอดเลือด ยารักษาโรคเก๊าท์ วิตามิน

รายการยาที่มีในศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ Isoniazid, Streptomycin Aspirin Phenytoin Glibenclamide Hydralazine, Methyldopa Dopamine Colchicin Vitaminn C (ในขนาดสูง), Vitamin K (Vitamin K3 มีความเสี่ยงสูงกว่า Vitamin K1)


140 MMU: Medication reconciliation 1. วัตถุประสงค์ 1.1 เพื่อจัดท�ำบัญชีรายการยาที่ผู้ป่วยได้รับอย่างครบถ้วน ถูกต้อง พร้อมทั้งระบุขนาดยา ความถี่ วิธีใช้ และวิถีทางในการใช้ยา และเป็นปัจจุบัน 1.2 เพื่อเป็นข้อมูลในการตัดสินใจสั่งยาแก่แพทย์ส�ำหรับการรักษา 1.3 เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับยาที่เหมาะสม ท�ำให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดในการใช้ยา 2. ขอบเขต การใช้ยาในผู้ป่วย ที่มารับการรักษาในโรงพยาบาล 3. ค�ำจ�ำกัดความ 3.1 MEDICATION RECONCILIATION คือ กระบวนการในการจัดท�ำบัญชีรายการยาทีผ่ ปู้ ว่ ยได้รบั อย่างครบถ้วน ถูกต้อง พร้อมทั้งระบุขนาดยา ความถี่ วิธีใช้ และวิถีทางในการใช้ยา และเป็นปัจจุบัน เพื่อเป็นข้อมูล ในการตัดสินใจสัง่ ยาแก่แพทย์สำ� หรับการรักษา เพือ่ ให้ผปู้ ว่ ยได้รบั ยาทีเ่ หมาะสม ซึง่ มีขนั้ ตอนการท�ำดังนี้ 3.2 Verification คือ ขั้นตอนการสัมภาษณ์ 3.3 Classification คือ ขั้นตอนการตรวจสอบ ชนิดยา ขนาดยา และวิธีใช้ยา


141 3.4 Reconciliation คือ ขั้นตอนการเปรียบเทียบรายการยาที่แพทย์สั่งใช้เทียบกับยาเดิมของผู้ป่วย 3.5 Transmissionคือขั้นตอนการสื่อสารหรือส่งต่อข้อมูลการใช้ยา 3.6 ยาเดิมผู้ป่วย คือ ยาที่ผู้ป่วยใช้อยู่ในปัจจุบันก่อนมาพบแพทย์ 3.7 Last dose คือ dose ยาที่ผู้ป่วยได้รับครั้งสุดท้ายก่อนเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล 3.8 Report Summary of Treatment คือ รายงานที่แสดงรายการยาที่แพทย์สั่งใช้อย่างต่อเนื่อง (ยาContinue) ที่ผู้ป่วยได้รับ พร้อมทั้งระบุขนาดยา ความถี่ วิธีใช้ และวิถีทางในการใช้ยา โดยรวมถึง ยาที่แพทย์สั่งในครั้งนี้ และยาเดิมที่แพทย์สั่งให้ใช้ต่อเนื่อง 3.9 Medication Reconciliation Form คือรายงานที่แสดงรายการยาเดิมของผู้ป่วยทั้งหมด ก่อนรับเข้า รักษาในโรงพยาบาล เมื่อมีค�ำสั่งรับผู้ป่วยไว้รักษาตัวในโรงพยาบาล จะได้รับการพิมพ์ประวัติยาเดิม


142 4. รายละเอียดระเบียบปฏิบัติ

วิธีปฏิบัติ 1. พยาบาลประจ�ำ WARD สัมภาษณ์ประวัติการใช้ยาเดิมของผู้ป่วย บันทึกลงใน medication reconciliation form เพื่อให้แพทย์พิจารณา (ชื่อยา, วิธีใช้, ขนาดยา, Last Dose) 2. พยาบาลน�ำใบ medication reconciliation form ส่งห้องยา พร้อมกับยา ที่ผู้ป่วยหรือญาติน�ำติดตัวมา (ถ้ามี) 3. เภสัชกรประจ�ำห้องยาผู้ป่วยใน เปรียบเทียบรายการยาที่แพทย์สั่งใช้กับ ประวัติยาเดิม ตรวจสอบสภาพยาเดิมและท�ำการ Identify ยา (กรณีมียาเดิมที่ไม่ สามารถระบุชื่อยาหรือชนิดยาได้) เพื่อค้นหา Drug Related problem (DRPs) 4. แพทย์พิจารณาค�ำสั่งใช้ยาเปรียบเทียบกับยาเดิมของผู้ป่วย และลงนามใน medication reconciliation form 5. ส่งค�ำสั่งใช้ยามาห้องยา เพื่อ บันทึกในประวัติการใช้ยาของผู้ป่วย ในระบบ Computer และเข้าสู่ กระบวนการจัดยาของโรงพยาบาล

