หนูอาสา

Page 1


อาสายุวกาชาด

EDITABLE


จ�ดเร�่มตนของกาชาดเกิดข�้นจากว�สัยทัศนของชายคนหนึ่งที่ชื่อ นายอังร� ดูนังต (Henry Dunant) ผูซึ่งกอใหเกิด กลุมองคกรกาชาดและเสี้ยววงเดือนแดงระหวางประเทศ จากเศรษฐีกลายเปนยาจก ทวาเขาเปนหนึ่งในผู ไดรับ รางวัล โนเบลสาขาสันติภาพที่จัดข�้นเปนครั้งแรก อังร� ดูนังต เกิดที่นครเจนีวา เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2371 ในครอบครัวระดับเศรษฐี ในป 2402 เขาตองไป ติดตอเกี่ยวกับธุรกิจของครอบครัว จึงเดินทางผานเขาไปทางตอนเหนือของประเทศอิตาลี ทำใหเขาไดพบเห็น การสูรบระหวาง กองกำลังผสมของฝรั่งเศสกับอิตาลี ตอสูกับทหารฝายออสเตร�ยน ณ เมืองซอลเฟอร�โน ดวยความที่ถูกเลี้ยงดูมาจาก ครอบครัวคนใจบุญ ทำใหเขาละทิ�งความคิดในเร�่อง ธุรกิจ แตกลับใหความชวยเหลือ ทหารที่บาดเจ็บ ลมตาย โดยไมเลือกวาทหารเหลานั้นจะอยูฝายไหน ดวยแรงบันดาลใจในครั้งนี้ เขาไดเข�ยนหนังสือ ที่ชื่อ ”ความทรงจำแหงซอลเฟอร�โน” A Memory of Solferino อันมีแนวคิดวา “จะเปนไปไดหร�อไมที่จะจัดตั้งองคกร อาสาสมัคร เพ�่อดูแลทหาร ที่บาดเจ็บในยามสงคราม” จากความคิดดังกลาวไดนำไปสูการกอตั้งคณะกรรมการระหวางประเทศเพ�่อบรรเทาทุกขผู ไดรับบาดเจ็บ และไดกลายมาเปน คณะกรรมการกาชาดระหวางประเทศ (ICRC) และมีการจัดตั้งสภากาชาด และ สภาเสี้ยววง เดือนแดง ในประเทศตาง ๆ รวมถึงเปนการวางรากฐานของกฎหมายมนุษยธรรมระหวางประเทศ ในเวลาตอมาดวย ชีว�ตของนักมนุษยธรรมผูนี้มีความลมเหลวในดานธุรกิจ แตกลับไดรับการยอมรับในดาน ความมีมนุษยธรรม ซึ่งในป 2444 เขาไดรับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพเปนคนแรก อังร� ดูนังต ไดเสียชีว�ตลง อยางสงบและโดดเดียวในวัย 82 ป แตหลายๆสิ�งที่เกิดจากแนวคิด ของเคายังคงมีการดำเนินการ จนถึงปจจ�บัน

ู งั ต  . . . ี น ง ัฮ รด

ผูจุด ย า ก ะ ปร กาชาด “จะเปนไปไดหรือไมที่จะจัดตั้ง องคกรอาสาสมัครเพื่อดูแลทหาร ที่บาดเจ็บในยามสงคราม”


องคกรกาชาดฯ จากแนวคิดของอังรี ดูนังต ทำใหปจจุบันมีองคกรกาชาด ระหวางประเทศที่ทำงานดาน มนุษยธรรม 3 องคกรหลัก

1

คณะกรรมการกาชาดระหวางประเทศ (The International Committee of The Red Cross) หร�อ ICRC มีบทบาทหนาที่หลักคือการชวยเหลือบรรเทาทุกขเมื่อเกิดการ ขัดแยงทางการทหาร เกิดสงครามกลางเมือง หร�อสงคราม ระหวางประเทศ และธำรงรักษาไวซึ่งหลักการกาชาด

2

3

สหพันธสภากาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดงระหวางประเทศ (The International Federation of Red Cross and Red Crescent Societies) หร�อ Federation หร�อ IFRC มีบทบาทหนาที่หลักคือติดตอประสานงานกับสภากาชาด ระหวางประเทศเพ�่อชวยเหลือบรรเทาทุกขผูประสบภัยธรรม ชาติทั่วไปพัฒนาดานสุขภาพอนามัยของประชาชนและเยาวชน จัดตั้งและพัฒนาสภากาชาดของประเทศตางๆ โดยปฏิบัติงาน ตามหลักการของกาชาดและอนุสัญญาเจนีวา สหพันธสภากาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดงระหวางประเทศ (The International Federation of Red Cross and Red Crescent Societies) หร�อ Federation หร�อ IFRC มีบทบาทหนาที่หลักคือฝกอบรมบุคลากรเพ�่อชวยเหลือ บรรเทาทุกข เชน แพทย พยาบาล อาสาสมัคร ฯลฯ เพ�่อ ปฏิบัติงานในโครงการตางๆ ของสภากาชาด และบรรเทาทุกข เมื่อเกิดภัยพ�บัติรวมถึงฝกอบรมเยาวชนเพ�่อการชวยเหลือ บรรเทาทุกขดวย


เคร�่องหมายกาชาด เคร�่องหมายกาชาดเปนเคร�่องหมายที่ไดรับการยอมรับในระดับนานาชาติ และสงวนไวเพ�่อเปนเคร�่องหมาย แหงมนุษยธรรมที่ “เปนกลาง” “ความไมลำเอียง” “ไมเลือกปฏิบัติ” และ “ไมหวังผลตอบแทน” เคร�่องหมายกาชาด มี 3 แบบ

เคร�่องหมายกากบาทแดงบนพ�้นขาว ใชในประเทศทั่วไป ไดแก สภากาชาดประเทศตางๆ เคร�่องหมายเสี้ยววงเดือนแดงบนพ�้นขาว ใชในประเทศที่นับถือศาสนาอิสลาม ไดแก สภาเสี้ยววงเดือนแดงประเทศตางๆ สัญลักษณคร�สตัลสีแดงบนพ�้นขาว มีการยอมรับเปนสัญลักษณใหม เมื่อป 2548 ใชเปนทางเลือกสำหรับประเทศที่ไมตองการใช เคร�่องหมายกากบาทแดงหร�อเสี้ยววงเดือนแดง

