ภาพในหลวงจากอาจารย์
His Majesty King Bhumibol Adulyadej of Thailand
PREHISTORIC KHORAT โลกดึกดำบรรพ์โคราช
PREHISTORIC KHORAT โลกดึกดำบรรพ์โคราช Supervisors : ที่ปรึกษา
Mr. Suwat Liptapanlop Chairman of Nakhon Ratchasima Rajabhat University Council Asst. Prof. Dr. Sauwanit Saunananda President of Nakhon Ratchasima Rajabhat University Asst. Prof. Dr. Pratueng Jintasakul Director of Northeastern Research Institute of Petrified Wood and Mineral Resources in Honor of His Majesty the King นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เศาวนิต เศาณานนท์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ประเทือง จินตสกุล ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินและทรัพยากรธรณีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เฉลิมพระเกียรติ
................................................
Compilers : ผู้เรียบเรียงเนื้อหา
Dr. Wickanet Songtham : ดร. วิฆเนศ ทรงธรรม Dr. Paul J. Grote : ดร.พอล เจ. โกติ Dr. Wipanu Rugmai : ดร. วิภานุ รักใหม่ Dr. Anisong Chitnarin : ดร. อานิสงส์ จิตนารินทร์ Dr. Rattanaphorn Hanta : ดร. รัตนาภรณ์ หันตา Mr. Jaroon Duangkrayom : อาจารย์จรูญ ด้วงกระยอม Ms. Krongkaew Jenjitpaiboon : นางสาวกรองแก้ว เจนจิตไพบูลย์
................................................
Photographer : ช่างภาพ
Dr. Pratchya Tepnarong : ดร. ปรัชญา เทพณรงค์
................................................
Artists : ช่างศิลป์
Mr. Praphas Chansom : นายประภาส จันทร์สม Ms. Mayuree Yosklang : นางสาวมยุรี ยศกลาง
................................................ Special Publication for Celebrations on the Auspicious Occasion of His Majesty the King’s 7th Cycle Birthday Anniversary 5th December 2011 and the World Conference on Paleontology and Stratigraphy 2011 (WCPS 2011) Northeastern Research Institute of Petrified Wood and Mineral Resources, Nakhon Ratchasima Rajabhat University, 184 Moo 7 Ban Krok Duean Ha, Suranaree, Mueang, Nakhon Ratchasima 30000 Thailand Phone +66 44 370739-41, Fax +66 44 370742 website: www.khoratfossil.org ISBN 978-974-316-463-7 จัดพิมพ์พิเศษสำหรับงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 และสำหรับการประชุมวิชาการโลกด้านบรรพชีวินวิทยาและลำดับชั้นหิน (WCPS 2011) จัดพิมพ์โดย: สถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินและทรัพยากรธรณีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 184 หมู่ 7 บ้านโกรกเดือนห้า ตำบลสุรนารี อำเภอเมืองฯ จังหวัดนครราชสีมา 30000 โทรศัพท์ +66 44 370739-41 โทรสาร +66 44 370742 เวบไซต์ : www.khoratfossil.org ISBN 978-974-316-463-7 November 2011
FOREWORD .............................. Mr. Suwat Liptapanlop
Chairman of Nakhon Ratchasima Rajabhat University Council
Welcome to Nakhon Ratchasima, Thailand, and to the World Conference on Paleontology and Stratigraphy 2011 (WCPS2011) which is being held to commemorate the auspicious occasion of His Majesty King Bhumibol Adulyadej’s 84th Birthday (7th Cycle) Anniversary on the 5th of December 2011. Nakhon Ratchasima, or “Khorat” as it is locally known, is the second most populous province in the nation, and the gateway to northeastern Thailand. Geographically, it is situated on the sprawling Khorat plateau covering almost the entire north-east region of the country, the area of which is well known for its richness in cultural heritage and decent people, and also its abundance in natural resources and agricultural potentials. The Khorat plateau is blessed with Forests, National Parks and Wildlife, Dams, and many historical sites. Its farmland produces essential food and raw materials for country, such as rice, sugarcane, corn, cassava, rubber and pulps. Underneath the plateau, important mineral and energy resources, such as rock salt, potash, and natural gas, have also been discovered. Geologically, the Khorat plateau is distinct area consisting mainly of non-marine sedimentary rocks of Mesozoic and Cenozoic era, and underlying marine limestones and clastic rocks of Permian age. This explains why there have been many discoveries of faunal and floral fossils in this northeastern region: marine animal and plant from the limestones, fresh-water organism and vertebrate including many species of dinosaurs and reptiles from the red beds, mammals including fossils of eight elephant genera from sandpits, and semi-precious petrified woods from gravel beds. Consequently, Nakhon Ratchasima may also be called the city of paleontology. As Chairman of the Nakhon Ratchasima Rajabhat University Council, whose Northeastern Research Institute of Petrified Wood and Mineral Resources (NRIP) is the co-host of this WCPS2011 event, we extend our warm welcome to all of you and wish you successful and productive deliberation and information exchange at this conference.
(Mr. Suwat Liptapanlop) Chairman of Nakhon Ratchasima Rajabhat University Council
Asst. Prof. Dr. Sauwanit Saunananda President of Nakhon Ratchasima Rajabhat University
The Nakhon Ratchasima Rajabhat University has been developing for over 88 years since initiated as a teacher training school in 1913. It developed from a teacher training school to a teacher college and then to Nakhon Ratchasima Rajabhat Institute and adopted as Nakhon Ratchasima Rajabhat University since 2004. From the beginning we produced numbers of teachers to resolve the critical shortage of teachers of the region. We have gradually upgraded from a school to a college and then to an institute and finally a university. Our responsibilities have thus increased with time from generation to generation. Teacher production is so far not our only task. Intensive research is also our plan to generate products for overall social needs. This is also the basic science as an important subject to contribute the scientific knowledge to every level of social needs. We have attempted to revolute scientific research not only at domestic level but also into the international arena. This is for learning, exchanging, and sharing our experience and technical knowhow to enhance our research capability to international level. We have so far conducted international research cooperation with countries such as China, Japan, France, United States, Laos and New Zealand. We strongly hope we will extend our cooperation all over the globe without scientific frontier.
(Asst. Prof. Dr. Sauwanit Saunananda) President of Nakhon Ratchasima Rajabhat University
Asst. Prof. Dr. Pratueng Jintasakul
Director of Northeastern Research Institute of Petrified Wood and Mineral Resources
Due to Khorat is a land rich in fossils with diversified species across a long span of geological time slices. They had been preserved in rocks dating back to as old as Permian, the time that was occupied by a marine environment. Living things at that time were the marine organisms living along the shallow sea on the continental shelf. After that in the Mesozoic Era, Khorat was a mainland with a river basin system where land and aquatic organisms living in. They were preserved in the rocks from layer to layer as records to reconstructing our Earth history. Dinosaurs and their contemporaneous creatures had been unearthed from these rocks. After the extinction of dinosaur and some other living things, Khorat entered a new world without dinosaurs. Mammals and flowering plants have substituted the previous extinct creatures and rapidly evolved. Over nine genera of proboscideans and their associations had been found in Khorat area. These fossils tell us about Khorat environments from period to period as a prehistoric Khorat. This book is telling us about geology and fossil records in Khorat. It is the result from a large number of fossil collections housed and displayed in our museum, the Northeastern Research Institute of Petrified Wood and Mineral Resources. These fossils in the musem are invaluable if they are systematically described and identified that needed expertise paleontologists who we are still in shortage. We have plan to produce many of them to work beside those fossils together with domestic and international paleontological cooperation. We are now keeping in touch with Chinese, Japanese, American, French, Loa, and New Zealander paleontologists to dealing with the left fossil materials both in the collection house and in the field. However, we have our plan to establish international curriculum in paleontology to produce our own paleontologists that will become true in the near future. Geology and paleontology are beyond the frontier that we need all jigsaws as smoking guns from all over the globe to reconstruct and rearrange our own Earth history as a basic scientific knowledge to learning and understanding other disciplines. This book “Prehistoric Khorat� provides you only the most updated geological and paleontological research from the Khorat area but further research is still crucially needed. This book is thus something like a form of progressive report couple with an indoor exhibition and oral presentations in the conference room.
(Asst. Prof. Dr. Pratueng Jintasakul) Director of Northeastern Research Institute of Petrified Wood and Mineral Resources, Nakhon Ratchasima Rajabhat University
PREHISTORIC KHORAT โลกดึกดำบรรพ์โคราช
CONTENTS ................................... สารบัญ
1. INTRODUCTION : คำนำ 2. GEOGRAPHY : ลักษณะทางภูมิศาสตร์ 3. GEOLOGY : สภาพทางธรณีวิทยา 4. PRIOR TO KHORAT : กว่าจะมาเป็นโคราช 5. PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช 5.1 PALEOZOIC : มหายุคพาลีโอโซอิก 5.2 MESOZOIC : มหายุคมีโซโซอิก 5.3 CENOZOIC : มหายุคซีโนโซอิก 5.4 PREHISTORIC HUMANS : มนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ 6. FOSSIL MUSEUM DEVELOPMENT : การพัฒนาพิพิธภัณฑ์ซากดึกดำบรรพ์ 6.1 PETRIFIED WOOD MUSEUM : พิพิธภัณฑ์ ไม้กลายเป็นหิน 6.2 KHORAT FOSSIL MUSEUM : พิพิธภัณฑ์ซากดึกดำบรรพ์โคราช 6.3 PALEONTOLOGICAL CURRICULUM DEVELOPMENT : การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนด้านบรรพชีวินวิทยา 7. CONCLUSIONS : สรุป 8. ACKNOWLEDGMENTS : กิตติกรรมประกาศ
REFERENCES : เอกสารอ้างอิง
INDEX : ดัชนี
10 11 13 15 21 21 27 36 48 50 50 52 56 57 59 60 64
1
INTRODUCTION ................................... คำนำ
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
“Khorat” is the general term of Nakhon Ratchasima Province situated in the SW of northeastern Thailand, about 256 kilometers from Bangkok along Phahonyothin Road and Mittaphap Road. It has a long history with various generations of human civilization. However, the name “Khorat” is also used for other applications such as “Khorat Plateau” for a landform of the region, “Khorat Basin” for a sedimentary basin or river basin, and “Khorat Group” for a series of rock formations of Mesozoic clastic rocks. The entitle “Prehistoric Khorat” is used herein to describe a long geological history of the province where tremendous geological evidence has been discovered including rocks, minerals, and fossils but is mainly focused on the fossils. Khorat is a great land with diversified geomorphologic landforms as a part of the Khorat Plateau and Khorat Basin. It contains both terrestrial and marine rocks and fossils as old as approximately 275 million years old as well as a long history of human civilizations tracing back over thousands of years. ................................................................................................
10
“โคราช” เป็นชื่อเรียกโดยทั่วไปของจังหวัดนครราชสีมา มีพนื้ ทีต่ งั้ อยูท่ างด้านตะวันตกเฉียงใต้ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ห่างจากกรุงเทพมหานครตามถนนพหลโยธินและถนนมิตรภาพ รวมเป็ น ระยะทางประมาณ 256 กิ โ ลเมตร เป็ น จั ง หวั ด ที่ มี ประวั ติ ศ าสตร์ ย้ อ นหลั ง ไปหลายยุ ค หลายสมั ย อย่ า งไรก็ ต าม คำว่า “โคราช” ได้ถูกนำไปใช้อีกหลากหลายความหมาย เช่น “ที่ ร าบสู ง โคราช” ซึ่ ง แสดงถึ ง ลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศของภู มิ ภ าค “แอ่งโคราช” หมายถึงแอ่งสะสมตะกอน และ “กลุ่มหินโคราช” หมายถึงชุดของชั้นหินตะกอนในมหายุคมีโซโซอิก ส่วนชื่อเรื่อง หนังสือ “โลกดึกดำบรรพ์โคราช” ในทีน่ ี้ จะมีเนือ้ หาเล่าเรือ่ งย้อนหลัง ไปยาวนานตามประวัติทางธรณีวิทยาของจังหวัดที่มีการค้นพบ หลักฐานจำนวนมาก อันประกอบด้วย หิน แร่ และซากดึกดำบรรพ์ แต่ในหนังสือฉบับนีจ้ ะเน้นทีเ่ รือ่ งราวของซากดึกดำบรรพ์เป็นสำคัญ
LatePermian
Early Cretaceous
Pleistocene World tectonic evolution from Late Permian to Pleistocene. วิวัฒนาการธรณีแปรสัณฐานของโลก จากยุคเพอร์เมียนตอนปลายถึงสมัยไพลสโตซีน
โคราชเป็ น ดิ น แดนมหั ศ จรรย์ มี ลั ก ษณะธรณี สั ณ ฐานที่ หลากหลาย ถือเป็นส่วนหนึ่งของที่ราบสูงโคราชและแอ่งโคราช เป็นดินแดนทีพ ่ บหินและซากดึกดำบรรพ์ทมี่ กี ารสะสมตัวทัง้ บนบก และในทะเล มีอายุมากถึง 275 ล้านปี และยังมีหลักฐานอารยธรรม มนุษย์ที่มีความเก่าแก่นับหลายพันปี
โคราชเป็ น จั ง หวั ด หนึ่ ง ในจำนวน 20 จั ง หวั ด ของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,805 ตารางกิโลเมตร มีจำนวนประชากรมากกว่า 2,565,000 คน และถือเป็น Khorat is one of the twenty provinces in the จังหวัดที่มีพื้นที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทยและมีจำนวนประชากร northeast of Thailand covering an area มากเป็ น อั น ดั บ สองรองจากกรุ ง เทพมหานคร มี ก ารแบ่ ง ส่ ว น of about 20,805 km2 with a population การปกครองออกเป็น 32 อำเภอ แม้จะมีการกล่าวถึงการแบ่งโคราช of over 2,565,000. It is the largest province of Thailand with เป็นจังหวัดที่เล็กย่อยลงไปนานหลายสิบปีแล้ว แต่ก็ดูเหมือนว่า a large population, second only to Bangkok, consisting of จะเป็นสิง่ ทีเ่ ป็นไปได้ยาก เนือ่ งจากชาวโคราชมีความรูส้ กึ ผูกพันกับ 32 districts. Even though the idea of separation of Khorat “ท้าวสุรนารี” หรือ “ย่าโม” ทีไ่ ด้รบั การยกย่องเชิดชูเกียรติจากชาวไทย into smaller provinces has persisted for many tens of years, ให้เป็นวีรสตรีที่กล้าหาญ เป็นผู้นำในการปกป้องเมืองโคราชเอาไว้ it seems to be difficult for the Khorat people. Since Khorat ได้ จ ากการรุ ก รานของกองทั พ ลาวในปี พ.ศ. 2369 จนทำให้ people have deep feelings of praise and appreciation to ท้ า วสุ ร นารี ก ลายมาเป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ที่ ยิ่ ง ใหญ่ ข องโคราช “Thao Suranaree” or “Grandmum Mo”, a brave lady, leader, ที่ชาวโคราชยังคงต้องการเป็นหลานย่าโมต่อไป และนั่นอาจเป็น who saved the city by harassing the invading Laotian troop, เหตุผลหนึง่ ทีโ่ คราชยังเป็นจังหวัดทีม่ พ ี นื้ ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ทีย่ งั ไม่สามารถ in 1826. Because Thao Suranaree is the great symbol of Khorat and Khorat people always want to be her grandchildren, that แบ่งแยกย่อยออกไปได้ในปัจจุบัน โคราชมีพื้นที่สูงจากระดับทะเลปานกลางประมาณ 130 ถึง is why Khorat is still an undividable province. The elevation of the area ranges from 130 to 1,326 เมตร มี ที่ ร าบอยู่ ท างด้ า นเหนื อ ส่ ว นทางด้ า นตะวั น ตก approximately 1,326 meters above mean sea level with flat ไปจนถึงด้านใต้ เป็นพื้นที่ภูเขาสูงๆต่ำๆสลับกันไป พื้นที่ระหว่าง area in the north and mountainous area in the south with ด้านเหนือและด้านใต้เป็นพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด มีแม่น้ำมูลเป็น undulating terrain between them. The Mun River is the main แม่ น้ ำ สายหลั ก ไหลจากอำเภอครบุ รี ไ ปทางตอนเหนื อ แล้ ว ไหล river flowing from Khon Buri district to the north and diverted เปลีย่ นทิศทางการไหลไปทางตะวันออกตัง้ แต่อำเภอเฉลิมพระเกียรติ to the eastward direction in Chaloem Phra Kiat district and ต่อเนือ่ งไปบรรจบกับแม่นำ้ โขงทีอ่ ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี further flowing to drain into the Mekong River in Khong Chiam, ซึ่งแม่น้ำมูลในโคราชนั้นมีแม่น้ำสาขาที่สำคัญ ได้แก่ ลำตะคอง Ubon Ratchathani. Tributaries of the Mun River in Khorat are ลำพระเพลิง ลำเชียงไกร ลำปลายมาศ และลำแชะ เป็นต้น Lam Takhong, Lam Phra Ploeng, Lam Chiang Krai, โคราชตั้งอยู่ในเขตร้อนมีภูมิอากาศแบบมรสุม ในรอบปีมี Lam Plai Mat, and Lam Sae. สองฤดูกาลอย่างชัดเจน ฤดูฝนอยู่ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือน Khorat is in the tropical zone with a monsoonal climate. ตุลาคม มีปริมาณน้ำฝนเฉลีย่ ระหว่าง 108 ถึง 222 มิลลิเมตร/เดือน There are two distinctive seasons annually, wet and dry. The ขณะที่ ฤ ดู แ ล้ ง ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยฤดู ห นาวและฤดู ร้ อ นอยู่ ใ นช่ ว ง rainy season is between May and October with precipitation ระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนเมษายน ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย between 108 and 222 mm/month, while the dry season, winter ระหว่าง 18 ถึง 64 มิลลิเมตร/เดือน มีปริมาณน้ำฝนรอบปีเฉลี่ย and summer, is between November and April with an average 1,044 มิลลิเมตร ภูมอิ ากาศทัว่ ไปมีอณ ุ หภูมอิ บอุน่ ถึงร้อนจัดระหว่าง precipitation between 18 and 64 mm/month. Average total 17 - 37 องศาเซลเซียส ป่าไม้มลี กั ษณะแปรผันจากป่าดิบแล้งเขตร้อน annual precipitation is about 1,044 mm. The temperature is ป่าเบญจพรรณจนถึงป่าดิบชื้นเขตร้อนตามชายฝั่งแม่น้ำสายหลัก mild to hot average lagely ranging from 17 to 37°C. The และพื้นที่ภูเขา สถิติป่าไม้ในปี พ.ศ. 2551 ระบุว่าโคราชมีพื้นที่ vegetation varies from tropical dry to mix deciduous forests in general to tropical moist forests along the main rivers and ป่ า ประมาณร้ อ ยละ 15.29 ของพื้ น ที่ จั ง หวั ด (สถิ ติ ก รมป่ า ไม้ mountainous areas. Forest area of the province is about 2553) มีป่าสงวนแห่งชาติ 29 แห่ง และอุทยานแห่งชาติ 2 แห่ง คือ 15.29% of the total province area, (2009 record), with 29 อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ และอุทยานแห่งชาติทับลาน national conserved forests and two national parks, Khao Yai National Park and Thap Lan National Park. .............................................................................................
ลักษณะทางภูมิศาสตร์
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
2
GEOGRAPHY ..............................
11
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
NAKHON RATCHASIMA PROVINCE ....................................... จังหวัดนครราชสีมา
12
Map of Khorat showing district locations. แผนที่โคราชแสดงตำแหน่งที่ตั้งอำเภอ
GEOLOGY ........................
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
3
13
สภาพทางธรณีวิทยา
Khorat is situated on the SW margin slope, or cuesta, of the Khorat basin comprising rocks that are oldest in the southwesternmost margin and younger towards the northeast. The oldest rocks are limestone, shale, and slate with an age as old as Permian. These Permian marine rocks are exposed as mountain ranges at the outermost margin of the basin and are unconformably overlain by the younger Mesozoic clastic rocks. The Mesozoic rocks in the Khorat consist of seven formations including Huai Hin Lat, Phu Kradung, Phra Wihan, Sao Khua, Phu Phan, Khok Kruat, and Maha Sarakham formations in ascending succession from the oldest Triassic to the youngest, Cretaceous, respectively (Boonnop, 2010). However, the ages of the rock formations have been interpreted differently depending upon materials used in age determinations. The Mesozoic rock formations are covered by Neogene and Quaternary unconsolidated sediments, especially gravel terrace deposits, with the Yasothon soil series on top (Löffler and Kubiniok, 1991). The geomorphologic landforms in the province and nearby areas are the results of Late Cenozoic tectonism of uplifting and gentle folding. Erosion and deposition have shaped the area into various landforms such as mountain ranges, intermontane valleys, table-land, cuesta, and peneplains with some wind gaps and water gaps across the mountain ranges, particularly water gaps where some dam sites are situated. Along the southern and southwestern margins there are some Triassic granite and granodiorite intrusions into the Permian country rocks generating some volume of massive marble, slate, and ore deposits. In the south, Khon Buri, Late Cenozoic basalt overlies the Khok Kruat Formation sandstone, covering an area approximately 1,400 km2. The basalt is characterized by grey to greyish black, fine-grained with intergranular texture. These volcanic rocks are composed of alkaline olivine basalt and hawaiite with less abundant basanite, tholeiite, and other rock types
Thao Suranaree statue at the heart of Khorat township. อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารีที่ใจกลางเมืองโคราช
(Barr and Macdonald, 1978; Zhou and Mukasa, 1997; Faure, 2001). A volcanic eruption had been affected by the crustal extension of the marginal Pacific tectonic domain of eastern China during the Cenozoic. As a result, lavas of Neogene and Quaternary ages erupted at scattered locations along the southern margin of the Khorat Plateau. These volcanic rocks of the Khorat Plateau resemble those of southern China in several ways. They formed under conditions of extensional tectonics in the Neogene and Quaternary from magma sources in the asthenospheric and lithospheric mantle. The magma differentiated by fractional crystallization without assimilation of crustal rocks (Faure, 2001). The rocks and sediments yield numerous fossils of vertebrates, invertebrates, plants, and traces that provide us clear enough pictures of the prehistoric background of the area of Khorat.
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
................................................................................................