จุดควบคุม - การสัมภาษณ์ประวัติการใช้ ยาเดิมของผู้ป่วยได้ครบถ้วน และบันทึกได้ถูกต้อง - ประวัติการใช้ยาเดิมของ ผู้ป่วยมีความครบถ้วนสมบูรณ์


143 วิธีปฏิบัติ

6. Transmission 6.1 การย้าย ward แพทย์จะมีการสรุปข้อมูลการใช้ยาของผู้ป่วย ก่อนย้ายในใบ Doctor order sheet (DOS) 6.2 การ discharge ผู้ป่วยแพทย์สั่งยาผู้ป่วยกลับบ้าน พยาบาล WARD ส่งใบ Doctor order sheet (DOS) ไปที่ห้องยาผู้ป่วยใน 6.2.1 เภสัชกร screening ใบ Doctor order sheet (DOS) ที่แพทย์ สั่งยากลับบ้าน และตรวจสอบยาเดิมผู้ป่วยกับค�ำสั่งยากลับ บ้านโดยค�ำนวณ จ�ำนวน ตามค�ำสั่งแพทย์ 6.2.2 ห้องยาผู้ป่วยใน ท�ำการจัดยาและท�ำฉลากชี้บ่ง ตามที่แพทย์สั่ง 6.2.3 เภสัชกรตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมของยากับค�ำสั่งใช้ยา ก่อนส่งมอบยาแก่ผู้ป่วย/ญาติหรือหอผู้ป่วย 6.2.4 จัดส่งยากลับบ้านพร้อมทั้ง Print รายการยากลับบ้านทั้งหมด ให้แก่ผู้ป่วยเฉพาะราย

จุดควบคุม


144 วิธีปฏิบัติ 6.2.5 พยาบาลให้ผู้ป่วยรับยากลับบ้าน 6.2.6 เมื่อได้รับยากลับบ้าน พยาบาล/เภสัชกรท�ำการ counseling ยากลับบ้าน+ยาเดิมผู้ป่วย โดยใช้ Doctor order sheet (DOS) และใบรายการ ยากลับบ้าน

จุดควบคุม


5. ขั้นตอนการท�ำงาน

145


146 6. ผลลัพธ์/ตัวชี้วัด - ร้อยละของการท�ำ Medication reconciliation - ร้อยละความถูกต้องของการท�ำ Medication reconciliation - ปัญหาเกี่ยวกับการใช้ยาที่พบจากการท�ำ Medication reconciliation


147 MMU: Medication order Review เรื่อง การทบทวนความเหมาะสมของค�ำสั่งใช้ยา (Medication order review policy) 1. วัตถุประสงค์ - เพื่อให้มีการทบทวนความเหมาะสมของค�ำสั่งใช้ยา - เพื่อลดความคลาดเคลื่อนจากการสั่งใช้ยา 2. ขอบเขต : ครอบคลุมความเหมาะสมในการให้ยาแก่ผู้ป่วยและความแตกต่างของเวลาการบริหารยาแก่ผู้ป่วยตรงกับ ใบสั่งยาหรือค�ำสั่งใช้ยา 3. ค�ำจ�ำกัดความ - ทบทวนใบสัง่ ยาหรือค�ำสัง่ ใช้ยา หมายถึง ผูท้ ผี่ า่ นการศึกษาและฝึกอบรมตามทีร่ ะบุไว้ในสิทธิการปฏิบตั งิ าน - กระบวนการทบทวนความเหมาะสมของใบสั่งยาหรือค�ำสั่ง ใช้ยา หมายถึง การทบทวนใบสัง่ ยาหรือค�ำสัง่ ใช้ยาก่อนจ่ายตามลักษณะอาการทางคลินกิ ผลทางห้องปฏิบตั กิ าร ทีผ่ ปู้ ว่ ยจ�ำเป็นต้องได้รบั ในเวลาทีม่ ใี บสัง่ ยาหรือค�ำสัง่ ใช้ยาทีห่ มายรวมการประเมินโดยผูป้ ระกอบวิชาชีพทีไ่ ด้รบั การอบรม