หลักการกาชาด 7 ประการ เปนหลักการดำเนินงานสำหรับประเทศสมาชิกของกาชาดทั่วโลก

Humanity มนุษยธรรม

IMPARTIALITY Neutrality ความไมลำเอียง

independence Voluntary servicr ความเปนอิสระ

บร�การอาสาสมัคร

ความเปนกลาง

Unity

ความเปนเอกภาพ

universality ความเปนสากล


พระบาทสมเด็จพระจ�ลจอมเกลาเจาอยูหัว

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว

สมเด็จพระนางเจาสวางวัฒนาพระบรมราชเทว�

สมเด็จพระนางเจาเสาวภาผองศร� พระวรราชเทว�

ทานผูหญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศ

กาชาดไทย

สภากาชาดไทยเปนองคกรการกุศลเพ�่อมนุษยธรรม ถือ กำเนิดข�้นเมื่อป พ.ศ.2436 (ร.ศ.11) เนื่องจากกรณี พ�พาท ระหวางประเทศไทยกับฝรั่งเศสเกี่ยวกับเขตแดนร�มฝงซายแม น้ำโขง มีการสูรบเกิดข�้นเปนผลให มีทหารเสีย ชีว�ตและบาด เจ็บจำนวนมาก แตไมมีองคกรใดเขาไปชวย เหลือบรรเทา ทุกขขณะนั้น ทานผูหญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศ ไดชักชวนสตร� ไทย เร�่ยไรเง�นและสิ�งของพ�่อสงไปชวยเหลือ ทหารที่บาดเจ็บ และมีความเห็นวาควรจะมีองคการใด องคการหนึ่งเขามา ชวยบรรเทา ความทุกขยากของทหารเชนเดียวกับ องคกร กาชาดของตางประเทศ จึงไดนำความ กราบบังคมทูล สมเด็จพระนางเจาสวาง-วัฒนา พระบรมราชเทว� ขอใหเปน ชนนีบำรุง ความทราบถึง พระบาทสมเด็จ พระจ�ลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงพอพระทัย เปนอยางยิ�ง จึงทรงพระราชทาน พระบรมราชานุญาต ใหตั้ง“สภาอุณาโลมแดงแหงชาติสยาม” ข�้น เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2436 โดยมีกิจกรรมที่สำคัญคือ การจัดสงยา เวชภัณฑ อาหารและ เคร�่องนุงหม เคร�่องอุปโภค ตางๆ ไปชวยเหลือ ทหารที่บาดเจ็บ ตอมาในสมัยรัชกาลที่ 6 คณะกรรมการ กาชาดระหวางประเทศรับรองสภากาชาด สยามเมื่อ วันที่ 27 พฤษภาคม 2463 และสันนิบาตสภา กาชาด มีมติรับ สภากาชาดสยาม เปนสมา ชิก ลำดับที่ 27 ในป พ.ศ.2464 ตอมา สภากาชาดสยาม เปลี่ยนชื่อเปน สภากาชาดไทย ตามชื่อประเทศ เมื่อป พ.ศ. 2482 โดยมีการดำเนินงานและ กิจกรรมเพ�่อมนุษยธรรมมาอยาง ตอเนื่องตราบจนปจจ�บัน


ยุวกาชาดไทย กิจการการชาดเขาสูเด็กและเยาวชน เร�่มข�้นในสมัยรัชกาลที่ 6 โดย สมเด็จเจาฟาบร�พัตรสุข�มพันธ กรมพระนครสวรรควรพ�นิต

พศ.2465 ร�เร�่มกอตั้งกองอนุสภากาชาดสยามเมื่อ 27 มกราคม 2465 ดำเนินภารกิจดานเด็กและเยาวชนตามนโยบายของกาชาดระหวางประเทศ (มีการดำเนินงานรวมกับกระทรวงศึกษาธิการจนปจจ�บัน)

พศ.2485 เปลี่ยนเปนกองอนุสภากาชาด

พศ.2521 เปลี่ยนเปนกองยุวกาชาด

พศ.2540 ปจจ�บัน เปลี่ยนเปนสำนักงานยุวกาชาด ดำเนินภารกิจตามขอบังคับสภากาชาดไทยมีหนาที่ปลูกฝงและเผยแพรใหเยาวชนมีความรู ความเขาใจ ในหลักการและอุดมการณกาชาดในดานมนุษยธรรม การดูแลสุขภาพอนามัย การบร�การอาสาสมัคร และการสงเสร�มการมีสัมพันธภาพที่ดี มีศรัทธาตอกาชาดและ รวมกิจกรรมของสภากาชาดไทยไดอยางตอเนื่อง


RIBBON SET

อาสาสมัครสภากาชาดไทย ในการดูแลผูสูงอายุ

อาสาสมัครในการดูแลผูสูงอายุเปนบุคคลที่พรอมที่จะทำ เพ�่อชวยเหลือดูแล ผูสูงอายุที่อยูในชุมชนของตนเอง ซึ่งอาจเปนผูที่อยูในครอบครัวหร�อใน ชุ ม ชนเดี ย วกั น หร� อ อาจเป น เพ� ่ อ นบ า นใกล เ ร� อ นเคี ย งกั บ ผู  ส ู ง อายุ ทำใหทราบปญหา และคนหาผูสูงอายุที่ตองการความชวยเหลือไดอยางทัน ทวงทีชุมชนจะไดรับประโยชนมาก และชุมชนจะมีความเขมแข็งหากประชาชน รวมแรงรวมใจกันชวยเหลือซึ่งกันและกัน อาจเร�่มจากปญหาใกลตัวและดูแล กันเองก็จะเปนประโยชนอยางมาก ดังนั้น อาสาสมัครในการดูแลผูสูงอายุ จึงควรมีบทบาท กิจกรรม และคุณสมบัติในการดูแลผูสูงอายุ ดังตอไปนี้

อาสายุวกาชาด

อาสายุวกาชาด

“พวกเราคือ อาสายุวกาด”


ขิ องอาสาสม ต ั บ ม ส ค ั ร ุ คณ

1

ใหการดูแลผูสูงอายุในชุมชนที่ขาด ผูดูแล ถูกทอดทิ�ง ชวยเหลือตัวเอง ไมได ถูกละเลยเพ�กเฉย และไดรับ การดูแลไมถูกตองโดยใหการชวย เหลือตามความจำเปน และความ ตองการของผูสูงอายุอยางทั่วถึง เทาเทียม เพ�ยงพอ และสม่ำเสมอ

อาสายุวกาชาด

อาสายุวกาชาด

2

ใหความรูในเร�่องตางๆ ที่เปนประโยชน แกผูสูงอายุ

3

4

ให ค วามรู  แ ก ส มาชิ ก ครอบครั ว ประชาชนในชุมชน เพ�่อใหการดูแล ผูสูงอายุอยางถูกตองเหมาะสม

