INDEPENTDENT FILMMAKERS จัดทำ�โดย กชกร บัวพูน โทร. 087-539-0350 Email: wemkchk@gmail.com
Independent FilmMakers คนเบื้องหลังหนังอิสระไทย ที่ปรึกษา อาจารย์บรรยงค์ สุวรรณผ่อง คณะกรรมการ อาจารย์อริน เจียจันทร์พงษ์ ดร. กันยิกา ชอว์ อาจารย์วีระศักดิ์ จันทร์ส่งแสง อาจารย์ภมรศรี แดงชัย สาขาวารสารศาสตร์และหนังสือพิมพ์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร
PREFACE คำ�นำ�ผู้เขียน
สำ�หรับหนุ่มสาวนักศึกษาใกล้จบที่ผ่านการเรียนรู้ ในระบบที่เรียกว่า มหาวิทยาลัย และค่อยๆเดินเข้าหาคำ�ว่า ผู้ ใหญ่ เข้าไปเต็มที ในความจริงแล้ว เราจะเหมือนกลับไปเป็นเด็ก อีกครั้ง กลับไปเป็นเด็กในระบบชีวิตแบบใหม่ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เราต้องปรับตัว การเข้าสูก่ ารทำ�งานอย่างเต็มตัว เราต้องพบปะกับเพือ่ นร่วมงาน รุน่ พี่ สถานที่ ใหม่ๆ ที่เราไม่คุ้นชิน เราคงต้องมีความรับผิดชอบที่มากขึ้น เปิดใจยอมรับสิ่งใหม่ๆ ลองผิดลองถูก รวมถึงการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนร่วมงาน มันคงคล้ายกับตอนเด็กๆที่เราต้องฝึก อ่านก-ฮ ฝึกท่องสูตรคูณ รู้จักการเข้าแถว กฎระเบียบต่างๆในโรงเรียน นั่นคือ สังคมเก่าที่ เราได้ผา่ นมาแล้ว เพียงแต่สเกลของสิง่ ต่างๆมันจะใหญ่ขนึ้ เรือ่ ยๆ และสอนให้เราเติบโตในสังค มนั้นๆ เพื่อที่จะไปเป็นเด็กที่ดี ในสังคมใหม่ๆ ไม่ว่าอย่างไร หากเราอยู่ ในสังคมไหน สิ่งสำ�คัญคือการพัฒนาตนเองให้ ได้มากที่สุด ไม่ต้องไปเปรียบเทียบกับใครที่ ไหน เปรียบเทียบกับตัวเองในอดีตก็พอ การฝึกแก้ปัญหา สถานการณ์ต่างๆด้วยตนเองก็เป็นสิ่งจำ�เป็นเช่นกัน ใช้ ใจไตร่ตรอง มีสติให้มากขึ้น มีคนเคย พูดไว้ว่า”.ปัญหาที่ผ่านเข้ามาในชีวิต ณ ช่วงเวลาหนึ่ง เราจะมองว่ามันใหญ่มาก ก็เหมือนกับ การเป็นสิวตอนอยูม่ อปลาย ติดFตอนอยูม่ หาวิทยาลัย แต่สดุ ท้ายแล้วมันก็จะผ่านไปตามกาล เวลา” ข้อดีของปัญหาทำ�ให้เราเติบโต เรียนรู้ ยอมรับสิ่งต่างๆตามความเป็นจริง ปล่อยวาง มากขึ้น และเมื่อไปอยู่ ในสังคมใหม่ เราจะมีแรงต้านที่จะเผชิญหน้ากับปัญหาที่ ไม่ ใช่แค่เรื่อง สิวๆอีกต่อไป
ไม่ว่าคุณจะผ่านช่วงชีวิตวัย อนุบาล ประถม มัธยม มหาวิทยาลัย ทำ�งาน .. Grow up again ขอให้ทุกคนเติบโตอีกครั้ง!
TENTS/
C N-
WHAT’S UP
NEW CoMER
บทนำ� ’เรื่องเล่าหนังอิสระ’ 01
ผู้กำ�กับหน้าใหม่ 24
A REAL HERo
BIOPOLAR FILMMAKER
โปรดิวเซอรหนังอิสระ 04
ผู้กำ�กับสองขั้ว 30
Crowd FUnding
HOUSE RCA & LIDO
ระดมทุน..ทางเลือกหาทุนทำ�หนัง 12
โรงหนังอิสระไทย 36
FILM SPREAD
TO BE CONTINUED
หนังอิสระกับวิถีการโปรโมท 18
บทส่งท้าย ‘หนังอิสระวันนี้’ 44
บทนำ� ‘เรื่องเล่าหนังอิสระ’
wHAT’s up
WHAT’s UP
ในปัจจุบันการทำ�หนังสักเรื่องหนึ่งนั้นง่ายกว่าในอดีต หากมีกล้อง DSLR สัก ตัวก็สามารถถ่ายหนังได้แล้ว ความยากของการทำ�หนังทีด่ ี ผูก้ �ำ กับจะต้องใส่ ใจกับเนือ้ หา (Content) ที่ถือเป็นมือหัวใจหลักของหนังให้มากขึ้น สำ�หรับหนังอิสระนัน้ ในส่วนของเนือ้ หา มักมีการเล่าเรือ่ งทีแ่ ปลกแตกต่าง ขึน้ อยู่กับความคิดสร้างสรรค์และสไตล์เฉพาะตัวของผู้กำ�กับ ซึ่งเป็นการทำ�หนังในแบบที่ อยากทำ� อาจะเรียกได้วา่ เป็นหนัง ‘ทดลอง’ เพราะไม่มรี ปู แบบหรือกฎเกณฑ์ตายตัวใดๆ เป็นตัวกำ�หนดทิศทางของหนัง ผู้กำ�กับสามารถแสดงศักยภาพของตัวเองได้อย่างเต็ม ที่ หนังประเภทนี้ ไม่เป็นที่นิยมของคนหมู่มากเหมือน หนังแมส (Mass) หรือหนังใน ระบบสตูดิโอ ที่มักจะเป็นหนังที่เอาใจตลาดขายได้มากกว่าหนังอิสระ เพราะเป็นหนังที่ ดูง่าย สร้างความบันเทิงใจ อาทิ หนังรัก หนังผี หนังตลก หนังเหล่านี้ล้วนเป็นที่นิยม ของมวลชนในบ้านเรา ย้อนกลับไปในอดีต ระบบสตูดิ โอบ้านเรามีความหลากหลายกว่าในปัจจุบัน หมายความว่าเมื่อก่อนระบบสตูดิโอนั้นกล้าที่จะเสี่ยง ลงทุนทำ�หนังหลากหลายแบบ แม้ว่าหนังเรื่องนั้นจะไม่ ใช่หนังรัก หนังผี หนังตลก ที่ขายได้ หากมองหนังเป็นสินค้าเชิงพาณิชย์ การทำ�หนังนั้นมีต้นทุนในการผลิตสูง ส่ง ผลให้การที่จะลงทุนทำ�หนังแต่ละเรื่องนั้น ต้องคำ�นึงถึงต้นทุนและผลกำ�ไร การทำ�หนัง ที่เอาใจตลาดจึงเป็นทางเลือกที่ดีที่สุดสำ�หรับระบบสตูดิโอ เพราะมันเป็นการลงทุนที่ ปลอดภัยกว่าและสามารถหล่อเลี้ยงกิจการให้ดำ�เนินต่อไปได้ ผู้กำ�กับที่มี ใจรักในการทำ�หนัง อยากทำ�หนังในแบบของตัวเอง จึงต้องพลิก แพลงออกมาหาทุนในการทำ�หนังเอง เกิดเป็นการทำ�หนังอิสระ ซึ่งจะเป็นรูปแบบของ การทีผ่ กู้ �ำ กับต้องหาแหล่งเงินทุนในการทำ�หนังด้วยตัวเอง นักแสดงไม่ ได้มชี อื่ เสียงมาก นัก จึงเป็นหนังเฉพาะกลุ่ม และส่วนมากมักจะฉายแยกกับโรงภาพยนตร์ทั่วไป 1
WHAT’s UP
เจ้ย-อภิชาตพงศ์ วีระเศรษฐกุล ถือเป็นคนทำ�หนังยุคบุกเบิก จากจุดเริม่ ต้นการ ทำ�หนังเรือ่ ง ‘ดอกฟ้าในมือมาร’ ไปจนถึงการคว้ารางวัลเทศกาลหนังเมืองคานส์จากหนัง เรื่อง ‘ลุงบุญมีระลึกชาติ’ ที่เรียกเสียงฮือฮาให้กับวงการหนังอิสระ อีกทั้งเขายังเป็นผู้ บุกเบิกในการหาทุนในต่างประเทศให้กับคนทำ�หนังอิสระอีกด้วย ต่อจากนั้นได้มีผู้กำ�กับหนังอิสระหน้าใหม่ๆแจ้งเกิดในวงการหนังอย่าง จุ๊กอาทิตย์ อัสสรัตน์ นำ�หนังเรื่อง ‘wonderful town’ เดินสายฉายตามเทศกาลกว่า 50 เทศกาลทั่วโลก อีกทั้งยังมีหนังอิสระที่ ได้รับกระแสตอบรับที่ดีจากต่างประเทศอย่าง ‘เจ้านกกระจอก Mundane History’ ของอโนชา สุวิชากรพงษ์ และ ‘สวรรค์บ้านนา’ ของอุรุพงษ์ รักษาสัตย์ ที่สร้างกระแสในวงการนี้อีกด้วย ในช่วงเวลานั้นหนังอิสระมักมี โอกาสได้ฉายในต่างประเทศมากกว่าการฉายใน ประเทศ ส่วนหนึง่ เป็นเพราะในบ้านเราพืน้ ที่ ในการฉายภาพยนตร์ประเภทนีม้ จี �ำ กัด และ ด้วยความที่หนังยังไม่ตอบโจทย์ทางธุรกิจ หมายความอย่างง่ายๆว่า ถ้าเอามาฉายใน บ้ า นเราก็ ค งจะไม่ มี ใ ครดู คนทำ � หนั ง คนหนึ่ ง เคยกล่า วไว้ ว่ า การฉายหนั อิ ส ระใน ประเทศไทยเป็นเหมือนการฉายทิ้ง คือไม่มี ใครดูวันเวลาผ่านไปหนังก็ถูกถอดโปรแกรม ออกจากโรงหนังไปอย่างเงียบๆ แต่ ในต่างประเทศนัน้ นับว่าโชคดีทมี่ เี ทศกาลหนังรองรับ หนังอิสระจากประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งเป็นพื้นที่ที่เปิดโอกาสในการแสดงผลงาน และมี กลุ่มคนที่สนใจดูหนังในแบบใหม่ๆอยู่ตลอด อย่างไรก็ตาม ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมานี้ หนังอิสระอย่างเรื่อง ‘36’ , ‘Marry is happy’ ของนวพล ธำ�รงรัตนฤทธิ์ และ ‘แต่เพียงผูเ้ ดียว’ , ‘ตัง้ วง’ ของคงเดช จาตุรนั ต์ รัศมี ได้สร้างปรากฏการณ์ ให้กับวงการหนังอิสระได้ ไม่น้อย ส่วนหนึง่ ของความสำ�เร็จน่าจะมาจากการโปรโมทหนังในช่องทางของโซเชียลมี เดียที่เจาะกลุ่มวัยรุ่นได้เป็นอย่างดี อีกทั้งในหนังเรื่อง ‘แต่เพียงผู้เดียว’ ของคงเดชที่ ใช้ นักแสดงนำ�เป็นนักดนตรีขวัญใจชาวอินดี้อย่าง ‘เล็ก gresy café’ มาเรียกคนดูอีกทาง หนึ่ง 2
WHAT’s UP
ความสำ�เร็จของหนังอิสระที่ ได้กล่าวมาข้างต้นนี้ส่งผลให้คนเริ่มรู้จักหนังอิสระมากขึ้น ซึ่งถือเป็นสิ่งที่ดีที่ทำ�ให้คนได้การเปิดโลกการดูหนังในแบบใหม่ๆ อย่างไรก็ตามพื้นที่ ในการฉายหนังอิสระในบ้านเรานั้นยังคงมีจำ�กัด ซึ่งจะมี เฉพาะที่ โรงหนังขนาดเล็กอย่างเฮ้าส์ อาร์ซีเอ (House RCA) และมีลิโด้ (Lido) ใน ส่วนของการฉายตามโรงใหญ่นั้นจะมีเฉพาะบางเรื่อง และจำ�กัดรอบจำ�กัดโรง ในปัจจุบนั มีคนทำ�หนังหน้าใหม่ๆแจ้งเกิดในวงการหนังอิสระและมียา่ งก้าวทีน่ า่ จับตามองในอนาคต ไม่ว่าจะเป็นนวพล ธำ�รงรัตนฤทธิ์ ,วิชชานนท์ สมอุ่มจารย์, ชลสิทธิ์ อุปนิกขิต ฯลฯ ซึ่งเปรียบเสมือนเด็กจบใหม่ที่กำ�ลังสั่งสมประสบการณ์ ในวงการหนัง อิสระเพื่อที่จะเติบโตไปในอนาคต ผลงานของคนเหล่านี้ล้วนมีเอกลักษณ์ที่ โดดเด่น มี สไตล์การทำ�หนังเฉพาะในแบบของตัวเอง ซึง่ เรียกเสียงฮือฮาและสร้างความแปลกใหม่ ให้กับวงการหนังอิสระของไทยได้ ไม่น้อย ถึงแม้วา่ หนังอิสระอาจจะไม่ ใช่หนังแมสหรือหนังตลาดทีด่ งู า่ ย แต่มนั ก็ ไม่ ยากเกินไปทีจ่ ะลองเปิดใจให้กบั หนังอิสระหรือหนังทางเลือก ซึง่ หากได้ลองดูแล้ว เราอาจจะรักมันก็ ได้ หนังสือเล่มนี้ เป็นการเล่าเรื่องผ่านบุคคลทีอ่ ยูเ่ บื้องหลังหนังอิสระ อย่าง เช่น โปรดิวเซอร์ ผู้กำ�กับ รวมไปถึงส่วนของโรงหนังอิสระด้วย โดยแต่ละบทมี เนื้อหาเกี่ยวกับกระบวนการทำ�งานของหนังอิสระ แนวคิดในการทำ�หนัง รวมถึง ประสบการณ์ต่างๆ ซึ่งสะท้อนความเป็นมาความเป็นไปของวงการหนังอิสระไทย ผูเ้ ขียนหวังว่าผูอ้ า่ นจะได้รบั ความรู้ ใหม่ๆเกีย่ วกับหนังอิสระ และความเพลิดเพลิน จากหนังสือเล่มนี้
3
a REAL HERO โปรดิวเซอร์หนังอิสระ
ภาพจาก : สถิพงษ์ อ้อภูมิ
“
โปรดิวเซอร์เปรียบเสมือนเมียของผู้กำ�กับ มัน เป็นอะไรที่แตะต้องได้ยาก คนไม่ค่อยเข้าใจว่าสรุปแล้ว ทำ�อะไร มันคือความท้าทายที่จะทำ�ให้กระดาษแผ่นเดียว มาอยู่บนจอได้ มันเป็นการทำ�สิ่งที่ยากให้เกิดขึ้น
”
A REAL HERO
ในการทำ�หนังสักเรื่องหนึ่งนั้น ต้องยอมรับว่าทุนถือเป็นปัจจัยสำ�คัญในการทำ� หนัง เพราะไม่ว่าจะเป็นหนังในกระแส (Mass) หรือหนังอิสระ (Independent film) ก็ จะต้องผ่านกระบวนการขั้นตอนในการหาทุนทำ�หนัง ขั้นตอนของการหาทุนทำ�หนัง ถ้าเป็นหนังในกระแส ค่ายหนังในระบบสตูดิโอ บ้านเราเขาจะมีงบประมาณในการสร้างหรือทุนให้อยู่แล้ว ยกตัวอย่างเช่น ค่ายใหญ่ๆ ในบ้านเราอย่าง สหมงคลฟิล์ม GTH M39 พระนครฟิล์ม ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น บริษัท เหล่านี้หากจะขอทุน หนังที่นำ�มาเสนอต่อค่ายจะต้องมีจุดขายบางอย่าง อาจะมีความ บันเทิงใจ หรือมีมุขตลก ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นหนังที่ทำ�รายได้ดีอยู่แล้ว อาทิ หนังตลก หนังผี หนังรัก แต่ถ้านำ�ไปเสนอต่อค่ายใหญ่ๆแล้วไม่ผ่านการพิจารณา หรือตัวผู้อำ�นวยการ สร้างเห็นว่าไม่นา่ จะขได้ ก็จบ ผูก้ �ำ กับบางคนจึงเลือกใช้วธิ กี ารหาทุนจากทีอ่ นื่ ๆ เช่น ทุน จากต่างประเทศ ซึ่งเป็นที่มาของการหาทุนหนังอิสระ สำ�หรับหนังอิสระนัน้ ในบ้านเรายังไม่มที นุ ทีส่ นับสนุนโดยตรง จึงทำ�ให้กลุม่ คน ทำ�หนังอิสระต้องดิ้นรนในการหาทุนทำ�หนัง การหาทุนจากต่างประเทศจึงเป็นคำ�ตอบ เพราะในต่างประเทศมีแหล่งเงินทุนทีส่ นับสนุนอยูห่ ลายแหล่ง ส่วนใหญ่ตวั ผูก้ �ำ กับจะไม่ ได้หอบหิ้วบทหนังไปนำ�เสนอต่อรองด้วยตัวเอง สำ�หรับคนที่จะมาทำ�หน้าที่นี้ ได้ดีที่สุด ก็คือ “โปรดิวเซอร์” กว่าจะเป็นโปรดิวเซอร์ พี่ทองดี-โสฬส สุขม จัดว่าเป็นโปรดิวเซอร์หนังอิสระมือหนึ่งของไทยที่มี ประสบการณ์ ในการทำ�งานเบื้องหลังหนังอิสระมาเป็นเวลานาน และเป็นส่วนหนึ่งที่ สำ�คัญของหนังอิสระหลายๆเรื่อง แม้ว่าชื่อของเขาไม่เป็นที่คุ้นหูในหมู่คนทั่วไปนัก แต่ถ้าในวงการหนังนั้นชื่อของ พี่ทองดีมักจะอยู่ ในเครดิตตอนท้ายของหนังอิสระหลายเรื่อง อาทิ Woderful Town 4
