ABROAD

Page 1

A story of 10 men who were far away from home

oct 2014

volume issue

00 1


261205 ARCHITECTURAL PRACTICE FACULTY OF ARCHITECTURE, SILPAKORN UNIVERSITY 2


3


EDITOR TALKS ‘อดีต’ มีผลเกี่ยวเนื่องกับปัจจุบันเสมอ ไม่มากก็น้อย ‘ปัจจุบัน’ ที่เป็นอยู่ก็ส่งผลกับอนาคตเช่นกัน ผมมีความเชื่ออย่างหนึ่งว่า เมื่อเราอยู่ไปในที่ไม่คุ้นเคยอย่างการไปอยู่ต่าง ประเทศ มนุษย์เราจะพยายามหาสิ่งรอบๆตัวที่คล้ายคลึงกับตนเองเพื่อให้รู้สึกอุ่นใจ ปลอดภัย เราจะได้ยินเสียงจังหวะการก้าวเดินของคน 10 คน ที่จะไปเป็นคนแปลก หน้าในที่ต่างๆ ซึ่งเป็นก้าวสำ�คัญที่เปลี่ยนชีวิตและความคิดของพวกเขา ผ่านเนื้อหา หลักของนิตยสารABROAD ฉบับแรกและฉบับเดียว เล่มนี้ ซึ้งไม่เพียงแต่จะบอก เล่าเรื่องราวอดีตประสบการณ์ของคนต่างๆ แต่ยังอาจเป็นแรงบันดาลใจในการร่าง อนาคตอย่างคร่าวๆให้ผู้ที่กำ�ลังศึกษาอยู่ในแวดวงสถาปัตย์อีกด้วย จากการพูดคุย สัมภาษณ์ ทั้ง 10 คนนี้ ผมพบว่า เมื่อถึงจุดๆหนึ่งของ ชีวิต เราต่างต้องพบทางเดินของตัวเอง ทางเดินที่เราเดินไปทุกวันได้อย่างมีความสุข และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เราทั้งหลายที่กำ�ลังฝ่าฟันชีวิตกันอยู่ ณ เวลานี้ จะพบทาง ที่พอดีกับตัวเองเช่นกัน ผมในตัวแทนของทีมABROAD ขอกราบขอบพระคุณในความกรุณาของ อาจารย์และรุ่นพี่สถาปนิกทุกท่านที่สละเวลามาให้เราได้มานั่งพูดคุยและเห็นช่วงหนึ่ง ของประสบการณ์ชีวิตที่มีค่าของแต่ละท่าน “ การพาตัวเองไปอยู่ในที่แปลกใหม่ในช่วงเวลาหนึ่ง แม้จะเป็นช่วงเวลาสั้นๆ แค่ไหนก็ตาม เรามักจะได้เรียนรู้อะไรใหม่ๆเสมอ และเราจะพบว่าตัวเราเป็นเพียงจุด เล็กๆจุดหนึ่ง เมื่อเทียบกับโลกอันกว้างใหญ่ข้างนอกนั่น “

EDItors cHANOKNUN PINTOBTANG02530005 CHATCHAI CHOKVANIT 02530008 DIT SANGTHONGSUK 02530016 TEERATHORN SUPRAROPE 02530024 WASAWAT RUJIRAPOOM 02530040 Graphic designers TANATORN SILLAPASOPON 02530017 SIWAPONG KRAISORNPORNSAN 02530045 Photographer SAHAWAT SRISUTHEP 02530077 4

วสวัตติ์

รุจิระภูมิ


contents

Graduate Programs

6

สาขาในการเรียนระดับปริญญาโท

RANKS 30 Interviews

ASK

34 vasu virajsilp Rush Pleansuk Surapong Lertsithichai Sineenart Sukolratanametee Oopatham Ratanasupa NANtapon Junngrun Veranit Amornprasertsri Nimitchai Amornprasertsri Taddao Sittichai Demersseman Supasai Vongkulbhisal

86 5


Graduate Programs

สาขาในการเรียนระดับปริญญาโท

จากการศึกษาแบบสอบถามความคิดที่มีต่อการเรียนต่อโทของสถาปนิกและนักเรียนสถาปัตยกรรม พบว่าปัจจัยที่ สำ�คัญที่มีผลต่อการเรียนต่อต่างประเทศในด้านมหาวิทยาลัย คือ คณะที่เปิดสอนของแต่ละมหาวิทยาลัย ความพร้อมด้าน อุปกรณ์และเทคโนโลยี และชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย ดังนั้นจึงหาอันดับโรงเรียนสถาปัตยกรรมที่ดีที่สุด และเลือกคณะสถาปัตยกรรม มา 10 อันดับ จากทั้ง สหรัฐอเมริกา ประเทศอังกฤษ และ ทวีปออสเตรเลีย ซึ่งได้แก่ Harvard GSD, Cornell AAP, Columbia GSAPP, MIT Architecture, SCI-Arc, AA, Bartlett UCL School of Architecture , UNITEC Architecture and Architectural Technology และ RMIT Architecture เพื่อมาศึกษาความแตกต่างของสาขาในแต่ละโรงเรียนซึ่งมีความ หลากหลายของหลักสูตรการเรียนการสอน

6


Requirements for Applying 1. Online Applications 2. Application Fee 3. GRE 4. English Proficiency Requirement (TOEFL/IELTS) 5. Transcripts 6. Statement of Purpose (Essay) 7. Letters of Recommendation 8. Portfolio 9. Resumes/CVs 7


Harvard GSD (The Harvard Graduate School of Design) เปิดรับ แค่ การศึกษาระดับปริญญาโท(Master program) และ เอกเท่านั้น (Doctoral program) ในสาขา Architecture, Urban planning, Landscape architecture และ Design Study GSD เป็นที่ยอมรับในการเป็นโรงเรียนการออกแบบอันดับหนึ่งของสหรัฐอเมริกา มีศิษย์เก่า 13,000 คน ซึ่งล้วนแต่ เป็น สถาปนิก นักออกแบบผังเมือง และภูมิสถาปนิกที่มีชื่อเสียง นอกจากนี้ GSD ยังมีสาขา Landscape Architecture ที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ก่อตั้งในปี คศ 1893 และยังมี สาขา Urban planning ที่เก่าแก่ที่สุดของสหรัฐอเมริกา ซึ่งก่อตั้งเมื่อปี คศ 1990 ส่วนคณะสถาปัตยกรรม เปิดสอนในปี คศ 1874 Degree programs ในหลักสูตรปริญญาโท เปิดสอน Master of Architecture (M.Arch), Master in Landscape Architecture (MLA), Master of Architecture in Urban Design (MAUD), Master of Landscape Architecture in Urban Design (MLAUD), Master in Urban Planning (MUP), Master in Design Studies (M.Des) ในหลักสูตรปริญญาเอก เปิดสอน Doctor of Design (D.Des) และ Doctor of Philosophy (PhD) in Architecture, Urban Planning, Landscape architecture Department of Architecture สาขาสถาปัตยกรรม ที่เต็มไปด้วยความหลากหลาย ความคิดสร้างสรรค์ และความเป็นนักวิชาการ มุ่งเน้นให้นักศึกษาแสดงออกถึงกระบวนการการ ออกแบบที่แตกต่างแต่ละบุคคล โดยมี นักวิจารณ์และนักทฤฏีหลากหลายรอบโลก อยู่ในสาขา ซึ่งจะคอยแนะนำ�ให้นักศึกษาให้เห็นถึงประเด็นต่างๆ และแนวโน้มของการ ออกแบบสถาปัตยกรรมร่วมสมัย MArch I สำ�หรับผู้สนใจ ที่สำ�เร็จการศึกษาปริญญาตรีที่ไม่ได้มีความ เกี่ยวข้องกับวิชาชีพออกแบบ ด้วยหลักสูตรที่เข้มข้น และและครอบคลุม เกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ ทฤษฏี เทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม และหลักการประกอบวิชาชีพ โดย มุ่งเน้นการพัฒนาความชำ�นาญด้านการออกแบบผ่านสตูดิโอการออกแบบ พัฒนา ความคิดที่เป็นของตยเอง การแก้ปัญหาต่างๆ 8


MArch II สำ�หรับผู้สำ�เร็จปริญญาตรีทางด้านสถาปัตยกรรมในหลักสูตร 5 ปีเท่านั้น ใช้เวลาเรียน 2 ปี โดยมุ่งเน้นให้นักศึกษาขยายความคิด ทฤษฏี และ ความสามารถเชิงวิเคราะห์ มีการเลือกเรียนวิชาต่างๆใน GSD อย่างน้อยครึ่งหนึ่ง ตลอดจนนักศึกษาต้องทำ�การวิจัยธีสิสที่เลือกได้อิสระ Department of Landscape Architecture สาขาทางด้าน Landscape Architecture ที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ก่อ ตั้งในปี คศ 1990 โดยมุ่งเน้นการพัฒนาภูมิสถาปัตยกรรมในระดับวิชาชีพ การ เรียนและการออกแบบที่บูรณาการ ผังเมือง สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม เพื่อการ วิจัยขั้นสูง การหานวัตกรรมการออกแบบเกี่ยวกับธรรมชาติ สถาพแวดล้อมที่ถูก สร้างขึ้น และผนวกเข้ากับการออกแบบเชิงผังเมือง MLA I สำ�หรับผู้สนใจ ที่สำ�เร็จการศึกษาปริญญาตรีที่ไม่ได้มีความ เกี่ยวข้องกับวิชาชีพออกแบบ เปิดหลักสูตรที่เข้มข้นและครอบคลุมใช้เวลาเรียน 3 ปี โดย 4 เทอม จะเรียนเกี่ยวกับความรู้ทางด้าน การออกแบบ ประวัติศาสตร์ ทฤษฏี เทคโนโลยี นิเทศวิทยา และ หลักการประกอบวิชาชีพ และอีก 2 เทอม สุดท้ายเกี่ยวกับการบูรณาการของสตูดิโอต่างๆ MLA I AP สำ�หรับผู้สำ�เร็จการศึกษาระดับปริญญาโทในด้าน สถาปัตยกรรม หรือ สำ�เร็จการศึกษาปริญญาตรีทางด้านสถาปัตยกรรม หรือ ภูมิสถาปัตยกรรม โดยมี Portfolio ทางด้านการออกแบบที่ดี หลักสูตร 2 ปี สำ�หรับผู้ที่เคยผ่านวิชา ประวัติศาสตร์ และ การแสดงแบบ (Representation) ที่คล้ายคลึงกับหลักสูตรปีแรกของ MLA I MLA II สำ�หรับผู้ที่สำ�เร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีด้านภูมิ สถาปัตยกรรม โดยเน้นเกี่ยวกับการออกแบบสภาพแวดล้อมที่ถูกสร้างขึ้น (Built Environment) ที่ผสมเกี่ยวกับเมืองและนิเวศวิทยา โดยเทอมแรกจะเรียนเกี่ยว กับ สตูดีโอการออกแบบ การแสดงแบบ ทฤษฏีเกี่ยวกับเมือง การสัมนา โดย 3 เทอมที่เหลือมีลักษณะเป็นวิชาเลือกที่สามารถเลือกได้เพื่อการบูรณาการในสตูการ ออกแบบ และธีสิสในเทอมสุดท้าย MLAUD สำ�หรับผู้สำ�เร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีด้านภูมิ สถาปัตยกรรมหลักสูตร 5 ปี เท่านั้น โดยสามารถลงเรียน หลักสูตรพร้อมกัน กับหลักสูตรการออกแบบผังเมือง เหมาะกับภูมิสถาปนิกที่มีความตั้งใจจะเป็นนัก ออกแบบผังเมือง โดยการเรียนจะเน้นไปที่ ทฤษฏีการออกแบบผังเมือง เทคนิคการ ออกแบบ กระบวนการซึ่งให้นักศึกษาคิดใหม่เกี่ยวกับการออกแบบภายใต้สภาพ เศรษฐกิจ การเจรจาทางด้านการเมือง เปิดสอนเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ ทฤษฏี กฏหมาย การวางผัง นโยบาย อสังหาริมทรัพย์ Department of Urban planing and design สาขาการวางผังเมืองที่เก่าแก่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา ด้วยการเรียนระดับ ปริญญาโท ด้าน การวางผังเมือง และการออกแบบผังเมือง ด้วยคณะอาจารย์และ นักวิชาการที่มีประสบการณ์จากหลากหลายประเทศ เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับ สภาพ แวดล้อมที่ถูกสร้างขึ้นจากภูมิหลังที่แตกต่างตลอดจนทัศนคติที่หลากหลาย มีการเรียนการสอน 4 แบบ ที่ซ้อนทับกัน MUP หลักสูตร 2 ปี มุ่งเน้นการวางผังเพื่อพัฒนา อนุรักษ์ และ ปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่ถูกสร้างขึ้นให้ดีขึ้น นักศึกษาจะได้เรียนรู้ การเข้าใจ การวิเคราะห์ อิทธิพลของความหลากหลายทางสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม กฏหมาย การเมือง ระบบนิเวศน์ และสุนทรียภาพ Sustainable development มุ่งเน้นการเรียนเรื่อง การออกแบบสภาพ แวดล้อม, อสังหาริมทรัพแ์ ละการพัฒนาเมือง, การคมนาคมและโครงสร้งพืน้ ฐาน 9


International planing คือการวางผัง การแก้ปัญหา ด้วยองค์ ประกอบที่เกี่ยวกับ Globalization เช่น การเพิ่มพื้นที่เมืองที่มากขึ้น การเติบโต ของที่รวดเร็วของประเทศที่กำ�ลังพัฒนา ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับเมืองที่มีความ แตกต่างกันในแต่ละประเทศ Social and Critical concerns เน้นการเรียนในด้าน ประวัติศาสตร์ ทฤษฏี อาคารที่อยู่อาศัย(housing) การพัฒนาชุมชน Urban Design เน้นการออกแบบผังเมือง อสังหาริมทรัพย์และการ พัฒนาเมือง สามารถเรียนปริญญาร่วมกับคณะสถาปัตย์ และ ภูมิสถาปัตย์ Master in design studies โปรแกรมเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจ พื้นฐานของกระบวนการของ สิ่งที่ช่วย เหลือเกื้อหนุนชีวิตประจำ�วัน วิธีการออกแบบเกี่ยวข้องกับ การปฏิสัมพันธ์ การ เรียนรู้ผ่านการใช้เครื่องมือ การวิจัยที่บูรณาการวัตถุ สังคม พื้นที่ว่าง โครงสร้าง พื้นฐาน ระบบนิเวศ การเมือง thermodynamic ตลอดจนมิติที่หลากหลายของ การออกแบบ Art, Design and public domain มุ่งเน้นการหาความคิดสร้างสรรค์ และความหลากหลายตามแต่ละ บุคคล อันเนื่องมาจากภูมิหลัง และ การศึกษา สำ�หรับผู้สนใจในประเด็นร่วมสมัย ในด้าน เมือง ประวัติศาสตร์ สุนทรียภาพ วัฒนธรรมทางด้านเทคโนโลยี ด้วย โปรแกรมสำ�หรับ สถาปนิก ศิลปิน นักทำ�ภาพยนตร์ เพื่อฝึกฝนพัฒนาความคิด สร้างสรรค์ งานศิลปะ โดยมุ่งเน้นไปยังความคิดที่ซับซ้อน ขั้นตอนหรือเทคนิคการ ประดิษฐ์ขั้นสูง รวมถึงบูรณาการด้วยสังคมและสุนทรียภาพ Critical Conservation ศึกษาประเด็นเกี่ยวกับ วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ เพื่อ ออกแบบหรือพัฒนาประเด็นโต้แย้งวิจารณ์ที่ นอกเหนือจากประเด็นที่ล้าสมัยต่างๆ อย่าง อดีต-อนาคต, แบบประเพณี-แบบโมเดิร์น พวกเรา-พวกเขา โดยจะบูรณ าการเกี่ยวกับ ประเด็นคำ�ถามในศตวรรษที่ 21 ในด้าน สภาพแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจยั่งยืน เพื่อให้นักออกแบบ นักอสังหาริมทรัพย์ นักวางผัง หรือผู้มีพื้น ฐาน ให้เข้าใจระบบทางวัฒนธรรม เข้าใจสิ่งที่อยู่เหนือขึ้นไปของ ยุค ประวัติศาสตร์ สุนทรียภาพ เพื่อเสนอทฤษฏี วิจัยเครื่องมือในการรวม ความหมายทางสังคม การเมือง และวัฒนธรรมเข้าด้วยกัน ตลอดจนให้นักศึกษาสร้างทางเลือกที่แตก ต่างเกี่ยวกับผลกระทบของการอนุรักษ์ที่ซับซ้อนของเมืองและพื้นที่ธรรมชาติ Energy and environments ศึกษาเกี่ยวกับ การออกแบบอย่างยั่งยืน ผ่านกรอบของพลังงาน และ สภาพแวดล้อม โดยคำ�นึงถึงระบบของอาคารและภูมิสถาปัตยกรรม และการ ศึกษาวิทยาศาสตร์ความร้อนและพลังงานกล (thermodynamics) ที่ตอบสนอง ชีวิตในปัจจุบัน ความยั่งยืนในปัจจุบัน History and Philosophy of design การศึกษามุ่งเน้นไปที่องค์ความรู้ขั้นสูง ผ่านการวิจัยทางด้าน ประวัติศาสตร์ ไปยังบริบทสังคม วัฒนธรรม และการเมือง การศึกษาผ่านทฤษฏี และแง่มุมการวิจารณ์ 10


Real estate and built environment การเรียนที่บูรณาการทั้งในแง่การออกแบบ และการลงทุนที่เชื่อมโยงกัน ผ่านแง่มุมของเศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน สถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม การวาง ผังเมือง ผ่านกลไกทางการเงินที่ซับซ้อน เรียนเกี่ยวกับการออกแบบ การวิเคราะห์ การเงิน การศึกษาความเป็นไปได้ รูปแบบเชิงเศรษฐกิจ กลยุทธ์การลงทุน ผ่านมิติ ทางสังคม วัฒนธรรม และสุนทรียภาพ Risk and Resilience เมืองรอบโลกประสบกับสิ่งท้าท้ายที่ไม่สามารถคาดการณ์ได้ เช่น ภัย ธรรมชาติ การเปลี่ยนสภาพแวดล้อมระยะยาม วิกฤตสุขภาพ ความไม่เสมอภาคที่ ก่อให้เกิดความรุนแรง ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการที่มุ่งหวังการออกแบบผัง ชุมชน ด้วยเครื่องมือสำ�หรับเตรียมการในการรองรับปัญหาดังกล่าว ตลอดจนสามารถ จัดการการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว และ พื้นที่ว่าง เศรษฐกิจ สังคมที่ไม่มั่นคงได้ Technology ศึกษา เทคโนโลยขั้นสูง แนวทางของนวัตกรรมเพื่อสร้างและเข้าใจ ฟอร์ม และ การออกแบบร่วมกับเทคโนโลยี ผ่านการทดลอง มีการศึกษาที่หลากหลาย ยกตัวอย่างเช่น Design computation, digital fabrication , robotics และ การสำ�รวจการตอบสนองของสิ่งแวดล้อม ผ่านสเกลที่หลากหลาย นักศึกษาจะได้บูรณาการประเด็นร่วมกับ วัตถุ อาคาร ภูมิสถาปัตยกรรม และ กระบวนการทางเมือง Urbanism, Landscape ecology นักศึกษาจะได้ฝึกฝนเกี่ยวกับ Urbanism ผ่านความคิดจากประเด็น ที่หลากหลายของ ภูมิสถาปัตยกรรม ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ ด้วยโปรแกรมนี้ นักศึกษาจะได้สำ�รวจการออกแบบร่วมสมัย รูปแบบของการเกิด Urbanism โดยการเรียนขั้นสูงในหัวข้อที่เกี่ยวกับ Urbanism ร่วมสมัย ภูมิสถาปัตยกรรม ภูมิศาสตร์ หรือ ขอบเขตในบริบทที่กว้างขวางของโลก สังคม สภาพแวดล้อมทาง ธรรมชาติ

11


Cornell University College of Architecture, Art and Planning ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1871 เป็นหนึ่งในคณะสถาปัตยกรรมที่มีมีเกียรติและการนับถือที่สุดในโลก เป็นหนึ่งใน Ivy League ที่เปิด หลักสูตรปริญญาตรีในด้านสถาปัตยกรรม ซึ่งเป็นที่ 1 โรงเรียนสถาปัตยกรรมที่ดีที่สุดในสหรัฐอเมริกาในระดับปริญญาตรี และเป็นอันดับ 5 ในระดับปริญญาโท ในปี 2013 Department of Architecture M.Arch โปรแกรม 3 ปีครึ่ง ของผู้ที่มีความสนใจในด้านสถาปัตยกรรมที่มีจบปริญญาตรี 4 ปี ในสาขาอื่นๆ โดยจะ เรียนเกี่ยวกับ ทักษะพื้นฐานและองค์ความรู้ที่สำ�คัญเพื่อวิชาชีพด้วยบูรณาการ ความสัมพันธ์ทางสังคม วัฒนธรรม เทคนิค และ สภาพแวดล้อม ซึ่งแสดงออกถึงสถาปัตยกรรมในยุคปัจจุบัน M.Arch II เป็นหลักสูตรเข้มข้น 3 เทอมในการวิจัยงานออกแบบ สำ�หรับผู้สำ�เร็จปริญญาตรี หรือ ปริญญาโทด้าน สถาปัตยกรรม โดยจะเน้นด้านการค้นหาความสัมพันธ์ด้านการออกแบบ การปฏิบัติ และ เทคโนโลยี ในสถาปัตยกรรมและ มือง ใน ศตวรรษที่ 21 HAUD (History of Architecture and Urban Development ) โปรแกมที่เสนอให้ ทั้ง Master of arts (M.A.) and a doctor of philosophy (Ph.D.) แสดงให้เห็นถึงการผสมผสาน ความซับซ้อนของการวิจัยสหวิทยาการและวิชาการ โปรเจค,การบรรยาย และส่งพิมพ์ โดย HAUD แสดงถึงความหลาก หลายของหัวข้อและวิธีการที่ถูกรวบไว้ด้วยกัน Department of City and Regional Planning Master of Regional Planning (M.R.P.) ผสมการเรียนทฤษฏี และ การปฏิบัติ ทั้งในและนอกประเทศ นักศึกษาจะได้ทดสอบความคิด วิจัย ด้วยการนำ� ปัญหาของโลก มาวิจารณ์และพิจารณา แต่ละ นักศึกษาที่เข้ามา 40-45 คนต่อปี ซึ่งสร้างโปรแกรมการออกแบบที่แตกต่าง ตามแต่ละบุคคล สามารถเลือกวิชาเลือกให้เข้ากับเป้าหมายของแต่ละคน Regional Science Graduate Degree in Regional Science (M.A. / M.S. RS) 12


เป็นการศึกษาปัญหาทางสังคมและเศรษฐศาสตร์ที่มีขนาดระดับภูมิภาค หรือพื้นที่โดยรวมมีความหลากหลายของการ วิเคราะห์และวิธีการวิจัยผ่านการทดลอง หัวข้อที่เกี่ยวกับ Regional Science เช่น -การพัฒนาเมืองและในระดับภูมิภาค -เครือข่ายระบบ ระหว่างภูมิภาค -ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ การทำ�งานร่วมกันในระดับภูมิภาคและระบบที่เกี่ยวกับองค์กร -การวิเคราะห์อุตสาหกรรมและการค้าในระดับภูมิภาค -สภาพแวดล้อมและการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ -สถานที่ตั้งอุตสาหกรรม,การขนส่ง,การย้ายถื่น -การใช้ที่ดิน, การรวมตัวกันเชิงที่ว่างและการแยกจากกันของกิจกรรม -ความท้าทายของการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ Historic Preservation Planning (M.A. HPP) Cornell เป็นหนึ่งในสถาบันแรกในประเทศสหรัฐอเมริกา ที่เสนอหลักสูตรเกี่ยวกับการเก็บรักษา โดย 10 ใน 15 ของ ผู้สมัครในแต่ละปี นำ�ประสบการณ์ที่หลากหลาย บางคนจบด้วยปริญญาเกี่ยวกับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เพื่อให้ผู้ สำ�เร็จการศึกษา และบางส่วนเคยทำ�งานในด้าน โบราณคดี สถาปัตยกรรม พิพิธภัณฑ์ หรือที่เกี่ยวข้องกับการวางผังการเก็บ รักษาด้านประวัติศาสตร์ Baker Program in Real estate (M.P.S R.E.) ครอบคลุมหลักสูตรระดับปริญญาโท หลักสูตร 2 ปี โดยให้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับทุกแง่มุมของธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์ นักศึกษาจะได้รับการศึกษาเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ในแง่ที่เป็นสิ่งแวดล้อมที่ถูกสร้างขึ้น และในแง่สินทรัพย์ที่ สามารถลงทุนได้ซึ่งมีบทบาทสำ�คัญในระบบเศรษฐกิจระหว่างประเทศ

13


Columbia GSAPP Graduate school of architecture, planning and preservation แห่ง Columbia university ที่เมือง new york หรือที่รู้จักในชื่อ GSAPP เป็นหนึ่งในโรงเรียนสถาปัตยกรรมที่สำ�คัญ และมีเกียรติของโลก เก่าแก่เป็นอันดับ 4 ของสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งเมื่อปี คศ 1881 นอกจากนี้ยังเปิดหลักสูตร master of science ในสาขา urban planning, urban design, historic preservation และ real estate development Architecture 1 master of Architecture เป็นโปรแกรม 3 ปี เน้นการพิจารณา ความสำ�คัญของแนวความคิดในการออกแบบ ในความสัมพันธ์กับ ประวัติศาสตร์ ตลอดจน ประเด็นปัญหาในปัจจุบัน 2 Advance Architectural Design เป็น Master of science degree in advance Architectural Design เป้าหมายของโปรแกรม คือการให้นักศึกษา ระดับปริญญาตรรีทางด้านสถาปัตยกรรม ได้มีโอกาสศึกษาที่กระตุ้นให้เกิดความคิดในด้านบริบทของการออกแบบ และเน้น กระบวนการที่ผ่านการทดลองเพื่อวิจัยและออกแบบทางด้านสถาปัตยกรรม ในด้าน -จัดการปัญหาของความเป็นไปได้ในด้าน Global Urbanization ด้วยการสำ�รวจเมือง และ สถาปัตยกรรม -บูรณาการ ความหมายของสถาปัตยกรรม เพื่อหากลยุทธ์การออกแบบ -สร้าง Object ทางด้านสถาปัตยกรรม ทั้ง รูปแบบ ดิจิตอล และ กายภาพ ด้วยเทคโนโลยีแบบใหม่และที่มีอยู่ -การพิจารณาเกี่ยวกับเงื่อนไขในปัจจุบัน ซึ่งมีผลต่อวิชาชีพและการปฏิบัติ 3 MSAAD Global Cities and Architecture program โปรแกรมนี้สำ�หรับนักศึกษาจากทั่วโลกเพื่อจินตนาการถึงเมืองและสถาปัตยกรรมในอนาคต เพื่อเอาชนะข้อจำ�กัดของ เมืองในปัจจุบัน โดยมุ่งเน้นในการวิจัยออกแบบ นักศึกษามีโอกาสที่จะออกแบบกลวิธีที่หลากหลายสเกลตั้งแต่ออกแบบเมืองไป ถึงอาคาร ศึกษา globalization แล ผลกระทบของมันต่อ สังคม ระบบนิเวศ เมือง และสถาปัตยกรรม 14


Urban Design โปรแกรมที่มุ่งเน้นไปยังเมืองใน ศตวรรษที่ 21 ในยุคแห่ง Urbanization ด้วยเมืองที่เติบโตและหดตัว ซึ่งเผชิญกับ การเปลี่ยนไปยังฟอร์มและความหมายใหม่ Historic Preservation เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการและการอนุรักษ์ของมรดกี่ถูกสร้างขึ้น ให้นักศึกษาได้มีโอกาสสำ�หรับทำ�งานสร้างสรรค์ที่ เกี่ยวกับการศึกษา ประวัติศาสตร์ มานุษวิทยา สถาปัตยกรรม Real Estate Development สำ�หรับผู้สนใจที่ไม่เพียงแต่ผู้มีความในอุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์ เพื่อจัดการปัญหา ปัญหา ที่เกี่ยวกับโลกใน ปัจจุบันผ่าน CURE (the Center for urban real estete) โปรแกรม 3 เทอมสำ�หรับการเรียนรู้ การผสมทักษะพื้นฐานของนักอสังหาริมทรัพย์ ด้วยวิธีการแบบองค์รวมของการ พัฒนาเมือง ผู้สำ�เร็จการศึกษาจะได้รับ Master of science of real estate development (MSRED) Critical, Curatorial, and Conceptual Practices in architecture The Masters of Science in Critical, Curatorial, and Conceptual Practices in Architecture ถูก ออกแบบมาเพื่อสำ�หรับการอบรมฝึกฝนขั้นสูงสำ�หรับ การวิจารณ์ทางสถาปัตยกรรม สื่อสิ่งพิมพ์ การจัดแสดงนิทรรศการ งานเขียน และการวิจัย ผ่านการเรียน 2 ปี

15


MIT School of Architecture and Planning เป็นหนึ่งใน 5 โรงเรียนของ MIT ที่ Cambridge, Massachusetts ก่อตั้งในปี 1865 เป็นที่เสนอหลักสูตรการ เรียนสถาปัตยกรรมเป็นที่แรกของสหรัฐอเมริกา และเป็นโปรแกรมการเรียนสถาปัตยกรรมที่แรกของโลก และเป็นที่รู้จักของผู้นำ�ด้านการริเริ่ม Modernism ในสหรัฐอเมริกา Graduate Degrees มีนักศึกษาระดับปริญญาโท 265 คนต่อปี ในคณะเปิดสอนกว่า 120 วิชา (ทั้งในระดับปริญญาตรี และ โท) Architectural Design 1 SMArchS The master of Science in Architecture Studies เป็น หลักสูตร 2 ปี ที่ศึกษาระดับสูงขึ้นไปกว่าระดับปริญญาตรี โดยมุ่งเน้นในเรื่อง ปัญหาในปัจจุบันของการออกแบบสถาปัตยกรรมทั้งใน สหรัฐอเมริกา และ รอบ โลก มี 2 หลักสูตร - SMarchS in Architectural Design SMarchS in Architecture and Urbanism เป็นโปรแกรมพิเศษสำ�หรับนักศึกษาที่สนใจในการพัฒนา การออกแบบ เมือง ตลอดจน ประวัติศาสตร์ และ ทฤษฏี ผ่านประเด็น Good city form 16


2 MArch Master of Architecture การเรียนสตูดิโอเป็นหลัก ผ่าน 3 สตูดิโอที่ ต่อเนื่องกัน และธีสิสการออกแบบ Art Culture and Technology Master of Science in Art Culture and Technology (SMACT) นักศึกษาจะได้ท้าทายกับประเภทประเพณีและการข้ามผ่านข้อจำ�กัดที่ถูกกำ�หนด สำ�รวจเสาะหาการทดลองทางด้านมีเดีย เรียนรู้ผ่านบทวิจารณ์และการสัมนา การ อ่านและการแลกเปลี่ยนความรู็ในทฤษฏีและการวิจารณ์ร่วมสมัย Building Technology 1 Master of Science in Building Technology (SMBT) มุ่งเน้นเกี่ยวกับการพัฒนาและการประยุกต์ของเทคโนโลยีขั้นสูงสำ�หรับอาคาร นักศึกษาในโปรแกรมนี้จะได้เรียนรู้วิชาพื้นฐานทางวิศวกรรม ด้วยกันกับ การ ประยุกต์ประเด็นให้เข้ากับเทคโนโลยี 2 SMArchS in Building Technology ให้นักศึกษาได้มีโอกาศ สำ�รวจค้นหา หัวข้อเชิงวิจารณ์ที่เกี่ยวกับ อนาคตของ สิ่งแวดล้อมที่ถูกสร้างขึ้น รวมถึงทรัพยากรต่างๆ ด้วยวิธีที่ใช้การออกแบบและ เทคโนโลยีในการออกแบบอาคาร ซึ่งนำ�ไปสู่โลกที่สร้างขึ้นเพื่อเติมเต็มมนุษยธรรม และความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม มีการบูรณาการกลยุทธ์การออกแบบ สถาปัตยกรรม, ทรัพยการผ่านการวิเคราะห์วัตถุ, การประเมิณ life cycle, อาคาร และ โมเดลพลังงานของเมือง Computation SMArchS in Design and Computation การออกแบบและการคำ�นวณเพื่อถามถึงความหลากหลายของธรรมชาติ และ การปฏิบัติสำ�หรับการคำ�นวณในการออกแบบสถาปัตยกรรม และวิธีการ หาความหมายของการออกแบบ จุดมุ่งหมาย ความรู้ที่จะสร้างการรับรู้ผ่านการ คิดและการสร้างด้วยรูปแบบการคำ�นวณ โดยมุ่งเน้นไปที่การพัฒนานวัตกรรม เครื่องมือในการคำ�นวณ กระบวนการ ทฤษฏี ตลอดจนบูรณาการในการ สร้างสรรค์ การโต้ตอบทางสังคมที่มีความหมาย History, Theory and Criticism of Architecture and Art 1 SMArchS in History, Theory and Criticism of Architecture and Art สำ�รวจวิจัยที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อทางประวัติศาสตร์หรือหัวข้อร่วมสมัยที่เกี่ยวกับ ประเด็นปัญหา 2 SMArchS in Aga Khan Program for Islamic Architecture เป็นหลักสูตรเพื่อส่งเสริม ค้ำ�จุล และเพื่มการเรียนการสอน สถาปัตยกรรมใน โลกอิสลาม โดยจัดเตรียมไว้สำ�หรับนักศึกษา เพื่ออาชีพในด้านการ วิจัย การ ออกแบบ การสอน

17


SCI-ARC หลักสูตรบัณฑิตวิทยาลัย

บัณฑิตวิทยาลัยของ SCI-Arc ศึกษาครอบคลุมถึงการเปิดกว้างการตรวจ การตอบสนองต่อสังคม เทคโนโลยี และ วัฒนธรรมของสถาบัน ด้วยการศึกษาสิ่งแวดล้อมอย่างค่อยเป็นค่อยไป ทางคณะกับนักศึกษาได้ทำ�งานร่วมกันเพื่อเป็น ประโยชน์ในการฝึกฝนด้านสถาปัตยกรรมของนักศึกษารุ่นต่อไป ผู้ฝึกหัดและนักวิชาการได้เข้าร่วมการปาฐกถางาน สถาปัตยกรรมร่วมสมัย หลักสูตรบัณฑิตวิทยาลัยมีรูปแบบที่เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง ตามธรรมเนียมที่ได้อุทิศให้กับ สถาปัตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัยของ SCI-Arcได้นำ�สาขาวิชาต่างๆมาบูรณาการ ด้วยการฝึกฝนที่เกิดจากกระบวนการสำ�คัญและ การปะ ติดทางความคิด การตรวจ และการบังคับใช้ทางกฎหมาย การดำ�เนินการของวัตถุประสงค์นี้ หลักสูตรบัณฑิตวิทยาลัยสอน สถาปัตยกรรมอย่างเคร่งครัด และมีการทดลอง และมีเสรีภาพทางความคิด และครอบคลุมทั้งในและนอกพื้นที่ 4 แผนการศึกษา: หลักสูตรสถาปัตยกรรมมหาบัณฑิต ( 1และ 2 ) และหลักสูตรวิจัยการออกแบบ สาขาออกแบบเมือง ผังเมือง และนโยบาย สาขาระบบฉุกเฉิน สื่อและเทคโนโลยี

หลักสูตรสถาปัตยกรรมมหาบัณฑิต1

3 ปี (7 ภาคการศึกษา) คณะกรรมการการแต่งตั้งสถาปัตยกรรมแห่งชาติได้แต่งตั้งหลักสูตรสถาปัตยกรรมมหาบัณฑิต และให้ผู้สมัครที่มีปริญญา บัตรในสาขาที่เกี่ยวข้อง หลักสูตรใน 2 ปีแรกจะเรียนช่วงฤดูใบไม้ร่วงและฤดูใบไม้ผลิ และในปีสุดท้ายจะเรียนในช่วงฤดูใบไม้ร่วง ฤดูใบไม้ผลิ และฤดูร้อน 18


แก่นของหลักสูตรสถาปัตยกรรมมหาบัณฑิต 1 คือการทดลองและการเรียนรู้ผ่านการลงมือทำ�งานสถาปัตยกรรม หลักสูตร เริ่มจาก 4 ภาคการศึกษา จะให้นักศึกษาพัฒนาผลงานเพื่อฝึกฝนงานในด้านสถาปัตยกรรม และมีพื้นฐานที่น่าเชื่อถือ เพื่อ การตรวจและการทดลอง เชื่อมโยงสตูดิโอออกแบบในแต่ละภาคการศึกษาด้วยทัศนะ ด้านวัฒนธรรม และการนำ�ไปประยุกต์ใช้ นักศึกษาจะได้เรียน รู้ความสัมพันธ์ของการนำ�เสนอ และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ระหว่างสถาปัตยกรรมกับเทคโนโลยี การพัฒนาแต่ละ หลักสูตรจะเพิ่มความชำ�นาญงาน นักศึกษาจะสามารถระบุความกว้างของงานสถาปัตยกรรมที่ซับซ้อน ในขณะที่ทดสอบ ความชาญฉลาดและความเชื่อมั่นไปในตัว จากความสมบูรณ์ของหลักสูตร นักศึกษาจะมีทัศนะ และการสำ�รวจงานออกแบบ ด้วยเทคโนโลยีทันสมัย

หลักสูตรสถาปัตยกรรมมหาบัณฑิต2

2ปี (5 ภาคการศึกษา) จุดประสงค์หลักเพื่อประเมินสภาพสถาปัตยกรรม แล้วก็มีการตัดสินใจ และการพิจารณาในการก่อสร้างที่ดี โดยผู้เรียนจะ ต้องมีทัศนคติที่หลากหลายต่อ ประเด็นของสถาปัตยกรรมร่วมสมัย โดยใช้วิธีและเครื่องมือที่มีความซับซ้อนในการคิด รวม ถึงมองความสัมพันธ์ระหว่างสถาปัตยกรรม การเมือง เศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม

19


PRATT Institute | School of Architecture จุดประสงค์ของการเรียน Master of Architecture and Master of Science, Architecture programs -มีการลงลึกในเรื่องของการฝึกฝนการออกแบบ ผสมผสาน -การเข้าใจในวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องในการออกแบบ ในระดับโลกาภิวัฒน์ -เข้าใจในทฤษฏีการออกแบบ มีการนำ�มาปรับใช้กับ นวัตกรรม เทคโนโลยี -มีการค้นคว้าหาข้อมูล และทำ�งานร่วมกับธรรมชาติ เทคโนโลยี โดยมีจริยธรรมเป็นที่ตั้ง -อุตสาหกรรม และระบบนิเวศ ต้องสามารถอยู่ร่วมกันได้ในพื้นฐานของการออกแบบที่ยั่งยืน

รายละเอียดการสมัคร

ผู้สมัครจะต้องได้รับปริญญาตรี จากสถาบันในสหรัฐอเมริกา ที่ได้รับการยอมรับ หรือมีระดับการศึกษาเทียบเท่า ปริญญาตรีจาก ต่างประเทศ ที่มีมาตรฐาน โดยผู้สมัครจะต้องพรีเซ็นท์ผลงานเป็น portfolio ที่เกี่ยวข้องกับความสนใจใน ด้านสถาปัตยกรรม และมุมมองต่างๆที่ส่งผลต่อการได้รับคัดเลือก ทั้งภาพถ่าย กาพวาด เรียงความ วิดิโอ โดยportfolio จะสามารถได้รับการยอมรับ ผ่านทางออนไลน์ ที่ pratt.slideroom.com หรือจะอยู่ในรูปแบบที่ปริ้นท์มาแล้วก็ได้เช่นกัน Master of Architecture (First-professional) หลักสูตรในการเรียน เป็นการลงลึกไปในการออกแบบสถาปัตยกรรมมากขึ้น เป็นการต่อยอดทั้งทางทฤษฏีและ แนวคิดต่างๆ ที่จะนำ�มาใช้ในการออกแบบอาคาร Semester 1-3 เน้นการเรียน แบบสตูดิโอ และการออกแบบ , วัสดุ โครงสร้างพื้นฐาน , ทฤษฏี และประวัติศาสตร์ , คอมพิวเตอร์ Semester 4-6 ระบบอาคาร , การประยุกต์ใช้ , การทำ�วิทยานิพนธ์ 20