เปนสื่อกลางในการนำ ประสาน สงตอบร�การสวัสดิการสังคมใหแก ผูสูงอายุ

5

เปนสื่อกลางในการนำ ประสาน สงตอ บร�การสังคมใหแก ผูประสบปญหาความทุกขยาก เดือดรอนผูดอยโอกาสใน ชุมชน


การเปลี่ยนแปลงทางด้าน และ จิตใจ

รางกาย

ของผู้สูงอายุ

ระบบประสาท 13

ผมและขน

1

การงอกของเส้นผมลดลง ขนบริเวณริมฝีปาก คาง หู คิ้ว รูจมูกเพิ่มขึ้น

ลืมง่าย ความสามารถในการจำลดลง

หู 12

หูตึง ทำให้มีอาการเวียนศีรษะ และเกิดอุบัติเหตุได้

ระบบทางเดินหายใจ 11

เนื่องจากหลอดลมหนาและแข็ง ทำให้เหนื่อยง่ายและอาจเกิด ภาวะถุงลมโป่งพองได้

กระดูกและข้อ 10

กระดูกงอบริเวณต่างๆ กระดูกเปราะ และหลังค่อม

2

ตา

สายตาและการแยกสีไม่ดี ตาแห้ง

3 ปากและฟัน

ฟันหลุด การทำงานของกล้ามเนื้อในการเคี้ยว การรับรส และต่อมน้ำลายลดลง

4 หัวใจและหลอดเลือด

อาจมีโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและโรคหลอดเลือดสมอง

5 ผิวหนัง

ระบบทางเดินอาหาร 9

มักมีอาการท้องอืด เบื่ออาหาร อาจมีน่วในถุ ิ งน้ำดี โรคเบาหวาน มีการแพ้ยาหรือสารพิษได้ง่าย

ระบบขับถ่ายปัสสาวะ 8 มักพบอาการปัสสาวะบ่อย เพศชายจะมีต่อมลูกหมากโต

ผิวหนังขาดความตึงตัว แห้ง กระด้าง และ กิดแผลกดทับได้ง่าย

6 ระบบขับถ่ายอุจจาระ มีอาการท้องผูก

7 ระบบสืบพันธุ์

ฮอร์โมนเพศลดลง ทำให้มีการเปลี่ยนแปลง ของระบบสืบพันธุ์

รูหรือไม ! การเปลี่ยนแปลงในวัยผู้สูงอายุ เกิดขึ้นจากระบบต่างๆ ของร่างกาย ที่ทำงานได้ลดลงไม่ดีเช่นเดิม ส่งผลให้ร่างกายเสื่อมถอย


ความตองการดานจิตใจ ของผูสูงอายุ ผู้สูงอายุจะเป็นวัยที่ต้องการความรัก ความเอาใจใส่ และความอบอุ่นจาก บุคคลรอบข้างมากกว่าวัยอื่น

สาเหตุความทุกขในผูสูงอายุ เศรษฐกิจ การเงิน และครอบครัว ความเจ็บป่วย ความทุกข์จากจิตใจและอารมณ์

การชวยผูสูงอายุในการปรับตัวดานจิตใจ ดูแลผู้สูงอายุ ให้สามารถรักษา ร่างกายให้แข็งแรง

สนับสนุนผู้สูงอายุ ให้ช่วยเหลือตนเอง ให้มากที่สุด

ช่วยผู้สูงอายุให้มี จิตใจที่แจ่มใส อารมณ์เย็น

สูงอายุต้องยอมรับสภาพ ความเป็นจริงของตัวเอง ปรับตัวปรับใจให้เข้ากับสังคม


6

อ. งายๆ

?

หนูอาสาทำได้ไหม

เพ�่อการสงเสร�มสุขภาพผูสูงอายุ

ตรวจรางกายประจำป - วัดความดันโลหิต - ตรวจเลือดหาระดับ - น้ำตาลและไขมัน

1 อ...อนามัย

การดูแลสุขภาพ อนามัย 1. การรักษาความสะอาดรางกาย 2. การดูแลความสะอาด ที่อยูอาศัย เคร�่องนุงหม เคร�่องใช 3. งดบร�โภค สุรา บุหร�่ สารเสพติด และยาที่เกินความจำเปน

การวัดรอบเอว ผูชาย ไมเกิน 90 เซนติเมตร (36 นิ�ว) ผูหญิง ไมเกิน 80 เซนติเมตร (32 นิ�ว)

การหาน้ำหนักตัวที่เหมาะสม โลกรัม) ดัชนีมวลรางกาย (BMI) = น้ำหนัก (กิ 2 สวนสูง (เมตร)

ตัวอยาง

ยายแดง มีน้ำหนัก 75 กิโลกรัม สูง 175 เซนติเมตร โลกรัม) ดัชนีมวลรางกาย (BMI) = น้ำหนัก (กิ 2 สวนสูง (เมตร)

BMI = 75 / (1.75 x 1.75) = 24.48 กิโลกรัม / ตารางเมตร

ดังนั้น! ยายแดงมีน้ำหนักเกิน “ ตองลดน้ำหนัก “


2อ..อากาศ หายใจเขา

หายใจออก

ทองปอง (ปอดขาย กระบังลมถูกดันลง)

ทองแฟบ (ปอดยุบตัว กระบังลมดันตัวข�้น)

การฝกการหายใจ 1. สูดลมหายใจยาวๆเขาทางจมูก 2. กลัน้ หายใจไวใหนานที่สุด เทาที่จะทำได 3. หายใจออกยาวๆ ทั้งทางปากและจมูก

3อ..อุจาระ แนวทางการปองกันการเกิดทองผูก รับประทานอาหารที่มีกากใย ดื่มน้ำ 6-8 แกว จำพวกผักผลไม น้ำอุนจะกระตุนการขับถายได้

ออกกำลังกาย อยางสม่ำเสมอ

หบักเลี่ยง การใชยาระบาย

ฝกนิสัยขัยถาย ใหเปนเวลา

งดอาการเคร�่องดื่ม ที่ทำใหทองผูก


4อ..อารมณ แนวทางการสงเสร�มใหผูสูงอายุอารมณดี อาสายุวกาชาด

เขาใจสภาพการเปลี่ยนแปลงของผูสูงอายุ - เมื่อทำในสิ�งที่ผูใหญไมชอบ ควรใหเหตุผลทุกครั้ง - เปนผูฟ�งที่ดี พ�ดนอย ฟ�งมาก - มีคำพ�ดใหขวัญกำลังใจผูสูงอายุ