A REAL HERO
เจ้านกกระจอก ที่รัก แต่เพียงผู้เดียว ตั้งวง และล่าสุดอย่าง The master เขาคือผู้อยู่ เบื้องหลังความสำ�เร็จก่อนที่หนังอิสระเหล่านี้จะไปสร้างชื่อเสียงในเทศกาลหนังต่าง ประเทศ จากเด็กหนุ่มที่ชื่นชอบการดูหนังเป็นชีวิตจิตใจ เขาตัดสินใจเรียนต่อทางด้าน ภาพยนตร์ ที่มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อนที่พี่ทองดีจะมาเป็นโปรดิวเซอร์หนังอิสระอย่าง เต็มตัวนัน้ ช่วงชีวติ ในวัยนักศึกษาเขาเคยฝึกงานทีบ่ ริษทั Firecracker เป็นบริษทั ทำ�หนัง อิสระ และการฝึกงานถือเป็นจุดเปลีย่ นทีท่ �ำ ให้เขาค้นพบตัวเอง จริงๆแล้วเขาไม่ ได้อยาก เป็นผู้กำ�กับเหมือนกับคนอื่นๆ แต่ “โปรดิวเซอร์” คือสิ่งที่เขาสนใจมากกว่า เนือ่ งจากโปรดิวเซอร์หนังอิสระในยุคนัน้ มันยังไม่มคี นทำ�แบบจริงๆจังๆ ส่วนใหญ่ผกู้ �ำ กับ จะโปรดิวเอง ตัวเขามองว่าลักษณะของการทำ�งานในตำ�แหน่งของผูก้ �ำ กับกับโปรดิวเซอร์ นั้นมันเป็นหน้าที่คนละแบบ ผู้กำ�กับมันคือการครีเอทีฟ โปรดิวเซอร์มันคือการจัดการ ธุรกิจ ย้อนกับไปเมื่อ1ปีก่อน พี่ทองดีเคยร่วมงานทำ�หนังในระบบสตูดิ โอเรื่องหนึ่ง ประสบการณ์ ในการทำ�งานครั้งนั้น ตอกย้ำ�เขาอีกครั้งว่าการทำ�หนังอิสระคือสิ่งที่เป็น ตัวตนของเขาอย่างแท้จริง “เราว่ามันยาก คือถ้าเราไปทำ�หนังในระบบสตูดิโอแล้วถูกจำ�กัดอิสระทางความ คิด แต่เราได้เงินหรือต้องบริหารเงินเท่าๆกับหนังอิสระ เราก็ ไม่รจู้ ะทำ�ทำ�ไม ไม่สนุก แต่ ถ้าเราทำ�ในระบบสตูดิโอ ไปทำ�ตามใจหรือตามหลักธุรกิจของผู้บริหาร แล้วเราได้เงิน เยอะมาก เราโอเคนะ เพราะมันชัดเจน” พี่ทองดีกล่าวด้วยน้ำ�เสียงหนักแน่น เขาเล่าประสบการณ์การออกกองตอนทำ�หนังในระบบสตูดิโอ ด้วยการนั่งอยู่ ในสตูดิโอดูนักแสดง ซึ่งหนังที่ถ่ายตอนนั้นเป็นหนังผี มีฉากห้อยสลิงอยู่ 10 ชม. ถ้าเป็น คนอื่นๆอาจจะรู้สึกตื่นตาตื่นใจ แต่สำ�หรับตัวเขานั้นไม่ ได้สนใจกับฉากที่อลังการมีสลิง ห้อยหัวได้ สิ่งที่เขาสนใจในการทำ�งานระหว่างถ่ายทำ�กลับเป็น การนั่งมองธรรมชาติ ของคนในการพูดคุยสื่อสารกัน 5
A REAL HERO
โปรดิวเซอร์หนังอิสระ..เขาทำ�อะไรกัน คนทั่วไปมักไม่ค่อยเข้าใจว่า โปรดิวเซอร์นั้นจริงๆแล้วมีหน้าที่ทำ�อะไร ถ้าโดย ความหมายคำ�ว่าโปรดิวเซอร์ Producer คือ ผู้ควบคุมการผลิต แต่สำ�หรับบทบาทของ พี่ทองดี ในการเป็นโปรดิวเซอร์หนังอิสระนั้น เรียกได้ว่าเป็นหัวใจสำ�คัญที่จะทำ�ให้หนัง เกิดขึ้น เป็นฮี โร่ของหนังอิสระอย่างแท้จริง เพราะโปรดิวเซอร์จะอยู่ ในทุกขั้นตอนของ การทำ�หนังตั้งแต่เริ่มต้นจนจบ ตั้งแต่เริ่มต้นหาทุนไปจนถึงหนังออกฉายตามที่ต่างๆ ในส่วนของการหาทุน หลังจากได้มีการคุยกันในส่วนของตัวบท หากผ่านการ พิจารณา พี่ทองดีจะกำ�หนดงบประมาณคร่าวๆก่อนที่จะไปหาทุน เนื่องจากเป็นหนัง อิสระ(ทุนต่ำ�) สิ่งที่เขาจะคำ�นึงอยู่เสมอคือ การถ่ายทอดหนังออกมาอย่างไรให้ ไม่ ฟุ่มเฟือย และงบประมาณที่กำ�หนดนั้นจะไม่มากจนเกินไป เพราะไม่เช่นนั้นหนังจะไม่ สามารถเกิดขึ้นจริงได้เลย แต่ ในขณะเดียวกันจะต้องเป็นหนังในแบบที่ผู้กำ�กับต้องการ มากที่สุดด้วย พีท่ องดีเล่าให้ฟงั ว่า ผูก้ �ำ กับทีอ่ ยากจะให้เขาโปรดิวให้สว่ นใหญ่จะเป็นผูก้ �ำ กับที่ เขียนบทหนังเองและส่วนมากผูก้ �ำ กับเหล่านีจ้ ะเคยทำ�หนังสัน้ มาก่อน แล้วจึงมาตกลงคุย กันถึงโปรเจ็กต์หนังที่จะทำ� อย่างเรื่องล่าสุดคือหนังของพี่เต๋อ-นวพล ในเรื่อง “the master” “ตอนที่พี่เต๋อ-นวพล มาคุยกับเราก่อนจะทำ�หนังเรื่อง “the master” พี่เต๋อก็มา คุยด้วยกระดาษแผ่นเดียว มาเล่าให้เล่าฟังสามสี่ประโยค อยากทำ�หนังเกี่ยวกับพี่แว่น เป็นหนังสัมภาษณ์คนประมาณ20คน ตอนนั้นเราก็ยังงงๆ แต่นั่นคือสิ่งที่ท้าทาย เราจะ ต้องทำ�ให้ ไอกระดาษแผ่นเดียวนั้นมาอยู่บนจอให้ ได้” พี่ทองดีกล่าว เราสังเกตเห็นใบหน้าที่อิ่มเอมด้วยความสุข เพราะในวันเดียวกันที่เราได้คุยกับ พี่ทองดีเป็นวันที่หนังเรื่อง “The master” เริ่มฉายวันแรก
6
A REAL HERO
แต่กว่าทีห่ นังเรือ่ งหนึง่ จะได้ฉายนัน้ ผูก้ �ำ กับและโปรดิวเซอร์จะต้องผ่านความยากลำ�บาก ในขั้นตอนของการหาทุนนานพอสมควร ระยะเวลาในการทำ�หนังเรื่องหนึ่งอาจใช้เวลา ไป 3-4 ปี เพราะบางครั้งขั้นตอนการหาทุนอย่างเดียวก็กินเวลาไป 2 ปีแล้ว ยังไม่รวม ขั้นตอนของการตัดต่อที่อาจจะต้องใช้เวลาอีก 6 เดือน บางครั้งทุนที่ ได้มายังไม่พอ สำ�หรับการทำ�โพสต์ โปรดักชั่น โปรดิวเซอร์ก็ต้องไปหาทุนเพิ่ม ซึ่งส่วนใหญ่ทุนที่ ได้มา นั้นไม่ว่าจะเป็นทุนในการสร้างหรือหลังการสร้างส่วนใหญ่ล้วนเป็นทุนจากต่างประเทศ ทุนต่างประเทศ ความหวังของคนทำ�หนัง การหาทุนทำ�หนังในต่างประเทศนัน้ ไม่ ใช่เรือ่ งง่ายเท่าไหร่นกั ส่วนใหญ่ผกู้ �ำ กับ ที่ขอทุน จะมีประสบการณ์การทำ�หนังสั้นของตัวเองมาก่อนที่จะขอทุนทำ�หนังยาว เนือ่ งจากหนังสัน้ จะเป็นงานทีแ่ สดงตัวตนของผูก้ �ำ กับซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ในการตัดสินใจของ เทศกาลหนังต่างประเทศว่าจะให้ทุนทำ�หนังหรือไม่ ทุนหนังอิสระมีอยูห่ ลายแบบ แต่ละทุนจะมีความสนใจในแนวหนังและแนวทาง ในการสนับสนุนทีแ่ ตกต่างกันออกไป ก่อนทีจ่ ะสมัครขอทุนจึงมีความจำ�เป็นทีต่ อ้ งศึกษา หาข้อมูลเสียก่อนว่าทุนนัน้ ๆมีหนังเรือ่ งไหนบางที่ ได้รบั การสนับสนุนและเป็นหนังประเภท ไหน เพื่อที่จะเพิ่มโอกาสในการขอทุนให้ประสบความสำ�เร็จ “ทุนในต่างประเทศ จริงๆแล้วคือ ภาษีของประชาชนของประเทศเขา รัฐเขากัน เงินส่วนนีอ้ อกมาเพือ่ สนับสนุนทางด้านศิลปะและวัฒนธรรมทัง้ ในประเทศตัวเอง และที่ ดีกว่านั้นคือเขาสนับสนุนคนจากอีกซีกโลกนึงด้วย” พี่ทองกล่าวก่อนจะแจกแจงถึงทุน จากเทศกาลต่างๆ ทุนให้เปล่า เป็นทุนที่ ได้รบั การสนับสนุนจากองค์กรของรัฐหรือเทศกาลหนังใน ประเทศนัน้ ๆ มีหลายระดับ ตัง้ แต่ทนุ พัฒนาบท จนถึงทุนโพสต์ โปรดักชัน่ วงเงินสนับสนุน มีตั้งแต่ 500,000-5,000,000 บาท ส่วนเงื่อนไขจะแตกต่างกันออกไป 7
A REAL HERO
- ทุน Torino Film Lab จากเทศกาลหนังตูริน ประเทศอิตาลี เป็นทุนให้เปล่า ที่ ไม่กำ�หนดเงินตายตัว หนังเรื่อง “Hiso”ของจุ๊ก-อาทิตย์ อัสสรัตน์ ได้รับทุนนี้สนับสนุน มาส่วนหนึ่ง - ทุนฮูเบิร์ตบาลฟันด์ จากเทศกาลหนังร็อตเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ มี เงื่อนไขอยู่คือผู้ที่ ได้ทุนจะต้องฉายหนังในเทศกาลของเขาเป็นที่แรกของโลก (world premiere) หรือแห่งแรกในยุโรป (European premiere) พร้อมกับถือลิขสิทธิ์ฉายหนังใน ประเทศกลุ่มเบเนลักซ์ - ทุน Asian cinema fund จากเทศกาลหนังปูซาน ซึ่งให้ทุนทั้งหนังทั่วไปและ หนังสารคดี เงื่อนไขคือผู้ที่ ได้ทุนจะต้องฉายหนังในเทศกาลของเขาเป็นที่แรกของโลก (world premiere) พีท่ องดีเล่าว่าทุนจากเทศกาลหนังเหล่านี้ ส่วนใหญ่มกั จะสนับสนุนศิลปินหรือผู้ กำ�กับหน้าใหม่ๆ ที่มีเอกลักษณ์ ในผลงานอย่างชัดเจน และมักจะให้เฉพาะการทำ�หนัง เรือ่ งแรกหรือเรือ่ งทีส่ อง จากประเทศทีม่ คี วามยากลำ�บากในการหาทุนหรือประเทศโลก ที่สาม ซึ่งประเทศไทยก็เป็นหนึ่งในนั้น โดยดูจากผลงานหนังสั้น เพราะหนังสั้นเรื่องหนึ่ง สามารถสะท้อนตัวตนของผู้กำ�กับได้ดี นอกจากนี้ยังมีการร่วมทุน (Co-Producer) ที่เป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการหาทุน ทุนในลักษณะนีจ้ ะมีเงือ่ นไขคือโปรดิวเซอร์หนังอิสระไทยจะต้องทำ�งานร่วมกับโปรดิวเซอร์ ของชาติอนื่ ๆ เพือ่ ช่วยหาทุนจากทีต่ า่ งๆมาสร้างหนังร่วมกัน โปรดิวเซอร์ชาติอนื่ ๆจะรูว้ ่า มีแหล่งเงินทุนที่ ไหนบ้าง ซึ่งก็มีทั้งทุนจากองค์กรรัฐและทุนจากผู้ลงทุนอิสระ ซึ่งทุนใน ลักษณะนี้จะมีวงเงินมากกว่าทุนให้เปล่า แต่ก็จะมีเงื่อนไขว่า หนังที่จะทำ�จะต้องมี โปรดิวเซอร์ที่เป็นพลเมืองของเจ้าของทุนนั้น และนอกจากนั้นจะต้องแบ่งเงิน 30-40% ของทุนที่หามาได้ ใช้ ในการทำ�หนัง อย่าง Fond Sud Fund ทุนจากรัฐบาลฝรั่งเศส ก็จะมีเงื่อนไขว่างบประมาณ ส่วนหนึ่งต้องใช้จ่ายในฝรั่งเศส 8
A REAL HERO
“มันเหมือนเป็นการส่งเสริมวิชาชีพของคนในประเทศเขา เวลาทำ�งานแบบนี้ เรา ก็จะเลือกอะไรที่มันครีเอทีฟน้อยที่สุด ซึ่งส่วนใหญ่เราจะเลือกการแก้สี เพราะเรารู้สึก ว่างานนีม้ นั กระทบกับผูก้ �ำ กับน้อยทีส่ ดุ แล้ว เราอยากให้หนังออกมาในแบบทีผ่ กู้ �ำ กับต้อง การจริงๆ” พี่ทองดีเล่าถึงประสบการณ์การเลือกคนต่างชาติด้วย และในปัจจุบันยังมีเทศกาลที่เปิดรับโครงการให้เราสามารถไปพบปะแหล่งทุน ได้ เช่น ตลาดหนังฮ่องกง (HAF), Pusan Project Plan (PPP) จากเทศกาลหนังปู ซาน, Tokyo Gathering จากเทศกาลหนังโตเกียว เป็นต้น การที่กลุ่มคนทำ�หนังอิสระนั้นต้องดิ้นรนไปหาทุนไกลถึงต่างประเทศ ส่วนหนึ่ง เป็นเพราะในบ้านเรายังไม่มีเงินทุนหลักทีส่ นับสนุนทางด้านศิลปะโดยตรง อาจจะมีบ้าง สำ�หรับทุนในรูปแบบของสปอนเซอร์สินค้า และทุนจากองค์กรต่างๆ พี่ทองดีบอกกับเราว่าถ้าเป็นเงินทุนในบ้านเรา จะมี ในรูปแบบของสปอนเซอร์ อย่างหนังของพีเ่ จ้ย-อภิชาติพงศ์ที่ ได้ ไปเทศกาลหนังเมืองคานส์ เจ้าของสินค้าบางทีเขา อยากทีจ่ ะเปิดตลาดในต่างประเทศบ้าง เขาก็จะช่วยสนับสนุน แต่มนั จะเป็นในเชิงโฆษณา แล้วก็มีทุนจากองค์กร สำ�นักงานศิลปะร่วมสมัย ของกระทรวงศิลปวัฒนธรรม แต่งบไม่ เยอะ มันก็ยังไม่พออยู่ดี แต่ก็ถือว่าเป็นการเริ่มต้นที่ดี เรื่องเล่าจากต่างแดน
