“การสงเสริมบทบาทผูหญิงในฐานะผูสรางสันติภาพ" "Strengthening the Role of Women Peacemakers"
มูลนิธยิ ุติธรรมเพื่อสันติภาพ Justice for Peace Foundation สิงหาคม 2556 August 2013 1
การเสริมสรางศักยภาพผูห ญิงในภาคใตของไทย
“เพิ่มพลังบทบาทผูหญิงสรางสันติภาพ”
สิงหาคม 2556
2
ขอบคุณ โครงการ “การเสริมสรางศักยภาพผูห ญิงในภาคใตของไทย” ดําเนินการโดยมูลนิธิยุติธรรมเพื่อ สันติภาพ โดยการสนับสนุนของศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต(ศอ บต.) โดยมีอังคณา นีละ ไพจิตร และชาเดียร มารฮาบาน เปนที่ปรึกษา และวิทยากร รายงาน “เพิ่มพลังบทบาทผูหญิงสรางสันติภาพ” เขียนโดยชาเดียร มารฮาบาน อังคณา นีละไพจิตร ประธานมูลนิธิยุติธรรมเพื่อสันติภาพ เปนผูอานทบทวนและแกไขรายงาน พิภพ อุดมอิทธิพงศ เปนผูแปลรายงาน มูลนิธิฯขอขอบคุณ ฯพณฯ นางคริสทีน ชราเนอร บูรเกเนอร เอกอัครราชทูตสวิตเซอรแลนดประจําประเทศ ไทยเปนอยางสูงสําหรับการเอื้อเฟอสถานที่ในการนําเสนอรายงาน มูลนิธิยุติธรรมเพื่อสันติภาพ ขอขอบคุณผูหญิงปาตานีซึ่งเขารวมในกระบวนการอบรมอยางเปดเผย ผูซึ่ง เสียสละเวลา มอบความไววางใจและใหขอมูลที่เปนประโยชนอยางยิ่งตอรายงานฉบับนี้
3
คํายอ ปตตานี หมายถึงจังหวัดปตตานี ปาตานี หมายถึงคําที่ใชเรียกผูคนที่อาศัยในจังหวัดปตตานี ยะลา และนราธิวาส หรือเรียกสามจังหวัด ชายแดนภาคใตรวมกัน CEDAW
หมายถึงอนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติในทุกรูปแบบตอสตรี
UN SCR 1325 CSO NGO
มติสภาความมั่นคงสหประชาชาติที่ 1325
ภาคประชาสังคม องคกรพัฒนาเอกชน
4
การเสริมสรางศักยภาพผูหญิงในภาคใตของไทย จุดมุง หมายของโครงการ เพื่อเสริมสรางศักยภาพใหผูหญิง และเพื่อใหความรูเกี่ยวกับความขัดแยง การเปลี่ยนผาน การ เจรจา และทักษะหารทําหนาที่คนกลางสําหรับผูหญิงมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต(ปตตานี ยะลา และนราธิวาส) สถานที่จัดการอบรม : โรงแรม ซีเอส ปตตานี จังหวัดปตตานี และโรงแรมอิมพีเรียล นราธิวาส จังหวัด นราธิวาส ระยะเวลาในการดําเนินการ : เดือนเมษายน ถึงเดือนสิงหาคม 2556 1. ขอมูลทั่วไป ความเปนมา 2. การอบรม • วิธีการอบรม • เนื้อหา • ทักษะการเจรจาและการทําหนาทีค่ นกลาง • กิจกรรมในการอบรม 3. บทสรุป ความเปนมา ในป 2550 มีการประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับใหมซึ่งมีบทบัญญัติคุมครองความเทาเทียมและการ ไมเลือกปฏิบัติระหวางเพศ ในลักษณะเดียวกับบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ทั้งยังมีการเสนอ บทบัญญัติใหม ๆ ที่มุงสงเสริมการเขาถึงความยุติธรรมโดยทั่วไปและโดยเฉพาะสําหรับผูหญิง หลักประกัน สิทธิที่เทาเทียมระหวางชายและหญิงที่มีอยูเดิม ความเทาเทียมเบื้องหนากฎหมายและการคุมครองที่เทา เทียมภายใตกฎหมาย และขอหามตอการเลือกปฏิบัติดวยเหตุผลเนื่องจากถิ่นกําเนิด เชือ้ ชาติ ภาษา เพศ
5
อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อ ทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมือง ไดมีการนํามาบรรจุไวในรัฐธรรมนูญใหมดวย 1 0
สถานการณความไมสงบที่เกิดขึ้นในจังหวัดชายแดนใตของไทย ซึ่งเพิ่มความรุนแรงขึ้นตั้งแตป 2547 ไดสงผลกระทบโดยตรงอยางตอเนื่องกับชาวมลายูมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต โดยเฉพาะ
ผูหญิงที่ตองเผชิญกับความรุนแรงจากเหตุการณความไมสงบ ปญหาความไมเปนธรรม และความรุนแรง เชิงโครงสรางในรูปแบบตางๆ ไมวาจะเปนความรุนแรงในครอบครัว ปญหายาเสพติด ความไมเปนธรรมใน การกระจายรายได ความยากจน ปญหาความมัน่ คงทางอาหาร หรืออืน่ ๆ สิ่งตางๆเหลานี้ทาทายตอ บทบาทของผูหญิงในครอบครัวในฐานะที่มีหนาที่ตองดูแลครอบครัว และอบรมเลี้ยงดูบุตร โดยเฉพาะ ผูหญิงซึ่งอยูในสถานะของผูที่สูญเสียหัวหนาครอบครัว และจําเปนตองพลิกผันบทบาทของตัวเองมา รับผิดชอบและทําหนาที่ผูนําครอบครัว ผูหญิงจํานวนมากตองพลิกบทบาทของตนเองจากการทําหนาที่ของภรรยา