บทสรุปเฉพาะเนื้อหาสำคัญจาก บท
วิเคราะห์
“การคาดการณ์ทิศทางค่าเงินบาทและข้อเสนอ 5 ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
www.rsu.ac.th/econ.com
แนะ น ยบายอัตราแลกเปลี่ยน”
(สำหรับผู้ไม่ได้เข้าร่วมงานและสื่อมวลชน)
ดร. อนุสรณ์ ธรรมใจ
5 ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
www.rsu.ac.th/econ.com
กระบวนการปรับตัวตามกลไกตลาด กระบวนการปรับตัวลักษณะนี้เป็นกระบวนการปรับตัวโดยอาศัยกลไกท างเศรษฐกิจ อันประกอบด้วย ๒ กลไก หลัก คือ กลไกด้านราคา (Price Mechanism) และกลไกด้านรายได้ (Income Mechanism) 1.
กลไกด้านราคา กลไกด้านราคานี้จะทำงานโดยอาศัยปัจจัยด้านอัตราดอกเบี้ยและระดับ ราคาสินค้าภายในประเทศหรืออัตราเงินเฟ้อ ในกรณีของประเทศที่ขาดดุลการชำระเงินตราต่างประเทศจะไหลออกไปสู่ปร ะเทศที่มีดุลการชำระเงินเกินดุล เพื่อนำไปชำระค่าสินค้าและบริการ ถ้าไม่มีการแทรกแซงจากรัฐบาลของประเทศขาดดุลจะทำให้ปริมาณเงินในป ระเทศขาดดุลลดลง (เงินไหลออก) ส่งผลให้ทุนสำรองระหว่างประเทศลดลงด้วย เพื่อชดเชยการขาดดุลการชำระเงินและสกัดกั้นมิให้เงินตราต่างประเทศไหลอ อกไปต่างประเทศมากก็จะกดดันให้อัตราดอกเบี้ยภายในประเทศเพิ่มสูงขึ้น เมื่ออัตราดอกเบี้ยภายในประเทศที่ขาดดุลการชำระเงินเพิ่ม สูงขึ้นทำให้มีการเคลื่อนย้ายเงินทุนจากต่างประเทศเข้ามามากขึ้น เงินตราต่างประเทศของประเทศที่ขาดดุลก็เพิ่มขึ้นส่งผลให้การขาดดุลการชำ ระเงินลดลงและเข้าสู่ภาวะดุลการชำระเงินสมดุล ในทางตรงกันข้ามกรณีของประเทศที่มีดุลการชำระเงินเกินดุลจะมีเงินตราต่า งประเทศไหลเข้ามามากจากดุลบัญชีเดินสะพัดเป็นบวก เนื่องจากประเทศเกินดุลการชำระเงินมีการส่งออกสินค้าและบริการมากกว่าก ารนำเข้าสินค้าและบริการทำให้ปริมาณเงินเพิ่มขึ้นซึ่งจะไปกดดันให้อัตราดอ กเบี้ยในประเทศที่เกินดุลลดลง 5 ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
www.rsu.ac.th/econ.com
เมื่ออัตราดอกเบี้ยภายในประเทศเกินดุลลดลงก็จะทำให้การเคลื่อนย้ายเงินทุน จากต่างประเทศลดลง การเกินดุลการชำระเงินก็จะลดลงจนทำให้ดุลการชำระเงินเข้าสู่สมดุล ส่วนกลไกด้านราคาสินค้าภายในประเทศจะทำงานโดยผ่านการเปลี่ยน แปลงของอุปสงค์และอุปทานในสินค้ากรณีของประเทศที่ขาดดุลการชำระเงิน เงินตราต่างประเทศก็จะไหลออกจากประเทศขาดดุลไปสู่ประเทศเกินดุลเพื่อไ ปชำระหนี้ค่าสินค้าและบริการทำให้ปริมาณเงินในประเทศขาดดุลลดลงก็จะไ ปกดดันให้อัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น เมื่ออัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นทำให้การลงทุนลดลง และรายได้ประชาชาติก็จะลดลงด้วย เมื่อประชาชนมีรายได้ลดลงก็พยายามลดค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าภายในปร ะเทศและต่างประเทศจนส่งผลให้การขาดดุลการชำระเงินและเข้าสู่สมดุล ส่วนประเทศที่มีดุลการชำระเงินเกินดุล ปริมาณเงินจะเพิ่มขึ้นซึ่งจะทำให้อัตราดอกเบี้ยในประเทศลดลง ทำให้มีการลงทุนเพิ่มขึ้นและประชาชนจะมีรายได้เพิ่มขึ้น รายได้ประชาชาติสูงขึ้น เมื่อประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้นก็จะมีการใช้จ่ายในการซื้อสินค้าภายในประเท ศและต่างประเทศเพิ่มขึ้นส่งผลให้การเกินดุลการชำระเงินลดลง และเข้าสู่ภาวะสมดุล