14
โคราชตั้งอยู่ในพื้นที่เขาแบบเควสต้าหรือภูมิประเทศแบบ เขาอีโต้ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ของแอ่งโคราช ซึ่งประกอบด้วย หิ น ที่ มี อ ายุ แ ก่ ที่ สุ ด และที่ มี อ ายุ อ่ อ นกว่ า เรี ย งลำดั บ ไปทางด้ า น ตะวันออกเฉียงเหนือ หินที่มีอายุแก่ที่สุดเป็นหินปูน หินดินดาน และหินชนวนยุคเพอร์เมียน หินเหล่านี้เกิดจากการสะสมตัวใน ทะเลและโผล่ให้เห็นเป็นแนวเทือกเขาบริเวณขอบนอกสุดของแอ่ง และถูกปิดทับอย่างไม่ต่อเนื่องด้วยหินตะกอนมหายุคมีโซโซอิก ซึ่งในโคราชพบโผล่ให้เห็นทั้งสิ้น 7 หมวดหินด้วยกัน เรียงลำดับ จากด้านล่างสุดมีอายุอยู่ในยุคไทรแอสซิกและอ่อนไปทางด้านบน สุดทีม่ อี ายุอยูใ่ นยุคครีเทเชียส ได้แก่ หมวดหินห้วยหินลาด ภูกระดึง พระวิหาร เสาขัว ภูพาน โคกกรวด และมหาสารคาม (Boonnop, 2010) อย่างไรก็ตาม อายุของหมวดหินเหล่านี้ยังมีการวิเคราะห์ และตี ค วามหมายที่ แ ตกต่ า งกั น หมวดหิ น มหายุ ค มี โ ซโซอิ ก เหล่านี้ ถูกปิดทับด้วยตะกอนที่ยังไม่แข็งตัวมีอายุยุคนีโอจีนและ ยุคควอเทอร์นารี โดยเฉพาะอย่างยิง่ ตะกอนกรวดตะพักแม่นำ้ และ ชุดดินยโสธรที่ปิดทับอยู่ด้านบน (Löffler and Kubiniok, 1991)
ลักษณะทางภูมิสัณฐานของโคราชและพื้นที่ใกล้เคียงนั้น เป็ น ผลเนื่ อ งมาจากการแปรสั ณ ฐานในมหายุ ค ซี โ นโซอิ ก ตอน ปลายที่ก่อให้เกิดการยกตัวและการโค้งโก่งงอของชั้นหินเล็กน้อย ขบวนการกั ด เซาะและการสะสมตั ว ของตะกอนทำให้ พื้ น ที่ มี ภูมิลักษณ์ต่างๆกัน เช่น ภูเขา ร่องหุบระหว่างภูเขา ภูมิประเทศ รูปโต๊ะ เควสต้า และที่ราบลุ่ม และยังมีลักษณะของช่องเขาลมกัด และช่องเขาน้ำกัด โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่องเขาน้ำกัดนั้นมักเป็น บริเวณทีม่ กี ารสร้างเขือ่ นขวางกัน้ ช่องเขา เพือ่ พัฒนาเป็นอ่างเก็บน้ำ สำหรับประโยชน์ใช้สอย ตามขอบแอ่งด้านใต้และตะวันตกเฉียงใต้ มี หิ น แกรนิ ต ยุ ค ไทรแอสซิ ก ตั ด ผ่ า นหิ น ข้ า งเคี ย งยุ ค เพอร์ เ มี ย น ทำให้หินข้างเคียงเกิดการแปรสภาพกลายเป็นหินอ่อน หินชนวน และแหล่งแร่ต่างๆ ทางตอนใต้บริเวณอำเภอครบุรีมีหินอัคนีพุชนิด หินบะซอลต์มหายุคซีโนโซอิกตอนปลาย วางตัวอยูบ่ นหินทรายของ หมวดหินโคกกรวด ครอบคลุมพืน้ ทีป่ ระมาณ 1,400 ตารางกิโลเมตร หินอัคนีพเุ หล่านีม้ สี เี ทา สีเทาดำ เนือ้ ละเอียด มีรพู รุน มีสว่ นประกอบ ทางเคมีเป็นอัลคาไลน์ ประกอบด้วยแร่ผลึกแพลจิโอเคลส โอลิวีน ไคลโนไพรอกซีน และแร่ทึบแสง จัดอยู่ในพวกฮาวายไอต์ ทั้งนี้มี ลักษณะเป็นหินบะซาไนต์ โธลีไอต์ และเนื้อหินแบบอื่นๆ น้อย (Barr and Macdonald, 1978; Zhou and Mukasa, 1997; Faure, 2001) การประทุของหินภูเขาไฟเป็นผลเนือ่ งมาจาก การแผ่ขยายตัว ของเปลือกโลกที่ส่วนขอบของอาณาเขตการแปรสัณฐานแปซิฟิก ทางด้านตะวันออกของประเทศจีนในช่วงมหายุคซีโนโซอิก จากผล ดั ง กล่ า ว ลาวายุ ค นี โ อจี น และยุ ค ควอเทอร์ น ารี ไ ด้ ป ระทุ ขึ้ น มา กระจัดกระจายไปทั่วทางขอบด้านใต้ของที่ราบสูงโคราช หินอัคนีพุ บนที่ราบสูงโคราชเหล่านี้มีลักษณะเหมือนกับที่พบทางตอนใต้ของ ประเทศจี น ในหลายลั ก ษณะ เกิ ด ขึ้ น จากการยื ด ขยายตั ว ของ เปลือกโลกจากการแปรสัณฐานในยุคนีโอจีนและยุคควอเทอร์นารี ที่ มี ต้ น กำเนิ ด ของหิ น หนื ด มาจากชั้ น เนื้ อ โลกส่ ว นฐานธรณี ภ าค และธรณีภาคชั้นนอก หินหนืดนี้ได้เกิดการแยกตัวด้วยการตกผลึก แยกส่วนโดยไม่มกี ารผสมปนกับหินในชัน้ เปลือกโลก (Faure, 2001) ชั้นหินและตะกอนดังกล่าวได้เก็บรักษาซากดึกดำบรรพ์ หลากหลายประเภท ได้ แ ก่ สั ต ว์ มี ก ระดู ก สั น หลั ง สั ต ว์ ไ ม่ มี กระดูกสันหลัง พืช และร่องรอยต่างๆ ซึ่งถือเป็นหลักฐานที่ชัดเจนที่ จะวิเคราะห์ให้เห็นภาพโลกดึกดำบรรพ์ของโคราชได้อย่างเพียงพอ
4
กว่าจะมาเป็นโคราช
Thailand has been formed as a single mainland since the Late Triassic by amalgamation of two microcontinents, or terranes, namely Shan-Thai and Indochina. The Shan-Thai
Geological map of Northeastern Thailand แผนที่ธรณีวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (Geological Survey Division, 1987)
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
PRIOR TO KHORAT ......................................
(or Sibumasu) terrane covers the areas of Thailand in the north, west, south, and Gulf of Thailand with complicated continental crust extending from Yunnan in China, to Shan State in Myanmar, and down to the west of Malaysia. The Indochina terrane covers the areas of northeastern Thailand extending widely to Vietnam, Laos, Cambodia, eastern Malaysia, and Sumatra which had been rifted and separated from eastern Gondwana in the Devonian and became a composite terrane “Cathaysialand” with south China in the
15
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
Geological map of Khorat and geological cross section along Mittaphap Road through Khorat town, Ban Khok Kruat, Rock cutting site, Khao Yai Tiang, Pak Chong, and Muak Lek. แผนที่ธรณีวิทยาของโคราช และภาพตัดขวางทางธรณีวิทยา ตามถนนมิตรภาพผ่านเมืองโคราช บ้านโคกกรวด แหล่งหินตัด เขายายเที่ยง ปากช่อง และมวกเหล็ก (Boonnop,2010)
16
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
17
Nakhon Ratchasima
ha Ma akham Sar
Khao Yai Tiang (Lam Takhong)
Khao Chan Ngam
Plio-Pleistocene Deposits
Pak Chong
Sikhio
Muak Lek
Ban Khok Kruat
. Fm o Kh
t rua K k
m.
F
u Ph
an Ph
m.
F
o
Sa
u Kh
aF
m.
P
a hr
m. F n
W
iha
Ph
u
ad
r uK
F ng
n
i iH
a
Hu
m.
t La
Profileififrock rockformations formationsfrom fromPermian PermiantotoMesozoic Mesozoic rocks along Profile rocks along MittaphapRoad Roadfrom fromMuak MuakLek LektotoNakhon NakhonRatchasima Ratchasima Mittaphap
.
Fm
Pe
r
an mi
ks
c Ro
te ni ite ra ior g d ic o ss n ia ra Tr nd g a
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
18
Permian (Metcalfe, 2009). The two terranes had been separated by a Tethyans seaway prior to amalgamation by the Late Triassic. A suture zone developed after amalgamation has been conventionally accepted as a narrow zone of ophiolite in the middle of the country extending from Jinghong in Yunnan, China, down to Nan, Uttaradit, Chaiyaphum, Nakhon Ratchasima, Sa Kaeo, and across the Gulf of Thailand to Malaysia (Bunopas, 1982; Hada et al., 1999). However, this suture zone has recently been reconsidered as a closed back-arc basin and the Sukhothai zone is redefined as the core part of the Permian island-arc system, - including the Linchang, Sukhothai and Chanthaburi terranes, developed on the western margin of the Indochina terrane. Additionally, a new main suture is declared to be to the west defined by rocks deposited in the DevonianTriassic Palaeo-Tethys Ocean extending from ChangningMenglian, Chiang Mai/Inthanon, and Bentong Raub suture zones. This suture zone contains ophiolitic mélanges, volcanics, shallow marine carbonates, and deep-sea sedimentary rocks with substantial pelagic cherts largely completely developed by Late Triassic (Sone and Metcalfe, 2008; Metcalfe, 2009). However these two different suture-zone models need further confirmation by more field investigations and research. The suture is remarkably differentiated geologically from the two nearby microcontinents by a long narrow massif of mafic to ultramafic rocks. The amalgamation had generated tectonic forces including tensional stress, compressional stress, and shearing stress giving rise to metamorphism and deformations like folds, orogenies, faults, joints, and cracks. Thailand has become a part of the Eurasian supercontinent, which has been affected by Himalayan orogeny since the Early Cenozoic forming a part of extrusion tectonics in a southeasterly direction along left-lateral Red River fault. This extrusion is the result of forces generated by the collision between the Indian subcontinent and Eurasian supercontinent (Tapponnier et al., 1982) shaping Thailand’s geological features as seen nowadays as well as the Khorat Plateau in northeastern Thailand. The Khorat Plateau, as a part of the Indochina terrane, has been formed by continuous uplifting for a long period of time probably throughout the Late Cenozoic generating
some chains of mountain ranges such as Phu Phan, Dong Phaya Yen, Sankambeng, and Phanom Dong Rak. The uplift has formed the Khorat plateau with two basins inside, Sakon Nakhon basin in the north and Khorat basin in the south, demarcated by the Phu Phan ranges. The Khorat basin is a large sedimentary basin consisting of a series of Mesozoic terrestrial clastic rock formations with the oldest outcrops exposed at the outermost margin of the basin and successively younger outcrops toward the center of the basin. The basin contains unconsolidated Cenozoic sediments of different types and provenances. Rocks and sediments of the basin preserve various types of fossils from the oldest to the youngest rocks across the stratigraphic successions as old as Permian to Recent. These fossil records across the geological time slices provide good information telling us about the geological history of the region. Khorat, or Nakhon Ratchasima, is a province in the Khorat basin consisting of rock formations aged from Permian to Recent with fossil records of both plants and animals and other organisms. The fossils play an important role telling us about the evolution of life from primitive vertebrates and plants to modern mammals and flowering plants. Some of them had evolved and become extinction in such periods of time, like dinosaurs, primitive elephants, hippopotamuses, rhinoceroses, hyenas, giraffes, horses, apes, etc. They also provide valuable information about paleobiogeographic changes across a long geological history of the province. Understanding the natural history of our own land of both space and time is quite important as our motto “learning from the past, understanding the present, and imagining the future”. ................................................................................................ ประเทศไทยเป็ น ผื น แผ่ น ดิ น หนึ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น มาจากการ ประกอบกั น ของผื น แผ่ น ดิ น ย่ อ ยสองอนุ ท วี ป มาตั้ ง แต่ ยุ ค ไทรแอสซิ ก ตอนปลาย ได้ แ ก่ แผ่ น อนุ ท วี ป ฉานไทยและแผ่ น อนุทวีปอินโดจีน อนุทวีปฉานไทยครอบคลุมพื้นที่ประเทศไทย ตั้ ง แต่ ภ าคเหนื อ ภาคตะวั น ตก ภาคใต้ อ่ า วไทย และ จากมณฑลยู น นานในประเทศจี น ผ่ า นรั ฐ ฉานในพม่ า และ
ซีโนโซอิกตอนต้น เกิดเป็นส่วนหนึ่งของการแปรสัณฐานผลักดัน แผ่นเปลือกโลกไปในทิศทางตะวันออกเฉียงใต้ไปตามแนวรอยเลือ่ น ทางซ้ายแม่นำ้ แดง การผลักดันนีเ้ ป็นผลมาจากแรงทีเ่ กิดจากการชน กันระหว่างอนุทวีปอินเดียกับมหาทวีปยูเรเซีย (Tapponnier et al., 1982) ทำให้ เ กิ ด ลั ก ษณะทางธรณี วิ ท ยาของประเทศไทยดั ง ที่ เห็ น ในปั จ จุ บั น และรวมถึ ง ที่ ร าบสู ง โคราชในภาคตะวั น ออก เฉียงเหนือของประเทศไทยด้วย ที่ราบสูงโคราชซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอนุทวีปอินโดจีน เกิดขึ้น มาจากการยกตัวอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลายาวนานอาจตลอด ทั้ ง ช่ ว งมหายุ ค ซี โ นโซอิ ก ตอนปลาย ก่ อ ให้ เ กิ ด แนวเทื อ กเขา หลายเทือก อย่างเช่น เทือกเขาภูพาน ดงพญาเย็น สันกำแพง และ พนมดงรัก การยกตัวก่อให้เกิดที่ราบสูงโคราชที่ประกอบด้วยแอ่ง สองแอ่ง คือ แอ่งสกลนครทางด้านเหนือและแอ่งโคราชทางด้านใต้ โดยมีเทือกเขาภูพานคั่นกลาง แอ่งโคราชเป็นแอ่งสะสมตะกอนขนาดใหญ่ รองรับด้วย ชุ ด ของหมวดหิ น ตะกอนสะสมตั ว บนบกมหายุ ค มี โ ซโซอิ ก ซึ่ ง มี หินโผล่ที่แก่ที่สุดโผล่ให้เห็นอยู่ที่ขอบนอกสุดของแอ่ง และเรียง ลำดับไปเป็นหมวดหินที่มีอายุอ่อนกว่าไปทางส่วนกลางของแอ่ง ส่ ว นตอนบนสุ ด มี ก ารตกสะสมตะกอนที่ ยั ง ไม่ แ ข็ ง ตั ว ด้ ว ยชนิ ด และการกำเนิ ด ที่ แ ตกต่ า งกั น มี อ ายุ อ ยู่ ใ นช่ ว งมหายุ ค ซี โ นโซอิ ก หิ น และตะกอนของแอ่ ง พบซากดึ ก ดำบรรพ์ ที่ ห ลากหลายชนิ ด จากอายุในยุคเพอร์เมียนจนถึงยุคปัจจุบัน ซากดึกดำบรรพ์เหล่านี้ พบปรากฏไปตามช่วงเวลาทางธรณีกาลซึ่งเป็นหลักฐานที่สำคัญ ที่จะบอกเล่าเรื่องราวประวัติทางธรณีวิทยาของภูมิภาค โคราช หรือ นครราชสีมา เป็นจังหวัดหนึ่งอยู่ในแอ่งโคราช ประกอบด้ ว ยหมวดหิ น ที่ มี อ ายุ เ ก่ า แก่ ตั้ ง แต่ ยุ ค เพอร์ เ มี ย นและ อายุน้อยลงตามลำดับจนถึงสมัยปัจจุบัน และมีซากดึกดำบรรพ์ ที่หลากหลายทั้งพืชและสัตว์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ซากดึกดำบรรพ์ เหล่ า นี้ มี ค วามสำคั ญ ยิ่ ง ที่ จ ะบอกเล่ า เรื่ อ งราววิ วั ฒ นาการของ สิ่ ง มี ชี วิ ต จากบรรพบุ รุ ษ ของสั ต ว์ เ ลื้ อ ยคลาน เฟิ ร์ น และสน ไปเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมสมัยใหม่และพืชดอก สิ่งมีชีวิตเหล่านี้ บ้างก็วิวัฒนาการและสูญพันธุ์ไป ณ ยุคสมัยหนึ่งๆ เช่น ไดโนเสาร์ ช้างดึกดำบรรพ์ ฮิปโปโปเตมัส แรด ไฮยีนา่ ยีราฟ ม้า และ เอป เป็นต้น ซากดึกดำบรรพ์เหล่านี้เป็นข้อมูลที่มีค่ายิ่งที่จะบอกเล่าเรื่องราว เกี่ ย วกั บ การเปลี่ ย นแปลงลั ก ษณะทางภู มิ ศ าสตร์ ข องสิ่ ง มี ชี วิ ต ดึกดำบรรพ์ตลอดระยะเวลาทางธรณีวิทยาของจังหวัด การเข้าใจ ประวัติธรรมชาติของโคราชตามยุคสมัยต่างๆ มีความสำคัญยิ่ง ดังปรัชญาของสถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินฯ ที่ว่า “เรียนรู้อดีต เข้าใจปัจจุบัน และจินตนาการอนาคต”
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
ต่ อ เ นื่ อ ง ล ง ไ ป จ น ถึ ง ป ร ะ เ ท ศ ม า เ ล เ ซี ย ด้ า น ต ะ วั น ต ก (เรี ย กอี ก ชื่ อ หนึ่ ง ว่ า ซิ บู ม าซึ ) ส่ ว นอนุ ท วี ป อิ น โดจี น นั้ น ครอบคลุ ม พื้ น ที่ ข องภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ของประเทศไทย ทั้ ง หมด แผ่ ก ว้ า งออกไปถึ ง ประเทศเวี ย ดนาม ลาว กั ม พู ช า มาเลเซียด้านตะวันออก และเกาะสุมาตราซึ่งแตกหลุดออกมา จากมหาทวี ป กอนด์ ว านาในช่ ว งยุ ค ดี โ วเนี ย นไปเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของแผ่นทวีปจีนใต้ในช่วงยุคเพอร์เมียนและรวมกันเป็น “แผ่นทวีป คาเธเชียแลนด์” (Metcalfe, 2009) อนุทวีปทั้งสองนี้อยู่ห่างจากกัน โดยมี ธ รณี แ อ่ น ตั ว เททิ ส คั่ น กลางก่ อ นที่ จ ะชนกั น เป็ น แผ่ น ทวี ป เดียวกันอย่างสมบูรณ์ในช่วงยุคไทรแอสซิกตอนปลาย เกิดเป็นแนว ตะเข็บที่สังเกตได้จากการปรากฏของแนวหินอัคนีชนิดโอฟิโอไลต์ บริเวณตอนกลางของประเทศ ที่แผ่เป็นแนวยาวจากเมืองเชียงรุ้ง ของมณฑลยูนนานลงมาทางใต้ผ่านจังหวัดน่าน อุตรดิตถ์ ชัยภูมิ นครราชสีมา สระแก้ว และผ่านทะเลอ่าวไทยไปยังประเทศมาเลเซีย (Bunopas, 1982; Hada et al., 1999) อย่างไรก็ตาม จากรายงาน การวิจยั เร็วๆนีไ้ ด้พจิ ารณาให้แนวตะเข็บดังกล่าวนีเ้ ป็นเพียงแอ่งปิด หลังหมู่เกาะรูปโค้ง และโซนสุโขทัยได้ถูกพิจารณาใหม่ให้เป็น แกนกลางของระบบหมูเ่ กาะรูปโค้งยุคเพอร์เมียน ทีป่ ระกอบไปด้วย ดินแดนในแถบเมืองหลินชางของมณฑลยูนนาน สุโขทัย และ จันทบุรีบริเวณขอบด้านตะวันตกของอนุทวีปอินโดจีน นอกจากนี้ ได้มีการเสนอแนวตะเข็บใหม่ถัดไปทางด้านตะวันตก ซึ่งเป็นหินที่ เกิดจากการสะสมตัวในธรณีแอ่นตัวเททิสยุคดีโวเนียน-ไทรแอสซิก แผ่ เ ป็ น แนวยาวจากรอยตะเข็ บ ชางหนิ ง -เมิ่ ง เหลี ย นในมณฑล ยูนนาน เชียงใหม่/อินทนนท์ และเบนตง-รวบในประเทศมาเลเซีย แนวตะเข็บเหล่านี้ประกอบด้วยหินที่มีองค์ประกอบเป็นโอฟิโอไลต์ หินภูเขาไฟ หินปูนในทะเลตื้นและหินตะกอนน้ำลึกรวมถึงหินเชิร์ต ที่สะสมตัวจนถึงยุคไทรแอสซิกตอนปลาย (Sone and Metcalfe, 2008; Metcalfe, 2009) อย่างไรก็ตาม แบบจำลองรอยตะเข็บที่ได้ รั บ การเสนอขึ้ น มาทั้ ง สองแนวดั ง กล่ า วนั้ น สมควรได้ รั บ การ ตรวจสอบเพิ่ ม เติ ม ทั้ ง ในภาคสนามและการศึ ก ษาวิ จั ย เพิ่ ม เติ ม มากกว่านี้ ทั้งนี้แนวรอยตะเข็บถือว่าเป็นลักษณะทางธรณีวิทยา ที่ มี ค วามโดดเด่ น แตกต่ า งไปจากบริ เ วณแผ่ น อนุ ท วี ป รอบข้ า ง อย่างชัดเจน โดยมีลักษณะเป็นแนวยาวแคบๆ ของมวลหินอัคนี สี เ ข้ ม การหลอมรวมกั น ของแผ่ น อนุ ท วี ป ทั้ ง สองก่ อ ให้ เ กิ ด แรง ทางการแปรสัณฐานหลากหลายลักษณะ เช่น แรงตึงเครียดจาก การดึง แรงตึงเครียดจากการบีบอัด และแรงตึงเครียดจากการเฉือน ซึ่ ง ทำให้ เ กิ ด การแปรสภาพและการเปลี่ ย นแปลงลั ก ษณะทาง ธรณี วิ ท ยา เช่ น การคดโค้ ง โก่ ง งอของชั้ น หิ น การก่ อ เทื อ กเขา รอยเลื่อน แนวแตก และรอยร้าว เป็นต้น ประเทศไทยได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของมหาทวีปยูเรเซีย ซึ่งได้รับผลกระทบจากการก่อเทือกเขาหิมาลัยมาตั้งแต่มหายุค
19
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
cm.
20
cm.
Fossiliferous limestone from Pak Chong district, evidence of Permian sea. หินปูนซากดึกดำบรรพ์จากอำเภอปากช่อง หลักฐานของทะเลยุคเพอร์เมียน
.............................
โลกดึกดำบรรพ์โคราช
5.1
PALEOZOIC ........................ มหายุคพาลีโอโซอิก
Paleozoic rocks of Khorat are beneath the Mesozoic clastic rock formations and crop out along the Khorat basin’s margin in the areas of Pak Chong and Wang Nam Khiao districts and further extend to the areas in Saraburi and Lop Buri provinces. Their exposures are limited as small areas in the SW of Khorat, with few fossils having been studied. Information for describing the prehistoric Khorat during this period of time is thus based on information from the nearby areas, especially in Saraburi and Lop Buri provinces. Khorat during late Early Permian was under seawater represented by the Nong Pong Formation. Shale is intercalated by limestone, but shale is thicker than limestone in some places and vice versa. Limestone in some portions has thin beds with argillaceous limestone intercalations. Chert and lime nodules in shale have been found to contain fossils ammonites, Agathiceras sp., and fusulines, Thailandina buravasi, Pseudodoliolina sp., Neofusulina sp., Verbeekina sp., Cancellina sp., Neofusulinella sp., and Pseudofusulina cf. japonica, indicating probable late Early to early Middle Permian, Yakhtashian-Kubergandian (Assavapatchara et al., 2006). The overlying formation, Pang Asok Formation, mainly consists of brownish to greenish grey shale, slaty shale, and greyish green slate with greenish grey sandstone. It is siliciclastic-dominated unit. Some rocks were metamorphosed into hornfels frequently intercalated by limestone. Fossils are incomplete bivalves and poorly preserved plant leaves with uncertain age but Early Permian has been inferred (Hinthong, 1981), the same as the age of the Nong Pong Formation.