Master of Science in Architecture and Urban Design (Post-professional) หลักสูตรในการเรียน เกี่ยวกับการออกแบบสถาปัตยกรรม ควบคู่กับผังเมืองที่เป็นระบบ Semester 1 - สัมมนา และวิทยานิพนธ์ Semester 2 - สตูดิโอ และการออกแบบ ผังเมือง , สัมมนา , การค้นหาข้อมูลวิทยานิพนธ์ Semester 3 - วิทยานิพนธ์ Master of Science in City and Regional Planning หลักสูตรในการเรียน เกี่ยวกับการเรียนอย่างมีกลยุทธ์ การคิดการวางผังเมืองอย่างมีระบบ มีการเรียนเพื่อเตรียม การรองรับการขยายาตัวของพื้นที่ใกล้เคียง เมือง จนไปถึงระดับรัฐ Master of Science in Urban Environmental Systems Management หลักสูตรในการเรียน คือให้ผู้เรียนรู้จักระบบสภาพแวดล้อม และการจัดการระบบของผังเมือง โดยจะลงลึกไปถึง ความสำ�คัญของวัฒนธรรมของพื้นที่ต่างๆความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนกับสภาพแวดล้อม Master of Science in Historic Preservation (Manhattan Campus) หลักสูตรในการเรียน แตกต่างจากโปรแกรมอื่นตรงที่จะเน้นไปในทางศึกษาประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม นโยบาย ของเมืองต่างๆ รวมถึงการอนุรักษ์อาคารที่มีคุณค่า และนำ�โครงสร้างเก่าไปใช้ได้อย่างเหมาะสม ทุกอย่างเพื่อให้เข้าใจในบริบท เพื่อจะได้สามารถออกแบบได้อย่างเหมาะสม Master of Science in Facilities Management (Manhattan Campus) หลักสูตรในการเรียนเกี่ยวข้องกับ การจัดการ และบทบาทหน้าที่ เกี่ยวกับสิ่งอำ�นวยความสะดวกต่างๆในอาคาร ฝึกฝนให้มีความสามารถเข้าใจถึง อายุการใช้งานส่วนต่างๆของอาคาร ทุกการดำ�เนินการจะต้องทำ�ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร่วมกับ งานระบบของอาคาร

21


AA หลักสูตรปริญญาโทของ AA มีทั้งหมด 12 โปรแกรมที่จะนำ�เสนอการศึกษาขั้นสูงที่เป็นหนึ่งในสภาพแวดล้อมการ เรียนรู้ที่มี dynamic มากที่สุดในโลก นักศึกษาจะสมัครเข้าร่วมมหาวิทยาลัยทั้งหมดในเดือนตุลาคมแรกของปีการศึกษาและ เข้าเรียนเต็มเวลาตามระยะเวลาของหลักสูตรที่รนักศึกษาเลือก หลักสูตรปริญญาโทแบบเต็มเวลามีทั้ง MAกับMSc 12 เดือนและ March 16 เดือน หลักสูตรเหล่านี้ได้รับการสอนภายใต้รูป แบบหลักสูตรที่เหมือนกันสำ�หรับช่วงแรกของปีการศึกษา MArch หลักสูตร 16 เดือนซึ่งจะเปิดให้ผู้สมัครที่เรียนจบทางด้านสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมกับUrbanism , Design & Make, Emergent Technologies & Design, Housing & Urbanism and Sustainable Environmental Design และสำ�หรับปีการศึกษา 2015-2016 Landscape Urbanism ยังจะได้รับการนำ�เสนอรางวัล MArch อีก ด้วย MSc หลักสูตร 12 เดือนใน in Emergent Technologies & Design and Sustainable Environmental Designเป็นหลักสูตรที่จะเปิดรับผู้สมัครที่มีคุณสมบัติในด้านสถาปัตยกรรม วิศวกรรมหรือสาขาวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง โครงการวิทยานิพนธ์ที่คาดว่าจะรวมการวิจัยการออกแบบและการทำ�งานในกรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับ background ของ นักศึกษา และสำ�หรับปีการศึกษา 2015-2016 Design & Make และ Landscape Urbanism ยังจะได้รับการนำ� เสนอรางวัล MSc อีกด้วย MA หลักสูตร 12 เดือนใน History & Critical Thinking, Housing & Urbanism and Landscape Urbanism เป็นหลักสูตรที่จะเปิดรับผู้สมัครที่มีคุณสมบัติในด้านสถาปัตยกรรมวิศวกรรมหรือสาขาวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง โครงการวิทยานิพนธ์ที่คาดว่าจะรวมการวิจัยการออกแบบและการทำ�งานกรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับ background ของ นักศึกษา Graduate Diploma หลักสูตรสองปี เป็นหลักสูตร part-time ที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์อาคารทางประวัติศาสตร์ 22


Postgraduate Diploma หลักสูตรหนึ่งปีเต็มหรือสองปีแบบpart-time ในการปฏิบัติงานเชิงพื้นที่และการออกแบบ โดยจะเปิดรับผู้ที่มีความ รู้ในหลายสาขาที่มีความคิดสร้างสรรค์ และสำ�หรับปีการศึกษา 2015-2016 ระยะเวลาของหลักสูตรนี้จะเปลี่ยนเป็น MA 12 เดือนและMFA 18 เดือน ในการปฏิบัติงานเชิงพื้นที่และการออกแบบ ทั้งหลักสูตร MA และ MFA จะเรียนเต็มเวลา MPhil หลักสูตร 20 เดือนของ MPhil ใน Architecture and Urban Design (Projective Cities) จะเปิดรับผู้ สมัครที่เรียนจบทางด้านสถาปัตยกรรม (BArch, Diploma หรือเทียบเท่า) SCI-Arc หลักสูตร SCI-Arc จะส่งเสริมการเรียนการสอนที่มีการทดลอง การวินิจฉัย มีการตอบสนองต่อการ เปลี่ยนแปลงในสังคม เทคโนโลยี และวัฒนธรรมกับการเรียนรู้สภาพแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง อาจารย์และนักศึกษาจะทำ�งาน ร่วมกันเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ทางสถาปัตยกรรมในรุ่นต่อไป หลักสูตรที่นำ�โดยคณะของผู้ปฏิบัติงานและนักวิชาการได้มีการ ทำ�งานอย่างหนักในการเชื่อมโยงสถาปัตยกรรมร่วมสมัยและProduction ทั่วโลก หลักสูตรนี้มีลักษณะที่มีความต่อเนื่อง และมี dynamic ซึ่งจะเป็นรูปแบบที่ใช้ได้เฉพาะกับสถาบันการศึกษาที่ทุ่มเทให้กับงานสถาปัตยกรรม หลักสูตรที่ใน SCI-Arc จะส่งเสริมการเรียนร่วมกับสาขาอื่น ในลักษณะการปฏิบัติที่เกิดขึ้นจากการเน้นกระบวนการและ การสังเคราะห์ความคิด เพื่อบรรลุเป้าหมายทั้งหมดนี้ หลักสูตร SCI-Arc ให้การศึกษาทางด้านสถาปัตยกรรมอย่างเข้ม งวดเพื่อส่งเสริมการทดลองและการมีเสรีภาพในความคิดสร้างสรรค์

23


Bartlett School of Architecture

MArch Architecture MArch Architecture เป็นหลักสูตรสองปีเต็ม โดยหลักสูตรจะส่งเสริมความเป็นมืออาชีพอย่างเข้มงวดทางด้าน สถาปัตยกรรมในเรื่องของการคาดการณ์และความคิดสร้างสรรค์ มีการเน้นความสำ�คัญในการทำ�งานในระดับบัณฑิตศึกษาที่มีความคาดหวังว่านักศึกษาจะผ่านการอ่านและการวิจัย เพื่อกำ�หนดพื้นที่เฉพาะของการศึกษา หลักสูตรการดำ�เนินงานผ่านระบบการออกแบบที่เน้นการสร้างสรรค์นวัตกรรม อย่างต่อเนื่องและเน้นคุณค่าของโจทย์ ผลกระทบทางสังคมและความต้องการของมืออาชีพ การออกแบบจึงจะดำ�เนินการใน ลักษณะเปิดกว้างและเข้มงวดโดยอาจารย์ผู้สอน เราคาดถึงทักษะในการออกแบบระดับสูง รวมไปถึงการวิจัยและการโต้แย้ง เช่นเดียวกับการประยุกต์ใช้ความคิดของเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม MArch GAD MArch GAD เป็นหลักสูตร 12 เดือนเต็ม ที่นำ�ไปสู่การเป็นผู้นำ�แห่งสถาปัตยกรรม (MArch) โปรแกรมที่มี ประกอบไปด้วยหกกลุ่มวิจัย เพื่อเน้นความหลากหลายของการวิจัย เน้นความสำ�คัญของการออกแบบที่ทันสมัยในความซับ ซ้อนของบริบท MArch GAD เป็นส่วนหนึ่งของ B-Pro, รูปแบบการเรียนแบบใหม่สำ�หรับอนาคตสถาปัตยกรรม วิถีชีวิต การ ออกแบบและทฤษฎีในระดับสูง การออกแบบมีบทบาทสำ�คัญในการผูกเรื่องกันของเรื่องราวและข้อมูล ในขณะที่ข้อมูลถูกแสดงถึงความงามที่ซ่อน อยู่และความซับซ้อนของระบบการสังเกต materialisation ก็สามารถสร้างความงามดังกล่าวและความซับซ้อนในสาขา สังเคราะห์ใหม่เช่นเดียวกัน ขอบเขตของสาขาวิชาที่มียืดหยุ่นมากขึ้นทำ�ให้สถาปัตยกรรมและการออกแบบมีการขยายตัว จากการผ่านการคำ�นวณจากแหล่งที่มา สถาปนิกได้เรียนวิชาฟิสิกส์ของวัสดุและโครงสร้างที่ที่แตกต่างกัน วิชาฟิสิกส์จะอยู่ใน ขั้นตอนการออกแบบ การค้นหามาตรการข้อจำ�กัด และปัจจัยการผลิตของการผลิต กลุ่มนักวิจัยค้นหาวิธีการใหม่ๆในการ คำ�นวณและการจำ�ลองการออกแบบ, การทดสอบวัสดุที่หลากหลายและเชื่อมโยงไปยังวัสดุศาสตร์ GADมีความข้องเกี่ยวกัน อย่างยิ่งกับการพัฒนาดังกล่าวเป็นอย่างมาก โดยมีการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ของสถาปัตยกรรม บทบาททางสังคม ความ ประหยัดและมีประสิทธิภาพในฐานะที่เป็นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับระบบนิเวศน์เมือง MArch UD The MArch Urban Design (UD) เป็นโปรแกรมที่เรียนเป็นเวล 12 เดือน มีการรวบรวมคนรุ่นใหม่ นักออกแบบ 24


และนักคิดจากทั่วโลกเพื่อทำ�ให้เกิดพื้นที่ที่อุดมสมบูรณ์และมีความท้าทายสำ�หรับการวิจัยในระยะยาวในการขยายตัวของเมือง และการออกแบบ นี่เป็นส่วนหนึ่งของ B-Pro รูปแบบการเรียนสำ�หรับโปรแกรมปริญญาโทมืออาชีพที่ Bartlett School of Architecture สตูดิโอจะปิดท้ายด้วยโครงการการออกแบบและวิทยานิพนธ์ หลักสูตรจะแนะนำ�นักเรียนเกี่ยวกับด้านต่างๆเช่น โบราณคดีมนุษยวิทยาประวัติศาสตร์นิเวศวิทยาการกำ�กับดูแลกฎหมายสื่อปรัชญาการวางแผนและทฤษฎีทางการเมือง การ สนทนาข้ามสตูดิโอจะเน้นเป็นจรรยาบรรณในการทำ�งานร่วมกัน MA Architectural History หลักสูตรนี้เริ่มต้นในปี 1981 the MA Architectural History ที่ Bartlett School of Architecture เป็น หลักสูตรของสหราชอาณาจักรที่ก่อตั้งมายาวนานและเป็นที่รู้จักดีที่สุดในการตีความทฤษฎีทางประวัติศาสตร์ที่สำ�คัญของ สถาปัตยกรรม เมืองUrban Space รวมไปถึงปฏิบัติการทางด้านความคิดสร้างสรรค์ที่เป็นเหมือนตัวแทนของพวกเขา 30 ปีที่ผ่านมาการเรียนการสอนได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและปรับปรุงจัดลำ�ดับความสำ�คัญรวมไปถึงการสำ�รวจวิธี การใหม่และวิธีการที่มีอยู่ และทฤษฎีที่สำ�คัญที่พวกเขาอาจจะนำ�ไปใช้กับการศึกษาทางด้านสถาปัตยกรรมและเมือง นอก เหนือจากการทำ�งานทางสถาปัตยกรรมผ่านการทำ�งานของบุคคลที่มีชื่อเสียง อาคารสถานที่สำ�คัญ การจำ�แนกรูป แบบหรือกฎเกณฑ์ต่างๆแล้ว หลักสูตรยังมีการเรียนสถาปัตยกรรมภายในกระบวนการทางสังคม อุดมการณ์ ความคิด สร้างสรรค์การเมือง และกระบวนการทางผังเมือง ในการทำ�เช่นนี้ จะทำ�ให้เกิดการสำ�รวจขอบเขตขององค์ประกอบทางด้าน สถาปัตยกรรมที่มีความถูกต้องเพื่อการศึกษาและเกิดการตีความ Postgraduate Certificate in Advanced Architectural Research (pgCAAR) The Postgraduate Certificate in Architectural Research (pgCAAR) ถูกออกแบบมาเพื่อช่วยให้ นักศึกษาปริญญาเอกที่ต้องการทำ�งานของตนให้อยู่ในระดับที่สูงขึ้นทั้งการออกแบบและการพัฒนาทางทฤษฎี ซึ่งอาจเป็นรูป เป็นร่างขึ้นในรูปแบบของลักษณะทางกายภาพแบบใหม่หรือเพิ่มความน่าสนใจของพอร์ตโฟลิโอของแต่ละบุคคล หรือในรูปแบบ ของนิทรรศการของแต่ละบุคคล หรือเป็นงานที่เขียนจากงานก่อนหน้าเพื่อเป็น conference paper หรือ journal article และยังเป็นกรอบงานที่เหมาะสำ�หรับนักศึกษาผู้ที่มีความคิดที่จะต่อปริญญาเอกและต้องการความช่วยเหลือในการ ตั้งคำ�ถามงานวิจัยของพวกเขา ผู้สมัครจะได้รับการจัดสรรอาจารย์ของแต่ละบุคคลที่เหมาะสมซึ่งจะทำ�ให้พวกเขาทำ�งานกัน อย่างใกล้ชิด เมื่อจบหลักสูตรรวมถึงการแสดงผลงานกลุ่มเช่น ‘ Constructing Realities’ ซึ่งจัดที่ Arup’s Phase 2 Gallery ในกรุงลอนดอนในปี 2011 มันแสดงให้เห็นถึงงานในพอร์ตโฟลิโอที่ได้มีการเริ่มต้นการวิจัยทางด้านการออกแบบในระดับ ปริญญาโท และในภายภาคหน้าวิธีการเหล่านี้อาจจะนำ�ไปใช้เพื่อสร้างสถานที่แห่งใหม่ โดยองค์ประกอบของอาคารที่มีinteractive รวมไปถึงfacade และระบบโครงสร้างแบบใหม่ MSc/MRes Adaptive Architecture and Computation Adaptive Architecture and Computation programme (MSc/MRes AAC) มีมุมมองที่ไม่เหมือนใครใน ด้านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการสร้างสภาพแวดล้อม เทคโนโลยีที่เราเห็นไม่ได้เป็นเพียงการสร้างรูปแบบที่ปรากฏ แต่เป็นวิธี การสร้างสถาปัตยกรรมที่สามารถปรับให้เหมาะกับสถานที่นั้นๆ นั่นคือหนึ่งในหลักการออกแบบที่ได้อยู่ในประสบการณ์ทาง ด้านสถานที่ของเรา และองค์ประกอบของการออกแบบที่ฝังอยู่ในสภาพแวดล้อม นั่นคือหนึ่งในสิ่งที่สังคมและพื้นที่จะรวมกัน โดยจะนำ�มารวมกันผ่านความรู้และความเข้าใจในการคำ�นวณเช่นเดียวกับสิ่งที่เกิดขึ้นในโลกเรา เพื่อให้เกิดการทำ�งานร่วมกัน หลักสูตรเรามีจุดมุ่งหมายเพื่อให้มีความเข้าใจที่ครอบคลุมทักษะการปฏิบัติที่จำ�เป็นในการสร้าง การกำ�เนิด การปรากฏและการตอบสนองของรูปแบบผ่านการสัมผัสกับสภาพแวดล้อมของโปรแกรมจริงควบคู่ไปกับพื้นที่จริง ในเทคนิคการวิเคราะห์และสังเคราะห์และการสร้างระบบปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นและการปรับตัว นอกจากนี้ยังจะเสริมสร้างให้ คุณมีประสบการณ์มากขึ้นโดยมีเป้าหมายที่ชัดเจนในทักษะการเรียนรู้ในแต่ละโมดูล MSc Spatial Design: Architecture & Cities (MSc SDAC) The MSc Spatial Design: Architecture & Cities (MSc SDAC) จะปลูกฝังภารกิจที่ไม่เหมือนใครสำ�หรับ นักศึกษาที่มาจากสหราชอาณาจักร ยุโรปและอีกหลายส่วนของโลก และจากทุกสาขาของสภาพแวดล้อมที่ถูกสร้างขึ้น เพื่อ เป็นสื่อกลางระหว่างความต้องการของสถาปนิกและนักออกแบบผังเมืองในการออกแบบที่มีคุณภาพและความสำ�คัญของ 25


สถาปัตยกรรมเพื่อให้เป็นสถานที่ที่ดีสำ�หรับสังคม การบูรณาการทางทฤษฎี การปฏิบัติและการออกแบบ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและเมืองที่มีระเบียบวินัยในการ วิเคราะห์การวิจัย หลักสูตรได้มีการยึดความท้าทายในโลกยุคปัจจุบันในด้านความรู้ในสาขาที่เรียน ให้เชื่อมโยงกับวิถีชีวิต ที่ยั่งยืนรวมไปทั้งสังคม แลทางด้านสถาปัตยกรรมและการคำ�นวณ ความเข้าใจในเรื่องระยะ ขนาดทางกายภาพและสาระ สำ�คัญของเครือข่ายทางสังคมและวิธีการที่ผู้ใช้เป็นศูนย์กลางในการออกแบบนวัตกรรม MRes Spatial Design: Architecture & Cities (MRes SDAC) MRes SDAC เป็นศูนย์กลางในการเพิ่มความเข้าใจของสถาปัตยกรรมและการออกแบบชุมชนเมืองโดยเป็นเครื่องมือ ในการพัฒนาสังคม หลักสูตรของเราให้บริการเส้นทางในการเรียนรู้ด้วยตนเองโดยมุ่งเน้นที่ทักษะในการการวิจัย ไม่ว่ากำ�ลัง ใช้สถาปัตยกรรมที่มีอยู่และประสบการณ์การออกแบบชุมชนเมืองให้อยู่ในระดับที่สูงขึ้นหรือกำ�ลังจะเรียนต่อปริญญาเอก โดย ใช้กรอบทฤษฎีและการวิเคราะห์ของพื้นที่ หลักสูตรนี้จะเกี่ยวข้องกับการศึกษาทางด้านสถาปัตยกรรมจากscaleของอาคาร ไปจนถึงการออกแบบชุมชนเมืองขนาดเล็กผ่านการวางแผนเมืองทั้งเมือง คุณจะพัฒนาความรู้เชิงลึกในทางทฤษฎีและการปฏิบัติของการสร้างสภาพแวดล้อมและฟังก์ชันของมันจะถูกพิจารณาในเรื่อง ระยะ ลักษณะทางกายภาพ และการใช้งานของมนุษย์ และจะได้รับทักษะระดับสูงในการวิจัยและการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ที่สร้างขึ้นเพื่อให้เหมาะกับHuman Scale หลักสูตรนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้มีโปรแกรมที่จะกระตุ้นเน้นการวิจัยและการวิเคราะห์ของอาคารและเมืองที่เป็นรูปแบบ ของพื้นที่ที่อยู่อาศัยของบุคคล ชุมชนและองค์กร แทนที่จะจำ�กัดขอบเขตงานทางสถาปัตยกรรมกับบทบาทของการออกแบบ อาคารionic และเมืองที่มีการพัฒนาทางนโยบายและเศรษฐกิจ หลักสูตรของเราใช้วิธีการทางทฤษฎีและการวิเคราะห์รวม กับสถาปัตยกรรมการออกแบบชุมชนเมืองและการวางแผนในการสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีสำ�หรับสังคมและพื้นที่ของประชาชน ที่ดีขึ้น

26


UNITEC

Master of Architecture - พัฒนาเพื่อช่วยให้สามารถออกไปทำ�งานได้จริง เรียนรู้เทคนิค พัฒนาทักษะและเรียนวิชาการควบคู่กันไป - เน้นไปยังโปรเจคที่ลงมือปฏิบัติจริง โดยผลการเรียนจะได้ตามโปรเจค ที่ทำ� นั่นหมายความว่าต้องทำ�โปรเจคภายใต้มุมมองความเป็นสถาปนิก - ไม่มีcoursework - เป็นหลักสูตรที่มีความร่วมสมัย - มีการร่วมมือกันระหว่าง Master of Architecture และ Master of Landscape Architecture โดยมีการเรียนรู้และworkshopร่วมกัน เพื่อเกิดแนวความคิดใหม่ๆ - มีการสนับสนุนจากนักวิชาการและสถาปนิก - เป็นการเรียนแบบ part-time Master of Architecture (Professional) - เรียนร่วมกับหลักสูตร Bachelor of Architectural Studies - เป็นโปรแกรมที่เน้นการมีส่วนร่วม มีความท้าทายและสนุกสนาน - มีทำ�งานภาคบังคับ 480 ชั่วโมง ในเวลากว่า 2 ปี โดยจะให้ข้อมูลเชิงลึกในการปฏิบัติการทางสถาปัตยกรรมร่วมสมัย - มีการทำ�reseachในพื้นที่ที่สนใจ - มีการรับรองโดย New Zealand Institute of Architects, the New Zealand Registered Architects Board and the Commonwealth Association of Architects - ประสบการณ์การเป็นคนlecture โดยมีการปฏิบัติในรูปแบบ parttime และได้มีโอกาสพบเจอผู้เชี่ยวชาญจากทั้งนิวซีแลนด์และประเทศอื่นๆ - ความหลากหลายของวิชาเลือก เช่น architecture in the Pacific ,Urban Housing Design ,High-Performance Cladding, Digital Fabrication and Design Economics.

27


RMIT Master of Architecture RMIT Architecture จะเน้นในการออกแบบเป็นหลัก การออกแบบที่เน้นเฉพาะในโปรแกรมทางสถาปัตยกรรมช่วย ให้สามารถพัฒนาความเข้าใจของสถาปัตยกรรมและยังได้ความหลากหลายของทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ มีการมุ่ง เน้นการพัฒนาทักษะหลักของการออกแบบสถาปัตยกรรมผ่านไปยังระดับที่สูง เพื่อเพิ่มความเข้าใจของสถาปัตยกรรมและการ วิจัยการออกแบบตามที่ได้รับจากทักษะที่หลากหลาย Master of Design Innovation and Technology การเรียนการสอนภายใน RMIT’s Spatial Information Architecture Laboratory (SIAL) จะเป็นโปรแกรม การเรียนการสอนที่จะเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้นำ�การออกแบบในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว วัตถุประสงค์หลักของโครงการนี้คือการคาดการณ์เกี่ยวกับอนาคตของการออกแบบ ความก้าวหน้าในยุคดิจิตอลที่ได้เปลี่ยน ไป แต่เราเป็นเพียงจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติในการประยุกต์ใช้บูรณาการของเทคโนโลยีและอิทธิพลที่มีต่อกระบวนการขั้นตอน การทำ�งานของการออกแบบไปจนถึงการก่อสร้าง ในฐานะที่เป็นนวัตกรรมในการออกแบบสถาปัตยกรรมเชิงพื้นที่และอยู่ในตำ�แหน่งที่จุดตัดของหลายสาขาวิชาโปรแกรมนี้จะ ดึงดูดความสนใจให้กับนักเรียนจากหลากหลายอาชีพเช่นสถาปัตยกรรมและการออกแบบ, การออกแบบอุตสาหกรรม, วิทยาการคอมพิวเตอร์, วิศวกรรม, การสื่อและการออกแบบเสียง Master of Urban Design การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในเมืองท้องถิ่นและระดับโลกระดับนี้ได้สร้างเทคนิคใหม่สำ�หรับการออกแบบและความ ก้าวหน้าในบทบาทของการออกแบบในการสร้างอนาคตของเมืองของเรา Urban Design เป็นหนึ่งในการปฏิบัติการที่สำ�คัญที่เผชิญหน้ากับปัญหาสำ�คัญที่มีผลต่อเมืองเช่นการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ การเปลี่ยนแปลงของประชากร พื้นที่ทำ�งานร่วมสมัยและการเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีและ โครงสร้างพื้นฐาน Master of Urban Design program ที่ RMIT ได้ออกแบบสตูดิโอตามสภาพแวดล้อมรายวิชา เพื่อ 28


จะมีส่วนร่วมกับปัญหาเหล่านี้ผ่านการทำ�งานตามโครงการ โดยมุ่งเน้นไปที่การปฏิบัติของการออกแบบของตัวเองเพื่อพัฒนา เทคนิคขั้นสูงสำ�หรับการทำ�งานด้วยความคิดสร้างสรรค์และการทำ�งานร่วมกัน โครงการจะแก้ปัญหาโดยรอบพื้นที่ที่สำ�คัญ ต่อการเปลี่ยนแปลงเขตเมืองทั้งในประเทศและทั่วโลก และมีส่วนร่วมกับเครือข่ายที่มีความเป็นมืออาชีพและชุมชน นักศึกษา จะได้เรียนรู้ที่จะสร้างสรรค์บูรณาการความเชี่ยวชาญจากสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องในการออกแบบ การส่งเสริมรูปแบบทางเลือก สำ�หรับอนาคตการสร้างเมือง Doctor of Philosophy in Architecture and Design The Doctor of Philosophy in Architecture and Design ได้รับการออกแบบเพื่อมุ่งเน้นไปที่ความจำ�เป็นใน การดำ�เนินการตั้งโจทย์ที่คาดเดาไม่ได้ กรอบของหลักสูตรนี้คือการสำ�รวจแนวทางการปฏิบัติใหม่ของการวิจัยการออกแบบ การมีส่วนร่วมในฐานความรู้ของสาขาวิชาและขั้นตอนต่อการกำ�หนดแง่มุมของการออกแบบใหม่ นอกจากนี้ยังพัฒนาทักษะ การวิจัยขั้นสูงที่จะเตรียมความพร้อมสำ�หรับการประกอบอาชีพในวงการสถาปนิก สถาบันการศึกษาและสาขาอื่น ๆ ที่ต้องใช้ ทักษะในการวิเคราะห์ระบบ การวิจัยจะดำ�เนินการผ่านการออกแบบและขั้นตอนของการออกแบบเป็นวิธีการที่เพิ่มความรู้ นักศึกษาจะได้รับการ สนับสนุนและมีส่วนร่วมในการปฏิบัติที่ซึ่งเป็นพื้นฐานการเรียนรู้ทางสังคม โดยความรู้จะรวมอยู่ในชีวิตของสังคมเหล่านี้ที่มี ความสนใจในวาทกรรม วิธีการทำ�สิ่งต่าง ๆ และการสำ�รวจขอบเขตของความคิดการออกแบบ ผู้สำ�เร็จการศึกษาจากหลักสูตร Doctor of Philosophy ของ RMIT จะได้มีการพัฒนาทักษะที่จำ�เป็นในการดำ�เนินการ วิจัยที่เป็นอิสระและจะถูกสนับสนุนฐานความรู้ของการวิจัยการออกแบบในสาขาที่เลือกของพวกเขา เมื่อสำ�เร็จการศึกษาจาก Doctor of Philosophy ของ RMIT จะสามารถที่จะเป็นนักวิชาการในมหาวิทยาลัยหรือได้รับ การว่าจ้างในตำ�แหน่งระดับสูงทั้งในแกลเลอรี่, พิพิธภัณฑ์, เทศกาล, องค์กรพัฒนาเอกชน, องค์กรศิลปะ, บริษัท , สถานที่และ ในสตูดิโอ นอกจากนี้ยังจะมีความสามารถในการทำ�งานในเรื่องการวิจัยในโครงการวิจัยหลังปริญญาเอกในมหาวิทยาลัยและ องค์กรภาครัฐ

29


RANKS

สถิตแิ สดงข้อคิดเห็นในการศึกษาต่อต่างประเทศ ของสถาปนิก และนักศึกษาสถาปัตยกรรม

ข้อมูลส่วนบุคคล เพศ ระดับการศึกษา ชาย 44.87% กำ�ลังศึกษาอยู่ปริญญาตรี 75.64% สำ�เร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี 24.36% หญิง 55.13% อายุ น้อยกว่า 25 ปี 88.46% 26-30 ปี 7.96% 31-35 ปี 0% 36-40 ปี 1.28% มากกว่า 40 ปี 2.56% ข้อมูลทางด้านการศึกษาต่อ ความสนใจในการศึกษาต่อต่างประเทศ มีความต้องการศึกษาต่อปริญญาโท ในประเทศ 6.49% มีความต้องการศึกษาต่อปริญญาโท ต่างประเทศ 48.05% ไม่มีความต้องการศึกษาต่อปริญญาโท 16.88% กำ�ลังตัดสินใจ 28.57% ประเทศที่ต้องการศึกษาต่อ อุปสรรคืั้คิดว่ามีผลต่อการตัดสินใจในการเรียนต่อต่างประเทศ อเมริกา 23.81% ภาษา 50.79% อังกฤษ 25.4% ค่าใช้จ่าย 79.37% ออสเตรเลย 7.94% เกรดในระดับปริญญาตรี 26.98% เยอรมัน 15.87% การใช้ชีวิต 14.29% ฝรั่งเศส 3.17% เพื่อน /สังคม 12.70% สิงคโปร์ 4.67% คิดถึงบ้าน 12.70% ญี่ปุ่น 9.52% ภาระทางบ้านที่ต้องดูแล 33.33% อื่นๆ 9.52% อื่นๆ 1.59% เหตุผลที่คิดจะศึกษาต่อต่างประเทศ สาขา-วิชาที่สนใจมีชื่อเสียงในต่างประเทศ 55.56% เพื่อหาประสบการในต่างประเทศ 76.19% เพื่อฝึกภาษา 53.97% เพื่อหาเพื่อนรวมถึง connection ใหม่ในต่างประเทศ 49.21% ต้องการที่จะทำ�งานต่อต่างประเทศ 26.98% เพื่อเปลี่ยนทัศนคติ 50.79% เพื่อยกระดับเงินเดือนและตำ�แหน่ง 34.92% อื่นๆ 3.17% เหตุผลที่ศึกษาต่อระดับปริญญาโท เพื่อต่อยอดความรู้จากระดับปริญญาตรี เพื่อหาความรู้ทางด้านอื่นนอกเหนือจากด้านสถาปัตยกรรม เพื่อเพิ่มวุฒิการศึกษา เพื่อมีโอกาสเพิ่มเงินเงินเดือนตำ�แห่งทางการงาน ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงาน/ความต้องการของหน่วยงาน อื่นๆ 30

62.50% 59.37% 31.25% 45.31% 9.37% 1.56%


คณะ/สาขาที่จะศึกษาต่อ ทางด้านสถาปัตยกรรม 43.75% ทางด้านบริหาร 28.12% ทางด้านนิเทศ 10.94% อื่นๆ 17.19% ถ้าศึกษาต่อด้านสถาปัตยกรรมอยากศึกษาต่อด้าน M.Arch 32.14% Hitory or Theory 3.57% Facility Management 7.14% Urban Planning or Real Estate 14.29% Landscape Architecture 14.29% Urban Design 7.14% Building Technology 7.14% Environment Design 4.67% Construction Management 3.57% อื่นๆ 7.14% ปัจจัยต่างๆที่มีผลค่อการเลือกประเทศศึกษาต่อ 1 สภาพสังคมและชีวิต 2 ความเป็นอยู่ของประเทศ 34 สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศของประเทศ ค่าครองชีพของปะเทศ ชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย ภาษาของประเศ

ปัจจัยต่างๆที่มีผลค่อการเลือกมหาวิทยาลัย ชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย 12 3 4 5 1 2 3 4 5

5 1 2 3 4 5

ชื่อเสียงของบุคลากรที่ จบจากมหาวิทยาลัย

1 2 3 4 5

ควาทันสมัยและรูปแบบ อาคาร

1 2 3 4 5

1 2 3 4 5 1 2 3 4 5

ความพร้อมด้านอุปกรร์ และเทคโนโลยี

1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5

คณะที่เปิดสอนใน มหาวิทยาลัย

ค่าเล่าเรียนของมหาวิทยาลัย ปัจจัยต่างๆที่มีผลค่อการเลือกคณะ/สาขา เลือกเรียนในสายที่เกี่ยว 12 ข้องกับสถาปัตยกรรม 34

ปัจจัยอื่นๆ ฐานะการเงินทางบ้าน

5

1 2 3 4 5

ประสบการณืการทำ�งาน ที่มีผลต่อการเลือกเรียน

1 2 3 4 5

ทุนการศึกษาของ มหาวิทยาลัยต่างๆ

อยากได้ความรู้ใหม่ ทางสาขาวิชานั้น

1 2 3 4 5

การเปลี่ยนแปลงการใช้ชีวิต 23 4 ในการอยู่ต่างประเทศ 5

ระยะเวลาในการศึกษาใน คณะ/สาขาวิชานั้น

1 2 3 4 5

มีญาติมีคนรู้จักใน ต่างประเทศ

1 2 3 4 5 1

1 2 3 4 5

31


What Firms Want

จากแบบสำ�รวจ องค์กรใน 48.5 % ชี้ว่า Design quality เป็นปัจจัยหลักในการรับเข้าทำ�งาน ส่วนปัจจัยที่รองลงมาได้แก่ 47.2% สนใจ Integrated Design 45.8% สนใจ Sustainability/Climate Change 45.8% สนใจ Technological Change

What Students need

อะไรคือสิ่งที่นักศึกษาต้องการสำ�หรับการแข่งขันในตลาด ตามการสำ�รวจ เรียงตามความสำ�คัญจากมากไปน้อย Great Attitude Stellar Portfolio Well-rounded understanding of sustainability A fair amount of confidence

Best Graduate Schools of Architecture

การจัดอันดับโรงเรียนทางด้านสถาปัตยกรรมที่ดีสุดในระดับการเรียนปริญญาโท การเรียนต่อปริญญาโทในด้านสถาปัตยกรรมในต่างประเทศมีความหลากหลายทั้งในด้าน มหาวิทยาลัย คณะ ตลอด จนสาขา เพื่อรองรับความสนใจของแต่ละคนที่มีไม่เหมือนกัน จากการศึกษาแบบสอบถามความคิดที่มีต่อการเรียนต่อโท ของสถาปนิกและนักเรียนสถาปัตยกรรม พบว่าความสนใจในการเลือกประเทศเพื่อการเรียนต่อต่างประเทศ มีแนวโน้มที่ จะสนใจ ในประเทศ อังกฤษ สหรัฐอเมริกา และกลุ่มประเทศในยุโรป นอกจากนี้ยังพบ ความสนใจในการเรียนต่อทางด้าน สถาปัตยกรรมยังเป็นอันดับหนึ่งอยู่ ดังนั้น จุดประสงค์ในการหาอันดับโรงเรียนสถาปัตยกรรมที่ดีที่สุด เพื่อศึกษาหาตัวอย่างโรงเรียนทางสถาปัตยกรรม ทั้งใน สหรัฐอเมริกา ยุโรป และออสเตรเลีย รวมถึงของโลก เพื่อมาศึกษา ค่าเรียน สาขาที่แตกต่างระหว่างมหาวิทยาลัย การเรียนการสอน

Best Graduate Schools of Architecture by Archdaily

5 อันดับโรงเรียนสถาปัตยกรรม แบ่งตามด้านต่างๆ เช่น การออกแบบ, การออกแบบที่ยั่งยืน, การประยุกต์สาขาที่ เรียน, การก่อสร้าง Design Sustainable Design Practice & Principles 1 Harvard University 1 Calif. Polytechnic State Univ, San Luis Obispo 2 Yale University 2 University of California, Berkeley 3 Columbia University 3 Auburn University 4 Southern California Institute of Architecture 4 University of Oregon 5 University of Southern California 5 University of Southern California Cross-Disciplinary Teamwork Construction Methods & Materials 1 Harvard University 1 Calif. Polytechnic State Univ, San Luis Obispo 2 Auburn University 2 Auburn University 3Calif. Polytechnic State Univ, San Luis Obispo 3 Kansas State University 4 Kansas State University 4 Virginia Polytechnic Institute 5 University of Southern California and State University 5 University of Southern California 32


Best Graduate Schools of Architecture by Graduate Architecture 10 อันดับโรงเรียนสถาปัตยกรรม แบ่งตาม ทวีปยุโรป ออสเตรเลีย อเมริกาเหนือ และของโลก 1 The World’s Best Architecture Schools 1 SCI-arc Southern California Institute of Architecture (LA, California, USA) 2 Architectural Association, AA (London, England) 3 Massachusetts Institute of Technology, MIT (Massachusetts, USA) 4The Royal Danish Academy of Fine Arts (Copenhagen, Denmark) 5 University of Tokyo (Tokyo, Japan) 6 Technical University Delft (Delft, the Netherlands 7 ETH Zurich, DARCH (Zurich, Switzerland) 8 Institute for Advanced Architecture of Catalonia, IaaC (Barcelona, Spain) 9 The Glasgow School of Art (Glasgow, Scotland) 10 American University of Sharjah (United Arab Emirates.) Best Architecture Schools in USA 1 SCI-arc Southern California Institute of Architecture (LA, California, USA) 2 MIT Massachusetts Institute of Technology (Massachusetts, USA) 3 Harvard University, Massachusetts, USA. 4 USC, The University of Southern California, 5 Berkeley University, California, USA. 6 The University of Michigan 7 Cornell University, USA. 8 Cal Poly, California, USA 9 Yale University, New Haven Connecticut, USA. 10 The Pratt Institute, New York, USA. Best Architecture Schools in Europe 1 Architectural Association, AA (London, England) 2 The Royal Danish Academy of Fine Arts (Copenhagen, Denmark) 3 Technical University Delft (Delft, the Netherlands) 4 ETH Zurich, DARCH (Zurich, Switzerland) 5 Institute for Advanced Architecture of Catalonia, IaaC (Barcelona, Spain) 6 The Glasgow School of Art (Glasgow, Scotland) 7 Bartlett, University College London (England) 8 The University of Cambridge (Cambridge, England) 9 Ecole de Beaux Arts (Paris, France) 10 The Gerrit Rietveld Academie (Rotterdam, The Netherlands) Best Architecture Schools in Australia 1 UNITEC (Aukland, New Zealand) 2 The University of Sydney (Australia) 3 The University of New South Wales (Sydney, Australia) 4 RMIT (Melbourne, Australia) 5 Victoria University of Wellington (Wellington, New Zealand) 6 The University of Melbourne (Melbourne, Australia) 7 The University of Auckland (Auckland, New Zealand) 8 University of Canberra (Australia) 9 University of Queensland (Brisbane, Australia) 10 The University of Adelaide (Adelaide, Australia) 33