“เราพูดภาษาอังกฤษไม่เก่ง” พี่ทองดีกล่าวพร้อมกับรอยยิ้มมุมปาก
สำ�หรับเขานัน้ ความจริงใจในสิง่ ทีจ่ ะพูด จริงใจในโปรเจ็กต์ทจี่ ะทำ�เป็นสิง่ สำ�คัญ ปีแรกๆเขาไม่ค่อยสุงสิงกับใครเท่าไหร่ เวลาไปเทศกาลก็ ไม่ ได้ ไปปาร์ตี้ต่อ แต่ที่รอดมา ได้เพราะว่าการทำ�ต่อเนื่อง จากที่เขาไม่รู้จักเรา เขาจะรู้จักเรา รู้ว่าประเทศไทยมี โปรดิวเซอร์ชอื่ ทองดีอยู่ ความมีชอื่ เสียงถือเป็นส่วนช่วยในการทำ�งานของเขาในครัง้ ต่อ ไปได้ดีทีเดียว 9
A REAL HERO
สำ�หรับผลตอบรับของการฉายหนังอิสระในเทศกาลหนังต่างประเทศนั้นได้ผล ตอบรับที่ดี เนื่องจากกลุ่มคนดูกว้างกว่าในประเทศไทย และคนต่างประเทศเดินเข้าหอ ศิลป์เป็นเรื่องปกติ พอมีเทศกาลหนังมาที มันเหมือนเป็นกิจกรรมหนึ่งของเมือง อย่าง เทศกาลหนังปูซานที่เกาหลี พี่ทองดีเล่าถึงประสบกาณ์การนำ�หนังเรื่อง “เอวัง”ไปฉาย คือ มีผู้หญิงแก่คนหนึ่งดูหนังจบแล้วร้องไห้ และมาบอกกับเขาว่าชอบหนังเรื่องนี้มาก ตัวพี่ทองดีมองว่าผู้หญิงคนนั้นอาจจะไม่เคยดูหนังแบบนี้เลยด้วยซ้ำ� แต่หอศิลป์ ในต่าง ประเทศมันเปิดกว้าง เพราะมันคือพืน้ ทีท่ รี่ วบรวมหนังในแบบต่างๆหรือผลงานศิลปะจาก ทั่วทุกมุมโลก นอกจากผลตอบรับที่ดีแล้วนั้น การนำ�หนังไปฉายในประเทศก็เหมือนกับการ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรม วิธีคดิ การเติบโต วิถีชวี ิต ของคนในประเทศนั้นๆให้คนจากอีกซีก โลกหนึ่งได้เรียนรู้ เพื่อเปิดโลกทัศน์ ให้กว้างขึ้น เขาเล่าให้เราฟังว่า หนังในแบบที่เขาทำ� ฉายตามเทศกาล มันไม่ ใช่หนังแบบร้อยมาลัยรำ�ไทย แต่มันคือหนังที่ถูกเล่าจากคนไทย วิธีการถ่าย หรือวิธีการดำ�เนินชีวิตแบบไทย “หนังพี่เจ้ย-อภิชาติพงศ์ พี่เจ้ยไม่ ได้พูด แต่สำ�หรับเรามันโคตรไทยเลย เขาไม่ ได้ถ่ายช้างไทยร้อยพวงมาลัย แต่มันเป็นการเล่าจากคนไทยที่ โตที่ขอนแก่น เขาก็กิน กะเพรา จีบกันแบบไทย ซึ่งเราว่าพอเขาเล่าแบบนี้ คนดูที่เป็นคนอีกเชื้อชาติ เขาก็จะคิด ได้ว่า คนไทยเขามีวิธีคิดแบบนี้ เป็นแบบไทยๆ มันชัดมาก” พี่ทองดีกล่าวทิ้งท้าย Mosquito Film Distribution ความหวังของหนังอิสระในอนาคต ภายหลังเราได้พูดคุยถึงเรื่องการเปิดบริษัท Mosquito Film Distribution ซึ่ง เกิดจากการรวมตัวกันของพีท่ องดีและกลุม่ คนทำ�หนังอิสระอย่าง อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐ กุล ,พิมพกา โตวิระ ,อาทิตย์ อัสสรัตน์ ,อโนชา สุวิชากรพงศ์ และลี ชาตะเมธีกุล
10
A REAL HERO
พี่ทองดีเล่าให้เราฟังอย่างคร่าวๆว่าเป็นบริษัทที่ก่อตั้งขึ้นมาเพื่อส่งเสริมหนังอิสระไทย ให้ ได้รบั การเผยแพร่ ไปยังเทศกาลหนังต่างๆ โดยเอาไปฉายในเทศกาลหนังต่างประเทศ เก็บค่าฉายหรือที่เรียกว่า Screening Free ซึ่งเทศกาลจะเป็นคนจ่ายให้ หรือเอาไป ฉายในช่องทางอื่นๆ เช่น ช่องทีวี เข้าโรงของต่างประเทศ ซึ่งเพิ่งเริ่มต้น วิธีการของเรา คือ รวบหนังของทุกคนเข้าไปด้วยกัน ข้อดีก็คือผู้กำ�กับหน้าใหม่ที่ยังไม่เป็นที่รู้จักใน เทศกาลหนังก็จะมี โอกาสมากขึ้น เหมือนเราเป็นตัวแทนที่เป็นบริษัท เทศกาลเขาก็รู้จัก เราในฐานะคนที่ทำ�หนัง ซึ่งพอส่งไปเทศกาลเขาอาจจะรับหรือไม่รับมันแล้วแต่หนัง แต่ ว่าช่องทางแบบนี้มันจะเป็นการเพิ่มโอกาสและสะดวกมา ถ้าเปรียบโปรดิวเซอร์เป็นเหมือนฮี โร่ของหนังอิสระก็คงไม่ผิด เพราะ โปรดิวเซอร์คือผู้ที่อยู่เบื้องหลังของหนังอิสระที่เบื้องหน้าผู้คนอาจไม่ ได้ ให้ความ สนใจเท่าไหร่นัก แต่ โปรดิวเซอร์ถือเป็นส่วนสำ�คัญที่ทำ�ให้หนังสำ�เร็จลุล่วงไปได้ ชนิดที่เหนื่อยแค่ ไหนก็ทุ่มสุดตัว
11
CROWD FUNDING ระดมทุน...ทางเลือกหาทุนทำ�หนัง
CROWD FUNDING
กว่าครึ่งของคนทำ�หนังอิสระในบ้านเรา มักใช้วิธีการขอทุนในการทำ�หนังจาก ต่างประเทศ ซึง่ มีแหล่งเงินทุนทีพ่ ร้อมสนับสนุนคนทำ�หนังอยูห่ ลายแหล่ง อย่างไรก็ตาม ใช่ว่าคนทำ�หนังทุกคนจะประสบความสำ�เร็จเสมอไป ปัจจุบนั มีคนทำ�หนังอิสระในบ้านเราได้ ใช้วธิ อี นื่ นอกเหนือจากการขอทุนจากต่าง ประเทศ วิธีการระดมทุน Crowd funding เป็นวิธีการหาทุนทำ�หนังในอีกวิธีหนึ่งที่คน ทำ�หนังอิสระในบ้านเรานำ�มาประยุกต์ ใช้ ในการหาทุนทำ�หนังของตัวเอง ซึง่ ข้อดีของการ ระดมก็คือ มันเหมือนเป็นการโปรโมททางอ้อม การระดมทุนเกิดขึ้นอย่างจริงจังในการหาทุนทำ�หนังเรื่องที่ 2 ของพี่อั๋น-วิชชา นนท์ สมอุ่มจารย์ ผู้กำ�กับหนังอิสระเรื่อง ‘สิ้นเมษา ฝนตกมาปรอยปรอย’ โดยมีพี่น้ำ�แม่น้ำ� ชากะสิกที่เป็นโปรดิวเซอร์คู่หูมาโดยตลอด ที่มาที่ ไป…อะไรคือ Crowd funding จากความคิดที่ว่า “อยากทำ�หนังของตัวเองซักเรื่องหนึ่ง แต่ ไม่อยากออกเงิน เอง” ไอเดียการระดมทุนจึงเกิดขึ้น “มันเหมือนเป็นการสร้างปฎิสัมพันธ์กับคนดูไปในตัว ด้วย” พี่อั๋นผู้กำ�กับที่ ใช้วิธีการระดมทุนทำ�หนังอิสระกล่าว การระดมทุนในลักษณะนี้ ได้ ไอเดียมาจากเว็บไซต์การระดมทุนของต่างประเทศ ที่ ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน โดยในปี 2555 พบว่าการระดมทุนโดยวิธี การนีท้ วั่ โลกมีมลู ค่ารวมกัน 2.7 พันล้านดอลลาร์ โดยทีท่ างโซนอเมริกาเหนือจะมีสดั ส่วน มากที่สุดคือ 1.6 พันล้านดอลลาร์ รองลงมาคือทางยุโรป 950 ล้านดอลลาร์ เหตุผลที่ การระดมทุนได้รับความนิยมนั้นเป็นเพราะช่องทางที่เปิดกว้างอย่างอินเตอร์เน็ต ทำ�ให้ ผูร้ ะดมทุนและผูล้ งทุนเข้าถึงเงินทุนได้ง่ายกว่าการกูย้ มื จากธนาคารทีต่ อ้ งผ่านหลายขัน้ ตอนในการดำ�เนินการ ขั้นตอนของการระดมทุนก็ง่ายและสะดวก
12
CROWD FUNDING
สำ�หรับขั้นตอนของการระดมทุนของเว็บไซต์ต่างประเทศ คือ ผู้ต้องการระดม ทุนนำ�เสนอผลงาน โครงการหรือผลิตภัณฑ์ที่จะทำ�ผ่านเว็บไซต์ที่เป็นตัวกลาง สำ�หรับ เว็บไซต์ที่เป็นที่นิยมที่สุดคือ Kickstaters ซึ่งมี โครงการที่น่าสนใจอยู่มากมาย โดย สามารถเลือกชมรายละเอียด และสนับสนุนโครงการเหล่านั้นได้ด้วยการระดมทุน สำ�หรับโครงการในเว็บไซต์ Kickstarters นั้นมีข้อจำ�กัดอยู่ว่าโครงการที่จะทำ� จะต้องเป็นสื่อสร้างสรรค์ไม่ว่าจะเป็นงานศิลป์ งานเพลง งานเขียน สิ่งประดิษฐ์ เป็นสิ่ง ที่จับต้องได้ ไม่รับโครงการรณรงค์ที่ ไม่มีผลลัพธ์ชัดเจน เงื่อนไขต่างๆของการระดมทุนในเว็บไซต์ Kickstarters นั้น จะให้เวลาผู้ที่ ต้องการระดมทุนแบบจำ�กัด อาจจะ 30 วันหรือ 60 วัน ถ้าในระยะเวลาดังกล่าว มีคน เข้ามาสนับสนุนโครงการนัน้ จนได้เงินกำ�หนดตามเป้าหมาย ผูร้ ะดมทุนก็จะได้เงินส่วนนัน้ แต่จะต้องหัก 5% ให้กบั เว็บไซต์เป็นค่าบริหารโครงการ และอีก 3-4% เป็นค่าธรรมเนียม และธุรกรรม ข้อดีของการระดมทุน ไม่เพียงแต่เจ้าของโครงการทีม่ ี โอกาสในการสานฝันของ ตัวเองเท่านั้น ผู้ร่วมระดมทุนหรือคนที่สนับสนุนโครงการเหล่านี้ก็จะได้รับผลตอบแทน ในรูปแบบต่างๆด้วย คือ ผู้ร่วมระดมทุนสามารถเลือกว่าจะจ่ายเงินเท่าไหร่ เพื่อแลกกับ ของรางวัลที่จะได้จากเจ้าของโครงการ สมมติว่ามี โครงการของนาย A ต้องการสร้าง วิดี โอเกมส์ โดยระดมเงินจำ�นวน 1 แสนดอลลาร์ นาย A สามารถกำ�หนดได้ว่า ถ้าคน บริจาค 10 ดอลลาร์จะขึน้ เครดิตให้ ในตอนท้ายของวิดี โอเกมส์นี้ ถ้าบริจาค 20 ดอลลาร์ ก็จะได้ตัวเกมส์นั้นไปด้วย ถึงอย่างไร การระดมทุนในเว็บไซต์ดังกล่าวก็ ไม่ ได้ประสบความสำ�เร็จทุก โครงการ เพราะถ้ายอดการระดมทุนที่ ได้ ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ทุกอย่างก็จบ แต่ เจ้าของโครงการจะไม่เสียค่าใช้จา่ ยใดๆ ผูร้ ว่ มระดมทุนจะได้รบั การโอนเงินคือตามจำ�นวน เงินที่ ได้สนับสนุน 13
CROWD FUNDING
Crowd funding แบบไทยไทย ย้อนกลับไปเมื่อปี 2556 สนธยา ทรัพย์เย็น ผู้ตั้งกลุ่มฉายหนังอิสระและเป็น ผูจ้ ดั พิมพ์หนังสือเกีย่ วกับภาพยนตร์และวรรณกรรมอิสระในนามดวงกมลฟิลม์ เฮ้าส์ ฟิลม์ ไวรัสและบุค๊ ไวรัส ได้น�ำ วิธกี ารระดมทุนนีม้ าประยุกต์ ใช้เช่นกัน เรียกได้วา่ เป็นโครงการ ที่บุกเบิกสำ�หรับการระดมทุนทำ�หนังอิสระในบ้านเรา โดยโครงการนี้มี่ชื่อว่า ‘หนังโดมิโน่ 4 สหาย’ (Domino Film Experiment) ที่ เชิญนักเขียนระดับแนวหน้า 4 คน นำ�ทีมโดย สุชาติ สวัสดิ์ศรี, แดนอรัญ แสงทอง, อุทิศ เหมะมูล และ ปราบดา หยุ่น มาร่วมเขียนบทวรรณกรรม เพื่อส่งต่อให้กับนักทำ� หนังรุ่นใหม่ ไปตีความในแบบของตัวเองเป็นหนังความยาว 2 ชั่วโมง โดยมีวงเงินเพียง 5 แสนบาท ซึง่ ท้าทายการสร้างหนังในระบบธุรกิจ เพราะทุกคนสามารถมีสทิ ธิส์ นับสนุน หนังโดมิโน่ ด้วยการร่วมบริจาคทุนสร้าง ออกมาเป็นหนัง 4 เรื่องจากผู้กำ�กับ 4 คน “เขาใช้วิธีคล้ายๆกับการระดมทุน เพราะมีการเขียนประวัติของคนทำ� เขียน แนวคิดของหนังที่จะทำ� ใช้เงินจำ�นวนเท่าไหร่ แล้วก็นำ�เสนอโครงการผ่านทางเฟสบุ๊ค” พี่น้ำ�กล่าวถึงรายละเอียดการระดมทุนของหนังโดมิโน่ สำ�หรับการะดมทุนในการทำ�หนังของพี่อั๋นก็ ได้ ใช้ช่องทางเดียวกันกับหนังโดมิ โน่ 4 สหาย คือการเผยแพร่รายละเอียดโครงการระดมทุนทำ�หนังนี้ โดยมี facebook เป็นสือ่ กลาง ซึง่ สะดวกและรวดเร็ว กลุม่ เป้าหมายมีความชัดเจน เพราะคนทีก่ ดติดตาม เพจก็มกั จะเป็นคนทีช่ นื่ ชอบในตัวงานของเราอยูแ่ ล้ว อีกทัง้ ไม่เสียค่าใช้จา่ ยในการระดม ทุนเหมือนเว็บไซต์ และในช่วงระหว่างการระดมทุนนั้น ก็ ได้เผยแพร่ผลงานภาพถ่ายที่ ทำ�เป็น Photo essay ที่ชื่อ “ชีวิตคนหลังราม” ร่วมด้วย “การระดมทุนตั้งเป้าไว้ที่ 100,000 บาท ระยะเวลาการะดมทุน 45 วัน โดยที่ เงือ่ นไขของการระดมทุนคล้ายๆกับการ Pre-order สินค้า คือ ถ้าอยากดูหนังทีเ่ รากำ�ลัง จะสร้าง คุณต้องสนับสนุนเงิน 200 บาทเป็นขั้นต่ำ� ซึ่งจะได้วีซีดีหนัง แต่ถ้าสนับสนุน 14
CROWD FUNDING