ตระหนักในคุณคาของตนเอง - ใชเวลาวางใหเปนประโยชน - รักษาสุขภาพใหแข็งแรง

- มีกิจกรรมรวมกับครอบครัว - พบปะเพ�่อนฝูง


5อ..อุบัติเหตุ

อุบัติเหตุที่พบบอยในผูสูงอายุ

หกลม ชน กระแทก

สุนัขกัด

ตกเตียง บันได รถเข็น

น้ำรอนลวก

สาเหตุจากผูสูงอายุ - มองไมเห็น หูไมไดยิน - การทรงตัวไมดี - กลามเนื้อออนกำลัง แขน ขาไมมีแรง - สมองทำงานลดลง การเคลื่อนไหวลดลง คิดชา - ขอตอตางๆไมด

สำลัก

สาเหตุจากสิ�งแวดลอม - แสงสวางไมเพ�ยงพอ - พ�้นลื่น พ�ิ้นผิดขัดมัน พ�้นเปยก - บันได หองน้ำ หองสวม ไมมีราวจับ - พ�้นบานมีสิ�งของวาง กีดขวางทางเดิน


6อ..อดิเรก

งานอดิเรกทำเพ�่อใชเวลาวางใหเปนประโยชน

เพื่อความ ภูมิใจในตนเอง

เพื่อประโยชน ตอสังคม

เพื่อสุขภาพกาย และจิตดี


อาหารและโภชนาการสำหรั บ ผู ส  ง ู อายุ รางกายผูสูงอายุ โรค : อวน

โรค : ผอม - กระดูกเปราะ - ขออักเสบ - โรคหัวใจ - โลหิตจาง - ซึมเศรา ฯลฯ

- ไขมันในเลือดสูง - โรคหัวใจและหลอดเลือด - เบาหวาน - ความดันโลหิตสูง - ขออักเสบ ฯละฯ กินมากเกินไป

กินนอยเกินไป ผอม

อวน

ภูมิตานทานโรคต่ำ

รางกายสมูรณ สุขภาพแข็งแรง กินอาหารครบถวน ปร�มาณพอเหมาะ สุขภาพดี มีภูมิตานทานโรค


เนื้อสัตว ไข ถั่ว

MILK

อาหารหลักก อาหารหลั

ขาว แปง เผือก

5 หมู  หมู

ไขมัน

ผัก

การเลือกอาหาร ควรเลือกกิน เปนประจำ ไมควร กินบอย

ผลไม

แกงจืด แกงเลียง ตมยำ แกงปา น้ำพร�ก ผักตม ผักสด ขนมจีนน้ำยาปา กวยเตี๋ยวน้ำ ผลไมสด น้ำผลไม ไมเติมน้ำตาล นมจืดพรองมันเนย น้ำเปลา แกงกะทิ ตมขา ปลาทอด หมูทอด ไกทอด ผัดไทย ผัดซีอิ�ว ขนมจีนน้ำยากะทิ แกงเข�ยวหวาน ผลไมเชื่อม ผลไมแชอิ�ม ผลไมกับน้ำปลาหวาน น้ำอัดลม นมแตงรส

โภชนาการนารู

ขาววันละ 8 ทัพพ�/ ผักวันละ 4-6 ทัพพ� / นมวันละ 1-2 แกว ผลไมวันละ 3-4 สวน / ไขมัน น้ำตาล เกลือ ปร�มาณนอย เนื้อสัตววันละ 9 ชอนกินขาว ** ดื่มน้ำวันละ 8 แกว **


การออกกำลังกาย ในผูสูงอายุ

อายุ

ควรเลือกชนิดการออกกำลังกาย ใหเหมาะสม กับผูสูงอายุโดยคำนึงถึง

เพศ

ประโยชนของการออกกำลังกาย ชวยสงเสร�มใหระบบหัวใจและหลอดเลือดทำงาน ไดดีข�้น ชวยปองกัน ควบคุมโรคบางโรคได ชวยเพ�่ม กำลังกลามเนื้อ เพ�่มประสิทธิภาพ ในการทำกิจกรรมตางๆ ไดดีข�้น ชวยในการทรงตัว ชวยปองกันการ หกลม การออกกำลังกายโดยยืดกลามเนื้อทำใหแขน ขาเคลื่อนไหวไดคลองข�้น ชวยใหจิตใจแจมใส ชวยผอนคลายลดความว�ตกกังวลได

หลักการบร�หารรางกายสำหรับ ผูสูงอายุ สำหรับผูสูงอายุที่มีภาวะแทรกซอนและมีอายุมา กๆสมารถปรับเปลี่ยนจากการบร�หารรางกาย ดวยทาตางๆ ที่เหมาะกับตนเองได เชน การเดิน รำมวยจีน เปนตน ขณะออกกำลังกาย มีอาการปวดตามรางกายเพ�่มข�้นหร�อเว�ยน ศีรษะมึนงง ควรหยุดพัก หร�อถาหยุดพัก แลวอาการไมดีข�้น ควรปร�กษาแพทยหร�อ นักกายภาพบำบัด

โรคประจำตัว

หลักการบร�หารรางกายสำหรับ ผูสูงอายุ ควรออกกำลังกายวันละ 20-30 นาที ตอครั้ง ชวงอบอุนรางกายและการยืดกลามเนื้อประมาณ 5-10 นาที ชวงออกกำลังกายดวยทาออกกำลังกายประมาณ 10-15 นาที ชวงกลับสูสภาพปกติประมาณ 5-10 นาที ควรออกกำลังกายอยางนอยสัปดาหละ 2-3 วัน เมื่อรางกายปรับสภาพไดแลว ก็เพ�่มเปน สัปดาหละ 4-5 วัน แตไมควรเกิน 5 วันตอสัปดาห

การตรวจอัตราการเตนของหัวใจ ดวยตนเอง ขณะออกกำลังกาย หากมีอาการเหนื่อยควรจับชีพจรบร�เวณขอมือ การจับชีพจรบร�เวณขอมือเปนเวลา 1 นาที อายุ (ป)

อัตราการเตนของหัวใจ(ตอนาที)