The next overlying formation, the Khao Khad Formation, consists mainly of limestone white to grey in colors characterized by beds thin to massive generally intercalated by chert layers. Some places are intercalated by dolomite, sandy shale, siltstone, and sandstone and some parts were metamorphosed into marble, calc-silicate, and hornfels. The main fossils found in these rocks are abundant Artinskian-Kungurian fusulines, brachiopods, gastropods, and minor ammonites together with corals, bryozoa, crinoids, and algae. The fossils confirm Early to Middle Permian to early Middle Permian as the age of this rock formation. The Khao Khad Formation was most likely deposited during a major transgressive and regressive cycle of seawater during the Lower to Middle Permian time in the marine shelf condition under sub-environments of intertidal to subtidal zones near shore, subtidal zone of lagoon, shallow platform, barrier bar or shoal and foreslope of barrier bar (Assavapatchara et al., 2006; Thambunya et al., 2007; Ueno and Charoentitirat, 2011). The rocks and fossils were deposited in a shallow sea on this continental shelf. During this period of time, Khorat was under a warm tropical climate, and shallow seas on the continental shelf had gradually regressed to be shallower with time. ................................................................................................ ชัน้ หินมหายุคพาลีโอโซอิกในโคราชนัน้ ส่วนใหญ่วางตัวอยูใ่ ต้ หมวดหินตะกอนมหายุคมีโซโซอิกและโผล่ให้เห็นในบริเวณขอบแอ่ง โคราชในพื้นบริเวณอำเภอปากช่อง และอำเภอวังน้ำเขียว และแผ่ ขยายกว้างออกไปในพื้นที่จังหวัดสระบุรีและลพบุรี ที่พบในโคราช จึงจำกัดอยู่เฉพาะทางด้านตะวันตกเฉียงใต้และมีซากดึกดำบรรพ์ เพี ย งเล็ ก น้ อ ยที่ ไ ด้ รั บ การศึ ก ษา ข้ อ มู ล ที่ น ำมาบรรยายโลก ดึกดำบรรพ์ของโคราชในช่วงเวลานี้ส่วนใหญ่ได้มาจากข้อมูลใน พื้นที่ใกล้เคียง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตจังหวัดสระบุรีและลพบุรี พืน้ ทีโ่ คราชในช่วงปลายของยุคเพอร์เมียนตอนต้นนัน้ จมอยู่ ใต้ทะเล มีการตกสะสมตะกอนเกิดเป็นหมวดหินหนองโป่ง มีลกั ษณะ เป็นหินดินดานที่มีหินปูนแทรกสลับ โดยบางแห่งชั้นหินดินดานจะ หนากว่าชัน้ หินปูนหรือกลับกัน นอกจากนีช้ นั้ หินปูนบางส่วนพบเป็น ชั้นบางๆ แทรกสลับด้วยชั้นหินปูนเนื้อดินที่มีมวลก้อนกลมด้วย ในมวลก้อนกลมของหินเชิร์ตและหินปูนในหินดินดานนี้พบซาก ดึกดำบรรพ์ของแอมโมไนต์ชนิด Agathiceras sp. และฟิวซูลนิ ดิ ชนิด
21 PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
5
PREHISTORIC KHORAT
Lithostratigraphy
(Racey and Goodall, 2009)
Maha Sarakham Formation
Aptian Undifferentiated Early Cretaceous Berriasian to Early Barremian
Sao Khua Formation
(Phu Kradung may in part be latest Jurassic)
Khorat Group
Late
Albian to Cenomanian
Phu Phan Formation Late
Khorat Group
Early
Khok Kruat Formation
Cretaceous Early
Maha Sarakham Formation
Cretaceous Late
Age
(Sattayarak and Srigulawong, 2008)
Late
Age
Lithostratigraphy
Khok Kruat Phu Phan Sao Khua Phra Wihan Phu Kradung
Upper Nam Phong Formation
22
Nam Phong Formation
Jurassic
Early
Phu Kradung Formation Triassic Late
Middle
Phra Wihan Formation
Late
Jurassic Triassic
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
----?----?----?----?----
Late Norian to Rhaetian
Lower Nam Phong Formation
Age deteminations from diferent fossils of the Mesozoic rock formations in NE Thailand อายุของซากดึกดำบรรพ์ที่แตกต่างกันของหมวดหินมหายุคมีโซโซอิก ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
23
cm.
semionotid fish in sandstone slab from Ban Tha Rue, Wang Nam Khiao district. ซากดึกดำบรรพ์ปลาในแผ่นหินทรายจากบ้านท่าเรือ อำเภอวังน้ำเขียว
Thailandina buravasi, Pseudodoliolina sp., Neofusulina sp., Verbeekina sp., Cancellina sp., Neofusulinella sp. และ Pseudofusulina cf. japonica ซึง่ บ่งชีว้ า่ อาจมีอายุอยูใ่ นช่วงปลาย ของยุคเพอร์เมียนตอนต้นถึงช่วงต้นของยุคเพอร์เมียนตอนกลาง หรือสมัยยาค์ตาเชียน-กูเบอร์แกนเดียน (Assavapatchara et al., 2006) หมวดหิ น ถั ด ขึ้ น ไปทางด้ า นบน เป็ น หมวดหิ น ปางอโศก ส่วนใหญ่ประกอบด้วยหินดินดานสีเทาแกมน้ำตาลถึงแกมเขียว หินดินดานกึง่ หินชนวน และหินชนวนสีเขียวแกมเทารวมถึงหินทราย สีเทา เป็นหมวดหินที่ถูกแทนที่ด้วยซิลิกาเป็นหลัก หินบางส่วนถูก แปรสภาพเป็นหินฮอร์นเฟลส์และมักมีหินปูนแทรกสลับ พบหอย กาบคู่และซากพืชที่มีสภาพไม่สมบูรณ์จนระบุอายุที่แน่นอนไม่ได้ แต่ได้รบั การอนุมานให้มอี ายุเป็นยุคเพอร์เมียนตอนต้น (Hinthong, 1981) ซึ่งมีอายุเดียวกับหมวดหินหนองโป่ง หมวดหินถัดขึน้ ไปเป็นหมวดหินเขาขาด พบเป็นหินปูนสีขาว ถึงสีเทาเป็นส่วนใหญ่ มีลกั ษณะเป็นชัน้ บางถึงเป็นชัน้ หนา โดยทัว่ ไป มีชนั้ หินเชิรต์ แทรกสลับ บางแห่งมีหนิ โดโลไมต์แทรกอยูด่ ว้ ย รวมทัง้ หินดินดานเนือ้ ทราย หินทรายแป้ง และหินทราย และบางส่วนก็ถกู
แปรสภาพไปเป็นหินอ่อน หินแคลซ์ซิลิเกต และฮอร์นเฟลส์ ซาก ดึ ก ดำบรรพ์ ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น พวกฟิ ว ซู ลิ นิ ด ที่ มี อ ายุ อ ยู่ ใ นช่ ว งสมั ย อาร์ติงส์เกียน-กุงเกอเรียน โดยมีแบรคิโอพอด หอยกาบเดี่ยว และ แอมโมไนต์เป็นส่วนน้อย นอกจากนี้ ยังพบพวกปะการัง ไบรโอซัว พลับพลึงทะเล และสาหร่ายด้วย จากหลักฐานซากดึกดำบรรพ์ ดังกล่าว ยืนยันอายุของหมวดหินนี้ได้ว่าเป็นยุคเพอร์เมียนตอนต้น และตอนกลางถึ ง ยุ ค เพอร์ เ มี ย นตอนกลาง หมวดหิ น เขาขาดนี้ มี ก ารตกสะสมตั ว ในสภาพแวดล้ อ มแบบทะเลในช่ ว งที่ มี ก าร สลั บ กั น ของน้ ำ ทะเลหนุ น สลั บ กั บ น้ ำ ทะเลถดถอยในช่ ว งยุ ค เพอร์เมียนตอนต้นและตอนกลาง โดยเกิดในบริเวณไหล่ทวีปที่มี สภาพแวดล้อมระหว่างน้ำขึ้นกับน้ำลงและที่ลึกลงไปใกล้ชายฝั่ง ใต้ระดับน้ำลงต่ำสุดในเขตลากูน น้ำตืน้ สันดอนหรือหาดตื้น และที่ ลาดด้านหน้าสันดอน (Assavapatchara et al., 2006; Thambunya et al., 2007; Ueno and Charoentitirat, 2011) หินและซากดึกดำบรรพ์ต่างๆ เกิดการตกสะสมตัวบริเวณ ทะเลตื้นบนไหล่ทวีป ในช่วงนี้โคราชจะอยู่ภายใต้ภูมิอากาศแบบ เขตร้ อ น ในบริ เ วณทะเลตื้ น บนไหล่ ท วี ป น้ ำ ทะเลกำลั ง ค่ อ ยๆ ถดถอยอย่างต่อเนื่องและตื้นเขินไปตามกาลเวลา
24
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
25
cm.
Crocodyliform skull, Khoratosuchus jintasakuli, from Ban Saphan Hin. กะโหลกจระเข้ โคราโตซูคัส จินตสกุลไล จากบ้านสะพานหิน
Dentary of an iguanodontian dinosaur, Ratchasimasaurus suranareae, from Ban Pong Malaeng Wan กรามล่างไร้ฟันของไดโนเสาร์อิกัวโนดอนต์ ราชสีมาซอรัส สุรนารีเอ จากบ้านโป่งแมลงวัน
cm.
มหายุคมีโซโซอิก
Ages of the Mesozoic rocks in the northeast came from two different age determination approaches. On the basis of macrofossils and vertebrates, they vary from Triassic to Cretaceous from the Huai Hin Lat Formation in the bottommost layers to the Maha Sarakham Formation in the topmost. Huai Hin Lat and Nam Phong formations are Late Triassic. Phu Kradung is Middle to Late Jurassic while Phra Wihan is Middle Jurassic to Early Cretaceous. Sao Khua, Phu Phan, and Khok Kruat formations are Early Cretaceous and Maha Sarakham Formation is Late Cretaceous (Sattayarak and Srigulawong, 2008). But on the basis of palynology, Huai Hin Lat Formation is Late Triassic. Nam Phong Formation is separated into lower and upper parts by an unconformity. The Lower Nam Phong Formation is Late Triassic (Rhaetian), whereas the Upper Nam Phong Formation is not older than Lower Jurassic (Pliensbachian). Phu Kradung Formation is considered to be Cretaceous as evidenced by the presence of the fossil sporomorph Dicheiropollis etruscus, a taxon that is restricted to this age interval. The overlying formations, Phra Wihan, Sao Khua, Phu Phan, Khok Kruat, and Maha Sarakham, are mostly Cretaceous (Racey and Goodall, 2009). These different ages of the rock formations are still seriously debated among geologists. One point of view relates to the observation that each rock formation has lithology somewhat homogeneous in characteristics all over the region. The rock formations had actually been deposited by a river system that must generate sediments in different ways from place to place along the rivers as well as across seasonal changes. It seems to be impossible that a river produced the same type of sediments in every parts of a river. Short geological time spans across the whole rock formations thus seems to be more reliable than long time spans. However, descriptions in the prehistoric events of these rock formations are herein taken from formation to formation in terms of ascendant lithostratigraphic
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
5.2
MESOZIC ........................
27
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
28
arrangement without seriously considering the real ages of the rock formations. Huai Hin Lat and Nam Phong formations, in the Khorat Plateau are clearly exposed only in the NW of the region in Loei, Khon Kaen, and Chaiyaphum and probably extended down beneath Khorat observable outside the Khorat area in Saraburi and Lop Buri. The Late Triassic Huai Hin Lat Formation is composed of basal conglomerate, sandstone, mudstone, and gypsum in some layers. The pebbles in the basal conglomerate are sometimes composed of limestone with fusulinids regarded as being reworked from the Permian limestone. Khorat at this time was under slightly humid to semi-arid conditions and the Shan-Thai and Indochina microcontinents were amalgamating to be a single mainland in this period of time. A large sauropod dinosaur, Isanosaurus attavipachi, found in the Nam Phong Formation in Chaiyaphum (Buffetaut et al., 2000), probably also wandered around in the Khorat areas. In the Phu Kradung Formation, extending from Pak Chong to Wang Nam Khiao, well preserved silicified wood is widely distributed in sandstone, but systematic studies are still so far unavailable. However, fossil conifers from other areas of the same rock formation, mainly from Phu Phan range, have been reported. Forests in the Khorat Plateau were dominated by conifer trees growing alongside streams under a rather arid climate, although this became wetter during the deposition of the upper formations of the Khorat Group. The silicified woods outside Khorat have been reported as Agathoxylon saravanensis and Brachyoxylon spp., previously known as Araucarioxylon saravanensis and Protopodocarpoxylon spp. respectively, the conifers (Philippe et al., 2004). Durung late Mesozoic period, the tropical conifer vegetation in northeastern Thailand was dominated by the family Araucariaceae (Wang et al., 2006). A fossil semionotid fish found in sandstone of the Phu Kradung Formation in Ban Tha Rue, Wang Nam Khiao, near a small stream flowing down to the Lam Phra Phloeng reservoir, is being studied (Deesri et al., 2011). It is an extinct fish living in a freshwater environment during the Mesozoic. The environment at this time in Khorat was thus mainly covered by conifer forests with stream or river systems where the fishes swam around.
cm.
partial turtle plate, Kizylkumemys khoratensis, from Ban Saphan Hin. เศษกระดองเต่าจมูกหมู กิซิลกูเมมิส โคราชเอนซิส จากบ้านสะพานหิน
Even though there have been no discoveries of dinosaurs in Khorat from the Sao Khua Formation, it seems that dinosaurs should be presented. At least three three-toed footprints of theropod dinosaurs, Siamopodus khaoyaiensis, have been found on some broken Early Creataceous sandstone slabs at Wang Heiw waterfall, Khao Yai National Park, Na Di, Prachin Buri, not very far from the Khorat border, revealing that more or less there were dinosaurs roaming in the Khorat area (Lockley et al., 2006). Several taxa of dinosaurs were previously reported from the Sao Khua Formation in Khon Kaen and Kalasin as well as other areas namely Phuwiangosaurus sirindhornae, Siamosaurus suteethorni, Siamotyrannus isanensis, Compsognathus sp., and Kinnareemimus khonkaenensis (Buffetaut and Ingavat, 1984, 1986; Buffetaut et al., 1996, 2009; Martin et al., 1994). During deposition of the Khok Kruat Formation, Khorat was still a land of dinosaurs. Recently, fossil dinosaurs have been recovered from dense calcareous conglomeratic
sandstone of the Khok Kruat Formation. The Thailand-Japan Dinosaur Excavation Project had unearthed a fossil site in Ban Saphan Hin, Mueang Nakhon Ratchasima, between 2007 and 2010. The excavations yielded over ten thousand pieces of bones, teeth, coprolites, shell plates, fins and scales of dinosaurs, pterosaurs, turtles, crocodiles, fishes, and plant remains but they are mainly fragmentary. Some of them are well enough preserved, such as teeth of iguanodont and allosaur, dorsal vertebrae and distal part of a femur of iguanodont, partial dentary of hadrosaur, a tooth of pterosaur (a flying reptile), crocodile teeth, teeth of hybodont shark, and tail fins and scales of Lepidotes fishes. All specimens are now housed at the Northeastern Research Institute of Petrified Wood and Mineral Resources. This assemblage of fossils has enabled researchers to depict the scenery of Cretaceous Khorat’s landscape that was occupied by diversified species of dinosaurs and other land and flying reptiles together with aquatic creatures in the river like the hybodont sharks and
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
30
Lepidotes fishes. However, the systematic descriptions and identifications are still awaiting study and further excavations will be carried out in the early coming year. In 2011, two new species of iguanodontian dinosaurs have been reported from Ban Pong Malaengwan and Ban Saphan Hin, Mueang Nakhon Ratchasima district. The first species was described from a complete left dentary with no teeth designated as Ratchasimasaurus suranareae (Shibata et al., 2011). Another piece of fossil is described from a nearly complete left maxilla bearing several teeth designated as Siamodon nimngami (Buffetaut and Suteethorn, 2011). These two species are from two different fossil sites, about 500 meters from each other, but belonging to the same rock formation, Khok Kruat Formation. The Ratchasimasaurus suranareae and Siamodon nimngami are considered as advanced iguanodontians. They diversified in Early Cretaceous, not only in the East but also in Southeast Asia. They may first appeares in Asia before they dispersed to North America. However, future discoveries in North America may easily lead to revise this scenario (Shibata et al., 2011; Buffetaut and Suteethorn, 2011). Nevertheless, some species of reptiles and aquatic creatures have been described from the Ban Saphan Hin fossil site such as a land crocodile Khoratosuchus jintasakuli, turtle Kizylkumemys khoratensis and Shachemys sp., and hybodont shark Thaiodus ruchae (Lauprasert et al., 2009; Tong et al., 2005; Cappetta et al., 1990). Ban Saphan Hin is thus reconstructed as a freshwater environment, probably a river with sandy pebble streambed inhabited by diversified aquatic species. A crocodile, Khoratosuchus jintasakuli, was eating a large Lepidotes fish in the river but it could also emerge from the river to run on land very quickly with its four long legs. A pig-nosed turtle, carettochelyid turtle Kizylkumemys khoratensis, was gliding in the river with its flippers resembling those of marine turtles and it is known as a fly river turtle. A couple of adocid turtles, Shachemys sp., characterized by a combination of aquatic and terrestrial features, kept together at the bank of the river with dense horsetails. The deposition of the Maha Sarakham Formation during the Cretaceous was under an arid climate with accumulation of evaporitic salts. The rock formation consists of mudstone,
siltstone, rock salt, gypsum, and anhydrite deposited in a hyper-saline, landlocked lake within an arid continental desert. There are no reports of macrofossil records from this rock formation but palynological evidence, including Verrucosisporites spp., Taurocusisporites cf. reduncus, and Caliallasporites spp., with some angiosperm pollen, suggested that the age of the rock formation is AlbianCenomanian (latest Early to earliest Late Cretaceous) (Racey and Goodall, 2009). In addition, the age of this rock formation was previously dated by using multiple isotopic approaches (87Sr/86Sr, K/Ar, and K/Ca) as Cenomanian in age too (Hansen et al., 2002). ................................................................................................ อายุของหินมหายุคมีโซโซอิกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือนัน้ ได้มาจากวิธกี ารทีแ่ ตกต่างกันสองวิธี หลักฐานจากซากดึกดำบรรพ์ ขนาดใหญ่และสัตว์มีกระดูกสันหลังพบว่า หินมีอายุแปรผันจาก ยุคไทรแอสซิกถึงยุคครีเทเชียส เริ่มจากหมวดหินห้วยหินลาดที่อยู่ ด้านล่างสุดต่อเนื่องไปจนถึงหมวดหินมหาสารคามทางด้านบนสุด โดยหมวดหิ น ห้ ว ยหิ น ลาดและหมวดหิ น น้ ำ พองมี อ ายุ อ ยู่ ใ นยุ ค ไทรแอสซิกตอนปลาย หมวดหินภูกระดึงมีอายุอยู่ในยุคจูแรสซิก ตอนกลางถึงตอนปลาย ขณะทีห่ มวดหินพระวิหารมีอายุยคุ จูแรสซิก ตอนกลางถึงยุคครีเทเชียสตอนต้น ขณะทีห่ มวดหินเสาขัว หมวดหิน ภูพาน และหมวดหินโคกกรวดนัน้ มีอายุอยูใ่ นยุคครีเทเชียสตอนต้น ส่วนหมวดหินมหาสารคามทีอ่ ยูด่ า้ นบนสุดมีอายุอยูใ่ นยุคครีเทเชียส ตอนปลาย (Sattayarak and Srigulawong, 2008) แต่หากพิจารณาจากหลักฐานทางเรณูวทิ ยา จะพบว่าหมวด หินห้วยหินลาดนัน้ มีอายุอยูใ่ นช่วงยุคไทรแอสซิกตอนปลาย ขณะที่ หมวดหินน้ำพองนั้นถูกแบ่งแยกออกเป็นส่วนล่างกับส่วนบนด้วย รอยชั้ น ไม่ ต่ อ เนื่ อ ง หมวดหิ น น้ ำ พองตอนล่ า งมี อ ายุ อ ยู่ ใ นยุ ค ไทรแอสซิกตอนปลาย ขณะที่หมวดหินน้ำพองด้านบนนั้นมีอายุ มากทีส่ ดุ ไม่เกินยุคจูแรสซิกตอนต้น (สมัยเพลนส์บาเชียน) หมวดหิน ภูกระดึงถูกพิจารณาให้มีอายุอยู่ในยุคครีเทเชียสโดยพิจารณาจาก หลักฐานเรณูสัณฐานของ Dicheiropollis etruscus ซึ่งเป็นเรณู สัณฐานที่มีช่วงอายุจำกัดอยู่ในช่วงเฉพาะยุคครีเทเชียสเท่านั้น ส่วนหมวดหินทีเ่ หลือทัง้ หมดทางด้านบน ได้แก่ หมวดหินพระวิหาร เสาขัว ภูพาน โคกกรวด และมหาสารคามนั้นให้มีอายุอยู่ในช่วง ยุคครีเทเชียสทั้งหมด (Racey and Goodall, 2009) อายุทแี่ ตกต่างกันของหมวดหินต่างๆ เหล่านี้ เป็นทีโ่ ต้เถียงกัน อย่างมากในหมูน่ กั ธรณีวทิ ยาทัง้ ชาวไทยและชาวต่างประเทศ มีขอ้ น่าสังเกตประการหนึ่งว่า หมวดหินแต่ละหมวดหินนั้นมีลักษณะ
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
31
cm.