148 4. แผนผังการด�ำเนินงาน

แพทย์สั่งใช้ยา พยาบาลรับค�ำสั่งการใช้ยา ตรวจสอบความสมบูรณ์ สมบูรณ์/เหมาะสม เภสัชกรรับใบสั่งยาหรือส�ำเนาค�ำสั่งการใช้ยา ทบทวนความเหมาะสมของค�ำสั่งใช้ยา สมบูรณ์/เหมาะสม ผู้ปฏิบัติงานเภสัชกรรมบันทึกค�ำสั่งการใช้ยา เภสัชกรตรวจสอบกับค�ำสั่งการใช้ยา และส่งมอบยา พยาบาลบริหารการใช้ยาตาม เวลามาตรฐานที่ก�ำหนด/ผู้ป่วยใช้ยา

ไม่สมบูรณ์/ ไม่เหมาะสม


5. แบบฟอร์ม 149 เ ม ื่อ พ บ ข ้อ ส ง ส ัย ใ ช ้ “แบบฟอร์มสื่อสารและปรึกษาระหว่างเภสัชกรกับเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง 5. แบบฟอร์ม ม consult)” ของศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ เมื่อพบข้อสงสัยใช้ (แบบฟอร์ “แบบฟอร์ มสื่อสารและปรึกษาระหว่างเภสัชกรกับเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง (แบบฟอร์ม ตัวอย่างแบบฟอร์มสื่อสารและปรึกษาระหว่างเภสัชกรกับเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยว consult)” ของศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ ตัวอย่างแบบฟอร์ มสื่อมสารและปรึ ข้อง (แบบฟอร์ consult) กษาระหว่างเภสัชกรกับเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง

(แบบฟอร์ม consult)

ตัวอย่างประเด็นปัญหาขอคำสั่งการใช้ยา


150 ตัวอย่างประเด็นปัญหาขอค�ำสั่งการใช้ยา ■ ขนาดการใช้ยาไม่สมบูรณ์ เช่น ไม่ระบุขนาดยา ขนาดยาไม่ถูกต้อง ■ มีการสั่งยาที่ไม่มีใบบัญชียาศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ ■ สั่งใช้ยาที่เกิดปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา ■ ผลทางห้องปฏิบัติการมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การท�ำงานของไตเพิ่มขึ้น ■ ค�ำสั่งการใช้ยาในแฟ้มประวัติไม่ตรงกับใบสั่งยา เป็นต้น


151 MMU: ADR & safety monitoring 1. วัตถุประสงค์ 1.1 เพื่อป้องกันการเกิดแพ้ยาซ�้ำ/การแพ้ยาข้ามกลุ่มจากการสั่งใช้ยาภายในโรงพยาบาล 1.2 เพื่อเป็นข้อมูลในการหาแนวทางลดการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาในโรงพยาบาล 1.3 เพื่อเป็นการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาในยากลุ่มที่ต้องติดตามเป็นพิเศษ (Safety Monitoring Program) 2. ขอบเขต เป็นการจัดการและเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาทุกขั้นตอน อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ที่หมายรวมถึง อาการแพ้ยา (Drug Allergy) และอาการข้างเคียงจากยา (Side Effects) ตั้งแต่ การสั่งใช้ การจ่ายยา การบริหาร การติดตามผลการใช้ยา การประเมินความสัมพันธ์เหตุการณ์ไม่พงึ ประสงค์กบั ยาทีใ่ ช้ และ การป้องกันการแพ้ยาซ�ำ้ โดยเน้นการด�ำเนินการเป็นทีมสหสาขาวิชาชีพ ทั้งแพทย์ เภสัชกรและพยาบาล และบุคลากรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. ค�ำจ�ำกัดความ 3.1 เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ (Adverse Event: AE) หมายถึง อาการหรือผลที่เกิดซึ่งเป็นอันตรายต่อร่างกาย ของมนุ ษ ย์ เ มื่ อ ใช้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ สุ ข ภาพ ไม่ ว ่ า จะเกิ ด จากการใช้ ย าเกิ น ขนาด โดยจงใจหรื อ อุ บั ติ เ หตุ