Interviews

34


vasu virajsilp Rush Pleansuk Surapong Lertsithichai Sineenart Sukolratanametee Oopatham Ratanasupa NANtapon Junngrun Veranit Amornprasertsri Nimitchai Amornprasertsri Taddao Sittichai Demersseman Supasai Vongkulbhisal 35


vasu virajsilp วสุ วิรัชศิลป์

ปริญญาตรี Bachelor of Architecture Program, Pratt Institute ,USA ปริญญาโท สาขาออกแบบสถาปัตยกรรมชัน้ สูง (MSAAD) จาก Columbia University (New York) ปัจจุบัน ตำ�แหน่งกรรมการผู้จัดการ บริษัท แวสแล็บ จำ�กัด (VaSLab Co., Ltd.) visiting critic มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี อาจารย์ประจำ�และอาจารย์พิเศษสอนหนังสือ ในภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (ABAC)

แนะนำ�ประวัติส่วนตัวคร่าวๆ และจุดเริ่มต้นว่าทำ�ไมอยู่ๆ ไปเรียนที่ต่างประเทศครับ ผมวสุ วิรชั ศิลป์เป็นสถาปนิก เป็นprinciple of design อยูท่ ่ี VaSlab ผมก็จบปริญญาตรีท่ี Pratt Institute และปริญญาโททีC่ olumbia University ตอนเรียน มหาวิทยาลัยผมเอ็นทรานซ์เข้าอันดับ 1 ที่มหาวิทยาลัย ศิลปากรได้ เนื่องจากตอนนั้นประทับใจบรรยากาศ ศิลปากรที่อบอุ่นและดูอาร์ต เพราะว่ามีคณะจิตรกรรม คณะมัณฑนศิลป์ คณะโบราณคดีอยู่ใน compound ของ มหาวิทยาลัย ส่วนตัวเคยเรียนที่เตรียมอุดมมาก่อน แล้ว อยู่แถบๆ จุฬาฯมา 3 ปี เราก็เลยไม่ได้เลือก ด้วยเหตุผล แค่นั้นเอง เราเบื่อ surrounding เราก็เลยติวที่ศิลปากร ก็รู้สึกประทับใจในคณะซึ่งเป็นโรงเรียนที่ไม่ใหญ่ แต่มีความ เข้มข้นในเรื่องของอาร์ตสูง 36


37


จากนั้นเรียนปี 1 ยังไม่ appreciate ในเรื่องสถาปัตยกรรม เท่าไร มาปี 2 เพิ่งเข้าใจว่า สถาปัตยกรรมคืออะไร ได้ศึกษา เรื่อง space เรื่องแนวความคิด ทางปรัชญา โดยเฉพาะคอนเซปท์ใน การออกแบบ ตอนนั้นมีเพื่อนๆผม กลุ่มหนึ่งและรุ่นพี่ที่สนใจเรื่องนี้ก็เข้า ห้องสมุดกัน ตอนนั้นศึกษาค้นคว้า สถาปัตยกรรม deconstruction เกิดขึ้นประมาณปี 1988-1991 แปล ออกมาว่ามีแนวความคิดแบบไหน บ้างที่เราสนใจ พูดง่ายๆคือเราเห็น งานใหม่ๆในสมัยนั้น ไม่ว่าจะเป็น ของ Peter Eisenman Frank Gehry Zaha Hadid DanielLibeskind ประมาณนี้ เรารู้สึก ว่าพวกนี้เขาทำ�งานแล้วเหมือนอาร์ต เหมือนประติมากรรมมากกว่า สถาปัตยกรรมที่เป็น building design อย่างเดียว เพราะฉะนั้น ความชอบส่วนตัวเราค่อนข้างเปิดเผย มาว่า เราชอบสถาปัตยกรรมแนวนี้ เราชอบสถาปัตยกรรมแนวเล่าเรื่อง ว่ามีที่มาอย่างไร มาจาก diagram มาจาก metaphor จากอะไรต่างๆ โดยเฉพาะแบล็คกราวน์อย่าง Daniel Libeskind ที่เขาเรียนดนตรีมา ก่อน Zaha Hadid เรียน mathematics มาก่อน คนต่างๆเหล่านี้ ทำ�ให้ผมรู้สึกเริ่มสนใจแนวความคิดทาง สถาปัตยกรรมตะวันตก เพราะว่า ตอนเรียนมาเราไม่เคยรู้เรื่องอะไรแบบนี้ เลย ก็เลยศึกษาอ่านหนังสืออ่านไปซึ่ง ไม่ค่อยรู้เรื่องเต็มร้อยเปอร์เซ็นต์เท่าไร แต่เริ่มแล้วรู้ว่ามีที่มาที่ไปบางอย่างค่อน ข้าง strong แล้วมันไม่ใช่เหตุผลในการ ทำ� building function อย่างเดียว เรื่องฟังก์ชั่นพวกนั้นผมคิดว่าเป็นสิ่งที่ เราควรรู้อยู่แล้ว พวกเรื่อง ventilation การบังแดดบังฝน ทิศทางลมต่างๆ แต่คิดว่าสิ่งที่เรา ขาดหายไปคือเรื่องคอนเซปท์มากกว่า จริงๆศิลปากรเราก็มีอาจารย์หลายๆ ท่านที่สอนเรื่องคอนเซปท์ แต่อาจ จะไม่ใช่ทุกเทอม ตอนช่วงเวลาปี 2 ที่ 38

เราทำ�งานมันส์ๆ แต่กเ็ ป็นเพียงแค่ผวิ เผิน มันไม่ได้ลกึ ก็เลยคิดว่าจะศึกษา จากห้องสมุด และได้คยุ กับอาจารย์ หลายๆท่าน บางท่านก็สนับสนุน บาง ท่านก็วา่ เป็นเรือ่ งผิด ก็ทำ�ให้เราเริม่ มี คำ�ถามกับตัวเองว่าเราจะไปในทิศทาง ไหน เพราะฉะนัน้ ความเชือ่ มัน่ ของตัวเอง สำ�คัญมากต่อการเรียน คือเรารูส้ กึ ว่า เราเรียนแล้วเราต้องชอบต้องอินกับมัน ไม่ใช่เรียนให้มนั ผ่านๆไป เลยทำ�ให้ผมเริม่ ชัดเจน ประกอบกับอาผมอยูท่ น่ี วิ ยอร์ก จึงมีการคุยกันว่าถ้าผมยอม ดอร์ปเรียน ทีศ่ ลิ ปากรแล้วไปเรียนทีน่ น่ั มันมีสทิ ธิไ์ หม ก็เริม่ มีการติดต่อที่ Pratt University มีการส่ง port ด้วย เขาก็ตอบรับมา ดีแล้วเชิญไปลองดู เลยพักการเรียนที่ ศิลปากร เพราะถ้าไปทีน่ น่ั แล้วเฟลเรา ก็กลับมาได้ เริม่ รูส้ กึ อย่างจะเสีย่ งและ เปลีย่ น surrounding ใหม่ ตอนนัน้ มี ครัง้ หนึง่ ทีเ่ รียนอาจารย์อชั ชพล ดุสติ นา นนท์ ตอนปี 3 ผมทำ�งาน department store ซึง่ เป็นโปรเจคประจำ�เทอม อาจารย์อชั ชพลเป็นอาจารย์ทา่ นหนึง่ ที่ ผมเคารพเพราะว่าท่านค่อนข้างชอบเรือ่ ง คอนเซปท์ ความงาม เทอมนัน้ ผมจำ�ได้ ว่าได้ B+ ซึง่ สูงสุดเท่าทีเ่ คยได้มาของวิชา ดีไซน์ทศ่ี ลิ ปากร แต่สง่ิ ทีป่ ระทับใจมากก ว่านัน้ ไม่ใช่เรือ่ งเกรด มันเป็นเรือ่ ง pin up เสร็จ อาจารย์อชั ชพลลุกขึน้ มาจับ มือ บอกว่าแบบคุณเท่หม์ าก เท่านัน้ แหละผมรูส้ กึ ว่าผมต้องมาทางนีห้ รือ เปล่า เพราะทีผ่ า่ นมาผมต้องทำ�งาน เสิรฟ์ อาจารย์ทเ่ี ป็น functionalism ทุก ท่านผมเคารพหมด แต่วา่ แนวทางหรือ โปรแกรมแต่ละโปรเจคมันต่างกัน แต่ department store บางฟังก์ชน่ั บางอ ย่างทีม่ นั จะต้องมีทศิ ทางทีช่ ดั เจน เช่น รีเทลต้องทำ�ให้เข้าถึงได้เต็มที่ ไม่ให้รา้ น ใดร้านหนึง่ ด้อยกว่า การจัดแปลนนิง่ แต่สง่ิ ทีผ่ มทำ�แบบแล้วอาจารย์อชั ชพล ประทับใจมันซ้อนเร้นนอกจากเรือ่ งของ ฟังก์ชน่ั มันเป็นเรือ่ งการคิดภาษาของ ผมบางอย่าง ตอนนัน้ พูดตรงๆไม่ได้คดิ อะไรมาก แต่คดิ ให้คอมโพสสวย เท่ห์ เราชอบงานแบบนัน้ ก็เลยเป็นจุดทีท่ ำ�ให้ ตัดสินใจไปเลย ลองเรียนทีน่ น่ั เลยดีกว่า

ไปเรียนที่ Pratt แล้วรู้สึกเป็นอย่างไร บ้างครับ พวกบรรยากาศการเรียน และสังคม ไปถึงที่นั่นก็มีอุปสรรคที่ ว่า เค้าพาสให้ประมาณ 60 กว่า เปอร์เซ็นต์ของวิชาทั้งหมด แต่วิชา ดีไซน์ที่ไม่ให้เรียนปี 4 ให้เรียนแค่ปี 3 ผมก็เลยรู้สึกช้าคลาสไปนิดหนึ่ง แต่ เขามีข้อแม้ว่าถ้าคุณได้ A หมดปี แรกให้คุณเรียนคลาสหน้า เราก็เลย ตั้งใจเรียนมาก อย่างที่บอกผมไม่ เคยสนใจเรื่องเกรด แต่มันท้าทายเรา บางอย่าง ถ้าผมทำ�ในสิ่งที่ผมชอบ อยู่ศิลปากรกับอยู่ต่างประเทศแนว ความคิดไปในทิศทางเดียวกัน แต่ ผมอยากรู้ว่าผลตอบรับที่เป็นในทาง academic level จะได้เท่าไร ปรากฏ ว่าวิชา history เป็นวิชาที่ผมต้องอ่าน หนังสือ 3 รอบ แล้วภาษาไม่เป็นภาษา เรา ตอบอัตนัย เป็นครั้งแรกที่ผม เข้าใจได้ถึงแก่นแท้ว่า Mies van der Roheโปรเจคคืออะไร Frank Lloyd Wright หรือแม้กระทั่ง Le Corbusier ซึ่งอยู่ศิลปากรแทบจะจำ�ชื่อไม่ ได้ตอนอยู่ศิลปากรเราเน้นวิธีดีไซน์อย่าง เดียว surrounding คือเพื่อนๆ ซึ่ง รู้อยู่ว่าซ่อมน้องก็หนัก ปาร์ตี้ก็หนัก ไม่ค่อยได้เป็นเด็กหน้าห้องเท่าไร แต่ไป ที่นั่นภาวการณ์แข่งขันสูง คือแข่งกับ ตัวเอง จะดีไซน์อย่างเดียวไม่ได้ เรา ต้องรู้ว่า history คืออะไร เพราะวิชา คอนเซปท์มาจาก history ด้วย เพราะฉะนั้นอย่างที่บอก อ่านหนังสือ สามรอบทุกวิชา history ได้ A หมด เลย แล้ววิชาดีไซน์ได้ A หมดเลย เรา ทำ�ในวิธีที่สนใจนี่แหละ ทำ�ไดอะแกรม สร้างสเปซ สร้างฟอร์มที่สวยๆตม ทิศทางที่เราชอบ ไม่มีถูกหรือผิด อยู่ ที่ไหนก็ไม่ผิด แต่ว่าแนวทางที่ผมทำ� อาจารย์ที่เราได้เจอที่นั่น มี freedom มากกว่าในการ judge งานแต่ละคน บังเอิญที่ Pratt หรือ Columbia มี ระบบ Vertical Studio เป็นระบบที่ ว่า อาจารย์ทั้งหมด 10 คน นักศึกษา 100 คน ต่างคนต่างเลือก นักศึกษา ทิ้งงานให้อาจารย์ดู อาจารย์บางคน


เป็น great architect เราก็อยาก เรียนกับเขา แล้วก็จับคู่กัน ผลที่ได้คือ จะได้คนที่ชอบมากหรือคนที่ได้ชอบรอง ลงมาในการเรียนด้วยกัน จะเป็นคนที่ เราชื่นชนงานหรือการสอนของเขา กับ วิธีที่ทำ�โปรเจคของเราที่ influent ซึ่ง กันและกันระหว่างอาจารย์กับลูกศิษย์ เพราะฉะนั้นการที่เขาเลือกเรา เรา เลือกเขา เป็นวิธีที่โชว์ความสนใจ ไม่มี บอกว่าผิดหรือถูก ส่วนมากผมเชื่อว่า งานที่ดีมันพูดได้ด้วยตัวของมันเอง เพราะฉะนั้นได้ A หมด เขาเลย สคริปต์ให้ผมได้เรียนเร็วขึ้น มันก็ทำ�ให้ ผมมีความมั่นใจมากขึ้นว่าผ่านอุปสรรค อันนี้ไปได้ เราก็เลยเรียนที่ Pratt ยาว มาเลย และได้เกียรตินิยม โดยไม่เคย คิดเลยว่าจะได้เกียรตินิยมในชีวิตนี้ ได้ 3 กว่าขึ้นไป จากนั้นจบมา ผมเป็นคนที่ เลือกที่ต่างๆคือเลือกที่เดียว ตอนเอ็นท์ ก็เลือกที่ศิลปากรที่เดียว แต่ตอนที่จบ

ตรีที่ Pratt ผมก็ต่อโทที่ Columbia ก็เป็นที่เดียวที่ผมเลือก คืออยากอยู่ นิวยอร์กต่อ ไม่ใช่แค่ระบบการศึกษาที่ เข้ากับเราอย่างเดียว แต่เมืองที่เราไป อยู่มีกลิ่นอายเหมือนกรุงเทพฯ เหมือน โตเกียว หรือเป็นมหานคร นิวยอร์กก็ เช่นกันเพราะว่าวัฒนธรรมมันริชมากมี อะไรให้ดูเยอะ หรือเป็นคนที่เข้ามาอยู่ ในนิวยอร์กก็เป็นคนที่มีความสามารถ มีชื่อเสียง น่าหาความรู้ด้วย เพราะ ฉะนั้นไม่ว่าจะเป็นอาจารย์หรือใครต่างๆ ที่มาเลกเชอร์เราจะน่าสนใจหมดเลย มันทำ�ให้สภาพแวดล้อมรอบตัวเรามัน influent เราและ inspire ผมขึ้นไปอีก เลยเลือกที่ Columbia ระหว่างรอตอบ รับ ผมก็ทำ�งานที่ Tandem Architects ประมาณ 5-6 เดือน ทำ�ไปซักเดือนที่ 4 Columbia ก็ตอบรับมา แล้วมันก็ตอบทุกอย่างที่ ทุกคนเดาผมว่า คุณแน่ใจหรอว่าคุณ จะไปเรียนที่ต่างประเทศ พ่อแม่ก็งงๆ

แต่ผมต้องขอบคุณท่านที่ไว้ใจผมว่ากล้า ที่จะไป เพราะผมคงต้องรับผิดชอบทุก อย่างที่จะเกิดขึ้น เพราะเราเลือกทาง เดินของเราเอง Columbia University เป็น อีกที่หนึ่ง ซึ่งผมเชื่อว่า Foundation ของทุกคนอยู่ที่ปริญญาตรี เรื่อง ของความเชื่อ เรื่องของทิศทางในการ ออกแบบ สายตาที่เรามองไปแล้ว เรา อ่านอะไรออกบ้าง เพราะที่นี่มันเป็น มหาวิทยาลัยท็อปมากก็จริง แต่ เป็นการเข้าไปเห็นทางของเพื่อนหลายๆ ประเทศ เพราะในยุคนั้น international school สำ�หรับ Columbia เป็นคีย์หลัก เพราะมีนักศึกษาที่จบตรี จากต่างประเทศมาเยอะ เมืองไทยก็มี หลายคน มีพี่ฉิ่ง พี่อ้อน All Zone มี พี่ยอร์ชมีหลายๆท่าน เราเริ่มรู้สึกว่าใช้ พื้นฐานของปริญญาตรีมา แล้วเอาตัว เองขึ้นมาอยู่ international stage สิ่งที่น่าสนใจคือเราจะเห็นคนแต่ละทวีป 39


คิดไม่เหมือนกัน การ approach งาน การพรีเซ้นต์ หรือว่าตัวตนเขา ที่แสดงผ่านงานเป็นความรู้ที่หาไม่ได้ อีกแล้ว เพราะการทำ�งานเป็นกลุ่ม การได้ใช้ชีวิตร่วมกันผมว่ามันริชมาก สำ�หรับผมการเข้า Columbia University คือพอร์ตคุณน่าสนใจ แต่ การเรียนที่นี่ไม่ได้ได้ความรู้เท่าที่ Pratt หรือที่ศิลปากร คือมันก็ได้ในแง่ของ experiment คือให้ทำ�การทดลอง เต็มที่ โดยเฉพาะทำ�วิชาที่แทบจะไม่ ต้องเขียน drawing ใช้คอมพิวเตอร์ อย่างเดียว โปรแกรมหลักๆคือ Maya คือเป็นการทดลองแบบสุดๆ ก็สนุก กับมัน คุยกับอาจารย์ ได้คุยกับ Bernard Tschumi Greg Lynn ZahaHadid Daniel Libeskind ซุปเปอร์สตาร์ทั้งนั้นเลย เราได้เรียนรู้ ได้ฟังคำ�วิจารณ์ของเขา เขาพูดไม่กี่คำ� นี่สุดยอด เขามองคม มาก เขาไม่ได้มองแค่ฟังก์ชั่น แต่นี่ เป็นเรื่องของโปรเซส เรื่องของความ เชื่อมั่น สถาปัตยกรรม space กับ form มีมากกว่าที่เห็นที่มันเป็นอยู่ สรุป คือ เรียนปริญญาตรีที่ Pratt 3 ปี (เป็นหลักสูตร 5 ปี) โทที่ Columbia ปีเดียว อัด 3 เทอม ก็ประมาณ ปีครึ่ง

40

หลักสูตรที่ Pratt มีลักษณะเป็น อย่างไรบ้างครับ Pratt จะมีวิชาเลือกที่น่าสนใจ มาก คือ Movie and Architecture คือดูหนังแล้วrelateกับ Architecture ให้ได้ แล้วทุกอาทิตย์ก็นั่งดูหนังอาร์ต แต่มันได้ข้อคิด เพราะเราไม่เคยดูหนังที่ นอกจากฮอลลิวูด อย่างพวก David Lynch มันทำ�ให้เราเห็นว่ากระบวนการ สร้างหนังกับกระบวนการสร้าง สถาปัตยกรรมบางครั้ง relate กันได้ มีวิชาเลือกบางวิชาเรียกว่า Morphology ศึกษาโครงสร้างจากธรรมชาติ พวกใบไม้ ต้นไม้ แล้วมาทำ�โครงสร้าง สถาปัตยกรรม ผมไม่อยากจะเปรียบ เทียบว่ามันดีกว่าหรือไม่ดีกว่า แต่มัน เป็นความสดใหม่ที่ผมเห็นแล้วตื่นเต้น ผมพูดโดยรวมว่าในเมืองไทยจะทำ�ให้ นักศึกษาหลายคนสกิลสูง คือออกมา แล้วทำ�งานได้เลย แต่ว่า ณ ตอนนั้นมี บางคนที่ชอบคอนเซปท์ บางคนก็ไม่ สนใจ ซึ่งบางคนทำ�งานเพื่อส่งอาจารย์ ระดับท็อปคลาสของห้องก็ไม่ได้ทำ� สถาปนิกแล้ว สิ่งพวกนี้ผมหมายความ ว่า ถ้าคุณ relate กันจริงๆ คน ที่เรียนดี เกรดดี ไม่ได้หมายความ ว่าจะจบมาแล้วประสบความสำ�เร็จใน ชีวิต มันอยู่ที่คุณรู้ตัวเองมากน้อยแค่ ไหนว่าคุณเรียน Architecture แล้ว มันคืออะไร แล้วคุณรักมันมากน้อย

แค่ไหน แล้วการทิ้งวิชาชีพ ผมว่า เป็นการเลือกชีวิตอีกด้านหนึ่ง ซึ่งทุก คนก็ต้องเคารพว่าเขามีความต้องการ เรื่องเงินมาก เป็นสถาปนิกไม่สามารถ ตอบสนอง ซึ่งเปรียบเทียบอาชีพเราก็ คนที่ทำ� finance หรือทนาย รายได้ เฉลี่ยไม่ได้สูง ยกเว้นคนที่ทำ� mega project การทำ�งานตอนอยู่นิวยอร์กเป็น อย่างไรบ้าง ผมเลือกเฟิร์มที่เขาให้เงินที่พอ เพียง จะสมัครทำ�งานกับพวก great architect แต่ถ้าทำ�งานกับพวกเขาแล้ว เขาไม่ให้เงินเดือน ให้ลายเซ็นว่าคุณทำ� ที่นี่ แต่ผมไม่เลือกเพราะผมเคยเรียน กับพวกเขามาหมดแล้ว ไม่จำ�เป็นต้อง suffer แล้วผมต้องมีค่าอพาร์ทเม้น ต์ ค่ากิน ค่าอยู่ ผมไม่อยากให้ที่ บ้านต้องเดือดร้อนเกินไป ก็เลยตัดสิน ใจทำ�งานที่บริษัทที่นิวยอร์ค แล้วก็ทำ� งานใหญ่ๆ สนามอเมริกันฟุตบอลChicago Bearsตึกในนิวยอร์ก high rise แล้วก็สุสานที่ตุรกี ผมก็รู้สึกมัน ได้ประสบการณ์เยอะ แต่ผมรู้อยู่แล้ว ไม่ได้อยู่นี่ไปอีกสองสามปี คิดแค่ว่าเรา เก็บประสบการณ์ ได้ทำ�งานร่วมกับ สถาปนิกต่างประเทศระดับหนึ่ง แล้ว ก็ทำ�งานจริง ทำ�งานจริงนี่ต่างกับการ เรียนมาก เพราะว่าเข้าไปทำ�งานวันแรก


คิดแค่คอนเซปต์นดิ หน่อยก็โอเค แต่วา่ มันไม่ได้จะมีโอกาสทำ�จริงเพราะเป็นแค่จู เนียร์เข้าไป แต่สง่ิ ทีผ่ มได้คอื ผมได้ทำ� จริงในเรือ่ งของการสเปกวัสดุ โปรเจค แรกเป็นบ้านฝรัง่ อยูค่ นหนึง่ ผมต้องดู เรือ่ ง bathroom specification หมด เลย ก๊อกมีกป่ี ระเภท น้ำ�เย็น น้ำ�ร้อน shower หัวแบบ fix หรือสายอ่อน หรือ shower ใน bathtub เรือ่ งนีเ้ ป็น เรือ่ งทีโ่ รงเรียนไม่มสี อน เราต้องมาเรียน รูเ้ อง ซึง่ ต้องรูว้ า่ สเปคอย่างไรจะถูก ดร ออิง้ อย่างไรจะถูก พวกนีไ้ ม่เป็นการทำ�ให้ ผมสับสน แต่เป็นการทำ�ให้ผมรูส้ กึ ว่า เรือ่ งพวกนีเ้ รารูแ้ ล้ว เรือ่ งconceptual เราก็รแู้ ล้ว ในชีวติ จริงมันเป็น intigration ทีด่ ี ถ้าคุณรู้ conceptual อย่าง เดียวแล้วทำ�งานจริงไม่ได้ ก็จะรูส้ กึ เสีย เวลา เพราะผมก็เชือ่ อยูอ่ ย่างเดียวว่า architecture สร้างได้

ก็จะมีแก๊งค์ Columbia สอนที่เอแบค รุ่น1-2ประมาณ 4-5 คน แล้วสอนให้ เด็กทำ�งานมันส์ๆ แล้วอยู่ๆมีเพื่อนของ เพื่อนคนหนึ่งอยากสร้างบ้านแล้วอยาก ได้สถาปนิกเพิ่งจบเลย ผมดันอยู่ตรง นั้นพอดี ผมเลยได้ทำ� จริงๆหลังนี้ข้อ ผิดพลาดเยอะมาก อย่างเช่น drain น้ำ� ทำ�ไม่ดี ไม่ได้ออกแบบตั้งแต่ต้น เพราะทำ�บ้านหลังแรก แต่ยังดีที่แก้ทัน มันก็มีข้อผิดพลาด แต่พอได้มีโอกาส ทำ�หลังแรก เป็นหลังที่สำ�คัญที่สุด พอพวกคุณจบใหม่มาต้องลองโอกาส นั้น แล้วผมเชื่อว่าโอกาสนั้นจะมาหา คุณนอกจากคุณจะไขว่คว้ามัน คือคิด อยู่ซักวันว่าเราจะมีโอกาสออกแบบงาน ชิ้นเดียวทั้งหลังเลย แล้วเรานอนตาย ตาหลับ อันนี้คือความคิดตั้งแต่เด็กๆ ไม่น่าเชื่อว่าเป็นปีแรกที่กลับมาก็ได้ทำ� เลย ไปสอนนักเรียนเสร็จก็ขับรถไปดู ไซต์ต่อ ตอนนั้นยังใช้มืออยู่เลย แต่ทำ� ทำ�ไมถึงไม่ทำ�งานต่อทีต่ า่ งประเทศครับ ? 3d ด้วย Form เพราะผมมีความฝันทำ� พอทำ�หลังแรกออกมา มันก็ ออฟฟิศเอง ฝันตัง้ แต่เด็กเลย ว่า ไปเตะตาผูก้ ำ�กับโฆษณาว่าหลังต่อไปมี อย่างน้อยได้ทำ�ผลงานของตัวเองชิน้ อีกไหมหลังจากนัน้ ก็เริม่ ทำ�หลังต่อ ใช้ หนึง่ การทำ�งานกับคนอืน่ ดีในเรือ่ ง experiment และคอนเซปท์ตวั เองมาทำ� ของประสบการณ์ อาจเป็นเพราะคุณ จากนัน้ คนที่ appreciate สิง่ ทีเ่ ราทำ� พ่อคุณแม่ของผมไม่เคยทำ�งานให้ใคร ก็เริม่ ติดต่อเราจาก studio 1 คน ผม เคยทำ�งานสัน้ ๆ แต่กม็ าทำ�โรงพยาบาล ก็มี หลง เพือ่ นผมเข้ามา เพราะตอน ตัง้ แต่จบมาจุฬาฯ แล้วไปเรียนอินเทิรน์ ที่ นัน้ ทำ�บ้าน ทำ�รีสอร์ท ทำ�ร้านอาหาร ต่างประเทศ กลับมาเปิดคลินกิ แล้วก็ 3 โปรเจคต่อปี จากนัน้ ผมก็ดงึ ลูกศิษย์ เปิดโรงพยาบาล ก็จะเห็นคุณพ่อคุณแม่ มาอีก 2 คน ทำ�โรงจอดรถของคุณ เป็นเจ้านายตัวเองตัง้ แต่เด็กเลย ก็จะมี ตาเก่า พืน้ ทีไ่ ม่กต่ี ารางเมตร แล้วมัน แนวความคิดว่าผมจะเปิดออฟฟิศของตัว ก็คอ่ ยๆ pick up เรือ่ ยๆ สิง่ เดียวที่ เอง แต่กไ็ ม่ใช่จะดีเสมอไปนะ อย่างน้อย คุณต้องมีอยู่ คือ passion คุณอย่า ผมก็ทำ�งานกับ Tandem Architects ทิง้ มัน คุณจะเหนือ่ ยจะเครียดกับงาน ครึง่ ปี และทำ�งานทีน่ วิ ยอร์กปีครึง่ แต่ สถาปัตยกรรมแค่ไหน คุณลองถามว่า ทำ�เพือ่ ให้รวู้ า่ ระบบเป็นอย่างไร สิง่ ทีผ่ ม สิง่ ทีค่ ณ ุ ทำ�แล้วมีความสุขทุกวัน ผม ได้มาคือระบบทีผ่ มได้ใช้ทกุ วันนี้ ไม่วา่ ถามตัวเองทุกวัน คำ�ตอบ คือ archiจะเป็นเรือ่ งของ timesheet master tecture อย่างอืน่ มันไม่สนองอะไรผม schedule การส่งงาน การเบิกเงิน เอง ผมชอบเพลง แต่ให้เล่นดนตรีกค็ ง การทำ� contract ไม่มใี ครสอนผม ไม่ใช่ ได้ practice architecture ได้ เห็นงานสร้าง ได้ดรออิ้ง ได้คุยกับ ช่วงเริ่มต้นการทำ�งาน หลังจากกลับ ลูกค้า ได้เห็นลูกค้าแฮปปี้กับมัน นี่ มาที่ไทยเป็นอย่างไรบ้างครับ? คือความสุขสุดยอดแล้ว แล้วความสุข ผมกลับมาสอนที่เอแบคก่อน มากกว่านั้นก็คือ publication ผม เพราะช่วงนั้นเศรษฐกิจไม่ค่อยดี แล้ว เคยฝันได้ลง art4d นี่สุดยอดมากเลย

เป็นความฝันที่เป็นจริงแล้วnext step คือลงต่างประเทศ พวกต่างประเทศ สนใจ พวก Archdaily Architizer มาขอเราลงหมดก็เป็นความสำ�เร็จอีก อย่าง แต่ความทะเยอทะยานมัน ทำ�ให้เราหิว Architecture ยิ่งคุณ มีงาน publication งานต่อไปก็ต้อง ดีขึ้นเรื่อยๆ หรือย่างน้อยไม่เหมือน เดิม ตอนนี้ผมกำ�ลังเปลี่ยนแปลงงาน เริ่มสนใจด้านอื่นๆบ้าง แต่ลูกค้าหลาย คนก็ยังติดภาพอยู่ เขาอยากให้เรา ทำ� เราต้องให้คำ�ปรึกษาเขาด้วยว่าไม่ จำ�เป็นต้องเหมือนเดิม เพราะผมเชื่อว่า สถาปัตยกรรมทุกงานมันควรจะมีที่อยู่ ของมัน มี site สถาปัตยกรรมแต่ละ ที่มัน belong พื้นที่นั่นๆ ผมไม่ค่อย เชื่อเรื่องระบบ มันก็มีคนทำ�พวกบ้าน สำ�เร็จรูป แต่ผมว่ามันไม่เพียว มันดู แล้วง่ายไป แต่แน่นอนมันตอบโจทย์คน ที่ต้องการสร้างเร็ว มีงบจำ�กัด คิดว่าทัศนคติ แนวคิดต่างๆเปลี่ยน ไปไหมครับจากการที่ไปศึกษาต่อต่าง ประเทศ ผมว่าน่าจะต่างนะ แบบคนละ เรื่องเลย เพราะว่าถ้าผมอยู่ที่ศิลปากร ต่อไปอาจจะไม่เฟรชเท่านี้ ผมเชื่อว่าจะมี ช่วง suffer time ช่วงทีสิส เพราะผม เห็นพี่ๆเพื่อนๆทำ�ทีสิส คือเจออาจารย์ แล้วถ้าอาจารย์ไม่คลิกกับนักเรียนนี่ เสร็จเลยนะ ก็อาจจะมีผลครับ ผมคิด ว่าความเป็นตัวของตัวเองจะน้อยกว่านี้ ผมค่อนข้าง self confident เพราะ เราเหมือนผ่านอะไรมาเยอะ ผ่านด่าน หลายๆด่านที่หลายคนมองว่าจะเป็นไปได้ หรือเปล่า แต่เราก็ทำ�ออกมาได ้ สุดท้ายแล้วอยากฝากอะไรถึงน้องๆ บ้างไหมครับ เกี่ยวกับเรื่องการ ทำ�งาน หรือว่าการเรียนต่อ ผมว่า สิ่งที่ดีที่สุดคือเราต้อง รู้จักตัวเองให้ดีที่สุดก่อน สมมติคุณ ชอบแนวทางของสถาปัตยกรรมใด สถาปัตยกรรมหนึง่ คุณ pick up ตรงนัน้ ให้ได้ ถ้าแนวทางของโรงเรียน ไหนมีแนวทางของคนนีอ้ ยู่ นัน่ คือสิง่ 41


42


“ จริงๆการค้นหาตัวเอง ผมว่ามันไม่ใช่เรื่องยากแต่ต้องกล้า ”

ทีค่ ณ ุ ควรจะไปเรียน อาจะไม่ใช่เป็น คน อาจจะเป็นลักษณะของการเรียน การสอนบางอย่างทีส่ อนในสิง่ ทีเ่ รา ชอบ อย่าง AA เขาจะทำ�พวกโมเดล 1:1 อย่าง Columbia ก็จะ abstract หน่อย หรืออย่างพวก MIT ออกไป engineering มากกว่า ซึง่ ทุกคนไม่ได้ หมายความว่าเลือกคนใดคนหนึง่ แล้วจะ บีบไปแนวทางนัน้ หลายครัง้ เรารูต้ วั เอง ก่อน และเรา study คนอืน่ ไป จะทำ�ให้ เรามีประสบการณ์ทเ่ี ข้มขึน้ เรือ่ ยๆ ผมจะฝากก็คอื หลังจากทีค่ น้ พบตัวเองเราควรก็ตอ้ งศึกษาเพือ่ ทีจ่ ะไป เรียนต่อ แต่ถา้ ไม่อยากเรียนต่อ คุณ ก็ตอ้ งเบือกอยูเ่ ฟิรม์ ทีค่ ณ ุ จะได้อะไรจาก เขา จริงๆการค้นหาตัวเอง ผมว่ามัน ไม่ใช่เรือ่ งยากแต่ตอ้ งกล้า บางทีคนเรา ท้อแท้เวลาเจอคนทัก เราต้องอย่าโกหก ตัวเองว่าไม่มใี คร original คุณต้องได้ influent ไม่ทางใดก็ทางหนึง่ คุณต้องหา ตัวเองให้เจอว่าคุณชอบอะไรไม่ชอบอะไร บางคนก็ชอบทางด้าน history บาง คนก็ชอบงานอนุรกั ษ์มรดก อนุรกั ษ์ งานสถาปัตยกรรมก็มี บางคนก็ไป สถาปนิกชุมชน อย่างพีป่ อ่ ง CASE ซึง่ เขาก็ไปได้ดี อย่างคุณสุรยิ ะ ไปทาง ศาสนาเลย ก็ประสบความสำ�เร็จ ได้ AR Award หรือล่าสุดอาจารย์บญ ุ เสริมทีไ่ ด้AR Award คนนีท้ ศ่ี กึ ษา Brick Structure ซึง่ เป็นแนวทางแบบ ไทยด้วย ก็เป็นอีกแนวทางหนึง่ ท่าน แทบจะไม่มที างอืน่ ทางใดนอกจากงาน นี้ แต่เขาหาทางตัวเองเจอ ใช้เวลาทำ� ถึง 3-4 ปี แต่คนเหล่านีไ้ ม่จำ�เป็นต้อง start เร็ว อาจจะช้าก็ได้ ผมคิดว่าทุกคนไม่ได้มโี อกาสเท่า กันหมด บางคนก็ไม่สามารถไปเรียนต่อ ต่างประเทศได้ ผมคิดว่าการเรียนต่อ ต่างประเทศมันดีตรงทีว่ า่ ผมได้เปิดโลก ทัศน์ทก่ี ว้างขึน้ ได้เจอคนหลายๆประเทศ ต่างวัฒนธรรม จริงๆแล้วก็อยูท่ ต่ี วั เราด้วยนะ ถ้าจบทีเ่ มืองไทยมันก็เท่าๆ กันหมด คุณจบตรีศลิ ปากร จุฬาฯ ลาดกระบัง รังสิต ก็เริม่ จากศูนย์ 43


44


Rush Pleansuk รัฐ เปลี่ยนสุข

ปริญญาตรี ปริญญาโท ปัจจุบัน

รบกวนพี่ช่วยแนะนำ�ตัวให้ผู้อ่านด้วย ครับ พี่รัตน์ เปลี่ยนสุข เป็น สถาปนิก อินทีเรีย ดีไซเนอร์ แล้วก็ อาร์ตทิสด้วยนะครับ ก็ถามว่าทำ�ไม ถึงสนใจไปเรียนต่อฝรั่งเศส ทั้งๆที่มัน เป็นประเทศที่เราต้องไปเรียนภาษาใหม่ ทั้งหมดเลยใช่ไหม อืม ตอนแรกเราก็ นั่งเลือกเหมือนกันนะว่า ออปชั่นเรา มีอะไรบ้าง มีอังกฤษ เยอรมัน อิตาลี แล้วก็ฝรั่งเศส ไม่อยากจะเลยบอก ว่า พอเราเสิร์จเรื่องอิตาลีแล้วก็ เฮ้ย เทคโนโลยีมันไม่ได้ เป็นประเทศที่ล้าหลัง ด้านเทคโนโลยี เราก็เลยไม่ไป แต่ที่ ชอบอิตาลีเพราะว่ามันมีเรื่องของอาร์ต มีความเป็นอาร์ตแล้วก็เราเรียนสายส ถาปัตย์ฯมา แต่ก็รู้สึกว่าที่ทุกอย่างที่ อาจารย์อัดให้มันเป็นเทคนิคหมดเลย มันยังขาดสุนทรี ขาดความสวยงาม ไป ซึ่งเวลาเราทำ�งานไปสักพักนึงก่อน ที่พี่จะไปเรียนต่อคือพี่ทำ�งานก่อน แล้ว

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ École nationale supérieure d’architecture de Paris-La Villette ,France สถาปนิก และ อินทีเรีย ดีไซน์เนอร์ Plato ดีไซน์ไดเร็คเตอร์ บริษัท บี.พี.เอส มิลคอม จำ�กัด

จะได้รู้ว่าเวลาทำ�งานแล้วมันขาดอะไร ไป เวลาที่เราทำ�งาน เราทำ�กับคน ต่างชาติเลย เราก็เห็นว่าทำ�ไมเวลาเรา ออกแบบของเรามันเป็นสี่เหลี่ยม มัน เป็นเสา คาน ฝ้าธรรมดา ขณะที่เขา มันมีส่วนโค้ง ส่วนเว้า เรื่องการเลือก แมททีเรียล เราก็คิดว่า ทำ�ไมของเขา มันถึงต่างกับเรา แต่ของเราเป็นเทคนิค คอลทุกอย่าง พวกงานระบบ งานท่อ ระบบโครงสร้างเป๊ะ แต่มันออกมาแล้ว มันไม่มีความหมาย มันเป็นกล่องหนึ่ง กล่อง มันไม่ใช่งานสถาปัตยกรรม แต่ อิตาลียังไม่มีเทคโนโลยีที่พัฒนาเท่าไร เป็นประเทศที่conservativeมาก จะไปเยอรมัน เทคโนโลยีก็สูงมากเลย แต่เป็นคนที่ไม่ชอบงานออกแบบของ เยอรมัน เพราะงานมันดูแข็ง มัน ดู cold แล้วก็มันดูเป็นอินดัสเตรี ยลเกินไป แล้วก็ไปดูอังกฤษก็เป็น ประเทศที่น่าสนใจ แต่ว่าสุดท้ายแล้ว พี่ก็คิดว่า เอ๊ะ เนื่องจากค่าครอง