Teeth of hybodont sharks, Thaiodus ruchae, from Ban Saphan Hin. ฟันของฉลามน้ำจืด ไทยโอดัส รูจาอี้ จากบ้านสะพานหิน
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
32
หินที่ค่อนข้างสม่ำเสมอไปทั่วทั้งภูมิภาค ซึ่งตามความเป็นจริงแล้ว หมวดหินแต่ละหมวดหินนั้น เกิดจากการสะสมตัวของตะกอน โดยระบบทางน้ ำ ที่ ต้ อ งให้ ต ะกอนที่ มี ลั ก ษณะที่ แ ตกต่ า งกั น ไป ตามจุดต่างๆ ของทางน้ำแต่ละสายนั้นและยังรวมถึงผลจากการ เปลีย่ นแปลงตามฤดูกาลด้วย ซึง่ ไม่นา่ เป็นไปได้วา่ แม่นำ้ สายหนึง่ ๆ จะให้ตะกอนที่มีลักษณะเหมือนกันไปในทุกส่วนของสายน้ำหนึ่งๆ ดังนัน้ ช่วงห่างของระยะเวลาสัน้ ๆตลอดช่วงของการลำดับหมวดหิน ทั้งหมด ดูเหมือนว่าจะมีความน่าเชื่อถือมากกว่าการให้ช่วงอายุที่ ยาวนานกว่า อย่างไรก็ตาม การบรรยายโลกดึกดำบรรพ์โคราชของ หมวดหินต่างๆ ในหนังสือเล่มนี้ จะบรรยายจากหมวดหินหนึง่ ไปอีก หมวดหินหนึ่งตามลำดับจากด้านล่างไปสู่ด้านบน โดยจะพยายาม หลี ก เลี่ ย งการกล่ า วอ้ า งอายุ ข องหมวดหิ น ที่ ไ ด้ รั บ การวิ นิ จ ฉั ย ที่ แตกต่างกัน หมวดหิ น ห้ ว ยหิ น ลาดและหมวดหิ น น้ ำ พองบนที่ ร าบสู ง โคราชนั้น พบโผล่ให้เห็นได้เฉพาะทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือ ของภูมิภาคในจังหวัดเลย ขอนแก่น ชัยภูมิ และอาจต่อเนื่องลงไป ด้านใต้ของจังหวัดนครราชสีมาแล้วไปโผล่นอกพื้นที่โคราชในพื้นที่ จังหวัดสระบุรีและลพบุรี หมวดหินห้วยหินลาดนั้นประกอบด้วย หินกรวดมนฐาน หินทราย หินโคลน และแร่ยิปซั่มในบางชั้น กรวด เล็กในหินกรวดมนฐานนั้น บางครั้งก็พบว่าเป็นกรวดหินปูนที่มีซาก ดึกดำบรรพ์ฟิวซูลินิดอยู่ด้วย ซึ่งกล่าวได้ว่าเกิดขึ้นจากการหลุด ออกมาจากหินปูนและหินเชิร์ตยุคเพอร์เมียน โคราชในช่วงนี้มี ภูมิอากาศค่อนข้างชื้นถึงกึ่งแห้งแล้ง และอนุทวีปฉานไทยและ อนุทวีปอินโดจีนได้เคลือ่ นทีเ่ ข้ามาชนรวมกันเป็นผืนแผ่นดินเดียวกัน แล้ว ไดโนเสาร์ซอโรพอดสายพันธุ์ Isanosaurus attavipachi ซึ่ง พบในหมวดหินน้ำพองที่จังหวัดชัยภูมินั้น (Buffetaut et al., 2000) อาจเข้ามาหากินและแพร่พันธุ์ในพื้นที่โคราชด้วยก็ได้ ในหมวดหิ น ภู ก ระดึ ง ซึ่ ง แผ่ ก ระจายตั ว อยู่ ใ นเขตอำเภอ ปากช่องและอำเภอวังน้ำเขียวนัน้ พบไม้กลายเป็นหินกระจัดกระจาย กว้างขวางในเนือ้ หินทราย แต่จนถึงปัจจุบนั ยังไม่มกี ารศึกษากันอย่าง เป็นระบบ อย่างไรก็ตาม มีการพบซากดึกดำบรรพ์ไม้สนจากพืน้ ทีอ่ น่ ื ๆ ทีอ่ ยูใ่ นหมวดหินเดียวกันนี้ โดยส่วนใหญ่พบในแถบเทือกเขาภูพาน ป่ า ไม้ บ นที่ ร าบสู ง โคราชโดดเด่ น ไปด้ ว ยต้ น สนตามริ ม ฝั่ ง แม่ น้ ำ ภายใต้ภมู อิ ากาศทีค่ อ่ นข้างแห้งแล้ง แม้จะมีหลักฐานว่ามีภมู อิ ากาศ ที่ ชุ่ ม ชื้ น หลั ง จากการสะสมตั ว ของหมวดหิ น นี้ ไม้ ก ลายเป็ น หิ น ที่ มี ร ายงานนอกพื้ น ที่ โ คราชได้ แ ก่ ต้ น สนชนิ ด Agathoxylon saravanensis และ Brachyoxylon spp. ซึ่งรู้จักกันมาก่อนภายใต้ ชือ่ ว่า Araucarioxylon saravanensis และ Protopodocarpoxylon spp. ตามลำดับ (Philippe et al., 2004) โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงปลายของมหายุคมีโซโซอิกนี้จะโดดเด่นไปด้วยสนในวงศ์ สนฉัตร (Araucariaceae) (Wang et al., 2006) ในหมวดหินภูกระดึงนี้
มีการค้นพบซากดึกดำบรรพ์ปลาเกล็ดหนาในหินทรายทีบ่ า้ นท่าเรือ ตำบลวังหมี อำเภอวังน้ำเขียว บริเวณใกล้ชายฝัง่ ลำห้วยแห่งหนึง่ ซึง่ ไหลลงไปที่ อ่ า งเก็ บ น้ ำ ลำพระเพลิ ง ปั จ จุ บั น อยู่ ร ะหว่ า งดำเนิ น การศึกษา (Deesri et al., 2011) เป็นปลาที่สูญพันธุ์ไปแล้ว อาศัย อยู่ในน้ำจืดในช่วงมหายุคมีโซโซอิก เป็นบรรพบุรุษของปลาการ์ ในปั จ จุ บั น มี ลั ก ษณะแตกต่ า งไปจากซากดึ ก ดำบรรพ์ ป ลา Lepidotes buddhabutrensis และ Isanicthys palustris ที่พบที่ ภูนำ้ จัน้ อำเภอกุฉนิ ารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ จึงเข้าใจว่าจะเป็นสกุล และชนิดใหม่ สำหรับสภาพแวดล้อมทั่วไปของโคราชในช่วงนี้ ส่วนใหญ่ถูกปกคลุมไปด้วยต้นสนที่มีสายน้ำไหลผ่าน ซึ่งเป็นที่อยู่ อาศัยของปลาชนิดนี้ แม้ว่าจะไม่เคยมีรายงานการค้นพบไดโนเสาร์จากหมวด หินพระวิหารในโคราชก็ตาม แต่กด็ เู หมือนว่าจะมีไดโนเสาร์อาศัยอยู่ อย่างน้อยก็พบรอยตีนไดโนเสาร์ชนิดสามนิว้ จำนวนสามรอยซึง่ เป็น ของไดโนเสาร์ เ ทอโรพอดชนิ ด Siamopodus khaoyaiensis จากแผ่นหินทรายทีแ่ ตกหักของยุคครีเทเชียสตอนต้นทีน่ ำ้ ตกวังเหว อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อำเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งไม่ห่าง จากเขตแดนโคราชมากนัก (Lockley et al., 2006) จึงชี้ชัดว่าน่า จะมีไดโนเสาร์หากินในเขตโคราชในช่วงยุคครีเทเชียสตอนต้นด้วย ทั้งนี้มีรายงานการค้นพบไดโนเสาร์หลายสายพันธุ์จากหมวดหิน เสาขัว ในจังหวัดขอนแก่นและกาฬสินธุ์รวมทั้งอีกหลายจังหวัดใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ Phuwiangosaurus sirindhornae, Siamosaurus suteethorni, Siamotyrannus isanensis, Compsognathus sp. และ Kinnareemimus khonkaenensis (Buffetaut and Ingavat, 1984, 1986; Buffetaut et al., 1996, 2009; Martin et al., 1994). ระหว่างที่มีการตกสะสมตะกอนเป็นหมวดหินโคกกรวดนั้น โคราชยังคงเป็นดินแดนแห่งไดโนเสาร์ เมือ่ ไม่นานมานีม้ กี ารค้นพบ ไดโนเสาร์จากหินกรวดมนมีปูนเป็นเนื้อประสานของหมวดหินโคก กรวด ตามโครงการความร่วมมือการขุดค้นไดโนเสาร์ไทย-ญี่ปุ่น ซึ่งทำการขุดค้นที่แหล่งบ้านสะพานหิน ตำบลสุรนารี อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ในระหว่างปี พ.ศ. 2550 ถึง 2553 ผลการขุดค้น ได้ชนิ้ ตัวอย่างของกระดูก ฟัน มูลสัตว์ แผ่นกระดอง ครีบ และเกล็ด ของไดโนเสาร์ สัตว์เลื้อยคลานบินได้ เต่า จระเข้ ปลา และซากพืช แต่มกั ได้เป็นชิน้ ทีแ่ ตกหัก แต่กม็ บี างส่วนทีม่ สี ภาพสมบูรณ์เพียงพอ เช่ น ฟั น ของอิ กั ว โนดอนต์ แ ละอั ล โลซอร์ กระดู ก สั น หลั ง และ ส่วนปลายของกระดูกต้นขาหลังของอิกัวโนดอนต์ ฟันบางส่วนของ แฮดโรซอร์ ฟันของสัตว์เลื้อยคลานบิน ฟันจระเข้ ฟันของฉลาม ไฮโบดอนต์ ครีบหางและเกล็ดของปลาเลปิโดเทส ชิ้นตัวอย่าง ทั้ ง หมดดั ง กล่ า วถู ก เก็ บ รั ก ษาไว้ ที่ ค ลั ง ตั ว อย่ า งซากดึ ก ดำบรรพ์ ของสถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินและทรัพยากรธรณีภาคตะวันออก
เป็นทะเลสาบปิดทีน่ ำ้ มีสารละลายเข้มข้นในทะเลทรายทีแ่ ห้งแล้งที่ มีการสะสมตัวของหินเกลือระเหย โดยหมวดหินมหาสารคามนี้ ประกอบด้วยหินโคลน หินทรายแป้ง เกลือหิน ยิปซัม่ และแอนไฮไดรต์ ยังไม่เคยมีรายงานการค้นพบซากดึกดำบรรพ์ขนาดใหญ่จากหมวด หินนีม้ าก่อน แต่จากหลักฐานทางเรณูวทิ ยา ได้แก่ Verrucosisporites spp., Taurocusisporites cf. reduncus และ Caliallasporites spp. และละอองเรณูของพืชดอกบางชนิดทำให้กล่าวได้วา่ อายุของหมวด หินนี้อยู่ระหว่างสมัยแอลเบียน-ซีโนมาเนียน (ช่วงปลายของยุค ครีเทเชียสตอนต้นถึงช่วงต้นของยุคครีเทเชียสตอนปลาย) (Racey and Goodall, 2009) นอกจากนี้อายุของหมวดหินนี้ยังได้รับการ วิเคราะห์ด้วยวิธีไอโซโทปมาก่อน (87Sr/86Sr, K/Ar, and K/Ca) ได้อายุเป็นสมัยซีโนมาเนียนด้วยเช่นกัน (Hansen et al., 2002)
33 PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
เฉียงเหนือ เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ซาก ดึกดำบรรพ์เหล่านีท้ ำให้นกั วิจยั สามารถสร้างภาพภูมทิ ศั น์ของโคราช ที่มีไดโนเสาร์หลากหลายสายพันธุ์ สัตว์บกอื่นๆ สัตว์เลื้อยคลาน บินได้ รวมถึงสัตว์น้ำในแม่น้ำอย่างปลาฉลามไฮโบดอนต์และปลา เลปิโดเทส เป็นต้น อย่างไรก็ตาม การบรรยายและวินิจฉัยชนิดของ ซากดึกดำบรรพ์นนั้ ยังรอการศึกษา และจะมีการขุดค้นเพิม่ เติมต่อไป ในปี พ.ศ. 2554 ได้มรี ายงานการค้นพบไดโนเสาร์อกิ วั โนดอนต์ สองสายพันธุจ์ ากบ้านโป่งแมลงวันและบ้านสะพานหิน อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา สายพันธุ์แรกได้จากบ้านโป่งแมลงวันเป็นชิ้น ตั ว อย่ า งกระดู ก ขากรรไกรล่ า งด้ า นซ้ า ยโดยที่ ซี่ ฟั น หลุ ด ออกไป หมดแล้วซึ่งพบว่าเป็นสกุลและชนิดใหม่ โดยได้รับการตั้งชื่อว่า Ratchasimasaurus suranareae (Shibata et al., 2011) ส่ ว นอี ก ชิ้ น ตั ว อย่ า งได้ ม าจากบ้ า นสะพานหิ น เป็ น กระดู ก ขา กรรไกรบนด้ า นซ้ า ยพร้ อ มฟั น อี ก หลายซี่ แ ละได้ รั บ การตั้ ง ชื่ อ ว่ า Siamodon nimngami (Buffetaut and Suteethorn, 2011) ชิน้ ตัวอย่างทัง้ สองนีไ้ ด้มาจากแหล่งขุดค้นทีต่ า่ งกันห่างกันประมาณ 500 เมตร แต่ได้มาจากหมวดหินโคกกรวดเหมือนกัน อิกวั โนดอนต์ ทัง้ สองชนิดนีถ้ อื ว่าเป็นกลุม่ ของอิกวั โนดอนต์ทมี่ วี วิ ฒ ั นาการก้าวหน้า มีความหลากหลายสายพันธุ์ในช่วงยุคครีเทเชียสตอนต้นไม่เพียง เฉพาะทางตะวันออกของเอเชียเท่านั้น แต่รวมถึงในแถบเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ด้วย โดยอาจได้วิวัฒนาการขึ้นมาในแถบทวีป เอเชียก่อนก่อนทีจ่ ะกระจายสายพันธุไ์ ปยังอเมริกาเหนือ อย่างไรก็ตาม หากในอนาคตมีการค้นพบชิ้นตัวอย่างเพิ่มเติมในอเมริกาเหนือ อาจทำให้มกี ารทบทวนเกีย่ วกับการกระจายพันธุด์ งั กล่าวให้มคี วาม ชัดเจนกว่านี้ (Shibata et al., 2011; Buffetaut and Suteethorn, 2011) นอกจากไดโนเสาร์แล้ว ยังได้มีการศึกษาซากดึกดำบรรพ์ สัตว์เลือ้ ยคลานและสัตว์นำ้ บางชนิดจากบ้านสะพานหิน เช่น จระเข้บก Khoratosuchus jintasakuli เต่ า จมู ก หมู Kizylkumemys khoratensis เต่า Shachemys sp. และปลาฉลามไฮโบดอนต์ Thaiodus ruchae (Lauprasert et al., 2009; Tong et al., 2005; Cappetta et al., 1990) ทำให้พอสันนิษฐานได้วา่ พืน้ ทีบ่ า้ นสะพานหิน ในอดีตเมื่อ 100 ล้านปีก่อนนั้น เคยเป็นแหล่งน้ำจืด อาจเป็นแม่น้ำ ที่ มี ท้ อ งน้ ำ เป็ น กรวดปนทราย และเป็ น ที่ อ ยู่ อ าศั ย ของสั ต ว์ น้ ำ หลากหลายชนิด อาจเห็นภาพของจระเข้ Khoratosuchus jintasakuli กำลังกินปลาเลปิโดเทสในแม่น้ำ แต่ก็อาจขึ้นมาวิ่งบนบกอย่าง คล่องแคล่วรวดเร็วด้วยขาที่ยาวทั้งสี่ ส่วนเต่าจมูกหมูกำลังถลาใน แม่นำ้ ด้วยครีบกว้างคล้ายกับของเต่าทะเล ขณะทีเ่ ต่า Shachemys sp. คูห่ นึง่ ซึง่ มีลกั ษณะผสมผสานระหว่าเต่าบกกับเต่าน้ำ กำลังเคียง คู่กันที่ริมฝั่งแม่น้ำที่มีกอต้นเฟิร์นหางม้าขึ้นอยู่หนาแน่น ถัดจากหมวดหินโคกกรวดขึน้ ไปนัน้ เป็นหมวดหินมหาสารคาม เกิดจากการตกสะสมตะกอนในช่วงยุคครีเทเชียสในสภาพแวดล้อม
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
34
Early Cretaceous landscape of Ban Saphan Hin showing ecosystem around a water source ภูมิทัศน์ยุคครีเทเชียสตอนต้นบริเวณบ้านสะพานหิน ที่แสดงระบบนิเวศบริเวณแหล่งน้ำแห่งหนึ่ง
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
35
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
5.3
36
CENOZOIC ........................ มหายุคซีโนโซอิก
Khorat in the Cenozoic Era has dramatically changed from the previous Mesozoic. Dinosaurs were completely extinct by the end of Mesozoic, while mammals and flowering plants have rapidly evolved with great diversified species throughout the Cenozoic Era. However, there is no evidence of Paleogene rocks in Khorat, only Neogene and Quaternary fossils have been described. Himalayan orogeny had commenced at some time during the Paleogene by collision between the Indian subcontinent and Eurasian supercontinent remarkably changing various features of geomorphologic landforms of the Southeast Asian region (Tapponnier et al., 1982). Cenozoic fossils found in Khorat were from unconsolidated sediments particularly from fluvial deposits along the Mun River and its tributariesfrom Ban Khok Sung, Mueang Nakhon Ratchasima, to Chaloem Phra Kiat and probably also in Chum Phuang and Phimai districts. Abundant faunal fossils have been found in many sandpits along the Mun River including at least eight genera of proboscideans such as Gomphotherium sp., Protanancus sp., Prodeinotherium sp., Tetralophodon sp., Stegolophodon sp., Sinomastodon sp., Stegodon sp., and Elephas sp. Other mammals comprise bovines (Bubalus bubalis), rhinoceroses (Brachipotherium sp., Chilotherium sp., Gaindatherium sp., Aceratherium sp.), hippopotamuses, hipparion horses, orangutan (Khoratpithecus piriyai), anthracotheres (Merycopotamus thachangensis), antelopes, giraffes (?Sivatherium sp.), pigs (Hippopotamodon sivalensis, Tetraconodon sp., Conohyus sp., Hyotherium sp.), saber-toothed cats, spotted hyenas (Crocuta crocuta), chital deer (Axis axis), and lesser mouse deer as well as Indian gharial (Gavialis gangeticus), soft-shelled turtles, turtles, and mollusk shells. Unfortunately, the fossils were recovered from many sandpits lacking precise stratigraphic arrangements because the discoveries of the fossils were mainly byproducts of sand production by hydraulicking. Almost fossils were probably from different stratigraphic levels becoming mixed together
โคราชในช่วงมหายุคซีโนโซอิกเกิดการเปลีย่ นแปลงครัง้ ใหญ่ ที่แตกต่างไปจากมหายุคมีโซโซอิก หลังจากไดโนเสาร์ได้สูญพันธุ์ ไปจนหมดสิน้ เมือ่ สิน้ มหายุคมีโซโซอิก ในขณะทีส่ ตั ว์เลีย้ งลูกด้วยนม และพื ช ดอกได้ วิ วั ฒ นาการขึ้ น มาอย่ า งรวดเร็ ว รวมทั้ ง มี ค วาม หลากหลายในสายพันธุ์ตลอดมหายุคซีโนโซอิก อย่างไรก็ตาม ไม่มี การพบหลักฐานของหินยุคพาลีโอจีนในโคราชเลย มีเพียงหลักฐาน และรายงานการศึกษาของซากดึกดำบรรพ์ในยุคนีโอจีนและยุค ควอเทอร์นารีเท่านั้น การเปลี่ยนแปลงเริ่มตั้งแต่การก่อเทือกเขา หิมาลัยในช่วงยุคพาลีโอจีนจากการชนกันระหว่างอนุทวีปอินเดีย กับมหาทวีปยูเรเชีย ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจนใน หลายลักษณะของธรณีสณ ั ฐาน ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Tapponnier et al., 1982) ซากดึกดำบรรพ์มหายุคซีโนโซอิกที่พบในโคราชได้มาจาก ตะกอนทีย่ งั ไม่แข็งตัว โดยเฉพาะอย่างยิง่ จากตะกอนทางน้ำตามริม แม่น้ำมูลและสาขา เช่น จากบ้านโคกสูง อำเภอเมืองนครราชสีมา ไปจนถึงอำเภอเฉลิมพระเกียรติ และอาจต่อเนื่องไปจนถึงอำเภอ พิมายและอำเภอชุมพวง มีการค้นพบซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์ มากมายจากบ่อทรายริมแม่น้ำมูลหลายบ่อ ได้แก่ ซากดึกดำบรรพ์ ของสัตว์งวงอย่างเช่น กอมโฟธีเรียม โปรตานันคัส โปรไดโนธีเรียม เตตระโลโฟดอน สเตโกโลโฟดอน ไซโนมาสโตดอน สเตโกดอน และ เอลิฟาส ซากดึกดำบรรพ์สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่นๆ ได้แก่ ควาย (Bubalus bubalis) แรด (Brachipotherium sp., Chilotherium sp., Gaindatherium sp., Aceratherium sp.) ฮิ ป โปโปเตมั ส ม้าฮิปปาเรียน อุรังอุตัง (Khoratpithecus piriyai) แอนทราโคแธร์ (Merycopotamus thachangensis) กวางแอนติ โ ลป ยี ร าฟ (?Sivatherium sp.) หมู (Hippopotamodon sivalensis, Tetraconodon sp., Conohyus sp., Hyotherium sp.) เสือเขีย้ วดาบ ไฮยีน่า (Crocuta crocuta) กวางดาว (Axis axis) และกระจง นอกจากนัน้ ยังมีสตั ว์เลือ้ ยคลาน ได้แก่ ตะโขง (Gavialis gangeticus) ตะพาบ และ เต่า รวมถึงเปลือกหอยชนิดต่างๆ ด้วย เป็นต้น เป็นทีน่ า่ เสียดายทีซ่ ากดึกดำบรรพ์ตา่ งๆ ทีไ่ ด้มาจากบ่อทราย หลายแห่งนั้น ไม่ทราบตำแหน่งทางการลำดับชั้นหินที่แน่นอน เนือ่ งจากการค้บพบซากดึกดำบรรพ์เกือบทัง้ หมดได้มาจากกระบวนการ ดูดทรายโดยใช้น้ำฉีดเป็นหลัก ทำให้ซากดึกดำบรรพ์หลุดจากชั้นที่ แท้จริงแล้วมาผสมรวมกันก่อนจะถูกเก็บไปศึกษาโดยไม่ทราบ ตำแหน่งของการลำดับชั้นหินที่แท้จริง อย่างไรก็ตาม ในแง่ของ วิวัฒนาการตามรูปลักษณ์สัณฐานของซากดึกดำบรรพ์ อย่างเช่น สัตว์งวงนั้น ถือได้ว่ากอมโฟธีเรียมเป็นสกุลที่มีความเก่าแก่โบราณ ทีส่ ดุ โดยพบครัง้ แรกในสมัยไมโอซีนตอนต้น และเอลิฟาสถือได้วา่ มี วิวัฒนาการที่ก้าวหน้าทันสมัยที่สุดซึ่งพบครั้งแรกในสมัยไพลโอซีน จนถึงปัจจุบัน สัตว์งวงทั้งหลายที่กล่าวมารวมทั้งสัตว์เลี้ยงลูกด้วย นมอืน่ ๆ ได้สญ ู พันธุไ์ ปจากประเทศไทยอย่างมีปริศนา และสัตว์งวง
cm.
