Washira Banana paste report

Page 1

1


2

คํานํา งานวิจัยฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาการออกแบบการฟกบรรจุภัณฑ Graphic Design On Package โดยมีจุดประสงคเพื่อการออกแบบบรรจุภัณฑสําหรับกลวยกวน ซึ่งในงานวิจัยฉบับนีม้ ีที่มา ของปญหา ขั้นตอนการออกแบบ เนือ้ หาที่เกี่ยวของ คือ หลักการออกแบบผลิตภัณฑ หลักการ ออกแบบบรรจุภัณฑและหลักการออกแบบกราฟกบนบรรจุภณ ั ฑ ผูวิจัยไดเลือกทําการวิจัยนี้เนื่องจากผลิตภัณฑที่แปลรูปจากกลวยที่ขายตามทองตลาด ในตอนนี้ ยังขาดการออกแบบบรรจุภณ ั ฑที่มีความเหมาะสมและความสวยงาม หรือความแปลกใหม ผูวิจัยจึงตองการที่จะศึกษาและออกแบบบรรจุภณ ั ฑสําหรับกลวยมวนนิม้ เพื่อเปนการเพิ่มคุณคาและ มูลคาของตัวผลิตภัณฑและบรรจุภณ ั ฑใหดีขึ้น ผูวิจัยตองขอขอบคุณ อาจารยประชิด ทิณบุตร ทีใ่ ห ความรูและแนวทางการศึกษา ผูวจิ ัยหวังวางานวิจยั ฉบับนีจ้ ะใหความรูและประโยชนตอ ผูอาน

ผูวิจยั นายวชิระ วิชิตยุทธภูมิ


3

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา สารบัญ แรงบันดาลใจหรือที่มาของการออกแบบ

1

(Background/Inspiration) โจทย/วัตถุประสงค/สมมติฐาน

1

(Problem/Objective/Hypothesis) การกําหนดคุณลักษณะที่ความตองการ

2-3

(Design Brief) การนําเสนอแบบรางทางความคิด

4

(Sketch Design) การศึกษาขอมูลเบื้องตน

5-9

(Preliminary Research) การออกแบบและพัฒนาแบบ

10-13

(Design and Development) การทดลอง ทดสอบ การใชงานจริง

14

(Implementation/Deploy) การสรุปผลงานการออกแบบ (Design Conclusion) บรรณานุกรม

15-16


4

1.แรงบันดาลใจ / ที่มาของการออกแบบ (Background/Inspiration) สินคา ผลิตภัณฑมีตางๆกันออกไป ทั้งของใชและของกิน และของใชกับของกินก็แยกเฉพาะ เปนสวนๆอีกมากมาย ดั้งนั้นการที่จะผลิตสินคาขึน้ มาแตละอยางก็ตองศึกษาขอมูล และมีความรูใน เรื่องนั้นพอสมควร กลวยเปนหนึ่งในสินคาที่ทองตลาดมีการแขงขันกันมากเชนกันเพราะกลวย สามารถนํามาแปรรูปไดหลากหลาย เชน กลวยตาก กลวยทอด กลวยบวชชีกระปอง กลวยแขก กลวย ปง กลวยกวน เปนตน และกลวยยังมีคุณคาทางอาหารที่มีประโยชนตอรางกายของผูบ ริโภคอีกดวย ดั้งนั้นกลวยจึงเปนผลไมที่ผูผลิตสวนใหญจะนํามาแปรรูป กลวยกวน เปนผลิตภัณฑของกลุมแมบาน เกษตรกร ตําบลบอกรุ จังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งเปนสินคาที่มีคณ ุ ภาพและรสดีเยี่ยม จึงคิดที่จะทําการ ออกแบบใหตัวของผลิตภัณฑนั้นดูดียิ่งขึ้น ซึง่ จะถือวาเปนการเพิ่มคุณคาและมูลคาของตัวสินคา และ เพิ่มความนาสนใจแกผบู ริโภคอีกดวย แรงบันดาลใจ : ผลไมทคี่ ูบานคูเมืองของไทยมานานแสนนานอยางกลวยนั้น ในยุคปจจุบันนี้อาจจะ ไมเปนที่ชอบกับเด็กหรือวัยรุนสมัยนี้ซักเทาไหร จึงตองการที่จะเสนอผลไมไทยอยางกลวย ทีจ่ ะทําให คนรุนใหมหันมาสนใจหรือมาลิ้มลองรสชาติ ดังนั้นจึงตองการออกแบบใหมีลักษณะเหมือนขนมเด็กๆ คือใหมีความสดใส นารัก นาสนใจ ใหมีความรูสึกถึงความสนุกสนาน การใชสีเพื่อเนนความสดใส ดึงดูดใจ และมีลายโลโกเปนรูปกลวยเปนลายกราฟกเวคเตอร เปนสัญลักษณ