๒. กลไกด้านรายได้ กลไกด้านรายได้จะทำงานได้โดยอาศัยปัจจัย ๒ ประเภทคือ ประการแรกอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างสินค้านำเข้าและรายได้ ประการที่สองอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างการลงทุนภายในประเทศกับอัตราด อกเบี้ย ๒.๑ ความสัมพันธ์ระหว่างสินค้านำเข้าและรายได้ กรณีประเทศที่ดุลการชำระเงินเกินดุลจะมีปริมาณเงินเพิ่มขึ้น เศรษฐกิจขยายตัวขึ้นรายได้ของประชาชนเพิ่มขึ้น 5 ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
www.rsu.ac.th/econ.com
และรายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น ประชาชนของประเทศที่มีดุลการชำระเงินเกินดุลก็จะใช้จ่ายเงินเพื่อการบริโภ คเพิ่มขึ้น แต่เขาจะไม่ใช้รายได้ที่เพิ่มขึ้นทั้งหมดแต่จะแบ่งส่วนหนึ่งเก็บไว้เป็นเงินออม เมื่อเงินออมเพิ่มขึ้นจะนำไปใช้ในการลงทุนเพิ่มขึ้นจนทำให้ดุลการชำระเงินส มดุล ในทางตรงกันข้ามกรณี ประเทศที่มีดุลการชำระเงินขาดดุล ปริมาณเงินที่ใช้หมุนเวียนในประเทศลดลงทำให้เศรษฐกิจหดตัว รายได้ประชาชาติลดลง ประชาชนก็จะใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออมลดลง การลงทุนลดลง และรายได้ลดลง มีการส่งออกสินค้าเพิ่มขึ้นและลดการนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศลงจนทำใ ห้ดุลการชำระเงินสมดุล ๒.๒ ความสัมพันธ์ระหว่างการลงทุนภายในประเทศกับอัตราดอกเบี้ย กรณีประเทศที่มีดุลการชำระเงินเกินดุลปริมาณเงินในประเทศจะเพิ่มขึ้น อัตราดอกเบี้ยในประเทศลดลงทำให้มีการลงทุนในสินทรัพย์ที่มีตัวตน (Real Assets) เพิ่มขึ้นได้แก่ โรงงานและเครื่องจักรและรายได้ รอบที่สองเพิ่มขึ้น การส่งออกลดลง และการนำเข้าเพิ่มขึ้นจนทำให้ดุลการชำระเงินสมดุล ในทางตรงกันข้ามประเทศที่มีดุลการชำระเงินขาดดุลปริมาณเงิน ในประเทศจะลดลงอัตราดอกเบี้ยในประเทศเพิ่มสูงขึ้นทำให้การ ลงทุนในสินทรัพย์ที่มีตัวตนลดลงส่งผลให้รายได้รอบที่สองลดลง มีการส่งออกเพิ่มขึ้นและลดการนำเข้าลงจนทำให้ดุลการชำระเงินสมดุล ข้อเสนอแนะนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนเพื่อชะลอการแข็งค่าของเงินบาท 1.
ชะลอการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายในปีนี้ออกไปก่อนเพื่อลดแรงก ดดันจากกระแสเงินทุนระยะสั้นไหลเข้าตลาดการเงินอันเป็นผลเพิ่มแรง กดดันให้เงินบาทแข็งค่าขึ้นไปอีก นอกจากนี้อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจในช่วงไตรมาสสี่มีแนวโน้มช ะลอตัวลงกว่าครึ่งปีแรก และ
5 ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
www.rsu.ac.th/econ.com
2.
3.
อัตราการขยายตัวเศรษฐกิจของไทยในปีหน้ามีแนวโน้มปรับตัวลดลงจา กระดับ 6-7% ในปีนี้เป็น 4-5% ในปีหน้า แรงกดดันของอัตราเงินเฟ้ออันเป็นผลมาจากความร้อนแรงของอุปสงค์ยั งไม่ใช่ปัญหาเฉพาะหน้าของเศรษฐกิจไทยในช่วงหนึ่งถึงสองไตรมาสข้ างหน้า ทางการควรใช้มาตรการทางการคลังควบคู่มาตรการก ารเงินเพื่อชะลอหรือลดแรงกดดันจากเงินทุนไหลเข้าด้ว ยการเร่งรัดในการชำระหนี้ต่างประเทศเร็วขึ้น มากขึ้น พร้อมกับการใช้โอกาสนี้ในการนำเข้าสินค้าประเภททุนและเครื่อ งจักรอุปกรณ์ทั้งหลายที่ต้องใช้ในโครงการขนาดใหญ่ของรัฐบาล ส่วนการดำเนินการแทรกแซงตลาดปริวรรตเงินตราผ่านทาง Open Market Operation เมื่อซื้อดอลลาร์และขายเงินบาทเข้าสู่ตลาดแล้ว ไม่ควรดูดเงินบาทกลับคืน ซึ่งจะทำให้ผลของการแทรกแซงมีประสิทธิภาพมากกว่า และชะลอการแข็งค่าได้ดีกว่า แต่อาจส่งผลให้มีแรงกดดันอัตราเงินเฟ้อเพิ่มขึ้นบ้าง
4.