เงิน 500 บาท ก็จะขึ้นเครดิตให้ ในตอนท้ายของหนังด้วย” พี่นํ้าแจกแจงรายละเอียด การระดมทุน เมือ่ เวลาผ่านไปตามกำ�หนดทีต่ งั้ ไว้ ในการระดมทุนทำ�หนัง มีผคู้ นสนใจสนับสนุน โครงการนี้เป็นจำ�นวนเงิน 70,000 บาท แม้ว่าจะไม่ถึงเป้าตามที่กำ�หนดไว้ แต่ถือว่า ประสบความสำ�เร็จในการระดมทุนและพวกเขาก็รู้สึกดี ใจมาก และในเวลานั้นบริษัท กล้องได้ช่วยสนับสนุนกล้องถ่ายหนังด้วย ซึ่งถือเป็นโชคดีที่ ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในส่วน นี้ด้วย เงินที่ ได้มาจึงเพียงพอต่อการทำ�หนัง ย้อนกลับไปก่อนหน้าที่จะมาทำ�โครงการระดมทุนให้หนังของพี่อั๋น พี่น้ำ�ได้เคย ระดมทุนให้ผกู้ �ำ กับอีกคนชือ่ ‘พีน่ าํ้ ฝน’ สิง่ ทีแ่ ตกต่างคือตัวพีน่ าํ้ ฝนไม่ ได้มชี อื่ เสียงและยัง ไม่มีผลงานที่เป็นที่รู้จักเหมือนพี่อั๋น ผลตอบรับในการระดมทุนจึงไม่ประสบคามสำ�เร็จ เท่าที่ควร “ โครงการของพี่นํ้าฝนเราตั้งเป้าไว้ที่ 150,000 บาท ระยะเวลาในการระดม ทุน 3 เดือน แต่เราได้มาประมาณ 20,000 บาท ” พี่น้ำ�ให้ความเห็นว่า การระดมทุน ถ้าจะทำ�ให้ประสบความสำ�เร็จและเป็นไปตามเป้าหมายนั้น ในบ้านเราความมีชื่อเสียง เป็นสิ่งสำ�คัญพอสมควร เพราะคนที่สนับสนุนส่วนใหญ่ก็จะเป็นคนที่รู้จักเราผ่านหนัง ผ่านงานของเรา ในกรณีนคี้ นไทยอีกคนหนึง่ ทีป่ ระสบความสำ�เร็จจากการระดมทุน คือ พี่ โหน่งวงศ์ทะนง ชัยณรงค์สิงห์ ที่สร้างนิตยสารขวัญใจเด็กแนวอย่าง ‘A day’ ในช่วงปี 2543 ที่ยังคงเป็นที่นิยมมาจนถึงปัจจุบันนี้ ซึ่งจากประสบการณ์การทำ�งานของพี่ โหน่ง เรียก ได้วา่ เป็นทีร่ จู้ กั ในวงการนิตยสารบ้านเราอยูก่ อ่ นแล้ว ทัง้ การทำ�งานทีน่ ติ ยสาร Trendy และ Image จนเกิดความคิดทีอ่ ยากจะทำ�นิตยสารในแบบของตัวเอง (ซึง่ คล้ายๆกับการ อยากทำ�หนังในแบบของตัวเอง) จึงเกิดการระดมทุนของการทำ�นิตยสารในลักษณะการ เขียนจดหมายหาคนที่เคยเขียนจดหมายมาหาเขาตอนที่ทำ�นิตยสาร 2 เล่มก่อน แล้ว ชวนมาลงขันกัน ใครมีมากให้มาก ใครมีน้อยให้น้อยไม่กำ�หนด แลกกับหุ้นที่ตามมาของ คนที่ร่วมลงขัน ซึ่งในยุคนั้นถือเป็นเรื่องแปลกใหม่ ในวงการนิตยสารเลยก็ว่าได้ 15
CROWD FUNDING
crowd funding ในต่างประเทศ สำ�หรับในต่างประเทศนั้นจะแตกต่างจากบ้านเรา เขาสนใจชิ้นงานมากกว่าคน สร้างงาน “ก่อนหน้านี้มีซีรีย์ของเมริกาที่ดังมาก พอจบซีซั่นไปไม่มีเงินมาทำ�ต่อ แต่ซีรีย์นี้ คนติดมาก ทีมงานเขาก็ยังอยากจะผลิตอยู่ เขาก็ ใช้วิธีการ crowd funding ระดมทุน เพื่อที่จะให้ซีรีย์นี้เกิดขึ้นมา มันเป็นลักษณะตัวผลงาน ไม่เกี่ยวกับบุคคลเลย” พี่น้ำ�กล่าว “เรารู้สึกว่าคนไทยกับการระดมทุนในลักษณะนี้ มันเหมือนเป็นการบริจาคช่วย เหลือกันมากกว่า เป็นความรู้สึกทางจิตใจ อาจจะไม่ ได้มองเรื่องศิลปะเท่าไหร่” พี่อั๋นให้ ความเห็นเสริม อย่างไรก็ตาม การระดมทุนในลักษณะนี้อาจจะใช้ ได้ ไม่บ่อยนักในการหาทุนทำ� หนังสักเรื่องหนึ่ง และการที่จะประสบความสำ�เร็จหรือล้มเหลวในการหาทุนก็ขึ้นอยู่กับ หลายปัจจัย อย่างในบ้านเราความมีชอื่ เสียงเป็นทีร่ จู้ กั เป็นสิง่ สำ�คัญทีจ่ ะทำ�ให้การระดม ทุนประสบความสำ�เร็จ ในแง่ของกายภาพ การระดมทุนนั้นดูจะเป็นเรื่องนามธรรม การสนับสนุนงาน ศิลปะที่ดูเลื่อยลอย คนส่วนใหญ่จะมองว่าไม่จำ�เป็น ซึ่งหากเปรียบเทียบกับการบริจาค เพื่อไปสร้างห้องสมุดหรือโรงเรียน เขามีความต้องการมากกว่าและจะได้ประโยชน์ มากกว่า บางคนอาจเลือกบริจาคให้กบั เด็กด้อยโอกาส ด้วยความรูส้ กึ ทางด้านจิตใจหรือ เห็นว่าเขาได้ประโยชน์มากกว่า บางคนอาจบริจาคให้กบั ผูก้ �ำ กับหนัง เพราะเป็นคนทำ�งาน ศิลปะเหมือนกัน ก็อยากจะเป็นส่วนช่วยให้มศี ลิ ปินหน้าใหม่ๆเกิดขึน้ มา จริงๆแล้วก็ขนึ้ อยู่ กับมุมมองของแต่ละคนว่ามีความคิดเห็นอย่างไร “ถ้าน้องมีเงินอยู่ 500 บาท น้องจะบริจาคเงินให้กบั เด็กด้อยโอกาสหรือผูก้ �ำ กับ หนัง?” พี่น้ำ�ถามคำ�ถามทิ้งท้าย
16
CROWD FUNDING
“
นักกีฬา นักดนตรีเขาก็ซ้อมของเขาได้ แต่ผู้กำ�กับทำ� หนังทุกวันไม่ได้ มันต้องเป็นประสบการณ์จากการดูหนัง ดูแล้ว ก็คด ิ ตาม พอเราศึกษาในเชิงลึกมากๆ มันทำ�ให้รวู้ า่ ภาพยนตร์ เป็นศาสตร์ที่น่าสนใจอีกศาสตร์หนึ่งบนโลกใบนี้
”
17
FILM SPREAD หนังอิสระกับวิถีการโปรโมท
FILM SPREAD
หากเปรียบหนังเป็นสินค้าชนิดหนึ่งในตลาด ผู้กำ�กับหนังก็คงไม่ต่างจากผู้ผลิต สินค้าเข้าสู่ตลาด เกิดเป็นวงจรของธุรกิจที่มีการซื้อขาย แต่หนังอาจจะต่างจากสินค้า ทั่วไปตรงที่ผลิตออกมาจากความคิดของผู้กำ�กับ ให้เป็นสินค้าที่สามารถขายได้ ซึ่งถ้า เป็นหนังในระบบสตูดิโอของบ้านเรานั้น คงเปรียบได้กับการผลิตสินค้าเพื่อตอบสนอง คนหมู่มาก อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นหนังในระบบสตูดิโอหรือหนังอิสระ หากหนังเรื่อง นั้นๆมีการใช้ทุนในการสร้าง มี โปรดักชั่น มีทีมงาน มีจุดประสงค์ที่ทำ�เพื่อขาย (แม้ว่า จะขายได้หรือไม่ ได้ก็ตาม) การโฆษณาวางแผนการโปรโมทถือเป็นสิ่งสำ�คัญที่จะทำ�ให้ หนังประสบความสำ�เร็จ โดยช่องทางที่นิยมในปัจจุบัน ก็คือโซเชียลมีเดีย เนือ่ งจากหนังอิสระนัน้ ไม่ ได้มเี งินทุนพอทีจ่ ะโปรโมทหนังอย่างเป็นเรือ่ งเป็นราว สิ่งที่พอจะดึงดูดความสนใจจากผู้คนได้ส่วนหนึ่ง เห็นจะเป็นการใช้ความสำ�เร็จของ การนำ�หนังไปฉายตามเทศกาลต่างๆในต่างประเทศ สิ่งนี้เหมือนเป็นการโปรโมททาง อ้อม สำ�หรับการโปรโมทที่ปัจจุบันคนทำ�หนังนิยมใช้อย่างแพร่หลาย เห็นจะเป็นสื่อ ออนไลน์ ซึง่ นอกจากจะไม่มคี า่ ใช้จา่ ยใดๆแล้ว ช่องทางนีย้ งั เป็นช่องทางทีส่ ะดวกรวดเร็ว และตอบโจทย์ในการโปรโมทเพราะเป็นยุคที่สื่อออนไลน์ ได้เข้ามามีบทบาทกับชีวิต ประจำ�วัน ไม่ว่าจะเป็นการโปรโมทผ่านทาง youtube facebook twitter สื่อเหล่านี้ล้วน ได้รับการตอบรับที่ดี เพราะมันส่งต่อได้ง่ายและเร็ว ในระยะเวลา 2-3 ปีที่ผ่านมานี้ ถือเป็นช่วงเวลาที่หนังอิสระในบ้านเรามีการ เติบโตอย่างมาก มีหนังอิสระหลายเรื่องที่สร้างกระแสให้เกิดความคึกคักในวงการหนัง ไทย ถึงแม้จะเป็นการฉายในวงแคบ แต่ก็ถือเป็นสัญญาณที่ดีที่ทำ�ให้คนเริ่มสนใจหนัง อิสระมากขึน้ จากคำ�พูดปากต่อปากของคนที่ ได้ดหู นัง รวมถึงอิทธิพลขอสือ่ ทีม่ ผี ลทำ�ให้ หนังเป็นที่รู้จัก จนเกิดเป็นกระแสตามมา 18
FILM SPREAD
ทำ�ความรู้จักเต๋อ-นวพล ธำ�รงรัตนฤทธิ์ ก่อนที่จะมาเป็นผู้กำ�กับหนังอย่างเต็มตัว หลายๆคนอาจจะรู้จักเต๋อ-นวพลมา ก่อนหน้านี้ ในบทบาทต่างๆ บางคนรูจ้ กั เขาผ่านบทบาทของนักเขียน คอลัมน์ของนิตยสาร ‘ a day’ อย่าง เมดอินไทยแลนด์ ด้วยลีลาการใช้ภาษา วิธีการเล่าเรื่อง รวมถึงการ หยิบยกเรือ่ งทีจ่ ะนำ�มาเล่า ทำ�ให้มคี นติดตามอยูต่ ลอด จนมีหนังสือพ็อกเก็ตบุค๊ รวมเล่ม บทความ ก็ยังได้รับการตอบรับที่ดีเช่นกัน อีกทั้งผลงานหนังสั้น อย่าง ‘บันทึกกรรม’ ทางช่อง 3 ตอน ‘มั่นใจคนไทยเกิน หนึง่ ล้านคนเกลียดเมธาวี’ ทีห่ ยิบยกมุมมองในโลกออนไลน์มาจิกกัดสังคมได้เป็นอย่างดี และการกำ�กับ MV เพลง ‘ฉันผิดที่คิดว่าเรารักกัน’ ของ ‘กิ่ง-เดอะ สตาร์ ที่ ใช้เทคนิค การถ่ายแบบ long take ซึ่งเป็นการถ่ายที่ ไม่มีการตัดภาพ ถ่ายกันแบบยาวๆ ฉีกกรอบ ของ MV เพลงทั่วไปในบ้านเรา นอกจากนี้เขายังเป็นผู้อยู่เบื้องหลังหนังในระบบสตูดิโอ ด้วยการเขียนบทให้ กับค่ายหนังอารมณ์ดีอย่าง GTH ในเรื่อง ‘รถไฟฟ้ามหานะเธอ’ ‘top secret วัยรุ่นพัน ล้าน’ และ ‘รัก 7 ปีดี 7 หน’ หลายคนจึงบอกว่าเขาคือผู้กำ�กับที่มีทั้งความเป็นอินดี้และ แมส ‘36’ , ‘Mary is Happy’ กับวิถีการโปรโมท หนังของเต๋อ-นวพล จัดว่าเข้าข่ายหนังอิสระที่สร้างกระแส ปากต่อปากได้ดีที เดียว นับตั้งแต่ผลงานเรื่องแรกอย่าง ‘36’ ที่เหมือนจะเป็นก้าวแรกที่สร้างชื่อเสียงให้ กับเขา หนังของเขามักจะหยิบสิง่ ใกล้ตวั ในสังคมปัจจุบนั มาเล่าในแบบใหม่ๆทีเ่ ป็นสไตล์ เฉพาะตัว ซึง่ แต่ละเรือ่ งนัน้ ได้รบั การตอบรับอย่างดีจากผูค้ น ด้วยสไตล์เฉพาะตัวทำ�ให้ หนังของเขาเป็นทีร่ จู้ กั ในกลุม่ วัยรุน่ เด็กแนว เรียกได้วา่ เป็นปรากฎการณ์ของวงการหนัง อิสระเลยก็ว่าได้ 19
FILM SPREAD
อย่างที่กล่าวว่าหนังอิสระมักเป็นหนังทุนต่ำ� รวมถึงพื้นที่ ในการฉายนั้นยังคง จำ�กัด การฉายหนังอิสระเรื่องแรกของเขาจึงฉายแบบจำ�กัดรอบจำ�กัดที่นั่ง โดยฉาย 2 วัน วันละ 5 รอบ ที่หอศิลปวัฒนธรรมกรุงเทพ โดยเปิดให้จองผ่านfacebookในราคา 150 บาท ถึงแม้จะเป็นหนังอิสระเรื่องเล็กๆ แต่ผลปรากฎว่าผู้คนให้ความสนใจอย่าง ล้นหลามและขายบัตรหมดเกลี้ยงอย่างรวดเร็ว จนได้เข้าโรงฉายหนังอิสระ อย่าง ‘ เฮ้าส์ อาร์ซีเอ’ ในเวลาต่อมาและได้รับกระแสตอบรับที่ดีเช่นกัน อีกสิง่ ทีก่ ารันตีคณ ุ ภาพของหนังเรือ่ งนีค้ อื การได้รบั รางวัลทีเ่ ทศกาลหนังปูซาน เกาหลี ใต้ ในรางวัล ‘new current award’ ซึ่งเป็นรางวัลรางวัลของคนทำ�หนังหน้าใหม่ สร้างชื่อเสียงให้กับเขาทั้งในไทยและต่างประเทศ และหนังเรือ่ งทีส่ องของเขา ‘mary is happy’ ก็สามารถปลุกกระแสหนังอิสระ ให้คกึ คักได้อกี ครัง้ หนังเรือ่ งนีเ้ ป็นการหยิบยกข้อความในทวิตเตอร์ของผูห้ ญิงธรรมดาๆ คนนึงที่มีชื่อว่า ‘แมรี่ มาโลนี่’ @marylony หนังนำ� 410 ทวิตมาเล่าเรื่องในรูปแบบที่ แปลกใหม่ ด้วยการตัดภาพข้อความทวีตของแมรี่ขึ้นสลับกับภาพเหตุการณ์ตลอดเรื่อง สิ่งที่น่าสนใจที่ทำ�ให้ Mary is happy เกิดเป็นกระแสนั้น นอกจากความแปลก ใหม่แล้ว การโปรโมทหนังก็เป็นส่วนสำ�คัญเช่นกัน ฉันยังจำ�วันแรกของการฉายหนังเรื่องนี้ ได้เป็นอย่างดี เฮ้าส์ อาร์ซีเอเป็นโรง หนังอิสระที่ภาพจำ�ของฉันมันคือสถานที่เงียบๆ ไม่ค่อยมีคนมาเยี่ยมเยือนเท่าไหร่ แต่ สิง่ ทีเ่ ห็นในวันนัน้ สร้างความตกใจให้กบั ฉันได้ ไม่นอ้ ย ด้วยแถวทีต่ อ่ คิวยาวเลยออกมาถึง ประตูทางเข้าด้านหน้า ทำ�ให้พี่พนักงานต้องแจกบัตรคิว เนื่องจาก 1000 คนแรกที่ซื้อ ตั๋วหนังจะได้ CD original score และนอกจากนี้ยังมีการขายเสื้อที่เหมือนกันนักแสดง ในหนังเรื่องนี้ ใส่อีกด้วย ซึ่งเป็นที่ถูกใจใครหลายคน(รวมถึงฉันด้วย) เสื้อจึงขายหมดใน เวลาอันรวดเร็วในวันนั้น ทำ�ให้ต้องมีการสั่งจองล่วงหน้า( Pre-order)กันเลยทีเดียว 20