หรือลูกสาวมาเปนผูนํา และเปนหัวหนาครอบครัว ผูหญิงเหลานี้หลายคนตองหันมาศึกษากฎหมายพิเศษฉบับตางๆ ไมวาจะเปน กฎอัยการศึก พระราชกําหนดการบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 หรือกฎหมายแพง หรือ อาญา ที่บังคับใชอยูทั่วไปทั้งที่พวกเธอมีความรูนอย โดยเฉพาะทักษะการอานและเขียนภาษาไทย พรอมๆ กับการตองแบกรับภาระทางเศรษฐกิจในฐานะที่ตองทําหนาที่หัวหนาครอบครัว ทั้งที่พวกเธอไมมีโอกาส ไดรับการศึกษา และการประกอบอาชีพที่มั่นคง ผูหญิงหลายคนตองเปนผูแบกรับภาระในครอบครัวหลังจากที่สูญเสียสามี นอกจากนี้หากเปน กรณีที่สามีบาดเจ็บ หรือพิการ ทําใหหญิงที่เปนภรรยาตองรับภาระครอบครัว แมผูหญิงกลุมนี้จะไดรับการ ชวยเหลือจากรัฐ แตก็ยังไมเพียงพอ เพราะสภาพครอบครัวที่มีบุตรหลายคน และผูหญิงเองสวนใหญมี ความรูนอย ไมสามารถทํางานที่มีรายไดมากพอที่จะดูแลครอบครัวไดอยางเต็มที่ โดยเฉพาะการให การศึกษาแกบุตร มีผูหญิงอีกหลายคนที่พอ สามี หรือพี่ชาย ตองหลบหนีเจาหนาที่ โดยทิ้งครอบครัวใหอยูตามลําพัง โดยพวกเธอมักถูกเจาหนาที่คอยติดตาม สอบถาม หรือมีมาตราการกดดันตางๆเพื่อใหเธอบอกที่อยูข อง สามี พอ หรือพี่หรือนองชาย บางครั้งผูหญิงเหลานี้ถูกนําไปควบคุมตัวยังคายทหารเพื่อใหเธอบอกที่อยูคน 1
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 5 และ 30 6
ใกลชิด หรือขอมูลของคนในครอบครัวซึ่งเจาหนาที่สงสัยวาเปนผูกอความไมสงบ โดยผูหญิงบางคนซึ่งมีลูก ที่ยังเล็ก เมื่อถูกควบคุมตัวในคายทหาร พวกเธอจําเปนตองนําลูกเขาไปในคายทหารนั้นๆดวย 2 1
อยางไรก็ดี ภายใตความขัดแยงและความรุนแรง ทั้งหญิงและชายตางมีความสิทธิเสมอภาคในการ มีสวนรวมในกระบวนการแกไขความขัดแยง ในฐานะภาคสวนที่สําคัญและแข็งแรงในกระบวนการ สันติภาพ ผูหญิงจึงจําเปนตองถูกรวมเขาไปในกระบวนการนี้ รวมถึงมิติเพศสภาพตองไดรับการยอมรับ ใน ทุกๆกระบวนการทางประชาธิปไตย และความชอบธรรมในการสรางสันติภาพที่ยั่งยืน มีความจําเปนตอง สนับสนุนใหทั้งชายและหญิงมีสวนรวมอยางเทาเทียม การสรางสันติภาพและกระบวนการฟนฟูหลังความ ขัดแยงจําเปนตองรวมเสียงของผูหญิงในการจัดการกับรากเหงาของปญหาความขัดแยง และเพื่อการสราง ความเปลี่ยนแปลง ทั้งทางโครงสรางและความสัมพันธตางๆทางสังคมภายหลังความขัดแยง
วิธีการอบรม มีการตัง้ คําถามมากมายระหวางการอบรมเกี่ยวกับวิธกี ารอบรมทีผ่ เู ขารวมหลายคนไมคุนเคยกับ การศึกษาและการเรียนรูผานประสบการณ จึงมีการอธิบายวิธีการเรียนรูอยางมีสวนรวมโดยใชทั้งการวาด ภาพ การแสดงบทบาทสมมติ และการใชอุปกรณเสริมตาง ๆ กลุมอบรมเปนสนามแรกของการทดลองและ การสังเกต (Paolo Freire, Augusto Boal) การอบรมพัฒนาขึ้นมาจากประสบการณและคําถามของ ผูเขารวม ซึ่งพยายามเอาชนะขอจํากัดของตนเองและพัฒนามุมมองใหม ๆ ใหความสําคัญอยางยิ่งตอ ทักษะ เปนเหตุใหพยายามกระตุนใหผูเขารวมมีบทบาทอยางสําคัญในระหวางการอภิปราย อีกวิธีการหนึ่งที่ใชเรียกวา เรื่องเลาสาธารณะ (public narratives) ผูเขารวมเลาเรื่องราว ประวัติศาสตรของจังหวัดชายแดนภาคใต และการตอสูของพวกเธอทามกลางความขัดแยงและความ แตกแยกในสังคม จากนั้นจึงนํามุมมองดานประวัติศาสตรของพื้นที่ตนเองและพื้นเพความเปนมาของ ผูเขารวม มาพัฒนาเปนพื้นฐานของการอบรม การทําเชนนี้ชวยใหผูเขารวมตระหนักวาจะเดินหนาตอไปทั้ง สังคมไดอยางไร มารแชล แกนซ (Marshal Ganz) ศาสตราจารยแหงสถาบัน Harvard Kennedy School ไดนําแนวคิดของการเลาเรื่องตอสาธารณะมาใชโดยผานองคประกอบสามประการ ไดแก
2
รายงานมูลนิธิยุติธรรมเพื่อสันติภาพ มีเด็กที่ถกู นําตัวไปพรอมกับแมเพือ่ ควบคุมที่คายทหารแหงหนึ่งในจังหวัดปตตานี มีอายุนอ ยที่สดุ
เพียง 1 ขวบเศษ 7
• เรื่องเลาของตัวเอง : ทําไมเราจึงถูกกลาวถึง และเราถูกกลาวถึงอยางไร • เรือ่ งของเรา : กลุมผูมีสวนไดสวนเสีย ชุมชน และองคกรของเราที่มีเปาประสงค เปาหมายและ วิสัยทัศนรวมกันเปนอยางไร • เรื่องของปจจุบัน : ความทาทายที่ชุมชนเผชิญอยู สิ่งที่ตองตัดสินใจ และความหวังที่ตองการจะ เปน 3 การอบรมไดรับการออกแบบสําหรับกลุมเปาหมายโดยแบงออกเปนสี่สวน ไดแก 2