2.โจทย/วัตถุประสงค/สมมติฐาน(Problem/Objective/Hypothesis) 2.1.เพื่อศึกษาการออกแบบกราฟกบนบรรจุภัณฑ 2.2.เพื่อออกแบบบรรจุภณ ั ฑสําหรับกลวยกวน ผลิตภัณฑของกลุมแมบานเกษตรกร ตําบลบอกรุ จังหวัดสุพรรณบุรี 2.3.เพื่อเพิ่มคุณคาใหแกผลิตภัณฑกลวยกวน

3.การกําหนดคุณลักษณะที่ความตองการ(Design Brief)


5

Banana Paste (กลวยกวนๆ สูตรกะทิสดๆ) ลวดลายกราฟก 1.มีความสนุกสนาน 2.การใชสี จะใชสีสองสีตดั สลับกันเพือ่ ใหเกิดความเดนชัด 3.ตัว Mascot กลวยมีลกู เลนมวนๆ เพื่อใหเห็นถึงความสนุกสนาน 4.ตัวอักษร แตละตัวมีลกู เลนหมุนไปมา ซึ่งสรางจุดเดนในบรรจุภัณฑ โลโกสินคา 1.มีความเปนเอกลักษณ 2.มีรูปลักษณที่ทันสมัย เขากับปจจุบัน เพราะตองการที่จะนําผลไมดั้งเดิมที่รูจักกันมานาน ใหมี ความกลมกลืนกับยุคสมัยใหม


6

3.สีสัน สดใส เปนที่ดึงดูดจุดสนใจใหกับลูกคา 4.ตัวอักษรมีความทันสมัยและเรียบงาย วัสดุ : กลองบรรจุภัณฑจากกระดาษโฟโต โครงสรางกลองบรรจุภัณฑ : รูปทรงสี่เหลีย่ ม สรางสรรค = โดยนํารูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผารูปทรงแบน กลุมเปาหมาย : 1.เด็ก นักเรียน นักศึกษา 2.บุคคลทั่วไป


7

5.การศึกษาขอมูลเบื้องตน(Preliminary Research) 1.กลวย ประวัติของกลวย ในเอกสารโบราณกลาววา กลวยเปนผลไมของชาวอินเดีย พบมีอยูมากในแถบเอเชียตอนใต โดยเฉพาะทางตอนเหนือของประเทศอินเดีย พมา เขมร จีนตอนใต หมูเกาะอินโดนีเซีย เกาะ บอรเนียว ฟลิปปนส และไตหวัน กลวยในประเทศที่กลาวถึงนั้น เปนกลวยปาที่ขึ้นเองตามธรรมชาติ ซึ่งตอมาเมื่อมนุษยสังเกตเห็นวาสัตวตางๆ กินกลวยเปนอาหารได มนุษยจึงลองกินกลวยดู และเมื่อ เห็นวากลวยกินเปนอาหารได มนุษยจึงเริ่มรูจักวิธีการขยายพันธุโดยใชเมล็ด หนอ ติดตัวไปยัง สถานที่ที่อพยพไป ทําใหกลวยแพรหลายไปยังถิน่ ตางๆ มากยิ่งขึ้น จนมีผูกลาววา กลวยเปนอาหาร ชนิดแรกของมนุษย และเปนพืชชนิดแรกที่มีการปลูกเลี้ยงไวตามบานในพระพุทธศาสนา มีการวาด ภาพตนกลวยในงานจิตรกรรม ในภาพวาดเปนการนํากลวยไปสักการะพระเจากาละ จีนโบราณมีการ บันทึกไววา มีกลวยอยู 12 ชนิด ไดแก ปารู กัน-เชียว ยาเชียว ปาเชียว นันเชียว เทียนเชียว ชี เชียว ชุงเชียว เมเจนเชียว โปโชวเชียว ยังเชียวเชียว ยูฟูเชียว กลวยเหลานี้ปลูกมากทีก่ วางตุง ฟู เกียง ฯลฯ กลวยมีเสนทางการเผยแพรราวกับนิยาย เมื่อประมาณ ป ค.ศ.200 บริเวณเมดิเตอรเร เนียนยังไมมกี ารปลูกกลวย จนถึง ค.ศ.650 เมื่อชาวอาหรับเดินทางติดตอคาขายกับแอฟริกา พวก อาหรับไดนํากลวยมาเผยแพรที่แอฟริกาดวย ในราวศตวรรษที่ 15 เมื่อชาวยุโรปเดินทางไปยัง ดินแดนตางๆ เพื่อ การสํารวจและแสวงหาดินแดนใหม ณ เวลานั้นปรากฏวา แถบชายฝงของ แอฟริกาตะวันตก ประชาชนนิยมปลูกกลวยกันอยางแพรหลาย การเดินทางของกลวยมิไดหยุดอยูแค นั้น เพราะในป ค.ศ. 1400 ชาวโปรตุเกสซึ่งเปนนักเดินเรือผูเ กงกลาสามารถไดนํากลวยไปยังหมู เกาะ คานารีดวย ปจจุบนั หมูเกาะคานารีเปนแหลงปลูกกลวยที่สําคัญแหงหนึ่งของโลก หมูเกาะนี้ใน เวลาตอมาไดรับการยกยองวาเปนเกาะประวัติศาสตรของการแพร พันธุกลวยสูโลกใหม ความเปนมาของกลวยในประเทศไทย ในตอนแรกไดกลาวไปบางแลววา กลวยเปนพืชเกาแกที่อยูคูกับคนไทยมานานแสนนาน และโดย ทางประวัติศาสตรแลว ประเทศไทยของเราเปนประเทศที่ตั้งอยูใ นแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต ซึ่ง ถือวาเปนถิ่นกําเนิดสําคัญของกลวยปาขึ้นชุกชุม กลวยที่ถือวาเปนพันธุดั้งเดิมของไทย เปนกลวยที่ ขึ้นอยูในบริเวณภาคใตของไทย ไดแก กลวยไขทองรวง กลวยเล็บมือนาง เปนตน ประเทศไทยมี