152 การใช้ในทางทีผ่ ดิ ความบกพร่องของผลิตภัณฑ์สขุ ภาพหรือการหยุดใช้ผลิตภัณฑ์สขุ ภาพ โดยอาจสัมพันธ์ กั บ การใช้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ สุ ข ภาพนั้ น หรื อ ไม่ ก็ ต าม ทั้ ง นี้ ร วมไปถึ ง อาการไม่ พึ ง ประสงค์ จ ากการใช้ ย า (Adverse Drug Reaction : ADR) 3.2 อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (Adverse Drug Reactions) หมายถึง การตอบสนองต่อยาที่เป็น อันตรายและไม่ได้จงใจให้เกิดขึ้น ซึ่งเกิดขึ้นในขนาดการใช้ตามปกติในมนุษย์ อันท�ำให้ต้องหยุดยา บ�ำบัดผูป้ ว่ ยเพือ่ ลดอาการทีพ่ บ ผู้ปว่ ยต้องอยูโ่ รงพยาบาลนานขึน้ หรือเสียชีวิต โดยไม่รวมถึงการได้รบั ยา เกินขนาด หรือ การจงใจใช้ยาในทางที่ผิด จนเกิดอันตราย 3.3 การแพ้ยา (Drug Allergy) หมายถึง ปฏิกิริยาทีเกิดขึ้นจากภูมิคุ้มกันของร่างกายต่อต้านยาที่ได้รับเข้าไป 3.4 อาการข้างเคียงจากการใช้ยา (Side Effects) หมายถึง ผลใดๆ ที่ไม่ได้จงใจให้เกิดขึ้นจากเภสัชภัณฑ์ (pharmaceutical product) ซึ่งเกิดขึ้นในขนาดการใช้ตามปกติในมนุษย์ และสัมพันธ์กับคุณสมบัติทาง เภสัชวิทยาของยา 3.5 การแพ้ยาซ�้ำ (Repeated ADR type B) หมายถึง เหตุการณ์ที่ผู้ป่วยได้รับการบริหารยาทั้งโดยตนเอง ผู้ดูแลหรือจากบุคลากรทางการแพทย์แล้วเกิดอาการแพ้ยา โดยที่ผู้ป่วยเคยเกิดอาการแพ้ยาดังกล่าว จากยาที่มีชื่อสามัญทางยาเดียวกัน มาก่อน ทั้งที่เคยมีประวัติและไม่มีประวัติการบันทึกในระบบ


153 Computer + หน้าปกแฟ้มเวชระเบียน + เอกสารของโรงพยาบาล ยกเว้น การตัง้ ใจให้ยาซ�ำ้ ของบุคลากร ทางการแพทย์เพื่อประโยชน์ในการรักษา หรือข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ หรือกรณีที่ผู้ป่วยตั้งใจใช้ยาซ�้ำ ด้วยตนเอง 3.6 การแพ้ยาในกลุม่ เดียวกัน (Cross Reaction) หมายถึง เหตุการณ์ทผี่ ปู้ ว่ ยได้รบั การบริหารยาทัง้ โดยตนเอง ผู ้ ดู แ ลหรื อ จากบุ ค ลากรทางการแพทย์ แล้ ว เกิ ด อาการแพ้ ย าในลั ก ษณะเดิ ม ที่ เ คยแพ้ ม าก่ อ น จากยาที่มีสูตรโครงสร้างทางเคมีคล้ายคลึงกัน ทั้งที่เคยมีประวัติและไม่มีประวัติการบันทึกในระบบ Computer + หน้าปกแฟ้มเวชระเบียน + เอกสารของโรงพยาบาล


154 A ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาด้วยอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาที่ใช้ในปัจจุบัน หรือ ได้รับยาบนหอผู้ป่วยแล้วเกิด อาการไม่พึงประสงค์ วิธีปฏิบัติ

จุดควบคุม

1. เวชระเบียน สัมภาษณ์ประวัติอาการไม่พึงประสงค์ จากการใช้ยา ของผู้ป่วย โดยก�ำหนดให้เจ้าหน้าที่แผนก เวชระเบียน ท�ำการส่งต่อข้อมูลในระบบ

- เจ้าหน้าที่เวชระเบียนสัมภาษณ์ ประวัติอาการไม่พึง ประสงค์จากการใช้ยาของผู้ป่วยทุกครั้ง - บันทึกการสื่อสารข้อมูลของผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง

- กรณีพบว่า ผู้ป่วยแพ้ยา พิมพ์ข้อความว่า “มีประวัติแพ้ยา และชื่อยา” 2. พยาบาล OPD/IPD สัมภาษณ์ประวัติอาการไม่พึง ประสงค์จากการใช้ยาของผู้ป่วย และสื่อสารให้แพทย์ และเภสัชกรทราบ