60-64

80-120

64-69

83-123

70 ข�้นไป

75-113


ทาบริหารรางกาย ทาที่ 1 หมุนศีรษะซายขวา

อาสายุวกาชาด

อาสายุวกาชาด

อาสายุวกาชาด

ทาที่ 2 เอียงศีรษะซายขวา

อาสายุวกาชาด

อาสายุวกาชาด

อาสายุวกาชาด


ทาที่ 3 มือประสานทายทอย

อาสายุวกาชาด

อาสายุวกาชาด

อาสายุวกาชาด

ทาที่ 4 ยกแขนสองขางพรอมกัน

อาสายุวกาชาด

อาสายุวกาชาด

ทาที่ 5 บิดลำตัว

อาสายุวกาชาด

อาสายุวกาชาด

อาสายุวกาชาด


อุปกรณ ชวยสงเสร�มการเคลื่อนไหว กิจกรรมที่เคลื่อนไหว โดยตองมีผูดูแล

การเคลื่อนยายตัวจาก ชักโครกไปรถเข็น

วกาช อาสอาส ายุายุ วกาช าดาด

การเคลื่อนยายตัวจากรถเข็นไปยังที่อื่นๆ เชนเกาอี้ ชักโครก ใชหลักการที่ใหดานที่มีแรงอยูชิดกับเกาอี้หร�อชักโครก ยืนข�้น ถายน้ำหนักลงที่ขาดานมีแรง แลวหมุนตัวไปทางดานที่มีแรง ที่สำคัญคือ อยาลืมล็อกลอทุกครั้ง เพ�่อปองกันอุบัติเหตุการ ลื่นไหลของรถ

การเคลื่อนยายตัวจาก รถเข็นไปเตียง นั่งในรถเข็นที่ตั้งทำมุมประมาณ 45 องศากับเตียง โดยใหดานที่ปกติของ ผูปวยเขาหาเตียง ล็อกลอรถเข็น และวางเทาทั้งสองขางลงบนพ�้น มือขางที่ ปกติจับที่วางแขน แลวโนมตัวลุกข�้นยืนดวยความระมัดระวัง ยายมือจากที่ วางแขนไปยังที่นอน แลวกาวขาขางที่ปกติไปดานหนา เล็กนอยหันลำตัวและ ยายตัว กมลงไปนั่งบนเตียง


การเคลื่อนยายตัวจาก รถเข็นไปพ�้น ล็อกลอรถเข็น กอนเปดที่พักเทา วางเทาบนพ�้น ขยับตัวมาดานหนา เบาะ มือสองขาง ยึดรถเข็น คอยๆ ยกสะโพกลงบนพ�้น เหมาะสำหรับ ผูปวยที่มีกำลังแขนและการทรงตัวดี ดีจังเลย มีหนูๆชวย ดูแลตา อาสายุวกาชาด

การเดินโดยใชอุปกรณเคร�่องชวยเดิน

1.ไมเทาสี่ขา (Walker) เหมาะสำหรับผูสูงอายุ ที่มีแรงทั้ง 2 ขาง และเหมาะสำหรับ ใชในพ�้นที่เร�ยบ

2. ไมเทาสามขา (Tripod cane) เหมาะสำหรับผูสูงอายุ ที่มี การทรงตัวไมคอยมั่นคง มีอาการออนแรงของ รางกาย ซีกใดซีกหนึ่ง และเหมาะสำหรับ ใชในพ�้นที่เร�ยบ

การวัดความสูงของอุปกรณชวยเดิน

3. ไมเทาขาเดียว (One point cane) เหมาะสำหรับผูสูงอายุที่มีการ ทรงตัวคอนขางดี หร�อ มีการ ออนแรงของรางกายซีกใด ซีกหนึ่งไมมากนัก ไมเทาขาเดียว สามารถใช ไดทุกพ�้นผิว

1. วัดในทายืน โดยวางอุปกรณเยื้องไปดานขางและดาหนา ประมาณ 6 นิ�ว 2. ปรับความสูงของอุปกรณ ใหขอศอกงอประมาณ 25-30 องศา


ทักษะพื้นฐานในการดูแลผูสูงอายุ การดูแลกิจวัตรประจำวัน ( เช็ดตัว สระผม แปรงฟ�น เปลี่ยนเสื้อผา เปลี่ยนผาปูที่นอน และการปอนอาหาร )

1.การเช็ดตัว

น้ำสะอาด

อุปกรณที่ตองเตร�ยม

1.ผาเช็ดตัว 2.เสื้อผาผูสูงอายุ 3.กะละมังใสน้ำ 4.ผาปูที่นอนพรอมปลอกหมอน 5.ชุดอุปกรณ เช็ดตัว

แปรงสีฟน น้ำยาบวนปาก ผาเช็ดตัว

ยาสีฟน ไหมขัดฟน

วาสลีน

ขั้นตอน

1. บอกผูสูงอายุ และกั้นมายเลื่อนตัวผูสูงอายุ มาชิดร�มเตียงดานที่ผูดูแลยืนอยู คลุมผา แลวถอดเสื้อผูสูงอายุออก 2. ใชผาเช็ดตัวชุดน้ำบิดพอหมาด ทำตัวผูสูง อายุใหเปยกกอนแลวใชผาอีกผืนนึง ชุบน้ำ บิดพอหมาดถูกสบู แลวจึงใชผาผืนแรกชุบน้ำ บิดพอหมาดเช็ดสบูออกใหหมด เช็ดตาม บร�เวณตางๆ ไดแก ใบหนา ลำคอ ตัว แขน ขา 3. ทาแปงหว�ผมใหเร�ยบรอย จัดทาใหผูสูงอายุ นอนในทาที่สบาย นำเคร�่องใช ไปทำความ สะอาด ควรมีผารองกันเปอนทุกครั้งเพ�่อ ปองกันน้ำเปยกหมอนและที่นอน

ว�ธีเช็ดใบหนาและละคอ

เร�่มเช็ดบร�เวณตา (จากหัวตาไปหางตา) หนาผาก จมูก แกม รอบปาก หู และ คอ แลวซับใหแหง

ว�ธีเช็ดลำตัวและแขน

การเช็ดบร�เวณทรวงอก ถาเปนผูหญิง ควรเช็ดรอบๆเตานมคลายรูปเลขแปด ถาเปนผูชายควรเช็ดตามขวางของลำตัว การเช็ดแขนและขาใหเช็ดทีละขาง โดยเช็ดข�้นลงตามความยาวของแขนและ ขาใหถึงนิ�ว แลวซับใหแหง


อุปกรณที่ตองเตร�ยม

2.การเช็ดตัว

1.ชุดอุปกรณสระผม 1 ชุด 2.ผาปูที่นอนพรอมปลอกหมอน 1 ชุด 3.ผาเช็ดตัวผืนกลาง 4 ผืน 4.ผาเช็ดตัวขนาดใหญ 4 ผืน