8

ลักษณะ กลวย เปนพรรณไมลมลุก มีลําตนเทียมสูงประมาณ 2-9 เมตร มีลําตนสัน้ ๆ อยูใตดิน (ที่ เรียกวา “ หัว ” ) พรอมดวยตาหลายตาเปนตําแหนงที่เกิดเหลาที่เจริญเปนหนอ รากแผกระจายไป ตามแนวราบ แตสวนมากรากจะอยูทผี่ ิวดิน หนอมีรูปทรงกระบอก ลําตนเทียมที่เกิดจากกาบใบที่ทับ สลับกันจนแนนกอดกันเปนกอนกลม ใบ ใบ หรือ ใบตองกลวยมีขนาดใหญ ลักษณะใบเปนแผนยาวประมาณ 1.50 เมตร กวางประมาณ 40.60 ซม. ทรงตัวอยูไดดวยเสนกลางใบที่แนนแข็ง ใบมีการจัดเรียงแบบขนนก มีเสนใบขนานกัน ดอก ออก ดอกเปนชอหอยลงมา มีกาบหุมมีสีแดงอมมวง เรียกวา หัวปลี รูปรางกลมรี มีดอกยอย ติดกันเปนแผง ดอกตัวเมียจะอยูที่ฐาน สวนดอกตัวผูจะอยูชว งปลาย ผล หลัง จากดอกตัวเมียเริ่มเจริญเปนผล ดอกตัวผูก็จะรวงไป ชอดอกจะเจริญตอไปเปนเครือกลวยที่ ประกอบดวยหวีกลวยประมาณ 7-8 หวี ผลกลวยออนมีสีเขียวพอแกจะเปลี่ยนเปนสีเหลือง การใชประโยชน สรรพคุณทางยา ยาง สมานแผลหามเลือด ผลดิบ รสฝาด ทั้งเปลือก หัน้ ตากแดด บดเปนผง ชง น้ํารอน หรือ ปนเมล็ดรับประทาน รักษาแผลในกระเพาะอาหาร แกทองเสียเรื้อรัง ผลกลวยดิบทั้ง เปลือก ใชโรยรักษาแผลเรื้อรัง แผลเนาเปอย แผลติดเชื้อตางๆ ผลสุก รสหวาน ระบายอุจจาระ บํารุง กําลัง บํารุงรางกาย รักษาแผลในกระเพาะอาหาร เปลือกลูกดิบ รสฝาด สมานแผล เปลือกกลวยหอมสุกเอาดานในทาแกสน เทาแตก หัวปลี รสฝาด แก โรคเกี่ยวกับกระเพาะอาหารและลําไส แกโรคโลหิตจาง ลดน้ําตาลในเสนเลือด รักษาโรคเบาหวาน น้ํา คั้นจากหัวปลี รับประทานแกถายเปนมูกเลือด บํารุงโลหิต ใบ รสเย็นจืด ตมดื่ม แกไข รอนในกระหาย น้ํา แกบิด แกผื่นคัน สมานภายใน หยวก รสฝาดเย็น เผาไฟรับประทาน ขับพยาธิ เหงา รสฝาดเย็น ปรุงยาแกริดสีดวงทวาร ชนิดมีเลือดออก หรือแผลภายในชองทวาร