An incomplete mandibular corpus of ape, Khoratpithecus piriyai, from Chaloem Phra Kiat district. ขากรรไกรล่างพร้อมฟันของเอป โคราชพิเธคัส พิริยะอิ จากอำเภอเฉลิมพระเกียรติ
Skull of hygena, Crocuta crocuta, from Ban Khok Sung. กะโหลกของไฮยีน่าจากบ้านโคกสูง
Skull and mandible of an Indian gharial, Gavialis gangeticus, from Ban Khok Sung. กะโหลกและขากรรไกรล่างของตะโขงจากบ้านโคกสูง
เกือบทัง้ หมดได้สญ ู พันธุไ์ ปจากโลกของเรา รวมถึงช้างสกุลเอลิฟาส หลายสายพันธุย์ กเว้นเพียงช้างเอเชียชนิด Elephas maximus ซึง่ ยัง คงดำรงเผ่ า พั น ธุ์ ต ราบจนถึ ง ปั จ จุ บั น ถึ ง แม้ แ หล่ ง ที่ ม าของซาก ดึกดำบรรพ์สตั ว์เลีย้ งลูกด้วยนมจากลุม่ แม่นำ้ มูลจะยังคงเป็นปัญหา แต่ซากดึกดำบรรพ์ทั้งหลายที่ได้มานั้น สามารถจำแนกออกได้เป็น สามกลุ่ม คือ กลุ่มที่มีอายุอยู่ในสมัยไมโอซีนตอนกลาง ไมโอซีน ตอนปลาย และไพลโอซีนถึงไพลสโตซีนตอนต้น (Hanta et al., 2008) โคราชในช่วงมหายุคซีโนโซอิกตอนปลายนั้น มีแม่น้ำมูล เป็ น แม่ น้ ำ สายหลั ก และมี แ ม่ น้ ำ สาขาอี ก หลายสาย อยู่ ภ ายใต้ ภูมอิ ากาศแบบเขตร้อน มีแนวผืนป่าตามริมชายฝัง่ แม่นำ้ ทีเ่ ป็นทีอ่ ยู่ ของเอป เสือเขี้ยวดาบ และแอนทราโคแธร์ ส่วนท้องทุ่งหญ้ากว้าง ถัดออกไปเป็นที่อยู่ของฝูงวัวควาย แรด ม้า และสัตว์งวงที่ร่อนเร่ หากินไปเรือ่ ย ขณะทีก่ วางและหมูมกั เตร็ดเตร่หากินอยูต่ ามชายทุง่ มีจระเข้มากมาย รวมถึงตะโขง เต่า ตะพาบ ปลา และหอยอยูใ่ นแม่นำ้ ขณะทีบ่ รรดาฮิปโปโปเตมัสกำลังแช่นำ้ อยูใ่ นแม่นำ้ อย่างเพลิดเพลิน ได้มีการค้นพบซากดึกดำบรรพ์ของกรามพวกโฮมินอยด์ (Khoratpithecus piriyai) ที่มีสภาพค่อนข้างสมบูรณ์ชิ้นหนึ่งจาก บ่อทรายตำบลท่าช้าง โดยพบร่วมกับซากท่อนไม้ เศษไม้ และสัตว์ มีกระดูกสันหลังขนาดใหญ่อย่างพวกสัตว์งวง ซากพืช ซึ่งบ่งชี้ถึง สภาพป่ า เขตร้ อ นริ ม ชายฝั่ ง แม่ น้ ำ และถั ด ออกไปเป็ น ทุ่ ง หญ้ า กว้างขวาง สัณฐานหลายประการของชิ้นกรามและฟันมีลักษณะ ร่วมกับเอป ที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับอุรังอุตังปัจจุบัน ซึ่งเป็น เอปสกุลที่พบเฉพาะในเอเชียเท่านั้น โดยพบในป่าธรรมชาติของ ประเทศอินโดนีเซียและมาเลเซียในป่าฝนบนเกาะสุมาตราและ บอร์เนียวตามลำดับ โฮมินอยด์สกุล Khoratpithecus นี้ มีรายงานการค้นพบ ครัง้ แรกทีเ่ หมืองลิกไนต์เชียงม่วนในจังหวัดพะเยา เป็นฟัน 18 ซี่ มีอายุ สมัยไมโอซีนตอนกลาง มีลักษณะคล้ายเอปสกุล Lufengpithecus และได้รับการตั้งชื่อว่า cf. Lufengpithecus chiangmuanensis (Chaimanee et al., 2003) อย่างไรก็ตาม ในภายหลังได้รบั การปรุงปรุง ให้เป็น Khoratpithecus chiangmuanensis เนือ่ งจากได้มกี ารค้นพบ ชิน้ ตัวอย่างใหม่ของขากรรไกรพร้อมฟันกรามทีม่ คี วามสมบูรณ์กว่า จากบ่ อ ทรายสมศั ก ดิ์ ในอำเภอเฉลิ ม พระเกี ย รติ แ ละได้ รั บ การ ตั้งชื่อว่า Khoratpithecus piriyai (Chaimanee et al., 2004) และ เมือ่ เร็วๆ นี้ ได้มรี ายงานการค้นพบกระดูกขากรรไกรล่างจากหินทราย ของหมวดหิ น อิ ร ะวดี ใ นประเทศเมี ย นมาร์ ได้ รั บ การตั้ ง ชื่ อ ว่ า Khoratpithecus ayeyarwadyensis (Jaeger et al., 2011) เอปสายพันธุ์ทั้งสามในสกุล Khoratpithecus เป็นเอปที่อาศัยอยู่ บนพื้นดิน กินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหาร และได้สูญพันธุ์ไปแล้ว ทั้งหมด แต่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับอุรังอุตังในปัจจุบัน ใกล้กบั โขลงของสัตว์งวง ฝูงของสัตว์เลีย้ งลูกด้วยนมฝูงหนึง่ ทีม่ รี ปู ลักษณะผสมผสานระหว่างหมูกบั ฮิปโปโปเตมัสหรือทีเ่ รียกว่า
39 PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
and were thus collected with unknown real stratigraphic positions. However, in terms of morphologic evolution of the fossils, Gomphotherium is regarded as the most primitive genus first appearing in Early Miocene and Elephas is the most advanced first appearing in the Pliocene. Almost all of the mentioned proboscideans and some of the other mammals have mysteriously become extinct, from Thailand particularly, and the proboscideans from our Planet Earth including many species of Elephas, except Elephas maximus, the Asian elephant, which still survives in the present day. Although the provenance of mammalian fossils along the Mun River is problematic, the fossil assemblages have indicated that they can be sorted into three fossil assemblages of Middle Miocene, Late Miocene, and Early Pleistocene (Hanta et al., 2008). Khorat during this Late Cenozoic had a large main river, the Mun River, with its tributaries, under a warm tropical climate. Strips of riverside forests were inhabited by apes, saber-toothed cats, and anthracotheres. Grasslands beyond the forests were where herds of bovines, rhinoceroses, horses, and proboscideans roamed while the deer and pigs wandered along the edge of the grasslands. There were plenty of crocodiles, Indian gharials, turtles, soft-shelled turtles, fishes, and mollusks in the river while some hippopotamuses were bathing. A well preserved lower jaw of Late Miocene hominoid fossil from a sandpit in Tha Chang, Khoratpithecus piriyai, was associated with many fossil tree trunks, wood fragments, and large vertebrate remains such as proboscideans. The flora indicates the occurrence of a riverine tropical forest and wide areas of grassland. Several of the derived morphological characters are shared with the orangutan, indicating a sister-group relationship with that extant ape. Orangutans are the only exclusively Asian genus of extant great apes. They are native to Indonesia and Malaysia currently found only in rainforests on the islands of Borneo and Sumatra. The genus Khoratpithecus was first described as cf. Lufengpithecus chiangmuanensis on the basis of eighteen Middle Miocene tooth specimens from the Chiang Muan lignite mine in Payao, northern Thailand (Chaimanee et al., 2003). However, the species has later been referred to as into Khoratpithecus chiangmuanensis due to the new discovery
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
A tooth of Stegolophodon sp. from Chaloem Phra Kiat district. ฟันของช้างสกุล สเตโกโลโฟดอน จากอำเภอเฉลิมพระเกียรติ
40
cm.
of a well preserved specimen of an incomplete mandibular corpus from a sandpit in Chaloem Phra Kiat, Nakhon Ratchasima, that has been designated as Khoratpithecus piriyai (Chaimanee et al., 2004). Recently, a mandible (left hemi-mandible with P3-M2) was reported as another species, Khoratpithecus ayeyarwadyensis, from Tortonian sandstone in the Irrawaddy Formation of Myanmar (Jaeger et al., 2011). These species are regarded as extinct ground dwelling omnivorous apes closely related to the extant species of orangutans.
“แอนทราโคแธร์” กำลังเคลือ่ นฝูงไปตามริมฝัง่ แม่นำ้ มูล สัตว์เหล่านี้ มีขนาดใกล้เคียงกับหมูป่าปัจจุบัน ซากดึกดำบรรพ์ที่พบเป็นส่วน ของกะโหลกที่ได้รับการศึกษาแล้วว่าเป็นชนิดใหม่ในปี พ.ศ. 2551 โดยเป็นชนิดหนึง่ ของแอนทราโคแธร์สกุล Merycopotamus ซึง่ เป็น สายพันธุ์ที่มีความใกล้เคียงกับชนิดที่พบในเทือกเขาศิวาลิกและ ที่ราบสูงพอตวาร์ของปากีสถาน ในเมียนมาร์ เอซาดแคสเมียร์ อิรัก เนปาล และอินโดนีเซีย โดยชิน้ ตัวอย่างจากโคราชนัน้ มีความแตกต่าง ไปจากชิ้นตัวอย่างที่พบในพื้นที่ดังกล่าว และได้ตั้งชื่อชนิดเป็น Merycopotamus thachangensis (Hanta et al., 2008)
Merycopotamus เป็นแอนทราโคแธร์เอเชียสกุลที่สูญพันธุ์ ไปแล้ว พบอยู่ในช่วงสมัยไมโอซีนตอนกลางและใหม่สุดอยู่ในช่วง สมัยไพลโอซีนตอนปลาย ช่วงเวลาที่แอนทราโคแธร์สกุลนี้มีการ แพร่ ก ระจายพั น ธุ์ สู ง สุ ด พบทั่ ว ทั้ ง เอเชี ย ใต้ และเมื่ อ สายพั น ธุ์ M. dissimilis สูญพันธุ์ ก็ถึงวาระสุดท้ายของ Merycopotamus มีการค้นพบไม้กลายเป็นหินโดยทัว่ ไปจนถึงหนาแน่นมากใน บางบริเวณและมีความหลากหลายสายพันธุพ์ บจากชัน้ ตะกอนตะพัก ลุ่มน้ำสมัยไพลโอ-ไพลสโตซีน หลายชิ้นตัวอย่างได้รับการศึกษา พบว่าเป็นชนิดพันธุไ์ ม้ทปี่ ระกอบด้วย พฤกษ์ กฤษณา วงศ์ไม้มะม่วง สะเดา ขานาง สมอจีน กระโดน สะแก อัมพวา ยาง มะค่าโมง เขลง กระบก สาธร มะม่วง ลำพูป่า ตะเคียนหนู สมอหรือหูกวาง มะแฟน พระเจ้าห้าพระองค์ โมกหลวง โมกมัน และปาล์ม 5 ชนิด พันธุ์ไม้ ทั้ ง หมดเหล่ า นี้ แ สดงลั ก ษณะเหมื อ นสายพั น ธุ์ ใ นปั จ จุ บั น ซึ่ ง พบ แพร่กระจายพันธุบ์ นทีร่ าบสูงโคราชในป่าดิบแล้งถึงป่าเบญจพรรณ และป่าใบกว้างไม่ผลัดใบ (Vozenin-Serra and Privé-Gill, 2001; Benyasuta, 2003; Wang et al., 2006; Boonchai, 2008) ที่บ้านโคกสูง อำเภอเมืองนครราชสีมา มีการค้นพบแหล่ง ซากดึกดำบรรพ์ทมี่ คี วามสมบูรณ์ในสระขุดขนาดกลางทีพ ่ ฒ ั นาขึน้ มาเป็นแหล่งน้ำอุปโภคโดยโรงสีข้าวขนาดใหญ่แห่งหนึ่ง พบซาก ดึกดำบรรพ์หลากหลายสายพันธุ์ เช่น ไฮยีน่า สเตโกดอน วัวควาย และกวางดาว สัตว์เลือ้ ยคลานทีพ ่ บมีลกั ษณะสมบูรณ์ดี เช่น ตะโขง เต่า และปลา โดยพบร่วมกับท่อนซุงพร้อมซากดึกดำบรรพ์ของผลไม้ และเมล็ดพืชมากมาย ซากสัตว์มกี ระดูกสันหลังมักพบอยูใ่ นสภาพที่ สมบูรณ์ประกอบด้วยส่วนของกะโหลก ขากรรไกร ฟัน กระดูก และ เขากวาง โดยพบอยู่ในชั้นตะกอนทรายปนกรวดยุคควอเทอร์นารีที่ ระดับความลึก 4-5 เมตรจาผิวดิน ซากดึกดำบรรพ์เหล่านี้สะสมตัว ในร่องน้ำและที่ราบน้ำท่วมถึงในระบบทางน้ำโค้งตวัดซึ่งสังเกตได้ จากซากดึกดำบรรพ์ที่มีสภาพการเก็บรักษาอยู่ในสภาพที่ดี และ การลำดั บ ชั้ น ตะกอนเป็ น แบบมี ข นาดตะกอนเล็ ก ลงขึ้ น ไปทาง ด้านบน (Duangkrayom, 2007) นอกจากนี้ ได้มีการพบซากของผลไม้ที่บ้านโคกสูงที่ยังคง มี ส ภาพดี ผลไม้ เ หล่ า นี้ ป ระกอบด้ ว ยผลของพื ช ในสกุ ล พุ ท รา ชนิดใหม่ ยางปาย เลี่ยน และพระเจ้าห้าพระองค์ นอกจากนี้ ยังพบ หัวกลมของต้นกกที่มีลักษณะคล้ายหัวกลมของกกสกุล Cyperus หรือสกุล Bolboschoenus พันธุ์ไม้ต่างๆ ดังกล่าวสามารถบรรยาย ได้ว่าบ้านโคกสูงมีสภาพป่าเป็นแบบป่าเบญจพรรณเขตร้อนและ ป่ า ดิ บ แล้ ง และจากหลั ก ฐานของการศึ ก ษาสนามแม่ เ หล็ ก โลกโบราณ กล่าวได้ว่า ซากดึกดำบรรพ์ต่างๆ มีการตกสะสมตัว ในช่วงอายุไม่เกิน 700,000 ปี (Grote, 2007)
41 PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
Beside a herd of ancient proboscideans, a herd of small mammals with a morphological combination of pig and hippopotamus features, anthracothere, was roaming around along the Mun riverside. These mammals were more or less the same size as modern boars. A fossil specimen of a cranium was described and identified as a new species in 2008. It is a species of Merycopotamus closely related to the species found in Siwalik Hill, Myanmar, Potwar Plateau in Pakistan, Azad Kashmir, Iraq, Nepal, and Indonesia. The specimen from Khorat was regarded as different from fossils from those areas. Merycopotamus thachangensis was thus designated as a new species found in the Tha Chang sandpit (Hanta et al., 2008). Merycopotamus is an extinct genus of Asian anthracothere that appeared during the Middle Miocene, and died out in the Late Pliocene. At the height of influence of the genus, species ranged throughout southern Asia. With the extinction of the last species, M. dissimilis, the lineage of anthracotheres came to an end. Merycopotamus was closely related to the anthracothere genus Libycosaurus, which, unlike the former, never left Africa. In fact, some African fossils originally placed in Merycopotamus, but are now referred to Libycosaurus. Fossil woods are common to abundant with diversified species mainly deposited in association with Plio-Pleistocene river terrace deposits. Some specimens were described and identified such as Albizia lebbeck, Aquilaria sp., Anacardiaceae, Azadirachta sp., Homalium tomentosum, Canarium sp., Careya sphaerica, Combretum spp., Cynometroxylon spp., Dipterocarpoxylon sarapeense, Pahudioxylon sahnii, Dialium cochinchinense, Irvingia sp., Millettia leucantha, Mangiferoxylon sp., Duabanga grandiflora, Anogeissus acuminata, Terminalia spp., Terminalia paracoriaceum, Protium serratum, Dracontomelon dao, Holarrhena pubescens, Wrightia arborea, and five species of palm. Most taxa show resemblance to the modern taxa distributed in the Khorat Plateau at present and represent dry evergreen to mix deciduousand and evergreen broadleaf forests (Vozenin-Serra and Privé-Gill, 2001; Benyasuta, 2003; Wang et al., 2006; Boonchai, 2008).
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
42
In Ban Khok Sung, Mueang, Nakhon Ratchasima, a large assemblage of fossil vertebrates was found in a medium sized dug pond developed for water supplies by a large rice mill. It yielded diversified taxa such as spotted hyenas, Stegodon, bovines, and chital deer. Reptiles were found as well preserved specimens such as Indian gharials, turtles, and fishes in association with common fossil tree trunks and abundant fruits and seeds. Most of the vertebrates are complete specimens comprising parts of skulls, jaws, teeth, bones, and antlers collected from the Quaternary gravelly sand layer between 4-5 meters deep from the ground surface. The fossil assemblages have been deposited in the channels and floodplain of a meandering river system as indicated by the presence of well preserved fossil specimens and fining-upward sedimentary sequences. In addition, fossil fruits were reported from Ban Khok Sung with good preservations. These fruites consist of Ziziphus khoksungensis, Dipterocarpus costatus, Melia azedarach, and Dracontomelon dao. Tubers have also been recovered that are similar to those of Cyperus or Bolboschoenus. The above specimens suggest the presence of tropical mixed deciduous and dry evergreen forests (Grote, 2007). Based on paleomagnetic polarity analysis, the plant community mentioned above inhabited Ban Khok Sung at approximately younger than 780,000 years B.P. (Grote, 2007). Surprisingly, fossil assemblages from Tha Chang and Khok Sung present interesting pictures of ancient animal communities more or less equivalent to those found in modern-day Africa. The spotted hyenas are today only found in Africa, but during the Late Cenozoic they also inhabited Eurasia including Khorat and became extinct by the end of the Late Pleistocene. The cause of this extinction is now still mysterious, as well as is the extinction of proboscideans. Proboscideans have comprised up to 175 species of 42 genera of 10 families in the past (Shoshani and Tassy, 2005), but at present there are only three species left, a species of Asian elephant Elephas maximus and two species of African elephants, Loxodonta africana and Loxodonta cyclotis. The fossil woods mostly belong to flowering plants of both dicotyledons and palms. The taxonomic composition of the fossil assemblages strongly suggest that they are either
เป็นที่น่าแปลกใจอย่างยิ่งที่พบว่า ซากดึกดำบรรพ์จากบ้าน โคกสูงและบ้านท่าช้าง ได้สะท้อนภาพให้เห็นว่า มีองค์ประกอบที่มี ลักษณะคล้ายกับที่พบในแอฟริกา เพราะในปัจจุบันพบไฮยีน่า เฉพาะที่แอฟริกาเท่านั้น แต่ในช่วงมหายุคซีโนโซอิกตอนปลายนั้น พบว่ามีไฮยีน่าการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวาง พบในทวีปยุโรป และทวีปเอเชียและรวมทัง้ ทีโ่ คราชทีไ่ ด้สญ ู พันธุไ์ ปโดยสิน้ เชิงในช่วง สมัยไพลสโตซีนตอนปลาย สาเหตุของการสูญพันธุซ์ งึ่ หมายรวมถึง บรรดาสัตว์งวงและสัตว์อนื่ ๆ ยังคงเป็นปริศนา โดยเฉพาะสัตว์งวงนัน้ ในอดีตมีมากถึง 175 ชนิด 42 สกุลใน 10 วงศ์ (Shoshani and Tassy, 2005) แต่ในปัจจุบนั มีเหลืออยูเ่ พียง 3 ชนิด เป็นช้างเอเชียหนึง่ ชนิด คื อ Elephas maximus และเป็ น ช้ า งแอฟริ ก าสองชนิ ด คื อ Loxodonta africana และ Loxodonta cyclotis สำหรั บ ไม้ ก ลายเป็ น หิ น นั้ น เป็ น ทั้ ง ของพื ช ดอกทั้ ง ชนิ ด ใบเลีย้ งคูแ่ ละชนิดใบเลีย้ งเดีย่ ว องค์ประกอบทางอนุกรมวิธานของ ซากดึกดำบรรพ์ชชี้ ดั ว่า มีอายุอยูใ่ นยุคนีโอจีนและยุคควอเทอร์นารี และไม่ควรมีอายุแก่ไปกว่ายุคนีโอจีน โดยเฉพาะอย่างยิง่ การปรากฏ ของไม้วงศ์ยาง ทัง้ นีห้ นิ กรวดมนและไม้กลายเป็นหินในพืน้ ทีส่ ถาบัน วิจัยไม้กลายเป็นหินและทรัพยากรธรณีฯ บ้านโกรกเดือนห้านั้น พิ จ ารณาได้ ว่ า เป็ น ตะกอนตะพั ก ทางน้ ำ ยุ ค นี โ อจี น หรื อ ยุ ค ควอเทอร์นารี การปรากฏของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ในโคราช และในพื้นที่อื่นๆ นั้น ถือเป็นกุญแจดอกสำคัญที่จะไขไปสู่ความ เข้าใจเกี่ยวกับมณฑลสัตว์อินโดจีนและมณฑลสัตว์ซุนดาในช่วง ปลายของสมัยไพลสโตซีนตอนกลางถึงตอนปลาย จากหลักฐาน ดังกล่าวสนับสนุนว่าประเทศไทยเคยเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทาง การอพยพของสัตว์บนทวีป ซึ่งสังเกตได้จากข้อเท็จจริงที่ว่าสัตว์ ต่างๆ บนผืนแผ่นดินใหญ่มีลักษณะวิวัฒนาการที่ก้าวหน้ากว่า ขณะทีส่ ตั ว์บนเกาะชวานัน้ ส่วนใหญ่ประกอบไปด้วยสัตว์ประจำถิน่ นอกจากนี้ ยังได้รับการสนับสนุนจากการปรากฏของสัตว์ทางซีก โลกเหนือ อย่างเช่น หมีแพนด้าและไฮยีน่าจากแหล่งที่มีอายุช่วง ปลายของสมัยไพลสโตซีนตอนกลางในประเทศไทย ทั้งนี้เป็นผล เนื่องมาจากการเย็นลงของภูมิอากาศทางซีกโลกเหนือในช่วงสมัย ไพลสโตซีน ทำให้สตั ว์ตา่ งๆหนีความหนาวเย็นด้วยการอพยพลงมา ทางใต้ แม้ว่าเขตแบ่งระหว่างมณฑลทั้งสองในปัจจุบันจะอยู่ที่ คอคอดกระบริเวณแหลมไทย แต่วา่ เขตดังกล่าวในอดีตนัน้ อยูล่ งไป ทางใต้ไกลกว่าปัจจุบนั มาก ดังการปรากฏของช้างทีส่ ญ ู พันธุไ์ ปแล้ว ชนิด Elephas namadicus ทีพ่ บในประเทศมาเลเซีย (Tougard, 2001) ดังนั้น โคราชจึงเคยเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางการอพยพครั้งใหญ่ มาก่อนของสัตว์ในช่วงยุคน้ำแข็ง นอกจากนี้ ชัน้ ตะกอนในบ่อทรายทีต่ ำบลท่าช้าง และตำบล ช้างทอง ของอำเภอเฉลิมพระเกียรติ ซึ่งมีเทกไทต์อยู่ด้วยนั้น ได้รับ
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
43
cm.