5.ภาชนะพรอมผาสะอาดสำหรับใชสระผม 6.ภาชนะสำหรับรองรับน้ำใชแลว 7.ผายางสำหรับทำรางน้ำ 8.ไดรเปาผม

1. บอกผูสูงอายุ และกั้นมาน เลื่อตัวผูสูงอายุ ใหศร�ษะอยูร�มเตียง

ุวกาชา

อาสาย

2. ปูผาเช็ดตัว และปูผาพลาสติกมวนเปนราง ปลายใสลงในถังรอบรับน้ำ

3. คอยๆเทน้ำลงบนผม สระผมแลวลาง ใหสะอาด จากนั้นเช็ด และเปาผมใหแหง


3.การแปรงฟน อุปกรณที่ตองเตร�ยม

1.น้ำสะอาด 1 แกว 3.ภาชนะรองน้ำบวนปาก (ชามรูปไต) 1 ใบ 2.น้ำยาบวนปากหร�อน้ำเกลือ 4.ผาเช็ดตัว 1 ผืน 5.วาสลีนสำหรับทาร�มผีปาก

ว�ธีแปรงฟ�นใหผูสูงอายุอยูบนเตียงที่ชวยเหลือตนเองไม ได

อาสายุวกาชาด

1. เลื่อนตัวผูสูงอายุชิดร�มเตียง และให ผูสูงอายุตะแคงหนามาขางๆ หร�อนอน หงายศร�ษะสูง คลี่ผาเช็ดตัว คลุมบร�เวณ คอ และขางหมอนวางชามรูปไต ที่ใตคาง ผูสูงอายุ 2. แปรงฟ�น แปรงลิ�น

การแปรงฟ�นโดยใชอุปกรณอื่นแทนแปรงสีฟ�น วิธีที่ 1

เทน้ำเกลือใสสำลี ใชปากคีบ บีบสำลีพอหมาด หนีบสำลี ใหแนน เช็ดทำ ความสะอาด ดานในปาก เพดานปาก กระพ�้งแกม ฟ�น และลิ�น ทำซ้ำ จนปากและฟ�น สะอาด

วิธีที่ 2

ใช ไมพันสำลี ชุบน้ำเกลือ เช็ดทำความสะอาดภายในปากและฟ�น

วิธีที่ 3

อาสายุวกาชาด

ใชผากอซพันปลายชอนกาแฟใหหนาพอควร เพ�่อปองกันการทำอันตราย เหง�อกเนื้อเยื่อในปาก จับสวนปลายของผากอซไว เพ�่อปองกันไมใหผา กอซหลุดลงคอ แลวชุบน้ำเกลือเช็ดทำความสะอาดภายในปากและฟ�น


อุปกรณที่ตองเตร�ยม

4.การเปลี่ยนผาปูที่นอน

1.ผาปูที่นอน 2.ปลอกหมอน 3.ผาขวางเตียง 4.ผาพลาสติก ,ผายาง

การเปลี่ยนผาปูที่นอนผูสูงอายุ ที่สามารถลุกจากเตียงได ว�ธีเปลี่ยนผาปูที่นอน 1. เตร�ยมเคร�่องใชใหพรอม 2. บอกใหผูสูงอายุทราบ ใหลุกไปนั่งที่เกาอี้ หร�อปฏิบัติกิจอื่นๆ ว�ธีปูผาใหเร�ยบตึง 1. คลี่ผาปูที่นอน วางบนที่นอนใหกึ่งกลางผาปู ที่นอนพอดีกับกึ่งกลางที่นอน ชายผาจะเทากัน 2. ปูที่นอนทีละขาง เร�่มเหน็บผาปูที่นอนดาน ศร�ษะกับปลายเตียงกอน ยกที่นอนข�้น ตลบผาปู ที่นอนเขาใตที่นอน ดึงใหเร�ยบ 3. เหน็บผาปูที่นอน ว�ธทำมุมทั้ง 4 มุม 1. หยิบชายผาปูที่นอนยกข�้นทำมุมฉากกับที่นอน 2. เหน็บชายผาดายลางเขาใตที่นอน 3. เหน็บชายผาดานบนปดทับ 4. เหน็บเขาใตที่นอน

5.ผาเช็ดเตียง 6.ภาชนะใสผาเปอน 7.ภาชนะใสน้ำยาฆาเชื้อ

การเปลี่ยนผาปูที่นอน ขณะที่ผูสูงอายุนอนอยูบนเตียง 1. เตร�ยมเคร�่องใชใหพรอม 2. บอกใหผูสูงอายุทราบ 3. พลิกตะแคงตัวผูสูงอายุ 4. เดินไปดานหลังผูสูงอายุ 5. ดึงชายผาปูที่นอนออกจากที่นอนมวนไปจน ชิดดานหลังผูสูงอายุมากที่สุด 6. ผูดูแลเดินไปขางเตียงอีกดานหนึ่ง ดึงชายผปู ที่นอนผืนเกาออกจากที่นอน แลวมวนผาปูที่นอน เขาหากัน เพ�่อปองกันการแพรกระจายของเชื้อโรค นำไปใสภาชนะใสผาเปอน 7. เมื่อปูผาไดคร�่งเตียงพลิกตัวผสูงอายุใหนอน หงาย พลิกตะแคงใหนอนดานที่เปลี่ยนแลว 8. ปูผารองกันเปอน และผาขวางเตียงเหน็บ ใหเร�ยบตึง 9. พลิกตัวผูสูงอายุใหนอนในทาสุขสบาย และอยาลืม เปลี่ยนปลอกหมอน ผาหมใหเรียบรอย นะจะ


5.การปอนอาหาร ว�ธีการปอนอาหาร

อาสายุวกาชาด อาสายุวกาชาด

อาสายุวกาชาด

1. ผูดูแลลางมือใหสะอาด บอกผูสูงอายุใหทราบถึงชนิดอาหาร 2. ผุดูแลทำความสะอาดปาก ฟ�น ใหกับผูสูงอายุ 3. จัดใหผูสูงอายุนอนศร�ษะสูง เพ�่อกลืนอาหารไดสะดวก และปองกันไมใหสำลักอาหาร 4. ผูปอม ควรวางภาชนะใหสะดวกแกผูปอนอาหาร 5. วางผากันเปอนหร�อการดาษบนหนาอกผูสูงอายุ 6. ควรปอนาหารครั่งละนอยๆ พอดีค่ำ 7. ควรเวนระยะการปอนใหผูสูงอายุ เพ�่อกระตุนความอยากอาหาร 8. ถาเปนอาหารเหลว ควรใชหลอดดู 9. เมื่ออิ�มแลว ใหดื่มน้ำ และทำความสะอาดปากและฟ�นทุกครั้ง 10. หลังรับประทายอาหาร ควรใหผูสูงอายุนอนศร�ษะสูงประมาร คร�่งชั่วโมง ถึง 1 ชั่วโมง