9

ทางอาหาร ทุก สวนของกลวยสามารถนําไปใชประโยชนได โดยเฉพาะผลสามารถใชประโยชนทาง อาหารไดสูงสุด รับประทานไดทั้งผลดิบและสุก กลวยสุกนําไปเผาทั้งเปลือก ขูดเอาแตเนื้อไปบด กับขาว เปนอาหารชนิดแรกของคนไทยนอกจากนมแม กลวยดิบสามารถนําไปแปรรูปเปน แปงกลวย ไวผสมกับอาหารอื่นๆ หรือไปทําเปนกลวยฉาบ กลวยกวน กลวยตาก ขาวเกรียบกลวย ก็เปนทีน่ ิยม เชนกัน นอกจากผลแลว ปลีกลวย ใชเปนผักเปนสวนประกอบหลักทีส่ ําคัญของแกงเลียง อาหารเพิม่ น้ํานมใหแกแมที่เพิ่งคลอดบุตร กาบใน (ไส) ใชทําอาหาร

2.การออกแบบกราฟกบนบรรจุภัณฑ การออกแบบกราฟกหมายถึง การสรางสรรคลักษณะ สวนประกอบภายนอกของโครงสราง บรรจุภัณฑ ใหสามารถสื่อสาร สื่อความหมาย ความเขาใจ (to communicate)ในอันทีจ่ ะใหผล ทาง จิตวิทยา ตอผูอุปโภค บริโภคเชน ใหผลในการดึงดูด ความสนใจการใหมโนภาพถึงสรรพคุณ ประโยชนของผลิตภัณฑ ยี่หอผลิตภัณฑผูผลิต ดวยการใชวิธี การออกแบบ การจัดวางรูป ตัวอักษร ถอยคํา โฆษณา เครื่องหมายและสัญลักษณ ทางการคา และอาศัยหลักศิลปะการ จัดภาพใหเกิดการ ประสาน กลมกลืน กันอยางสวยงาม ตามวัตถุประสงค ที่ไดวางไว การออกแบบกราฟก บรรจุภัณฑ สามารถสรางสรรคได  ลักษณะ 2 มิติ บนพื้นผิวแผนราบของวัสดุ เชน กระดาษ แผนพลาสติก แผนโลหะอาบดีบกุ หรือ อลูมิเนียม โฟมฯลฯ กอนนําวัตถุตาง ๆ เหลานี้ประกอบกัน เปนรูปทรงของ บรรจุภัณฑ สวนในลักษณะ 3 มิติก็อาจทําได 2 กรณีคือ ทําเปนแผนฉลาก (label) หรือแผนปาย ทีน่ ําไปติดบนแผนบรรจุภณ ั ฑประเภท rigid forms ที่ ขึ้นรูปมา เปนภาชนะบรรจุสําเร็จมาแลว หรืออาจจะสรางสรรคบนผิวภาชนะบรรจุ รูปทรง 3มิติ โดยตรงก็ไดเชน ขวดแกว ขวดพลาสติกเปนตน ซึ่งลักษณะของการออกแบบกราฟก บรรจุภัณฑนี้สวน ใหญมักถือตามเกณฑของเทคนิคการพิมพในระบบตางๆเปนหลัก บรรจุภัณฑและสลากไดแสดงบทบาทหนาที่สําคัญ อันไดแก