ชีพด้วยแล้วตอนนั้นประเทศฝรั่งเศส เนี่ย เรื่องการศึกษาค่อนข้างดี เรื่อง เทคโนโลยีค่อนข้างดีด้วย ไม่ว่าจะเป็น เรื่องของการพัฒนาแอร์บัส เรื่องของ การพัฒนาพวกอาคารหรือ conservative มันทำ�ค่อนข้างเยอะที่ฝรั่งเศส ซึ่งเรามีแบรคกราวน์ของความเป็น ไทยมา เราก็คิดว่า การไปเรียนต่าง ประเทศจะทำ�ให้เราได้เห็นตัวเราได้ชัดเจน มากขึ้นว่าเรามีพื้นฐานอะไร แล้วแตก ต่างจากแบรคกราวน์ทางด้าน history ของเขาอย่างไร แล้วเราสามารถดึงมัน ออกมา คิดว่าอังกฤษอาจจะไม่ใช่จุด หมายที่ไปแล้วก็ เนี่ยน่าจะเป็นประเทศ ฝรั่งเศส ก็เลยเลือกประเทศฝรั่งเศส ตอนนั้น แล้วในขณะเดียวกัน คือ ที่ มหาลัยในช่วงนั้นเนี่ย ก็ทำ�การแลก เปลี่ยนระหว่างเด็กจากฝรั่งเศสมาศึกษา ที่ประเทศไทยประมาณ 1 ปี ก็เลยมี คอนเนคชั่นกับเพื่อนทางนั้น ก็เลยเลือก เรียนที่ประเทศฝรั่งเศส 45


คือมีเด็กมาเรียนที่ไทยหรอครับ ใช่ครับ ก็มาเทคคลาสช่วงปีสี่ ขึ้นปีห้า มาเทคคลาสปีสี่ประมาณ 1 ปี ตอนนี้ก็ยังมีอยู่เรื่อยๆ พี่ทำ�งานมากี่ปีแล้วถึงจะไปเรียนต่อ พี่ทำ�งานประมาน 1 ปีครึ่ง แล้วก็ไปเรียนต่อด้านภาษาอีกประมาณ ครึ่งปี จริงๆเรียนภาษาเตรียมตั้งแต่ เรียนที่เมืองไทยอยู่แล้ว ประมาณสัก สองเดือน แล้วก็ไปเรียนต่อฝรั่งเศสสัก สามเดือนซึ่งเป็นช่วงซัมเมอร์ คือมันก็ เลือกได้ ถ้าเกิดเราไม่อยู่ซัมเมอร์ เรา ต้องเรียนภาษาให้ครบหนึ่งปี ตอนแรก เราก็คิดว่าเราเก๋า เราเรียนภาษาที่ เมืองไทยมาสองเดือน แล้วไปเรียนต่อ ที่ฝรั่งเศสสามเดือน เราก็คิดว่า รอด แน่! โอ้โห!ช่วยไม่ได้เลย ภาษาทุกอย่าง มันแบบแล้วสุดท้ายก็คือว่าพอเราเรียน คลาสสุดท้ายในเดือนที่สามเนี่ย เหมือน กับว่า มหาลัย วิชาสคูล อย่าเรียกว่า มหาวิทยาลัย เพราะมหาวิทยาลัยไม่มี สถาปัตย์ฯ school of architecture เนี่ย มันเปิดพอดี ซึ่งเป็นเดือนสุดท้ายที่ เราต้องเรียนภาษามันก็ไม่ได้เรียนภาษา มันก็กลายเป็นต้องไปสอบ เพื่อจะเข้า เรียนต่อทางด้านสถาปัตย์ฯ ก็ภาษา ไม่ได้นะ ก็ต้องดื่มเหล้าไปก่อน ดื่ม เหล้าย้อมใจเพื่อแบบ กินกั๊มป์ หมาก ฝรั่งดับกลิ้น แต่ว่าพออาจารย์ดูพอร์ท เห็นงานทำ�มาแล้ว เรารู้สึกว่า เรา เลือกทางด้านงานไม้โดยเฉพาะ เขาก็ รับเข้าไป พอเข้าไปเรียนสี่เดือนแรก ไม่รู้เรื่องเลย ก็มีเพื่อนช่วย เพื่อนที่ ฝรั่งเศสก็มาช่วยสอนให้ ช่วยติวให้ ตอนเย็น ก็กล้ำ�กลืนจนเรียนจบไปด้วย เพื่อนส่วนใหญ่เป็นคนฝรั่งเศสหรือเปล่า ครับ เอ่อ มันเป็นคลาสที่น่าสนใจ มันเป็นคลาสที่ไม่ได้เป็นคลาสที่เด็กจาก เมืองนั้นมาเรียนที่เดียว คือเป็นคลาส ที่ในประเทศฝรั่งเศสมีแค่สองคลาส ก็ คือมีเมือง นองซี่ แล้วก็มีเมืองบอกโต ที่พี่เรียนอยู่ มันจะเป็นคลาสวิชาโดย เฉพาะเกี่ยวกับทางด้านงานไม้ เพราะ 46

ว่าตอนนั้น ทางฝรั่งเศสแล้วก็ทางยุโรป ออกกฎหมายใหม่ คือ HQE เป็น กฎหมายเกี่ยวกับ High Quality Environmental ซึ่งวัสดุที่ใช้ก่อสร้าง มันจะต้องเข้าระบบนี้แล้วเขาจะต้อง ประเมินก่อนว่าคานตัวนี้มี HQEเท่าไหร่ แล้วก็ไม้กลายเป็นวัสดุที่ HQE นำ�กลับ เข้ามาใช้ใหม่ ก็เลยมีการตั้ง school 2 แห่ง ที่เป็นสถาปัตย์ฯด้วย แต่ว่า specializeทางด้านนี้ มันก็เลยมีเด็ก จากตั้งแต่ตอนเหนือ ตอนกลาง จาก เกาหลี เลบานอน อะไรแบบนี้มาเรียน แต่หลักๆก็คือคนฝรั่งเศสแต่จะไม่ใช่เด็ก ฝรั่งเศสที่อยู่ในเมือง เป็นคนฝรั่งเศส ที่มาจากทั่วประเทศเลยก็จะมาเรียนที่ คลาสตัวนี้ตัวเดียว

แบ่งกลุ่มกัน ซึ่งหนึ่งกลุ่มก็จะคละกัน ตั้งแต่นักวิทยาศาสตร์หนึ่งคน วิศวกร หนึ่งคน แล้วก็สถาปนิกหนึ่งคน ก็จะ เป็นกลุ่มแบบนี้ คือมันไม่ได้เริ่มทำ�งาน ด้านสถาปัตย์ฯอย่างเดียว ก็จะทำ�งาน ตั้งแต่ เป็นเรื่องของอาร์ตเลยตั้งแต่ แรก งานอาร์ตกับทางด้านงานไม้เพื่อ จะได้เข้าใจเรื่องของเท็กส์เจอร์ เข้าใจ สี เข้าใจกลิ่น เข้าใจเนื้อไม้ แล้วก็เรียน ไปถึงทางด้านชีววิทยา กระทั่งแบบเห็น ฝุ่นที่มันออกมาจากรูแล้วบอกว่าเป็นขี้ ของแมลงอะไร เรียนตั้งแต่แบบชีวะว่า เซลล์ของไม้มันประกอบด้วยโครงสร้าง อะไรบ้าง แล้วโครงสร้างตัวไหนที่ทำ�ให้ อาคารก่อสร้างมันแข็งแรง โครงสร้าง ตัวไหนที่มันไม่มีแล้วทำ�ให้โครงสร้าง อาคารพัง ซึ่งมันมาจากในเซลล์ของ อย่างนี้ก็มีคนต่างชาติจำ�นวนน้อย ไม้เลย สุดท้ายก็เรียนเรื่องของการ ก็ 1 2 3 4 5 5คน ซึ่งตอน ออกแบบโครงสร้าง ให้วิศวกรคำ�นวณ ที่ไปสัมภาษณ์เนี่ยก็เจอผู้หญิงเอเชีย 2 แรง เราก็ทำ�งานร่วมกับวิศวกรว่า คน เป็นคนเกาหลีหนึ่งคน แล้วก็อีกคน ออกแบบยังไงให้โครงสร้างมันสวย ใน ตอนแรกพี่คิดว่าเขาเป็นคนจีน ก็เลยไม่ ขณะที่มันก็รับน้ำ�หนักได้ คือเราต้อง ค่อยกล้าทักกัน ซึ่งตอนพรีเซนในวิชา รู้ว่าโครงสร้าง แรงอัด แรงดึง ของ เขาบอก เอ้า พรีเซนสิ พี่ก็บอกว่าพี่มา ไม้เป็นอย่างไร เนเจอร์ของไม้เวลาทำ� จากเมืองไทย ผู้หญิงคนจีนคนนั้นก็เด้ง โครงสร้างขนาดยาว หรือทำ�พวกทรัส ขึ้นมาบอกว่า เฮ้ย! ฉันเป็นคนไทย แล้ว มันต้องทำ�อย่างไร ก็คือต้องเรียนไป ก็ไม่กล้าคุยกับพี่เพราะคิดว่าพี่เป็นคน พร้อมกันสามคนอย่างนี้ เขมร (หัวเราะ) อะไรแบบนี้ เราก็ เออ เจอเพื่อนคนไทยที่นั่นหนึ่งคน ซึ่งจริงๆ เหมือนกับว่าเราทำ�งานเป็นกลุ่มแต่ แล้วเป็นเมืองที่คนไทยน้อยมาก เราไป ทำ�งานกันคนละด้าน? เลือกเรียนที่นี่เพราะว่า เราคิดว่ามัน ใช่ๆ จริงๆ ก็คือเวลาอาจารย์ให้ ต้องตรากตรำ�ลำ�บากนิดนึง เพื่อให้ ทำ�โปรเจคก็คือทำ�สามคน แต่เวลาสอบ ศึกษาภาษาได้เร็ว ถ้าเกิดไปอยู่กับคน ก็คืออาจารย์แยกออกไปเป็นสองทีม ก็ ไทยก็ลำ�บาก สุดท้ายก็ไปเจอเพื่อนคนนี้ คือทางด้านวิศวะกับวิทยาศาสตร์ อีก ที่นั้น ก็เป็นเรื่องประหลาด เพราะเรา กลุ่มหนึ่งก็คือทางด้านสถาปัตย์ฯ ซึ่ง ก็คิดว่ามันต้องเป็นคนจีนแน่ๆ ถ้าสถาปัตย์ฯไปสอบทางด้านวิศวะก็คง ตก (หัวเราะ) แต่วิศวะมาสอบทางด้าน แล้วหลักสูตรวิชาที่เรียนด้านเฉพาะไม้ สถาปัตย์ฯก็คงไม่ได้ เป็นสายเฉพาะด้านสถาปัตย์ฯหรือเปล่า ครับ ไม่เคยเห็นที่ไหนเรียนผสมกันแบบนี้ อ้อ ไม่ใช่ คือในวิชาที่เรียนส ใช่ๆ คือเราทำ�ผ่านเทสทุกอย่าง ถาปัตย์ฯที่เป็นปริญญาโท มันจะไม่ใช่ พร้อมกัน มันก็ evaborate มันเห็น วิชาที่เป็นสถาปัตย์ฯโดยเฉพาะ คือ โปรเซสทุกอย่างเลย คือมันก็จะไม่ใช่ เป็นวิชาที่รับคนสามสาขา ก็คือมี นัก เรื่องความสวยงานซะอย่างเดียว จะ วิทยาศาสตร์ วิศวกร แล้วก็สถาปนิก เป็นเรื่องของโครงสร้างด้วย เป็นเรื่อง ก็คือเวลาเข้าไปเรียน เขาก็จะแบ่งคลาส ของคือเวลาเราใช้ไม้เนี่ย มันค่อนข้าง


ยากคือเราต้องใช้นักวิทยาศาสตร์ด้วย เพราะว่ามันมีเรื่องของชีวะอย่างการ วางเสี้ยนไม้ ถ้าวางไม่ถูกโครงสร้าง ก็พังซึ่งการวางเสี้ยนไม้มันก็เกิดจาก เซลล์เซลลูโลสของไม้มันก็ไปอ้างอิงทาง ด้านวิทยาศาสตร์มันก็เลยต้องกลมๆ กันทั้งสามคนแล้วทำ�งานไปด้วยกันก็ ผ่านโครงการมาก็หลายโครงการแล้ว ก็ได้ประกวดพวกโครงการไม้ทางที่นั่น ด้วยก็ถือว่า success ในระดับการ ออกแบบโครงสร้างหลักสูตรค่อนข้างดี

เองก็เริ่มจะไม่สนับสนุนเรื่องการใช้เหล็ก แล้วก็ไม่สนับสนุนเรื่องการใช้ปูน เพราะ ว่าเหล็กกับปูนเป็นวัสดุที่ต้องถลุง แล้ว ก็เป็นวัสดุที่หาทดแทนไม่ได้ หมดแล้ว หมดเลย ก็เลยเปลี่ยนมาเป็นงานไม้ ซึ่งค่าเรียนก็ไม่แพงมาก

ทำ�ไมถึงเลือกเรียนทางด้านงานไม้ครับ จากแบรคกราวน์หรือเปล่าที่เคยทำ�ไม้ งานไม้สัก ใช่ คือ อย่างที่พี่บอกครับว่า เราไปเรียนต่างประเทศเพื่อให้รู้จักตัวเรา หลักสูตรอื่นๆเป็นยังไงบ้างครับมีเฉพาะ มากขึ้น แล้วทำ�ไมเราถึงเลือกเรียนที่ ด้านแมททีเรียลหรือเปล่า ประเทศฝรั่งเศสเพราะว่า เป็นประเทศที่ ไม่ค่อยมีนะครับ เพราะว่า เขาพยายามรีเสิร์ชทางด้านแบรคกราว จริงๆเรื่องงานไม้นี่เป็นงาน specialist น์ แล้วก็ทำ�งานทางด้านของรีโนเวท ของวัสดุเลยที่เหลือก็จะเป็นด้านของ คือมีเรื่องราวมา แล้วการที่เราไปเรียน ambeance เรื่องของสภาวะแวดล้อม ของเขา เพราะว่าประเทศเราทำ�บ้านไม้ สภาวะทางด้านที่อยู่อาศัย ซึ่งก็จะ มาก่อน ซึ่งตอนนี้มันก็หายไป วัสดุที่ เป็นเรื่องเกี่ยวกับงานระบบ แต่ที่เป็น เป็นไม้ก็หายไป พอเราเข้าไปเรียนเราก็ สเปเชี่ยลเฉพาะทางด้านวัสดุนี่จะเป็น จะเห็นว่าเทคโนโลยีใหม่ๆเป็นยังไง แล้ว เฉพาะทางด้านงานไม้ เพราะว่าตอน เราก็จะเห็นว่า ตัวนี้บ้านเรามีแปลก นั้นเป็นกฎหมายที่ออกมาใหม่ แล้วเขา กว่าของเขา มันทำ�ให้เราทำ�งานได้น่า

สนใจมากขึ้น ออกแบบได้น่าสนใจมาก ขึ้น ทำ�ให้เราเห็นว่า อันนี้คือรูปแบบที่ ประเทศเรามี ประเทศเขาไม่มี แล้วมัน โดดเด่นกว่าของเขา หรือว่าไอ้นี่เป็นรูป แบบที่เขามี มันน่าเอามาใช้ มันทำ�ให้ เรียกว่า เราไม่เริ่มจากศูนย์ เราเริ่ม จากเนื้อหาหรือว่าตัวตนที่เรามีอยู่ ก่อนหน้าที่จะไปฝรั่งเศส ช่วงที่ทำ�งานนี่ ทำ�งานไม้หรือเปล่าครับ เอ่อ ไม่ จริงๆ ก็คือ พี่เอง ชอบทำ�งาน urban มากกว่า ตอนที่ จบ ทำ�งาน urban ด้วยซ้ำ�ไป ตอนที่ ทำ�เรื่องเคสเรื่องของสยามสแคว์ อย่าง พวกเราปกติเวลาทำ�วิทยานิพนธ์ เรา ก็ต้องบอกว่า building type คือ อะไรใช่ไหม แล้วเราก็เสนอหัวข้อ วิทยานิพนธ์ไป อาจารย์พี่เขาบอกว่า เอ้า โอเครัฐ เธอเสนอหัวข้อวิทยานิพนธ์ หน่อยสิ อาคารเธอจะเป็นฟังก์ชั่นอะไร พี่ก็บอกว่า อาคารผมไม่มีฟังก์ชั่นครั บ (หัวเราะ) ฟังก์ชั่นผมเกิดจาก การ ศึกษาพื้นที่โดยรวมของสยาม ตอน 47


นัน้ ก็จะเป็นช่วงแบบ TK ผ้าเช็ดหน้าอะไร อย่างนี้ คนก็จะเดินสยามกันเต็มไปหมด เลย เราก็บอกว่าเราอยากจะศึกษาแล้ว ก็หาฟังก์ชน่ั ของพืน้ ทีใ่ นสยามแล้วสร้าง ให้เป็นอาคารทีร่ วบรวมความต้องการ ของคนตรงนัน้ มา มันก็เลยเป็นรีเวิรส์ ขึน้ า แต่ตวั ของตัวเอง ชอบในเรือ่ งของ สถาปัตยกรรมไทย เรือ่ งของงานไม้ ชอบออกฟิลด์กบั อาจารย์อยูแ่ ล้ว เราก็ จะเห็นว่า เวลาทีเ่ ขาทำ�งานเหล็ก รูส้ กึ ว่า มันง่ายมาก มันง่ายเกินไป งานเหล็ก หาแนวเชือ่ มให้มนั ถูกต้อง ซึง่ มันไม่เหมือน กับเรือ่ งของงานไม้ ซึง่ งานไม้ในตัวของ วัสดุมนั มีไดเมนชัน่ ซึง่ ค่อนข้างลึก และ คิดว่ามันน่าเรียนกว่า ก็เลยไปเรียน แล้ว เป็นคลาสทีน่ า่ สนใจทีร่ วมเอาสามอาชีพ เข้ามาด้วยกัน มันเหมือนเป็นแลปเล็กๆที่ ให้เราเข้าไปทำ�งานหลังจากเราจบออกมา การที่เราจะเข้าไปเรียนต้องเตรียมตัว ยังไงบ้างครับ โดยทั่วไปอย่างของฝรั่งเศสนี่ไม่ ได้ซีเรียสมาก แต่วุฒิตอนนี้มันไม่มีแล้ว

48

นะที่ยุโรป เพราะว่าเปลี่ยนระบบการ ศึกษา อย่างของพี่นี่คือ DESS ก็คือ ปริญญาโททางด้านวิชาชีพ แล้วก็จะ มี DEA ก็จะเป็นเหมือนกับเราเรียนจบ ทางด้านปริญญาโททัว่ ไปก็จะเป็นทำ�เรือ่ ง วิจัยศึกษาวิธีการวิจัยแล้วก็ทำ�ผลวิจัย ซึ่งมันไม่ใช่ทางด้านวิชาชีพ ซึ่งถ้าเป็น พวกงานสถาปนิกเขาจะให้เรียนทางด้าน เทคนิคคอลไปเลยแล้วตอนนี้ก็เปลี่ยน ระบบการศึกษา ซึ่งตอนนี้DESSก็จะ ไม่มีแล้วในฝรั่งเศส ตอนที่เข้าไปเรียนก็ summit ผลงาน สอบสัมภาษณ์ แล้ว ก็เทส มีเทสเล็กๆกับอาจารย์ จริงๆ มันเหมือนกับสมัครงานมากกว่าแหละ เขาก็ดูว่า เวลาทำ�งาน เอางานมาโชว์ให้ เขาดูแล้ว เวลาจบไป เราสามารถจะ เอาชื่อเสียงของโรงเรียนไปให้คนอื่นเขา รู้จักได้หรือเปล่า น่าจะเป็นอย่างนั้น มากกว่า เขาถึงเลือกรับงานของเราไป มีอุปสรรคทางด้านไหนบ้างไหมครับ ทางด้านวิชาชีพก่อนนะ เรา คิดว่าเราเรียนกันมาแล้วเราไปเรียนต่าง

ประเทศ แล้วเราคิดว่าเราเรียนฝรั่งเศส แล้ว พวกศัพท์เทคนิคที่เราเรียนในมหา ลัยเราเริ่มใช้ภาษาอังกฤษเรียนกัน เรา ก็คิดว่าเทคนิค เสา คาน โครงสร้าง คอนกรีต คสล ทรัส อย่างนี้ ภาษา อังกฤษที่เราใช้อยู่ทั่วไปคิดว่ามันเป็นยูนิ เวิลซัล โอ้โห! ไม่ใช่เลย เขาไม่ใช้ระบบ เสา คาน เขาใช้ระบบผนังรับน้ำ�หนัก แล้วมันไม่ใช่เสาปกติ คือ เสา-คานก็ คือ เสาใหญ่ ผนังไม่ได้รับน้ำ�หนักอะไร เลย เอาเสามาวางเฉยๆ กลายเป็นว่า ของฝรั่งเศสก็คือ โครงสร้างผนัง ก็ คือเป็นการซอยเสาเล็กๆไปหมดเลย โอ้ โห! เป็นแบบเฮ้ย! โครงสร้างที่เราเรียน มา ระบบการวางท่ออะไรไม่เหมือนกัน หมดเลย ก็เลยเป็นปัญหาค่อนข้างเยอะ เหมือนกัน เรียกว่าเริ่มจากศูนย์ เขาใช้โครงสร้างเหล็ก ก็จะเป็นระบบ wall frame เป็นส่วนใหญ่ พอทำ� เรื่องพวกนี้เยอะๆ ก็จะมีเรื่องของ joint เยอะ joint ในการเอาผนังเข้า jointในการกันลม joint ในการตั้งผนัง ขึ้นแล้วก็ยึดกับตัวฝ้าตัวอาคาร ในการ


ร้อยท่อ ระบบไฟ ลืมไปเลย ระบบที่ เราเคยเรียนทั่วไป ถามว่ามันน่าสนใจ ไหม มันก็ดีครับ แต่ว่าเมืองไทยยัง ไม่เหมาะกับเรื่องของงานเมททัลเท่าไร คนไทยไม่ค่อยได้ใช้ เพราะว่าอย่างแรกก็ คือเรื่องของ heat ของเขามีทำ�ฉนวน เยอะ ของเราไม่ต้องการทำ�ฉนวน วัสดุมันก็ถ่วงความร้อนไว้เยอะ แต่เรา ก็เลือกปรับใช้ได้ครับ ระบบเสาคาน ก็ยังมีในอาคารบางประเภท แต่ที่เขา เรียนกันก็เป็นเรื่องของระบบ frame work ซะเป็นส่วนใหญ่ ก็ศัพท์ทุกอย่าง เริ่มจากศูนย์ครับ ใ ช้ศัพท์ภาษาอังกฤษ คนฝรั่งเศสไม่ค่อยเข้าใจเลย แม้กระทั่ง ศัพท์ทางด้านวิชาชีพนะ เพราะว่า วิชาชีพสถาปัตยกรรม วิชาชีพทาง ด้านก่อสร้าง เป็นวิชาชีพที่ดั้งเดิมของ วัฒนธรรมแต่ละวัฒนธรรม ฝรั่งเศส ก็พัฒนาวิชาการก่อสร้างของเขาเอง อเมริกัน อังกฤษ ก็พัฒนาของเขา เอง คนไทยก็ใช้วิชาการทางก่อสร้าง ของเราเอง เพราะฉะนั้นหน่วยของคน ไทยก็จะไม่เหมือนของประเทศอื่น ศัพท์ ช่างของคนไทยก็จะไม่เหมือนประเทศอื่น มันก็เช่นเดียวกัน ไอ้ศํพท์ตัวนี้ที่เราคิด ว่า มันเป็นภาษาอังกฤษเนี่ย พูดให้คน ฝรั่งเศสฟังน่าจะเข้าใจ เพราะว่าฝรั่ง เขาพูดให้เราเรื่องระบบโครงสร้าง เรา ไม่เข้าใจเลย ต้องเริ่มกันตั้งแต่แบบว่า คือนอกจากจะเรียนศัพท์ภาษาฝรั่งเศส ในชีวิตประจำ�วันแล้ว ยังต้องเรียนดิก ชั่นนารีเป็นศัพท์เทคนิกเฉพาะของทาง ด้านงานสถาปัตยกรรมฝรั่งเศส ซึ่ง มันมีดีเทลของวัฒนธรรมเยอะ มันเป็น ศัพท์เทคนิคที่ว่า ไม่ว่ารายละเอียดจุด ไหนมันก็มีชื่อเรียกเฉพาะทุกตัวเลย ก็ ค่อนข้างโหดเหมือนกัน เหมือนเรือนไทยที่มีชื่อเรียกเฉพาะแบบ นั้นหรือครับ ใช่ๆ แต่นี่คือแบบ อันนี้คือ เรือนไทย เรือนไทยของเรามันมีแค่ period เดียว ในขณะที่ของเขามันมี หลาย period มากที่เขา registorเขา record กันไว้ ซึ่งหมายความว่าดีเทล เรือนไทยสักสองร้อยสามร้อยคำ� คูณ

ไปอีกประมาณสองร้อยเท่า เพราะว่า มันมีประวัติศาสตร์ในการก่อสร้างมา ตั้งแต่สมัยเมโสโปเตเมียแล้วมัน record text ศัพท์เทคนิคทุกอย่างเลย แล้ว พอเราเรียนแล้วแบบ เฮ้ย! อะไรวะ (หัวเราะ) เปิดดูก่อนนะครับ อะไรอย่าง นี้ ประมาณนั้น (หัวเราะ)

idไปให้อาจารย์ตรวจ แล้วอาจารย์ถาม ว่า มันไม่ practical คุณจะก่อสร้าง อย่างไร คำ�ถามว่าคุณจะก่อสร้าง อย่างไร มันไม่ใช่คำ�ถามทีค่ วรถาม สถาปนิก มันคือคำ�ถามทีค่ วรถาม วิศวกร แล้วเราก็จะเจอคำ�ถามอย่างนี้ แต่อาจารย์ทฝ่ี รัง่ เศสไม่ถามเลยว่าคุณ ก่อสร้างอย่างไร แต่ถา้ เกิดคุณสามารถ แบบนี้ก็เหมือนกับเราไปเรียนพื้นฐาน ศึกษาคร่าวๆได้ เรือ่ งของวิธกี าร ของเขาเลย ก่อสร้างอย่างนีไ้ ด้ คุณเอามาให้ผมดู ใช่ จริงๆมันควรจะมีวิชาอีก หน่อย แต่จะไม่ถามถึงเรือ่ งดีเทลว่าคุณ หนึ่งวิชา คือวิชาศัพท์สถาปนิกอีกหนึ่ง จะเข้าลึกเข้าน้อย มันไม่ใช่นา่ ทีข่ องเรา วิชาไปเลย (หัวเราะ) อันนี้คือสิ่งที่ถ้าคน มีหลายครัง้ แม้กระทัง่ อาชีพของดีไซเนอ จะไปเรียนต่อก็ควรจะต้องเตรียมเรื่อง ร์เหมือนกัน คนจะถามว่า เอ๊ะ! ทำ�ไม ศัพท์สถาปนิกให้เข้าใจ อย่างน้อยก็ต้อง ดีไซเนอร์ไม่เข้าใจโปรเซสในการผลิตสินค้า เอามาอ่านแล้วล่ะ ดีไซเนอร์ไม่ใช่คนทีต่ อ้ งเข้าใจในการผลิต สินค้า ดีไซเนอร์เป็นคนทีต่ อ้ งสร้างเท จากหลักสูตรที่มีคนต่างกันสามสาขา รนด์ใหม่ขน้ึ มาแล้วเอาโปรดักชัน่ เข้ามา มาเรียนและทำ�งานร่วมกัน เปลี่ยน เสริฟ ไม่ใช่ดไี ซเนอร์เป็นคนทีต่ อ้ งตาม ทัศนคติ มุมมองพี่ไปในทางไหนบ้าง โปรดักชัน่ โปรดักชัน่ เป็นคนทีต่ อ้ งตา ครับ มดีไซน์เนอร์ หน้าทีข่ องเราคือ หน้าที่ อืม อันแรกเลยนะ ไม่รวู้ า่ ในการสร้างสรรค์ผลงานทีม่ นั มีความ สคูลอืน่ เป็นหรือเปล่า แต่สคูลนีม้ แี ล้ว น่าสนใจ แล้วก็เทคนิคทีเ่ หลือ เวลาที่ รูส้ กึ ว่าเป็นสิง่ ทีป่ ระเทศไทยต้องมี แล้ว เข้าไปทำ�งานเหมือนกัน ทีฝ่ รัง่ เศสคือ พีจ่ ะสอน เวลาไปมหาลัย จะสอนเด็ก สถาปนิกคือวิชาชีพทีแ่ บบ โอ้พระเจ้า อย่างหนึง่ ก็คอื ว่า เวลาทีเ่ ราตรวจงาน มากเลย! จะสเก็ตช์อะไรก็ได้ แล้วก็ อาจารย์ในเมืองไทย อาจารย์ชอ้ี ย่าง ส่งไป แล้วก็จะมี “บูโกเอตูท” คือเป็น แรกจะชีอ้ ะไร จะชีจ้ ดุ บกพร่อง จะ เหมือนกับคล้ายๆกับรีเสิรช์ engineer ชีว้ า่ อย่างนีไ้ ม่มี แก้อย่างนีๆ้ ขณะที่ consulting นีแ่ หละ เขาก็จะพยายาม ฝรัง่ เศสจะไม่ใช่ ฝรัง่ เศสจะเริม่ จากจุดดี ทำ�ให้ได้ตามรูปแบบทีเ่ ราต้องการ เขา ก่อน บอกว่า อันนีข้ องคุณ ตรงนีด้ ี ถึงพัฒนาทางด้านวิศวกรรม ถ้าเกิดว่า มาก อันนีเ้ ป็นจุดทีค่ ณ ุ ควรจะเก็บรักษา วิศวะเขาบอกว่าไม่ได้ทำ�อย่างนีน้ ะ แล้ว ไว้ แล้วลองดูซวิ า่ ตรงนีค้ ณ ุ จะปรับได้ วิศวกรรมประเทศเขามันจะพัฒนาไหม ไหม คือเขาให้ความสำ�คัญในความเป็น ถูกไหม อันนีก้ ค็ อื สิง่ ทีเ่ ราอยากจะให้ ปัจเจกของคน คือเชือ่ ว่ามันไม่มงี าน ทุกคนแล้วก็นกั ศึกษาเห็นความแตกต่าง อะไรทีม่ นั เพอร์เฟค และงานเพอร์เฟค หน้าทีเ่ ราคือไร หน้าทีเ่ ราไม่ใช่วศิ วกร ไม่ใช่แปลว่างานทีด่ ี งานเพอร์เฟคเป็น หน้าทีเ่ ราคือออกแบบให้มนั มีความหมาย งานทีม่ นั น่าเบือ่ งานศิลปะไม่ใช่งานเพ มีเนือ้ เรือ่ ง มีเนือ้ หา ไม่ใช่ไปตามระบบ อร์เฟค แต่เป็นงานทีม่ ดี เี ฟลคทีน่ า่ สนใจ วิศวะ วิศวะเป็นคนทีต่ อ้ งตามความ เพราะฉะนัน้ ควรจะทำ�ยังไงก็ได้ ให้เอา ต้องการในการออกแบบให้มนั ถึงจุดสุด คาแรคเตอร์ของคุณออกมา แล้วทำ�ให้ ยอดได้ เพราะฉะนัน้ คนทีม่ องเรือ่ งของ งานน่าสนใจ ถามว่าถ้ามันเป็นprac- philosophy เรือ่ งของ theory มัน tica lทัง้ หมดจะเกิดงานอาคารแบบ เป็นหน้าทีข่ องสถาปัตยกรรม ซึง่ ต้อง Zaha Hadid ไหม แล้วถ้าเกิดเรา เอาวิศวะเข้ามา support ในความเชือ่ เอางาน Zaha Hadid มาเป็นของ ของเรา ครับ นีเ่ ป็นสิง่ ทีเ่ ราควรจะต้อง เรา โดยไม่ได้ใช้ชอ่ื Zaha Hadเก็บเอาไว้ 49


ตอนพี่เรียนใช้เวลากี่ปีครับ มีคำ�แนะนำ�อะไรที่จะฝากถึงน้องๆที่จะ ของพี่เรียนปีครึ่ง แล้วไปฝึกงาน ไปเรียนต่อไหมครับ อีกครึ่งปี โอ้ย! อย่าเพิ่งไปเรียนต่อเลยฮะ คือไม่จำ�เป็นต้องทำ�งานก่อนก็ได้ ให้มัน อ้อ ฝึกด้านไหนครับ รู้จักตัวเองก่อนว่าเราชอบแล้วอยากเป็น ก็ฝึกกับบริษัทสถาปนิก อะไร คือเรียนต่อมันใช้เงินเยอะ ถ้า เลย เพราะว่าไปเลือกทำ�งานกับบริษัท บ้านรวยก็เรียนไปเหอะนะ เรียนไรก็ ที่ทำ�งานสถาปัตยกรรมเกี่ยวกับทาง จบไป ก็เรียนไปเถอะ ให้มันรู้ก่อนว่า ด้านงานไม้เป็นหลัก อาจารย์ก็จะส่งไป เรารักอะไรกับมันจริงๆนะ พี่เชื่อว่า ไม่ คุณไปเรียนกับที่นี่นะ ก็ 6 เดือน ว่าน้องเล่นหุ้น ขายหมูปิ้ง น้องก็ดัง ได้ หมูปิ้งอร่อยๆคนก็ดัง ขายบะหมี่ เล่าประสบการณ์การทำ�งานให้ฟัง เกี๊ยวมันก็ดัง ทำ�อะไรขอให้ทำ�ด้วยใจ หน่อยครับ รักจริงๆ ไม่ต้องห่วงหรอกฮะว่าเรา ฮ่อ! ก็ตบตีกันแทบตาย จะทำ�ในสายสาขาที่เราเรียนหรือเปล่า (หัวเราะ) อันแรกก็คือ เราก็ทำ�งาน จริงๆนะ หรือถ้าหากว่าเรารักสาขา มาก่อนในระบบโครงสร้างอีกโครงสร้าง ที่เราเรียนจริงๆ อันนี้ต้องถามตัวเอง หนึ่ง แล้วก็ภาษาเรามันก็ไม่ได้เป๊ะ นะว่าเราจะอยู่กับมันแล้วมันก็ต้อง คือ เหมือนฝรั่งเศสทั่วไป แต่ว่าที่พี่ชอบก็ เรียนหนักยังไง จบมา มันก็หนักกว่านั้น คือ ตอนเข้าไปทำ�งานเนี่ย ถ้าเกิดเป็น การที่มันไม่ได้นอนถ้าอยู่อย่างนั้นไหว บริษัทเมืองไทยก็คือ วาดห้องน้ำ� พอ ได้ สามสิบปีก็อยู่ (หัวเราะ) ก็ถือว่า จบไปก็จะได้วาดห้องน้ำ� หรือไม่ก็เรนเด เราเลือกเฉพาะส่วนที่เรารักจริงๆ หา อร์ทรีดี แต่ว่าที่พี่ไปทำ�งานก็คือ เขา ให้มันรักมันได้ คืออย่างน้อย น้องไม่ จะไม่ให้เราทำ�พวกดีเทลพวกนี้ เขาจะไม่ ได้หลับได้นอนก็ยังมีความสุข ดีกว่าไม่ ให้มานั่งเขียนบงเขียนแบบเท่าไร เขาก็ ได้หลับไม่ได้นอนแล้วไม่มีความสุข ใช่ไหม ไปออกแบบตัวอาคารเลย เราก็ถามว่า นั้นถามว่า จบมาต้องทำ�งานไหม ก็ทำ� เอ๊ะ! ทำ�ไมให้เราออกแบบอาคารเลย ฮะ ทำ�ที่เราอยากทำ�ดีกว่านะ จริงๆ เขาก็บอกพี่ว่า ก็เขาจบมาหลายปีแล้ว ไปลองทำ�ทดลองดูก็ได้อย่างออฟฟิศพี่ เขาทำ�งานมานานแล้ว เขาไม่รู้หรอกว่า ก็มีน้องที่มาฝึกงาน มันก็มาทำ�งานให้ เทรนด์ปัจจุบันเป็นอย่างไร คุณเรียน มันไปฝึกมา 4 ที่ ฝึกทางด้านแฟชั่น อยู่ที่มหาลัย เรียนอยู่ที่สคูล คุณรู้ว่า ฝึกทางด้านออกแบบกราฟิค มาลอง เทรนด์ของอาคารเป็นอย่างไร เพราะ เฟอร์นิเจอร์ ลองอินทีเรีย มันไม่รู้มัน ฉะนั้นคุณคือคนปัจจุบันคุณต้องเป็นคน ชอบอะไร อยากมาลองให้มันเห็นว่ามัน ออกแบบ ผมซัพพอทด้านเทคนิคคอล ชอบทางด้านอะไร เรียนมาทางด้าน ให้ เราก็โอ้พระเจ้า แต่ว่างานก็หนัก กราฟิค ก็สุดท้ายก็คงหาเจอแล้วแหละ ครับ ก็จริงๆงานก็หนักเหมือนในเมือง เขาไปเรียนต่อทางด้านที่เขาชอบ คือ ไทยนี่แหละ แต่มันหนักกว่าเพราะว่า ถามว่า บางครั้งเราเอาอีโก้ของเรามา เวลาทำ�งานเสร็จแล้ว เขาก็เอาไวน์มา ตัดสิน อีโก้ วางให้ (หัวเราะ) เราก็ทำ�งานไปก็ดื่มไวน์ ของเด็กมัธยมโง่ๆหนึ่งคนมาตัดสินชีวิต เราก็โห! ก็ประมาณนั้น ชีวิตก็ดีฮะ เรา เราทั้งหมด มันก็อาจจะใช่ที่มันก็อย่าง เห็นมุมมองวิธีการใช้ชีวิตของคนที่มันก็ ที่รัฐบาลชอบถามว่า มันเสียดุลนะ แตกต่างกัน คุณเรียนด้านนี้คุณก็ควรจบไปด้านนี้ ถามว่า เฮ้ย! ตอนที่ฉันตัดสินใจ ฉันยัง ในออฟฟิสส่วนใหญ่เป็นคนฝรั่งเศสหรอ ไม่เห็นอะไร ไม่รู้อะไรในโลกนี้เลยใช่ไหม ครับ เราก็เรียนๆหนังสือไปตามที่อาจารย์ เป็นคนฝรั่งเศสแล้วก็อิหร่าน สอน เขาบอกว่าอย่างนี้ อาจารย์ หนึ่งคน อิหร่านก็เก่งมากเลยนะ แนะแนวบอกว่าต้องเป็นอย่างนี้ จริงๆ 50

มันไม่ใช่ อาจารย์แนะแนวไม่ได้จบอะไร ไม่ใช่หมอดูซะหน่อย ถ้าเป็นหมอดูแม่นก็ ว่าไปอย่าง เพราะฉะนั้นก็อย่าไปเอาเด็ก อายุสิบห้ามาตัดสินชีวิตเราทั้งหมดนะ ครับ ก็ทำ�ไป เรียนไป แล้วรู้ว่าอยาก ทำ�อะไรก็ทำ� ตอนนี้พี่อยากทำ�อะไร ก็ทำ� พี่ก็ทำ�งานอาร์ตของพี่ สักพัก หนึ่งพี่ก็ไปถ่ายรูป เอารูปไปขาย พัก หนึ่งก็ออกแบบเฟอร์นิเจอร์ ออกแบบ อินทีเรีย ทำ�บ้านให้ลูกค้า ลูกค้าก็ โอเค ก็เป็นคนต่างชาติเสียเป็นส่วน ใหญ่ แต่ว่างานก็หนัก ลูกค้าก็น่า รำ�คาญ (หัวเราะ) แต่ว่า มันเป็นงาน ที่เราชอบ คืออีโก้เราไปอยู่ที่ความ สวยงาม มันไม่ได้อยู่ที่เงิน เ พราะ ฉะนั้น valu eของเราไม่ได้อยู่ที่เงิน ลูกค้าน่ารำ�คาญแต่เราอยากให้งานออก มาสวย พอมันออกมาสวย ลูกค้าที่ เขาน่ารำ�คาญพอเขาเห็นงานเราแล้วเขา ก็ประทับใจ เขาก็อยากทำ�ให้เราทำ�งาน ต่อไปเรื่อยๆ ทำ�อย่างที่อย่างทำ�ดีกว่า ครับ