Teeth of Gomphotherium sp. from Chaloem Phra Kiat district. ฟันของช้างสกุล กอมโฟธีเรียม จากอำเภอเฉลิมพระเกียรติ
Neogene or Quaternary floras and not older than Neogene, especially because of the presence of dipterocarpaceous woods. Conglomerates with silicified woods around the area of the Northeastern Research Institute of Petrified Wood and Mineral Resources, Ban Krok Duean Ha, are considered as a Neogene or Quaternary river terrace deposit. The presence of large mammal faunas in Khorat and other localities is a key to understanding the late Middle/Late Pleistocene Indochinese and Sundaic zoological provinces. It supports that Thailand was a part of the continental migration route by the fact that mainland faunas already
การศึกษาทัง้ ทางการลำดับชัน้ หินและการตรวจหาอายุ โดยการเก็บ ตัวอย่างเทกไทต์จากชัน้ ตะกอนไปตรวจสอบรูปร่างพบว่ามีลกั ษณะ เป็นรูปหยดน้ำตา ดัมบ์เบลล์ และรูปแผ่นวงกลม เทกไทต์เหล่านี้ มีขนาดแปรผันจากขนาดเล็กกว่า 0.5 มม ไปจนถึงขนาด 5 ซม พบจากชั้นตะกอนกรวดหนาชั้นหนึ่ง จากชุดลักษณะของตะกอน และอายุของเทกไทต์ และรวมถึงจากข้อมูล ทางธรณีวิทยาที่มี อยู่ก่อนทำให้วินิจฉัยได้ว่าเทกไทต์เหล่านี้เกิดขึ้นในช่วงประมาณ 0.75 ล้านปีกอ่ น อันเป็นผลเนือ่ งมาจากการกระแทกอย่างรุนแรงของ วัตถุนอกโลกบริเวณเขตแดนไทย-ลาว-กัมพูชา การกระแทกของ วัตถุนอกโลกดังกล่าวทำให้เกิดการหลอมละลายของชั้นหินทราย มหายุคมีโซโซอิกของกลุ่มหินโคราชที่มีปริมาณของแร่ควอตซ์สูง
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
Mandible with teeth of rhinoceros, Aceratherium sp. from Chaloem Phra Kiat district. ขากรรไกรล่างพร้อมฟันของแรด เอเซอราธีเรียม จากอำเภอเฉลิมพระเกียรติ
44
cm.
displayed modern characters, whereas the Javanese fauna were mainly composed of endemic forms. It is also confirmed by the presence of northern species such as the panda Ailuropoda melanoleuca and spotted hyena Crocuta crocuta in Late Middle Pleistocene sites of Thailand. Because of climatic cooling that occurred in the northern hemisphere during the Pleistocene, the northern faunas had to move southward. Even though the boundary between the two zoological provinces is today located at the Kra Isthmus in peninsular Thailand, the boundary in the past was located more
southward than today as suggested by the presence of the extinct elephant species, Elephas namadicus found in a Malaysian site (Tougard, 2001). Therefore, Khorat was a part of the great dispersal corridor during the ice age. In addition, a sedimentary profile with tektite sedimentary host was stratigraphically and chronologically studied from a sandpit in Tha Chang, Chaloem Phra Kiat district. Few tektites were collected entirely from a sedimentary unit and were recognized on the basis of geometry including teardrop, dumbbell, and circular tektites. The tektites ranging in size
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
45
Skull of an anthracothere, Merycopotamus thachanensis, from Chaloem Phra Kiat district. กะโหลกของแอนทราโคแธร์ เมอริโคโปเตมัส ท่าช้างเอนซิส จากอำเภอเฉลิมพระเกียรติ
cm.
from less than 0.5 mm to up to 5 cm, were discovered from a thick pebble bed. Based on the sedimentary facies and age dating investigation together with previous geological reports, the tektites tentatively originated during the Pleistocene 0.75 Ma as a result of a fast-velocity and ultrahigh-pressure meteorite impact in an area at the Thai-Lao-Cambodia border. This may have caused melting of quartz-rich Mesozoic non-marine strata of the Khorat Group generating the Thailandite tektite strewnfield (Charusiri et al., 2002).
เกิดการกระเด็นไกลออกไปแล้วตกเป็นบริเวณพืน้ ทีก่ ว้างทีม่ เี ทกไทต์ ไทยแลนไดต์ตกสะสมตัวอยู่ทั่วไป (Charusiri et al., 2002) นอกจากนี้ ยังมีการพบเทกไทต์ตกสะสมตัวเป็นบริเวณ กว้างขวาง จากประเทศจีน เวียดนาม ลาว และกัมพูชา เทกไทต์ เหล่านี้ได้รับการตั้งชื่อตามสถานที่พบดังกล่าว อย่างเช่น ไชไนต์ อินโดไชไนต์ ไทยแลนไดต์ และรวมไปจนถึงออสตราไลต์ เทกไทต์ เหล่ า นี้ เ กิ ด ขึ้ น จากการกระแทกของวั ต ถุ น อกโลกเมื่ อ ประมาณ 0.7 ถึง 0.8 ล้านปีก่อน ซึ่งทั้งหมดได้รับการตั้งชื่อโดยรวมว่า “เทกไทต์ออสตราเลเชียน”
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
The tektites are widely distributed from China, Vietnam, Lao, and Cambodia. They have been named according to the localities where they have been found as Chinite, Indochinite, Thailandite, and even Australite. They were generated by meteor impacts from the same event, about 0.7-0.8 Ma, and all of them have been named as Australasian tektites. The Early Pleistocene meteorite impacts in Thailand and nearby countries have been seriously debated among geologists. It was first postulated by Bunopas (1990) that the meteor impacts generated a vast volume of sediment catapulted into the atmosphere as catastroloess and deposited as a soil series all over the region. This soil series is equivalent to the Yasothon soil series first described by Moormann et al. (1964). If the story of Early Pleistocene meteorite impacts is real, it is possible that it might be directly related to the extinction of some animals like proboscideans, splotted hyenas, and others. Multidisciplinary research in involved branches of sciences is strongly suggested to solve this questionable event. ................................................................................................
46
การกระแทกของวัตถุนอกโลกในช่วงสมัยไพลสโตซีนตอนต้น ถึงตอนกลางในประเทศไทยและประเทศใกล้เคียงนัน้ เป็นทีว่ พ ิ ากษ์ กันมากในหมู่นักธรณีวิทยา ผู้กล่าวอ้างเป็นครั้งแรกคือ ดร.สงัด พันธุ์โอภาส (Bunopas, 1990) ที่เสนอว่าได้มีการกระแทกของวัตถุ นอกโลกทำให้เกิดตะกอนจำนวนมหาศาลฟุ้งกระจายขึ้นไปบน ท้องฟ้าแล้วตกลงมาสะสมตัวเป็นชุดดินลมหอบแผ่ปกคลุมไปทัว่ ทัง้ ภูมภิ าค ชุดดินนีเ้ ทียบเคียงได้กบั ชุดดินยโสธรทีศ่ กึ ษาและตัง้ ชือ่ ขึน้ เป็นครั้งแรกโดย Moormann et al. (1964) หากเรือ่ งราวเกีย่ วกับการพุง่ ชนของวัตถุนอกโลกในช่วงสมัย ไพลสโตซีนนี้เป็นความจริง เป็นไปได้ว่าเหตุการณ์อาจจะมีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์โดยตรงกับการสูญพันธุ์ของสัตว์บางชนิดอย่าง เช่นสัตว์งวง ไฮยีน่า และสัตว์อื่นๆ ในที่นี้จึงขอเสนอแนะให้มี การศึกษาวิจัยแบบสหวิทยาการในวิทยาศาสตร์แขนงที่เกี่ยวข้อง เพื่อหาคำตอบเกี่ยวกับเหตุการณ์ปริศนานี้ Late Cenozoic landscape of Ban Tha Chang showing ecosystem near the Mun River ภูมิทัศน์มหายุคซีโนโซอิกตอนปลายที่บ้านท่าช้างบริเวณริมฝั่งแม่น้ำมูล
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
47
5.4
PREHISTORIC HUMANS ................................................. มนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์
Khorat has a long history tracing back to over 4,000 years B.P. from Neolithic, Bronze, and Iron ages. Evidences of prehistoric humans are from two main archaeological sites, Ban Prasat and Ban Non Wat, in Non Sung district, about 45-50 kilometers north of the Khorat township. Ban Prasat site, Than Prasat sub-district, is set up as an outdoor museum. Findings indicate that the area was once inhabited by a prehistoric to early historic community. In addition, there is evidence that a community of the Dvaravati and Khmer periods thrived here some 1,500 to 3,000 years ago. There are three pits that have been landscaped and are open to the public. Discoveries of human skeletons and many pottery pieces that were dug up from various levels are evidence of human evolution, community beliefs, and culture.
Ban Non Wat, Phon Songkhram sub-district, is another village in Non Sung, located at about 12 kilometers west of the Ban Prasat archaeological site. It is regarded as the largest and richest archaeological digs with longest cultural continuity in Thailand under current excavation. It has become one of the most important sites for understanding indigenous societies ancestral to the Empire of Angkor. Evidence at the site traces the development of the area from supposed colonization by early Neolithic farmers about 4,000 years ago, through Bronze and Iron Age strata to more recent occupation. The village is still occupied today. This continuous occupation and archaeological richness makes the site virtually unique in Thailand, in particular, extensive Neolithic occupation and cemetery evidence is rare at Thai sites (Chang et al., 2010).
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
Ban Non Wat archaeological site in Non Sung district. แหล่งโบราณคดีบ้านโนนวัด อำเภอโนนสูง
48
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
49
โคราชมีประวัตศิ าสตร์ยอ้ นหลังไปยาวนานมากกว่า 4,000 ปี จากยุ ค หิ น ใหม่ ยุ ค สำริ ด และยุ ค เหล็ ก หลั ก ฐานของมนุ ษ ย์ ก่อนประวัติศาสตร์ในโคราชพบจากแหล่งโบราณคดีสองแหล่ง เป็นสำคัญ คือแหล่งโบราณคดีบ้านปราสาทและแหล่งโบราณคดี บ้านโนนวัด อยู่ในอำเภอโนนสูง ประมาณ 40-50 กิโลเมตรทาง ตอนเหนือของเมืองโคราช แหล่งโบราณคดีบา้ นปราสาท ตำบลธารปราสาท อำเภอโนนสูง ถูกขุดค้นและจัดแสดงกลางแจ้ง ชิ้นตัวอย่างที่พบบ่งชี้ว่า พื้นที่ เคยเป็ น ที่ ตั้ ง ถิ่ น ฐานของชุ ม ชนยุ ค ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ จ นถึ ง ยุ ค ประวัติศาสตร์ตอนต้น และยังพบว่ามีหลักฐานของชุมชนสมัย ทวารวดีและขอมตั้งรกรากที่นี่เมื่อประมาณ 1,500 ถึง 3,000 ปี ที่แล้วด้วย มีการขุดค้นจำนวนสามหลุม ปรับแต่งภูมิทัศน์ และ จั ด แสดงให้ ส าธารณชนเข้ า ชม มี ก ารค้ น พบซากมนุ ษ ย์ แ ละ ชิ้ น ตั ว อย่ า งเครื่ อ งปั้ น ดิ น เผา โดยขุ ด ลงไปผ่ า นชั้ น วั ฒ นธรรม หลายระดั บ ซึ่ ง เป็ น หลั ก ฐานแสดงถึ ง วิ วั ฒ นาการของมนุ ษ ย์ ความเชื่อและวัฒนธรรมของชุมชน อี ก แหล่ ง หนึ่ ง คื อ แหล่ ง โบราณคดี บ้ า นโนนวั ด ตำบล พลสงคราม อำเภอโนนสูง เป็นหมู่บ้านขนาดเล็ก ห่างไกลออกไป ทางด้านตะวันตกของแหล่งโบราณคดีบ้านปราสาท เป็นแหล่ง โบราณคดีที่มีหลุมขุดค้นทางโบราณคดีที่ใหญ่ที่สุดและมีความ ต่อเนื่องทางวัฒนธรรมที่ยาวนานที่สุดของประเทศไทย นับตั้งแต่ ยุคหินใหม่ ยุคสำริด ยุคเหล็ก ต่อเนือ่ งตลอดยุคประวัตศิ าสตร์ตงั้ แต่ สมัยทวารวดี เขมร อยุธยา รัตนโกสินทร์ จนถึงปัจจุบนั ยาวนานกว่า 200 ชั่วอายุคน ภายในมีการขุดค้นพบหลุมศพ กระดูกมนุษย์
เครื่องประดับ และไหโบราณมีลวดลายงดงามซึ่งมีอายุใกล้เคียง กับแหล่งโบราณคดีบ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี ประมาณ 4,500 ปี กล่าวโดยสรุป ชุมชนโบราณที่แหล่งโบราณคดีบ้านโนนวัดมีการ ดำรงชีวิตหรือความเป็นอยู่โดยการเลี้ยงสัตว์จำพวก วัว ควาย หมู และสุนขั ล่าสัตว์และดักสัตว์จำพวกวัวป่า หมูปา่ กวางป่า เนือ้ สมัน ละอง ละมั่ง เนื้อทราย เก้ง และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก จับสัตว์น้ำและสัตว์ครึ่งน้ำครึ่งบก จำพวกปลา หอย เต่า และ ตะพาบน้ำ การบริโภคสัตว์นยิ มกินไขกระดูก โดยการทุบขวางกระดูก นอกจากนี้ยังมีการเพาะปลูกข้าวและการแลกเปลี่ยนสินค้ากับ ชุมชนภายนอก สภาพแวดล้อมรอบแหล่งโบราณคดีเป็นที่ราบ น้ำท่วมขังและมีแม่น้ำ ลำน้ำสาขา คลอง สระ หนอง ส่วนป่าไม้ที่ โดดเด่นคือป่าเบญจพรรณ ป่าโปร่ง ป่าแดง หรือป่าเต็งรัง เพราะป่า เหล่านี้เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ที่พบจากแหล่งโบราณคดีแห่งนี้
6
FOSSIL MUSEUM DEVELOPMENT
........................................
การพัฒนา พิพิธภัณฑ์ซากดึกดำบรรพ์
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
6.1
50
PETRIFIED WOOD MUSEUM ................................... พิพิธภัณฑ์ ไม้กลายเป็นหิน
Thailand is a rich country in petrified wood, especially in Nakhon Ratchasima, Khon Kaen, Chaiyaphum, Buri Ram, Surin, Ubon Ratchathani, and Kalasin, and the northeast of Thailand is probably regarded as one of the most prominent petrified wood sites of Asia. The petrified wood has been known in Thailand for long time ago as indicated by a petrified tree log found over 90 years ago. In 1921, King Rama VI visited the railway construction crossing the Mun River at Ban Ta Kut Khon, Tha Chang, Chaloem Phra Kiat, Nakhon Ratchsima as a part of the construction project from Nakhon Ratchasima to Ubon Ratchathani. Phraya Ramphaiphongboribhat (Jit Bunnak), the chief engineer of the project presented him with a petrified tree log found from the Mun riverbed and bestowed to the king as an important and goodwill gift from local people. The king suggested conserving it in the local area. Since then, that piece of petrified tree log has been exhibited as a memorial monument near the railway bridge regarded as the first petrified wood conservation in Thailand. The monument reminds us of how local people appreciated the importance of petrified wood even over 90 years ago. Petrified wood in Nakhon Ratchasima as well as elsewhere in the Khorat basin is found commonly to abundantly in fluvial deposits as well as in the abandoned river terrace gravel deposits. During the years 1956-1958, a vast volume of lateritic gravel soil had been used for Mittraphap Road construction from Saraburi to Nakhon Ratchasima and the main source materials were from two sites, Khao Din (Ban Nong Rangka) and Khao Kaeo (Ban Krok
Duean Ha). The two sites had been exploited for construction materials for a long period of time as well as for using in construction of a runway in the 2nd Army Area, and then the two sites were known as the largest petrified wood sites of the province. Throughout nearly 40 years of the lateritic gravel soil exploitation at the two sites, thousands of medium and large sized petrified wood specimens had been taken from the areas for private possessions as well as for trading to both domestic and foreign countries (Boonchai et al., 2009) and the situation had become the petrified wood crisis of the province. Since the year 1994, many private and government sectors of the province headed by the Nakhon Ratchasima Rajabhat University had joined hands to establish a petrified wood conservation project and had later chosen a piece of land of about 32 acres in Ban Krok Duean Ha, with courtesy of the Suranaree Sub-district Administration Organization, for building and establishing a petrified wood museum. In
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
ช้านานแล้ว ดังหลักฐานจากท่อนไม้กลายเป็นหินที่ค้นพบมานาน กว่า 90 ปี ในปี พ.ศ. 2464 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จฯไปทอดพระเนตรโครงการก่อสร้างสะพานรถไฟข้ามแม่นำ้ มูล ที่บ้านตะกุดขอน ตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัด นครราชสีมา ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของโครงการสร้างทางรถไฟจากจังหวัด นครราชสีมาไปจังหวัดอุบลราชธานี พระยารำไพพงศ์บริพัตร (จิตร บุญนาค) ผู้อำนวยการและควบคุมการก่อสร้างทางรถไฟสายภาค อีสานตอนล่างได้นอ้ มเกล้าฯ ถวายไม้กลายเป็นหินทีช่ าวบ้านนำขึน้ มาจากท้องร่องแม่น้ำมูลแด่พระองค์ท่าน แต่พระองค์กลับทรง แนะนำให้เก็บรักษาไว้ในท้องที่ จากนั้นมา ไม้กลายเป็นหินท่อนดังกล่าวได้ถูกจัดแสดงเป็น อนุสรณ์สถานทีใ่ กล้สะพานรถไฟนัน่ เองและถือว่าเป็นไม้กลายเป็น หินท่อนแรกของประเทศไทยทีไ่ ด้รบั การอนุรกั ษ์ เป็นอนุสรณ์สถานที่ คอยย้ำเตือนว่า แม้แต่ชาวบ้านและข้าราชการในท้องถิ่นยังเห็น ความสำคัญของไม้กลายเป็นหิน และได้ร่วมใจกันอนุรักษ์เป็น ระยะเวลากว่า 90 ปีมาแล้ว ไม้กลายเป็นหินในจังหวัดนครราชสีมาและที่อื่นๆ ในแอ่ง โคราช พบได้ทวั่ ไปจนถึงพบอย่างหนาแน่นในตะกอนทางน้ำรวมถึง ตะกอนตะพักทางน้ำที่แม่น้ำได้เปลี่ยนทิศทางไป ในช่วงปี พ.ศ. 2499-2501 ได้ มี ก ารขุ ด ขนดิ น กรวดลู ก รั ง จำนวนมหาศาลไป ก่ อ สร้ า งถนนมิ ต รภาพในแถบจั ง หวั ด นครราชสี ม าโดยแหล่ ง ของดิ น มาจากสองแหล่ ง ใหญ่ คื อ เขาดิ น (บ้ า นหนองรั ง กา) และเขาแก้ว (บ้านโกรกเดือนห้า) แหล่งดินทัง้ สองแหล่งนีถ้ กู นำไปใช้ Petrified wood museum / พิพิธภัณฑ์ไม้กลายเป็นหิน สร้ า งทั้ ง ถนนมิ ต รภาพและลานบิ น ของกองทั พ ภาค 2 จนเป็ น ที่ รู้ จั ก กั น ในฐานะแหล่ ง ไม้ ก ลายเป็ น หิ น ขนาดใหญ่ ข องจั ง หวั ด 1999, the Royal Thai Government had approved a budget to ตลอดระยะเวลาเกื อ บ 40 ปี ข องการใช้ ป ระโยชน์ ข องแหล่ ง build the museum for the Department of Mineral Resources ดิ น ทั้ ง สองแหล่ ง นี้ มี ก ารค้ น พบไม้ ก ลายเป็ น หิ น ท่ อ นใหญ่ (Ministry of Industry) and when the construction had been นับพันท่อนและถูกนำออกจากท้องที่ไปเป็นสมบัติส่วนตัว รวมถึง completed in 2002 the Department of Mineral Resources เพือ่ การค้าทัง้ ภายในประเทศและส่งออกไปต่างประเทศ (Boonchai handed over the museum buildings to the Nakhon Ratchasima et al., 2009) จนกลายเป็นวิกฤตการณ์ไม้กลายเป็นหินของจังหวัด Province under administration by the Nakhon Ratchasima ในปี พ.ศ. 2537 ได้มีหน่วยงานหลายภาคส่วนทั้งภาครัฐและภาค เอกชน นำโดยมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ได้รว่ มมือกันจัดตัง้ Rajabhat University. ................................................................................................ โครงการอนุรกั ษ์ไม้กลายเป็นหินและต่อมาได้รบั การสนับสนุนทีด่ นิ จำนวนประมาณ 80 ไร่ในเขตบ้านโกรกเดือนห้าจากองค์การบริหาร ประเทศไทยเป็ น ประเทศที่ มี ก ารค้ น พบไม้ ก ลายเป็ น หิ น ส่วนตำบลสุรนารี เพือ่ ก่อสร้างพิพธิ ภัณฑ์ไม้กลายเป็นหิน ในปี พ.ศ. จำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในจังหวัดนครราชสีมา ขอนแก่น 2542 รัฐบาลได้จดั สรรงบประมาณให้กรมทรัพยากรธรณี (กระทรวง ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ กาฬสินธุ์ ตาก และลำปาง โดยส่วนใหญ่ อุตสาหกรรม) ดำเนินการก่อสร้างพิพิธภัณฑ์จนแล้วเสร็จในปี พ.ศ. พบกระจายอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทำให้ภาคตะวันออก 2545 จากนั้นในปี พ.ศ. 2547 จึงได้ส่งมอบให้จังหวัดนครราชสีมา เฉียงเหนือถือเป็นแหล่งไม้กลายเป็นหินทีโ่ ดดเด่นทีส่ ดุ แห่งหนึง่ ของ ซึ่งได้มอบต่อทั้งการบริหารจัดการและการใช้ประโยชน์ที่ดินแก่ ทวีปเอเชีย สำหรับไม้กลายเป็นหินในประเทศไทยนัน้ เป็นทีร่ จู้ กั กันมา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาจนถึงปัจจุบัน
51
6.2
KHORAT FOSSIL MUSEUM ................................... พิพิธภัณฑ์ซากดึกดำบรรพ์โคราช
Even though the petrified wood specimens found in Khorat had been widely known and popular and led to the building of the museum for display as exhibitions. Other fossil specimens were also known from black markets as illegal trading to private collectors in the beginning. After that, numbers of specimens had gradually increased with time, and it had been known that the sources of the fossils were mainly from some sandpits in Chaloem
Phra Kiat where sand was exploited along the Mun River for construction materials. The sand production was initially made by directly digging to the ground surface to obtain sand and leaving a small sandpit. The sandpit mining was then further conducted by gravel pumping together with hydraulicking and the sand was then separated as a final product. These processes frequently revealed fossil specimens in the sandpits, which were mainly collected by sandpit workers and subsequently sold to antique dealers and amateur fossil collectors. Because of this practice, the precise stratigraphic positions of those fossils are, thus, still unknown. In addition, to the numerous specimens of petrified wood, there is also collection of leaves, fruits, and seeds.