- พยาบาลสัมภาษณ์ประวัตอิ าการไม่พงึ ประสงค์จากการ ใช้ยาของผูป้ ว่ ยทุกครัง้ - สามารถชี้บ่งอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาของ ผู้ป่วยได้อย่างชัดเจน - ส่งต่อข้อมูลแพ้ยาให้ฝ่ายเภสัชกรรมได้ครบถ้วน


155 วิธีปฏิบัติ

หมายเหตุ - พยาบาล OPD น�ำส่งผู้ป่วยและส่งข้อมูลแพ้ยามายัง ฝ่ายเภสัชกรรมเพื่อประเมินอาการไม่พึงประสงค์จาก การใช้ยา Thai algorithm - พยาบาลแจ้งเภสัชกร 3. แพทย์ OPD/IPD สัมภาษณ์ประวัติอาการไม่พึง ประสงค์จากการใช้ยาของผู้ป่วย ประเมิน ADR และ ท�ำการสั่งใช้ยาเพื่อบรรเทา/ รักษาอาการ และ ให้ค�ำแนะน�ำผู้ป่วย และสื่อสารให้เภสัชกรทราบ - กรณีผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยา ให้บันทึก สื่อสารข้อมูล แพ้ยาใน Doctor’s order

จุดควบคุม

- แพทย์สัมภาษณ์ประวัติอาการไม่พึงประสงค์จากการ ใช้ยาของผู้ป่วยทุกครั้ง - สามารถชี้บ่งอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาของ ผู้ป่วยได้อย่างชัดเจน - ส่งต่อข้อมูลแพ้ยาให้ฝ่ายเภสัชกรรมได้ครบถ้วน


156 วิธีปฏิบัติ 4. เภสัชกร OPD / IPD ตรวจสอบข้อมูล ADR ที่ได้รับ ดังนี้ 4.1 เภสัชกร OPD - สัมภาษณ์ประวัติอาการไม่พึงประสงค์จาก การใช้ยาของผู้ป่วย - ประเมินอาการไม่พึงประสงค์จากยาโดยใช้ Thai algorithm - เภสัชกรสามารถประเมินอาการไม่พึง ประสงค์จากการใช้ยาที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง - พร้อมมอบบัตรอาการไม่พึงประสงค์จากยา หรือบัตรเตือนการใช้ยาให้แก่ผู้ป่วย - บันทึกข้อมูลทะเบียน ADR + ระบบ คอมพิวเตอร์ Med trak

จุดควบคุม - สามารถชี้บ่งอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาของ ผู้ป่วยได้อย่างชัดเจน - สามารถบันทึกข้อมูล ADR ผู้ป่วยทุกขั้นตอน ได้อย่างครบถ้วนและถูกต้อง - สามารถกรอกข้อมูลและมอบบัตรอาการไม่พึงประสงค์ จากการใช้ยาหรือบัตรเตือนการใช้ยาได้อย่างถูกต้อง


157 วิธีปฏิบัติ - บันทึกรายชื่อผู้ป่วยที่มี ADR และทบทวน ความสมบูรณ์ข้อมูลแพ้ยา หน้าปกแฟ้มเวชระเบียน โดยติดสติกเกอร์แพ้ยาบนปกด้านบนขวา 4.2 กรณีผปู้ ว่ ยมียากลับบ้าน เภสัชกรตรวจสอบใบสัง่ ยา ประวัติแพ้ยาและตรวจสอบยา ว่ามียาที่มีโอกาสแพ้ซ�้ำ/ Cross reaction หรือไม่ ก่อนส่งมอบยาให้ผู้ป่วย กลับบ้าน 4.3 เภสัชกร IPD /เภสัชกรงานบริบาลเภสัชกรรมผู้ป่วน ในที่มีหน้าที่ - สัมภาษณ์ประวัติอาการไม่พึงประสงค์จากการ ใช้ยาของผู้ป่วย - ประเมินอาการไม่พึงประสงค์จากยาโดยใช้ Thai algorithm - ทวนสอบข้อมูลแพ้ยา ร่วมวิเคราะห์ขอ้ มูลแพ้ยา สือ่ สารกับแพทย์ผเู้ กีย่ วข้อง บันทึกในใบ Progress Note

