707313 History of Eastern Art

Page 1

เอกสารประกอบการสอน •

จัดทํ า โ ดย นายนพคุณ ตอ วงศ อาจารยประจํา ภาควิช าสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรม ศาสตร มหาวิท ยาลั ยนเรศวร ระหวางวันที่ 2 กรกฎาคม ถึง วันที่ 8 สิง หาคม พ .ศ. 2554


วัตถุประสงค •

เพื่ อ ให นิสิตชั้ นปที่ 2 ที่ ล งทะเบียนเรียนใน รายวิช า 701222 ประวัติศาสตรสถาปตยกรรม ไ ทย ไ ดมีความรูความเข าใจเกี่ยวกับ สถาปตยกรรมพมา ตั้ง แตส มัยศรีเ กษตร มา จนถึง สมัยคองบอง


บทนําและข อ ตกลงเบื้อ งตน •

พมา เปนประเทศเกาแก และมีความสัมพั นธ ใกล ชิ ดกับไ ทยมาเปนเวลาช านาน ในฐานะคูศึก สงครามกับกรุง ศรีอยุธยา กับกรุง รัตนโ กสินทร ตอนตน ช วงปลายพุ ท ธศตวรรษที่ 24 พมาทํ า ศึก สงครามกับอัง กฤษ และเปนฝ ายพ ายแพ จน ถึง กับเสียเมือ งให อั ง กฤษเมื่อ ราวตนพุ ท ธ ศตวรรษที่ 25


บทนําและข อ ตกลงเบื้อ งตน •

หลั ง สงครามโ ลกครั้ง ที่ สอง พมาไ ดรับอิสรภาพ จากอัง กฤษ แตห ลั ง จากนั้นไ มนานก็ตกอยู ภายใตอํานาจของรัฐบาลเผด็จการทหารตราบ จนปจจุบัน ปจจุบันประเทศสหภาพพมาเปลี่ ยนชื่ อ เปน สหภาพเมี้ยนมาร


ข อ ตกลง • •

อยางไ รก็ตามในที่ นี้จะใช คําวา “พมา” ตามเดิม เนื่อ งจากเปนคําที่ คุนเคย และเปนภาษาไ ทยแท นอกจากนั้นชื่ อ เมือ ง หรือ สถานที่ สําคัญตางๆ เช น ยางกุง หงสาวดี หรือ พะโ ค พุ กาม แมน้ําอิ ระวดี แมน้ําสะโ ตง เปนตน ก็จะใช คําใน ภาษาไ ทยเปนสําคัญ


ตําแหนง ที่ ตั้ง •

ประเทศสหภาพพมา ตั้ง อยูท างทิ ศตะวันตก เฉี ยงเหนือ ของประเทศไ ทย มีพื้ นที่ ประมาณ 678,000 ตารางกิ โ ลเมตร ดานตะวันออกของพมาเปนประเทศสาธารณรัฐ ประชาธิปไ ตยประชาชนลาว กับประเทศ สาธารณรัฐประชาธิปไ ตยประชาชนจีน ดานตะวันตกเปนประเทศอินเดีย กับ บัง คลาเทศ


สภาพภูมิศาสตร • •

พมาประกอบดวยพื้ นที่ ที่ มีลั กษณะทาง ภูมิศาสตรแ ตกตางกันไ ปดัง นี้ ที่ ราบลุ มปากแมน้ําอิระวดี ไ ดแ กบริเ วณที่ ตั้ง ของ กรุง ยางกุง (ยางโ กง ) และพะโ ค


สภาพภูมิศาสตร •

ที่ ราบริมชายฝ ง ทะเลอันดามัน ไ ดแ ก มณฑล ทวาย เมาะละแหมง และตะนิ้นตาคยี (ตะนาว ศรี) ที่ ราบริมอาวเบงกอล หรือที่ เ รียกวา อาระกัน หรือยะไ ข มีเ ทื อ กเขาอาระกันคั่นระหวางพื้ นที่ สวนกลางกับมณฑลอาระกัน


แมน้ําสายสําคัญ • •

พมาประกอบดวยแมน้ําสําคัญสามสาย ไ ดแ ก แมน้ําอิ ระวดี แมน้ําสะโ ตง และแมน้ําสาลวิน แมน้ําสายสําคัญที่ สุดคือ แมน้ําอิ ระวดี ซึ่ งไ หลมา จากเทื อกเขาที่ อ ยูท างตอนเหนือ ของพมา ผ าน บริเ วณที่ ตั้ง ของเมือ งหลวงเกาของพมาหลาย แห ง เช น พุ กาม อั ง วะ และมัณฑะเลย เปนตน


แผนที่ แ สดง ตําแหนง สหภาพ พมา


แมน้ําอิ ระวดี สวน ที่ ผ านเมือ งพุ กาม

ที่ มา Moore, Elizabeth. The Early Landscape of Burma.