ก. ผูหญิงมุสลิมและความขัดแยง สะทอนแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับความขัดแยงและแนว ทางแกไขความขัดแยงที่เสนอ ในกรณีนี้จะเนนแนวทางดานศักดิ์ศรี (dignity approach) ข. ผูหญิงมุสลิมและสิทธิพลเรือนของฉัน อธิบายถึงบริบทของสิทธิพลเรือนในไทย ซึ่งมีสวน เกีย่ วของกับความขัดแยง ค. ผูห ญิงมุสลิมและการมีสว นรวมในกระบวนการสันติภาพ ใหภาพโดยสังเกตถึงวิธกี าร สนับสนุนกระบวนการสันติภาพ อยางเชน การเขารวมในการเจรจาเพื่อสันติภาพ โดยผานการเจรจาและ การไกลเกลีย่ ง. ผูหญิงมุสลิมกระตุนคนอื่น อธิบายวาเราจะสามารถทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญได โดยการกระตุนใหบุคคลอื่นเขารวมการสานเสวนา และโดยผานการสรางพันธมิตร รวมทั้งเครือขายได อยางไร การอบรมในลักษณะเชนนี้เปนสิ่งที่จําเปนอยางยิ่งสําหรับจังหวัดชายแดนภาคใต ทั้งปตตานี ยะลา และนราธิวาส มากกวาจังหวัดอื่น ๆ สืบเนื่องจากความขัดแยงที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่องในพื้นที่ การอบรมจัด ขึ้นในภาษายาวีแตเอกสารการอบรมเปนภาษาไทย การทําเชนนี้เราพบวาชวยใหผูเขาอบรมสบายใจและ มั่นใจที่จะแสดงความเห็นและความรูสึกในการบรรยายเรื่องราวที่เกิดขึ้นในภาษาของตนเอง ก. การอบรม การอบรมครั้งแรกมีขึ้นระหวางวันที่ 3-5 เมษายน 2556 ที่โรงแรมซีเอส ปตตานี การอบรมครั้ง ที่สองมีขึ้นที่นราธิวาส และครั้งสุดทายที่ปตตานี
http://www.wholecommunities.org/pdf/Public%20Story%20Worksheet07Ganz.pdf
3
8
จํานวนผูเขาอบรมที่เปนผูหญิงอยูระหวาง 19-25 คน โดยตัวขาพเจาจะเปนผูนํากระบวนการใน ฐานะผูอบรมหลักและที่ปรึกษา อังคณา นีละไพจิตร ประธานมูลนิธิยุติธรรมเพื่อสันติภาพ กรุงเทพฯ เปนผู อบรมเสริม ในเบื้องตนกําหนดวา อังคณาจะเปนผูใหความรูกับผูเขารวมเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญไทย รวมทั้ง กฎบัตรที่เกีย่ วของอยางเชน ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights) มติคณะมนตรีความมั่นคงที่ 1325 และโดยเฉพาะอนุสญ ั ญาวาดวยการขจัดการเลือก
ปฏิบัติในทุกรูปแบบตอสตรี (Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination Against Women- CEDAW)
นอกจากนี้ สิ่งที่สําคัญเชนเดียวกันคือการสนับสนุนใหผูหญิงมุสลิมจากสามจังหวัดเขาใจถึง ประเด็นเหลานี้ และสามารถเปลี่ยนนโยบายระดับชาติใหเปนการปฏิบัติได ในเวลาเดียวกัน ในการอบรม จะมีการแสดงตัวอยางภาคปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสรางการเจรจา ทั้งนี้เพื่อชวยใหผูเขารวมตระหนักวาตนเอง ไมไดเปนแคสวนหนึ่งของกระบวนการ แตมีบทบาทอยางจริงจังในกระบวนการนั้น ผูเขารวมยังจะไดเรียนรู เครื่องมือที่ชวยในการทําแผนที่กระบวนการสานเสวนาหรือการเจรจา เพื่อใหทราบวาผูหญิงจะเขาไปมี บทบาทที่จุดใด สามารถเรียงลําดับความสําคัญของประเด็น และทราบวาผูหญิงจะมีสวนชวยสงเสริมการ เจรจาเพื่อสันติภาพอยางไร ในระหวางที่การอบรมดําเนินไป เราไดเห็นการแสดงออกดานอัตลักษณและการแบงแยกดานชาติ พันธุชัดเจนมากขึ้น เนื่องจากผูเขารวมมีความมั่นใจมากขึ้นดานความปลอดภัย การเก็บขอมูลเปนความลับ และความไมลําเอียงของผูอบรม เราตระหนักวาที่ผานมามีการจัดอบรมในลักษณะที่คลายคลึงกัน โดยเปน การจัดรวมกันระหวางชุมชนพุทธและมุสลิม ในระหวางการสังเกตการณกอนหนานี้ เราตระหนักถึงความ จําเปนเรงดวนที่จะตองอภิปรายเกี่ยวกับประเด็นปญหาที่เกีย่ วของกับชาวมุสลิมเชือ้ สายมาเลยโดยเฉพาะ เนื่องจากดังที่เราไดกลาวถึงขางตน เราจําเปนตองใชภาษาของตนเองเพื่อใหผูเขารวมสามารถบรรยายได อยางใกลเคียงกับความรูสึก และเพื่อใหสามารถรับฟงโดยใชบรรทัดฐานดานวัฒนธรรมแบบชาวมาเลย ผสมผสานกับคําสอนของศาสนาอิสลาม เพื่อเปนพื้นฐานที่จะทําความเขาใจพวกเธอ ทําใหเขาถึงสิ่งที่พวก เธอรูสึก สิ่งที่พวกเธอตองการทําใหสําเร็จ ความเปลี่ยนแปลงที่พวกเธอตองการ สิ่งที่พวกเธอตองการ แบงปน และสําคัญที่สุดคือภาพที่พวกเธอมองตนเองในปจจุบัน เราไดจัดการอภิปรายเพื่อวิเคราะหประเด็น ตาง ๆ การสานเสวนา และกิจกรรมเพื่อสะทอนความรูสึกภายในหลายประการ เพื่อชวยใหผูเขารวมได ทบทวนความคิดเหมือนกับกําลังอยูที่บานและในชุมชนของตนเอง แมจะเปนเรื่องที่ทาทายในชวงแรก 9