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
Fossil proboscidean museum / พิพิธภัณฑ์ช้างดึกดำบรรพ์
52
Thousands of pieces of fossils, mainly elephants, have been systematically housed and some of them are displayed in the museum. The fossil elephants are thought to comprise the most taxa diversification in the world with at least eight genera, totally found only in Khorat, including Gomphotherium, Protanancus, Prodeinotherium, Tetralophodon, Stegolophodon, Sinomastodon, Stegodon, and Elephas. Apart from the elephant fossils, other mammals and reptiles were also discovered, such as anthracotheres, deer, spotted hyenas, pigs, saber-toothed cats, antelopes, giraffes, rhinoceroses, hippopotamuses, bovines, hipparoin horses, orangutans, turtles, Indian gharials, crocodiles, turtles, soft-shelled turtles, and fishes. Dinosaurs are the most famous and popular fossils for general people, particularly children, around the world. In Thailand, they are mostly found in the northeast of Thailand with two large dinosaur museums in Khon Kaen and Kalasin. However, the dinosaurs are also found in Khorat, but mostly from the Khok Kruat Formation, in a dense calcareous con glomeratic sandstone. Khorat is therefore also regarded as “the land of dinosaurs” but systematic studies are still in progress. Therefore, the museum of the Northeastern Research Institute of Petrified Wood and Mineral Resources displays and houses not only petrified wood but also other types of fossils including mammals and dinosaurs and other reptiles and fishes. The museum is, thus, possibly regarded as a “natural history museum” in Thailand but we have named it as the “Khorat Fossil Museum” consisting of Petrified Wood Museum, Fossil Proboscidean Museum, and Dinosaur Museum. ................................................................................................ ถึงแม้ว่าชิ้นตัวอย่างไม้กลายเป็นหินที่พบในโคราชจะเป็นที่ รู้จักกันอย่างกว้างขวาง จนนำไปสู่การก่อสร้างพิพิธภัณฑ์เพื่อการ จัดแสดง แต่ซากดึกดำบรรพ์สตั ว์อนื่ ๆ ก็เป็นทีร่ จู้ กั ด้วยเช่นกัน ในช่วง แรกๆ พบว่ามีการซือ้ ขายกันอย่างผิดกฎหมายในตลาดมืดจนไปถึง การเก็บสะสมส่วนตัว หลังจากนัน้ ได้มกี ารเพิม่ จำนวนมากขึน้ ๆ และ
ก็ป็นที่รู้กันอย่างกว้างขวางว่า แหล่งใหญ่ของซากดึกดำบรรพ์สัตว์ ดังกล่าวแหล่งหนึ่งมาจากบ่อทรายตามริมแม่น้ำมูลในเขตอำเภอ เฉลิมพระเกียรติซึ่งเป็นแหล่งผลิตทรายก่อสร้าง โดยในช่วงแรกจะ ตักทรายโดยตรงด้วยการขุดเป็นบ่อลงไปจากผิวดิน หลังจากนั้นจะ ใช้ เ ครื่ อ งสู บ พร้ อ มกั บ การฉี ด น้ ำ แล้ ว ดู ด น้ ำ พร้ อ มทรายและ กรวดออกไปแยกเพื่อให้ได้ผลผลิตที่เป็นทราย การดำเนินการ ดังกล่าวมักพบซากดึกดำบรรพ์โผล่ให้เห็นในบ่อทราย ซึ่งคนงาน มักเก็บแล้วนำไปขายต่อให้แก่พอ่ ค้าคนกลางหรือนักสะสม นอกจาก นี้ยังพบไม้กลายเป็นหินจำนวนมาก รวมถึงใบไม้ ผล และเมล็ดพืช ซากดึกดำบรรพ์หลายพันชิน้ ส่วนใหญ่เป็นของสัตว์งวงหรือ ทีร่ จู้ กั กันในปัจจุบนั ก็คอื ช้าง ซึง่ ได้รบั การจัดเก็บอย่างเป็นระบบและ บางส่วนก็ถกู นำออกไปจัดแสดงในพิพธิ ภัณฑ์ จากการศึกษาพบว่า ช้างดึกดำบรรพ์ที่พบเฉพาะในโคราชนั้น มีความหลากหลายใน ชนิดพันธุ์มากที่สุดของโลก กล่าวคือพบอย่างน้อย 8 สกุล ได้แก่ กอมโฟธีเรียม โปรตานันคัส โปรไดโนธีเรียม เตตระโลโฟดอน ไซโนมาสโตดอน สเตโกโลโฟดอน สเตโกดอน และเอลิ ฟ าส นอกจากซากดึ ก ดำบรรพ์ สั ต ว์ ง วงแล้ ว ยั ง พบสั ต ว์ อื่ น ๆร่วมด้วย เช่ น แอนทราโคแธร์ กวาง ไฮยี น่ า หมู เสื อ เขี้ ย วดาบ กวางแอนติโลป ยีราฟ แรด ฮิปโปโปเตมัส วัวควาย ม้าฮิปปาเรียน อุรังอุตัง เต่า ตะโขง จระเข้ ตะพาบ ปลา และหอย เป็นต้น สำหรั บ คนทั่ ว ไปแล้ ว ไดโนเสาร์ นั้ น ถื อ ได้ ว่ า เป็ น ซาก ดึ ก ดำบรรพ์ ที่ เ ป็ น ที่ รู้ จั ก คุ้ น เคยกั น มากที่ สุ ด โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง สำหรับเด็กๆ ทั่วโลก สำหรับประเทศไทยนั้น ส่วนใหญ่จะพบใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยได้มีการสร้างพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ ขนาดใหญ่สองแห่ง คือ ที่จังหวัดขอนแก่นและจังหวัดกาฬสินธุ์ อย่ า งไรก็ ต ามได้ มี ก ารค้ น พบในโคราชด้ ว ย โดยเกื อ บทั้ ง หมด มาจากหมวดหิ น โคกกรวดในหิ น กรวดมนปนปู น ดั ง นั้ น โคราชจึงถือได้ว่าเป็นดินแดนของไดโนเสาร์ด้วย แต่การศึกษา อย่างเป็นระบบนั้นยังอยู่ระหว่างดำเนินการ ดั ง นั้ น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ข องสถาบั น วิ จั ย ไม้ ก ลายเป็ น หิ น และ ทรัพยากรธรณีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เฉลิมพระเกียรติ จึงไม่ใช่ เพียงจัดเก็บและจัดแสดงไม้กลายเป็นหินเท่านั้น แต่ยังรวมถึง ซากดึกดำบรรพ์ชา้ ง ไดโนเสาร์ รวมถึงสัตว์และพืชอืน่ ๆ ด้วย โดยได้ เลือกเอาซากดึกดำบรรพ์ที่โดดเด่นของจังหวัดมาเป็นชื่ออาคาร พิพิธภัณฑ์ 3 หลัง ได้แก่ พิพิธภัณฑ์ไม้กลายเป็นหิน พิพิธภัณฑ์ ช้างดึกดำบรรพ์ และพิพธิ ภัณฑ์ไดโนเสาร์ จึงอาจถือได้วา่ พิพธิ ภัณฑ์ ของสถาบันและมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาเป็นพิพิธภัณฑ์ ธรรมชาติวิทยาแห่งหนึ่งของประเทศไทย และสามารถเรียกชื่อ พิพิธภัณฑ์ในภาพรวมว่า “พิพิธภัณฑ์ซากดึกดำบรรพ์โคราช”
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
53
54
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
55
Dinosaur museum / พิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์
6.3
PALEONTOLOGICAL CURRICULUM DEVELOPMENT ....................................
การพัฒนาหลักสูตรการเรียน การสอนด้านบรรพชีวินวิทยา
Since large amount of fossils in the museum and in the fields are still waiting for studying in systematic descriptions and identifications, life evolution, and paleoenvironmental reconstruction. Paleontologists are thus crucially needed but Thailand is a country where paleontologists are in shortage and need to be increased in number for a long term solution. At the present, academic cooperation among paleontological circles at both domestic and international levels are possible. We are preparing an international curriculum on paleontology to produce master and doctoral degrees in paleontology to dealing with the fossils in both the museum and in the fields.
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
................................................................................................
56
เนือ่ งจากยังมีซากดึกดำบรรพ์ทง้ั ในพิพธิ ภัณฑ์และในพืน้ ทีอ่ กี จำนวนมาก ที่ยังรอการศึกษาเพื่อให้ทราบถึงชนิดของสายพันธุ์ วิวัฒนาการ และสภาพแวดล้อมของพื้นที่ในอดีต จึงมีความจำเป็น ต้องอาศัยนักบรรพชีวินวิทยา เนื่องจากประเทศไทยมีนักวิชาการ สาชาดังกล่าวน้อย จึงมีความจำเป็นต้องเพิ่มจำนวนเพื่อรองรับ ปัญหาการขาดแคลนดังกล่าวในระยะยาว และเพื่อเป็นการแก้ ปัญหาเฉพาะหน้า การสร้างเครือข่ายความร่วมมือกันในวงการ บรรพชีวินวิทยาทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศนั้น ถือเป็น แนวทางหนึ่งเพื่อการคลี่คลายปัญหาดังกล่าว รวมทั้งในปัจจุบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมากำลังดำเนินการร่างหลักสูตรให้มี การเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ ทั้งระดับปริญญาโทและ ปริญญาเอกด้านบรรพชีวินวิทยา เพื่อผลิตบุคลากรรองรับงานใน พิพิธภัณฑ์ สถานศึกษา หรือหน่วยงานอื่นๆ ต่อไป
Two paleontologists are preparing fossil specimens in laboratory นักบรรพชีวินวิทยากำลังเตรียมตัวอย่าง ซากดึกดำบรรพ์ในห้องปฏิบัติการ
CONCLUSION ............................ บทสรุป
Khorat is a part of the Indochina terrane that has been complicatedly developed and evolved in terms of geology and paleontology from the remote past. She was under a fertile tropical shallow sea during the Permian with deposition of clastic rocks and limestone with diversified marine invertebrate species. She became a mainland with fluvial systems in the Triassic persisting until the Early Cretaceous. During this period of time, Khorat was in a river basin with arid to semi-arid and wet climates dominated by coniferous trees with freshwater fishes and reptiles, such as semionotid fishes, hybodont sharks, turtles, crocodiles, dinosaurs, and pterosaurs. By the Late Cretaceous, Khorat was in an extremely arid climate with deserts and playas as indicated by the remnants of evaporites such as potash and rock salt deposits in Non Thai, Non Sung, and Phimai. This rock formation, Maha Sarakham Formation, is lacking in fossil records but isotopic evidence from the rock salt suggests Cenomanian, Late Cretaceous, as the age of the rock formation. The Cenozoic is the era marked by the extinction of dinosaurs together with some contemporaneous plants and animals. The Paleogene rocks have mostly disappeared from the region or are left as only still questionable portions. Miocene faunas and floras might be present, but they are probably much younger as Plio-Pleistocene in age. Abundant faunal and floral assemblages are found along river sedimentary deposits of the Mun River comprising mammals, reptiles, fishes, mollusks, and plant remains. Teeth and tusks with some skeletons of proboscideans have been mainly discovered from several sandpits made by human activities. They consist of at least eight genera of proboscideans even though nowadays there is only one species, Elephas maximus, left in the region.
Other than the proboscideans, other interesting mammals were reported such as short-necked giraffes, antelopes, hyenas, deer, anthracotheres, pigs, and orangutans. A genus of primitive orangutan, Khoratpithecus, discovered from a sandpit in Chaloem Phra Kiat, is also reported from other areas such as Chiang Muan in the north and Irrawaddy Formation in Myanmar. Nowadays, the orangutan is native only in the islands of Borneo and Sumatra, indicating that the orangutans were more widely distributed in the past than at present. A geomorphologic landform in the west and south of Khorat particularly in the south of the modern Mun River yields abundant petrified wood. It is the remnant sedimentary deposits left by the meandering of the Mun River. Wood anatomical analyses indicate that the floral assemblages quite closely resemble the modern plant communities representing dry evergreen to mixed deciduous forests. Tektites, widely known as the evidence of a meteorite impact, are reported from many areas of the northeast, including Khorat. They are also reported from China, Vietnam, Laos, Cambodia, and Australia and have been named as “Australasian tektites”. The age of the tektites is about 0.7-0.8 million years indicating that there was an Early-Middle Pleistocene meteor impact on the Earth’s surface in the region, but the impact site is still so far unknown. However, there are some reports on the recognition of the impact sites such as Buntharik in Ubon Ratchathani and Phanom Phrai in Roi Et. It is possible that the impact event was a multiple impact. Prehistoric Khorat is presented in terms of the geological history and life evolution. The patterns of history and evolution are in accord with those of regional and global scales, but with some peculiar regional events needing to be explained by further investigations. Mass extinctions in Khorat, regional, and global scales are still waiting for more reliable explanations by finding more evidence to understand the real history of the areas.
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
7
57
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
58
โคราชนั้ น เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของอนุ ท วี ป อิ น โดจี น ซึ่ ง ได้ พัฒนาการขึ้นมาจนมีลักษณะที่สลับซับซ้อน โดยมีวิวัฒนาการ ทางธรณี วิ ท ยาและบรรพชี วิ น วิ ท ยา จากอดี ต ย้ อ นหลั ง กลั บ ไป เป็นเวลายาวนาน มีประวัติความเป็นมาตั้งแต่ยุคเพอร์เมียนใน สภาพเป็นทะเลตื้นเขตร้อนที่อุดมสมบูรณ์ มีการตกสะสมตัวของ ตะกอนทะเลและหินปูนที่หลากหลายไปด้วยซากดึกดำบรรพ์สัตว์ ไม่มีกระดูกสันหลัง หลังจากนั้นในช่วงยุคไทรแอสซิก ประเทศไทย ได้กลายเป็นผืนแผ่นดินที่มีการตกสะสมตะกอนในระบบทางน้ำ และต่อเนื่องมาจนถึงยุคครีเทเชียสตอนต้น ในช่วงนี้โคราชมีสภาพ เป็นลุ่มน้ำด้วยสภาพภูมิอากาศที่แห้งแล้ง กึ่งแห้งแล้ง และชุ่มชื้น ปกคลุมไปด้วยป่าสน มีสัตว์เลื้อยคลานและปลาอาศัยอยู่โดย ทั่วไป เช่น ปลาการ์ ปลาฉลามไฮโบดอนต์ เต่า จระเข้ ไดโนเสาร์ และสัตว์เลื้อยคลานบิน เป็นต้น เมื่ อ ถึ ง ยุ ค ครี เ ทเชี ย สตอนปลาย โคราชตกอยู่ ใ นสภาพ ภู มิ อ ากาศที่ แ ห้ ง แล้ ง แบบทะเลทรายที่ มี ห นองบึ ง แบบพลายา ด้ ว ย ทั้ ง นี้ เ พราะมี ห ลั ก ฐานของหิ น เกลื อ ระเหย เช่ น โพแทช และเกลือหินในอำเภอโนนไทย โนนสูง และพิมาย หมวดหินใน ช่วงอายุนี้ (หมวดหินมหาสารคาม) ขาดหลักฐานซากดึกดำบรรพ์ ขนาดใหญ่ แต่ ห ลั ก ฐานไอโซโทปจากชั้ น เกลื อ หิ น ให้ อ ายุ เ ป็ น สมัยซีโนมาเนียนหรือช่วงต้นของยุคครีเทเชียสตอนปลาย มหายุค ซีโนโซอิกเริ่มต้นหลังการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ของไดโนเสาร์ รวมทั้ง พืชและสัตว์ร่วมสมัยบางชนิด ไม่พบหินยุคพาลีโอจีนในภูมิภาคนี้ แต่ มี ห ลั ก ฐานของสั ต ว์ แ ละพื ช สมั ย ไมโอซี น และสมั ย ไพลโอไพลสโตซี น ปรากฏอยู่ ร่ ว มกั น อายุ ข องซากดึ ก ดำบรรพ์ เ หล่ า นี้ ทั้งหมดจึงอาจอ่อนลงไปถึงสมัยไพลโอ-ไพลสโตซีนก็ได้ พบซาก ดึ ก ดำบรรพ์ สั ต ว์ แ ละพื ช ในตะกอนใกล้ ช ายฝั่ ง แม่ น้ ำ มู ล ประกอบด้วย สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์เลื้อยคลาน ปลา หอย และซากพืช มีการพบฟัน งา และโครงกระดูกของสัตว์งวงจากบ่อ ทรายหลายแห่งอย่างน้อย 8 สกุล ซึ่งยังเป็นปริศนาว่าอะไรเป็น สาเหตุ ข องการสู ญ พั น ธุ์ ค รั้ ง ใหญ่ จนปั จ จุ บั น มี เ พี ย งช้ า งเอเชี ย สายพันธุ์เดียวเท่านั้นที่หลงเหลืออยู่ในภูมิภาคนี้ นอกจากสัตว์งวงแล้ว ยังมีรายงานการค้นพบสัตว์เลี้ยงลูก ด้วยนมที่น่าสนใจ เช่น ยีราฟคอสั้น แอนติโลป ไฮยีน่า กวาง แอนทราโคแธร์ หมู และอุรังอุตัง นอกจากจะมีการค้นพบอุรังอุตัง สกุลโคราชพิเทคัสจากบ่อทรายแห่งหนึ่งในอำเภอเฉลิมพระเกียรติ แล้ ว ยั ง มี ก ารค้ น พบจากพื้ น ที่ อื่ น ด้ ว ย เช่ น ที่ อ ำเภอเชี ย งม่ ว น จังหวัดพะเยา และจากหมวดหินอิระวดี ในประเทศเมียนมาร์ โดย ปั จ จุ บั น อุ รั ง อุ ตั ง นั้ น มี ถิ่ น อาศั ย อยู่ บ นเกาะสุ ม าตราและเกาะ บอร์เนียวเท่านั้น ทำให้กล่าวได้ว่าในอดีตนั้น อุรังอุตังมีการแพร่ กระจายพันธุ์ที่กว้างขวางกว่าในปัจจุบันมาก
ลักษณะธรณีสัณฐานในพื้นที่ทางตะวันตกและตอนใต้ของ โคราช โดยเฉพาะอย่างยิง่ ตอนใต้ของแม่นำ้ มูลปัจจุบนั ทีพ่ บไม้กลาย เป็นหินจำนวนมากอยู่ในชั้นตะกอน เป็นตะกอนแม่น้ำโค้งตวัด จากการวิ เ คราะห์ ท างกายวิ ภ าคศาสตร์ ข องเนื้ อ ไม้ บ่ ง ชี้ ไ ด้ ว่ า ไม้กลายเป็นหินเหล่านี้เป็นของกลุ่มพืชที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิด กั บ พื ช ยุ ค ปั จ จุ บั น ที่ เ ป็ น แบบป่ า ดิ บ แล้ ง และป่ า เบญจพรรณ เขตร้อน เทกไทต์ เป็นวัตถุที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางว่าเป็นหลักฐาน ของการมีวัตถุจากนอกโลกมาพุ่งชนพื้นผิวโลก ซึ่งมีรายงานการ ค้นพบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือรวมถึงในโคราชด้วย รวมทั้งมี รายงานการค้นพบเทกไทต์อย่างกว้างขวางในประเทศจีน เวียดนาม ลาว กัมพูชา และออสเตรเลีย จึงได้รับการขนานนามเทกไทต์ เหล่านีว้ า่ “เทกไทต์ออสตราเลเชียน” เทกไทต์เหล่านีม้ อี ายุประมาณ 700,000 ถึง 800,000 ปีมาแล้ว จึงทำให้ทราบว่าได้มีวัตถุจาก นอกโลกพุ่งเข้าชนพื้นโลกในช่วงสมัยไพลสโตซีนตอนต้นถึงตอน กลาง แต่ตราบจนถึงปัจจุบันเรายังไม่ทราบตำแหน่งของการพุ่งชน ของวัตถุจากนอกโลกดังกล่าว อย่างไรก็ตาม มีรายงานแจ้งว่าได้พบ ตำแหน่งหลุมอันเกิดจากการกระแทกของวัตถุจากนอกโลก เช่น ที่ อำเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี และที่อำเภอพนมไพร จังหวัด ร้อยเอ็ด เป็นต้น ซึ่งเป็นไปได้ว่าเหตุการณ์วัตถุจากนอกโลกพุ่งเข้า ชนพื้นผิวโลกนี้เป็นการพุ่งชนของกลุ่มวัตถุนอกโลก เรือ่ งราวของโลกดึกดำบรรพ์โคราชนี้ ได้นำเสนอในแง่มมุ ของ ประวัติทางธรณีวิทยาและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตมาตั้งแต่ยุค เพอร์เมียน โดยการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยานั้นมีความเป็น เอกลักษณ์เฉพาะพืน้ ทีอ่ นั เป็นผลเนือ่ งมาจากกระบวนการธรณีแปร สัณฐานทีเ่ กิดขึน้ ในระดับภูมภิ าคตัง้ แต่ยคุ เพอร์เมียนจนถึงปัจจุบนั ทำให้โคราชมีลกั ษณะธรณีสณ ั ฐานและภูมลิ กั ษณ์ทเี่ ป็นเอกลักษณ์ เฉพาะตน ส่วนด้านลำดับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตนั้น มีความ สอดคล้องไปกับลำดับวิวัฒนาการในระดับโลก เช่น การสูญพันธุ์ ของไดโนเสาร์และสัตว์งวง แต่ก็มีลำดับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต หลายกลุ่ม ที่เกิดขึ้นเฉพาะในภูมิภาคที่ยังคงเป็นปริศนาถึงสาเหตุ ของการสูญพันธุ์ เช่น การสูญพันธุข์ องไฮยีนา่ และอืน่ ๆ อีกหลายชนิด ที่มีความจำเป็นต้องอธิบายให้ชัดเจนด้วยการสำรวจศึกษาวิจัย เพิ่มเติม การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ในโคราช ภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ หรือระดับโลกนั้น ยังคงรอคอยหลักฐานเพิ่มเติมเพื่อให้ เกิดความชัดเจนและมีความน่าเชื่อถือมากกว่านี้
8
ACKNOWLEDGMENTS .............................................. กิตติกรรมประกาศ
The compilers sincerely thank the many persons and major agencies who endeavored to help in many ways giving rise to the success of this “Prehistoric Khorat” book. The persons and agencies are mentioned herein as follows: 1. The PTT Public Company (PTT) who provided financial support. 2. The PTT Exploration and Production Public Company (PTTEP) who provided financial support. 3. The Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT) who provided financial support. 4. Mr. Piriya Vatchajitpan who donated some important fossils mentioned in this book. 5. Ms. Nareerat Boonchai, Ph.D. student from Jilin University, People’s Republic of China, who provided information on petrified wood. 6. Staff of the Northeastern Research Institute of Petrified Wood and Mineral Resources, Nakhon Ratchasima Rajabhat University, who were helpful colleagues including Mrs. Nantana Kunlaphruetmetha, Mrs. Pattamaporn Ampaikul, Ms. Warangkhana Namsaeng, Ms. Nuntida Phaepru, and Ms. Piyawadee Pipatwatchara.
คณะผูจ้ ดั ทำขอขอบคุณเป็นอย่างสูง สำหรับผูส้ นับสนุนหลัก ด้านงบประมาณและอืน่ ๆจนทำให้หนังสือ “โลกดึกดำบรรพ์โคราช” เล่มนี้ สำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี ประกอบด้วย 1. บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ผู้ให้การสนับสนุนด้าน งบประมาณ 2. บริษทั ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) ผู้ให้การสนับสนุนด้านงบประมาณ 3. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผูใ้ ห้การสนับสนุน ด้านงบประมาณ 4. คุ ณ พิ ริ ย ะ วั ช จิ ต พั น ธ์ นั ก ธุ ร กิ จ และนั ก สะสมชิ้ น ตัวอย่างซากดึกดำบรรพ์ ที่ได้บริจาคชิ้นตัวอย่างซาก ดึกดำบรรพ์ชนิ้ สำคัญๆ บางส่วนทีก่ ล่าวถึงในหนังสือ เล่มนี้ 5. คุณนารีรัตน์ บุญไชย นักศึกษาปริญญาเอก จาก มหาวิทยาลัยจี๋หลิน สาธารณรัฐประชาชนจีน ที่ได้ ให้ ค วามอนุ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ด้ า นไม้ ก ลายเป็ น หิ น ใน จังหวัดนครราชสีมา 6. เจ้าหน้าที่สถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินและทรัพยากร ธรณี ภ าคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ทีใ่ ห้ความช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกหลายๆ ด้านในการจัดเตรียม ต้ น ฉบั บ ได้ แ ก่ นางนั น ทนา กุ ล พฤทธิ์ เ มธา นางปัทมาภรณ์ อำไพกูล นางสาววรางคณา นามแสง นางสาวนันทิดา แพปรุ และนางสาวปิยวดี พิพฒ ั น์วชั รา
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
59
REFERENCES .........................................