10

1. การสรางทัศนคติที่ดีงามตอผลิตภัณฑและผูผ ลิต กราฟกบนบรรจุภัณฑ และแผนสลาก ไดทํา หนาที่ เปรียบเสมือนสื่อ ประชาสัมพันธของผลิตภัณฑในอันที่ จะเสนอตอผูอุปโภค บริโภคแสดงออก ถึง คุณงานความดีของผลิตภัณฑ และความ รับผิดชอบที่ ผูผ ลิตมีตอผลิตภัณฑนั้น ๆ โดยท ี่ลักษณะ ทาง กราฟก จะสื่อความหมายและปลูกฝงความรู ความเขาใจ การนําผลิตภัณฑไปใช ตลอดทั้งสราง ความตอเนื่อง ของการใช การเชื่อถือในคุณภาพ จรกระทั่งเกิด ความศรัทธา เชื่อถือในผูผ ลิตใน ผลผลิตทีส่ ุดดวย 2. การชี้แจงและบงชี้ใหผบู ริโภคทราบถึง ชนิดประเภทของผลิตภัณฑ ลักษณะกราฟกเพื่อ ใหสื่อ ความหมาย หรือถายทอดความรูสึกไดวา ผลิตภัณฑคืออะไร และผูใดเปนผูผลิตนั้น มักนิยมอาศัย ใช ภาพและอักษรเปนหลัก แตก็ยังอาศัยองคประกอบ อื่น ๆ ในการออกแบบ เชน รูปทรง เสน สี ฯลฯ ซึ่ง สามารถสื่อใหเขาใจหมายหมายได เชน เดียวกับการใชภาพ และขอความอธิบายอยางชัดเจน ตัวอยางงานดังกลาวนี้มีใหเห็นไดทั่วไป และที่เห็นชัดคือ ผลิตภัณฑตางประเทศ ที่บรรจุอยูในภาชนะ ที่ คลายคลึงกัน ดังเชน เครื่องสําอาง และยา เปนตน แมบรรจุอยูในขวดหรือ หลอดรูปทรงเหมือนกัน ผูบริโภค ก็สามารถชี้ ไดวาอันใดคือเครื่องสําอางอันใดคือยา ทั้งนี้ก็โดนการสังเกตจาก กราฟก เชน ลักษณะตัวอักษร หรือ สีที่ใชซึ่งนักออกแบบจัดไวให เกิดความรูสึกผิด 3. การแสดงเอกลักษณเฉพาะ สําหรับผลิตภัณฑและผูประกอบการลักษณะรูปทรงและโครงสราง ของบรรจุภัณฑ สวนใหญมักมีลักษณะที่คลายคลึงกัน ในผลิตภัณฑแตละประเภททั้งนี้ เพราะกรรม วิธ ีการบรรจุภัณฑ ใชเครื่องจักรผลิตขึน้ มาภายใตมาตรฐานเดียวกัน ประกอบกับผูแขงขัน ในตลาดมี มาก ดังที่เห็นได จากผลิตภัณฑอาหาร สําเร็จรูปที่ผลิตและจําหนายอยูอยางแพรหลายในปจจุบัน ซึ่ง มีลักษณะรูปทรง และโครงสรางที่คลายคลึงกันมาก เชน อาหารกระปอง ขวดเครื่องดื่ม ขวดยา ซอง ปดผนึก( pouch ) และกลองกระดาษเปนตน บรรจุภัณฑตาง ๆ เหลานี้มักมีขนาด สัดสวน ปริมารการ บรรจุ ที่เหมือนกัน หรือใกลเคียงกัน ดังนั้นการออกแบบกราฟก จึงมีบทบาทหนาทีแ่ สดงเอกลักษณ หรือบุคลิกพิเศษทีเ่ ปนลักษณะเฉพาะของตน ( brand image ) ของผลิตภัณฑ และ ผูผ ลิตใหเกิด ความชัดเจน ผิดแผกจากผลิตภัณฑคูแขงขัน เปนที่สะดุดตา และเรียกรองความสนใจ จากผูบริโภคทั้ง เกาและใหมใหจดจํา ไดตลอดจนซื้อไดโดยสะดวกและรวดเร็ว