กอนที่จะเกิดความคุนเคยกัน เนื่องจากผูเขารวมยังมีความระมัดระวังเกี่ยวกับความปลอดภัยของตนเอง ความไววางใจเปนปญหาทาทายที่สําคัญและเปนพลวัตที่เราเห็นไดในระหวางการพูดคุยทุกครั้ง ในระหวางการฝกเลาเรื่องตอสาธารณะ ผูเขารวมแสดงความโกรธและความเสียใจมากมาย พวก เธอบอกวามีความเขาใจผิดอยางใหญหลวงเกี่ยวกับคนมุสลิมในหมูของคนไทย โดยคนไทยมักมองวาคน มุสลิมเปนผูกอการรายและลาหลัง ตามความเห็นของผูเขารวม ทัศนะที่ลําเอียงเชนนี้สงผลใหเกิดความ เกลียดชังและความโกรธแคนตอชาวมุสลิมในบรรดาพลเมืองไทยซึ่งสวนใหญเปนชาวพุทธ ในระหวางการสังเกตการณ เราพบวาศาสนาเปนประเด็นหลักที่นําไปสูความเกลียดชัง ทําใหเกิด ความแตกแยกมากขึ้นในชุมชน และการขาดการแลกเปลี่ยนระหวางวัฒนธรรม ทําใหขาดความเขาใจของ คนในสองฝายที่มีเสนแบงอยูตรงกลาง การตีความคําสอนในศาสนาอิสลามอยางสุดโตงมากขึ้นในบรรดาชาวมลายูมุสลิมในจังหวัด ชายแดนใต เปนหนึ่งในปจจัยที่กําหนดแนวคิดและองคความรูเกี่ยวกับศาสนาอิสลาม ซึ่งครั้งหนึ่งมีความ เปนกลางมากกวานี้ และเปนเหตุใหชาวมุสลิมสามารถอยูรวมอยางเปนเอกภาพและอยางอดออมตอเพื่อน บานที่ไมใชมุสลิม
หลายคนไมไดตระหนักวาการเปลี่ยนแปลงไปสูความสุดโตงทีละนอยซึ่งเปนผล
มาจากการขาดความเขาใจที่ลึกซึ้งตอศาสนาอิสลาม และการขาดโอกาสที่จะเรียนรู ยกเวนจากกรอบ ความคิดที่คับแคบของพอแมตนเอง ผูนําทางศาสนา (โตะอิหมาม) และโรงเรียนปอเนาะ ผูหญิงเองก็ปฏิบัติ ตนตามแนวจารีตที่เปนสวนหนึ่งของโครงสรางชุมชน ผสมผสานกับประสบการณที่ไดในทามกลางความ ขัดแยง เปนเหตุใหผูหญิงมีความขุนเคืองและไมไววางใจตอรัฐบาลอยางมาก โดยเฉพาะความเขาใจ เกี่ยวกับความขัดแยงที่เกิดขึ้น และวิธีการแกปญหา ผูหญิงบางคนยังคงตองพึ่งพารายไดจากการสนับสนุนของหนวยงานของรัฐหรือองคกรระหวาง ประเทศ ทั้งนี้เพื่อใหมีแรงสนับสนุนในชุมชนและเพื่อสรางความชอบธรรมใหกับบทบาทนําของตนเอง ดานลางเปนขอความที่ผูเขารวมเขียนขึ้นมา โดยมีการใชตัวยอของชื่อเปนอักษรเดียวตามที่ ผูเขารวมตองการ
10
Z- เราจะเชื่อใจรัฐบาลไดอยางไร ในเมื่อพวกเขากออาชญากรรม และมักลอยนวลพนผิดจาก ความเกลียดชังที่พวกเขาสรางขึ้นมา? เปนเหตุใหเราปฏิเสธไมยอมรับความชวยเหลือดานการเงิน หรือคาชดเชยใด ๆ จากรัฐ ผูหญิงมุสลิมในระดับนําที่เปนนักเคลื่อนไหวเคยบอกใหเราขอทุนจาก แหลงทุนตางประเทศหรือจากสถานทูต แตที่นาเศราคือ เมื่อมีการไดรับทุนมา พวกเรากลับไมได เงินทุนเหลานั้นยกเวนแตขอมูลบางอยาง ในขณะที่นักเคลื่อนไหวผูหญิงที่เปนชนชั้นนําก็ยังคงทํา แบบเดิมซ้ําแลวซ้ําอีก โดยไมไดแกปญหาที่รากเหงา และไมใหโอกาสพวกเราที่จะพูดในฐานะ เหยื่อของความขัดแยง รวมทั้งการเปนสวนหนึ่งของความขัดแยง พวกเราตองการพื้นที่ที่จะพูด นอกกรอบจากการเปน “เหยื่อ” ทางออกสําหรับปญหาของผูหญิงในจังหวัดชายแดนใตไมใชแค การสรางความเขมแข็งดานเศรษฐกิจ....แตหมายถึงการมีพื้นที่ที่จะเติบโต และการพูดในฐานะ ผูหญิงในจังหวัดชายแดนใต ซึ่งมีทั้งความเขมแข็งและความออนแอ
A- ความชอบธรรมเปนปญหาในชุมชนของเรา เราจะพูดกับพวกเขาไดอยางไร? พวกเขาไมใสใจ ตอการตอสูของเรา พวกเขาสนใจแตความปลอดภัยของตนเอง ฉันถูกจับหลายครั้งและถูก สอบปากคําโดยทหาร ไมมีเพื่อนบานคนไหนมาชวยเลย ฉันตองเดินไปคายทหารกับแม ขาทั้งสอง ขางของฉันสั่น พยายามจินตนาการวาจะเกิดอะไรขึ้นกับเรา? ไมมีเพื่อนบานมาใหกําลังใจเมื่อเกิด เหตุการณเหลานี้กับครอบครัวของฉันเลย ตั้งแตนั้นมาฉันรูแลววา พวกเราหลายคนอยากเห็นการ เปลี่ยนแปลงในจังหวัดชายแดนใต แตเราก็กลัววาชีวิตจะไมปลอดภัย กลัววาจะไมมีขาวกิน สถานการณเชนนี้จึงบีบคั้นกับพวกเราทุกคน ….