จุดควบคุม


158 วิธีปฏิบัติ - พร้อมมอบบัตรอาการไม่พึงประสงค์จากยาหรือ บัตรเตือนการใช้ยาให้แก่ผู้ป่วย - บันทึกข้อมูลทะเบียนผู้ป่วยแพ้ยา (ADR) +ระบบ คอมพิวเตอร์ Med trak + หน้าปกแฟ้มเวชระเบียน ผู้ป่วยใน/นอก หมายเหตุ กรณีเภสัชกรมอบบัตรอาการไม่พงึ ประสงค์จากการใช้ยา/ บัตรเตือนการใช้ยาแก่ผู้ป่วย พร้อมให้ค�ำแนะน�ำ - บัตรอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา จะให้ใน กรณีที่สามารถบ่งชี้ยาที่ก่อให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ ได้อย่างแน่ชัด - บัตรเตือนการใช้ยา จะให้ในกรณีที่ยังไม่สามารถ บ่งชี้ยาที่เป็นสาเหตุได้อย่างแน่ชัด

จุดควบคุม


159 ผังการไหลเวียน ผู้ป่วยแจ้งแพ้ยา/สงสัยแพ้ยา เภสัชกรประเมินการแพ้ยา กรณีแพ้ยา เภสัชกรยืนยันผลการ ประเมินกับแพทย์ และบันทึก ข้อมูลการแพ้ยาตามขั้นตอน


160 หมายเหตุ: บทบาทหน้าที่ แพทย์ 1. วินิจฉัยอาการแพ้ยา 2. บันทึกใน doctor order 3. กรณีพบการแพ้ยาครั้งแรก ส่งพบเภสัชกรเพื่อประเมิน ADR พยาบาล OPD - สงสัยแพ้ยา และผูป้ ว่ ยยังไม่ได้รบั การประเมินแพ้ยาจากเภสัชกร ให้สง่ พบเภสัชกร โดยติดป้ายส่งพบเภสัชกร - ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยา บันทึกชื่อยาและอาการอาการแพ้ลงใน OPD card - ประทับตรา “แพ้ยา” ใน ใบสั่งยาIPD - ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยาและประเมินการแพ้ยาแล้ว ให้ติดป้ายแพ้ยาบนระเบียนผู้ป่วยใน - บันทึกข้อมูลแพ้ยาลงใน Nurse’s note - ประทับตรา “แพ้ยา” ทีม่ มุ บนด้านขวา ใน assessment form และ medication administration record (MAR) เภสัชกร - ซักประวัติเพิ่มเติม - ประเมิน ADR


161

กรณีแพ้ยา - แนะน�ำผู้ป่วย, ออกบัตรแพ้ยา - ผู้ป่วยนอก บันทึกแพ้ยาบนปก OPD card โดยติด Sticker แพ้ยาสีชมพู - ผู้ป่วยใน บันทึกแพ้ยาหน้า IPD chart และบนปก OPD card โดยติด Sticker แพ้ยาสีชมพู, บันทึกลงใน Progress note - บันทึกข้อในแบบรายงาน ADR/บันทึกข้อมูลใน Computer - รายงาน ADR ส่ง อย

5. ผลลัพธ์/ตัวชี้วัด 5.1 อัตราการเกิดการแพ้ยาซ�้ำ 5.2 อัตราการเกิดการแพ้ยาข้ามกลุ่ม 5.3 อัตราการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาในโรงพยาบาล


162 Medication Management and Use plan (MMU) 1. นโยบาย คณะอนุกรรมการการจัดการด้านยาและการใช้ยา (Medication Management and Use : MMU) เป็นตัวแทน จากทุกวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับระบบยา ที่ได้รับแต่งตั้งเพื่อให้มีหน้าที่ในการจัดท�ำระบบยา ตั้งแต่การคัดเลือกยาเพื่อใช้ใน โรงพยาบาลโดยมีหลักเกณฑ์ที่ชัดเจน ได้มาตรฐาน มีการจัดท�ำบัญชียาและทบทวนความเหมาะสม, การด�ำเนินการ จัดซื้อ จัดหา จัดเก็บ และกระจายยาให้ได้ยาที่ได้มาตรฐาน มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ, การก�ำหนดผู้มีสิทธิ์ในการสั่ง ใช้ยา รวมถึงวิธีการถ่ายทอดค�ำสั่ง ที่ชัดเจน เหมาะสม, ก�ำหนดผู้รับผิดชอบ สถานที่ เครื่องมือ อุปกรณ์ ในการผลิต เตรียมยาให้เป็นไปตามมาตรฐาน, การตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมก่อนการจ่ายยาของเภสัชกร และการให้ขอ้ มูลด้านยา ทีจ่ ำ� เป็น, การก�ำหนดคุณสมบัตผิ มู้ หี น้าทีใ่ นการบริหารยาให้ผปู้ ว่ ย การบริหารยาทีถ่ กู ต้องตามหลักวิชาการ, รวมถึงมีการ ติดตาม ก�ำกับดูแลระบบยาให้เป็นไปตามที่ก�ำหนดไว้และปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อให้มีการก�ำหนดผู้รับผิดชอบเพื่อจัดท�ำระบบยา ภายในโรงพยาบาลที่ได้มาตรฐาน สามารถน�ำสู่การ ปฏิบตั ไิ ด้อย่างมีประสิทธิผล ซึง่ เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับต่างๆทีอ่ งค์กรวิชาชีพได้กำ� หนดไว้ 2.2 เพื่อให้มีระบบการบริหารจัดการยาที่มีประสิทธิภาพ เข้าสู่ความเป็นมาตรฐานสากล รวมถึงสามารถ ที่จะใช้เป็นแนวทางในการประเมิน ขอบเขตและคุณภาพของการให้บริการด้านยาในโรงพยาบาล