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
เอกสารอ้างอิง
60
Assavapatchara, S., Charusiri, P., Charoentitirat, T., Chutakositkanon, V., Hisada, K., and Ueno, K., 2006. On the lithostratigraphy of Permian rocks in Thailand: implications for depositional environments and tectonic settings. Journal of the Geological Society of Thailand 1, p. 27-48. Barr, S.M., and Macdonald, A.S., 1978. Geochemistry and petrogenesis of Late Cenozoic alkaline basalts of Thailand. Geological Society of Malaysia Bulletin 10, p. 25-52. Benyasuta, P., 2003. Petrified wood of northeastern Thailand and its implication on biodiversity and the ecosystem during the Cenozoic Era. Unpublished Ph.D. Thesis, Suranaree University of Technology, Thailand. Boonchai, N., 2008. The study of the biodiversity and comparative anatomy of petrified wood in the area of the Northern Research Institute of Petrified Wood and Mineral Resources, Thailand. Unpublished Master Degree Thesis, Suranaree University of Technology, Thailand. Boonchai, N., Grote, P.J., and Jintasakul, P., 2009. Paleontological parks and museums and prominent fossil sites in Thailand and their importance in the conservation of fossils. Carnets de Géologie/ Notebooks on Geology (CG2009_B03), Chapter 7, p. 75-95. Boonnop, N., 2010. Geological map of Changwat Nakhon Ratchasima. Department of Mineral Resources, Thailand. Buffetaut, E., and Ingavat, R., 1984. Paleontologic Un Dinosaurien theropode de tres petile dans le lurassique superieur du nord-est de la Thailand. Not, a la langue dominante anglaise. C.R. Aead. Sc. Paris, t. 298, Serie II, No. 20. Buffetaut, E., and Ingevat, R., 1986. Unusual theropod dinosaur teeth from the Upper Jurassic of Phu Wiang, northeastern Thailand. Rev. Paleobiol. 5, p. 217-220. Buffetaut, E., and Suteethorn, V., 2011. A new iguanodontian dinosaur from the Khok Kruat Formation (Early Cretaceous, Aptian) of northeastern Thailand. Annales de Paléontologie 97, p. 51-62. Buffetaut, E., Suteethorn, V., Cuny, G., Tong, H., Le Loeuff, J., Khansubha, S., and Jongautchariyakul, S., 2000. The earliest known sauropod dinosaur. Nature 407, p. 72–74. Buffetaut, E., Suteethorn, V., and Tong, H., 1996. The earliest known tyrannosaur from the Lower Cretaceous of Thailand. Nature 381(20). Buffetaut, E., Suteethorn, V., and Tong, H., 2009. An early 'ostrich dinosaur' (Theropoda: Ornithomimosauria) from the Early Cretaceous Sao Khua Formation of NE Thailand, pp. 229-243, in E. Buffetaut, G. Cuny, J. Le Loeuff and V. Suteethorn (eds.), Late Palaeozoic and Mesozoic Ecosystems in SE Asia. Geological Society, London, Special Publications 315, p. 229-243. Bunopas, S., 1982. Paleogeographic history of western Thailand and adjacent part of Southeast Asia: a plate tectonic interpretation. Geological Survey Paper No. 5, Department of Mineral Resources, Thailand. Bunopas, S., 1990. Tektites-Their origin and the continental catastrophic destruction in NE Thailand and Indochina. Proceedings of the 16th Conference on Sciences and Technology of Thailand, 25-27 October 1990, Bangkok: 512-513. Cappetta, H., Buffetaut, E., and Suteethorn, V., 1990. A new hybodont shark from the Lower Cretaceous of Thailand. Neues Jahrbuch für Geologie und Paläontologie, Monatshefte, Stuttgart 11, p. 659-666. Chaimanee, Y., Jolly, D., Benammi, M., Tafforeau, P., Duzer, D., Moussa, I., and Jaeger, J.-J., 2003. A Middle Miocene hominoid from Thailand and orangutan origins. Nature 422, p. 61-65
61 PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
Chaimanee, Y., Suteethorn, V., Jintasakul, P., Vidthayanon, C., Marandat, B., and Jaeger, J.-J., 2004. A new orang-utan relative from the Late Miocene of Thailand. Nature 427, p. 439–441. Chang, H. and Zhai, R., 1978. Miocene mastodonts of Lantian and Lintung, Shensi. Professional Papers of Stratigraphy and Palaeontology, 7, 136-42+4 plts (Geological Publishing House, Peking, China (in Chinese with English summary). Chang, N., Boyd, W., Dommett, K., and Higham, C., 2010. Origin of Angkor: resilience and opportunity in ancient Southeast Asia, Thailand. Science Report, p. 49-52. Charusiri, P., Daorerk, V., Krowchan, V., Klongsara, N., Kosuwan, S., Srirattanachatchawan, V., and Santatiwongchai, U., 2002. Quaternary tektites and their sediment hosts at Ban Tachang sand pit, Chaloem Prakiat, Nakhon Ratchasima, NE Thailand: stratigraphy and TL ages. In N. Mantajit et al. (eds.), Proceedings of the Symposium on Geology of Thailand, 26-31 August 2002, Bangkok, Thailand, p.250. Chavasseau, O., Chaimanee, Y., Yamee, C., Tian, P., Rugbumrung, M., Marandat, B., and Jaeger, J.J., 2009. New Proboscideans (Mammalia) from the middle Miocene of Thailand. Zoological Journal of the Linnean Society. 155, 703-21. Cuny, G., Suteethorn, V., Buffetaut, E., and Philippe, M., 2003. Hybodont sharks from the Mesozoic Khorat Group of Thailand. Mahasarakham University Journal 22, p. 49-68. Cuny, G., Suteethorn, V., Kamha, V., and Buffetaut, E., 2008. Hybodont sharks from the Lower Cretaceous Khok Kruat Formation of Thailand, and hybodont diversity during the early Cretaceous. In L. Cavin, A. Longbottom, and M. Richter (eds.) Fishes and the break-up of Pangaea. The Geological Society, London, Special Publications 295, p. 93-107. Cuvier, G., 1817. Le règne animal, Vol. 1. Dèterville, Paris. Deesri, U., Jintasakul, P., Lauprasert, K., Suteethorn, V., and Lionel Cavin, L., 2011. First evidence of a Semionotiform fish (Actinopterygii, Holostei) from the Late Jurassic Phu Kradung Formation of Nakhon Ratchasima, northeastern Thailand. Proceedings of the World Conference on Paleontology and Stratigraphy (WCPS 2011), Abstract. Deng, T., Jintasakul, P., and Hanta, R., 2011. A new species of the rhinoceros Aceratherium from the Late Miocene of Nakhon Ratchasima, northeastern Thailand. Proceedings of the World Conference on Paleontology and Stratigraphy (WCPS 2011); Abstract. Duangkrayom, J., 2007. Sedimentology and palaeogeography of the Ban Khok Sung fossil site, Tambon Khok Sung, Mueang district, Nakhon Ratchasima Province. Unpulished Master Degree Thesis, Chiang Mai University. Faure, G., 2001. Origin of igneous rocks: the isotopic evidence. Springer. Geological Survey Division, 1987. Geological map of Thailand scale 1: 2,500,000. Department of Mineral Resources, Bangkok. Hada, S., Bunopas, S., Ishii, K., and Yoshikura, S., 1999. Rift-drift history and the amalgamation of Shan-Thai and Indochina/East Malaya blacks. In I. Metcalfe, J. Ren., J. Charvet, and S. Hada (eds.) Gondwana dispersion, A.A. Balkema, Rotterdam, p. 67-87. Hansen, B.T., Wemmer, K., Pawlig, S., Klaus, J., Assavapatchara, S., Nontaso, M., Chairangsee, C., and Putthapiban, P., 2002. Isotope evidence for a Late Cretaceous age of the potash and rock salt deposit at Bamnet Narong, NE Thailand. In N. Mantajit (ed.) Proceedings of the Symposium on the Geology of Thailand. Department of Mineral Resources, Bangkok, p.120. Hanta, R., Ratanasthien, B., Kunimatsu, Y., Saegusa, H., Nakaya, H., Nagaoka, S., and Jintasakul, P., 2008. A new species of Bothriodontinae, Merycopotamus thachangensis (Cetartiodactyla, Anthracotheriidae)
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
62
from the Late Miocene of Nakhon Ratchasima, northeastern Thailand. Journal of Vertebrate Paleontology 28(4), p. 1182-1188. Hinthong, C., 1981. Geology and mineral resources of Changwat Phra Nakhon Si Ayuttaya (ND 47-8), scale 1: 250,000. Department of Mineral Resources, Geological Survey Report, No. 4, 1-105 (in Thai with English summary). Hopwood A. T., 1935. Fossil Proboscidea from China, Palaeontologia Sinica, Series C. Vol. IX. Fascicle 3. 103 pp. with 8 plates. Jaeger, J.-J., Soe, A.N., Chavasseau, O., Coster, P., Emonet, E.-G., Guy, F., Lebrun, R., Maung, A., Khyaw, A.A., Shwe, H., Tun, S.T., Oo, K.L., Rugbumrung, M., Bocherens, H., Benammi, M., Chaivanich, K., Tafforeau, P., and Chaimanee, Y., 2011. First Hominoid from the Late Miocene of the Irrawaddy Formation (Myanmar). PLoS One 6(4), p. 1-14. Lauprasert, K., Cuny, G., Thirakhupt, K., and Suteethorn, V., 2009. Khoratosuchus jintasakuli gen. et sp. Nov., an advanced neosuchian crocodyliform from the Early Cretaceous (Aptian-Albian) of NE Thailand. in E. Buffetaut, G. Cuny, J. LeLoeuff, V. Suteethorn (eds.) Late Paleozoic and Mesozoic Ecosystems in SE Asia, The Geological Society, London, Special Publications 315, p. 175-187. Lockley, M.G., Matsukawa, M., Sato, Y., Polahan, M., and Daorerk, V., 2006. A distinctive new theropod dinosaur track from the Cretaceous of Thailand: implications for theropod track diversity. Cretaceous Research 27(1), p. 139-145. Löffler, E., and Kubiniok, J., 1991. The age and origin of the Yasothon soils and associated gravel deposits. Journal of the Geological of Thailand 1(1), p. 69-74. Martin, V., Buffetaut, E., and Suteethorn, V., 1994. A new genus of sauropod dinosaur from the Sao Khua Formation (Late Jurassic or Early Cretaceous) of northeastern Thailand. C.R. Acad. Sci. Paris, t. 319, Serie II, p. 1085-1092. Matsumoto, H., 1925. Preliminary note on fossil elephants in Japan. The Journal of Geological Society of Tokyo, 31, (371), 252-72 (in Japanese). Metcalfe, I., 2009. Late Paleozoic and Mesozoic tectonic and palaeogeographical evolution of SE Asia. In E. Buffetaut, G. Cuny, J. Le Loeuff, and V. Suteethorn (eds.), Late Palaeozoic and Mesozoic Ecosystems in SE Asia. The Geological Society, London, Special Publications 315, p. 7-23. Moormann, F.R., Montrakun, S., and Panichapong, S., 1964. Soils of North Eastern Thailand. Department of Land Development, Bangkok. Osborn H. F. 1926. Additional new genera and species of the Mastodontoid Proboscidea. American Museum Novitates, Number 238. Pp. 4-6. The American Museum of Natural History, New York. Osborn H. F. 1932. Trilophodon cooperi, sp. nov., of Dera Bugti, Baluchistan. American Museum Novitates, Number 585. 1-6. The American Museum of Natural History, New York. Philippe, M., Suteethorn, V., Lutat, P., Buffetaut, E., Cavin, L., Cuny, G., and Barale, G., 2004. Stratigraphical and palaeobiogeographical significance of fossil wood from the Mesozoic Khorat Group of Thailand. Geol. Mag. 141 (3), p. 319-328. Philippe, M., Davierro-Gomez, V., and Suteethorn, V., 2009. Silhouette and Palaeoecology of Mesozoic trees in Thailand. In E. Buffetaut, G. Cuny, J. Le Loeuff, and V. Suteethorn (eds.), Late Palaeozoic and Mesozoic Ecosystems in SE Asia. The Geological Society, London, Special Publications 315, p. 85-96. Racey, A., and Goodall, J.G.S., 2009. Palynology and stratigraphy of the Mesozoic Khorat Group red bed sequences from Thailand. In E. Buffetaut, G. Cuny, J. Le Loeuff, and V. Suteethorn (eds.), Late Palaeozoic
63 PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
and Mesozoic Ecosystems in SE Asia. The Geological Society, London, Special Publications 315, p. 69-83. Saegusa, H., Thasod, Y., and Ratanasthien, B., 2005. Notes on Asian stegodontids. Quaternary International 126-128, p. 31-48. Sattayarak, N., and Srigulawong, S., 2008. The western Khorat Plateau geological field trip. Journal of the Geological Society of Thailand, Special Issue 1, p. 1-40. Shibata, M., Jintasakul, P., and Azuma, Y., 2011. A new iguanodontian dinosaur from the Lower Cretaceous Khok Kruat Formation, Nakhon Ratchasima in northeastern Thailand. Acta Geologica Sinica 85(5), p. 969-976. Shoshani, J. and Tassy, P., 2005. Advances in proboscidean taxonomy & classification, anatomy & physiology, and ecology & behavior. Quaternary International 126-128, p. 5-20. Sone, M., and Metcalfe, I., 2008. Parallel Tethyan sutures in mainland Southeast Asia: new insights for Palaeo Tethys closure and implications for the Indosinian orogeny. C.R. Geoscience 340, p. 166-179. Tapponnier, P., Peltzer, G., Le Dain, Y., and Armijo, R., 1982. Propagating extrusion tectonics in Asia: New insights from simple experiment with plasticine. Geology 10, p. 611-616. Thambunya, S., Pisutha-Arnond, V., and Khantaprab, C., 2007. Depositional environment of Permian rocks of Khao Khad Formation in central Thailand. Science Asia 33, 371-381. Tobien, H., Chen, G., and Li, Y., 1986. Mastodont (Proboscidea, Mammalia) from the Late Neogene and Early Pleistocene of the People’s Republic of China. Mainzer geowiss. Mitt. 15, p. 119-181. Tong, T., Suteethorn, V., Claude, J., Buffetaut, E., and Jintasakul, P., 2005. The turtle fauna from the Khok Kruat Formation (Early Cretaceous) of Thailand, p. 610-614, in L. Wannakao, W. Youngme, K. Srisuk, and R. Lertsirivorakul (eds.) Proceedings of the International Conference on Geology, Geotechnology, and Mineral Resources of Indochina (GEOINDO 2005), Khon Kaen University, Thailand. Tong, T., Claude, J., Suteethorn, V., Naksri, W., and Buffetaut, 2009. Turtle assemblages of the Khorat Group (Late Jurassic-Early Cretaceous) of NE Thailand and their paleobiogeographical significance. In E. Buffetaut, G. Cuny, J. Le Loeuff, and V. Suteethorn (eds.), Late Palaeozoic and Mesozoic Ecosystems in SE Asia. The Geological Society, London, Special Publications 315, p. 141-152. Tougard, C., 2001. Biogeography and migration routes of large mammal faunas in South-East Asia during Late Middle Pleistocene: focus on the fossil and extant faunas from Thailand. Palaeogeography, Palaeoclimatology, Palaeoecology 168, p. 337-358. Ueno, K., and Charoentitirat, T., 2011. 5 Carboniferous and Permian. In M.F. Ridd, A.J. Barber, and M.J. Crow (eds.) The Geology of Thailand, The geological Society, London, Special Publication, p. 71-136. Vozenin-Serra, C., and Privé-Gill, C., 2001. Bois Plio-Pléistocenès du gisement de Ban Tachang (= Sarapee), Est-Thailande. Palaeontographica 260, p. 201-212. Wang, Y., Zhang, W., Zheng, S., Jintasakul, P., Grote, J.P., and Boonchai, N., 2006. Recent advances in the study of Mesozoic-Cenozoic petrified wood from Thailand. Progress in Natural Science 16(5), p. 501-506. Zhou, P., and Mukasa, S.B., 1997. Nd-Sr-Pb isotopic, and major-and trace-element geochemistry of Cenozoic lavas from the Khorat Plateau, Thailand: sources and petrogenesis. Chemical Geology 137(3-4), p. 175-193.
INDEX .....................
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
ดัชนี
64
Aceratherium Adocid turtles African elephants Agathiceras Agathoxylon saravanensis Ailuropoda melanoleuca Albizia lebbeck Algae Allosaur Ammonites Anacardiaceae Anogeissus acuminata Antelopes Anthracotheres Apes Aquilaria Araucariaceae Araucarioxylon saravanensis Asian elephants Australite Australasian tektites Axis axis Azadirachta Back-arc basin Ban Krok Duean Ha
36, 44 30 42 21 8, 32 44 41 21 29 21 41 41 36, 53, 57 36, 39, 41, 45, 53, 57 18, 39, 41 28, 32 28, 32 39, 42 46 46 36 41 18 50
Ban Nong Rangka Ban Non Wat Ban Prasat Basalt Basanite Bolboschoenus Bovines Brachiopods Brachipotherium Brachyoxylon Bronze Age Bryozoa Bubalus bubalis Buntharik Caliallasporites Canarium Cancellina Careya sphaerica Carettochelyid turtle Cathaysialand Chilotherium Chinite Chital deer Combretum Compsognathus Conohyus Coprolites Corals Crinoids Crocodiles Crocuta crocuta
50 48 48 13 13 41, 42 36, 39, 42, 53 21 36 28, 32 48 21 36 57 30, 33 41 21, 23 41 30 15 36 46 36, 42 41 29, 32 36 29 21 21 29, 39, 53, 57 36, 38, 44
Cynometroxylon Cyperus Deer Dialium cochinchinense Dicheiropollis etruscus Dinosaurs Dipterocarpoxylon sarapeense Dipterocarpus Dipterocarpus costatus Dracontomelon Dracontomelon dao Duabanga grandiflora Elephas Elephas maximus Elephas namadicus Eurasian supercontinent Extrusion tectonic Fishes Fruits Fusulines Gaindatherium Gastropods Gavialis gangeticus Giraffes Gomphotherium Gondwana Granite Granodiorite Hadrosaur Hawaiite Himalayan orogeny
41 41, 42 39, 53, 57 41 27, 30 18, 29, 36, 53, 57 41 42 42 41, 42 41, 42 41 36, 39, 53 39, 42, 57 42, 44 18 18 29, 39, 42, 53, 57 42 21 36 21 36, 38 18, 36, 53 36, 39, 43, 53 15 13 13 29 13 18
Hipparion horses Hippopotamadon sivalensis Hippopotamuses Holarrhena pubescens Homalium tomentosum Hominoid Horses Huai Hin Lat Formation Hybodont shark Hyenas Hyotherium Iguanodont Iguanodontians Indian gharial Indian subcontinent Indochina terrane Indochinite Iron Age Irrawaddy Formation Irvingia Isanicthys palustris Isanosaurus attavipachi Jit Bunnak Khao Din Khao Kaeo Khao Khad Formation Khok Kruat Formation Khorat Fossil Museum Khoratosuchus Khoratosuchus jintasakuli Khoratpithecus
36, 53 36 18, 36, 39, 41, 53 41 41 39 18, 39 27, 28, 29, 30, 31, 57 18, 38, 57 36 29 30 36, 38, 39, 42, 53 18 15, 57 46 48 40, 57 41 32 27, 32 50 50 50 21 27, 29, 30 53 25, 30, 33 25, 30, 33 39, 57
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
65
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
66
Khoratpithecus ayeyarwadyensis Khoratpithecus chiangmuanensis Khoratpithecus piriyai Kinnareemimus khonkaenensis Kizylkumemys Kizylkumemys khoratensis Kra Isthmus Lepidotes buddhabutrensis Lepidotes fishes Lesser mouse deer Libycosaurus Loxodonta Loxodonta Africana Loxodonta cyclotis Lufengpithecus Lufengpithecus chiangmuanensis Maha Sarakham Formation Mangiferoxylon Melia Melia azedarach Merycopotamus Merycopotamus dissimilis Merycopotamus thachangensis Millettia leucantha Mollusks Mollusk shells Nam Phong Formation Neofusulina Neofusulinella Neolithic age Nong Pong Formation
39, 40 39 36, 39, 40 29, 32 28, 30, 33, 37 28, 30, 33 44 32 29, 30 36 41 42 42 42 39 39 27, 30, 57 41 42 42 36, 40, 41 41 36, 40, 41, 45 41 39 36 27, 28 21, 23 21, 23 48 21
Orangutan Pahudioxylon sahnii Palm Panda Pang Asok Formation Phanom Phrai Phra Wihan Formation Phraya Ramphaiphongboribhat Phu Kradung Formation Phu Phan Formation Phuwiangosaurus sirindhornae Pigs Plant remains Proboscideans Prodeinotherium Protanancus Protium serratum Protopodocarpoxylon Pseudodoliolina Pseudofusulina cf. japonica Pterosaurs Ratchasimasaurus Ratchasimasaurus suranareae Red River fault Rhinoceroses Sao Khua Formation Saber-toothed cats Seeds Semionotid fish Shachemys Shan-Thai terrane
36, 39, 40, 53, 57 41 41, 42 44 21 57 27 50 27, 28 27 29, 32 36, 39, 41, 53, 57 29 36, 39, 41, 42, 46, 57 36, 53 36, 53 41 28, 32 21, 23 21, 23 29, 57 30 27, 30, 33 18 18, 36, 39, 53 27, 29 36, 39, 53 42 23, 28, 57 30, 33 15
Short-necked giraffes Siamodon nimngami Siamopodus khaoyaiensis Siamosaurus suteethorni Siamotyrannus isanensis Sibumasu terrane Sinomastodon Sivatherium Soft-shelled turtles Spotted hyenas Stegodon Stegolophodon Sukhothai zone Taurocusisporites cf. reduncus Tektites Terminalia Terminalia paracoriaceum
57 30, 33 29 29, 32 29, 32 15 36, 53 36 36, 39, 53 36, 42, 44, 46, 53 36, 42, 53 36, 40, 53 18 30, 33 44, 45, 46, 57 41 41
Tethyans seaway Tetraconodon Tetralophodon Thailandina buravasi Thailandite Thailandite tektite strewnfield Thaiodus Thaiodus ruchae Tholeiite Turtles 57 Verbeekina Verrucosissporites Wrightia arborea Yasothon soil series Ziziphus Ziziphus khoksongensis
18 36 36, 53 21, 23 45, 46 45 30, 31, 33 30, 31, 33 13 29, 36, 39, 42, 53, 21, 23 30, 33 41 13, 46 42 42
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
67
PREHISTORIC KHORAT : โลกดึกดำบรรพ์โคราช
68
Khorat during this Late Cenozoic had a large main river, the Mun River, with its tributaries, under a warm tropical climate. Strips of riverside forests were inhabited by apes, saber-toothed cats, and anthracotheres. Grasslands beyond the forests were where herds of bovines, rhinoceroses, horses, and proboscideans roamed while the deer and pigs wandered along the edge of the grasslands. There were plenty of crocodiles, Indian gharials, turtles, soft-shelled turtles, fishes, and mollusks in the river while some hippopotamuses were bathing.