H- สามีฉันถูกจับตัวไปจากบานเมื่อหาปกอน จนถึงทุกวันนี้ก็ยังไมรูวาเกิดอะไรขึ้นกับเขา ไมรูวา เขาอยูที่ไหน ไมรูวาจะเปนตายรายดีอยางไร แตที่นาหัวเราะคือทหารไทยเชื่อวาฉันมีขอมูลวาสามี อยูที่ไหน ฉันตองเลี้ยงลูกสามคนเพียงลําพัง โชคดีที่ฉันมีอาชีพที่ดีในฐานะที่เปนครู
B- รัฐบาลไทยไมเคยอนุญาตใหจังหวัดชายแดนใตมี “สถานะดินแดนที่ปกครองตนเอง” ไมวาใน ระดับใดเลย ไมเหมือนกับที่อาเจะหหรือมินดาเนา รัฐบาลไมตองการฟงพวกเรา พวกเขาคิดวา 11
ประเทศนี้เปนของตนเอง ไมเคารพตอสิทธิของชนกลุมนอยอยางพวกเราที่มีเชื้อสายมลายู และไม เคารพศาสนาของเรา เราไมตองการเกลียดชังชาวพุทธ เพราะพวกเขาเปนสวนหนึ่งของเราแตเรา รูสึกวานโยบายของรัฐบาลพยายามผลักใหเราตองทําเชนนั้น พยายามกดดันใหเราเลือกทางเลือก ที่เราไมตองการ
N- พวกเรากังวลเกี่ยวกับปญหาวัยรุนตั้งครรภและปญหายาเสพติดในหมูบาน เรารูวาไมไดเปน ปญหาเฉพาะบางครอบครัว แตเปนปญหาของสังคมโดยรวม เราจะมองหนาผูคนไดอยางไร.....ใน เมื่อผูหญิงมุสลิมหลายคนตั้งทองโดยยังไมไดแตงงาน กลายเปนความฉอฉลที่ทําลายจารีต วัฒนธรรม และคําสอนทางศาสนาของเรา
C- ฉันไมเคยเขาอบรมแบบนี้มากอน ในการอบรมแบบนี้ เรามีอิสระมากในการแสดงความเห็น และการเรียกรองเอกราชและศักดิ์ศรีของประชาชนของเรา ชาวมลายูมุสลิมตองทนทุกขทรมานมา มากแลว และผูหญิงเปนผูที่แบกภาระหนักสุด การอบรมแบบนี้ดีมากสําหรับเรา เพราะเปดโอกาส ใหเราไดแลกเปลี่ยนความเห็นและประสบการณ ทําใหเขาใจและไดเรียนรูเกี่ยวกับอุปสรรคและ ขอจํากัดของเราเอง ฉันหวังวาจะมีการอบรมแบบนี้อีกในหมูบานในอนาคต
D – เวลาที่ผูชายพูดเกี่ยวกับศาสนา เราไมรูวาจะตอบโตอยางไร เราไดแตยอมรับสิ่งที่ผูชายพูด ไดแตยอมรับความคิดของพวกเขาที่มีตอเรา เราจําเปนจะตองมีผูรูดานศาสนาที่เปนผูหญิง เรา จําเปนตองมีโอกาสพบกับผูที่เขาใจคําสอนของศาสนาอิสลามอยางแทจริง และพรอมที่จะพูดคุย กับพวกเราอยางเปดเผย แตจนถึงทุกวันนี้ ยังไมมีผูหญิงคนไหนที่มีความสามารถและมีความเปน ผูนําที่จะทําแบบนั้นได หลังชวงของเรื่องเลาสาธารณะ เราแบงเปนกลุมยอยเพื่อพูดคุยถึงปญหาในประเทศไทย มีการวาด รูปตนไมเพื่อเปนสัญลักษณของคนในจังหวัดชายแดนใต ใบไมแทนสิ่งที่เปนปญหาของพวกเรา และราก ของตนไมแทนสิ่งที่เปน “รากเหงาของปญหา” ผูเขารวมตระหนักวากิจกรรมแบบนี้เปดโอกาสใหพวกเธอ เขาใจปญหาโดยองครวม เดิมพวกเธอมองปญหาจากระดับผิวเผิน กิจกรรมนี้ยังชวยใหผูเขารวมสามารถ 12
ทําแผนที่ปญหา และมีเครื่องมือเพื่อวิเคราะหความขัดแยงในชุมชนของตนเองไดอยางเปนกลาง ผูเขารวม หลายคนใชความรูสึกอยากมีเอกราชเพื่อพูดถึงปญหาการเลือกปฏิบัติ พวกเธอยังพูดถึงความเสื่อมโทรม ดานศีลธรรมในสังคมของตนเอง อยางกรณีที่วัยรุนมุสลิมในจังหวัดชายแดนใตหลายคนเกี่ยวของกับ ปญหายาเสพติด และปญหาวัยรุนตั้งทองจํานวนมาก ในระหวางการอภิปราย ผูเขารวมแสดงทัศนะที่ แตกตางกันเกี่ยวกับปญหาวัยรุนตัง้ ครรภและปญหาทีเ่ กี่ยวกับยาเสพติด พวกเธอถกเถียงกันวาการ ตั้งครรภของวัยรุนกับปญหายาเสพติดเกี่ยวของกันอยางไรกับปญหาความขัดแยง และปรากฏการณทั้ง สองอยางอาจเปนผลลัพธที่เกิดขึ้นจากความขัดแยงเหลานี้ก็ได ผูหญิงสวนใหญที่เขาอบรมเชื่อวาปญหา ดานอัตลักษณและการยอมรับเปนสิ่งที่ไมเคยพูดถึง ไมเปนที่ยอมรับ และไมไดรับการแกไข ซึ่งเปนสวนหนึ่ง ของปจจัยที่นําไปสูความขัดแยง ผูหญิงเหลานี้ยังวิพากษวิจารณการอบรมเลี้ยงดูวัยรุนของครอบครัวมลายู มุสลิม โดยแตละครอบครัวมักไมคอยมีเวลาใหกับลูกอยางจริงจัง ไมมีเวลาพูดคุยในระหวางรับประทาน อาหาร หรือไมมีพยายามทําความเขาใจพวกเขา โครงสรางสังคมที่ลดหลั่นในวัฒนธรรมมลายูมุสลิมยังมี สวนสงเสริมระบบที่ชายเปนใหญอยางชัดเจน เนื่องจากพอเปนผูนําครอบครัวและเปนสัญลักษณของ ครอบครัวดวย แมวาสถานการณในปจจุบันจะผลักดันใหผูหญิงรับบทบาทผูนําครอบครัวมากขึ้น แตสังคม ก็ยังคงไมยอมรับความจริงขอนี้ เปนเหตุใหกิจกรรมและโครงการของเอ็นจีโอ(องคกรเอกชน)ทุกแหงในสาม จังหวัดมีเปาหมายที่เหยื่อ ไมวาจะเปนผูหญิงโสดและเด็กกําพรา และโครงการสรางความเขมแข็งใหกับแม เลี้ยงเดีย่ ว หรือกิจกรรมสาธารณกุศลอยางอื่น เหตุที่เอ็นจีโอเลือกกิจกรรมเหลานี้ไมใชเพราะความชอบพอ เปนพิเศษ แตมีเหตุผลที่ชัดเจนอยูเบื้องหลัง