5.
เมื่อเลือกใช้มาตรการต่างๆที่สอดคล้องกับกล ไกตลาดแล้วแต่ไม่ได้ผลมากนัก หากอัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทต่อดอลลาร์ปรับตัวแข็งค่าขึ้นอย่างร วดเร็วในระยะเวลาอันสั้นสู่ระดับ 27-28 บาทภายในระยะอันสั้น (ต่ำกว่าสามเดือน) กรณีนี้ไม่เป็นไปตามคาดการณ์ จะเป็นสถานการณ์ที่มีผลกระทบต่อการส่งออ กโดยเฉพาะเอสเอ็มอีส่งออกอย่างรุนแรง ทางการควรพิจารณานำมาตรการเก็บภาษีรายได้จากการ ลงทุนระยะสั้น (ต่ำกว่าสามเดือน)ในตลาดการเงิน มาใช้ มาตรการดังกล่าวถือเป็นมาตรการ Capital Control แบบอ่อนๆ ประเทศไทยใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว จึงมีความจำเป็นน้อยลงในการที่ต้องสะสมทุนสำรอ งระหว่างประเทศจำนวนมากเช่นในปัจจุบัน
5 ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
www.rsu.ac.th/econ.com
6.
7.
ควรมีการนำเอาทุนสำรองระหว่างประเทศบางส่วนออกไปลงทุนในต่าง ประเทศเพื่อสร้างความมั่นคงและเสถียรภาพต่อระบบการเงินและระบบเ ศรษฐกิจไทยในระยะยาว จากการศึกษาความสำคัญของตัวแปรและปัจจัยต่างๆที่มีอิทธิพลต่ออัตร าแลกเปลี่ยนหรือค่าเงินบาทในช่วง ๑๓ ปีที่ผ่านมา (หลังลอยตัวค่าเงิน) โดยใช้ข้อมูลรายไตรมาสพบว่า มีตัวแปรหกตัวที่อธิบายความเคลื่อนไหวของค่าเงินบาทได้ถึงร้อยละ ๙๐ โดยไล่เรียงไปตามน้ำหนักความสำคัญดังต่อไปนี้ ๑. อัตราส่วนของดุลบัญชีเดินสะพัดต่อจีดีพี ๒. อัตราส่วนเงินทุนสำรองระหว่างประเทศต่อจีดีพี โดยสองตัวแปรแรกอธิบายการเคลื่อนไหวของค่าเงินบาทได้ดีที่สุด ๓. ค่าเงินในภูมิภาค ๔. อัตราส่วนหนี้ต่างประเทศต่อจีดีพี ๕. ดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ๖. ส่วนต่างระหว่างอัตราดอกเบี้ยแท้จริงของไทยกับสหรัฐอเมริกา จากการวิจัยและสถิติพบว่า เราควรดำเนินนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนให้เหมาะสมและสอดคล้องกับปั จจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจ การลดผลกระทบจากความผันผวนของค่าเงินจึงควรมุ่งไปที่การป้องกัน มากกว่าแก้ไข อย่างไรก็ตาม อัตราแลกเปลี่ยนไม่ได้เป็นผลจากดุลบัญชีเดินสะพัดเป็นหลัก โดยเฉพาะในภาวะโลกไร้พรมแดนทางการเงินที่มักได้รับผลกระทบจาก ธุรกรรมในบัญชีเงินทุน เนื่องจากธุรกรรมเหล่านี้มีลักษณะเก็งกำไรสูงและแสวงหาส่วนต่างของ ราคาและหรือส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยจึงมีปฏิกิริยาต่อการเคลื่อนไหวต่อค่ าเงินรุนแรงและรวดเร็ว นโยบายอัตราแลกเปลี่ยนจึงควรมีความคล่องตัวและยืดหยุ่นสูงและควร ใช้แทรกแซงตลาดปริวรรตเงินตราด้วยวิธีการใหม่ๆเพื่อหลีกเลี่ยงสิ่งที่ต ลาดคาดการณ์ไว้แล้ว ควรเริ่มต้นศึกษาการนำเอา Small Moving Band มาใช้แทน ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัวหากระบบนี้ไม่สอ
5 ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
www.rsu.ac.th/econ.com
ดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจและระบบการเงินในอนาคต (ยังไม่ได้เสนอให้ปรับเปลี่ยนระบบอัตราแลกเปลี่ยน เสนอให้เตรียมศึกษาไว้ก่อนหากมีความจำเป็นต้องใช้ในอนาคต) ตารางการคาดการณ์ทิศทางค่าเงินบาท การคาดการณ์ค่าเงินบาทกรณีไม่มีมาตรการ CAPITAL CONTROL และมีการเกินดุลบัญชีเดินสะพัดต่อเนื่อง ระยะเวลา อัตราแลกเปลี่ยน บาท/ ดอลลาร์สหรัฐ
1 เดือน 29.50
3 เดือน 29
6 เดือน 28
12 เดือน 27
การคาดการณ์ ณ 30 ก.ย.2553 SOURCE: CITIGROUP/JP MORGAN/IMF/WORLD BANK/ การคาดการณ์ของศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป
การคาดการณ์ค่าเงินบาทกรณีมีมาตรการ CAPITAL CONTROL ในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง (ใช้มาตรการ 1 ปี) ระยะเวลา อัตราแลกเปลี่ยน บาท/ ดอลลาร์สหรัฐ
1 เดือน 31.50
3 เดือน 31
6 เดือน 30
12 เดือน 29.50
การคาดการณ์ ณ 30 ก.ย.2553 SOURCE: CITIGROUP/JP MORGAN/IMF/WORLD BANK/ การคาดการณ์ของศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป
5 ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
www.rsu.ac.th/econ.com
ตัวเลขเศรษฐกิจสำคัญ ปี พ.ศ. ๒๕๔๐-๒๕๕๓ 2 5 4 0 1. 4
2 5 4 1 10 .5
2 5 4 2
2 5 4 3
2 5 4 4
2 5 4 5
2 5 4 6
2 5 4 7
2 5 4 8
2 5 4 9
2 5 5 0
2 5 5 1
4. 4
4. 8
2. 2
5. 3
7. 1
6. 3
4. 6
5. 1
4. 9
2. 5
อัตราเงิ 5. 6 นเฟ้อ
8. 0
0. 3
1. 6
1. 6
0. 7
1. 8
2. 7
4. 5
4. 7
2. 3
5. 5
GDP
ดัชนีร าคาผู้บ 4. ริโภคพื้ 6 นฐาน ดุลการ 4. ค้า 6 ดุลบัญ ชีเดินส 3. 1 ะพัด ดุลบั ญชีเ ดินสะพั ด (% ของผ ลิตภัณ ฑ์รวม) เงินทุน เคลื่อน ย้ายสุท ธิ อัตราส่ วนภาร ะหนี้ต่า
7. 1
1. 8
0. 7
1. 3
0. 4
0. 2
0. 4
12 9. .2 3
5. 5
2. 4
2. 7
3. 7
1. 4
14 12 9. .3 .5 3
5. 1
4. 6
4. 7
2. 7
2. 0
12 10 7. .7 .2 6
4. 4
3. 6
3. 3
1. 7
4. 3
9. 8
10 3. .3 4
1. 8
4. 7
7. 9
3. 6
15 21 19 15 20 19 16 8.
1. 6
25 25 52 53 p p 2. 2 0. 9
2. 3
1. 1
2. 4
0. 3
0. 9
11 0. .5 1
19 .4
2. 3
14 1. .0 6
20 .2
1. 1
5. 7
0. 6
7. 6
11 6. .0 8
2. 4
14 1. .6 2
8. 2 7. 6
4. 3
10 11 11 7.
3. 5 0. 8
5. 9 5. 4
8. 4
6.
5 ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
www.rsu.ac.th/econ.com
งประเท ศ (%) เงินฝา กประจ ำสูงสุด (1ปี) ต่ำสุด เงินฝ ากป ระจำ (1ปี) สูงสุด อัตรา แลกเ ปลี่ยน (บาท: 1ดอ ลลาร์ สรอ)
.7
.4
.4
.4
.8
.6
.0
5
.7
.2
.6
0
6
10 6. 4. 3. 2. 2. 1. 1. 2. 4. 2. 1. 0. .0 00 00 50 75 00 00 00 50 00 25 75 65 0
13 6. 4. 3. 3. 2. 1. 1. 3. 5. 2. 2. 1. .0 00 25 50 00 00 00 00 50 00 38 00 00 0
31 41 37 40 44 43 41 40 40 37 34 33 34 .3 .3 .8 .1 .4 .0 .5 .2 .2 .9 .5 .3 .3 7 7 4 6 8 0 3 7 7 3 6 6 4
1. 00
1. 25
32 .6 0
5 ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
www.rsu.ac.th/econ.com