ปัจจุบันนี้ไม้สักในประเทศไทยหายาก ไหมครับ ไม้สักในประเทศไทย อันนี้ก็ เป็นปัญหาหนึ่งนะ คือ ตอนแรกเวลาที่ เราไปเรียนที่ฝรั่งเศสก็ เขาก็โปรเจคให้ ดูว่า ตั้งแต่ช่วงศตวรรษที่ 16 ป่าไม้ ลดฮวบๆลงเลย จนกระทั่งศตวรรษที่ 18 สมัยนโปเลียน นโปเลียนออกมาบ อกว่าให้ปลูกป่าต้นสน ป่าต้นสนเต็ม ไปหมดเลย เต็มพรึ่บไปหมดเลย แล้วก็ หลังจากนั้นพอเริ่มปลูกป่าต้นสนเพราะ ว่า อันแรกคือเขาใช้ในการกันชายฝั่งน้ำ� ทะลพัดเข้า แล้วก็มีใกล้ๆเมืองที่พี่เรียน จะเป็นแบบภูเขาทราย คล้ายๆกับทะเล ทราย ภูเขาทรายสูงเป็นกิโลเลยนะ ซึ่ง ถ้าไม่มีป่าสนที่นโปเลียนปลูกก็คือ จริงๆ เมืองนั้นน่าจะหายไปแล้ว คล้ายๆกับ บางขุนเทียนเรา ก็จะกั้นไว้ตั้งนานแล้ว แล้วก็หลังจากที่นโปเลียนปลูกป่าสน ก็ มาเป็นเริ่มยุคโมเดิร์น คนก็ปลูกต้นสน เยอะขึ้น เพราะว่าต้นสนใช้เวลาเก็บ เกี่ยวเร็ว สิบปีก็ตัดได้ สิบห้าปีก็ตัด ได้ แล้วเวลาที่ตัดต้นสน เวลาจะปลูก ใหม่ทำ�อย่างไร ปลูกใหม่ไม่ต้องขุดราก

ออก เพราะเวลาจะปลูกมันก็จะแน่นใช่ ไหม บางครั้งเราจะปลูกข้างๆมันก็เต็ม แล้ว เวลาจะปลูกต้นสนใหม่ เนื่องจาก มันเป็นไม้ดึกดำ�บรรพ์ เพราะอย่าง นั้นโครงสร้างเซลล์มันไม่ยาก เขาก็ผ่า ตรงกลาง แล้วก็เอาต้นสนใหม่ต้นเล็กๆ ปักเข้าไปตรงกลาง มันก็โตงอกมาจาก ต้นเดิมเลย ซึ่งก็หมายความว่ามันไม่ เสียพื้นที่อะไรเลย ถามว่า สมมติสิบ ปีเนี่ยพี่อยากปลูก พี่ทำ�สิบไร่ ปีที่สิบ ไร่ที่หนึ่งเก็บได้แล้ว ก็มีสิบไร่ในการเก็บ เกี่ยวหนึ่งครั้ง แต่ไม้สักมันใช้เวลาสี่สิบ ปี หมายความเวลาเราจะเก็บเกี่ยวหนึ่ง ครั้งเราต้องปลูกสี่สิบไร่ เพื่อจะได้เก็บ เกี่ยวได้ไร่เดียว ซึ่งมันเยอะมาก มัน ไม่ใช่สเกลที่ชาวบ้านปลูกได้ คนหนึ่ง ปลูกทีก็คือให้ลูกให้หลายเก็บไว้ คือ ตายแล้ว เพราะฉะนั้นไม้สักมันต้อง จัดการโดยภาครัฐบาล ไม่ใช่จัดการ โดยภาคของประชาชน ทำ�ไม่ได้ ถ้าจะ ปลูกก็ปลูกชิวๆได้ ปลูกเป็นแบบไม้ตาม คันนาได้ แต่ปลุกเป็นอุตสาหกรรมต้อง ทำ�จากรัฐบาล คือคนปลูกไม้ไหว cost มันเยอะ แล้วแถมไม้มันซับซ้อน จะ

ปลูกเพิ่ม เราไปผ่าตรงกลางเอาไม้ไป ซ้อนก็ไม่ขึ้น แล้วที่น่าเสียดายก็คือไม้ สักเมืองไทย กับไม้สักพม่าเนี่ยสีสวย สุดในโลกแล้ว เป็นไม้พันธุ์เดียวกันเลยนะ แค่ดินไม่เหมือนกัน เอาไม้พันธุ์เดียวกัน นี้ไปปลูกที่ลาวก็ขึ้นมาสีไม่เหมือนกัน อย่างนั้นก็มีแค่ที่ไทยกับที่พม่า แต่ไทย ก็ตัด ของพม่ามันเป็นประเทศที่เดิม มันเป็นอาณานิคมของอังกฤษ แล้ว อังกฤษเขาวางแผนปลูกป่ากันในสมัย นั้นเลย ภูเขานี้ก็เป็นภูเขาป่าสักหมด เลย เวลาตัดทีก็คือตัดทั้งป่า คือจริงๆ มันเหมือนกับเป็นป่าชุ่มชื้น แต่จริงๆมัน ไม่ใช่ เนื่องจากพื้นที่มันเยอะมาก มัน ขึ้นจนรอให้ต้นไม้มัน 40-50ปี ป่า ก็ถางไปทีเดียว ก็เลยแตกต่างกับการ ปลูกป่าไม้สนของฝรั่งเศส ก็คำ�ถาม ก็คือไม้หายากครับ และต้องใช้ไม้อื่น หรือว่าใช้ไม้สักให้มันคุ้มค่า จะเห็นว่า อย่างแบรนด์เฟอร์นิเจอรืที่เราทำ� โต๊ะ ใหญ่ๆเราจะไม่ใช้ไม้ต้นใหญ่ๆเข้ามาทำ� พี่ จะใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการเพิ่มพูน มูลค่า คือใช้ระบบอัดไม้ high feciency ให้ได้เป็นไม้แผ่นใหญ่

51


52


Surapong Lertsithichai สุรพงษ์ เลิศสิทธิชัย ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก ปัจจุบัน

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Master of Architecture, Yale University Master in Design stidies, Computer Aided Design , Havard University Doctor of Design stidies, Computer Aided Design , Havard University Assistant Professor, Mahidol University International College Assistant Professor, Faculty of Architecture ,Silpakorn University TM Design Co.,Ltd.

แนะนำ�ประวัติส่วนตัว ประวัติด้านการศึกษาและการทำ�งานคร่าวๆครับ ชื่อ อาจารย์สุรพงษ์ เลิศสิทธิชัย ชื่อเล่น อาจารย์เบน เมื่อปี 2531 เข้ามาเรียนที่ คณะสถาปัตย์ ศิลปากร ได้ 1 ปี แล้วย้ายไปเอนท์ที่จุฬาฯ และจบที่จุฬาฯ หลังจากนั้นทำ�งานที่ A49 ได้ 1 ปี เห็นเพื่อนๆไปเรียนต่อเลยไปบ้าง ก็สมัครมหาวิทยาลัยดังๆทุกที่ เช่น Yale Harvard Cornell Rise Columbia แต่สอบได้ที่ Yale University และ Columbia University ไปเรียนที่ Columbia ได้ 1 ปี ย้ายไปเรียนที่ Yale จนจบ 2 ปี หลังจากนั้นก็ กลับมาขอทุนเพื่อไปต่อปริญญาเอก เพื่อไปต่อที่ Harvard เรียนไป 5 ปีจบ ทำ�งานต่อสายที่ อาจจะไม่ได้เกี่ยวข้องกับสถาปัตย์ฯ โดยตรง ทำ�งานที่ Silicon valley 2 ปี ทำ�งานเป็นนักวิจัย ด้านสื่อต่างๆ ตอนจบปริญญาตรี จบทางด้านสาขาสถาปัตยกรรมโดยตรงเลยหรือเปล่า แล้วตอนต่อ ปริญญาโท ต่อทางด้านไหน อยากให้เล่าประสบการณ์การเรียนและความสนใจในการเรียนต่อ สาขาต่างๆครับ ป.ตรีจบสถาปัตยกรรมหลักเลย แต่ตอนต่อโท โทตัวแรกเป็นสถาปัตยกรรมหลัก ก็ไป เรียนพวกทฤษฎีและคอนเซปต์ที่ Yale University พอโทตัวที่สองเป็นโทในด้านเทคโนโลยี เรียก ว่า Master in Design stidies ,Computer Aided Design ที่ Havard University จึงเกิดความสนใจทางด้านสื่อต่างๆ ทำ�ให้ชีวิตเริ่มแปรความสนใจจากสถาปนิกจริงๆ กลายเป็น สถาปนิกที่ออกแบบทางด้าน interface หรือสิ่งที่ครึ่งๆกลางๆระหว่างของจริงกับของไม่จริง ซึ่งเป็นความชอบส่วนตัวตั้งแต่เรียนสถาปัตย์ฯ เพราะว่าเรากึ่งวิทย์กึ่งศิลป์ ชอบเลขแต่ก็ชอบวาด เขียน ชอบฟิสิกส์แต่ไม่ทิ้งชีวะ ก็เลยเป็นคนแบบก้ำ�ๆกึ่งๆ พอเป็นอย่างนั้นมา เราก็ไม่ใช่ศิลปินโดย 53


“ เราไปทำ�งานอยู่เมืองนอกก็ทำ�ให้เมืองนอกแล้วเมือง ไทยไม่ได้อะไรเลย มันเป็นความตั้งใจแต่แรกอยู่แล้วที่อยากจะ กลับมาเมืองไทย พออยู่เมืองนอกคิดว่าได้สะสมประสบการณ์ เพียงพอแล้ว ถึงเวลาก็ต้องกลับมาเพื่อที่จะเอาองค์ความรู้ที่มี อยู่มาใช้ให้เต็มที่ “ แท้ ไม่ได้ชอบศิลปะซะทีเดียว ชอบมี logic ในการคิดตามหลักเหตุผล แต่ก็ไม่ใช่นักคิด แบบนักวิทยาศาสตร์ซะทีเดียว ตอนไปเรียน หรือไปทำ�งานจึงมีแนวคิดก้ำ�กึ่ง เป็นสถาปนิก ก็ไม่เชิง ดีไซน์เนอร์ก็ไม่ใช่ นักวิทยาศาสตร์ก็ ไม่เชิง เลยเป็นหมดเลยทุกสิ่งทุกอย่าง ก็เลย ไปทำ�งาน Lab วิจัยที่ชื่อ Fuji Xerox Palo Alto ซึ่งเป็น Lab อยู่ที่ Silicon Valley ซึ่ง หลังจากที่ไปเรียนที่ Havard มา ได้มีโอกาสไป ฝึกงานที่ Lab นี้ 3 เดือน การทำ�งานนี้ทำ�ให้ เรารู้สึกว่ามีอะไรที่น่าสนใจนอกเหนือจากการ ทำ�งานสถาปัตย์ฯ แต่ว่าใช้แนวความคิด การ ทำ� process ไปช่วยในงานวิจัยได้ เราก็เลย เป็นคนที่แปลกใน Lab วิจัย รู้สึกจะเป็นคน เดียวที่เป็นดีไซน์เนอร์ อะไรเป็นจุดเปลี่ยนที่ทำ�ให้การเรียนโทตัวที่ สอง เป็นด้าน Computer design ผมว่าเป็นทีน่ สิ ยั ส่วนตัว ทีใ่ ฝ่รู้ ชอบ ศึกษาหาความรูอ้ ยูเ่ รือ่ ยๆ skill ทีไ่ ด้จาก การเรียนทีศ่ ลิ ปากรและจุฬาฯ พวกการวาด เขียน การดราฟท์งาน หรือการออกแบบ สถาปัตยกรรมทีไ่ ด้จาก A49 ส่วนตัวผมรูส้ กึ ว่าได้ตรงนัน้ แล้ว น่าจะได้อย่างอืน่ มากกว่านี้ ก็ เลยไปศึกษาด้านแนวความคิด โดยการเรียนตัว แรก M.Arch เป็นการเปิดโลกทัศน์ที่กว้าง ขึ้น ว่าการออกแบบไม่ใช่แค่การออกแบบ ตัวสถาปัตยกรรม แต่เป็นการออกแบบ พฤติกรรม ออกแบบความคิด เทคโนโลยี ทุกสิ่งทุกอย่างมันออกแบบได้หมด ทำ�ให้ รู้สึกว่าที่เรียนมันเป็นแค่ skill มันยังน้อย มาก มีอะไรให้คิดอีกเยอะ พอไปเรียนต่อ ก็เกิด culture shock คนอื่นคุยกันเยอะ มาก เราเป็นเด็กไทยเงียบๆที่ไม่กล้าถาม คำ�ถาม แต่ทำ�ต่ออย่างนั้นที่เมืองนอกไม่ได้ ต้องคอยขวนขวายอัพเกรดตัวเอง ต้องอ่าน หนังสือเยอะมาก ต้องคุยกับคนหลายชาติ ได้ เปิดโลกทัศน์ และทำ�ให้เรารู้ว่าจริงๆการดีไซน์ 54

สถาปัตยกรรมมันสามารถใช้ tool ได้เยอะ มาก เราไปเน้นเรื่องความคิดดีกว่าแล้วไปหา tool โดยไม่ต้องใช้ skill วาดเขียน ก็เลยไป จับต้องพวกคอมพิวเตอร์ ในการออกแบบเป็น ตัวช่วย ก็เลยเป็นที่มาของปริญญาโทตัวที่ สอง หลังจากเรียนโทตัวที่สองแล้วรู้สึกว่า เราสามารถ specialize ทางด้านเทคโนโลยี เพื่อใช้ในการออกแบบได้มากกว่านี้ ก็เลยต้อง ไปเรียนทางด้านคอมพิวเตอร์ ไปเรียนกับพวก เด็กจีน เด็กอินเดีย ก็ต้องไปสร้าง interface เขียนโปรแกรมขึ้นมา เป็นที่มา ของวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก เรื่องการ ออกแบบ tool ที่ใช้สำ�หรับดีไซน์เนอร์โดยตรง แนวความคิดหรือทัศนิคติก่อนที่จะไปเรียน และหลังที่จะไปเรียนต่างกันอย่างไร ตอนอยู่เมืองไทยโลกเราก็จะอยู่ แค่นี้ เราจะบูชาบริษัทอยู่แค่ไม่กี่บริษัทที่เรา รู้จัก แล้วก็สถาปนิกในโลกก็จะคุ้นเคยกันอยู่ ไม่กี่คน แต่พอไปเรียนต่อเมืองนอก ผมว่ามี สถาปนิกและคนที่มีความคิดที่แตกต่างอีกเยอะ เลย พอได้อ่านหนังสือที่เขาเขียนกัน บ้านเรา ไม่มีหนังสือแบบนี้ และไม่ค่อยแปลแนวความคิด ของเขามา ถึงได้รู้ว่าที่เขาดังกันได้ไม่ใช่เพราะ style หรือผลงานสุดท้าย แต่เป็นเรื่องเกี่ยว กับความคิดของเขา เบื้องหลังการออกแบบ งานที่ดังๆทั้งหลายมาจากแนวความคิดทั้งนั้น พอเราได้ศึกษากระบวนการแบบนั้นจากฝรั่ง จริงๆ ทำ�ให้เรารู้ว่ากระบวนการเรียนแบบ บ้านเรา ไอ้ที่ผมเคยเรียนมามันเชยมาก เน้น ให้ทุกคนสามารถจบมาเป็นสถาปนิกไปทำ�งาน ได้ แต่ไม่ได้สร้างบุคลากรที่เป็นสถาปนิก ของประเทศ สถาปนิกของประเทศคือรู้ว่า ประเทศขาดอะไร ต้องการอะไร เปลี่ยนไป อย่างไรได้บ้าง ตรงนี้ยังขาดอยู่ คือเราจะ เอา Richard Meier Rem Koolhaas มา อยู่ในเมืองไทยก็ไม่ได้ เราต้องปั้นคนไทยเป็น สถาปนิกไทยอยู่ที่ไหน แล้วให้คิดแบบฝรั่งได้

คิดในแนวความคิดที่พัฒนาเชิงอย่างยืน โดย มี contribution ในการออกแบบที่เหมาะสม กับประเทศไทย ตรงนั้นที่ยังขาด ความคิด นี้ก็เลยแปลงแรงบันดาลใจในการที่เป็นอาจารย์ โดยการเป็นอาจารย์ทำ�ให้เปลี่ยนแนวความคิด ของนักเรียนเราให้รู้ว่ามันไม่ใช่แค่การดีไซน์เท่ห์ๆ ไม่ต้องไปบูชาฝรั่งจนมองข้ามความเป็นไทย ของเรา การที่สอนนักศึกษาให้เข้าใจตัวตนของ ความเป็นไทย ผนวกกับการเปิดกว้างความ คิดของฝรั่ง ผมว่าน่าจะเป็นการทำ�ให้สอง อย่างนี้รวมกันแล้วเกิดสถาปัตยกรรมแบบใหม่ ได้ในประเทศไทย โดยฝีมือคนไทย รู้สึกว่าอาจารย์ทำ�งานเยอะและหลายด้าน มาก ตอนนี้อาจารย์ทำ�งานอะไรอยู่บ้าง อยากให้เล่าประสบการณ์การทำ�งานด้วย ครับ ผมทำ�หลายอย่างมาก ผมเป็นคนที่ ก้ำ�กึง่ อยูใ่ นโลกของความเป็นกลาง จะไม่คอ่ ย specialize ทางด้านใดด้านหนึง่ ตอนนีท้ ท่ี ำ� อยูเ่ ป็นทีป่ รึกษาในสำ�นักงานสถาปนิกชือ่ T.M. Design ซึง่ ตอนกลับมาเมืองไทยใหม่ๆก็มาเป็น อาจารย์ที่ศิลปากร คิดว่าถ้าเราไม่ฝึก practice ด้านสถาปัตยกรรมออกแบบอาคาร ก็ไม่รจู้ ะเอาอะไรไปสอนเด็ก ก็เลยทำ�งานไปด้วย สอนไปด้วย ระหว่างทีท่ ำ�งานก็รสู้ กึ ว่าทีไ่ ปเรียน ทีไ่ ปฝึกงานมันไม่ได้ใช้ บังเอิญมีอาจารย์ผใู้ หญ่ จากทีศ่ ลิ ปากรแนะนำ�ให้ไปช่วยงานทีส่ ำ�นักงาน ส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟแวร์แห่งชาติ ได้ไป คุยกับผูบ้ ริหารทีน่ น่ั ว่าเราพอจะช่วยทำ�อะไรได้ บ้าง ก็เลยไปช่วยดูแลอุตสาหกรรมในด้านแอน นิเมชัน่ และเกมส์ของประเทศไทย ด้วยความที่ เราชอบก็เลยไปศึกษาทีเ่ กาหลีอกี ครึง่ ปี ศึกษา อุตสาหกรรมเกมส์ กลับมาก็ได้เขียนนโยบาย อุตสากรรมเกมส์ ส่วนแอนิเมชัน่ ก็ทำ�ควบคูก่ นั ไป ทำ�งานอยูท่ น่ี น่ั 3 ปี ก็เลยไปสอนทางด้าน แอนิเมชัน่ และเกมส์ตามมหาวิทยาลัยต่างๆก็มี ICT ศิลปากร มหิดล Inter


อยากให้อาจารย์บอกข้อดีและข้อเสียของการ ศึกษาและการทำ�งานทั้งต่างประเทศและใน ประเทศครับ ชีวติ ต่างประเทศ ข้อดีคอื สัง่ สม ประสบการณ์และความรู้ ข้อเสียคือ ชีวติ เรา จะเป็นเส้นตรง เรียบง่ายไม่มคี วามตืน่ เต้น ไม่ สามารถทีจ่ ะให้ชวี ติ เรามีแรงบันดาลใจ เพราะ เมืองไทยมีปัญหาเยอะกว่า เราต้องหา solution ไปแก้ ซึง่ เกิดแรงบันดาลใจให้เรา คิดมากขึน้ การอยูใ่ นเมืองได้เงินเดือนเยอะมาก ไปไหนก็ขบั รถหรู รถราคาถูกไม่ถงึ ล้าน บ้าน อยูใ่ กล้ Krispy Kreme ชีวติ ก็เลยค่อนข้างดี เกิน แต่เราจะขาดแรงบันดาลใจในการใช้ชวี ติ ไม่รจู้ ะไป contribution ให้กบั โลกนีอ้ ย่างไรได้ บ้าง เหมือนแค่ทำ�งานให้กบั บริษทั พอกลับ มารูส้ กึ ว่าการเป็นอาจารย์ เป็นจุดประกายให้ เรามี contribution ให้กบั สังคมประเทศทีเ่ รา เกิดมา เราไปทำ�งานอยูเ่ มืองนอกก็ทำ�ให้เมือง นอกแล้วเมืองไทยไม่ได้อะไรเลย มันเป็นความ ตัง้ ใจแต่แรกอยูแ่ ล้วทีอ่ ยากจะกลับมาเมืองไทย พออยูเ่ มืองนอกคิดว่าได้สะสมประสบการณ์

เพียงพอแล้ว ถึงเวลาก็ตอ้ งกลับมาเพือ่ ทีจ่ ะเอา องค์ความรูท้ ม่ี อี ยูม่ าใช้ให้เต็มที่ ถึงได้ไปสอนได้ หลายที่ พยายามกระจายให้ได้เยอะทีส่ ดุ ถ้า อาจารย์ไทยทีจ่ บมาจากเมืองนอกแล้วมาสอน คุณไม่เพียงพอ คุณค่อยไปต่อเมืองนอก ถ้า คุณโหยหาจริงๆนะ การไปอยูเ่ มืองนอกมันได้ ส่วนตัวเยอะ แต่ประสบการณ์ในการสอนผม คิดว่าอาจารย์เราค่อนข้างจะสอนได้อย่างครบ ถ้วน โดยทีค่ ณ ุ แทบไม่ตอ้ งขวนขวายเอาเอง ไม่ ต้องเซ็ทเส้นทางเอง มีคนสร้างไกด์ไลน์ให้คณ ุ อยูแ่ ล้ว น่าจะไปได้เร็วได้ไกลสุดท้ายนีอ้ าจารย์ อยากจะฝากถึงน้องๆทีก่ ำ�ลังจะจบ หรือคนที่ กำ�ลังวางแผนจะไปเรียนต่อหรือทำ�งานอย่างไร บ้างครับ สำ�หรับคนทีร่ แู้ ล้วว่ามีความถนัด ความชอบอะไร คุณก็ไปตามเส้นทาง คนที่ อย่างไม่รู้ ผมก็คดิ ว่ามันไม่ผดิ จะลองผิดลอง ถูกก็ได้ วิธที ง่ี า่ ยทีส่ ดุ คือไปหาอาจารย์ทป่ี รึกษา เพือ่ หาคำ�แนะนำ� จุดเริม่ ต้นทีด่ คี อื อาจารย์ อาจารย์คงกลัน่ กรองไว้แล้วว่าจะเป็นแนวทาง ทีด่ สี ำ�หรับเรา อย่าไปตามเพือ่ นมาก อย่า

ไปเพราะผูห้ ญิง ชีวติ มันเปลีย่ นเสมอ ให้เอาเป้า หมายและวัตถุประสงค์ของเราเป็นทีต่ ง้ั ส่วน เรือ่ งหาทุน ซึง่ ทุนมีเยอะแยะ ถ้าคิดว่าจะอยู่ ในประเทศไทยรับทุนทีไ่ หนก็ได้ ไม่จำ�เป็นต้อง มหาวิทยาลัยทีเ่ ราจบมา มหาวิทยาลัยอืน่ ก็ ต้องการคนดีไปทำ�งาน คุณจะไปรับทุนจาก ทีไ่ หนได้หมด กลับมา network ก็ยงั เหมือน เดิม การไปสอนทีน่ น่ั ทีน่ แ่ี บบทีผ่ มทำ�ก็ทำ�ได้ เสมอ ดีซะอีกทีท่ ำ�ให้เรามีมมุ มองทีก่ ว้างและ ไม่เห็นแก่ตวั ทำ�ให้คนอืน่ เยอะเป็นสิง่ ทีด่ ี จะ ทุนรัฐบาล ทุนมหาวิทยาลัย ทุนทบวง ได้ หมดถ้าคะแนนถึง ถ้าจะไปทำ�งาน เราต้อง มี connection การทีอ่ ยูด่ ๆี มาจากเมืองไทย ไม่มใี ครรูจ้ กั แล้วไปทำ�งานเมืองนอกเป็นอะไร ทีย่ ากมาก อาจจะเป็นรุน่ พี่ อาจารย์ ญาติ ผูใ้ หญ่ แต่ถา้ ไปแล้วอย่าไปคิดว่าจะฝังรกราก อยูท่ เ่ี มืองนอก พยายามศึกษาให้เยอะๆ ดู ดีเทลทีเ่ ขาทำ�งาน ดูวธิ คี ดิ เพือ่ พัฒนาตัวเราให้ดี ขึน้ มา กลับมาค่อยมาเปิดบริษทั หรือทำ�อย่าง อืน่ ทีเ่ มืองไทย ผมคิดว่าน่าจะไปได้ไกล และมี แรงบันดาลใจมากกว่า 55


56


Sineenart Sukolratanametee สินีนาถ ศุกลรัตนเมธี

ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก ปัจจุบัน

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Master of Landscape Architecture, University of Pennsylvania ,USA Doctor of Philosophy (urban & science ) TEXAS A & M University ,USA หัวหน้าภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

เริ่มจากอาจารย์แนะนำ�ตัวคร่าวๆ ประวัติ ส่วนตัว และความสนใจในการไปศึกษาต่อต่าง ประเทศครับ อาจารย์ ดร.สินนี าฏ ศุกลรัตน เมธี ปัจจุบนั เป็นหัวหน้าภาควิชาการออกแบบ และวางผังชุมชนเมือง เป็นศิษย์เก่าทีศ่ ลิ ปากร ตอนเรียนจบใหม่ๆ ก็สนใจจะไปเรียนต่อประเทศ จีนก่อน รวมถึงเรียนภาษา พอดีตอนนัน้ ที่ มหาวิทยาลัยมีทนุ ก่อนพอดี โทรไปตามให้มาส อบทุน ก็เลยไมได้ไปจีน แต่ได้ทนุ ไปเรียนต่อ ปริญญาโทที่อเมริกาแทน ในสาขา Landscape Architecture ในมหาวิทยาลัย University of Pensilvania และได้ ไปต่อปริญญาเอกที่ Texas and M ที่ อเมริกาเช่นเดียวกัน

หลายคน เช่น อ.ณัฐวุฒิ อ.ธนะ เป็นรุ่นแถวๆ อ.อภิรดี อ.ต้นข้าว ประมาณนั้น อาจารย์ที่ อยู่ในรุ่นๆนี้จะได้รับทุนในลักษณะเดียวกัน

ปริญญาเอกนี่ใช่ทุนของคณะเช่นเดียวกันใช่ หรือไม่ครับ ใช่ค่ะ เป็นทุนของ สกว. หรือทุน พัฒนาอาจารย์ในสาขาที่ขาดแคลน (สถาปัตย์) ซึ่งก็มีการให้ทุนดังกล่าวอยู่ หลายปี ซึ่งมี

ก็คือต้องส่ง port ไปให้เค้าดูก่อน? ใช่ค่ะ แล้วนอกจากนั้นตอนอาจารย์ ก็เรียน TOEFL หลังเรียนจบอยู่แล้ว เรา ต้องวางแผนทำ� portfolio ไปด้วย สอบภาษา อังกฤษไปด้วย แล้วค่อยส่งใบสมัครไป

ทุนมีการคัดเลือกอย่างไรบ้างครับ อาจารย์ก็ต้องมาสอบสัมภาษณ์ เหมือนกับมหาวิทยาลัยที่ต้องการให้มีอาจารย์ เราก็ต้องแจ้งความจำ�นงไป จากนั้นมหาวิทยาลัยต้นสังกัดก็จะเป็นคน พิจารณา โดยในตอนนั้นมี อ.รุจิโรจน์ และ อาจารย์อีกหลายท่านเป็นผู้สอบสัมภาษณ์ หลังจากนั้นคะแนน TOEFL และการเขียน proposal ก็จะเป็นสิ่งสำ�คัญลำ�ดับถัดไป รวมถึงการทำ� portfolio เพื่อจะสมัครเรียน ต่อต่างประเทศ

แล้วหลักสูตรในปริญญาโทนี่เรียนเกี่ยวกับ อะไรบ้าง อาจารย์เรียนภูมิสถาปัตย์ฯเลย เพราะหลังจากเรียนจบสถาปัตย์ฯแล้ว เรา จะไปเรียนอะไรนั่นคือคำ�ถาม ถ้าเราไปเรียน ในสาขาใหม่ที่มันกว้างกว่า โดยเรามีพื้นฐาน สถาปัตย์ฯอยู่แล้ว เราไปเรียน landscape เราจะเริ่มทำ�งานได้กว้างขึ้น มุมมองต่อสิ่ง แวดล้อมและสถาปัตยกรรมจะเปลี่ยนไป ทำ�ไมอาจารย์ถึงเลือกเรียน landscape ครับ ส่วนแรกคือทุนที่อาจารย์เลือกมัน เป็นทุน landscape พอดี เนื่องจากตอน ทำ�วิทยานิพนธ์ เป็นงานผังและมี landscape เข้ามาเกี่ยว และไปปรึกษาอ.รุจิโรจน์ เรื่องlandscape บ้าง เลยคิดว่าถ้าเราไป เรียนต่อยอดด้านนี้เราจะสามารถทำ�งานได้ กว้างขึ้น

57


บรรยากาศ รวมถึงวิธีการสอนของที่นั่น แตกต่างกับที่นี่อย่างไร ตอนแรกรู้สึกยากลำ�บากและท้อแท้ ในช่วงแรก เราเรียนแบบคนไทยคือมีอาจารย์ คอยป้อนให้ แต่พอมาเรียนโทกลับกลาย เป็นเขาโยน wording ให้แล้วให้เราไปค้นหา เอง เขาให้อิสระในการคิด เราต้องใช้เวลาใน การคิด ในการปรับตัวก็ดีขึ้น ปริญญาโท ไม่เหมือนตรี ตรงที่มันเป็นความต้องการของ เรา มันเป็นทางเลือกในชีวิต ดังนั้นเราอยาก เรียนอะไรเราก็ควรพิจารณาให้รอบคอบด้วย โดยรู้ว่าเราสนใจในด้านไหน เราต้องมีมุมมอง และไปเรียนให้ได้วิธีคิดแบบต่างๆมา สั ง คมเพื ่ อ นถื อ ว่ า ดี เพราะ Pensilvania เป็นรัฐที่เก่าแก่ ค่อนข้างจะมี วัฒนธรรมที่เข้มแข็งกว่าทางใต้ค่อนข้างเยอะ เพื่อนๆอาจารย์ก็มีทั้งฝรั่งและคนเอเชีย พวก เขาก็มักจะช่วยเหลือถ้าเราเกิดปัญหาอะไรต่างๆ ตอนแรกก็คิดว่าจะมีอุปสรรคมาก แต่ถ้ารู้จัก การปรับตัว ไม่อยุ่แต่กับเพื่อนคนไทย เขาก็ พร้อมจะเปิดให้กับเราอยู่แล้ว อาจารย์ไปไหน มาไหนก็สามารติดรถเขาไปได้ ทัศนคติของอาจารย์เปลี่ยนไปหรือไม่หลังจาก เรียนปริญญาโท และเอก ปริญญาเอกนี่จะคนละเรื่องเลย ตอนเรียนปริญญาโทเราถือว่า เป็นsecond professional degree เหมือนเป็นวิชาชีพ อันที่สอง แต่พอเรียนปริญญาเอกมันไม่ใช่ วิชาชีพ มันเหมือนเรียนปรัชญาของการเรียน รู้แล้ว เราต้องรู้ว่าเราจะเชื่ออะไรบางอย่าง ได้อย่างไร ไม่ได้เรียนเพื่อจะ practice อะไร ทั้งสิ้น แต่เราเรียนเพื่อจะตอบคำ�ถามอะไร หลายๆอย่างที่เป็นโจทย์ในสังคม เราควรจะ เชื่ออะไร ความรู้ควรจะเป็นไปในทิศทางไหน อาจารย์เรียนทั้งโททั้งเอก อาจารย์ใช้เวลา ประมาณเท่าไรครับ (หัวเราะ) นานมาก จริงๆควรจะ เรียนจบได้ใน 5 ปี ทีนี้อาจารย์เรียนโท 2 ปี แล้วอาจารย์ก็ต่อเอก พอดีตอนนั้นอาจารย์ แต่งงาน แล้วแฟนย้ายมาอยู่ TEXAS หลายๆวิชาโอนมาไม่ได้ ก็เลยต้องมาเรียน coureworkใหม่ 2 ปี ก็รวมๆแล้วก็เรียน ไปเกือบประมาณ 10 ปีได้ แล้วหลังจากนั้น อาจารย์ก็กลับมา ตอนเรียนปริญญาเอก นี่เราต้องทำ�แต่research หรือมีอะไรเพิ่มเติมบ้างครับ อันดับแรกเขาจะมี coursework มาให้ พูดง่ายๆก็คือเราเรียนวิชาบังคับ ขึ้น อยู่กับสายว่าเราจบโท landscape เราควร จะไปต่อเอกอะไร ถ้ามันไม่ตรงมากเราก็ต้อง 58

ไปเรียนเพิ่ม อย่างตอนเราสมัครไป เราควร จะไปหา advisor ทีเรามีความสนใจ อยาก จะให้เขามาแนะนำ�วิทยานิพนธ์ของเรา ตอนเข้าไปเรียน ก็จะมีวิชาพวก research สถิติ ส่วนกลุ่มวิชาเลือกก็ขึ้นอยู่ วิทยานิพนธ์ที่เราจะทำ�ในปริญญาเอก ถ้าเรา ชัดเจน และเราเจออาจารย์ที่ปรึกษาที่เรารู้จัก ตั้งแต่เข้าไปสมัคร มันจะชัด หลังจากนั้นก็ จะมีการสอบ สอบเพื่อให้เขารู้ว่าเรามีความ รู้พอที่จะไปทำ�วิทยานิพนธ์ในหัวข้อดังกล่าวได้ ต่อด้วยการลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ปริญญา เอก ก็จะทำ�งานกับอาจารย์ที่ปรึกษาใน ลักษณะนี่ที่อเมริกา

มองว่าปัจจุบันจบแค่ปริญญาตรี ก็ไม่พออย่าง น้อยก็ต้องปริญญาโท หรืออยากจะทำ�งาน ก่อนก็ดี เพื่อเราจะได้เข้าใจความชอบของ ตนเองมากขึ้น เพื่อจะไปต่อยอดในทางที่เรา สนใจ แต่เรื่องจะเรียนต่อเลยแล้วจบก่อนคน อื่นก็เป็นข้อดีที่แตกต่างกันออกไป ปริญญาโท อาจจะไปไม่ใช่ค่านิยม ของคนไทยเสมอไป บางทีการเราเรียน ปริญญาโท ก็เหมือนกับเราหาแส้นทางใหม่ใน ชีวิต ที่เราจะไปในเส้นทางนี้ได้ เป็นการเปิด ประตูให้กับชีวิต จะด้วยค่านิยมหรืออะไร ก็ตาม เราต้องได้แนวคิดที่ดีขึ้น อาจารย์ คิดว่าการเรียนหนังสือไม่มีข้อเสีย

อยากให้อาจารย์พูดถึงข้อดี ข้อเสีย หรือสิ่งที่ ชอบ ไม่ชอบ ในการไปเรียนต่อด้วยครับ จริงๆคนส่วนมากก็น่าจะชอบนะ เพราะถือเป็นประสบการณ์ในชีวิต ทีนี้ก็มา ถึงว่า เวลาจะเข้าไปเรียนเราต้องเริ่มปรับ ทัศนคติตัวเองก่อน ว่าเราไปเรียนเราจะไป แสวงหาความรู้ เวลาอาจารย์ไปเจอเพื่อนร่วม ห้องฝรั่ง เขาอายุกว่าเรามาก ขอย้อนกลับ ไปว่านี่เป็นจุดเริ่มต้นของข้อดีที่เราสามารถ เรียนรู้วิธีคิดแบบฝรั่ง เขาอายุมากกว่าเราเป็น 10 ปี แล้วเขาจะมาเรียนทำ�ไม ฝรั่งเขามักใช้ชีวิต ที่กล้าทดลอง กล้าที่จะเปลี่ยน ไม่ยึดติด อยู่กับกรอบของสังคมมากไป เช่น บางคน เป็นนักข่าวอายุ 40 ปีทำ�งานมานาน แต่ วันหนึ่งอยากเปลี่ยนชีวิต ก็เลยมาเรียน landscape บางทีเราบ่นว่า การบ้านเยอะ แล้วเขาถามกลับมาว่า “แล้วคุณมาเรียนทำ�ไม ล่ะ? คุณจะบ่นทำ�ไม” นี่ก็เป็นส่วนหนึ่งของ การเรียนรู้ ทำ�ให้เราคิดว่าประเทศชาติส่งเรา มาเรียนรู้ แล้วเราจะมาทำ�ตัวแบบเด็กๆทำ�ไม มันไม่ใช่แค่ชีวิตที่ต้องไปเรียน แต่เราต้องปรับ และเปลี่ยนทัศนคติ ความคิดตัวเองด้วย

แต่ถ้าเรียนปริญญาโท แต่ยังไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานล่ะครับ จะดีหรือไม่ การที่เรามองเห็นสถาปนิกที่โด่งดัง มากมาย เพราะอะไรเพราะเขามีความแตก ต่าง มันคือความคิดใช่หรือไม่ที่ทำ�ให้เขาแตก ต่าง ดังนั้นถ้าเราคิดว่าเราทำ�ไปเรื่อยๆ แล้ว จะทำ�ให้เราคิดต่างก็เป็นวิธีหนึ่ง แต่อีกวิธีหนึ่ง คือ เราต้องทำ�อย่างไรก็ได้ให้เรามีความคิด อะไรใหม่ๆขึ้นมา เรียนสาขาอื่นเพิ่มเป็นต้น โดยเราสามารถรับมุมมองที่แตกต่างจากคน อื่นๆเข้ามาได้อีก มองสถาปัตยกรรมในมุม ที่ต่าง หรือสถาปัตยกรรมกับสิ่งแวดล้อมคือ สิ่งเดียวกัน ถ้าเมื่อไหร่ที่เรารู้ทุกอย่างขึ้นมา ได้จากชีวิตเรา อันนั้นอาจารย์ว่าจะไปสู่เส้นทาง ที่ประสบความสำ�เร็จ เช่นเราฝึกโปรแกรม เราอาจจะชำ�นาญขึ้น แต่ว่าความคิดจะทำ�คน แต่ละคนมีความเป็นอัตตภาพ และแตกต่าง ย่อมส่งผลที่ไม่เหมือนกัน