FILM SPREAD
แม้ ‘Mary is happy’ จะฉายแบบจำ�กัดรอบ จำ�กัดโรงเช่นเดียวกับ ‘36’ แต่ ก็ ได้รับการตอบรับที่ดีตลอดช่วงการฉาย และเก็บรายได้ ไป 1.6 ล้านบาท ส่วนหนึ่ง เป็นเพราะการโปรโมทผ่านทาง social network บน facebook twitter ซึ่งนอกจาก กิจกรรมที่ ได้กล่าวมาข้างต้นแล้ว ยังมีการสร้าง โครงการ ‘แมรี่ รีทวีต’ ให้คนได้มีส่วน ร่วมสนุกคือการ ให้ผู้ชมตีความข้อความในทวิตเตอร์ ซึ่งเป็นแรงบันดาลใจของหนัง เรื่องนี้ แล้วนำ�มาสร้างเป็นผลงาน ไม่ว่าจะเป็น โปสเตอร์หนังกว่า 200 ภาพ และ เพลงประกอบหนังในเวอร์ชั่นของตัวเอง วิธีการโปรโมทนี้นอกจากจะทำ�ให้ผู้ชมมีส่วน ร่วมแล้ว ยังส่งผลให้หนังถูกพูดถึง เกิดเป็นกระแสขึ้นมาได้ Facebook โปรโมทหนัง เต๋อ-นวพล มีแฟนเพจที่ ใช้ชื่อว่า ‘Nawapol Thamrongratthnarit’ ข้อดีของ ช่องทางนี้คือสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างชัดเจน เพราะการกดติดตามความ เคลื่อนไหวในเพจของหนังนั้น กลุ่มคนดูที่ชื่นชอบในผลงานของเขาก็จะได้ติดตามความ เคลื่อนไหว จากความเห็นของอาจารย์ศาสวัต บุญศรี การโปรโมทผ่านช่องทางนี้ ความ ต่อเนื่องเป็นสิ่งสำ�คัญ เพื่อให้เกิดการจดจำ� และยิ่งแสดงตัวตนได้ชัดเจนมากเท่าไหร่ ย่อมก่อให้เกิดความประทับใจได้มากขึ้นเท่านั้น เช่นเดียวกันกับการโปรโมทหนังแต่ละเรื่องของเขาจะเริ่มตั้งแต่หนังยังไม่เข้า ฉาย โดยในช่วงก่อนการฉายหนัง เขามักจะโพสต์ข้อมูลเบื้องหลัง เล่าประสบการณ์ การถ่ายทำ�หรือการนำ�หนังไปฉายในต่างประเทศ โพสต์ภาพบางส่วนที่เกี่ยวกับหนัง เพื่อเรียกน้ำ�ย่อยคนดู และเมื่อหนังเข้าฉายก็จะมีการนำ�ภาพบรรยากาศวันฉายมา โพสต์ ให้ดู บางครั้งเขาใช้วิธีการโพสต์เพลงหรือรูปภาพอื่นๆที่ ไม่เกี่ยวกับหนัง หากแต่ มีความน่าสนใจ โดยการโพสต์สิ่งต่างๆของเขามักสื่อสารผ่านภาษาที่เข้าใจง่าย มีมุข 21
FILM SPREAD
ตลก นอกจากนี้เขายังเพจเป็นพื้นที่ของการพูดคุยกับแฟนคลับหรือตอบคำ�ถามต่างๆ กับกลุ่มคนดูอีกด้วย นอกจากนีเ้ ขายังโปรโมทหนังอิสระเรือ่ ง ‘แต่เพียงผูเ้ ดียว’ ของคงเดช จาตุรนั ต์ รัศมี การโปรโมทก็ ใช้วธิ กี ารเดียวกันกับหนังของเขา โดยการสร้างเพจทีช่ อื่ ว่า ‘แต่เพียง ผู้เดียว’ โดย : คงเดช จาตุรันต์รัศมี เพจนี้มีการโพสต์อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้หนังเรื่อง นี้ ได้รับผลตอบรับที่ดีเกินคาด เกิดกระแสปากต่อปากเช่นกัน อย่างไรก็ตามอีกปัจจัยที่ทำ�ให้หนังเรื่อง ‘แต่เพียงผู้เดียว’ ประสบความสำ�เร็จ ได้นั้น อาจจะมาจากตัวนักแสดงด้วยเช่นกัน เพราะในเวลานั้นนักร้องขวัญใจเด็กแนว อย่าง ‘เล็ก greasy café’ หรือ ‘ เล็ก-อภิชัย ตระกูลเผด็จไกร’ กำ�ลังมีผลงานเพลงที่ เป็นที่นิยมและบทเพลงเหล่านั้นได้ถูกนำ�มาใช้ประกอบในหนังเรื่องนี้ด้วย ไม่สามารถบอกได้ว่าการโปรโมทเพียงอย่างเดียวจะทำ�ให้หนังอิสระประสบ ความสำ�เร็จได้ ปัจจัยอื่นๆไม่ว่าจะเป็นเนื้อหาของหนัง นักแสดง ล้วนเป็นสิ่งสำ�คัญเช่น กัน แต่ถึงอย่างไรก็ถือเป็นสัญญาณดีที่ทำ�ให้คนเริ่มสนใจหนังอิสระและรู้จักมากขึ้น หนังอิสระอาจจะไม่ ใช่หนังแมสหรือหนังตลาดทีด่ งู า่ ย แต่มนั ก็ ไม่ยากเกิน ไปที่จะลองเปิดใจให้กับหนังอิสระหรือหนังทางเลือก
22
FILM SPREAD
ภาพจาก : Fanpage Nawapol Thamrongrattanarit
23
NEW COMER ผู้กำ�กับหน้าใหม่
NEW COMER
ในปัจจุบันมีคนรุ่นใหม่ ไฟแรงจำ�นวนไม่น้อยที่เริ่มต้นทำ�หนังในแบบของตัวเอง และคนเหล่านีม้ กั มีกระบวนการทำ�หนังในแบบของตัวเอง เช่น การเล่าเรือ่ งทีแ่ ปลกแตก ต่าง มุมกล้องที่เกิดจากการทดลองถ่าย ภาษาหนังที่ ไม่อิงกฎเกณฑ์ ซึ่งหนังประเภทนี้ เราอาจจะเรียกได้ว่าเป็น ‘หนังทดลอง’ หรือ ‘หนังอิสระ’ ก็ว่าได้เพราะมันเกิดจากความ คิดสร้างสรรค์ของผู้กำ�กับที่ ไร้ข้อกำ�หนดใดๆ ถึงแม้ว่าจะไม่มีเรื่องของการขอทุนเข้ามา เกี่ยวข้อง แต่ก็ถือเป็นการทำ�หนังในแบบของตัวเองอย่างแท้จริง เช่นเดียวกับการทำ�หนังที่เป็นโปรเจ็กต์จบของนักศึกษาที่เรียนภาพยนตร์ ‘พี่ อาม-ชลสิทธิ์ อุปนิกขิต’ ถือเป็นนักศึกษาทีส่ ร้างโอกาสให้กบั ตัวเองด้วยความตัง้ ใจในการ ทำ�หนังโปรเจ็กต์จบเรื่องนี้ ส่งผลให้หนังของเขาได้สร้างปรากฎการณ์ ให้กับวงการหนัง อิสระของไทย ทำ�ความรู้จัก ‘ชลสิทธ์ อุปนิกขิต’ ด้วยความสนใจในการทำ�หนัง เขาตัดสินใจเลือกที่จะศึกษาต่อทางด้าน ภาพยนตร์ ชลสิทธิ์เอนท์ติดคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัย ศิลปากร สมัยเรียนเขามักจะรับงานลำ�ดับภาพเป็นอาชีพเสริม เพราะเป็นสิ่งที่เขาชอบ และถนัด โดยเริ่มจากงานโฆษณา เอ็มวีเพลงต่างๆ ซึ่งในเวลานั้นเขาได้ร่วมงานกับผู้ กำ�กับทั้งในสายระบบสตูดิโอ(Mass)และสายอิสระ อาทิ เอส คมกฤษ, จิม โสภณ, หมู ชยนพ และบาส ณัฐวุฒิ จนมี โอกาสได้ลำ�ดับภาพในหนังเรื่อง ‘36’ , ‘Mary is happy’ ของ เต๋อ-นวพล ผู้กำ�กับหนังอิสระขวัญใจเด็กแนว และหนังเรื่อง ‘Mary is happy’ ที่ มีเขาได้ตัดภาพกระโดดไปมาได้อย่างสนุก ทำ�ให้เขาได้คว้ารางวัลลำ�ดับภาพยอดเยี่ยม จากงานภาพยนตร์แห่งชาติสพุ รรณหงส์ ครัง้ ที่ 23 หลังจากนัน้ ชือ่ ของเขาเริม่ เป็นทีร่ จู้ กั ในวงการหนังอิสระตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
24
NEW comer
กว่าจะมาเป็น ‘W’ แรงบันดาลใจที่ ได้มาจากชีวิตจริง ถ่ายทอดออกมาเป็นหนังยาว 170 นาที ชล สิทธิ์ทุ่มเทแรงกายแรงใจเป็นเวลา 3 ปี ในการทำ�หนังเรื่องนี้ ความมุ่งมั่นและตั้งใจส่ง ผลให้หนังเรื่องนี้เป็นมากกว่าหนังโปรเจ็กต์จบของนักศึกษา หลังจากส่งงานอาจารย์เสร็จ หนังเรือ่ ง ‘w’ ได้มี โอกาสฉายทีห่ อศิลปวัฒนธรรม กรุงเทพฯเป็นทีแ่ รก โดยเป็นการฉายในรูปแบบของผลงานนักศึกษา ทีเ่ ปิดโอกาสให้ผคู้ น ทีส่ นใจได้เข้าชม ปรากฏว่าได้รบั กระแสตอบรับทีด่ จี ากกลุม่ คนดูหนังและนักวิจารณ์หนัง ส่งผลให้หนังยาวเรื่องแรกของเขามี โอกาสได้ ไปฉายที่เทศกาลหนังปูซาน ประเทศ เกาหลี ใต้ , เทศกาลหนังสิงคโปร์ และได้ฉายที่ โรงหนังอิสระอย่าง ‘เฮ้าส์ อาร์ซีเอ’ ใน เวลาต่อมา เบื้องหลัง ‘W’ “หนังโปรเจ็กต์จบ อาจจะเป็นโอกาสเดียวที่เราจะได้ทำ�ตามใจจริงๆก็ ได้นะ” จากคำ�พูดของใครบางคนจนถึงวันที่ต้องทำ�โปรเจ็กต์จบ เขาฉุกคิดถึงประโยคนี้และนำ� มาใช้เป็นแรงผลักดันในการทำ�หนัง ก่อนจะเริ่มทำ�หนังอย่างจริงจัง เขาตั้วคำ�ถามกับตัวเองว่า “จริงๆแล้วเราทำ� หนังไปเพื่ออะไรกันแน่” ความสงสัยนี้ทำ�ให้เขาไล่ถามเพื่อนทุกคนในเอก เพื่อนส่วนใหญ่ มักจะตอบเหมือนกันหมดว่า “ก็ท�ำ เพือ่ ให้เรียนจบไง” เขาอึง้ ไปกับคำ�ตอบของเพือ่ นๆ แต่ ในขณะเดียวกันคำ�ตอบของเพื่อนๆก็ ได้จุดประกายความคิดให้เขาได้ทำ�หนังในแบบของ ตัวเองออกมาจนได้ และด้วยความที่เขาอยากทำ�หนังยาว จึงทำ�ให้เขาเริ่มต้นทำ�หนังโปรเจ็กต์จบ เร็วกว่าเพือ่ นๆ เป็นเวลากว่า 3 ปีทเี่ ขาได้ ใช้เวลาในการทำ�ทุกอย่างตัง้ แต่การรีเสริช การ เขียนบท การถ่าย การตัดต่อ ไปจนถึงวันที่หนังได้ฉาย 25
NEW COMER
01 : การหาข้อมูล (Research)
หลังจากที่รู้ว่าตัวเองจะทำ�อะไร เขาได้ทำ�การรีเสริชข้อมูล เกี่ยวกับการเรียน ในคณะต่างๆในประเทศไทย เพื่อนำ�มาใช้ประกอบในการทำ�หนัง โดยหาสถิติคะแนนสูง ต่ำ�ของการแอดมิชชั่นดู สนใจคณะไหนเป็นพื้นหลังในการเล่าเรื่อง เขาเลือกที่จะเล่าเรื่องโดยใช้คณะวิทยาศาสตร์การกีฬามาเป็นพื้นหลังในหนัง เพราะสำ�หรับเด็กสายวิทย์ เขามองว่าคณะนีม้ กั จะกลายเป็นตัวเลือกสุดท้ายในการเลือก อันดับแอดมิชชั่น เพราะคะแนนน้อยสุด แต่สิ่งที่เขาสนใจคือคนที่เอนท์ติดคณะนี้ โดย เลือกเป็นอันดับสุดท้ายเพียงเพราะกลัวว่าจะเอนท์ ไม่ติดแล้วเกิดติดคณะวิทยาศาสตร์ การกีฬาขึ้นมาจริงๆแล้วมันจะเป็นอย่างไร อีกสองเหตุผลที่น่าสนใจคือ เขามองว่าคณะวิทยาศาสตร์การกีฬามีความขัด แย้งบางอย่างที่เด็กจะต้องเรียนทั้งวิทย์และกีฬา เหตุผลที่สองคือความอยากทำ�หนังที่ ตัวละครดูเป็นคนจริงๆ จึงเลือกที่จะเล่าผ่านหนังศึกษาให้เป็นลักษณะที่จับต้องได้ ให้ เหมือนเพื่อนเราคนหนึ่ง มีความจริง มีความธรรมชาติ ในการหาข้อมูลหรือการทำ�รีเสริช เขาได้สัมภาษณ์นักศึกษาต่างคณะ เพื่อนำ� มาเป็นข้อมูลเบื้องหลังของตัวละครอีกด้วย ซึ่งคนนึงใช้เวลาคุยประมาณ 1-2 ชั่วโมง การสัมภาษณ์ทำ�ให้เขาได้เรื่องราวใหม่ๆที่น่าสนใจและข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการทำ� หนังอย่างมาก เขาได้เรียนรู้ วิธีคิด การใช้ชีวิตของแต่ละคนที่มีความแตกต่างกัน สิ่ง เหล่านีม้ นั ไม่สามารถทีจ่ ะจินตนาการหรือประเมินเอาจากความรูส้ กึ ของตัวเองอย่างเดียว ได้
02 : การเขียนบท
ในช่วง 3 สัปดาห์ก่อนที่จะถึงกำ�หนดส่งบทหนังให้อาจารย์ดู เขาใช้วิธีการ เขียนบทในลักษณะที่ ไม่มีเนื้อเรื่องตายตัว ด้วยเหตุผลที่ว่าอยากทำ�ให้หนัง เหมือนชีวิต 26
NEW comer
จริงมากที่สุด อยากให้ตัวละครมีชีวิต ไม่อยากให้ตัวละครเป็นแค่หุ่นเชิด นอกจากนี้เขา ยังมีเทคนิคเฉพาะตัวคือ การฟังเพลงทีเ่ กีย่ วกับหนังตลอดการเขียนบท เพราะมันจะเป็น ส่วนช่วยในการเขียนให้เราคุมอารมณ์ของหนังได้ เขาเล่าให้เราฟังอย่างคร่าวๆ หนังของเขาถ่ายทอดเรื่องราวชีวิตของนักศึกษา ซึ่งเนื้อเรื่องจับเอาประเด็นของชีวิตนักศึกษาไทย ที่ส่วนใหญ่ยังค้นหาตัวเองไม่เจอ ไม่รู้ ว่าจริงๆแล้วชอบอะไร อยากเป็นอะไร สุดท้ายคือการปล่อยให้ความไม่ชัดเจนนั้น ไหล ผ่านไปตามกาลเวลา โดยที่ ไม่รู้ว่าอนาคตข้างหน้าจะเป็นอย่างไร
03 : การหานักแสดง
สำ�หรับการหานักแสดงนัน้ เนือ่ งจากเป็นงานนักศึกษายังไม่มงี บพอทีจ่ ะจ้างนัก แสดงมืออาชีพ นักศึกษาส่วนใหญ่จะใช้เพื่อน พี่ น้อง มาแสดง แต่ตอนนั้นชลสิทธิ์อยาก ลองใช้นกั แสดงที่ ไม่ ได้อยู่ ในขอบข่ายรอบตัว เขาใช้วธิ กี ารตัง้ กระทูห้ านักแสดงในเว็ปไซต์ ยอดนิยมของวัยรุ่นอย่าง เด็กดี พันทิป ผลปรากฎว่ามีคนสนใจเข้ามาสมัครจริงๆ จึง ทำ�ให้เขาต้องแคสจริง ในเวลานัน้ เขาใช้วธิ กี ารแคสแบบถ่ายทำ�จริง เพือ่ ให้รวู้ ่าเวลาทีอ่ ยู่ ในกล้องการแสดงเป็นอย่างไร แต่สดุ ท้ายโปรเจ็กต์นกี้ ล็ ม่ ไป เพราะยังไม่เจอคนทีต่ รงใจ สุดท้ายได้นักแสดงใกล้ตัวมาเล่นในหนังเรื่องนี้ ซึ่งเป็นนักศึกษาจากคณะเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากรนั่นเอง