11

4. การแสดงสรรพคุณและวิธีใช ของผลิตภัณฑเปนการใหขาวสารขอมูลสวนประสมหรือสวน ประกอบที่เกีย่ ว ของกับผลิตภัณฑภายในวามีคุณสมบัติสรรพคุณและวิธีการใชอยางถูหกตองอยางไร บาง ทั้งนี้โดยการอาศัย การออกแบบการจัดวาง( lay -out ) ภาพประกอบขอความสั้นๆ( slogan) ขอมูลรายละเอียด ตลอดจนตรารับรอง คุณภาพและอื่น ๆ ใหสามารถเรียกรองความสนใจ จาก ผูบริโภคใหหยิบยกเอาผลิตภัณฑขึ้นมาพิจารณา เพื่อตัดสินใจเลือกซื้อ การออกแบบกราฟกเพื่อแสดง บทบาทในหนาที่นี้จึงเปรียบจึงเปรียบเสมือน การสรางบรรจุภัณฑใหเปนนักงานขายเงียบ ( the silent salesman )ที่ทําหนาทีโ่ ฆษนา ประชาสัมพันธ แทนคน ณ บริเวณจุดซื้อ( point of purchase ) นั้นเอง บรรจุภัณฑ การออกแบบอาจจะเขียน เปนสมการอยางงาย ๆ ไดดังนี้ การออกแบบ = คําบรรยาย + สัญลักษณ + ภาพพจน Design = Words + Symbols + Image ในสมการนี้ คําบรรยาย และสัญลักษณมีความเขาใจ ตามความหมายของคํา สวน ภาพพจนนนั้ คอนขาง จะเปนนามธรรม เนื่องจากการออกแบบภาพพจนเปนศิลปะอยางหนึ่ง ซึ่งอาจแสดงออกได ดวย จุด เสน สี รูปวาด และรูปถาย ผสมผสานกัน ออกมาเปนพาณิชย ศิลปบนบรรจุภณ ั ฑ ดวย หลักการงาย ๆ 4ประการ คือ SAFE ซึง่ มีความหมายวา S = Simple เขาใจงายสบายตา A = Aesthetic มีความสวยงาม ชวนมอง F = Function ใชงานไดงาย สะดวก E = Economic ตนทุนหรือคาใชจายที่เหมาะสม

6 การออกแบบและพัฒนาแบบ (Design and Development)


12


13


14


15


16

7 การทดลอง ทดสอบ การใชงานจริง (Implementation/Deploy)


17

8.การสรุปผลงานการออกแบบ(Design Conclusion) 1.แรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงาน(Inspiration) ในการออกแบบบรรณจุภัณฑสําหรับกลวยกวน ผลิตภัณฑของตําบลบอกรุ จังหวัดสุพรรณบุรี ครั้งนี้ไดมาจากการที่อยากจํานําเสนอกลวยกวนในรูปแบบใหม คือ ออกแบบใหมีลักษณะเหมือนขนม เด็กๆ คือใหมีความสดใส นารัก นาสนใจ ใหมีความรูสึกถึงความสนุกสนาน การใชสีเพื่อเนนความ สดใส ดึงดูดใจ และมีลายโลโกเปนรูปกลวยเปนลายกราฟกเวคเตอร เปนสัญลักษณ 2.ความคิดสรางสรรค(Creative Idea) ความคิดสรางสรรคในการออกแบบ ไดมาจากความคิดที่ตองการอยากจะใหบรรจุภัณฑชิ้นนี้ มีทางเลือกในการขายการใชงานที่หลากหลายมากขึ้น มีรูปแบบแปลกใหมนาสนใจ มีความสดใส นารัก นาสนใจ ใหมีความรูสึกถึงความสนุกสนาน การใชสีเพื่อเนนความสดใส ดึงดูดใจ 3.การออกแบบโครงสรางที่ลงตัว สวยงาม(Design and Aesthetics) ในขั้นตอนของการออกแบบโครงสราง ไดมีการศึกษาขอมูลของสินคาและตัวบรรจุภัณฑ กอนที่จะวางแผนการทํางาน จึงทําใหชิ้นงานออกมามีความสวยงามและลงตัว ตามที่วางแผนและ ออกแบบไว 4.คุณคาและประโยชนที่ไดรับจากตัวผลงาน(Value and Benefit) 1.ไดความรูเรื่องการออกแบบกราฟกบนบรรจุภัณฑ 2.ไดออกแบบบรรจุภัณฑสําหรับกลวยกวน 3.ไดพัฒนาบรรจุภัณฑและสินคาที่มอี ยูในประเทศตนเอง 4.ไดประสบการณใหมๆจากการทํางานครั้งนี้


18

5.ขอเสนอแนะ 1.ควรมีการศึกษาขอมูลกอนทุกครั้งที่จะทําการออกแบบ 2.ควรมีการวางแผนการทํางานกอนลงมือทํางาน 3.ควรคํานึงถึงการเก็บรักษาคุณภาพของสิ้นคา 4.สามารถนําตัวบรรจุภัณฑมาพัฒนาตอได


19

บรรณานุกรม กลวย : http://poompanya.noads.biz/banana/banana.html .2553 การออกแบบกราฟกบนบรรจุภัณฑ : http://www.pb-pac.com/. 2553


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.