ทัศนคติตอนเรียน เมืองไทย กับเมืองนอก แตกต่างกันอย่างไรบ้างครับ ไม่ได้คาดหวังอะไรมาก เมื่อก่อนตอ นอยุ่เมืองไทยสอบผ่านอะไรก็จะไป พอไปแล้วก็ ค่อยๆเปลี่ยน ใช้เวลาจากวันที่เราเรียนจนเรียน จบทุกๆอย่าง ทั้งต่อคน และการเรียน มันก็ เปลี่ยนไปตามอายุด้วย อาจารย์มีคำ�แนะนำ�อะไรบ้างที่อยากจะฝาก ถึงนักศึกษารุ่นต่อไป ที่กำ�ลังจะจบหรือ ทำ�งาน อาจารย์แล้วแต่ว่าสภาวะของแต่ละ คน มีคนที่อยากจะทำ�งาน หรือใครอยากจะ มุ่งสู่สายวิชาการ ราชการ ก็เรียนต่อไปเลย ก็สามารถไปต่อสายงานได้ดีกว่า อาจารย์


“ ถ้าเมื่อไหร่ที่เราสามารถรู้ทุก อย่างขึ้นมาได้จากชีวิตเรา สิ่งนั้นจะ เป็นเส้นทางที่ไปสู่ความสำ�เร็จ “

59


Oopatham Ratanasupa อุปถัมภ์ รัตนสุภา

ปริญญาตรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปริญญาโท Master of Urban Planning ,École nationale supérieure d’architecture de Paris-La Villette ,France ปัจจุบัน อาจารย์พิเศษ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เจ้าของร้าน I’m Bangkoker

เริ่มจากอาจารย์แนะนำ�ตัวคร่าวๆ ประวัติ ส่วนตัว ผมชื่ออุปถัมภ์ รัตนสุภา จบ ศิลปากรรุ่น 41 จบปี 2000 เรียนต่อ ปริญญาโท รุ่นแรกของสถาปัตยกรรม ช่วงปี 2000-2002 ได้ทุนตอนปี 2000 สอน หนังสือ 5 ปี ไปเรียนต่อที่ฝรั่งเศส ภาค วิชาสถาปัตยกรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ urban design และทำ�ปริญญาเอก เกี่ยว กับสถาปัตยกรรมในเวียดนามตอนเหนือ อาจารย์ได้รับทุนไปเรียนต่อ? ไม่ครับ ครั้งหลังนี่ไปส่วนตัว พอดี ตอนแรกผมได้ทุนเรียนดีจาก อาซาฮี ตอน เรียนผมก็ทำ�ทุกอย่าง เป็นนักกีฬา เล่น ดนตรี ทำ�ทุกอย่าง และหาเงินเองด้วยตั้งแต่ สมัยเรียน ตอนช่วงเรียนปริญญาโท คณะ มีนโยบายต้องการอาจารย์เพิ่มเติม ก็สอบที่ จุฬาฯได้ก่อน ไปฝากฝังกับอาจารย์เลอสม ส ถาปิตานนท์ แต่ผมต้องมาเรียนที่ศิลปากร ก่อน โดยมีอาจารย์ที่ศิลปากรเปิดภาควิชา ปริญญาโทสถาปัตยกรรมให้เรียน ตอน แรกที่จะไปจุฬาฯเพราะอยากทราบเรื่องเทคนิค การสอนด้วย วิธีจะสอบก็ดูว่า อาจารย์ที่ สอบสัมภาษณ์เราเขาเขียนหนังสืออะไรไปอ่าน หนังสือแล้วก็ตอบสัมภาษณ์ไปตามนั้น การเรียนต่อที่ฝรั่งเศสของอาจารย์ มี ลักษณะอย่างไร ที่ฝรั่งเศสเป็นโรงเรียนสถาปัตย์ฯ 60

ที่ใหญ่ มีนักเรียนจาก 40 ประเทศทั่ว โลก ความหลากหลายคือความร่ำ�รวย วิธี การสอบสัมภาษณ์ผมคืออ่านหนังสือของ กรรมการหลายท่านจาก Unesco จาก สำ�นักผังเมืองต่างๆ ตอนสอบสัมภาษณ์ผมจะ เรียนภาษาฝรั่งเศส ไปแล้ว 6 เดือน จนได้สอบ ในเดือน 2007 ผมเชื่อว่าสถาปัตยกรรม จะมีภาษาของมันอยู่ ที่สามารถสื่อสารกับ กรรมการทุกท่านได้ เขาถามทำ�ไมถึงอยาก มาเรียนที่นี่ ผมมาเพราะมีความตั้งใจ ผม อยากมาเรียนกับอาจารย์ตอนที่ยังมีโอกาสอยู่ เขาก็ตอบตกลง วิธีตอบสัมภาษณ์คือ คุณต้องสนใจ เขาก่อน ก่อนที่เขาจะสนใจคุณ คุณต้องเตรี ยมตัวไปมากๆ ศึกษาเขา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งใน ความเคารพเขา ตอนผมเรียนผมได้ทุนช้ามาก ผมต้องทำ�อะไรเพื่อให้ตัวเองอยู่รอด การเตรียมตัวของอาจารย์ทำ�อย่างไรบ้าง ครับ 4 เดือนแรก ผมชอบเทีย่ ว ผมก็ เดินทาง พร้อมกับเรียนให้ได้ภายใน 6 เดือน เพราะถ้าเรียนให้ครบ 1 ปีผมต้องรอไปอีก 1 ปี ผมจึงต้องสอบภาษาให้ผา่ นขัน้ ต้น ขัน้ กลาง ทำ� portfolioหลังจากนัน้ ก็เริม่ เรียนปริญญาโท ข้อแตกต่างระหว่างการเรียนพื้นถิ่นที่ศิลปากร กับที่ฝรั่งเศสต่างกันอย่างไร ต้องเริ่มจากที่ผมทำ�วิทยานิพนธ์ แล้วอาจารย์วีระ แนะนำ�ให้ไปดูสถานที่ทะเล

เกาะ ของจริงไปใช้ชีวิตที่นั่น ที่ทะเลสาบ สงขลา ทำ�ให้ผมได้รู้อะไรหลายอย่าง ก็เลย ใช้หัวข้อพิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน พอไปเรียนต่อก็มี พื้นฐานทางด้านสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น ทำ�ให้ ผมหลงใหล ชอบการเดินทาง และมีพื้นฐาน เรียนต่อในการเรียนสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น มากขึ้น สถานที่ที่ชอบก็คือ หลวงพระบาง ฮานอย เป็นต้น แล้วมุมมองกับทัศนคติ อาจารย์เปลี่ยนไป อย่างไรบ้าง ฝรั่งเศสเค้าจะมีปรัชญาชีวิตไม่ ดูถุกคน เช่น สลัม จะไม่เรียก แต่จะเรียก ว่า สถาปัตยกรรมที่ยืดหยุ่นเคลื่อนย้าย ได้ สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในปัจจุบันถือว่า โม เดิร์นมาก เพราะพึ่งจะมีคำ�ว่าพื้นถิ่นเมื่อไม่ นานมานี้ เช่น ในเมืองไทยเรามีแม่น้ำ�โขง ก็มี วัฒนธรรมที่เชื่อมต่อระหว่างมณฑลยูนนาน เชียงแสน ล้านนา 12 ปันนา หลวงพระบาง เวียงจันทน์ มากมายจึงถือว่ามีอารยธรรมไม่ ด้อยกว่าที่ใดในโลก ไทยกับฝรั่งเศสคล้ายๆ กัน เพราะเราประยุกต์ศิลปะวัฒนธรรมที่ได้ อิทธิพลจากที่ต่างๆมา ไม่ได้เป็นจุดกำ�เนิด ถ้าคุณมีแรงบันดาลใจ กับทัศนคติ ที่ดี ก็จะก้าวข้ามขั้นของความรู้ไปอีกขั้น หนึ่ง เป็นสิ่งที่สถาปนิกควรมีเป็นอย่าง มาก เพราะเราต้องมีกระบวนการคิด เพื่อ ให้เห็นอะไรมากๆขึ้น อย่างที่ไอสนไตน์บอกว่า จินตนาการนั้นสำ�คัญกว่าความรู้


“ วิธีสอบสัมภาษณ์คือ คุณต้องสนใจเขาก่อน ก่อนที่เขา จะสนใจคุณ คุณต้องเตรียมตัวไปมากๆ ศึกษาเขา ซึ่งเป็น ส่วนหนึ่งในความเคารพเขา แล้วเขาก็จะหันมาสนใจคุณ “ 61


62


NANtapon Junngrun นันทพล จั่นเงิน ปริญญาตรี ปริญญาโท ปัจจุบัน

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Master of Architecture, Architectural Association London (AA) ,England อาจารย์ประจำ�ภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สถาปนิก บริษัท Adlab

แนะนำ�ประวัติส่วนตัว ประวัติด้านการศึกษา และความสนใจที่จะไปศึกษาต่อต่างประเทศ ครับ ผมอาจารย์นนั ทพล จัน่ เงิน เป็นศิษย์ เก่าศิลปากร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ หลักสูตรปกติ จบมาผมก็มีโอกาสไปทำ�งาน จริงอยู่ที่บริษัทสถาปนิกอัชชพล ตอนสอบ สัมภาษณ์คุยกับอาจารย์อัชชพลไว้ว่า ผม จะมีแก๊งค์เพื่อนสนิทอยู่ 3 คน คือทั้งแก๊งค์ ไปสมัครทำ�งานกับอาจารย์อัชชพลหมดเลย ตอนนั้นอาจารย์อัชชพลสอนอยู่ปี 3 ที่คณะ เรา พอไปคุยกับอาจารย์ อาจารย์รู้เลยว่า ทั้ง 3 คนเป้าหมายมาเพื่อหาประสบการณ์ แล้วไปเรียนต่อ ดังนั้นอาจารย์รับหมดเลย ทั้ง 3 คน โดยอาจารย์ขอว่า ให้อย่างน้อย ทำ�งาน 2 ปีเพื่อเก็บเกี่ยวประสบการณ์แล้ว ค่อยไปเรียนต่อ เพราะถ้าเกิดว่าทำ�แค่หนึ่ง ปีหรือปีครึ่งจะไม่ค่อยได้อะไร แต่ถ้าส่วนตัว ผมนะ ถ้าอยากรู้ภาพรวมทั้งหมดซัก 4 ปี แล้วค่อยไปเรียนต่อ จะได้มุมมองที่ค่อนข้าง ดี คือ 4 ปีมันจะเป็นเส้นแบ่ง ถ้าเกิน 4 ปี จะค่อนข้างหนืดแล้วไม่อยากไป ทำ�งาน 4 ปี มันมีข้อดีที่ว่า ค่อนข้างเห็นภาพรวมของงาน practice จริงๆว่าเป็นอย่างไร เพราะว่าผม ทำ�ไป 2 ปีแล้วกลับมา ภาพทั้งหมดก็ยังเห็น ไม่ครบ พอกลับมาก็ต้องเริ่มต้นใหม่ในระดับ หนึ่งเหมือนกัน

แล้วหลังจากนั้นพอช่วงผมทำ�งาน 2 ปี เอา จริงๆไม่ถึง 2 ปี ผมตั้งคำ�ถามกับตัวเองทุก วันว่า สิ่งที่เราสนใจคืออะไร เราเข้าไปอยู่ ในระบบออฟฟิศ นี่จะมีระบบ rigid อย่าง หนึ่ง หรือแม้กระทั่งรูปแบบสถาปัตยกรรม ที่เราสนใจกับออฟฟิศอาจจะคนละแนวทางกัน กับที่เราตั้งความสนใจ เพราะฉะนั้นช่วงปีแรก ผมก็เริ่มขวนขวายว่า สเต็ปต่อจากนี้ไปมัน ต้องมีการไปข้างหน้า หรือมีการเปลี่ยนแปลง เพื่อหาประสบการณ์ในรูปแบบอื่น สมัยนั้น อินเตอร์เน็ตยังไม่ค่อยกว้างไกล โลกยังแคบ อยู่ ทางเดียวที่เราจะเข้าใจสถาปัตยกรรมได้ คืออกไปข้างนอก ไปเที่ยว ไปดูงานจริง ไป เรียนต่อ หนังสือสมัยนั้นก็อาจจะไม่เยอะเท่า สมัยนี้ ผมว่าการไปเรียนต่อน่าจะเป็นแนวทาง ที่ดีที่สุดทางหนึ่งสำ�หรับตัวผมเองพอมีจุดเริ่ม ต้นแล้ว อาจารย์มีการเตรียมตัวในการไป ศึกษาต่ออย่างไรบ้างครับช่วงนั้นก็เริ่มเรียน ภาษาอังกฤษไปด้วย ในขณะเดียวกันผมรู้ เงื่อนไขในชีวิตผมดี บางคนมีฐานะทางบ้าน ดี แต่ผมรู้เลยว่าที่บ้านฐานะที่จะ support มี แต่ไม่ได้เหลือเยอะขนาดนั้น ผมก็เลยคิดว่า ไปอย่างไรดีโดยไม่ต้องเดือดร้อนครอบครัว มี ทางเดียวคือหาทุนให้ได้ ช่วงนั้นก็มีการหาทุน กันในกลุ่มเพื่อน เพื่อนคนหนึ่งได้ทุน Nuffic ไปเนเธอแลนด์ ชื่ออาจารย์วิญญู อาจรักษา ตอนนี้เป็นอาจารย์อยู่ธรรมศาสตร์ 63


“ สิ่งที่ได้จากการไปเรียนต่างประเทศ ก็ได้ชุดความคิดแบบหนึ่ง พอเรากลับ มาคิดว่าทั้งสองอย่างน่าจะเบลนเข้าหา กันได้ ถ้าอันหนึ่ง base on logic ที่ ชัดเจน อีกอันเป็นเรื่องของสภาวะจิตใจ ผมว่าก็จะทำ�ให้เกิดสถาปัตยกรรมที่ดีใน อีกรูปแบบหนึ่ง “ เพื่อนอีกคนเริ่มหาลู่ทางไปหาทุน Chevening ของ British Council เป็นทุนของประเทศ อังกฤษซึ่งสถานทูตให้มา คือเราทั้ง 3 คน อยากไปยุโรปแน่ๆ แล้วประเทศที่ใฝ่ฝันก็คือ อังกฤษหรือไม่ก็เนเธอแลนด์ ไม่เคยวอกแวก ว่าไปอเมริกา มันเหมือนมีภาพอย่างหนึ่ง ตอนเรียนว่า ไปยุโรปเพราะอย่างน้อยเห็นชุด สถาปัตยกรรม มันมีรากของประวัติศาสตร์ เราได้เห็นงานทั้งสองรูปแบบ เลยคิดว่าอยาก ไปโซนยุโรปมากกว่า เราก็เลยตัดสินใจเรียน ภาษาอังกฤษที่ British Council เพราะ ว่าน่าจะเป็นที่ที่ดีที่สุด ณ ตอนนั้น ในขณะ ที่เพื่อนได้ทุน Nuffic ไปเนเธอแลนด์ ผมก็ พยายามหาทุน แต่ผมก็ติดด้วยเงื่อนไขของ ภาษา เพราะว่าทุนทุกทุนต้องการว่า ต้อง ได้ IELTS 7 หรือว่า 6.5 ซึ่งค่อนข้างสูง มาก ในตอนนั้นผมค่อนข้างมีจุด turning point เพราะช่วงที่ทำ�งานและเตรียมตัวจะไป เรียนต่อ ผมส่งประกวดแบบคือ Takiron International Design Competition พ่อ ไปส่ง ผลออกมาว่าได้ที่หนึ่ง ผมไปรับรางวัล แล้วกลับมา ในช่วงนั้นหาทุนไม่ได้ แต่บังเอิญ สมาคมสถาปนิกสยามประกาศรับ Young Thai Architect เป็นตัวแทนไปรับทุนไปที่ ญี่ปุ่น โดยทุนนี้จะให้เราไปทำ�ออฟฟิศ ไป ทำ�รีเสิร์ช หรือทำ�ทั้ง 2 อย่างเลยก็ได้ ปี ก่อนๆ ทุนจะตกอยู่ที่ช่วงเวลา 3 เดือน แต่ปี ผมค่อนข้างโชคดีที่ให้ไป 9 เดือน ครบรอบ ลูปของประเทศกำ�ลังพัฒนามาตกที่เมืองไทย พอดี ผมก็เลยตัดสินใจสมัครทุนนี้ โดยที่ผม มี back รางวัลที่จากญี่ปุ่นมา Takiron International Design Competition มันก็ เลยเวลาสัมภาษณ์ไปแข่งกับสถาปัตย์ฯ จุฬาฯ ลาดกระบัง มันก็เลยดูมีน้ำ�หนัก สุดท้ายผม ก็ได้ทุนนี้ พูดง่ายๆว่าเป็นครั้งแรกที่ไปใช้ชีวิต 64

ยาวๆที่ญี่ปุ่น ผมมีโอกาสไปอยู่ที่ Waseda University ไปทำ�รีเสิร์ชอยู่ประมาณ 3 เดือน แล้วอีกครึ่งหนึ่งผมก็ขอทาง JIA (Japanese Institute Architecture) ซึ่งเป็น host เขา ก็ให้ความกรุณาเรา คือติดต่ออาจารย์ฟุรุ ย่าที่อยู่ที่ Waseda University เพื่อไปอยู่ ที่ lab ของเขา 3-4 เดือน แล้วส่วนอีกครึ่ง หลังที่เหลือ ทาง JIA ก็ติดต่อให้ที่ออฟฟิศ Toyo Ito ซึ่งผมก็ได้ไปฝึกงานที่นั่น คือทุนนี้ มันดีอยู่อย่างที่ให้ค่าใช้จ่ายค่อนข้างดีมาก คือ วันละประมาณ 2 หมื่นเยน กินอยู่สบาย เงินเหลือเก็บ ช่วงเวลา 9 เดือนเป็นช่วงเวลา ที่แบบได้ความรู้จริงๆ มีโอกาสได้เดินทางขึ้น เหนือลงใต้ มีอาจารย์ที่ปรึกษา มีโอกาส ได้ practice เห็นสภาพแวดล้อมออฟฟิศที่มัน international จริงๆเป้นอย่างไร หลังจาก 9 เดือนผมกลับมารู้เลย ว่า ผมจะไม่ทำ�งานต่อ สเต็ปต่อไปคืออย่างไร คือได้เวลาแล้ว ขณะที่เพื่อนผมอีกคนสตาร์ท ปริญญาโททุน Nuffic ที่เนเธอแลนด์ ผม กลับมาอีกปีเขาก็จบแล้ว แต่ผมยังหาทุนที่ เรียนต่อที่อังกฤษไม่ได้เลย ผมก็กลับมาคุย กับที่คณะว่ามีทุนอะไรบ้างไหม เพราะช่วง นั้นมี economic crisis ทุนค่อนข้างจะมี น้อย บังเอิญมีทุน กพ เป็นทุนเรียนปริญญา โทถึงเอก โดยที่เขาต้องผลสอบภาษา IELTS 6.5 และมหาวิทยาลัยต้องรับแล้วโดยไม่มี เงื่อนไข ผมมีใบตอบรับจากมหาวิทยาลัย แล้วที่ Bartlett School แต่ผมสอบ IELTS เท่าไรผมก็สอบไม่ได้ ผมโง่ภาษาอังกฤษ มาก เพราะฉะนั้นก็มีทางเดียวก็คือ ถ้าไป เรียนภาษาที่โรงเรียนเขาเลยโอกาสได้สูง ผมก็ เลยบินไปเรียน เขากำ�หนดไว้เลยว่าต้องเรียน อย่างน้อย 8 วีค ห้ามขาดกี่ครั้ง ในขณะที่ เรียนการสอบสัมภาษณ์ผมอยู่ระหว่างที่เรียน

ผมไปเรียนทีนั่นแล้วบินกลับมาสัมภาษณ์ที่ ไทย สัมภาษณ์เสร็จผมบินกลับไปเรียนต่อ เพื่อหวังแค่ว่าการตอบรับจากมหาวิทยาลัย แบบไม่มีเงื่อนไข ผมใช้เงินตัวเองทั้งหมดเลย นะ ผลสุดท้ายผลออกมา ทุน กพ ก็ไม่ ได้ แล้วเรียนภาษาอังกฤษช่วง 8 วีคก็สอบไม่ ผ่าน คือมันเหมือนเป็นช่วงเกิดอะไรในชีวิตไม่รู้ ความมั่นใจทั้งหลายทั้งปวงที่ว่าเราก็เป็นหนึ่งใน ตองอู ไม่เคยเป็นรองใครมันเปลี่ยนไปหมดเลย ผมเลยกลับมาซับน้ำ�ตาที่บ้านแล้วเริ่มต้นใหม่ คราวนี้ภาษาอังกฤษต้องเอาให้ได้ก่อน แล้ว ค่อยไป คือแบ็กกราวน์ของผมไม่ค่อยดีเท่าไร เพราะว่าถ้าไม่ผ่านจุดนี้ก็ไปต่อไม่ได้ ผมคิด ว่าทุกคนมันต้องเจอ ไม่ว่าจะเจอหนักเจอเบา บางคนพื้นฐานภาษาอังกฤษดีอยู่แล้วมันก็ดีไป ช่วงนั้นด้วยความพยายาม เหมือน กับว่าฟ้าประทานมาเลย มีทุน กพ อยู่ตัว หนึ่ง เป็นทุนสำ�หรับผู้ชนะการประกวดระดับ ประเทศหรือระดับนานาชาติ แต่ว่าทุนนี้ สำ�หรับเรียนปริญญาโทอย่างเดียว ซึ่งไม่สนใจ เรื่องเกรด ยังไม่ต้องมีสถาบันมาตอบรับด้วย ตอนนั้นผมก็ไปสอบแข่ง คือบรรยากาศทุน กพ ตอนที่ผมไปสัมภาษณ์ครั้งแรกกับครั้งที่


สอง ผมบอกไว้เลยนะ ทุกคนที่ไปสัมภาษณ์ ทุน กพ มันเป็นเหมือนการเล่นละครรูปแบบ หนึ่ง มันมีทั้ง staff ใจดี และ staff โหด จะคอยบอกว่า “เฮ้ย นี่หรองานคุณที่ได้ที่หนึ่ง ไม่เห็นจะมีอะไรเลย” เขาจะทดสอบวุฒิภาวะ ทางอารมณ์ เพราะการที่คุณจะรับทุนการ ศึกษาจากรัฐบาลไปต่อต่างประเทศคุณต้อง มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ดีพอที่จะควบคุมอะไร บางอย่างได้ เพราะฉะนั้นเป็นเรื่องธรรมดาที่ นักศึกษาไปสัมภาษณ์ทุนอาจจะเจอได้ แต่สมัย นี้ไม่รู้เป็นอย่างไร ผลสุดท้ายผมก็ได้ทุนนี้ เขาก็ให้ เวลา 1 ปีในการหาสถาบันการศึกษา ผมเลย ตัดสินใจเอาเงินอีกก้อนไปใช้ชีวิตที่อังกฤษ คือ เรียน take course เป็นเวลา 6 เดือน ซึ่ง ผมว่าเป็นช่วงเวลาที่ได้ปรับตัวด้วย เรามี โอกาสอยู่ที่ลอนดอน ได้อยู่ใกล้ๆโรงเรียนที่ เราอยากเรียน เราได้ไปดูคอร์สที่เราจะเรียน ว่ามีอะไรบ้าง เพื่อจะได้ใช้โอกาสครั้งนี้ให้ไม่ผิด พลาด ครั้งนี้ค่อนข้างที่จะลงตัว ก็มีโอกาส ได้ไปทำ�งานร้านอาหารเป็น sink director ล้างห้องน้ำ� ทำ�ทุกอย่าง เรียนภาษาไปด้วย ได้เงินมาก็เอามาใช้ในการดำ�เนินชีวิต ได้ไปดู

exhibition นั่นคือภาพรวมในช่วงที่ไปใช้ชีวิต อยู่ได้ด้วยตัวเอง สุดท้ายก็สอบภาษาอังกฤษ ที่นั่น แล้วก็ผ่าน มันเหมือนปลดล็อคเลย สุดท้ายผมตัดสินใจเรียนที่ AA Architectural Association School ก็ได้ เลือกคอร์สที่ตัดสินใจ คือคิดว่าเป็นจุดเริ่มต้น ที่ได้เรียนต่อที่ต่างประเทศ การศึกษาของ AA ต่างกับที่ไทยอย่างไร ตอนแรกทดลองจากการตั้งคำ�ถาม หมดเลย ลืม language รูปแบบของงาน สถาปัตยกรรมหมดเลย ช่วงเรียนภาษา 6 เดือน ผมไปดูงาน Bartlett School AA พูดง่ายๆเหมือนหลายคนที่ไปดู คือดูไม่รู้ว่านี่ เป็นงานสถาปัตยกรรมหรือ มีที่มาอย่างไร พอเราไปเรียนก็ค่อยเก็ทไอเดียตั้งแต่เบสิคจนถึง จุดที่เราต้องเข้าใจแล้วแหละ เราก็ลองผิดลอง ถูก เขาจะสอนให้เราทดลอง physical model ก่อน ทดลอง property ของวัสดุ แล้วเราเอาการทดลองมาจำ�ลองเป็น digital tool หาร่วมกับ toolของคอมพิวเตอร์ เช่น มีอยู่ทีมหนึ่งทดลองหยดหมึกลงในน้ำ� ดู

ทิศทางการไหลของหมึกในน้ำ� แล้วเอามา simulate ในคอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรม Maya Rhino โดยลอจิกตรงนี้เอามาแปลง เป็นสถาปัตยกรรม ซึ่งสเต็ปตรงนี้จะมีการ ลองผิดลองถูกมากมาย เน้นการทำ�งานร่วมกับคอมพิวเตอร์ มากกว่า เพราะหลายๆสิ่งมันไม่สามารถ operate ได้ด้วยสมองมนุษย์ แต่ในขณะ เดียวกันในฐานะเป็นดีไซน์เนอร์ เราก็ต้องเรียน รู้ที่จะยอมให้คอมพิวเตอร์คอนโทรลเราได้มาก น้อยขนาดไหน เพราะสุดท้ายมันก็คืองานของ เรา เราก็ต้องคอนโทรลมันให้ได้ระดับหนึ่ง อยากให้อาจารย์ลองเล่าบรรยากาศในการ เรียนว่าเป็นอย่างไรบ้าง คิดว่ามีข้อดีข้อเสีย อย่างไรบ้างครับ คอร์สมีหลายคอร์สทั้งเรียนเดี่ยว และกลุ่ม คอร์สที่ผมเรียน ช่วงแรกเป็นเวิร์ค ชอปงานเดี่ยว หลังๆจะเป็นงานกลุ่ม เป็น ลักษณะการ sharing ข้อมูล เพราะเขาเชื่อ ว่า เขามองจากชีวิตจริงว่าสุดท้ายคุณทำ�งาน คนเดียวไม่ได้นอกจากทำ�บ้านหลังเดี่ยว เพราะ ฉะนั้นระบบการเรียนการสอนจะเป็นลักษณะ 65


open source คือแต่ละกลุ่มแชร์ข้อมูล กันเอง และในชั้นปีแต่ละกลุ่มก็แชร์ข้อมูลซึ่ง กันและกัน ซึ่งมันมีทั้งข้อดีและข้อเสีย ข้อเสีย ก็คือเราต้องลดอัตตาเราค่อนข้างเยอะ ซึ่ง แต่ละคนก็เป็นสตาร์มาจากแต่ละประเทศ ทุก คนมีอีโก้สูงมาก ก็ต้องลดความเป็นตัว ตน และเบลนเข้าหากัน ก็มีทั้งช่วงเวลาที่เจ็บ ปวดและมีความสุขเป็นเรื่องปกติ แต่ทุกคนให้ เกียรติหมด เขาไม่มองว่าเราเป็นคนเอเชีย ดู ระบบความคิดมากกว่า หลังจากอาจารย์เรียนจบทำ�ที่ AA Architectural Association School จากนั้น อาจารย์ทำ�อะไรต่อครับ พอเรียนจบทุน กพ เขาให้กลับเลย คือผมมีอยู่สองช้อยส์ อันแรกคือขอเรียนต่อ ปริญญาเอก กับอีกอันคือกลับบ้านมาทำ�งาน ผมยอมรับเลยว่าตอนที่ผมไปเรียน ตัวผม อยากเป็นสถาปนิก เป็นอาจารย์ก็อยากเป็น แต่ใน position ที่อยากเป็นอาจารย์พิเศษ มากกว่า เพราะว่าทำ�งานประจำ�ผมไม่แน่ใจว่า มีเรื่องอื่นเข้ามาเกี่ยวข้องหรือเปล่า ผมก็เลย ตัดสินใจว่าผมไม่ต่อ doctor ผมอยากมาลอง ดูว่าชีวิตอาจารย์เป็นอย่างไร พอมาถึงวันนี้ ชีวิตก็ติดลบอยู่อย่างนี้ (หัวเราะ) เรียนปริญญาโทที่ต่างประเทศ ไม่เหมือนเรียนปริญญาตรีที่ไทยอย่างสิ้น เชิง สิ่งที่เราเคยชินพวกสายลม แสงแดด สวยงาม มุมมองทางสถาปัตยกรรมมัน

66

ถูกเปลี่ยนให้หัดคิดในอีกระบบหนึ่ง ระบบที่ ต้องหาเครื่องมือในการออกแบบ ต้องทดลอง งาน ความสามารถในการใช้มือกับเครื่อง มือก็มีลิมิต เพราะฉะนั้นคอมพิวเตอร์มีส่วน สำ�คัญในการเรียนการสอนที่ต่างประเทศ ทุก อย่างค่อนข้างแปลกใหม่ ไปเรียนด้วยความ เหนื่อยยาก ถึงได้ทุน กพ ค่าใช้จ่ายก็ไม่ พอ ผมก็เลยทำ�งานไปด้วย เพราะเรียนพวก สาขาดีไซน์จะใช้เงินเยอะมาก ใช้ตัดโมเดล ค่า วัสดุ เราต้องทำ� 3d printer ซึ่งสมัยนั้นที สิสตกที่ประมาณ 2 แสนบาท โชคดีที่เป็น งานกลุ่ม ก็เลยเฉลี่ยกันไป ก็ได้ความรู้ ได้ ความสะใจอะไรบางอย่าง ได้มุมมองใหม่ ๆ ได้เพื่อนจากทุกมุมโลกมาเลย เป็นคอร์ส ที่รวบรวมคนจากนานาชาติมาจริงๆ มัน ก็ทำ�ให้มีสังคม พอเรียนจบปุ๊บ ผมก็เลย ตัดสินใจไม่ต่อป.เอกนะ ก็ขอหยุดตรงนี้ก่อน ผมทำ�งานกับ Toyo Itoมา ก็เลยอยากรู้ว่า Zaha Hadid เขาทำ�งานอย่างไร ประกอบ กับคอร์สที่ผมไปเรียน co director ชื่อ Patrik Schumacher เพราะฉะนั้นเด็กที่จบ คอร์สนี้ เฟส 2จาก AA จะมีสถาปนิกระดับ โลกมาวิจารณ์งานคุณ เป็น culture ของ เด็กคอร์สนี้ว่าคุณจะต้องไปต่อที่เฟส 3 กับ Zaha Hadid คือไปทำ�งานจริง ผมก็เลยไป คุยกับทาง กพ ว่าเป็นไปได้ไหมว่าผมขอทำ�งาน โดยที่ผมไม่ขอรับเงินเดือนจากทาง กพ ผม พอแล้ว ซึ่งทาง กพ ก็โอเคแต่ขอแค่ระยะ เวลา 3 เดือน ผมก็เลยไปคุยกับ Patrik


Schumacher ว่าผมมีเงื่อนไขแบบนี้ขอ ทำ�งานได้ไหม ซึ่งก็ได้ทำ�งาน และได้เงินเดือน ด้วย ก็ได้เงินเดือน range เดียวกับสถาปนิก ที่อยู่ยาว ใช้ชีวิตอยู่ได้สบายๆ รูปแบบการทำ�งานของออฟฟิศ ZAHA เป็น อย่างไรครับ เป็นลักษณะทีมอยู่ คนที่เข้าไป ทำ�งานก็คือเป็นเพื่อนเราทั้งนั้นที่จบเฟส 2 และ ไปทำ�เฟส 3 ต่อ เพื่อยชนสนิททั้งนั้น ส่วน ใหญ่ก็เอาเครื่องมือที่เราค้นคว้าตอนเฟส 2 มา ลองเล่นที่เฟส 3 เพราะฉะนั้นที่ ZAHA กับ คอร์สที่ผมเรียนจะมีรีเลชั่นกับในเรื่องของการ ทำ�งานและการสอน เพราะฉะนั้นงานรูปแบบ ที่เห็นออกมาหลายชิ้นก็ base on เครื่องมือ ของนักเรียนนี่แหละ ถามว่าผมชอบงานเขาไหม หลายๆชิ้นก็ ดี หลายๆชิ้นก็ไม่ค่อยเข้ากับแนวทางผมเท่าไร เพราะฉะนั้นเราก็เรียนรู้ที่จะเข้าใจ อย่าคล้อย ตามเขาไปหมด ดูว่าเขาคิดอย่างไร เลือก แบบอย่างที่เหมาะกับเรา อย่างนี้อาจารย์พอจะเห็นภาพอย่างไรบ้าง ครับ ระหว่างการทำ�งานต่างๆออฟฟิศ ระบบการทำ�ออฟฟิศเล็กๆก็ทำ�ให้ คุณทำ�งานครอบคลุม process ทุกขั้นตอน แต่ถ้าทำ�งานออฟฟิศใหญ่ก็ค่อนข้างเป็นระบบ มากกว่าออฟฟิศเล็ก คุณไปทำ�งานออฟฟิศ ใหญ่ก็อาจจะมีสวัสดิการดี มีฟิตเนสให้ตอน

เย็น สวยๆหล่อๆ มีปาร์ตี้ประจำ�ปี มีกีฬาสี คุณอยู่ออฟฟิศเล็กจะไปกีฬาสีกับใคร (หัวเราะ) แต่ด้วยความเป็นออฟฟิศเล็กก็มีความคล่องตัว รูปแบบหนึ่ง

สุดท้ายนี้อาจารย์มีอะไรฝากอะไรถึงน้องๆ ที่กำ�ลังจะจบ หรือหาแนวในการเรียนต่อ อย่างไรบ้างครับ ผมคิดว่าพวกคุณมีโอกาสค่อนข้าง เยอะ gen นี้ที่บ้านค่อนข้างจะมี supแล้วรูปแบบทางการทำ�งานที่ต่างไป ทำ�ให้ port เรื่องทุนหรือไม่ทุนผมไม่ห่วงเท่าไร ถ้า ทัศนคติปรับเปลี่ยนไปอย่างไรครับ มีโอกาสใช้ทุนครอบครัวได้ก็ไปเหอะ มันก็ ปรับเปลี่ยนเยอะ มุมมองเรากว้าง เป็น shortcut อันหนึ่งที่ทำ�ให้ชีวิตเราไม่ต้อง ขึ้น ตอนเราเรียนที่ศิลปากรหรือตอนทำ�งาน เครียดมาก มีรุ่นพี่ผมคนหนึ่งที่เรียนคอร์ส ที่เมืองไทย เรียนที่ศิลปากรก็มีอิทธิพลรูป เดียวกับผม พอจบก็ทำ�งานที่ Zaha ปีสอง แบบหนึ่ง เพราะมีเซ้นส์ทางด้านเอเชีย ทำ�ให้ ปีเก็บเงินคือทุนได้ พอกลับมาก็เป็น creผมได้รางวัลที่ญี่ปุ่นด้วย แต่ว่าที่ฝั่งยุโรปเขาไม่ ative director ได้เงินเดือน 7-8 หมื่นเมื่อ ได้มอง spiritual อะไรทั้งนั้น เขามองในเรื่อง ประมาณ 4-5 ปี ซึ่งค่อนข้างเยอะเหมือน ที่มาของฟอร์ม ที่มาของสเปซ มันค่อนข้าง กัน เพราะฉะนั้นผมมองว่าถ้ามีโอกาสก็ลอง เป็นทางกายภาพ เป็นการเรียนรู้ logic ที่ให้ balance ดีๆ อย่างผมเรียนคอร์สเดียวกัน เกิดมาซึ่งฟอร์มและสเปซ ในขณะที่เราเรียนที่ ทำ�งานที่ Zaha แปบเดียว กลับมาเงินเดือน ศิลปากร เด็กหลายๆคนถูกกล่อมเกลาไปด้วย เริ่มหมื่นห้า คุณเห็นความแตกต่างเปล่า อัน spiritual ค่อนข้างเยอะ สายลม แสงแดด นี้ผมพูดถึงลอจอกส์ในการใช้ชีวิตจริง คนเรา ธรรมชาติ วัฒนธรรม ความเชื่อ สิ่งที่ได้ ต้องใช้เงิน แต่ผมอยู่อย่างนี้ผมก็มีความสุขอีก จากการไปเรียนต่างประเทศก็ได้ชุดความคิด แบบหนึ่ง ได้เจอนักศึกษา แล้วสำ�หรับเด็กที่ แบบหนึ่ง พอเรากลับมาคิดว่าทั้งสองอย่างน่า วางแผนเรียน หนึ่งคือเรื่องภาษาต้องเตรียม จะเบลนเข้าหากันได้ ถ้าอันหนึ่ง base on ตัว ถ้ายังไม่รู้จะเรียนอะไรก็ลองทำ�งาน ลอง logic ที่ชัดเจน อีกอันเป็นเรื่องของสภาวะ ไปอยู่ออฟฟิศที่ดีๆ ออฟฟิศที่จะเป็นแนวทางที่ จิตใจ ผมว่าก็จะทำ�ให้เกิดสถาปัตยกรรมที่ดี ผลักดันคุณต่อไปได้ หรือจะไปอยู่ในสายงานที่ ในอีกรูปแบบหนึ่ง เรียนจบแล้วก็คิดหนักว่าจะ คุณชอบ บางคนชอบเขียนหนังสือ บางคน เอามาใช้อย่างไร จะเอาฝรั่งมาใช้ทั้งหมดคงไม่ ชอบคุณงาน ก็ลองไปอยู่ ไปเรียนรู้ช่วงเวลา ได้ ต้องใส่ความเป็นตัวเรา ที่ไปใช้ชีวิตจริงครับ

67


Veranit Amornprasertsri วีระนิตย์ อมรประเสริฐศรี

ปริญญาตรี ปริญญาโท ปัจจุบัน

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Master of Science (Architecture), Bauhaus University ,Germany สถาปนิก Normal Studio อาจารย์พิเศษ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

อาจารย์แนะนำ�ตัวคร่าวๆ ประวัติส่วนตัว ทำ�ไมสนใจไปศึกษาต่อต่างประเทศครับ ครับก็ (หัวเราะ) ผม วีระนิตย์ อมรประเสริฐศรี ครับ ศึกษาเบื้องต้น ปริญญาตรีที่คณะสถาปัตย์ฯศิลปากร แล้ว ก็จบปี 2545 จากนั้นหลังจากจบก็ ทำ�งานอยู่ซัก สองปีครึ่ง แล้วก็ไปเรียน ต่อที่ประเทศเยอรมนี ตอนนี้เหตุผลจริงๆ ที่อยากจะไปเรียนคือความจริงอยากจะไป เที่ยวมากกว่า ก็ดูในแผนที่เนี่ย รู้สึกว่าถ้าไป เยอรมันน่าจะเที่ยวง่าย เพราะว่าตำ�แหน่ง มันอยู่จุดศูนย์กลาง แล้วก็มันน่าจะเดิน ทางไปไหนมาไหนได้ง่าย ประกอบกับช่วง นั้น เยอรมันค่อนข้างจะเป็นนโยบายเรียนฟรี อยู่ คือเราไม่ต้องเสียค่าเทอม ก็มีแค่ค่าใช้ จ่ายชีวิตประจำ�วัน ซึ่งน่าจะง่ายกว่าไปที่อื่น แล้วก็ประกอบกับสนใจงานออกแบบของทาง โซนประเทศพูดภาษาเยอรมันอยู่แล้ว สวิต เยอรมนี ออสเตรีย ก็เลยคิดว่า น่าจะเหมาะ กับเราที่สุด ในการที่ซักช่วงนึงได้ไปใช้ชีวิตอยู่ ต่างประเทศ 68