04 : ดูสถานที่
สำ�หรับนักศึกษา การเลือกสถานทีท่ ี่ ไม่มคี า่ ใช้จา่ ยและตอบโจทย์กบั เรือ่ งราวใน หนังคงจะเป็นปัจจัยสำ�คัญ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์จึง เป็นสถานทีท่ เี่ ขาเลือกใช้ ในการถ่ายหนัง เพราะมันมีพนื้ ทีก่ ว้าง มีสงิ่ อำ�นวยความสะดวก ครบ ให้อารมณ์เหงาๆปนเศร้า เหมือนภาพในหัวที่เขาต้องการจะสื่อในหนัง 27
NEW COMER
05 : การถ่ายทำ�
หลังจากที่ ได้เวิร์คช็อปนักแสดงแล้ว ในช่วงที่จะเริ่มถ่ายทำ�ปี 2554 ได้เกิด เหตุการณ์น้ำ�ท่วมครั้งใหญ่ ทำ�ให้การถ่ายหนังเรื่องนี้ต้องเลื่อนออก ตอนนั้นเขารู้สึกท้อ มาก แต่ก็ทำ�อะไรไม่ ได้ จึงกลับมาคิดทบทวน แก้บท เตรียมความพร้อมในการถ่าย “หนังเรื่องนี้ถ่าย 20 วัน มันก็มีที่ต้องถ่ายคนเดียวบ้าง เพราะทุกคนเขาก็ต้อง ทำ�โปรเจ็กต์จบของตัวเองด้วย ช่วงนั้นก็ลำ�บากนิดนึง แต่ก็มีเพื่อนมาช่วยบ้าง” อย่างไรก็ตาม อุปสรรคและปัญหาทีเ่ ข้ามาในช่วงของการถ่ายทำ� กลับเป็นแรง ผลักดันให้เขาต่อสู้กับตัวเองและได้ทำ�หนังในแบบที่ตัวเขาต้องการอย่างแท้จริง
กระแสตอบรับของหนังเรื่อง ‘W’
จากการฉายส่งงานอาจารย์ สู่การฉายครั้งแรกในลักษณะของการโชว์ผลงาน นักศึกษา ก็ ได้สร้างประวัตศิ าสตร์หนังทีม่ คี วามยาว(สำ�หรับโปรเจ็กต์จบ) อย่างไรก็ตาม ความยาวอาจไม่ ใช่ปัจจัยสำ�คัญเท่ากับคุณภาพของหนัง หลังจากที่ ได้ฉายที่หอศิลปวัฒนธรรมกรุงเทพฯ หนังเรื่องนี้ยังมี โอกาสได้ ไป ฉายในเทศกาลต่างๆอาทิ เทศกาลหนังปูซาน ประเทศเกาหลี ใต้ , เทศกาลหนังสิงคโปร์ ซึ่งเปิดโลกให้กับเขาอย่างมาก เขาเล่าถึงข้อดีของการเอาหนังไปฉายตามเทศกาล คือ ทำ�ให้เขาได้เรียนรู้ วัฒนธรรม วิธคี ดิ ทีต่ า่ งคนของแต่ละประเทศ อย่างยุโรปจะดูดา้ นศิลปะภาพยนตร์ บ้าน เราจะสนใจเรื่องเนื้อหาว่าสร้างอารมณ์ร่วมได้มากน้อยแค่ ไหน “คนต่างชาติเขาก็ ไม่เข้าใจ เช่น เรื่องระบบการศึกษาไทย การซิ่วคืออะไร ซึ่ง ตอนเราทำ�ก็ ไม่ ได้คิดถึงตรงนั้น”ชลสิทธ์กล่าว
28
NEW comer
การฉายที่ ‘เฮ้าส์ อาร์ ซีเอ’
เริ่มเรื่องคือเกิดจากการที่คนทำ�หนังอิสระคือ ‘จุ๊ก-อาทิตย์ อัสสรัตน์’ ได้ดูหนัง เรื่องนี้แล้วชอบ จึงเกิดการชักชวนให้มาเริ่มทำ�อย่างเป็นจริงเป็นจัง “เวอร์ชั่นที่จะฉายโรงก็จะตัดความยาวเหลือ 130 นาที จาก 170 นาที” เขา รู้สึกดี ใจที่หนังได้ฉายโรง แต่นั่นก็ ไม่เท่ากับการที่คนทำ�หนังรุ่นพี่ ให้ โอกาส รวมถึงคอย ช่วยเหลือให้คำ�ปรึกษาต่างๆ เพราะสำ�หรับเขายังถือว่าใหม่ ในวงการนี้ และหลังจากทีห่ นังได้เข้าโรงฉายไป ถึงแม้จะเป็นการฉายแบบจำ�กัดรอบ จำ�กัด โรงเฉกเช่นเดียวกับหนังอิสระเรือ่ งอืน่ ๆ แต่ ในแง่ผลตอบรับจากคนที่ ได้มาดูนนั้ จัดอยู่ ใน เกณฑ์ที่ดี และได้รับคำ�ชมจากนักวิจารณ์หนัง นิตยสารหนังต่างๆ และอีกหนึ่งรางวัล การันตีจากนิตยสาร Bioscope ในรางวัลของหนังแห่งปีอีกด้วย ณ เวลานี้ ชือ่ ของเขาเริม่ เป็นทีร่ จู้ กั ในหมูค่ นทำ�หนังในฐานะของผูก้ �ำ กับหน้าใหม่ ที่มาสร้างความคึกคักให้กับวงการหนังอิสระ แระเราเชื่อว่าความตั้งใจทุ่มเทแรงกาย แรงใจในการทำ�หนังโปรเจ็กต์จบของเขานัน้ ได้สร้างแรงบันดาลใจให้กบั ผูก้ �ำ กับหน้าใหม่ ได้ ไม่มากก็น้อย “หนังเราไม่ ได้ดูยาก หนังจะอินดี้ ไม่อินดี้มันอยู่ที่วิธีการผลิต เราไม่ ได้อยู่กับ ระบบสตูดิโอ เราทำ�เองทั้งหมด ทุนในการสร้างก็ ไม่ ได้เยอะ และเราทำ�เรื่องที่ ใกล้ตัว ด้วย คิดว่าคนดูน่าจะเข้าใจได้ ไม่ยาก” เขากล่าวทิ้งท้าย
29
MIDDLE MAN ผู้กำ�กับสองขั้ว
MIDDLE MAN
“การทำ�หนังของเรา มันเกิดจากการตั้งคำ�ถาม เราทำ�หนังเพื่อหาคำ�ตอบ” ผู้ กำ�กับที่ผ่านร้อนผ่านหนาว จากการทำ�หนังทั้งในระบบสตูดิโอและหนังอิสระกล่าว ก่อนที่จะก้าวเข้าสู่วงการหนังอิสระ ย้อนกลับไปในชีวิตของการเป็นผู้กำ�กับ “สยิว” คือหนังเรื่องแรกของเขา ตามด้วย “เฉิ่ม” และ “กอด” ทั้ง 3 เรื่องล้วนเป็นการ ทำ�หนังในระบบสตูดิโอ แต่กลับไม่ประสบความสำ�เร็จเท่าทีค่ วร จนในทีส่ ดุ เขาได้ตดั สิน ใจผันตัวออกมาเป็นผู้กำ�กับหนังอิสระอย่างเต็มตัว เรียกได้ว่าเป็นจุดเปลี่ยนครั้งหนึ่งที่ สร้างความเปลีย่ นแปลงให้กบั ชีวติ ของเขา เพราะหลังจากทีห่ นังเรือ่ ง “แต่เพียงผูเ้ ดียว” เข้าฉายก็ ได้สร้างปรากฎการณ์ ให้กบั วงการหนังอิสระ นอกจากหนังจะเรียกผูช้ มได้อย่าง ที่ ไม่เคยเป็นมาก่อน หนังยังทำ�รายได้ดเี กินคาด แม้ตวั หนังจะยังไม่ตอบโจทย์ทางธุรกิจ แต่ถือเป็นสัญญาณที่ดี ในการเข้าสู่วงการหนังอิสระอย่างเต็มตัว หลังจากนัน้ ชือ่ ของ “คงเดช จาตุรนั ต์รศั มี” เริม่ เป็นทีร่ จู้ กั มากขึน้ ในฐานะคนทำ� หนัง หลายๆคนอาจจะรู้จักตัวตนของเขาจากการเป็นผู้กำ�กับหนัง แต่ผู้ชายคนนี้ยังมีอีก หลายบทบาททีเ่ ราอาจจะคาดไม่ถงึ น้อยคนนักทีจ่ ะรูว้ า่ เขาเป็นนักร้องนำ� “วงสีเ่ ต่าเธอ” อีกทัง้ ยังเป็นนักวาดภาพประกอบ ก็อปปี้ไรท์เตอร์ ในงานโฆษณา อ่านสปอตโฆษณาวิทยุ ทำ�เพลงโฆษณาและเพลงประกอบภาพยนตร์ อย่างไรก็ตามการทำ�หนังดูจะเป็นสิง่ ทีเ่ ขา หลงใหลทีส่ ดุ เพราะมันทำ�ให้เขาได้คน้ พบกับคำ�ตอบในสิง่ ทีเ่ ขาค้นหาตลอดมาชีวติ จาก การทำ�หนังในแบบของตัวเอง
ชีวิตวัยเรียนของคงเดช
ย้ อ นกลั บ ไปสมั ย เรี ย นที่ คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ เอกภาพยนตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีเจ้าคุณทหารพระจอมเกล้าลาดกระบัง ซึง่ ในยุคนัน้ ไม่มแี ม้กระทัง่ 7-11 ไม่มสี งิ่ บันเทิงใจใดๆ นอกจากคาเฟ่ ใกล้ๆมหาวิทยาลัย การจะหาหนังต่างประเทศ หรือหนังอิสระดูนั้นถือเป็นเรื่องยาก แต่สำ�หรับคนที่รักในการทำ�หนังและชอบดูหนัง 30
MIDDle Man
เขาได้ขวนขวายหาความรู้ ใหม่นอกห้องเรียนอยู่เสมอ ถึงแม้จะต้องแลกมาด้วยความ ยากลำ�บากในการเดินทางก็ตาม อีกหนึ่งเหตุผลที่ทำ�ให้เขาต้องขวนขวายคือเขารู้สึกรู้สึกว่าการเรียนในตำ�รา อย่างเดียวมันยังไม่ สิง่ ทีเ่ ขาพอจะทำ�ได้ ในตอนนัน้ คือ ในช่วงเวลาเลิกเรียนเขาและเพือ่ นๆ จะนั่งรถไฟจากลาดกระบังเข้าตัวเมืองแล้วต่อรถ ไปดูหนังตามสถาบันต่างๆ อย่าง เกอเธ่(เยอรมัน) อารียอง(ฝรั่งเศส) ศูนย์วัฒนธรรมญี่ปุ่น หอศิลป์เจ้าฟ้า (พิพิธภัณฑ์ สถานแห่งชาติ) ซึง่ เป็นสถานทีฉ่ ายหนังหาดูยากหรือหนังอิสระในขณะนัน้ เขาเล่าต่อว่า สมัยนัน้ วิดี โอหนังอิสระหรือบรรดาหนังหายากราคาม้วนละประมาณ 400 กว่าบาท ซึง่ ถือว่าแพงมากในยุคนั้น ตัวเขาก็ยังเป็นนักศึกษา การจะตัดสินใจซื้อวิดี โอที่มีราคาม้วน ละ 400 บาทถือเป็นเรื่องที่ต้องคิดหนัก สิ่งที่น่าสนใจอีกอย่างนึง คือ มุมมองของคนในแต่ละยุค ด้วยยุคสมัยที่เปลี่ยน ไปทำ�ให้คนเรามองสิ่งต่างๆไม่เหมือนเดิม หนังต่างประเทศที่เขาได้ดูในยุคนั้นถ้าเอามา ฉายในยุคนี้มันจะกลายเป็นหนังอิสระทันที เขาเล่าให้เราฟังว่าหนังอเมริกันยุค 70 เป็นหนังที่เจ๋งและท้าทายมาก เพราะ ตอนท้ายเรื่องจะจบแบบไม่ประนีประนอม อย่างหนังเรื่อง “Italian Job” ของอังกฤษ ในยุคนั้นถือว่าเป็นหนังที่ ได้รับความนิยมอย่างมาก แต่ถ้ามาอยู่ ในยุคนี้มันจะกลายเป็น หนังอิสระ เพราะหนังสมัยนีจ้ ะจบแบบโคตรจบเลย คือเราสามารถคาดเดาตอนจบของ หนังได้ ซึ่งสิ่งนี้เขามองว่ามันอาจจะน่าเบื่อไปสักหน่อย เขาเปรียบเทียบหนังไทยในอดีตกับหนังไทยในปัจจุบนั ให้เราฟังได้อย่างน่าสนใจ การดูหนังไทยในยุคนั้นถือเป็นเรื่องสนุกสำ�หรับเขา เพราะทุกวันนี้เขามองว่าหนังไทย ส่วนใหญ่จะไม่มเี นือ้ เรือ่ งทีเ่ ข้มข้นเหมือนแต่กอ่ น เพราะคนทำ�หนังให้ความสำ�คัญกับการ เขียนบทน้อยลง
31
MIDDle Man
วิถีการทำ�หนัง “เรารู้สึกว่าทุกวันนี้หนังส่วนใหญ่ content มันไม่เข้มข้น ส่วนใหญ่จะเอาสไตล์ นำ�” เขากล่าวด้วยสีหน้าเรียบขรึม ผู้กำ�กับที่ ให้ความสำ�คัญกับการเขียนบท มากกว่า สไตล์ของหนังอย่างเขา กล่าวต่อว่า หนังของเขามักจะเริ่มจากการตั้งคำ�ถามที่สงสัย และทำ�มันเพื่อหาคำ�ตอบ ไม่ ได้จำ�กัดตัวเองว่าจะต้องทำ�ในแบบไหน สไตล์เป็นสิ่งที่มา ทีหลังสุดสำ�หรับหนังของเขา การทำ�หนังของเขาจะใช้เวลาในการเขียนบทอยู่กับมันทั้ง วันทั้งคืน พยายามหาคำ�ตอบเกี่ยวกับมัน เขามองว่าการเขียนบทจะมีค่ามาก เมื่อเวลา ที่กลับมาอ่านแล้วมันให้คำ�ตอบอะไรบางอย่าง ซึ่งมันเป็นคำ�ตอบเกี่ยวกับชีวิตตั้งแต่เริ่ม ทำ� “เฉิ่ม” และมันได้กลายเป็นวิธีการทำ�หนังของเขาที่ ใช้มาตลอดจนถึงทุกวันนี้ จน กระทั่งแยกไม่ออกว่าจริงๆแล้วกำ�ลังทำ�หนังส่วนตัว(หนังอิสระ)หรือหนังสตูดิโออยู่กัน แน่ เพราะสิ่งที่เขาต้องการจะถ่ายทอดออกมาคือสิ่งที่อยากทำ�จริงๆ จุดเปลี่ยนครั้งสำ�คัญ “มันไม่มี ใครให้ท�ำ คือมันก็ ไม่เชิง” เขาเล่าอย่างอารมณ์ดแี ละท่าทีทดี่ ผู อ่ นคลาย นั้นฉันสังเกตุเห็นรอยยิ้มครั้งแรกจากการได้พูดคุยกับผู้กำ�กับคนนี้ จากผูก้ �ำ กับหนังสตูดิโอสูก่ ารเป็นผูก้ �ำ กับหนังอิสระอย่างเต็มตัว เขารูด้ วี า่ หนัง ทีเ่ ขาทำ� 3 เรือ่ งแรกทีท่ �ำ กับระบบสตูดิโอนัน้ มันเป็นหนังทีท่ �ำ ตามใจตัวเอง ด้วยเหตุผล ที่ว่าระบบสตูดิโอในยุคนั้นเขากล้าที่จะลงทุนกว่าในสมัยนี้ ซึ่งถ้าเป็นตอนนี้เอาไปเสนอก็ คงไม่มี ใครให้ทำ� เพราะมันไม่ตอบโจทย์กับระบบสตูดิโอ อีกทั้งการลงทุนในระบบสตู ดิโอก็สูงด้วย เขาให้ความเห็นว่า การทีจ่ ะเอาเงินจำ�นวนมากจากระบบสติโอนัน้ มาให้เขาทำ� หนังในแบบของตัวเองที่มันอาจจะขายไม่ ได้ มันก็ ไม่ยุติธรรมกับระบบสตูดิโอ ตัวเขาก็ รู้สึกไม่ดี จึงตัดสินใจออกมาทำ�หนังอิสระ 32
MIDDle Man