กลาวคือเพราะเปนพื้นที่เดียวที่ถือวา “ปลอดภัย” สําหรับ ผูหญิงในสามจังหวัด เนื่องจากภาพลักษณที่เปน “ผูหญิง” เปนแมที่ดี ภรรยาที่ดี และอื่น ๆ เปนเหตุให แทบไมมีความสนใจตอการจัดกิจกรรมทางการเมืองในระดับรากหญา ซึ่งจะชวยใหผูหญิงมีความชอบ ธรรมมากขึ้นในการมีบทบาทนําใหมดานสังคม และมีสวนรวมในการตัดสินใจในชุมชนของตนเอง การขาด มรดกความเปนผูนําในครอบครัวทําใหเกิดปญหากับผูหญิงเหลานี้ แมวาผูหญิงจะเปนผูหารายไดมาเลี้ยง ครอบครัว แตผูหญิงหลายคนก็ตองการหลีกเลี่ยงปญหาการขาดความเคารพตอสถานภาพทางสังคมของ ตน ไมตองการถูกมองวาเปนแมเลี้ยงเดี่ยวที่ตอสูเพื่อครอบครัว ไมตองการถูกมองวาไมสามารถดูแลตนเอง และลูกได เปนเหตุใหผูหญิงเหลานี้ตัดสินใจสงลูก โดยเฉพาะผูชาย ไปเรียนดานศาสนาในโรงเรียนปอเนาะ พอแมสวนใหญเห็นวาการเรียนดานศาสนาจะมีสวนชวยลูกชายเมื่อโตขึ้น และคาดหวังวาพวกเขาจะมี ความประพฤติดี สามารถดํารงชีวิตไดอยางปรกติเชนเดียวกับคนอื่น ๆ แมวาลูกของตนเองจะมาจากชีวิตที่ ยากลําบากก็ตาม 13
ผูเขารวมสวนใหญมักพูดถึง “Merdeka” (เอกราช) โดยเชื่อวาเปนวิธีการเดียวที่จะทําใหชาว มลายูมุสลิมในสามจังหวัดสามารถปกปองและรักษาอัตลักษณของตนเองได แตเมื่อขาพเจาถามพวกเธอ วาจะสามารถบรรลุเปาหมายนี้ไดอยางไรในทามกลางความยากลําบากมากมาย กลับไมมีใครที่สามารถ เสนอความเห็นได อีกเรื่องหนึ่งที่ผูเขารวมเลาใหฟง เกี่ยวของกับปญหาในหลายมิติที่เผชิญอยูและนาสนใจ ผูเขารวม บางคนที่รับเงินหรือรับคาชดเชยจากรัฐบาลจะถูกมองวาเปน “ผูออนแอ” เปนคนที่ไมจริงจังตอการตอสู เพื่อสิทธิของชาวมลายู ซึ่งสะทอนถึงความคลุมเครือเกี่ยวกับความเขาใจตอความเปนเอกราชในอุดมคติ ของตน ในแงหนึ่งพวกเธอมองวาไมมีวิธีการอื่นนอกจากการมองวารัฐบาลไทยเปนศัตรู แตในอีกแงหนึ่ง ใน ฐานะพลเมืองของไทย พวกเธอยอมรับความชวยเหลือหรือเงินชดเชยใด ๆ ที่ไดมาจากรัฐบาล ทั้ง ๆ ที่เปน ยุทธวิธีเพื่อเอาชนะจิตใจและความคิดของพวกเธอ และทําใหการตอสูของพวกเธอออนแอลง เทคนิคการเจรจาและการไกลเกลี่ย การอบรมครั้งนี้ครอบคลุมเทคนิคการเจรจาและการไกลเกลี่ย มีทั้งแบบฝกหัดและการอภิปราย ผูเขารวมแสดงความสนใจอยางมาก แมจะไมมีทักษะที่จะทําความเขาใจเทคนิคเหลานี้อยางแทจริง ผู อบรมนํากิจกรรมบทบาทสมมติ การพูดคุยในระดับลึก แบบฝกหัด และการแสดงทาประกอบ กิจกรรม เหลานี้สําคัญตอพวกเธอในฐานะผูสรางสันติภาพ ทําใหเกิดความคุนเคยตอกฎหมายระหวางประเทศและ ขบวนการสิทธิผูหญิงทั่วโลก ผูหญิงเหลานี้รูสึกวาตนเองถูกทอดทิ้ง ไมมีโอกาสรับรูสิ่งที่เกิดขึ้นในระหวางที่รัฐบาลมาเลเซียชุด ใหมทําหนาที่เปนผูอาํ นวยความสะดวกในการเจรจาระหวางกลุม BRN กับรัฐบาลไทย นาสนใจวาผูหญิง เหลานี้ไมรูสึกวาขอจํากัดที่ตัวเองตองเผชิญเชนนี้ อันที่จริงแลวเปนผลมาจากบรรทัดฐานในสังคมที่ตนเอง อาศัยอยู แมวาผูเขารวมสวนใหญแสดงความผิดหวังตอความเปนผูนําที่ถูกครอบงําโดยผูชาย เนื่องจาก ตนเองไมไดรับขอมูลเกี่ยวกับการเจรจาที่กําลังเกิดขึ้น แตผูเขารวมบางสวนเชื่อวาการที่ไมไดรับขอมูล เกี่ยวกับการเจรจาที่เกิดขึ้นเปนเรื่องที่ดีแลว เพราะผูหญิงมีหนาที่ดูแลครอบครัวใหปลอดภัยเทานั้น สรุป ปญหาขั้นพื้นฐานดานการพัฒนาในปาตานี คือการที่ชุมชนมุสลิมปาตานีมองวาความชวยเหลือ ทุกอยางที่มาจากรัฐบาลไทย เปนการแกปญหาเพียงชั่วคราว แตในอีกดานหนึ่งของเหรียญ การที่รัฐบาล 14
ไทยไมพยายามพูดความจริงเกี่ยวกับความขัดแยงที่เกิดขึ้น กลายเปนปญหารายแรง และเปนเหตุใหชุมชน มุสลิมซึ่งมีความแตกตางดานศาสนาเห็นวา รัฐบาลไทยมองวาพวกเขาเปนศัตรูของรัฐ และเปนเหตุให สังคมชาวพุทธในไทยไมรับฟงและไมพยายามเขาใจตอความทุกขยากของพวกเขา เมื่อมีการริเริ่มดานสันติภาพไมวาจะมาจากบุคคลหรือหนวยงาน รัฐบาลไทยมักมองวาเปนความ พยายามที่จะทําลายเอกภาพในประเทศ แทนที่จะมองวาเปนโอกาสที่จะนําไปสูการพูดคุยเกี่ยวกับความ เปนไปไดที่จะมีการสานเสวนาอยางเปนองครวมมากขึ้นในบรรดาชุมชนตาง ๆ ในแงภาคประชาสังคม ดูเหมือนจะแทบไมมีความพยายามที่จะกําหนดโครงสรางการมีสวนรวม ตั้งแตระดับลางขึ้นมา ไมมีการสรางแนวรวม ไมมีความพยายามที่จะพัฒนาการตอสูเพื่อประโยชนรวมกัน และไมมีผูนําแนวปฏิรูปที่เปนทางเลือกออกจากผูนําที่มีแตความฉอฉล ซึ่งผูนําที่มีความคิดปฏิรูปเหลานี้ที่ จะทําใหเกิดการตรวจสอบได และทําใหเกิดพลวัตทางการเมืองที่ดีในการตอสู ทั้งนี้เพราะแนวทางการ เคลื่อนไหวในสามจังหวัดมุงที่การสรางความเขมแข็งใหกับจุดยืนและผลประโยชนของทองถิ่นหรือบุคคล แตแทบไมมีความพยายามที่จะสงเสริมสถานภาพของผูหญิง เราแทบไมไดเห็นการใหความสําคัญตอ หลักการดานสิทธิมนุษยชนและการตรวจสอบธรรมาภิบาล ผูหญิงที่อยูในภาครัฐทุกระดับสามารถสงเสริม ความเทาเทียมดานเพศสภาพในโครงสรางการบริหารได แตในเวลาเดียวกัน พวกเขาก็เปนอุปสรรคตอ ความกาวหนาและการสรางความเขมแข็งใหกับผูหญิง ถาพวกเขามีความออนแอทั้งดานการเงิน ดาน เทคนิคหรือการเมือง พวกเขาก็จะไมสามารถเปนพันธมิตรที่มีประสิทธิภาพได ถาพวกเขาขาดการนําหรือ ลําดับความสําคัญของปญหาแตกตางไปมากจากหนวยงานดานผูหญิง พวกเขาก็จะกลายเปนปญหาและ ไมไดเปนทางออกแตอยางใด 4 ดวยเหตุดังกลาว การพัฒนาและสนับสนุนการประสานงานระหวางภาค 3
ประชาสังคมของผูหญิงกับโครงสรางของรัฐบาลจึงเปนเรื่องสําคัญ ไมเพียงเพื่อใหเกิดการดําเนินงานที่ดี แตยังชวยสังเคราะหประเด็นตาง ๆ และชวยใหเกิดความไววางใจมากขึ้น แมจะมีการอัดฉีดงบประมาณ จํานวนมากเพื่อการอบรมดานเพศสภาพในปาตานี แตที่ผานมายังไมมีความกาวหนามากนักเกี่ยวกับ ความตระหนักรูถึงสิทธิของตนเองของผูหญิง สถานการณในเชิงลบเชนนี้เกิดจากสาเหตุหลายประการ ประการแรก การอบรมและ/หรือการรณรงคดานเพศสภาพมักมีเปาหมายเฉพาะผูหญิง โดยผูชายไมมีสวน รวม ทั้ง ๆ ที่ผูชายควรเขารวมเพื่อที่จะไดเขาใจเกี่ยวกับสิทธิผูหญิงมากขึ้น ประการที่สอง เอ็นจีโอมุงเนนให 4
สิ่งที่ผูหญิงพูด: การมีสวนรวมและมติคณะมนตรีความมั่นคงที่ 1325 (What women say; Participation and UNSCR 1325)
(การประเมินกรณีศึกษา) Sanam Anderlini (2553) 15
ความชวยเหลือผูหญิงในชนบทโดยผานโครงการดานอาชีพ โดยถือเปนการแกปญหาเบื้องตน เพื่อชวยให สถานภาพดานการเงินดีขึ้น และเปนเหตุใหละเลยแงมุมดานการเมืองหรือสิทธิมนุษยชน เอ็นจีโอในพื้นที่ สวนใหญไมสามารถเจรจาเกี่ยวกับเนื้อหาการอบรมกับแหลงทุนระหวางประเทศได โดยดูเหมือนวาแหลง ทุนสนใจเฉพาะการใชจายเงินอยางถูกตองตามระเบียบขั้นตอนเทานั้น เปนเหตุใหมีการละเลยศักยภาพที่ แทจริงในพื้นที่ที่จะชวยสนับสนุนภาคประชาสังคมที่เขมแข็งและสนับสนุนประชาธิปไตยได แมจะมีปญหาทาทายดานการศึกษา ผูหญิงมลายูไดสรางกรอบจํากัดซึ่งเปนเหตุปองกันไมใหพวก เธอเติบโตทั้งในฐานะบุคคลและชุมชน ไมมีการประสานงานที่เขมแข็งระหวางฝายนํากับฝายที่อยูระดับราก หญา มีการใหความสําคัญเฉพาะแงมุมดานเศรษฐกิจที่เปนความหวังของผูหญิง โดยมีการละเลยอยาง สิ้นเชิงตอแงมุมดานการเมืองในกระบวนการตัดสินใจ สภาพการณเชนนี้สงผลใหผูหญิงคิดวาตนเองเปน เหยื่อที่ตองการความชวยเหลือและตองพึง่ พาอยางมากตอความชวยเหลือจากภายนอก ปญหาสําคัญอีกประการหนึ่งคือไมมีความพยายามที่จะเชื่อมโยงผูหญิงในชนบทกับผูหญิงที่ ทํางานในระดับชาติ ในการประชุม การสัมมนา หรือการอบรมซึ่งจัดที่กรุงเทพฯ มักจะมีการสงตัวแทน ผูหญิงคนเดียวกันไปทุกงาน สงผลใหเกิดความลมเหลวในการเสริมสรางศักยภาพและความเขมแข็งของ ผูหญิงซึ่งเปนสมาชิกหรือเกี่ยวของกับขบวนการ พวกเธอรูสึกวาไมสามารถเขาถึงการใหทุนของภาคประชา สังคม ยกเวนแหลงทุนจากรัฐบาลหรือมหาวิทยาลัย สงผลใหผูหญิงเหลานี้มีความรูสึกวาถูกทอดทิ้งใหตอง “แบมือขอเงิน” จากรัฐบาล การใหความสําคัญอยางมากตอการใหเงินชดเชยกลายเปนอุปสรรคตอ โครงการสงเสริมอาชีพที่ยั่งยืนหรือเปนอุปสรรคตองบประมาณการศึกษา เนื่องจากผูไดรับการชดเชย จํานวนมากมีการศึกษาคอนขางนอยและมีศักยภาพทางเศรษฐกิจต่ํา ทําใหไมสามารถบริหารจัดการ “ลาภลอย” กอนโตที่ไดมาเปนคาชดเชย และเปนเหตุใหปญหาที่แทจริงไมไดรับการแกไข ความทาทายที่ หลากหลายเหลานี้ทําใหเราตระหนักไดอยางชัดเจนวา อุปสรรคดานเศรษฐกิจไมไดเปนผลมาจากดาน เทคนิคหรือการเงินเทานั้น แตเปนผลมาจากการขาดการใหความรูดานการเมืองเพื่อใหผูหญิงเขาใจถึงสิทธิ ของตนเอง และสามารถมีบทบาทในแวดวงการเมืองได แมจะเปนความจริงวา ผูหญิงในสถานการณความ ขัดแยงตองการความชวยเหลือดานเศรษฐกิจเพื่อยกสถานะของตนเองในสังคม รวมทั้งการสนับสนุนให พึ่งพาตนเองดานจิตใจและความคิดได แตความชวยเหลือเหลานี้จะไรประโยชนหากขาดการสงเสริมการมี สวนรวมทางการเมือง นอกเหนือจากการขาดโอกาสดานเศรษฐกิจและการเมืองแลว ผูหญิงยังมักเปนผู แบกรับประสบการณที่เจ็บปวด 16