คณะที่อาจารย์เรียนต่อในเยอรมันและมหา ลัยครับ เรียนคณะสถาปัตย์นี้แหละครับ มหา ลัย Bauhaus ที่เมือง Weimar เป็นหลักสูตร Master of Architecture หรือเปล่าครับ ช่วงนั้นเนี่ย เผอิญมันเพิ่งเปลี่ยน ระบบ ปกติเยอรมันมันจะมีระบบค่อนข้างจะ แตกต่างจากที่อื่น มันเป็นเรื่องที่เรียกว่าภาษา เยอรมันเรียกว่า Diplom ซึ่งมันก็เหมือน Diploma ในภาษาอังกฤษ คือเป็นปริญญาที่ ให้สำ�หรับคณะที่เป็นวิชาทางเทคนิค ก็คือจะ เรียนก้ำ�กึ่งระหว่าง ปริญญาตรี กับปริญญา โทนะครับ ก็เวลาเรียนประมาณซัก 5 ปี หรือ 5ปีครึ่ง พอดีว่าช่วงที่ผมไปเป็นช่วงที่ เปลี่ยนระบบพอดี อย่าง EU ก็จะมีการรวม เป็นประชาคมยุโรปก็จะพยายามให้ระบบการ ศึกษาแต่ละประเทศมีความสอดคล้องกัน EU ก็เลยเปลี่ยนระบบ พยายามจะจัดสรรให้ ระบบทุกอย่างเป็นระบบที่ค่อนข้างจะสากล

เยอรมันก็โดนบังคับเปลี่ยนจากระบบ Diploma มาเป็นระบบ Bachelor Master นะครับ แต่ว่าก็ Bachelor Master ของเขาก็จะค่อนข้างแปลกๆหน่อย ก็คือว่า Bachelor ก็จะเรียนประมาณซัก 3 ปี แล้ว ก็ Master อีก 2 ปีมันจะเป็น 5 ปีพอดี อย่างเราก็หลังจากจบเมืองไทย Bachelor of Architectureนะครับ แต่ว่าเยอรมันก็จะ ไม่มี Bachelor of Architecture เยอรมัน จะมี Bachelor of Art หรือ of Science in Architecture ช่วงผมไประบบมันยังงงๆ อยู่มากเลย ผมอาจจะเป็นนักศึกษา Master รุ่นแรกๆของทางมหาลัย ก็คือเราไปเรียนจบ มาก็จะได้เป็น Master of Science in Architecture แต่ยุคหลังๆก็จะเปลี่ยนเป็น Master of Art บ้าง Master of Architecture บ้างก็แล้วแต่ครับ


69


แล้วอาจารย์ต้องเรียนภาษาเยอรมันก่อน หรือเปล่าครับ ก็เรียนก่อนครับตอนอยู่ที่นี่ ก็ช่วง นั้นตั้งแต่เป็นนักศึกษา ตอนทำ�ทีสิสปี5 มันก็ จะมีบางช่วงซึ่งค่อนข้างจะว่างๆ หรือว่าผม ไม่ค่อยหนักหน่วงไม่รู้ ก็ช่วงใกล้จบเราก็เริ่ม เคว้งคว้าง ก็เลยลงเรียนภาษาเยอรมันเล่นๆดูสิ ว่าเป็นยังไง ก็ไปเรียนที่สถาบันเกอเธ่ ไปเรียน ปุ๊ปเราก็รู้สึกว่า เออมัน… ก็เริ่มมีความสนใจ มากขึ้นในประเทศนี้เพราะว่าพอเรียนภาษาก็ ไม่ใช่ว่า เอาแต่นั่งเรียนแล้วก็ท่องจำ� เราได้เห็น วัฒนธรรมแล้วก็วิธีการคิดของเขา ตอนนั้น ก็เรียนเล่นๆไม่ได้คิดไรมาก คือเรียนเหมือนกับ ชิมลาง ว่าประเทศนี้เป็นยังไง แล้วก็ไปเรียน ติดก็กันมาเรื่อยๆ ทำ�งานก็ยังหาเวลาว่าง พอดีที่ทำ�งานใกล้ด้วย ตอนเย็นก็ไปเรียน ก็ใช้ เวลาต่อเนื่องประมาณซักหลายปีเหมือนกัน

เรื่องที่อาจารย์บอกว่าเรียนไม่เสียค่าใช้จ่าย นี้คือเป็นทุนของรัฐบาลหรือว่าอาจารได้ทุน แล้วเขาใช้เกณฑ์คัดเลือกยังไงบ้าง ก็คือผมว่าประเทศยุโรป ข้อดีในยุ คนั้นน่ะแต่ละประเทศก็จะมีนโยบายของรัฐบาล ให้เรียนฟรีอยู่แล้ว ฝรั่งเศส หรือว่า ฮอลแลนด์ อย่างฝรั่งเศสนี้ถือว่าค่าเรียนถูกมากแทบจะ ฟรีเลยก็ว่าได้ ถึงว่าจะมีค่าครองชีพที่สูงเทียบ กับอังกฤษ อเมริกา อย่างเยอรมันแน่นอน เลยว่า ตั้งนโยบายมาตั้งแต่สมัยเก่าแก่ ตั้งแต่ การศึกษาเบื้องต้นเรียนฟรีหมด ก็คือไม่เกี่ยว ว่าเราเป็นใครชาติไหน จะดูแค่ว่าถ้ามหาวิทยา ลัยรับเนี่ยก็ไม่มีค่าเรียนอยู่แล้ว มันจะมีแค่ค่า ธรรมเนียม ค่าลงทะเบียน บางมหาลัยก็จะ เป็นค่ารถประจำ�ทางที่เราได้ขึ้นฟรีเป็นบัตรราย เทอม ก็จะไม่มีต้นทุนที่เป็นค่าเรียน แต่จะมี ต้นทุนในค่าเช่าบ้านค่ากินอยู่อันนี้ก็ปกติ

แล้วทำ�ไมตอนนั้นอาจารย์ถึงเลือกเรียนภาษา เยอรมันครับ ความจริงผม ค่อนข้างสนใจงานพ วกสวิส คือสถาปนิกสวิส ค่อยข้างจะมีชื่อ เสียงมาก Herzog Remuron งานแบบว่า ยุคแรกๆน่าสนใจมาก เราก็ดูในแมกกาซีน ไอ้ นี่มันคิดงานอย่างนี้ เราก็ดูต่อพวกสถาปนิกที่ มันจบประเทศพวกนี้ สไตล์งานมันจะประมาณ นี้ เราก็สนใจ เราก็อยากรู้เค้าคิดยังไง เราก็ พยามยาม ความจริงเราไปเรียน เพราะเรา อยากอ่าน text มันออกมันคิดอะไร มันเป็น ความชอบส่วนหนึ่ง เราอยากไปรู้ว่าเขาอยู่ ระบบมันเป็นอย่างไรด้วย ก็เลยเลือกที่จะไป

แล้วบรรยากาศในคณะที่เยอรมันกับที่นี่ แตกต่างกันมากหรือไม่ครับ แตกต่างกัน ยังไง คือผมคิดว่าคือมีช่วงหนึ่งซึ่งผมเคย ทำ� คล้ายๆว่าเป็นวิชาเลือก มันก็จะเป็นพวก เกี่ยวกับอย่าง Bauhaus ก็จะขึ้นชื่อเกี่ยว กับเรื่องการสร้างหมุดหมายใหม่ในวงการส ถาปัตย์ฯ ก็คือเป็นยุคโมเดิน Bauhaus ก็ เป็นอะไรที่โดดเด่นมากนะครับ ก็มีวิชาหนึ่ง ที่ลงเรียน จุดประสงค์ก็คือเขาอยากรู้ว่า Bauhaus ในต่างประเทศเป็นอย่างไร เขา ก็สนใจอย่างเราที่เป็นประเทศแบบ South east asia ซึ่งไกลจากความคิดของคนยุโรป มากเลย สถาปัตยกรรมโมเดินใน South east asia จุดเริ่มต้นมายังไง ในวิชานี้ ผมก็

70

เลยได้ Professor ที่สอนเค้าอยากจะรู้มาก เรื่องผม จริงๆแล้วผมไม่อยากทำ�หรอก ผม อยากทำ�อะไรที่แบบไกลไปจากตัว แต่ว่าเขา อยากรู้มากเลยว่าประเทศไทย งานโมเดิน มันยุคไหนเป็นอย่างไรพอดีผมก็ทำ�เรื่องศึกษา เกี่ยวกับหลักสูตรของมหาลัยศิลปากร ก็มี พวกเพื่อนๆพี่ๆก็ส่งข้อมูลมาให้เป็นประวัติของ อาจารย์อัน นิมมานเหมินท์ ผู้วางหลักสูตร ของคณะทีศ่ ลิ ปากร ก็เลยเปิดอ่าน แล้วปรากฎ ว่าอาจารย์อนั ก็เป็นลูกศิษย์ของ Bachelor โก บิลุส โกรเปียส ซึ่งโกรเปียสเคยเป็น Director ของ Bauhaus อาจารย์อันเคยเป็น ลูกศิษย์ท่านที่ฮาวาร์ด อเมริกา ก็อ่านแล้ว ปรากฏว่าหลักสูตรของมหาลัยศิลปากรหรือ แม้หลักสูตรของจุฬาฯ แทบจะก๊อปปี้ของ Bauhaus หรือของ Harward มาเลย วิธี การจัดการเรียนการสอน การจัดหลักสูตร วิชาเลือกอะไรอย่างนี้เหมือนกันเป๊ะเลย ก็เลย รู้สึกว่า พอเราไปเรียนมันก็เหมือนกับว่ามัน ก็คุ้นเคย เพียงแต่ว่าสิ่งที่แตกต่างในมหาลัยที่ นั่นมันมีความอิสระในการ ให้เราเลือกจัดสรร เวลาเรียนมากกว่า วิชาเลือกมันเยอะมาก แล้วก็เราอยากรู้อะไรมันมีระบบรองรับให้เรา สามารถไปหาช่องทางเรียนรู้ได้ แล้วสังคมในคณะเป็นอย่างไรบ้างครับ ก็หลักๆผมว่าสังคมยุโรปกับเอเชีย การใช้ชีวิตจริงๆมันก็ต่างอยู่แล้ว อย่างที่โน่นก็ จะมีความเป็น individual สูงต่างคนก็จะเป็น อิสระในการที่จะเลือกเรียนวิชาไหนก็ได้ สนใจ ตัวไหน ก็จะไม่ค่อยอยู่กันเกาะเป็นกลุ่มเป็นชั้น ปีแบบของเรา ของเราถ้าจะเรียนอะไรก็เรียน รวมหมดเป็นกลุ่มก้อน ก็จะเป็นประมาณนั้น


มากกว่า ต้องแยกกันระหว่าง งานสังสรรค์ ก็จะมีกลุ่มเพื่อนที่มาสังสรรค์กัน แต่ว่าเวลา เรียนต่างคนก็จะมีแนวทางของตัวเองในทางที่ แบบตัวเองสนใจ จะเรียนอะไร คือไม่จำ�เป็นว่า เราสนิทกับคนนี้เราต้องไปลงเรียนกับเพื่อนคน นี้ตลอดไป อาจจะแบบแยกเรียนแต่ว่ากินข้าว เที่ยงก็มากินด้วยกัน หรือว่ามีปาร์ตี้ก็ไปด้วย กัน เป็นอย่างนั้นซะมากกว่า สิ่งที่ประทับใจแล้วก็ข้อดี-ข้อเสียที่ไปศึกษาต่อ ที่ประเทศเยอรมันครับ ข้อดีก็คือว่าแน่นอนมันก็เปิดโล่งก็ เป็นคำ�ตอบพื้นๆทั่วไปคือเราเห็นอะไรกว้าง ขึ้น อีกอย่างหนึ่งที่คิดว่าน่าสนใจมากคือว่า หลักสูตรที่บอกว่าหลักสูตรที่เราใช้กันทุกวัน นี้มันเป็นหลักสูตรซึ่งเหมือนกับมัน ก๊อปปี้ มาจากระบบต่างประเทศพอไปเห็นดั้งเดิมแล้ว บางทีทุกวันนี้ในเมืองไทยอาจจะไม่ใช่ทิศทางที่ เราพัฒนามันขึ้นมา เราไปเห็นของจริง รู้ ว่าจริงๆแล้ว ของจริงมันเป็นยังไง เขาเรียน อย่างนี้ไปเพื่ออะไร ระบบความคิดของ นักศึกษาของเด็กๆเราย้อนกลับไป พอเราไป เรียน เหมือนเราเป็นนักศึกษาที่นี่เราเห็นเท่า นี้ พอไปเห็นคนที่โน่นอายุเท่าเราเหมือนกัน แต่เขาทำ�ไม วิธีการคิดไม่เหมือนเรา หรือว่า สังคมมันฝึกฝนให้เขาคิดอีกแบบต่างไปจากเรา อันนี้คือสิ่งที่เราเห็นเปรียบเทียบได้ แล้วอย่างที่อาจารย์บอกว่าพอไปที่นั่นแล้วเรา ได้เปิดโลก ทำ�ให้ความคิด ทัศนคติอาจารย์ เปลี่ยนไปทิศทางไหนบ้างครับ ก็ค่อนข้างจะเปลี่ยน จากเดิมก็ เหมือนเราทุกคน เราเรียน 5 ปีเราไม่รู้เลย ว่าจริงๆแล้วมันคืออะไร ที่เรากำ�ลังเรียนกันอยู่ เรียนออกแบบเราเรียนทำ�ไม หรือเราเรียนใช้ ทำ�อะไร แต่พออยู่โน่นปุ๊ป คือผมว่ามันเป็น ความต่อเนื่องของสิ่งที่เราพูดกันในมหาลัยกับ สิ่งที่เราไปทำ�งานที่นั่นมันคือเรื่องเดียวกัน สิ่ง ที่เรา สมมติออกแบบดีไซน์ คนที่มาสอนเรา ในที่เยอรมันดีอย่างหนึ่ง คือ Professor ที่ มหาวิทยาลัยทุกคนจะต้องมีออฟฟิศเป็นของ ตัวเอง ก็ต้องการให้เป็นวิชาที่ถ่ายทอดจาก ประสบการทำ�งานซึ่งมันต่างมหาวิทยาลัย เมืองไทย ก็คือ ห้ามอาจารย์ทำ�ออฟฟิศนี้คือ ระบบราชการ หรือแม้กระทั้งห้ามทำ�ออฟฟิศ อย่างเปิดเผย ในที่นั่นจะต่างกัน ใครไม่ทำ� ออฟฟิศห้ามเป็น Professor แล้ว Professor ที่มาสอนแต่ละคนก็จะมีวิธีการ สอนแบบของใครของมันเหมือนสำ�นักวิชา ผม ว่าระบบยุโรปส่วนใหญ่จะเป็นระบบซึ่งต่อเนื่อง มาจากระบบยุคกลาง อันนี้ก็เป็นคอนเซปต์ ของ Bauhaus ก็คือว่ายุค 90 ปีก่อนที่เริ่ม มาจาก มันเป็นช่วงพีคของยุคอุตสาหกรรม

ในยุโรป ทำ�ไมทุกคนต้องทำ�ช้อนเหมือนๆกัน ทุกคนต้องทำ�ตราปั๊ม ปั๊มทองคำ�ถ้วยชาม เป็น Mass ออกมา ทำ�ไมเราไม่ย้อนกลับไป ที่ระบบยุคกลางที่ช่างฝีมือแต่ละคน มันต้อง มีระบบ master ก่อนคนหนึ่ง master ไม่ จำ�เป็นต้องจบปริญญาเลยก็ได้ แต่ว่ามีฝีมือ มากแล้วก็ใครอยากจะทำ�อาชีพนี้ ใครอยาก จะเป็นช่างก่อสร้างก็มาฝึกงานกับ master เป็นเด็กฝึกงานอยู่หลายปี ซึ่ง Bauhaus จะ เอาระบบมาจัดสรรใหม่ให้มันเหมาะสม คือ เขาจะเอาเหมือนกับว่า เทคนิคการผลิตสมัย ใหม่มาใช้ในระบบการเรียนการสอนในยุคกลาง ซึ่งอันนี้เราไปเห็นในที่นั่น คือมันจริงนะ ในมหา ลัยมันจะมีภาควิชาเยอะแยะเลยในสถาปัตย์ฯ อย่างเดียว มี 11 ภาควิชา แต่ะภาควิชาก็จะ มี Professor 1 คน Professor ก็จะเป็น เจ้าสำ�นัก เป็นพระเจ้า มีวิธีการสอนของตัว เอง เพราะเขามีวิธีการทำ�งานแบบเค้าโฟกัสด้าน นี้ เขาทำ�งานอาจไม่เหมือนคนอื่น เขาเลยมา เปิดวิชาอันนี้ เราจะเข้าไปเรียนกับเขา เราอาจ จะต้องส่ง Port ก่อนให้ดู เด็กคนนี้ทิศทาง จะเหมือนกันมาเรียนกับเราได้ไหม ดั้งนั้นเราก็เลยเห็นเลยว่า เรื่องจริงพอจบ เราก็จะเห็นแต่ละออฟฟิศก็จะมีวิธีการทำ�งาน ของใครของมัน ซึ่งก็สอดคล้องกับที่เรียนอยู่ Professor แต่ละคนก็จะมีทิศทางเป็นของ ตนเอง ซึ่งแตกต่างกับของไทย ซึ่งของไทยมี ระบบรวมสูตรมาจากทีไหนก็ไม่รู้ แล้วพยายาม ให้นักศึกษาทุกคนคิดแบบเดียวกัน แต่ไม่หา ทางให้เขามีทางไปของตัวเองซึ่งมีปัญหามากใน การเรียนของเรา เราก็จะพบว่าเวลาเราเรียน จะไม่สนุก เพราะเราโดนบังคับให้ไปในทิศทางที่ ไม่รู้ว่าเราชอบหรือเปล่า ซึ่งที่นั่นจะอิสระมาก ในการที่แบบเราสนใจที่จะศึกษาด้านนี้ ในการ ออกแบบมันก็มีหลายวิธี ออกแบบวิธีนี้ต้องไป อยู่กับ Professor คนนี้ ต้องไปฝากตัวเป็น ศิษย์ของเค้า 1 เทอมนะ อะไรอย่างนี้ อันนี้ คือข้อแตกต่างที่มี แล้วอย่างนี้ในเรื่องของเนื้อหาและหลักสูตร การเรียนการสอนของที่โน่นของ ป.โท ต่าง กับ ป.ตรีอย่างไร ก็อย่างที่บอกไปว่าคือชื่อเราอาจ จะเอามาเทียบกันไม่ได้ อย่าง ป.โท เราเรียก ป.โทที่โน่นอาจเป็นระบบการศึกษา undergraduated ของเขาเป็นระบบพื้นฐานที่ต้อง จบ แต่พอเรามาดูเป็นชื่อเป็น Master of Science เรามาแปลว่า ป.โท แต่ที่โน่นถือว่า เป็น undergraduated อยู่แล้ว เท่าที่ผมเคย เรียนก็เหมือนว่า ผมย้อนกลับไปเรียน ป.ตรี อีกรอบนึง เพราะว่าระบบที่บอกก็คือระบบ เขา 5 ปี เราเข้าไปเหมือนเขาที่ประมาณปี 4 เราจบจากที่นี่เขาจะเทียบให้เราไปประมาณจบ

ปี 3 เหมือนเราก็ย้อนกลับไปเรียน ปี4 ปี 5 ใหม่อีกเป็นอย่างนั้นมากกว่า มันก็เลยเหมือน ย้อนกลับไป คือจะทำ�งานที่โน่นได้ก็ต้องจบขั้น ต่ำ�ตรงนี้เหมือนกัน ถ้าเกิดพอดีผมอยู่โน่น ถ้าทำ�งานก็ได้ก็คือไม่ได้พิเศษอะไร ก็คือว่าจบ การศึกษาขั้นต่ำ�ของโรงเรียนสถาปัตย์ฯ แต่ พอกลับมาปุ๊ป ชื่อมันฟ้องว่า master เค้าก็ เลยเทียบให้ว่าเป็นปริญญาโท แต่ที่โน่นไม่ใช่ แล้ววิชาที่เรียนเนื้อหาที่เรียนคือมีอะไรที่พิเศษ มากกว่าที่อื่นๆในเมืองไทย ผมคิดว่ามันเทียบเคียงของศิลปากร ได้เลย ระบบมันก็มีวิชาหลักวิชาเลือกมีโปร เจค แต่ว่าโปรเจคในหนึ่งเทอมก็จะมีแค่ตัวเดียว ก็จะมีเวลา develop ก็มีตรวจแบบเหมือนกัน ตรวจแบบอาทิตย์ละครั้ง แล้วก็มีจูลี่กลางๆ เทอม แล้วก็มีจูลี่ไฟนอล พวกเราต้องเก็บหน่อ ยกิตเหมือนกัน วิชาหลัก วิชาเลือก วิชา เลือกเสรี ก็ระบบอย่างที่บอกมันก๊อปปี้กันมา แต่ว่ามันจะมีความพิเศษอย่างหนึ่งเนื่องจาก ว่าวิชาเยอะมากคือเทอมหนึ่งมีแคตตาล็อกให้ เล่มหนาๆเลย เราก็ต้องจัดสรรเวลาว่า ตัวนี้ เราลงไหวไหม บางคนก็จะเลือกโปรเจคอย่าง เดียวเพราะว่าอยากจะโฟกัส แล้วเทอมหน้าไม่ ลงโปรเจคเลย ไปลงเก็บวิชาเลือกเอาอย่างนี้ก็ มี ก็คือว่าระบบมันสามารถ เอื้อให้แต่ละคน จัดสรรเวลาตัวเองได้ อาจารย์ได้ทำ�งานที่เยอรมันเลยหรือเปล่าครับ ทำ�ครับ ก็ตอนที่เรียน ก็ทำ� ออฟฟิศที่โน่น ก็คือว่าที่โน่นมันจะมีระบบ เค้าเรียนว่า เทอมฝึกงาน คือความจริงของ ระบบเยอรมัน ข้อเด่นของมันคือว่ามันมีเทอม ฝึกงานซึ่งเป็นเทอมที่ยาวประมาณ 6 เดือน ขั้นต่ำ� ไปอยู่ออฟฟิศเลย ดรอปไปเลยหนึ่ง เทอม พอดีระบบใหม่พอเป็น master เขาตัด ตรงนี้ออกไป หลายคนก็บ่นเหมือนกันว่าข้อ เด่นของระบบที่นี้มันถูกตัดออกไป แต่ว่าเรา ก็มีอิสระในการเลือกฝึกได้ เราก็คือขอดรอป ที่มหาวิทยาลัยไว้ เค้าจะมีเทอมให้ดรอปได้ เลย 2 เทอม ไปทำ�อะไรก็ได้มันจะเป็นเทอม แบบพักร้อน ผมก็ความจริงผมต้องเรียน 2 ปี (4 เทอม) ก็คือ 3 เทอมแรกเป็นเทอมที่เรา ต้องเก็บหน่วยกิต เก็บโปรเจคให้ครบ แล้ว เทอมสุดท้ายเราก้ทำ�ทีสิสอยู่เดียว ปรากฎว่า ผมเก็บหมดแล้ว 3 เทอมแรก ผมก็ไม่อยาก จะจบเพราะว่า เราอยากจะลองทำ�งานดูก็เลย ไปขอสมัครฝึกงาน ก็ไปฝึกงานในออฟฟิศ สถาปัตย์ฯก็ดรอปไปเลยฝึกประมาณซักปี กว่าๆ เป็นเด็กฝึกงานย้อนกลับไปใหม่ ต้อง เริ่มตั้งแต่พับแบบ คือเราจะเห็นสิ่งที่เหมือนกับ ไม่สำ�คัญ งานพับแบบ A1 แรกๆก็พับแบบ อย่างเดียวเลย ตอนแรกก็เบื่อ แต่พับไปสักพัก 71


มันรูส้ กึ เป็นระบบไฟล์ การเก็บ Document เขาน่าสนใจมาก แบบจะใหญ่แค่ไหนสุดท้ายเค้า เก็บลงแฟ้ม A4 เมืองไทยก็มว้ นๆเอา สุดท้าย มันก็กอง อยูท่ โ่ี น่นทุกอย่างพักปุป๊ เข้าแฟ้มเรียง A4 เรียบร้อย เราก็ได้เรียนรูอ้ ะไรพวกนี้ ทีไ่ ด้ เรียนรูม้ ากเลยก็ระบบประกวดแบบทีโ่ น้น คือ จะได้งานออฟฟิศก็ตอ้ งประกวดแบบ แล้วระบบ ประกวดแบบเขาค่อนข้างจะเป็นระบบทีน่ า่ สนใจ โปร่งใสมาก มีประสิทธิภาพมากคัดกรองงาน ทีด่ อี อกมา แล้วคนคนประกวดแบบเป็นว่า เล่น เราจะเห็นว่างานสาธารณะเป็นงานทีด่ มี าก งานคุณภาพ เทียบกับเมืองไทยงานราชการเป็น งานทีห่ ว่ ยทีส่ ดุ ในบรรดาสิง่ ก็สร้างในประเทศ แต่ทเ่ี ยอรมันมันกลับกัน พวกงานบ้านเป็น งานทีไ่ ม่มใี ครสนใจ แต่งานราชงานงานทีร่ ฐั ทำ�เป็นงานทีท่ กุ คนแบบทุม่ ลงทุนมาก ใครจะ เดินเข้าไปก็ได้ ซึง่ มันคิดกันคนละแบบซึง่ อย่าง ระบบราชการ ก็ตอ้ งจัดประกวดแบบอย่าง โปร่งใส ซึง่ ระบบเค้าจะโปร่งใสมาก ตอนเข้าไป แรกๆ เราก็ชว่ ย support ทีมในแง่ทว่ี า่ เราก็ ทำ�พวกโมเดล หรือทำ�แบบพรีเซ้นต์อะไรอย่างนี้ แล้วก็เลยเห็นการทำ�งานเป็นทีมของทีโ่ น่น ทุกๆ งานประกวดแบบทีเ่ ข้ามาก็จะมี pattern เดียว ซ้ำ�ๆกัน การส่งแบบวิธกี ารทำ�โมเดล แล้วเรา ก็รสู้ กึ ว่ามันเวิรค์ นะ วิธกี ารทำ�งานเป็นทีมน่า สนใจมาก เคยทำ�งานโปรเจคหนึง่ renovate ทำ� museum ทีมหนึง่ ก็จะมีมา 2-3 คน ผม ก็จะร่วมกับเขา คือว่าสมมติเรานึกภาพการ เขียนแบบก่อสร้างแปลนอาคาร 1 หลังแบ่งเป็น ซ้าย-ขวา แปลนเดียวกัน 2 คนนีด้ ราฟพร้อมๆ กัน แล้วก็คนหนึง่ ดราฟด้านซ้าย คนหนึง่ ขวา หรือบางทีก่ ค็ นหนึง่ ดราฟแปลน คนหนึง่ ดราฟ

72

รูปด้านของอาคารเดียวกัน ผมก็เฮ้ย! ทำ�ได้ยงั ไง คือเหมือนกับว่าระบบทุกคนมันรู้ มันเป็น ทีมเวิรค์ ทีน่ า่ สนใจ พอดราฟเสร็จก็ปริน้ แบบ มานัง่ คุยกัน ประชุมกันนานมากวันๆนึง แล้วก็ กลับไปดราฟต่อ ผมว่า ในเมืองไทยมันทำ�ไม่ได้ (หัวเราะ) คิดว่าเป็นสิง่ ทีน่ า่ สนใจทีไ่ ปเห็น คำ�ถามสุดท้ายแล้ว มีอะไรจะฝากถึงรุ่น หลังๆ ที่จะไปเรียนต่อหรือว่าการค้นหาตัว เองเอาควรไปประเทศไหน เรียนอะไร ที่ไหน อย่างไรครับ ก็ แหม ฝากยากมันเป็น trick ส่วน ตัว (หัวเราะ) ผมว่ายุคหลังๆมันง่ายก็ตอน ผมด้วยซ้ำ�อย่างตอนผมที่ไปมันไม่มีข้อมูลไรเลย คือจะหาข้อมูลจากไหน คือไม่เคยมีคนไปมา ก่อน แล้วก็มหาวิทยาลัยมันเหมือนอยู่คนละ โลกเท่าที่เคยรู้มา อย่างเราก็คุ้นเคยระบบ อังกฤษอเมริกัน แต่นี้มันก็เหมือนกับว่าตอน แรกความจริงมันก็ส่วนหนึ่งมันก็ความบังเอิญ ที่เราไป ก่อนผมเรียนภาษา ผมก็ไม่ได้คาดว่า เราจะไป เพราะเรียนเล่นๆ สุดท้ายแล้ว ผมว่าเด็กหนังสือยุคใหม่ๆ บางคนก็ตั้งแต่สมัย เรียนมหาวิทยาลัยก็มีโอกาสที่จะไปเที่ยว ไป ฝึกงานต่างประเทศ ยุคนี้ผมว่ามันเปิดกว้าง มากขึ้นน่าจะง่ายขึ้นด้วยซ้ำ� ก็พูดกลางๆว่า ถ้าจะไปประเทศแปลกๆ เยอรมันอะไรอย่างนี้ ผมว่าก็ไปเลย มันก็แค่นั้น คืออย่างผมไปมัน ก็ไม่อะไร บรรยากาศเหมือนคนไปอยู่เมือง นอกทุกคน มันก็เสี่ยงดวงระดับหนึ่ง คือเรา ไม่รู้ว่าอะไรจะเกิดขึ้น เราก็เตรียมตัวไปแค่นี้ ผมตีตั๋วไป ตั๋วเที่ยวเดียวด้วย ผมอยู่ 4 ปี ผมไม่เคยกลับเลยนะ คือที่บ้านให้หาตั๋วกลับ กลับเอง


“ เราจะเห็นว่างานอาคารสาธารณะในประเทศเยอรมัน เป็นงานที่ดีมาก งานคุณภาพ เทียบกับเมืองไทย งานอาคาร ราชการเป็นงานที่ห่วยที่สุดในบรรดา สิ่งก็สร้างในประเทศ “

73


Nimitchai Amornprasertsri นิมิตชัย อมรประเสริฐศรี ปริญญาตรี ปริญญาโท ปัจจุบัน

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Master of Science (Architecture), Politecnico di Milano ,Italy สถาปนิก Normal Studio

เริ่มแนะนำ�ตัว ประวัติส่วนตัวคร่าวๆ แล้วก็ความสนใจ หรือ ทำ�ไมไปศึกษาต่อที่อิตาลี และเหตุผลที่เลือกศึกษาต่อครับ ก็ชื่อจ๊ะนะครับ นิมิตชัย อมรประเสริฐศรี เป็นน้องชาย อาจารย์เจี๊ยบนี่แหล่ะ ก็จบปริญญาตรีที่สถาปัตย์ฯ จุฬา ก็ทั่วไปจบ แล้วก็ทำ�งานออฟฟิศอะไรอย่างนี้ ทำ�ไปซักพักแล้วรู้สึกว่า เออมันตันๆ แล้ว เบื่อๆชีวิตมนุษย์เงินเดือน ก็มีพี่ชายไปเรียนกลับมาแล้ว เห็น เขามีความคิดที่เปลี่ยนไป เลยสนใจจะไปบ้างนี่แหละครับ ก็เริ่มทำ� พอร์ต เริ่มศึกษาหาข้อมูล สุดท้ายมันก็มาจบที่อิตาลี ครับ ทำ�ไมตอนนั้นถึงเลือกที่อิตาลีครับ จริงๆไม่ได้เฉพาะเจาะจงนะ จริงๆดูไว้หลายที่มากๆ คือพี่ อยากไม่เหมือนคนอื่นที่ว่า อยากไปประเทศนี้ แล้วเราต้องไปประเทศ นี้เท่านั้น โอเค พี่ไม่อย่างไปอเมริกาคือไม่ชอบ ไม่ไปอังกฤษเพราะ มันแพงเกินอะไรอย่างนี้ แต่อยากไปยุโรป ตอนนั้นคิดง่ายๆว่า เออ เที่ยวได้เยอะ ก็เลยหามหาวิทยาลัยในยุโรป แล้วยื่นอิตาลี แล้วเค้าก็ รับก็เลยไปแค่นี้เอง คือคอร์สพี่นี่ พี่เรียนเป็นคอร์สอินเตอร์ ก็คือก็เรียนเป็น ภาษาอังกฤษ เออ ก็คือหาพวกนี้ด้วย เดี๋ยวนี้มันก็มีเปิดเยอะขึ้น เยอะขึ้นมากๆ ชีวิตประจำ�วันนี่ก็ เราต้องพูดภาษาประเทศเขาได้บ้าง ให้เอาตัวรอดได้

74


75


แล้วพี่ไปเริ่มเรียน แบบเรียนรู้ภาษาก็คือตอน ไปอยู่นั่นแล้ว คือตอนไปอยู่นั่นเลย พี่แบบไปเรียน หน้างานเลยแล้วเป็นเรื่องที่ไม่แนะนำ�นะ เพราะ มันจะเหนื่อยมาก เรียนไปด้วยเรียนภาษาไป ด้วยเนี่ย มันจะเหนื่อยมาก ก็แนะนำ�ให้สมมุติ ว่าเราได้อยู่ในประเทศนี้แล้ว ก็เรียนภาษาของ เขาซักนิดหนึ่งเป็นเบสิค เพราะว่าไปถึงนั่นมัน แบบจะไปได้เร็วมาก เพราะเราใช้ทุกวัน อย่าง น้อยให้มีพื้นไปก่อน อย่าไปคิดเอาเองว่า เอ้ ย ! ประเทศพัฒนาแล้วโลกที่ 1 เนี่ย มันพูด อังกฤษได้ทุกคน คือมันพูดได้เป็นส่วนใหญ่ แต่ว่าในชีวิตประจำ�วันเขาพูดภาษาของเขา เรา ก็ควรมีพื้นไปซักหน่อย แล้วก่อนที่พี่จะไปเรียนพี่ทำ�งานก่อนกี่ปีครับ ทำ�อยู่2ที่ครับ ที่ละ 2 ปี ก็คือ 4 ปี แล้วมันมีช่วงก่อนไปพี่เป็นฟรีแลนซ์ ก็คือเป็น ฟรีแลนซ์ 1 ปี รวมเป็น 5 ปีครับ

76

ใช้ทุนตัวเองใช่หรือเปล่าครับ ใช้ทุนตัวเองครับเริ่มแรกใช้ทุนตัวเอง ก่อน พอไปเรียนที่นั่นขึ้นปี 2 ก็ได้ทุนจาก รัฐบาลครับ คือเราต้องสมัครไปครับ อยู่ที่ นั่นมันจะมีช่องทางรับรู้ข่าวสารเยอะกว่าอยู่นี่ อยู่แล้ว คืออยู่นี่เราไม่มีทางรู้ แต่อยู่นั่นเรามี เพื่อนมีอาจารย์อะไรอย่างนี้ และก็จะตามๆกัน ไปตามข่าวสารหรือวิธีสมัครทุน แล้วก็ต้องเต รียมเอกสารยื่นสมัคร คือถ้าเราเข้าข่ายประ เทศเนี่ย มันก็ได้ เพราะว่าทุนค่อนข้างเยอะ แล้วตอนก่อนจะไปเรียนอิตาลี คือเราก็ตอ้ งเตรียมสอบอังกฤษ หรือ สอบอะไร ใช่ คือพวกนัน้ เราก็ตอ้ งเตรียม ต้อง อ่านภาษาหรือพอร์ต หรืองานเอกสารต่างๆ commendation letter transcript พวก นีม้ นั ต้องเตรียมอยูแ่ ล้ว คือทางมหาวิทยาลัย เค้าจะ require มาว่ามันจะสมัครคอร์สนีไ้ ด้ มันต้องมีคณ ุ สมบัตอิ ะไรบ้าง จะสมัครทุนได้ ต้องผ่านเกณฑ์อะไรบ้าง คือพวกนีเ้ ค้ามีบอก หมดแล้วคือส่งไปก็ตอ้ งรอให้เขาตอบรับมาก่อน

แล้วพวกเนื้อหาหลักสูตรการสอนการเรียน ของที่นั่น คือพี่เรียนทาง M.arch เลยหรือ เปล่าครับ ครับของพี่ M.science ของยุโรป เป็น M.science คือยุโรปมันเป็นระบบนั้น ครับ ไม่ได้เป็นมาสเตอร์ แต่จริงๆแล้วเรา เหมือนแบบ คือของเขาเป็นแบบ 4+2 ไง คือเราไปเรียน Master เราไปเรียน 2 อยู่ ประมาณปี 4 ปี 5 ของเขา ก็คือ วิชาที่ เรียน ที่จริงค่อนข้างคล้ายกับไทยแต่คือแตก ต่างกันใน Detail มันก็มี Studio ไรพวก นี้ มี Construction มี History มีวิชา Lecture ที่ต้องเรียน วิชาเลือกก็เรียน ครับ แล้วการเรียนการสอนที่นั่นต่างกับที่นี่อย่างไร บ้างครับ บรรยากาศ หรือ Process อย่างไรบ้างครับ พี่คิดว่าต่างมากเลยนะ ยกเป็น อย่างแรกคือเรื่อง วิชาในคอร์สเขา คือมัน ค่อนข้างให้อิสระนักเรียนอย่างมาก คือว่า อย่างที่พี่ไปเรียนครับ มันจะไม่มีวิชาต่อเนื่อง


เลย คือเทอมหนึ่ง ถ้าเขาเปิดวิชา เรา สามารถลงเก็บหน่วยกิตอิสระ เลย แล้วก็ มีเรื่องหนึ่ง มหาวิทยาลัยที่พี่เรียน เรื่อง การสอบตกหรือไม่ไปสอบเป็นเรื่องปกติมากๆ คืออย่างนักเรียนไทยสอบตก คุณต้องซ้ำ� ชั้น มันจะกดดัน ลงชั้นต้องไปเรียนกับน้อง ที่นั่นไม่มีเลย คือของพี่วิชาเรียนภายในหนึ่ง ปี เขาให้เปิดสอบได้ 3-4 ครั้ง แล้วก็สอบ ได้เรื่อยๆไป คือสมมติเปิดสอบ Summer ไม่พร้อมไม่มาสอบได้ เก็บไปสอบ Winter หรือไปสอบ Spring อย่างนี้ สอบตกคุณ ก็มาสอบใหม่ คือเป็นเรื่องปกติมาก แล้ว เรื่องที่แตกต่างอย่างวิชา Design Studio เขาค่อนข้างเปิดกว้างมากๆ แบบคือมัน Abstract กว่าเยอะ อย่างเช่นว่าพี่เคยได้ โจทย์มาว่า คือเขาจะไม่บอกโจทย์ด้วยซ้ำ� เขาบอกว่า เทอมนี้เราจะเรียน Design Studio Project อยู่เมืองนี้ แล้วเขาก็พา นั่งรถมหาวิทยาลับลงไปเดินในเมืองนี้ เดิน เลย 1 วัน หรือใครจะค้างก็ได้นะ แต่ไม่ บอกนะให้ทำ�อะไร แต่บอกว่า Project จะ

อยู่ในเมืองนี้ แล้วเค้าก็ค่อยๆพัฒนาไป อ่าน หรือเห็นอะไรมาในเมืองนี้ ถ่ายรูปมาหรือ ว่าไป Sketch มา ไป Present มาว่า เมืองนี้มันน่าสนใจใน Context ของเมือง อย่างไร เขาก็ให้ทำ�ไปเรื่อยๆ และสุดท้ายเขา บอกว่า Site อยู่บนจุดเล็กๆนี้ ให้เราเสนอ ว่า ที่คุณวิเคราะห์มา คิดว่าเมืองนี้มันขาด สถาปัตยกรรมอะไร public ที่คุณอยาก จะทำ�มันเหมาะกับตรงนี้อย่างไร คือเรื่อง ความงามหรือว่าเรื่องอื่นๆนี่เขาแทบจะไม่สนใจ แล้ว คือเค้าสนใจ Process ที่ว่า คุณคิด อย่างไรมันถึงมาเป็นงานแบบนี้ มีเพื่อนพี่ บางคน คอร์ส อินเตอร์ เพื่อนจีนโปร 3D render อย่างเทพ ไปถึงนี่ อาจารย์แทบจะ ไล่ออกกลับบ้านเลย มันไม่มีกระบวนการ คิดไง กับอีกคนที่เอาไม้จิ้มฟันกากๆ มาต่อ เป็นโมเดลของ Concept เขาก็ชอบมากคุย กันครึ่งชั่วโมง ว่าเธอคิดอะไร อย่างไร มันก็ เป็นอย่างนั้นไป