คปอด,หัด,สุ กใส SAR,

LA, MERS Co.V, คปอด ,หัด,สุกใสและ SAR, n influenza LA, es MERS Co.V, n influenza และ es หน้ากาก N 95

หน้ากาก N 95

ห้องแยกความดันลบ

163

Organization chart ของคณะกรรมการจัดการด้านยาและการใช้ยา (MMU) ~ 100 ~

ผู้อ�ำนวยการศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ ประธานคณะกรรมการ MMU ~ 100 ~

วัณโรคปอด,หัด,สุ กใส SAR,

EBOLA,~MERS 100 ~Co.V, คณะอนุ ก การ influenza วัAvian ณโรคปอด ,หัมรรมการจั สุ กใสดและ SAR, หัดเยอรมั น, ด้คางทู ,ด,ปอดบวม านยาและการใช้ ยา , Rabies EBOLA, Co.V, ไอกรน , เยื่อหุม้ MERS สมองอักเสบ ประกอบไปด้ วย วัAvian ณโรคปอด สุ กใสและ SAR, influenza หัดเยอรมั ปอดบวม , วั,ด,คางทู ไข้ห,หันมวัย์,ดดห,ใหญ่ 1.ไข้ ผู้อห�ำนนวยการศู ัวใจฯ เป็นประธาน 2.EBOLA, รองผู้อ�ำนวยการศู นย์หัวCo.V, ใจฯ MERS ไอกรน ่อฝ่หุายการแพทย์ สมองอั กเสบ าม้ กาก N 95 3.Rabies หัว,หน้เยืาหน้ 4.Avian หัวหน้าหน่influenza วยอายุรศาสตร์และ หัวใจ ไข้หวัด, ไข้ และหลอดเลื อดหวัดใหญ่ 5.Rabies หัวหน้าหน่วยศัลยศาสตร์หัวใจ และหลอดเลื หน้อาดกาก N 95 หน้ ากากอนามั ย(Surgical 6. หัวหน้าฝ่ายเภสัชกรรม เป็นเลขานุ าร ห้อกmask งแยกความดั นลบ 7. หัวหน้างานเภสั ช)สารสนเทศ ( Negative pressure เป็นาผูกากอนามั ้ช่วยเลขานุ หน้ากาก N 95 ) หน้ ยก(ารฯ Surgical องแยก) นลบ ห้อห้mask งแยกความดั

~ 100 ~

คณะกรรมการประจ�ำศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ

หัดเยอรมัน, คางทูม, ปอดบวม, 100 ~ ไอกรน, เยื่อหุ ม้ ~สมองอั กเสบ

คณะอนุก,หัรรมการบริ หSAR, าร วัณ ,สุใหญ่ ใส ไข้โรคปอด หวนง,วั,ดความเสี ,คางทู ไข้หดมวัด่ยเชื,ดงด้ เยอรมั , อุหัจดจาระร่ แผลติ อาก,นยา ตาแดง, ้ปอดบวม