การปฐมพยาบาล - การหามเลือด การเขาเฝอก - การสำลัก การวัดสัญญาณชีพ - และการใชยา

อาสายุวกาชาด

อาสายุวกาชาด

การปฐมพยาบาล คือการชวยเหลือผูบาดเจ็บ ณ ที่เกิดเหตุโดยใชอุปกรณที่หาได ในขณะนั้น กอนนำสงโรงพยาบาล

การปฐมพยาบาลบาดแผล ไดแก แผลฟกช้ำ แผลถลอก แผลถูกของมีคมบาด แผลไฟไหม น้ำรอนลวก

หลักการปฐมพยาบาล 1 อยาตื่นตกใจ 2 สังเกตอาการผูบาดเจ็บ 3 ใหการปฐมพยาบาล

ตามลำดับความสำคัญ

4 นำสงโรงพยาบาล

1. การหามเลือด

โดยปกติเลือดจะแข็งตัวไดเอง นานประมาณ 3-10 นาที เปนลิ�มเลือดอุดรูหลอด เลือดที่ฉีกขาดได

การปฐมพยาบาลบาดแผลชนิดตางๆ

1. บาดแผลปด เกิดข�้นจากวัตถุไมมีคม ผิวหนังไมฉีกขาด ไดแก แผลช้ำ หัวโน หอเลือด รวมถึงแผลที่อวัยวะภายในไดรับบาดเจ็บ การปฐมพยาบาล 1.ประคบดวยความเย็นใน 24 ชั่วโมงแรกของการบาดเจ็บ เพ�่อใหหลอด เลือดหดตัว 2.ชวยหามเลือดและระงับอาการปวด 3.ประคบดวยความรอนภายหลัง 24 ชั่วโมงแรกของการบาดเจ็บ เพ�่อลดอาการบวม 4.ถาบาดแผลที่อวัยวะภายในไดรับบาดเจ็บรุนแรง ผูดูแลคอยสังเกตอาการช็อก


2. บาดแผลเปดขนาดเล็ก ไดแก แผลถลอก แผลตื้น แผลมีดบาด การปฐมพยาบาล 1. ลางแผลดวยน้ำและสบูใหสะอาด 2. ใสยาหร�อไมก็ ได 3. ปดแผลหร�อไมก็ ไดข�้นกับความลึกของแผล และควรปฐมพยาบาล กอนนำสง โรงพยาบาล

3. บาดแผลเปดขนาดใหญ ไดแก แผลจากของมีคมที่ลึก แผลฉีกขาด การปฐมพยาบาล โดยการใชมือกดหามเลือด 1. หามเลือดโดยไมตองลางแผล 2. ชวยปฐมพยาบาลหากเปนลมหร�อช็อก 3. ร�บนำสงโรงพยาบาล

การปฐมพยาบาล โดยการใชผาสามเหลี่ยมหามเลือดบร�เวณแขน – ขา

1.ขยุมผากดที่แผล

2.ยกปลายแขนข�้น

3.ผูกปมตรงกลาง


2. การเขาเฝอก (การบาดเจ็บของกระดูกและขอ) ชนิดของกระดูกหัก อาการ : เมื่อกระดูกหัก อาการภายนอกคือ ปวด บวม ช้ำ รูปรางผิดปกติ เกิดเสียงเมื่อเคลื่อนไหว กดเจ็บบร�เวณที่หัก

กระดูกหักชนิด ไมมีบาดแผล หร�อชนิดปด สาเหตุ 1. ไดรับแรงที่กระทำโดยตรง 2. ไดรับแรงที่กระทำโดยออม 3.เกิดจากกลามเนื้อและกระดูกหดตัว อยางแรง 4. จากพยาธิสภาพของกระดูก

การเขาเฝอกขอมือหัก

กระดูกหักชนิด มีบาดแผล

การปฐมพยาบาล 1.ประเมินและใหการชวยเหลือภาวะ คุกคามชีว�ต 2. ไมเคลื่อนไหวบร�เวณที่มีขอเคลื่อน หร�อ กระดูกหัก 3. ถามีบาดแผล ใชผาสะอาดปดแผล 4. เขาเฝอกชั่วคราวบร�เวณ ขอหร�อ กระดูกที่บาดเจ็บ

การเขาเฝอกขอศอกหัก


3.การสำลัก

การสำลัก หมายถึง การที่สิ�งแปลกปลอม ตกเขาไปติดอยูในทางเดินหายใจ ทำใหเกิดการอุดกั้น อาการ - ชี้ไปที่คอ หร�อเอามือกุมรอบคอ - พ�ดไมออก - หายใจลำบาก หายใจมีเสียงดัง - ไอไมมีเสียง ขยอน - ผิวหนาซีด เข�ยว - อาจชัก หร�อหมดสติ ถาขาดอากาศนาน

อันตราย : เสียชีว�ตจากการขาดออกซิเจนถาชวยเหลือไมทัน สาเหตุ : รับประทานอาหารและว�่งเลนในเวลาเดียวกัน การบาดเจ็บที่ศีรษะ / ใบหนา การปฐมพยาบาล: กรณีรูสึกตัว * ถาไอได กระตุนผูสำลักให ไอแรง ๆ แตถาไมสามารถไอไดแรง * กระแทกใตกะบังลม ชุดละ 5 ครั้ง ทำตอเนื่องจนกวาสิ�งอุดกั้นจะหลุดออก

อาสายุวกาชาด อาสายุวกาชาด

าด

กาช

ายุว

อาส

อาสายุวกาชาด


4. การวัดสัญญาณชีพ สิ�งที่แสดงใหทราบถึงการมีชีว�ค - อุณหภูมิ - การหายใจ - ความดันโลหิต - ชีพจร อุณหภูมิของรางกาย หมายถึง ระดับความรอนที่เกิดจากการเผาผลาญภายใน รางกาย สามารถวัดไดดวยปรอทวัดไข การแปลคาอุณหภูมิที่วัดได -ปกติ 36 - 37.5 องศาเซลเซียส - มีไข 37.6 - 38.4 องศาเซลเซียส - มีไขสูง 38.5 องศาเซลเซียส ข�้นไป เคร�่องใชสำหรับการวัดอุณหภูมิ ทางปาก : ทางรักแร 1. ปรอทสะอาด (ปรอทปาก) 2. นาิกา (ที่มีเข็มว�นาที) 3. กระดาษชำระ 4. ชามรูปไต 5. แบบบันทึกอาการ