แล้วสังคมตอนเรียนนี่คือส่วนใหญ่เขาเป็น อิตาเลียนหรือป่าวครับ ครึง่ ๆ ครึง่ หนึง่ จะเป็นอิตาเลียน ครึง่ หนึง่ ก็เป็นนานาชาติ Class ค่อนข้างใหญ่ เลยทีเดียว Class หนึง่ 100 คนส่วนใหญ่เป็น งานกลุม่ ครับ เป็นงานเดีย่ วก็มเี ป็นงานกลุม่ ก็ มีคอื พีว่ า่ มันต่างกันตรงทีม่ นั เป็นคอร์สอินเตอร์ ฉะนัน้ มันมาจากทัว่ โลกไง คือมันต่างที่ background กว่าจะปรับ background บางทีก็ เกินครึง่ เทอม มันก็แตกต่างทีต่ รงนัน้ แต่ขอ้ ดี ก็คอื เราก็ได้เห็นว่า ไอ้คนนีม้ นั คิดอย่างนี้ ไอ้ คนนีม้ นั คิดอย่างนี้ คือเราเห็นว่าแบบ เออชาติ ยุโรปจะใช้สกิลวาดรูปไม่คอ่ ยเก่งหรือว่า แต่ใช้ สกิล Photoshop หรือคอมพิวเตอร์เทพมาก อะไรอย่างนีค้ รับ เขาเห็นเรา Sketch อย่างนี้ เราเขีย่ ๆ ส่งอาจารย์ทไ่ี ทยเราได้ C ชัวร์ แต่ท่ี นัน่ แทบจะขอถ่ายรูปแปะผนังบ้านเลย วิธคี ดิ ก็ แตกต่างกันอย่างเรา ก็ Sketch มือก่อน ไอ เดียออกมาก็Sketch มือก่อน บางคนเอาส ปาเก็ตตีม้ าตัดโมเดลก็ยงั มี คือมันค่อนข้างจะ เปิดโลกทัศน์ไง 77


“ ก็ไม่มีผิดไม่มีถูก มันอยู่ที่ว่าเราจะเอาอะไร คือเราจะ ทำ�งานไปเรื่อยๆก็ได้ ไม่ผิด ถ้าเราแฮปปี้กับตรงนั้น อยากไป เรียนต่อมันก็ได้เหมือนกันก็เราอยากไปเรียนต่อ คืออย่าง ที่น้องบอกมันก็คือการลงทุน ถูกเปล่า ไปเห็นอะไรเยอะๆ อย่างนี้เราก็เอาประสบการณ์มาใช้ “

78


แล้วความคิดหรือทัศนคติ มุมมองไรคือหลัง จากไปอิตาลีแล้วเปลี่ยนไปในทิศทางไหนครับ ก็เปลี่ยนเยอะเลยนะ คือ เหมือนว่า เราไปเห็นเยอะ มันไม่ใช่แค่เห็นในมหาวิทยาลัย คืออยู่ยุโรปเราไปเห็นได้ทั่ว สามารถไปดู งานอะไรได้ทั่ว คือมันมีมุมอื่นให้มองอีก เยอะ อย่างเช่นอะไรที่บ้านเราไม่มีอย่างเช่น ระบบผังเมือง ที่บ้านเรามันเป็นระบบผังเมือง ล้มเหลว ระบบขนส่งนี่มันมีผล แบบมันไป อธิบาย Space อย่างไร ระบบ Block ระบบ Grid ที่เราเรียนในห้อง Class Urban Planing คือออกไปแล้วเห็นเขาใช้จริงๆ แบบ อาคารอนุรักษ์อะไรอย่างนี้ ออกไปก็เห็นเขาใช้ จริงๆในงานอนุรักษ์ ทำ�ให้เรามีมุมมองมากขึ้น มีข้อเสียอะไรที่ไม่ดีตอนไปอิตาลีบ้างครับ คือ ก็นับเรื่องที่ไม่เตรียมตัวไปไม่ครบ หรือไม่เป็นภาษา ข้อเสียก็คือ อิตาลีนี่เขาขึ้น ชื่อเรื่องระบบการบริหารต่างๆครับว่าค่อน ข้างจะมั่ว เมื่อเทียบกับประเทศอื่นที่ค่อนข้าง จะrigid อย่างเยอรมัน ก็ทำ�ให้เราปวดหัว เรื่องการปรับตัวในชีวิตประจำ�วันในช่วงแรกๆ ซึ่งมันมีเป็นธรรมดาอยู่แล้ว กับการอยู่เมือง นอกแต่อิตาลีนี่ค่อนข้างจะมี Surprise เยอะ เหมือนกัน แล้วหลังจากกลับมาก็มาทำ�งานที่นี่เลยไหม ครับ ใช่ มาทำ�งานที่นี่ ส่วนหนึ่งที่กลับ มาเพราะว่า อาจารย์เจี๊ยบเขาเปิด ออฟฟิศ แล้วชวนมาทำ� แล้วประกอบกับ เศรษฐกิจ ที่นั่นค่อนข้างจะแย่ อย่างชาวต่างชาตินี่ก็ ไม่มี Citizen แล้วก็ ภาษาไม่ได้นี่และยิ่งเป็น

สถาปนิกด้วยนี่ก็โอกาสได้งานก็น้อยมาก ส่วนหนึ่งด้วยคือหางาน ที่จะสร้าง ตึกขึ้นมาใหม่ ถามว่ามีไหม มี แต่ว่าที่เป็น สาเหตุหลักจริงๆ คือเพราะว่าอิตาลีเขาผลิต นักเรียน นักศึกษาที่จบมาสัดส่วนเยอะที่สุด ในโลก คือเพื่อนพี่ที่อิตาลีที่จบมามันยังหา งานไม่ได้เลย มันต้องเรียนภาษาอังกฤษไป ลอนดอนของมัน แต่ว่ากลับกันถ้าเราจบไป เรียน Design สายอื่น โอกาสได้งานก็จะมี เยอะกว่า Fashion Design หรือ Jewelry Design นี่มิลานนี่แทบจะเป็นเมืองหลวง ของ Design พวกนั้นเลย คือ Architect งานใหม่ๆมี แต่มันจะเป็นแบบงานระดับชาติ ระดับแบบจ้าง Zaha Hadid ไปเลย คือ โอกาสที่เราจะได้เข้าไปอย่างนี้มัน ก็ยิ่งน้อย ภาษาเราก็ไม่ได้ Citizen เราไม่มี คือมันน้อย ยิ่งกว่าน้อยครับ พี่มีอะไรแนะนำ�ถึงน้องๆ รุ่นที่จะจบไปแล้ว แบบยังไม่รู้ว่าตัวเองจะไปทิศทางไหนหรือจะไป เรียนต่ออะไร มันก็เรื่องธรรมดาก็ต้องถามตัว เองว่า อยากทำ�อะไร อยากเป็นสถาปนิก ไหม อยากเป็นสถาปนิกแนวไหน คือมันมี Feel อื่นนะถ้าไม่อยากทำ�งานออฟฟิศ เป็น สถาปนิกชุมชนไหม หรือว่าจะผันตัวไปทำ�งาน ผังเมืองอะไรพวกนี้ ต้องไปรู้ก่อนว่าอยาก จะเป็นอะไร เรื่องเรียนต่อนี่ก็เป็นอีกขั้นหนึ่ง หรือว่าเรียนจบมาไม่เอาแล้วไม่ทำ� Practice อยากจะไปฝ่ายวิชาการก็ต้องหาเรื่องเรียนต่อ เรียนต่อต่างประเทศ มันก็เป็นออฟชั่นหนึ่ง มันอยู่ที่ว่า เราอยากจะทำ�อะไร ทีนี้ถ้ายัง

ไม่รู้ ไหนๆก็เรียนมาแล้วตั้ง 5 ปี พี่แนะนำ� ว่าก็ทำ�งานหลังเรียนไปก่อน เพราะว่าอยู่ นิ่งๆมันก็ไม่รู้อยู่ดี ก็เรียนมาแล้วก็มาทำ�งาน ก่อน ระหว่างทำ�งานเราก็ได้เจอคนเยอะๆนี่ ก็ เป็นการดี บางทีอาจจะคิดได้ก็ได้ว่าต่อไป อยากจะทำ�อะไร แล้วการพี่แนะนำ�เรียนต่อ เหมือน กับบางทีของเราเป็นสายอาชีพแล้ว การ ทำ�งานเหมือนกับเน้นประสบการณ์ในการ ทำ�งานมากกว่าที่จะเติบโต แต่การเรียนต่อ เหมือนเราเอาเงินก้อนหนึ่งทุ่มไปลงเรื่องการ เรียน คือเรากลับมาเราอาจจะไม่รู้ว่าเราจะทำ� อะไรต่อก็ได้ มันเหมือนเป็นการลงทุนอย่าง หนึ่งที่แบบไม่รู้ว่าจะได้ประโยชน์อะไรไหม ใน ขณะที่ถ้าเราไม่ไปเรียนและเราทำ�งานไปเรื่อยๆ เราจะเห็น เราจะเก็บประสบการณ์ไปเรื่อยๆและ เติบโตไปเรื่อยๆก็ไม่มีผิดไม่มีถูก มันอยู่ที่ว่าเรา จะเอาอะไร คือเราจะทำ�งานไปเรื่อยๆ ก็ได้ ไม่ ผิด ถ้าเราแฮปปี้กับตรงนั้น อยากไปเรียนต่อ มันก็ได้เหมือนกันก็เราอยากไปเรียนต่อ คือ อย่างที่น้องบอกมันก็คือการลงทุน ถูกเปล่า ไปเห็นอะไรเยอะๆอย่างนี้เราก็เอาประสบการณ์ มาใช้ โอเค เราหยุดไป 2-3 ปี แต่เรากลับ มาก็ต้องมีมุมมอง หรือมีวิธีคิดที่มันดีขึ้น มันก็เหมือนเป็นการ Upgrade ตัวเองได้อีก มิติหนึ่ง คืออย่างสายอาชีพเขาทำ�ไปเรื่อยๆ เขาก็โปรขึ้นเรื่อยๆ Connection เขาก็มีขึ้น เรื่อยๆ มันก็เหมือนกับเราพัฒนากันคนละสาย อย่างนี้ ซึ่งมันก็ไม่ผิดทั้งคู่ ไม่ถูกทั้งคู่ มันขึ้น อยู่กับว่าอยากทำ�อะไร

79


“ การมาอยูใ่ นที่ ทีเ่ ราไม่รจู้ กั ใคร ไม่มใี ครรูจ้ กั เรา การพึง่ พาตัวเอง เป็นประสบการณ์ ทีเ่ วลาเรามีปญ ั หา ลองมองย้อนกลับ ไปเห็นว่าเมือ่ ตอน นัน้ ยากขนาดไหน เราผ่านมาได้ มันเป็นกำ�ลังใจทีด่ ี อย่างหนึง่ ในชีวติ “ 80

แนะนำ�ประวัติส่วนตัว ประวัติด้านการศึกษา การทำ�งาน และความสนใจคร่าวๆครับ ชื่อ ทัดดาว สิทธิชัย เดอแมร์ เซอมัน เกิด 8 สิงหาคม 2523 การ ศึกษา ปริญญาตรี สถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท Master of International Business , IESEG , Lille, France ช่วงก่อนไปเรียน ทำ�งานที่ ฝ่ายพัฒนาโครงการ บริษัทพฤกษา ได้ร่วมทำ�งานกับฝ่าย Marketing, Pubic relation ฝ่ายก่อสร้าง ฝ่ายจัดซื้อ และฝ่าย การเงิน เลยรู้สึกสนใจงานด้าน Busines administration ก็ตัดสินใจไปเรียนต่อที่ IESEG มีการเตรียมตัวในการไปเรียนต่ออย่างไรบ้าง ครับ เรียนปูพื้นฐานภาษาอังกฤษมาตั้งแต่ เด็กแล้ว เลยไม่ค่อยมีปัญหาเรื่องนี้ ช่วงที่ ทำ�งานก็มีไปเรียนพื้นฐานภาษาฝรั่งเศสภาค ค่ำ�บ้าง หลังจากลาออกจากพฤกษาก็มีเรียน เสริมความรู้เรื่อง Writing&Reading ที่ AUA ลงเรียนคอร์ส เตรียมสอบ Toefl และ Gmat พอได้รับคำ�ตอบรับจาก IESEG ก็ไปเรียนภาษาฝรั่งเศสเพิ่มขึ้น ที่สถานฑูต ฝรั่งเศส การส่ง proposal สำ�หรับเรียนต่อ ก็ไม่มี

อะไรมาก ต้องดูคุณสมบัติของนักศึกษาที่เค้า ต้องการว่าตรงกับ profile ของเราอย่างไร แล้วก็ส่งเอกสารตามที่ทางโรงเรียนต้องการ เช่น คะแนนสอบ Toefl,Gmat, Motivation letter, Transcript ปริญญาตรี, recommendation letter ฯลฯ ปกติก่อนไปเรียน ก็ต้องติดต่อเรื่องที่พัก การเดินทาง การขอ วีซ่า ก็สอบถามกับทางสถานฑูต เพื่อเตรียม เอกสาร แลเอกสารที่ต้องใช้ต่างๆ อยากให้เล่าประสบการณ์การเรียนที่ IESEG หน่อยครับ เป็นอย่างไรบ้าง คลาสที่เรียน เรียนทุกอย่างเป็น ภาษาอังกฤษ แบ่งเป็น 2 เทอม เทอมแรก เรียนกับเฉพาะนักเรียนปริญญาโทเท่านั้น มี การทำ�งานกลุ่ม และงานเดี่ยว แล้วแต่อาจารย์ จะกำ�หนดให้ การสอบก็จะเป็นงานเขียนตอบ คำ�ถามเกี่ยวกับวิชานั้นๆ ในเทอม 2 โรงเรียน จะจัดให้เลือกลงเรียนวิชาเลือกที่จะไปเรียนรวม กับนักเรียนต่างชาติอื่นๆระดับปริญญาตรี ซึ่งจะเป็นคลาสที่โรงเรียนเชิญอาจารย์พิเศษทั้ง ชาวฝรั่งเศสและต่างชาติ เช่น อังกฤษ จีน กรีก อเมริกัน มาสอน ก็เลือกลงเรียน ตามวิชาที่สนใจ พอหมดเทอมก็มีสอบตาแต่ อาจารย์แต่ละวิชากำ�หนด อาจจะเป็นรายงาน กลุ่ม เป็น Formal presentation หรือ สอบเดี่ยว


Taddao Sittichai Demersseman ทัดดาว สิทธิชัย เดอแมร์เซอมัน

ปริญญาตรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท Master of International Business, IESEG, Lille ,France ป ัจจุบัน สถาปนิก อินทีเรีย ดีไซน์เนอร์ studiomhna,Paris สถาปนิกอิสระ

ส่วนเพื่อนที่เรียนด้วยกันมีมา จากทั่วโลก เช่น แคนาดา เม็กซิโก บราซิล เกาหลี ฮ่องกง จีน เวียดนาม อินเดีย ไนจีเรีย โรมาเนีย ฯลฯ ส่วนมากนิสัยดี แต่ก็มีความ แตกต่างทางวัฒนธรรม อย่างเห็นได้ชัด ซึ่ง ก็ต้องระวังบ้าง อาจมี culture shock นิดหน่อย ชีวิตในหอนักเรียนก็สนุกสนาน ดี ปกติในหอจะมีการจัดปาร์ตี้อาทิตย์ละครั้ง ทุกคืนวันพฤหัส ก็มีส่วนช่วยให้ได้คุยได้ สนิทกันมากขึ้น

อย่างนี้มีทัศนคติที่เปลี่ยนไปอย่างไรหลังจากที่ พี่ได้เรียนต่อที่นี่ครับ

แล้วอย่างนี้มีสิ่งที่ชอบหรือไม่ชอบในการเรียน ที่นี่อย่างไรบ้างครับ

ทำ�งานในฝรั่งเศสมาประมาณ 7 ปี เป็นทั้งลูกจ้างประจำ�และลูกจ้างชั่วคราว ได้ทำ�งานร่วมกับคนหลากหลาย เพราะใน ฝรั่งเศสอนุญาตให้คนยุโรปเข้ามาทำ�งานได้ อย่างอิสระ เลยทำ�ให้รู้คร่าวๆว่าการทำ�งาน กับคนต่างเชื้อชาติ มีความแตกต่างกัน ได้ มีส่วนร่วมในบางโปรเจ็ค high end ที่อาจ ไม่มีโอกาสได้ทำ�ถ้ายังอยู่ในวง real estate เมืองไทย ต้องเรียนรู้เรื่องงานระบบอาคาร ใหม่เกือบทั้งหมด เพราะในยุโรปสิ่งที่สำ�คัญ ที่สุดอย่างหนึ่งในการออกแบบ/ตกแต่ง คือ การเก็บความร้อนให้อยู่ภายในอาคาร (ตรง กันข้ามกับประเทศไทย) ระบบประหยัด พลังงานในการทำ�ความร้อน ฉนวนกันความ เย็น ระบบถ่ายเทอากาศในอาคาร ถึงแม้ว่า

สิ่งที่ชอบเวลามาเรียน คือได้เปิดโลก ทัศน์ เรียนรู้วัฒนธรรมต่างชาติ ไม่เฉพาะ ประเทศที่เรามาเรียน แต่รวมถึงประเทศของ เพื่อนที่รู้จักกันด้วย การได้รับผิดชอบตัวเอง ทุกอย่าง ได้ท่องเที่ยว ได้พัฒนาภาษาทั้ง อังกฤษและฝรั่งเศส ได้เห็นวิธีการเรียนการ สอนที่แปลกออกไป การดำ�เนินชีวิตประจำ�วัน ที่แตกต่างจากตอนอยู่กรุงเทพฯ ส่วนสิ่งที่ไม่ ชอบ คือการเป็นคนต่างชาติในสายตาของ ชาวฝรั่งเศส มีความยุ่งยากในเรื่องเอกสาร และบางครั้งรู้สึกได้ถึงการเหยียดผิวค่ะ

รู้สึกว่ารักประเทศไทยขึ้นเยอะ ชีวิต ประจำ�วันในกรุงเทพฯ ถึงแม้จะมีความวุ่นวาย จากหลายๆเรื่อง แต่ก็ง่ายและสะดวกกว่าใน ฝรั่งเศสมาก นอกจากเรื่องเรียนแล้ว อยากให้เล่า ประสบการณ์ทำ�งานในต่างประเทศด้วยครับ เป็นอย่างไรบ้าง

จะเป็นอพาร์ทเม้นขนาดเล็กๆ ก็ต้องใช้งาน ระบบพวกนี้ทั้งสิ้น การดีไซน์ ก็ต้องคิดส่วนนี้ ควบคู่ไปด้วย สุดท้ายนี้อยากจะฝากถึงน้องๆที่กำ�ลังจะจบ หรือคนที่กำ�ลังวางแผนจะไปเรียนต่อหรือ ทำ�งานอย่างไรบ้างครับ ถ้ามีโอกาสก็น่าจะมาเรียนต่อต่าง ประเทศ ทั้งสนุก และได้ประสบการณ์ทั้งดี และไม่ดี การมาใช้ชีวิตอยู่ต่างประเทศ ไม่ เหมือนกับการมาเที่ยวต่างประเทศช่วงระยะ สั้นๆ สิ่งที่คุ้มที่สุดคือ การมาอยู่ในที่ที่เราไม่รู้ จักใคร ไม่มีใครรู้จักเรา การพึ่งพาตัวเอง เป็น ประสบการณ์ที่เวลาเรามีปัญหาอะไร ลอง มองย้อนกลับไปเห็นว่าเมื่อตอนนั้น ยากขนาด ไหน เราผ่านมาได้ มันเป็นกำ�ลังใจที่ดีอย่าง หนึ่งในชีวิต

81


82


Supasai Vongkulbhisal ศุภาศัย วงศ์กุลพิศาล ปริญญาตรี ปริญญาโท ปัจจุบัน

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Master of Architeccture, The University of Texas at Austin ,USA Former Architectural Intern at Solid Objectives - Idenburg Liu (SO-IL)

แนะนำ�ประวัติส่วนตัว ประวัติด้านการศึกษา การทำ�งาน และความสนใจคร่าวๆครับ ชื่อ ศุภาศัย วงศ์กุลพิศาล ชื่อ เล่น พี่เอ รุ่น 49 ปี 2008 จบการ ศึกษา ปริญญาตรีสถาปัตยกรรมศาสตร์ เกียรตินิยมอันดับ 1 เกรดเฉลี่ย 3.90 ปี 2009 เข้ า ทำ�งานที ่ บ ริ ษ ั ท สถาปนิ ก 49 จำ�กั ด และทดลองฝึ ก งานเขี ย นกั บ นิ ต ยสาร Art4D ปี 2010 ได้รับทุนฟุลไบรท์ ซึ่งเป็นทุน รัฐบาลไทย-อเมริกัน เพื่อศึกษาต่อ ปริญญาโท ด้าน Architectural Design ที่มหาวิทยาลัย The University of Texas at Austin รัฐเท็กซัส ประเทศ สหรัฐอเมริกาเป็นเวลา 2 ปี จนจบการ ศึกษาในปี 2012 ปี 2012 ฝึกงานต่อทีบ่ ริษทั Buro Ole Scheeren ทีป่ กั กิง่ ประเทศจึน ซึง่ Ole Scheeren เคยเป็นหัวหน้าของ OMA Beijing ทีด่ แู ลงานของ OMA ฝัง่ เอเซียทัง้ หมด ยก ทีมออกมาเป็นบริษทั เองโดยเอาโปรเจคมหานคร มาทำ�ต่อด้วย ปี 2013 กลับประเทศไทย เข้าทำ�งานตำ�แหน่ง สถาปนิกบริษทั Tierra Design Thailand จำ�กัด และต่อมาย้ายมาทำ�งานตำ�แหน่ง Design Subject Specialist ของศูนย์สร้างสรรค์การ ออกแบบหรือ TCDC

ปี 2014 ปัจจุบันกลับมาเรียนต่อสาขา Architecture History and Theory ที่ University of Washington, Seattle ประเทศสหรัฐอเมริกา ปี 2014 ก่อนเปิดเทอม ได้ไปฝีกงานกับ ออฟฟิศสถาปนิกชื่อ SO-IL หรือ Solid Objectives Idenburg Liu ที่ NewYork City ประเทศสหรัฐอเมริกา มีการเตรียมตัวในการไปศึกษาต่ออย่างไรบ้าง ครับ รวมถึงเรื่องทุนต่างๆในการศึกษาต่อด้วย ครับ มีข้อแนะนำ�อะไรบ้างหรือเปล่า ทุนสำ�หรับการเรียนต่อต่างประเทศ มีหลายแบบมากค่ะ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท หลักๆ ได้แก่ 1. ทุนรัฐบาลไทย - มีทั้งที่ต้องใช้ทุน และไม่ต้องใช้ทุน - ทีไ่ ม่ตอ้ งใช้ทนุ ได้แก่ ทุนภูมพิ ล ทุนอานันทมหิดล - ที่ต้องใช้ทุน ได้แก่ ทุน ก.พ. ทุนข้าราขการ พลเรือน ทุนกระทรวงฯ ต่าง จำ�พวกนี้ใช้ทุน สองเท่าตามจำ�นวนปีที่ไปเรียน 2. ทุนรัฐบาลประเทศต่างๆ เช่น สหรัฐอเมริกา(ทุน Fulbright) อังกฤษ (ทุน Chevening) ญี่ปุ่น(ทุนมงบุนโช อัน นี้ให้ไปถามอาจารย์โอ๊ตหรืออาจารย์เอซ) ออสเตรเลีย เนเธอร์แลนด์ สหภาพยุโรป(ทุน Eramus Mundus)เป็นต้น จำ�พวกนีไ้ ม่ตอ้ งใช้ทนุ 83


3. ทุนของมหาวิทยาลัยเอง - เมื่อ มหาวิทยาลัยตอบรับแล้ว จะสามารถขอทุน ลดหย่อนค่าเล่าเรียนหรือทำ�งานแลกค่าเล่า เรียน โดยการเป็น Teaching Assitant หรือ Research Assistant ก็ได้ ซึ่งการเตรียมตัวคือ ถ้าของ Fulbright เองจะต้องมีการยื่น Transcript เพื่อ ดูเกรดเฉลี่ยว่าผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ�หรือเปล่า มี การสอบ Toefl การขอ Recommendations จากอาจารย์ผู้สอน และการเขียน essay เพื่ออธิบายประวัติตนเองและสาขาวิชาและ จุดมุ่งหมายที่จะไปเรียน หากแต่สาขาวิชาที่ จะไปเรียนต้องสอดคล้องกับวิชาที่เรียนตอน ปริญญาตรี รายละเอียดสามารถเข้าดูได้ที่ http://www.fulbrightthai.org/ ข้อแนะนำ� คือควรเรียนภาษา อังกฤษเพื่อสอบเข้ามหาวิทยาลัยไว้แต่เนิ่นๆ พี่เรียนตั้งแต่ปี 3 ช่วงปิดเทอม แล้วก็มาตั้งใจ อ่านหนังสือสอบจริงๆ ช่วงทำ�งานปีแรก ถ้า คิดว่าทำ�งานหนักแล้วอ่านหนังสือสอบไม่ได้ ให้ รีบทำ�งานให้เสร็จภายในเวลาทำ�งานแล้วกลับไป อ่านหนังสือสอบ โดยเฉลี่ยพี่กลับถึงบ้านแล้ว ก็เริ่มอ่านหนังสือตั้งแต่สองทุ่มถึงตีสอง แล้ว ตื่นเช้าไปตอกบัตรทำ�งานให้ทันแปดโมงครึ่ง 84

เป็นเวลาสองเดือนครึ่ง ถ้ามีคนเคยทำ�ได้มา ก่อน น้องๆ ทุกคนก็ทำ�ได้เหมือนกันค่ะ เมื่อผ่านการคัดเลือกเหลือ 30 คน รวมทุกสาขาวิชาชีพแล้ว จะมีการสอบ สัมภาษณ์เพื่อคัดนักเรียนทุน โดยประเทศไทย ให้ทุนเป็นจำ�นวน 7-9 คนต่อปี ซึ่งมีเด็กจาก ภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์สอบได้ทุกๆ 2 ปีเลยทีเดียว การสอบสัมภาษณ์ทุน สอบ สัมภาษณ์เป็นภาษาอังกฤษ โดยทั่วไปจะถาม ถึงความเห็นและมุมมองที่มีต่อสาขาวิชาที่เรา เรียนในเมืองไทย แล้วก็ความรู้ที่เรามีเกี่ยวกับ สถาปัตยกรรมและการทำ�งานเพื่อสังคม เมื่อ ประกาศผลทุนแล้ว ก็ต้องสมัครมหาวิทยาลัย ต่อ โดยต้องเตรียมสอบ GRE ซึ่งเป็นการ สอบเลข ม. ต้น และสอบภาษาอังกฤษ มี การเขียน essay ส่งไปที่มหาวิทยาลัยแสดง เหตุผลที่จะไปเรียนต่อ รวมไปถึงการขอ Recommendations จากอาจารย์ อันนี้ มักจะให้อาจารย์ผู้ตรวจทีสิสเขียนให้ เพราะ รู้จักนิสัยใจคอและวิธีการทำ�งานของเรามาก ที่สุด ดังนั้นควรตั้งใจทำ�ทีสิสและพูดคุยถึง เป้าหมายกับอาจารย์ไว้ตั้งแต่เนิ่นๆค่ะ

อยากให้เล่าประสบการณ์การเรียนที่ต่างประ เทหน่อยครับ เป็นอย่างไรบ้าง ขอเล่าประสบการณ์ที่ The University of Texas at Austin หรือ เรียกสั้นๆ ว่า UT Austin ในปีที่พี่เข้าเรียน เป็นมหาวิทยาลัยที่ติดอันดับ 5 ของวิชา สถาปัตยกรรมของปริญญาโทในอเมริกา ใน ปัจจุบันถือว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่ติด Top ten สาขาสถาปัตย์ฯ ในสหรัฐฯ เด็กอเมริกันเอง จะเรียนวิชา Design Studio สัปดาห์ ละสามวันช่วงบ่าย ซึ่งอีกสามวิชาจะเป็น วิชาบังคับและวิชาเลือกพวกประวัติศาสตร์ ทฤษฎี หรือความรู้อื่นๆ ของสถาปัตยกรรม แต่ละสัปดาห์จะมีการบ้านส่งให้อ่านหนังสือ ประมาณ 100-150 หน้าต่อวิชาเพื่อเขียน สรุปส่งทุกๆ อาทิตย์ ดังนั้นพื้นฐานความรู้ ด้านสถาปัตยกรรมเขาจะแน่นกว่าเราเยอะมาก อาจเป็นเพราะการอ่านจากตำ�ราที่สถาปนิก เขียนเป็นภาษาอังกฤษโดยตรงด้วย ส่วนวิชา Studio สัปดาห์แรกที่เปิด เทอม จะมีการเลือก Studio Lottery คือ อาจารย์แต่ละคนจะออกมา Present ว่า เทอมนี้โปรเจคที่เขาให้ทำ�คืออะไร อย่างเช่น Museum, Navy Yard, etc. แล้วให้ทุกคน


“ ถ้าคบกันเองแต่ในวงสถาปัตย์ฯ น้องไม่รหู้ รอกว่าคนอืน่ ที่ เรียนเศรษฐศาสตร์ บัญชี วิศวกร หมอ เขาผ่านอะไรกันมา บ้างและมีความคิดเห็นเกีย่ วกับเรือ่ งสถาปัตยกรรมเป็นอย่าง เพราะสุดท้ายแล้วต้องสร้างสถาปัตยกรรมเพือ่ ตอบโจทย์คน เหล่านี้ คนทีจ่ ะจ้างคุณสร้างบ้านก็เป็นคนจำ�พวกนีอ้ กี นัน่ แหละ “ เลือกสตูดิโอที่สนใจที่สุดเรียงลำ�ดับไป แล้ว คอมพิวเตอร์จะสุ่มเราว่าได้ไปอยู่กับอาจารย์ คนไหนเหมือนการเลือกอาจารย์ตรวจทีสิสที่ เราทำ�ๆ กัน แต่ละเทอมก็จะมี Traveling Studio ให้เลือกไปทำ�โปรเจคที่เมืองอื่นๆของ ประเทศอื่นๆได้ เช่น ไปเรียนเทอมหนึ่งที่ Sweden, Japan, Mexico, Spain เป็นต้น ถ้ามหาวิทยาลัยไหนรวยและมีเงินก็จะจ่ายค่า ใช้จ่ายค่าเดินทางให้หมด ถ้ามหาวิทยาลัยไหน อาจารย์หาเงินไม่เก่ง นักเรียนก็ต้องออก กันเอง ส่วนช่วงปิดเทอม เด็กอเมริกันจะ เน้นหาที่ฝึกงานตั้งแต่เรียนปีแรกๆ จนเรียนจบ นอกจากเป็นการหาเงินจ่ายค่าเรียนด้วยแล้ว ยังเป็นการ up profile ใน resume เพื่อ การสมัครเข้าเรียนโทต่อหรือการทำ�งานกับ บริษัทที่ตนเองอยากเข้าได้ง่ายขึ้น ส่วนเพื่อนร่วมขั้นเรียน ก็ไม่ต่างกับ นักเรียนสถาปัตย์ฯที่ไทย ความเฮฮาปาร์ตี้และ เลเวลการกินเบียร์และการอดหลับอดนอนก็น่า จะเท่าๆ กัน อาจต่างตรงต้องไม่ได้ยกชั้นขึ้นไป เป็นรุ่นๆ เหมือนเด็กไทย แต่ก็สลับเจอหน้าตา คนหลากหลายมากกว่าขึ้นกับถูก assign ไป อยู่สตูดิโอไหนในแต่ละปี พี่เอคิดว่าการศึกษาที่ต่างประเทศมีข้อดีข้อ เสียอย่างไรบ้างครับ มีข้อแนะนำ�อะไรไหม ครับ ข้อดี คือ ทำ�ให้เห็นมุมมองเปิด กว้างว่า สถาปัตยกรรมจริงแล้วทำ�อะไรได้ บ้างและได้มากมายกว่าที่เราคิด ทำ�ให้ได้แลก เปลี่ยนมุมมองกับเพื่อนและวิธีการทำ�งานของ อาจารย์ อยากให้เรียนจบแล้วลองทำ�งาน ดูก่อน เพื่อค้นหาตัวเองให้เจอว่าชอบทำ�งาน ด้านสถาปัตยกรรมจริงๆหรือเปล่า เพราะ การทำ�งานสถาปัตยกรรมนอกจากจะอาศัย ความอดทนแล้ว ยังมีเนื้อหาวิชาที่ลึกลงไป อีก แล้วยังแบ่งออกได้อีกหลายสาขาหลาย ประเภท บางคนอาจอยากเปลี่ยนใจไปเรียน กราฟิก แลนด์สเคป เรียลเอสเตท หรือ

เปลี่ยนไปเรียน MBA แทนไปเลยเพื่อสืบทอด กิจการที่บ้านก็มี ดังนั้นไม่ควรรีบร้อนเรียน ต่อ และควรตั้งคำ�ถามกับตัวเองว่าเรียนต่อ โทไปเพื่ออะไร ไม่ใช้ไปแค่ใช้ชีวิตเก๋ๆ มีรูปถ่าย อัพโหลดที่เมืองนอก แต่เรียนเสร็จแล้วเรามี จุดมุ่งหมายว่าจะทำ�งานต่อที่เมืองนอกหรือจะ กลับมาทำ�งานที่บริษัทประเภทไหนที่เมืองไทย เพราะเจอหลายคนที่ผู้ปกครองส่งมาเรียนแล้ว เคว้ง กลับมาเมืองไทยไม่รู้จะทำ�อะไรต่อ และ ควรใช้ระยะเวลาสัก 1-3 ปีเพื่อทำ�งานและ สะสมพอร์ตโฟลิโอจากการทำ�งานที่เมืองไทย ก่อน จะทำ�ให้เข้าเรียนได้โรงเรียนดีๆ มากกว่า การเรียนจบแล้วต่อโทเลย เพราะประเภท นั้นน้องๆ จะไม่รู้จักวิธีการประสานงานหรือ เข้าใจการทำ�งานของคนอื่นๆที่เกี่ยวข้องในโปร เจค เช่น ลูกค้า วิศวกร และอื่นๆ เป็นต้น ส่วนข้อเสียสำ�หรับคำ�ว่า การศึกษา แล้ว ไม่น่าจะมีคำ�ว่าข้อเสียนอกจากเสียว่าจะ ไม่ตั้งใจเรียนเอง แต่มีอุปสรรค สำ�หรับเด็กไทย มากที่สุดก็คงเป็นเรื่องภาษา เพราะเรียนต่าง ประเทศภาษาเราอาจสู้เจ้าของภาษาไม่ได้ ยิ่ง ต้องเขียนเรียงความด้วยแล้ว ถือว่าเป็นความ ทรมานอย่างหนึ่ง คนที่ผ่านการเรียนต่าง ประเทศมาทุกคนร้องไห้มาหมดแล้วเมื่อต้อง ส่งการบ้านที่ไม่ใช่ภาษาตนเอง ไม่ว่าจะอยู่ โรงเรียนดีหรือโรงเรียนห่วย เด็กทุนคิงหรือ เด็กทุน พ.ก. ดังนั้นก็คงต้องเตรียมตัวเรื่อง ภาษาตั้งแต่เนิ่นๆ อุปสรรคอีกอย่างก็อาจจะ เป็นการปรับตัวให้เข้ากับภูมิประเทศภูมิอากาศ ที่แตกต่างออกไปจากเมืองไทย การปรับตัว ให้เข้ากับถนนหนทางบ้านเมืองใหม่เป็นสิ่งต้อง ใช้เวลาสักระยะในการเรียนรู้และที่สำ�คัญต้อง รักษาสุขภาพ เพราะถ้าเจ็บป่วยตอนอยู่คน เดียวก็จะลำ�บากได้ค่ะ

เก่งๆ และพูดคุยกับคนชาตินั้นๆ ได้เข้าใจว่า ทำ�ไมคนญี่ปุ่นทำ�งานเนี้ยบ คนเนเธอร์แลนด์ กับเยอรมันอึดและมีระบบการจัดการที่ดี คน อเมริกันขายของเก่ง เป็นต้น ถามว่า เปลี่ยนไปไหม ก็คงไม่ได้ เปลี่ยน แต่โตขึ้น รู้จักรับผิดชอบชีวิตตัว เองมากขึ้น รู้ว่าการใช้ชีวิตคนเดียวโดยไม่มีผู้ ปกครองอยู่ด้วยทำ�อย่างไร เช่น จ่ายค่าน้ำ� ค่าไฟ ค่าเช่าบ้าน ทำ�อาหารกินเองทุกมื้อ ต้องรักษาสุขภาพให้ดีห้ามป่วย เพราะถ้าป่วย ก็ต้องแบกร่างกายไปโรงพยาบาลเอง ซึ่งเดี๋ยว จะลำ�บากเพราะไม่สามารถอธิบายอาการกับ หมอเป็นภาษาอังกฤษได้ สุดท้ายนี้อยากจะฝากถึงน้องๆที่กำ�ลังจะจบ หรือคนที่กำ�ลังวางแผนจะไปเรียนต่อหรือ ทำ�งานอย่างไรบ้างครับ ถ้าใครสนใจมีข้อสงสัยอยากถามก็ แอดเฟสบุคมาได้เลย Supasai Vongkulbhisal พี่จะทยอยตอบให้ อาจจะช้าหน่อยเพราะงาน เยอะ แต่รับรองว่าตอบหมดแน่นอน อีก อย่างหนึ่งที่อยากจะฝากน้องๆ คือ น้องๆ ก็ ใกล้จะเรียนจบกันแล้ว กลับไปติดต่อหา เพื่อนเก่าบ้างอะไรบ้าง เพราะถ้าคบกันเอง แต่ในวงสถาปัตย์ฯ น้องไม่รู้หรอกว่าคน อื่นที่เรียนเศรษฐศาสตร์ บัญชี วิศวกร หมอ เขาผ่านอะไรกันมาบ้างและมีความคิด เห็นเกี่ยวกับเรื่องสถาปัตยกรรมเป็นอย่างไร กันบ้าง เพราะสุดท้ายแล้วน้องๆ ต้องสร้าง สถาปัตยกรรมเพื่อตอบโจทย์คนเหล่านี้ คน ที่จะจ้างคุณสร้างบ้านก็เป็นคนจำ�พวกนี้อีกนั่น แหละ ดังนั้นการสร้าง connection ที่ไม่ใช่ สถาปนิกเป็นสิ่งที่จำ�เป็นมาก

จากที่พี่เอได้ศึกษาที่ต่างประเทศ มีทัศนคติที่ เปลี่ยนไปอย่างไรบ้างครับ เป็นการเปิดมุมมองให้เห็นโลกมากขึ้น เห็น โอกาสที่จะสร้างสถาปัตยกรรมในมุมมองที่ไม่ เคยเห็นมาก่อนเยอะขึ้น ได้ทำ�งานรวมกับคน 85


86


87


The gentle reader will never, never know what a consummate ass he can become, until he goes ABROAD

261205 ARCHITECTURAL PRACTICE FACULTY OF ARCHITECTURE, SILPAKORN UNIVERSITY 88


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.