แมจะไมใชเรื่องงายที่จะเอาชนะปญหาทุกประการที่กลาวถึงขางตน แตจากการอบรมทําใหพบวายังมี วิธีการที่จะเอาชนะปญหาเหลานี้ไดทีละนอย โดยการปฏิบัติตามกระบวนการดังตอไปนี้ 1. พัฒนาชุดการอบรมที่สงเสริมการสานเสวนาและการทําความเขาใจระหวางกลุมที่แตกตางกัน ทั้ง ในดานสีผิว ชาติพันธุ ศาสนา ภูมิศาสตรหรือความแตกตางดานอื่น ๆ เราควรใชมติคณะมนตรี ความมั่นคงที่ 1325 และขั้นตอนการอบรมทักษะการเจรจาและการไกลเกลี่ย เพื่อดึงดูดความ สนใจของผูเขารวมที่มีพื้นเพหลากหลาย การกําหนดภาพการอบรมในอนาคตวาเปนวิธีการ สงเสริมการสานเสวนา อาจทําใหคนบางกลุมไมมาเขารวม ในตอนทายของการอบรม ผูเขารวม ควรรูสึกวาไดเรียนรูทักษะใหม ๆ ที่มีคุณคา และยังมีความเขาใจมากขึ้นเพื่อเอาชนะความแตกตาง ดานตาง ๆ 2. ผูหญิงมลายูมุสลิมควรไดรับโอกาสที่จะศึกษาความขัดแยงในที่อื่น ๆ ของโลก โดยควรจัดอบรมใน พื้นที่อื่น ๆ ซึ่งนาจะเปนสถานการณที่คอนขางสิ้นหวังสําหรับพวกเธอ การมีโอกาสเปรียบเทียบ ปญหาของตนเองกับปญหาในที่อื่น ๆ ในโลก จะทําใหผูหญิงเขาใจวาปญหาของตัวเองไมใชเรื่อง แปลกและไมไดเกิดขึ้นเฉพาะที่นี่ ควรมีการจัดการสัมมนาเพื่อเรียนรูจากบทเรียนโดยเฉพาะที่ เกี่ยวของกับประสบการณของผูหญิงในสถานการณความขัดแยง อยางเชน กรณีของอาเจะหและ มินดาเนาในฟลิปปนส นักเคลื่อนไหวผูหญิงชาวอาเจะหและโมโรก็เคยอบรมและกําลังเขารับการ อบรมในลักษณะนี้ในหลาย ๆ พื้นที่ของโลก ไกลจากประเทศของตนเอง ซึ่งชวยใหพวกเธอมีทัศนะ และมุมมองที่กวางไกลออกจากปญหาของตนเอง อันที่จริงเมื่อไมนานมานี้ มีการจัดการให เจาหนาที่ของขบวนการ BRN ไปศึกษาดูงานที่อาเจะห เพื่อเปนการเรียนรูจากบทเรียนที่นั่น แต ไมมีผูหญิงเดินทางไปดวยแมแตคนเดียว 3. ควรมี “โรงเรียน” การเมืองสําหรับผูหญิงมุสลิมในสามจังหวัด ซึ่งเปนการสรางความเขมแข็ง โรงเรียนดังกลาวควรเนนการอบรมดานประชาธิปไตย การตั้งพรรคการเมือง การใหความรูกับผูมี สิทธิเลือกตั้ง สิทธิสตรี กิจกรรมรณรงคกดดัน และความรูเกีย่ วกับการเมือง ไมควรมองวาคําวา “โรงเรียน” หมายถึงเฉพาะสถาบันการศึกษาที่ถาวร มีอาคารสถานที่และอาจารยเทานั้น แตอาจ หมายถึงการอบรมที่ใชเวลาสามวันถึงหนึ่งสัปดาห สําหรับผูเขารวมครั้งละ 20-25 คน ก็ได 4. การเจรจาสันติภาพควรมีสวนรวม และผูไกลเกลี่ยและรัฐบาลควรประกันใหผูหญิงจากภาคสวน ตาง ๆ มีสวนรวม ไมวาจะเปนตัวแทนที่เปนผูหญิงจากฝายตอตานรัฐบาล ฝายรัฐบาล และภาค ประชาสังคม ในกระบวนการเจรจาควรมีการปรึกษาหารือกับหนวยงานของผูหญิง รวมทั้งที่ 17
ปรึกษาดานเพศสภาพดวย นอกจากนั้น รัฐบาลและหนวยงานสนับสนุนระหวางประเทศที่อยู เบื้องหลังการเจรจาสันติภาพ ควรดูแลใหมีความปลอดภัยและการคุมครองผูหญิงที่มีสวนรวมใน การเจรจา 5. ผูไกลเกลี่ยและรัฐบาลควรกําหนดกลไกที่เปนมาตรฐานการปฏิบัติงาน เพื่อใหสามารถเขาถึง มี การปรึกษาหารือ และการรับฟงเสียงของผูหญิง โดยควรมีการตรวจสอบความเทาเทียมดานเพศ สภาพ และการประเมินผูไกลเกลี่ยและหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของ วามีการปฏิบัติตามมติคณะ มนตรีความมั่นคงที่ 1325 หรือไม สุดทาย ผูหญิงไมควรมีบทบาทเฉพาะประเด็นเพศสภาพ แตควร ไดรับการสงเสริมใหมีสวนรวมในประเด็น ความมั่นคง การเปลี่ยนผานหลังยุคความขัดแยงและ การเปลี่ยนผานดานการเมือง (Decommission, Demobilization and ReintegrationDDR) โดยจัดอบรมเพื่อเพิ่มศักยภาพและทักษะที่จําเปนใหกับผูหญิงดวย ความพยายามใหความรูดานการเมือง การอบรม และการจัดตั้งเปนองคกร ยังมีสวนชวยสงเสริม กระบวนการประชาธิปไตยในจังหวัดยะลา นราธิวาส และปตตานี ชวยใหประชาชนโดยทั่วไปและ โดยเฉพาะผูหญิงสามารถวิเคราะหแนวทางเพื่อแกไขความขัดแยงไดดีขึ้น ผูหญิงควรมีบทบาทสําคัญใน การไกลเกลี่ยความขัดแยง และในยุคหลังความขัดแยง ผูหญิงก็ตองมีบทบาทสําคัญในกระบวนการ เยียวยาสําหรับผูที่ตกเปนเหยื่อในระหวางความขัดแยง และควรสามารถแสดงความเห็นและความหวังตอ กระบวนการตัดสินใจดานการเมือง ควรมีความพยายามมากขึ้นที่จะสงเสริมการมีสวนรวมของผูหญิงใน พื้นที่สาธารณะ ทั้งนี้ตามความหวังของผูหญิงที่สะทอนจากดานลาง
18