ว�ธีวัดปรอท 1. ลางมือใหสะอาด 2.สลัดปรอทใหลงต่ำถึง 35 องศาเซลเซียส 3. สอดปรอททางใดทางหนึ่ง

* ทางปาก โดยสอดปรอทใตลิ�น อมนาน 1- 2 นาที * ทางทวารหนัก โดยใชวาสลีนทาปลายปรอท และสอดเขาไปในทวารหนัก ลึก 1.5 นิ�ว นาน 1 นาที * ทางรักแร ซับรักแรดวยกระดาษทิชชูจนแหง สอดปรอทไวในอุงรักแร นาน 5 นาที เมื่อครบตามเวลาแลวนำปรอทออกมาและเช็ดปรอทใหสะอาด ยกปรอทสูงระดับ สายตา อานคาแลวจดบันทึกทำความสะอาดลางดวยน้ำและสบู เช็ดใหแหง กอนเก็บสลัดปรอทใหลงต่ำ ถึง 35 องศาเซลเซียส


การจับชีพจร

ชีพจร เปนแรงสะเทือนของกระแสเลือด ซึ่งเกิดจากการบีบตัวของหัวใจหองลางดานซาย ที่ทำใหผนังของหลอดเลือดแดงขยายออกเปนจังหวะ บร�เวณที่สัมผัสได คือ สวนผิวของรางกายที่มีหลอดเลือดแดง ผานเหนือหร�อขางๆ กระดูก ตำแหนงที่จับชีพจร 1.ข อ มื อ ด า นในทางด า นนิ � ว หั ว แม ม ื อ เปนบร�เวณ ที่นิยมมากที่สุด อัตราการเตนของหัวใจ 2. ขอพับแขนดานใน คาปกติในผูใหญเฉลี่ย 60 - 90 ครั้งตอ 3. ใตขากรรไกรลาง 4. ขาหนีบ 5. ขมับ 6. ขอเทาดานในติดกับตาตุม การนับการหายใจ อัตราการหายใจปกติเฉลี่ย 16 - 20 ครั้งตอนาที 7. ใตเขา การหายใจเขาและออก นับเปน 1 ครั้ง 8. หลังเทาดานนิ�วหัวแมเทา

ว�ธีจับชีพจร 1.ใหผูสูงอายุนั่งหร�อนอน วางมือในทาที่สบาย 2.ผูดูแลใชปลายนิ�วทั้ง 3 นิ�ว ไดแก นิ�วชี้ นิ�วกลาง นิ�วนาง วางบนบร�เวณ ขอมือผูสูงอายุ ดานในตรงกับนิ�วหัวแมมือ โดยแตะและกดเล็กนอย แลวนับจำนวน ตามจังหวะการเตน จนครบ 1 นาที 3.บันทึกในแบบบันทึกอาการ ขอควรระวังในการจับชีพจร 1. ใหผูสูงอายุอยูในทาที่สุขสบาย 2. อยาใชนิ�วหัวแมมือจับชีพจรเพราะอาจไดชีพจรของตนเอง 3. อยาจับชีพจรขณะที่ผูสูงอายุเพ�่งออกกำลังกายเสร็จใหมๆ เพราะจะไมไดคาที่แทจร�ง


ความดันโลหิต หมายถึง แรงดันที่อยูในเสนเลือด เกิดข�้นขณะที่โลหิตถูกบีบตัวออกจากหัวใจ ไปปะทะกับ ผนังหลอดเลือด เกิดเปนคลื่นแรงดันเลือดไปทั่วรางกาย คาปกติความดันโลหิต - ในจังหวะหัวใจบีบตัว 90 – 140 มม.ปรอท - ในจังหวะหัวใจคลายตัว 60 –90 มม.ปรอท

เคร�่องวัดความดัน โลหิตแบบปรอท

ตัวอยาง ความดันโลหิต = 120/80 มม.ปรอท (คาความดันโลหิตปกติ)

เคร�่องวัดความดันโลหิต แบบขดลวด

การใชยา ยา คือ สารหร�อผลิตภัณฑที่มี วัตถุประสงคการใชเพ�่อใหเกิด การเปลี่ยนแปลทางสร�รว�ทยา ของรางกาย

เคร�่องวัดความดัน โลหิตแบบดิจิตอล

จ�ดมุงหมายในการใชยา 1. ใชในการรักษาโรคใหหายขาด 2. ใชในการควยคุมโรคหร�อ บรรเทาอาการ 3. ใชในการปองกันและ ว�นิฉัยโรค


การแพยา ฤทธิ์ขางเคียง

ปฎิกิร�ยาตอกันของยา

การดื้อยา การใชยาในทางที่ผิด และการติดยา

1. ยาเม็ด สังเกตเม็ดยาที่แตกรวน สีซีด สีเปลี่ยนไป ลักษณะเปลี่ยนไป มีกลิ�น 2. ยาเม็ดเคลือบน้ำตาล จะเยิ�มเหนียว เปนรอยดาง หร�อแตกกรอน 3. ยาแคปซูล สังเกตลักษณะแคปซูลบวมพองหร�อไม หร�อลักษณะจับกัน สังเกตสีของผงยาในแคปซูลเปลี่ยนไปหร�อไม 4. ยาน้ำแขวนตะกอน ถาตะกอนจับกันเปนกอนแข็ง เขยาแรงๆ ก็ ไมกระจายตัว มีสี กลิ�น รส เปลี่ยนไปจากเดิม ก็ ไมควรนำมาใช 5. ยาน้ำเชื่อม ถาเสื่อมสภาพ จะข�่นมีตะกอน สีเปลี่ยน มีกลิ�นบูดเปร�้ยว หร�อมีรสเปร�้ยว 6. ประเภทยาข�้ผึ้ง เมื่อเสื่อมสภาพจะแข็งตัวมากข�้นจนบีบไมคอยออก สีของยาเปลี่ยนไป หร�อมีจ�ดดางดำเกิดข�้น 7. ยาฉีดชนิดผง ควรสังเกตยาจะเกาะตัวกัน ไมคอยละลาย สียาเปลี่ยนไป หร�อเมื่อดูดยาเขาหลอดฉีดยาจะทำใหเข็มอุดตัน


อาสายุวกาชาด



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.