มืไอกรน อEBOLA, เท้าปาก เชืสมองอั เช่เสบ น ้ อดื้อยากCo.V, , เยื,่อติหุดม้ MERS ประกอบไปด้ วย,หัด,สุ กใสและ วั ณ โรคปอด SAR, Avian influenza เยอรมั ไข้หวนง,วั้อ,�ำด,แผลติ ,คางทู ไข้หดมวัเชื,ดเป็ใหญ่ MRSA VRE, CRE, อุหัจดจาระร่ อน, ประธาน ตาแดง,, ้ปอดบวม 1.รองผู นวยการ 2.ประธาน PCTMERS ทุก PTC Co.V, EBOLA, Rabies มืไอกรน อ3.ประธานความเสี เท้าปาก เชืสมองอั น ้ อดืง้ อยากเช่เสบ , เยื,่อติหุดม้ ESBL หน้าMDR, กากอนามั ย(่ยSurgical 4..พยาบาลผู ้แทนจากฝ่ายการ Avian influenza และ ไข้หวัด,, VRE, ไข้หวัดใหญ่ MRSA พยาบาล mask)CRE, 5.เภสั ชกรผู้แทนจากฝ่ายเภสัชกรรม Rabies MDR, ESBL Nเสื้อ95 หน้1. ากากอนามั ย(Surgical ถุงหน้ มือากาก2. คลุม ห้mask องแยก) ) Nroom หน้1. า(Isolation กากอนามั ย(Surgical ถุงหน้ มือากาก2. เสื้ อ95 คลุม เว้นระยะห่ห้างจากผู อ้ ื่น)อย่างนลบ อห้mask งแยกความดั องแยก

~ 100 ~

อุจจาระร่ วง, แผลติดเชื้อ, ตาแดง, ~ เช่น มือเท้าปาก, ติ~ดเชื100 ้ อดื้อยา

คณะอนุกรรมการเภสัชกรรม

MRSA ,แผลติ VRE, CRE, หัอุดจเยอรมั นและการบ� , จาระร่ วง,, คางทู ้ อ, ตาแดง, ำมบัด,ดเชืปอดบวม (PTC) MDR, มือเท้า,ปาก เชื้อดื้อยากเสบ เช่น ไอกรน เยื่อ,หุติม้ ดESBL สมองอั

วย หัอุประกอบไปด้ ปอดบวม , หนววัง,,ด,คางทู ไข้ จาระร่ เชืใหญ่ , ตาแดง, MRSA ,แผลติ VRE, CRE, ้ อเป็ 1.ดจผูเยอรมั ้อไข้ �ำนวยการศู นย์หหมวั​ัวด,ดใจฯ นประธาน 2. รองผู้อ�ำนวยการศูนย์หัวใจฯ มืหัอวเท้ าา,ปาก เชื้อดื้อยากเสบ เช่น ่อ,หุติม้ ดESBL สมองอั MDR, 3.ไอกรน หน้1. ฝ่ถุเยืางยการแพทย์ มือ 2.เสื้ อคลุม 4. หัวหน้าหน่วยอายุรศาสตร์หัวใจ ไข้หวัดอด,,ไข้ หวัดใหญ่ MRSA VRE, CRE, และหลอดเลื 5. หัวหน้าหน่วยศัลยศาสตร์หัวใจ MDR, และหลอดเลื อด ESBL หน้ากากอนามั ย2. (Surgical งมือ ชกรรม เสืเป็้ อนคลุ ม การ 6. หัวหน้1. าฝ่ถุายเภสั เลขานุ เว้นหัระยะห่ างจากผู อ้ ื่นอย่าง 7. วหน้างานเภสั ชสารสนเทศ เป็นผู้ช่วยเลขานุmask การฯ )

น้อย 3 เมตร หน้า1. กากอนามั (Surgical ถุงมือ ย2. เสื้ อคลุม

เว้นระยะห่างจากผู อ้ ื่น) อย่าง ห้mask องแยก

อุจจาระร่ วง, แผลติดเช

มือเท้าปาก, ติดเชื้อด

MRSA VRE, อุจจาระร่ วง, ,แผลติ ดเช

มือเท้าปาก , ติดESB เชื้อด MDR,

MRSA , VRE, MDR, ESB 1.ถุงมือ 2.เ

1.ถุงมือ 2.เ เว้นระยะห่างจากผูอ้ ื่น


164

นโยบาย

คั ดเลื อก

วางแผนแ ละพั ฒนา ระบบ

ปรั บปรุงแ ละประเมิ น ผล

จัดหา

เก็บรั กษา

เตรี ย ม

กระจายและให้ คำแนะนำ

สื่อสาร

สั่งใช้

บริหาร ยา

เตรี ยมความพร้ อมในการบริ หา รยา

ประเมินผลการใช้ยา

เฝ้าระวั ง Med Error , ADR, HAD

รายงา นควา มเสี่ยง

หมายเหตุ * GLD หมายถึง Governance, Leadership, and Direction ** RMC หมายถึง Risk Management Committee


165

บันทึก ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................


166

บันทึก ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................


167

บันทึก ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.