คุยเรื่องหนัง การก้าวกระโดดจากการทำ�หนังในระบบสตูดิ โอมาเป็นการทำ�หนังในแบบ ตามใจตัวเองหรือหนังอิสระ ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งสำ�คัญและเป็นจุดเปลี่ยนใน ชีวิตของเขาเลยก็ว่าได้ จากหนังเรื่อง “แต่เพียงผู้เดียว” ที่สร้างปรากฎการณ์ตั๋วเต็มทุกรอบ ถึงแม้จะ เป็นการฉายในวงแคบ แต่กเ็ รียกเสียงฮือฮาในวงการหนังอิสระได้อย่างน่าประทับใจ สิง่ ที่ทำ�ให้หนังประสบความสำ�เร็จส่วนหนึ่งน่าจะมาจากนักแสดงนำ�อย่าง “เล็ก greasy café” นักดนตรีที่กำ�ลังโด่งดังจากผลงานเพลงในขณะนั้น ซึ่งเพลงของเล็กก็ ได้ถูกนำ�มา ใช้ประกอบในหนังเรื่อง ส่งผลให้หนังเป็นที่รู้จักในวงกว้างอย่างไม่ ได้เตรียมการมาก่อน อย่างไรก็ตามชื่อเสียงเป็นส่วนหนึ่งที่จะทำ�ให้หนังประสบความสำ�เร็จ แต่บทหนังที่ดีก็ ถือเป็นสิ่งสำ�คัญเช่นกัน เพราะบทที่ดีย่อมทำ�ให้หนังมีคุณภาพด้วย สำ�หรับการเขียนบทหนัง “แต่เพียงผู้เดียว” ความคิดที่ต่างไปจากตอนทำ�หนัง ในระบบสตูดิโอของเขา คือ อยากที่จะทดสอบอะไรบางอย่างกับคนดู เพราะที่ผ่านมา นั้น การทำ�หนังของเขาจะเป็นในลักษณะที่ทำ�ตามโจทย์ที่ถูกกำ�หนดว่าคนดูจะต้อง หัวเราะร้องไห้ตอนไหน แต่พอมี โอกาสได้มาทำ�หนังอิสระแล้ว มันไม่มกี ฎเกณฑ์ทตี่ ายตัว “เราอยากจะทดสอบดูว่าถ้ามันไม่ ใช่แค่เรื่องหัวเราะร้องไห้ เราอยากใส่อะไร บางอย่างที่มันให้คำ�ตอบไม่ชัด หรือทิ้งอยู่ ในหัวเป็นวันๆ และการที่ทุกคนสามารถสร้าง เวอร์ชั่นของตัวเองขึ้นมาได้ เราดี ใจมาก” เขากล่าวด้วยน้ำ�เสียงปลื้มปริ่ม
33
MIDDle Man
คำ�ตอบของชีวิต จากจุดเริม่ ต้นทีท่ รูเทเรวิชนั่ เสนอโปรเจ็กต์หนังสารคดีทตี่ อ่ ยอดมาจากรายการ “สามเณรปลูกปัญญา” กลับกลายเป็นว่าหนังเรือ่ งนีท้ �ำ ให้เขาได้ตะหนักถึงความสุขในช่วง เวลาของการทำ�หนัง เขายังคงเริ่มจากการตั้งคำ�ถาม ขณะเดียวกันมันทำ�ให้เขาค้นพบความสุขจาก การได้คำ�ตอบในขณะที่ทำ�หนังเรื่องนี้ “เอวัง” มันเป็นเรื่องของเด็ก 2 คน การทำ�งานกับ เด็กเราได้เห็นความใสซื่อของเขา เห็นมุมที่มันง่ายมาก แต่ทำ�ไมมันมีความสุข” ผู้กำ�กับ ที่ทำ�หนังจากการตั้งคำ�ถามเล่าถึงสิ่งที่เกิดขึ้นในขณะถ่ายทำ� ผู้กำ�กับที่บอกกับเราว่าในชีวิตของเขาที่ผ่านมานั้นไม่ค่อยมีความสุขสักเท่าไหร่ จากเหตุการณ์นี้ทำ�ให้เขาตระหนักได้ว่า ความสุขเป็นสิ่งที่หาง่ายมาก “คือตั้งแต่ตอนเขียนบทหนังเรื่อง “เอวัง” จนกระทั่งถ่ายทำ� แล้วเราได้เห็นบาง อย่างที่มันเกิดขึ้นตรงหน้า มันคือช่วงเวลาที่ดีมาก เหมือนเราพบคำ�ตอบว่าเราทำ�หนัง เพื่อสิ่งนี้” เขากล่าวพร้อมกับยอมรับว่ามันอาจจะเป็นความคิดที่เห็นแก่ตัว “การทำ�หนังของเรามันเป็นการทำ�หนังแบบเห็นแก่เหมือนกันนะ การทำ�หนังมัน เหมือนทำ�ให้เราได้ค�ำ ตอบ เราใช่มนั เป็นเครือ่ งมือในการหาความสุข เพราะเวลาทำ�หนัง ทุกครั้งเราจะได้เจอกับช่วงเวลาดีๆที่เกิดขึ้นกับตัวเอง เหมือนเราได้รางวัลบางอย่างใน ชีวิต มันทำ�ให้เราเลิกทำ�หนังไม่ ได้ มันเหมือนเป็นเรื่องราวชีวิตของเราที่ทำ�ให้เรารอด ผ่านช่วงเวลานั้นๆมาได้” จากคำ�พูดของเขา เราเชื่อว่าความสุขคือสิ่งที่ขับเคลื่อนในการ สร้างสรรค์ผลงานทำ�ให้เรายังเห็นชื่อของเขาในฐานะของผู้กำ�กับหนังหลายๆเรื่อง อย่างไรก็ตามการทำ�งานในอาชีพผู้กำ�กับหนังอิสระอย่างเดียวคงจะไม่พอ สำ�หรับค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงชีพ “ทุกคนมีภาระครอบครัว ลูกเมียไม่ ได้อินดี้ด้วย มันก็ ต้องดิ้นรน ถ้าอยากสบายอย่าทำ�งานในสายอาชีพนี้เป็นอันขาด เพราะเงินมันน้อย” เขา กล่าวด้วยน้ำ�เสียงดูเหมือนจะไม่มีความน้อยเนื้อต่ำ�ใจ 34
MIDDle Man
“
ภาพจาก : http://www.otacom.net/mini-review-แต่เพียงผู้เดียว
การทำ�หนังของเรามันเป็นการทำ�หนังแบบเห็นแก่ตัว เราใช่มันเป็นเครื่องมือในการหาความสุข เพราะเวลาทำ�หนัง ทุกครัง้ เราจะได้เจอกับช่วงเวลาดีๆทีเ่ กิดขึน ้ กับตัวเอง เหมือน เราได้รางวัลบางอย่างในชีวิต ทำ�ให้เราเลิกทำ�หนังไม่ได้
”
35
HOUSE &LIDO โรงหนังอิสระไทย
HOUSE & LIdo
ต้องยอมรับว่าหนังอิสระนั้นยังไม่ ได้เป็นที่รู้จักสักเท่าไหร่ ด้วยหนังเหล่านี้ยัง ไม่ตอบโจทย์ทางธุรกิจเหมือนหนังในระบบสตูดิโอ พื้นที่ ในการฉายหนังอิสระจึงมีน้อย แตกต่างจากต่างประเทศที่มีเทศกาลหนังคอยอ้าแขนรับหนังประเภทนี้อยู่ตลอด กลาย เป็นว่าการทำ�หนังอิสระของคนไทยจะเป็นการทำ�หนังให้คนต่างประเทศดูมากกว่าให้ คนในประเทศดูเสียอีก สำ�หรับในประเทศไทยพืน้ ทีท่ มี่ กี ารฉายหนังอิสระเป็นจุดยืนนัน้ ก็คอื “โรงหนัง เฮ้าส์อาร์ซีเอ” และอีกแหล่งหนึ่งคือ “โรงหนังลิโด้” พื้นที่ของคนรักหนัง เมื่อนึกถึง อาร์ ซีเอ หลายคนอาจจะนึกถึงภาพของสถานบันเทิงในยามค่ำ�คืน น้อยคนนักที่จะรู้ว่ามี โรงหนังอิสระ หรือโรงหนังทางเลือก ที่ฉายหนังอิสระทั้งไทยและ ต่างประเทศอย่าง “ House RCA เฮ้าส์อาร์ ซีเอ” ตั้งอยู่ ในย่านสถานบันเทิงแห่งนี้ หากพูดถึงบรรยากาศของโรงหนังแห่งนี้ ทุกครั้งที่ ไปเราจะรู้สึกถึงความเงียบ สงบ ผู้คนไม่พลุ่กพล่าน และคนที่มาดูหนังที่นี่ส่วนใหญ่จะเป็นคอหนังที่ตั้งใจมาดูหนัง จริงๆ ที่นี้มี โรงหนังอยู่ 2 โรง สนนราคาตั๋วหนังอยู่ที่ 100 บาท สำ�หรับการออกแบบ ตกแต่งของโรงหนังนัน้ มีเอกลักษณ์ที่ โดดเด่น ด้วยความกว้างและโล่งให้ความรูส้ กึ อิสระ และความเป็นส่วนตัวบนผนังทางเดินที่จะนำ�สู่ โรงหนัง มีภาพวาดการ์ตูน ลวดลาย กราฟฟิก ซึง่ คนที่ ได้มาดูนงั่ ทีน่ มี่ กั จะถ่ายรูปเก็บไว้เป็นทีร่ ะลึก อีกทัง้ ยังมีมมุ ขายอาหาร และเครื่องดื่มไว้คอยบริการผู้ที่มาดูหนัง ขนมคบเคี้ยวยอดฮิตอย่างป๊อปคอร์นในราคา 30 บาท ทำ�ให้เวลาที่เราไปดูหนังทีนี้ก็ต้องซื้อเข้าไปกินในโรงทุกครั้ง นอกจากนี้ยังมีมุม ขายซีดีหนังอิสระที่หาดูยากสำ�หรับคอหนังอีกด้วย
36
HOUSE & LIdo
จุดเริ่มต้น “เฮ้าส์อาร์ ซีเอ” “เฮ้าส์อาร์ ซีเอ” เกิดจากการรวมตัวกันของกลุ่มคนรักหนังอย่าง “ยุทธนา บุญ อ้อม” “พงศ์นรินทร์ อุลิศ” “พรชัย วิริยะประภานนท์” และ “ชมศจี เตชะรัตน ประเสริฐ” โรงหนังเปิดวันแรกเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ.2547 ย้อนกลับไปเมื่อ 10 ปีก่อน จุดเริ่มต้นกว่าจะมาเป็น “เฮ้าส์อาร์ซีเอ” “นภสร แย้มอุทัย” ผู้จัดการโรงหนังเล่าว่า หนังอิสระในประเทศไทยกำ�ลังบูม เวลาที่ค่ายหนัง เวลาไปซื้อหนังใหญ่หรือหนังในกระแสที่จะเอามาฉาย จะมีการแถมหนังเล็กหรือหนัง อิสระประเภทนี้มาด้วย ตอนนั้นค่ายหนังใช้วิธี ไปทำ�ขายเป็นวิดี โอ และได้มีการมาคิด ต่อว่าสามารถทำ�อะไรได้ต่อไปอีก จึงตัดสินใจเอาเข้าฉายโรง ในเวลานั้นมีสองค่ายที่ทำ� คือ นนทนันท์กับสหมงคลฟิล์ม ครั้งแรกที่เริ่มฉายโรง ก็ ใช้วิธีตระเวนฉายทีวีก่อน จน เริ่มไปประจำ�อยู่ที่เวิลด์เทรด จากนั้นก็ ได้ ไปฉายจริงๆจังๆที่ลิ โด้ แต่พื้นที่มันก็ยังไม่ ชัดเจน เพราะสำ�หรับลิโด้จะมีฉายหนังใหญ่หรือหนังในกระแสอยูด่ ว้ ย ก็เลยเกิดการคุย กับผู้บริหาร เกี่ยวกับโรงหนังที่ฉายหนังอิสระเฉพาะจริงๆ กว่า10ปีที่ผ่าน โรงหนังแห่งนี้ผ่านร้อนผ่านหนาวและยังคงเปิดฉายหนังนอก กระแสสำ�หรับคอหนัง ถึงแม้รายได้จากการฉายหนังจะเสมอตัวมาตลอด เขาเล่าให้เราฟังว่า ปีที่แล้วเป็นปีแรกที่เฮ้าส์ ได้กำ�ไร ที่ผ่านมาเสมอตัวมาโดย ตลอด อาจจะขาดทุนบ้าง แต่เฮ้าส์จะใช้วธิ กี ารประหยัดต้นทุนทุกอย่าง ทีน่ จี้ า้ งพนักงาน แค่ 4 คน การใช้จ่ายทุกอย่างก็จะประมาณต้นทุน รายรับ-รายจ่ายเสมอ และใช้วิธีขาย โฆษณาเป็นสปอนเซอร์เป็นส่วนเสริม แต่เมื่อเวลาผ่านไปผู้สนับสนุนเขาเปลี่ยนนโยบาย ก็ต้องถอนไป เฮ้าส์เข้าสู่ยุคมืดอยู่ช่วงนึง อย่างไรก็ตาม รายได้อีกส่วนหนึ่งนั้นมาจาก การใช้พื้นที่ ในการจัดงานต่างๆ การขายตั๋วจึงเหมือนเป็นงานอดิเรกสำ�หรับที่นี่
37
HOUSE & LIdo
โรงหนังไร้โฆษณา นอกจากการฉายหนังอิสระทีเ่ ป็นจุดยืน อีกสิง่ หนึง่ ทีท่ �ำ ให้ “เฮ้าส์อาร์ ซีเอ”แตก ต่างจากโรงหนังทั่วๆไปคือ การไม่มีการโฆษณาก่อนเริ่มการฉายหนังเหมือนอย่างที่เรา คุ้นชินเวลาดูหนังตามโรงหนังทั่วไป “ เราก็อยากมีนะ ไม่ ใช่ ไม่อยาก แต่คำ�ถามมันจะเริ่มด้วยมีคนดูกี่คน แค่นี้ก็จบ แล้ว เขามองแค่คนเห็นเท่าไหร่ ”นภสรกล่าว ปฎิเสธไม่ ได้ว่าในยุคปัจจุบัน วงการธุรกิจและอุตสาหกรรมล้วนมี โฆษณาเข้า มาเกี่ยวข้อง และมักแทรกซึมอยู่ทุกที่แบบที่วา่ ไม่ทันได้รู้ตัว ไม่ว่าเราจะกินข้าว ดูหนัง ฟังวิทยุโทรทัศน์ หรือเดินช็อปปิ้ง โฆษณาที่ ได้รับความสนใจ มักอยู่ ในที่ที่คนเห็นมาก หรือในที่สาธารณะ เพื่อสร้างความเป็นที่รู้จักหรือการบอกต่อปากต่อปาก หรือที่เรา เรียกกันว่า ‘กระแส’ “ วงการโฆษณาจะใช้วิธีแบบ อะไรที่คนเห็นเยอะสุด ซึ่งเราก็เข้าใจ แต่เขาไม่ ได้มองอะไรที่เป็นคุณภาพ ” แต่สำ�หรับต่างประเทศอย่างอเมริกา จะไม่มีการเลือกที่นั่งจองที่นั่งเหมือนกัน บ้านเรา ซึ่งทำ�ให้ถ้าใครอยากได้ที่นั่งดีคุณต้องเข้าไปก่อน อย่างไรก็ตาม ในแง่ของลูกค้าขาประจำ�ของโรงหนังแห่งนี้ มองว่าการที่ โรง หนัง “เฮ้าส์อาร์ ซีเอ” ไม่มี โฆษณาทำ�ให้ ไม่เสียเวลาและไม่เสียอรรถรสในการดูหนัง แต่ ก็รู้สึกไม่ดีตรงที่มันสะท้อนว่าโรงหนังไม่ ได้รับการสนับสนุน วันหนึ่งมันอาจไม่มี โรงหนัง อิสระดีๆฉายให้เราดูอีกต่อไป ส่วนหนึ่งต้องยอมรับว่า ในบ้านเราอุตสาหกรรมหนังอิสระยังไม่ ได้รับการ สนับสนุนทัง้ ในแง่ของการทำ�หรือการฉาย และคนส่วนใหญ่มกั จะมีความคิดว่าอิสระเป็น หนังที่ซับซ้อน ดูยาก
38
HOUSE & LIdo
“
มันก็ไม่ได้ดูยากขนาดนั้น เพียงแต่มันมีอะไร ซ่อนอยูเ่ ยอะ หนังอิสระมันไม่ใช่หนังสูตรสำ�เร็จทีส่ รุป ตอนจบให้ เหมือนมันต้องคิดตาม คนจะมองว่ายาก ก็ไม่เอาแล้ว คือเราไม่เปิด ถ้าเราเปิดใจและลอง จริงๆ เราอาจจะชอบก็ได้นะ
”
สำ�หรับคนทีส่ นใจหรืออยากหาข้อมูลเพิม่ เติม ก็สามารถหาดูได้จากแฟนเพจใน เฟสบุค๊ ที่ ใช้ชอื่ ว่า ‘House Rama Rca’ เพจนีจ้ ะคอยอัพเดทข่าวสารของหนังอิสระ รวม ถึงการบอกเล่าเรือ่ งราวเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยทีน่ า่ สนใจเกีย่ วกับหนัง หรือหากใครมีขอ้ สงสัย อะไรต่างๆเกีย่ วกับหนัง จะพูดคุยสอบถามก็สามารถติดต่อผ่านเพจได้ และยังมีกจิ กรรม แจกของรางวัลให้คอหนังได้ร่วมสนุก เราว่าสิ่งนี้ถือเป็นการสร้างปฎิสัมพันธ์กับกลุ่มคน ดูที่ ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆและถือเป็นช่องทางการโปรโมทหนังอิสระที่ตอบโจทย์ยุค สมัยปัจจุบันที่สุด
39
HOUSE & LIdo
9 เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ “เฮ้าส์ อาร์ ซีเอ” 1) โรงหนังแห่งนี้เปิดกิจการวันแรก เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ.2547 และ ในปีเดียวกับนั้นเอง เครื่องขายตั๋วถูกขโมย 2) นอกจากการฉายหนังแล้ว ในโรงหนังเคยถูกใช้เป็นพืน้ ที่ ในการแสดงเสิรต์ จัดนิทรรศการถ่ายภาพ และมีการเช่าพื้นที่จัดงานแต่งงานด้วย 3) หนังที่ ไม่ ใช่หนังอิสระเรื่องแรกที่เข้าฉายที่เฮ้าส์ คือ เรื่อง ตำ�นานสมเด็จ พระนเรศวร (องค์ประกันหงสา) 4) ในปี 2551 รักแห่งสยามเป็นหนังที่สร้างปรากฎการณ์ครั้งแรกกับการต่อ แถวซื้อตั๋วล่วงหน้ายางจากชั้น 3 ลงไปชั้น 1 และเป็นการขายตั๋วมาราธอน ที่สุดตั้งแต่ 11.00-20.00 น. กว่าแถวจะหมด 5) นิตยสาร happening ได้ ใช้พื้นที่ของเฮ้าส์ ในการจัดงาน happening@ house จนกลายเป็นงานประจำ�ปีของ happening ตลอดมา 6) ในปี 2555 หนังเรื่อง “36” สร้างปรากฎการณ์ผู้ชมล้นทะลัก จากตอน แรกทีก่ ะฉายแค่ 8 รอบกลายเป็นว่าเข้าฉายโปรแกรมปกตินานกว่าหนึง่ เดือน 7) ในปี 2556 หนังที่เฮ้าส์นำ�มาฉายเริ่มไม่ผลิตเป็นฟิล์ม ทำ�ให้เฮ่าส์ต้อง เปลี่ยนแปลงดดยการติดตั้งเครื่องฉายดิจิตอล และหนังเรื่อแรกที่ฉายด้วย เครื่องดิจิตอลคือ “stoker” 8) งาน “เล็ก + เต๋อ” ที่เป็นการเจอกันของไอดอลวงการอินดี้ “เล็ก gresy café” และ “เต๋อ นวพล” เป็นงานที่สร้างชื่อให้เฮ้าส์อีกหนึ่งงาน 9) หนังที่ทำ�เงินสูงสุด 3 อันดับแรก คือ 1.รักแห่งสยาม 2.Mary is happy, Mary is happy 3.Formula 17
HOUSE & LIdo
ท่ามกลางตึกสูงและห้างสรรพสินค้าต่างๆ ในย่านที่ผู้คนพลุ่กพล่านอย่าง สยามสแควร์ น้อยคนนักทีจ่ ะรูว้ า่ มี โรงหนังเล็กๆทีฉ่ ายหนังอิสระตัง้ อยู่ โรงหนังลิโด้ และ สกาล่า เป็นโรงหนังในเครือเอเพ็กซ์(APEX)ที่ฉายทั้งหนังในกระแสและหนังอิสระ จุดเริ่มต้น ‘ลิ โด้ สกาลา’ โรงหนังแห่งนี้ เกิดจาก คุณพิสิฐ ตันสัจจา ผู้ที่เคยประสบความสำ�เร็จจากการ ทำ�โรงหนังเฉลิมไทย และเป็นคนแรกทีน่ �ำ เข้าระบบการฉายหนังในแบบต่างๆ ด้วยความ สามารถของเขา คุณกอบชัย ซอโสตถิกลุ เจ้าของบริษทั เซาท์ อีสเอเซีย ก่อสร้าง จำ�กัด ซึ่งเป็นผู้เช่าที่ดินนี้ซึ่งเป็นพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชักชวนให้คุณพิสิฐมาร่วม งาน จึงเกิดเป็นธุรกิจโรงหนัง 41
HOUSE & LIdo
โรงหนังลิโด้ เปิดตัวในปี พ.ศ. 2511 ขณะนั้นมีที่นั่ง 1,000 ทีนั่ง ต่อมาในปี พ.ศ.2512 ได้มีการเปิดโรงหนังสกาลา จำ�นวนที่นั่ง 1,000 ที่นั่งเช่นกัน ย้อนกลับไปเมื่อปี 2545 เครือเอเพ็กซ์มีความคิดว่าอยากทดลองฉายหนังทาง เลือกให้กบั แฟนหนัง นอกเหนือจากหนังฮอลลีวดู้ หนังสตูดิโอทีฉ่ ายประจำ� จึงได้หาหนัง อิสระทีม่ กี ลิน่ อายของความแปลกมีความเป็นศิลปะ มีแง่มมุ บางอย่างทีซ่ อ่ นอยู่ หรือหนัง ที่มีแนวโน้มว่าจะได้รับรางวัลจากสถาบันต่างๆ (แม้บางสถาบันจะเป็นสถาบันเล็กๆ) ซึ่ง เป็นโปรเจ็กต์ของโรงหนัง โดยเริ่มจากการของอิหร่านเรื่อง “Children of Heaven” ปรากฏว่ากระแสตอบรับดีมาก ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาลิ โด้และสกาลาจึงฉายหนังอิสระ ควบคู่กับหนังในกระแสมาอย่างต่อเนื่อง หากถามถึงค่าตั๋วหนังนั้นในช่วงแรกที่เปิดกิการมีราคาตั้งแต่ 10-30 บาท วัน เวลาล่วงเลยค่าครองชีพเปลีย่ นแปลงไปตามยุคสมัย ปัจจุบนั ราคาตัว๋ หนังโรงหนังอิสระ แห่งนี้อยู่ที่ 100 บาท คุณพวงทอง ศิริวรรณ ผู้จัดการโรงหนังในเครือเอเพ็กซ์เล่าให้เราฟังว่า คน ที่มาดูหนังที่นี้ส่วนใหญ่เป็นนักศึกษา คิดว่าราคา 100 บาทเป็นราคาที่เหมาะสมที่สุด แล้ว แต่ตอนนี้ก็มีราคา120 140 ค่อยๆขึ้น เพราะว่าค่าครองชีพทุกอย่างมันขึ้นหมด แต่ ก็จะมีรอบเช้า 80 บาท วันเสาร์ – อาทิตย์ 10 โมงด้วย มันก็จะเป็นทางเลือกให้คนดู หนัง กว่า 10 ปีที่ผ่าน ลิ โด้และสกาล่าเริ่มเป็นที่รู้จักมากขึ้นในหมู่วัยรุ่นนักศึกษา หลายคนไม่รมู้ าก่อนว่ามี โรงหนังสวยๆอย่างสกาลาตัง้ อยู่ ในสยาม โรงหนังสกาล่ามี โดด เด่นในเรื่องของสถาปัตยกรรม มีความคลาสิค ที่มองกี่ครั้งก็ยังคงความสวยงามอยู่ นอกจากการฉายหนังแล้ว ชั้นล่างของโรงหนังลิโด้ ก็มีพื้นที่ขายของ ให้คนไปเดินเล่น ระหว่างรอดูหนังอีกด้วย
42
HOUSE & LIdo
การบริการที่ประทับใจ เรามี โอกาสได้ ไปดูหนังที่ลิโด้และสกาล่าอยู่บ่อยๆ สิ่งที่ประทับใจในโรงหนัง แห่งนี้ คือ การบริการ ไม่ว่าจะเป็นคุณลุงชุดสูทเหลืองที่คอยยิ้มรับคนที่มาดูหนัง คน เดินตัว๋ ทีค่ อยเช็คความเรียบร้อย คนจำ�หน่ายตัว๋ ทีพ่ ดู คุยกับลูกค้าอย่างเป็นมิตร หรือแม้ แต่ โอเปอเรเตอร์ที่คอยรับสายโทรศัพท์ มีครั้งนึงเคยโทรไปสอบถามเรื่องการติดต่อขอ สัมภาษณ์ ใจเราก็กล้าๆกลัวๆ แต่คุณลุงชวนคุยอย่างเป็นกันเอง พอมาเจอคุณลุงในวัน ทีน่ ดั สัมภาษณ์กบั ทางผูจ้ ดั การโรงหนัง คุณลุงหัวเราะใหญ่เลย ซึง่ เชือ่ ได้ว่าคนทีเ่ คยโทร ไปสอบถามรอบหนังจะต้องได้รับความเอาใจใส่และมุขฮาๆจากคุณลุงโอเปอเรเตอร์คน นี้ ไปอย่างแน่นอน แม้ว่าในปัจจุบันจะมีช่องทางการฉายหนังอิสระมากขึ้น ในโรงหนังขนาด ใหญ่ แต่ความอยู่รอดของโรงหนังอิสระนั้นก็มีความสำ�คัญ เพราะมันเป็นพื้นที่ ให้ คนทำ�หนังกล้าที่จะผลิตผลงานที่แตกต่าง และยังเปิดโลกการดูหนังของผู้คนอีก ด้วย
43
บทส่งท้าย ‘หนังอิสระวันนี้’
TO BE CONTINUE
TO BE CONTINUE
ในปี 2556 ที่ผ่านมา มีหนังไทยที่ทำ�เงินกว่าพันล้านอย่าง “พี่มากพระโขนง” ที่สร้างปรากฎการณ์และเรียกความคึกคักให้กับวงการหนังบ้านเรา แต่สิ่งที่น่ากังวล สำ�หรับหนังไทยคือ ในบรรดาหนังที่เข้าฉายยังมีหนังอีกหลายเรื่องที่ ไม่ประสบความ ความสำ�เร็จทางด้ายรายได้หรือเรียกได้ว่าขาดทุน ต้องยอมรับว่าในปัจจุบนั นี้ การดูหนังในโรงไม่ ได้เป็นทีน่ ยิ มเหมือนแต่กอ่ น ด้วย ความที่ค่าครองชีพสูงขึ้น ค่าตั๋วหนังก็มีราคาสูงขึ้น อีกทั้งในยุคที่ โลกออนไลน์ได้เข้ามา มีบทบาทในชีวิตของผู้คนอย่างมาก ทำ�ให้การจะหาหนังดูสักเรื่องหนึ่งนั้นคงไม่ ใช่เรื่อง ยากอีกต่อไป หลายคนจึงเลือกที่จะดูจาก youtube หรือการโหลดบิท เฉกเช่นเดียวกับ การมี MP3 ทีท่ �ำ ให้หลายคนเลือกทีจ่ ะโหลดเพลงจากเว็บไซต์ตา่ งๆ มากกว่าการอุดหนุน ผลงานจากศิลปิน สิง่ นีเ้ องทำ�ให้คนทำ�หนังต้องหาวิธรี บั มือกับการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ เพือ่ ความ อยู่รอด โดยเฉพาะหนังอิสระที่มีกลุ่มคนดูจำ�กัด อย่างไรก็ตาม มีหนังอิสระที่ประสบความสำ�เร็จในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา อย่าง ‘Mary is happy’ , ‘แต่เพียงผู้เดียว’ แต่ ในแง่ของรายได้หนังอิสระในปัจจุบันนั้นพบว่า ยังไม่มเี รือ่ งไหนทลายกำ�แพงหนังอิสระเรือ่ ง ‘ผูบ้ า่ วไทบ้าน’ ทีท่ �ำ รายได้ประมาณ 2 ล้าน บาทได้ สำ�หรับสิ่งที่ทำ�ให้รายได้ ไม่ประสบความสำ�เร็จเท่าที่ควร ส่วนหนึ่งเป็นเพราะ พื้นที่ ในการฉายหนังอิสระในบ้านเรานั้นมีน้อย รวมถึงหนังอิสระไม่มีทุนในการโปรโมท ในสื่อที่หลากหลาย ผู้คนยังเห็นไม่มากพอ สิ่งที่คนทำ�หนังอิสระพอจะทำ�ได้คือการใช้ ช่องทางโซเชียลมีเดียในการโปรโมทหนัง ซึ่งก็เป็นช่องทางที่ ไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ และเป็น ที่นิยมของคนทำ�หนังในยุคปัจจุบันมากที่สุด อย่างไรก็ตาม ความสำ�เร็จของหนังอิสระที่กล่าวมาข้างต้น ถือเป็นจุดเริ่มที่ดีที่ ทำ�ให้คนได้รู้จักหนังอิสระมากขึ้น และในระยะเวลา 2-3 ปีที่ผ่านมานี้ ถือเป็นช่วงเวลา 44
TO BE CONTINUE
ที่หนังอิสระในบ้านเรามีการเติบโตอย่างมาก มีหนังอิสระหลายเรื่องที่สร้างกระแสให้ เกิดความคึกคักในวงการหนังไทย ถึงแม้จะเป็นการฉายในวงแคบ แต่ก็ถือเป็นสัญญาณ ที่ดีที่ทำ�ให้คนเริ่มสนใจหนังอิสระมากขึ้น จากคำ�พูดปากต่อปากของคนที่ ได้ดูหนัง รวม ถึงอิทธิพลขอสื่อที่มีผลทำ�ให้หนังเป็นที่รู้จัก จนเกิดเป็นกระแสตามมา ในแง่ของคนทำ�หนัง “ทองดี โสฬส สุขม”มองว่า หนังอิสระนั้นไม่ ใช่หนังอาร์ต ที่ดูยากทั้งหมด เพียงแต่หนังอิสระนั้นไม่ ได้อยู่ ในระบบสตูดิโอ ถ้าให้แบ่งสัดส่วนหนัง อิสระจะมีเปอร์เซ็นต์เรื่องของศิลปะมากกว่าพาณิชย์ สิ่งนี้ทำ�ให้คนทำ�หนังอิสระไม่ สามารถฝากความหวังทางปากท้องไว้กับการทำ�หนังเพียงอย่างเดียวได้ คงเดช จาตุรันต์รัศมี ให้ความเห็นว่า การทำ�งานในสายอาชีพนี้นั้นไม่ ได้เท่อ ย่างที่คิด เพราะทั้งเหนื่อยและได้เงินน้อย การทำ�หนังอิสระจึงเป็นเหมือนการได้ปลด ปล่อยตัวเองมากกว่า การกำ�กับโฆษณา การกำ�กับเอ็มวี จึงเป็นอาชีพที่คนทำ�หนังส่วน ใหญ่ทำ�ควบคู่ ไปกับการทำ�หนังด้วย สำ�หรับการหารายได้จากช่องทางอืน่ ๆ ในเวลานี้ ได้มกี ลุม่ คนทำ�หนังจัดตัง้ บริษทั mosquito films distibution ทีเ่ ปรียบเหมือนความหวังของหนังอิสระในการส่งออกหนัง ไปยังต่างประเทศ เพื่อจัดจำ�หน่ายและยังเป็นการเผยแพร่สร้างชื่อเสียงอีกด้วย คงจะไม่ยากเท่าไหร่นกั หากเราจะลองเปิดใจเปิดรับสิง่ ใหม่ๆให้ชวี ติ ซึง่ พอ เราได้ลองจริงๆแล้ว เราอาจจะรักมันเลยก็เป็นได้
45
THANK YOU พ่อแม่ เพื่อน พี่น้อง ที่คอยช่วยเหลือ ให้กำ�ลังใจตลอดมา อาจารย์บรรยง สุวรรณผ่อง และคณะกรรมการตรวจจุล นิพนธ์ ที่ ให้คำ�แนะนำ�ดีๆ ตลอดการทำ�จุลนิพนธ์นี้ คุณทองดี โสฬส สุขุม, คุณคงเดช จาตุรันต์รัศมี, คุณชล สิทธิ์ อุปนิกขิต, คุณวิชชานนท์ สมอุ่มจารย์, คุณแม่น้ำ� ชากะสิก, คุณชาคร ไชยปรีชา, คุณนภสร แย้มอุทัย, คุณ พวงทอง ศิริวรรณ, คุณสรยศ ประภาพัน ที่ ให้ข้อมูลใน การสัมภาษณ์เพื่อประกอบงานเขียน พี่เต๋อ นวพล ธำ�รงรัตนฤทธิ์สำ�หรับภาพประกอบ พี่กวง Hamburger ที่คอยช่วยเหลือและให้คำ�ปรึกษา อาจารย์ศาลวัต บุญศรี ที่ ให้คำ�แนะนำ�ดีๆ