แมน้ําอิ ระวดี

ที่ มา Moore, Elizabeth. The Early Landscape of Burma.


แผนที่ แ สดง แหล ง โ บราณสถานใน พมา

ที่ มา


กลุ มชาติพั นธุใ นพมา •

พมาประกอบดวยกลุ มชนตางๆหลายเชื้ อ ชาติ ชนกลุ มใหญไ ดแ กช าวพมา ซึ่ งเปนคนที่ พู ด ภาษาตระกูล ทิ เ บต -พมา (Tibeto-Burmese) นอกจากนั้นยัง มีช นกลุ มนอ ยอื่นๆอี กเปนจํานวน มาก เช น ฉาน หรือไ ทยใหญ, กะเหรี่ยง , กะฉิ่ น, และมอญ เปนตน


หญิง สาวชาวพมา

ที่ มา


ชาวพมากับพระพุ ท ธศาสนา •

ชาวพมาสวนใหญนับถือ พระพุ ท ธศาสนา ซึ่ ง พมาเริ่มรับมาตั้ง แตสมัยพระเจาอโ นรถามัง ฉ อ หรือ พระเจาอนิรุท ธมหาราช ราวป พ .ศ. 1600 ชาวพมาสวนใหญเ ปนพุ ท ธศาสนิกชนที่ เ ปยม ดวยจิตศรัท ธา ทุ กวันจะพบชาวพมาจํานวนมาก ที่ ไ ปสวดมนตไ หวพ ระตามสถานที่ สําคัญทาง ศาสนาหลายแห ง


ชาวพมาเมื่อ ราว 130 ปกอ น ที่ พ ระมหาสถูปเจดียช เวดากอง

ที่ มา เนชั่ นแนล จีโ อกราฟ ก ฉบับพิ เศษ สยามและเพื่ อนบาน.


ลั ท ธิอ ารี •

อยางไ รก็ตาม กอ นที่ พ มาจะหั นมานับถือ พระพุ ท ธศาสนานั้น ชาวพมาเคยนับถือ ลั ท ธิอารี มากอ น ลั ท ธินี้นับถือ ภูตผี ปศาจ หรือ ที่ เ รียกวา นัต ซึ่ ง อาจมาจากคําวา “นาถ” หรือ ที่ พึ่ ง นัตเหล านี้มีอ ยู ดวยกันหลายตน


ผี นัต •

ครั้นถึง สมัยพระเจาอโ นรถามัง ฉ อ (พ .ศ. 15871620) ทรงพยายามที่ จะล มล างความเชื่ อ เรื่อ ง นัต แตไ มสําเร็จ ดัง นั้นพระองคจึง ทรงนับถือ พระอินทร ซึ่ งเปน เคยเปนเทพสําคัญในศาสนาฮิ นดู และตอ มาไ ด ปรากฏวาเปนเทพสําคัญในพระพุ ท ธศาสนา วา เปนหั วหนาของนัตทั้ ง หลาย


พระอิ นทร

ที่ มา Sylvia Fraser Lu. Splendour in Wood.


เวชยันตปราสาท

ที่ มา


สมัยกอ นประวัติศาสตร •

พมาเคยมีผู คนมาตั้ง รกรากอยูอ าศัยตั้ง แต สมัยกอ นประวัติศาสตร นักโ บราณคดีสามารถ ขุ ดคนพบหลั กฐานทางโ บราณคดีห ลายชิ้ น เช น รูปเจาแมเ ทพี กลองมโ หระทึ ก หรือ เครื่อ งประดับโ ลงศพ หลั กฐานเหล านี้อ าจชี้ นําวาคนโ บราณนับถือเพศ หญิง หรือยกให แ มเ ปนใหญใ นเรือ น


ประติมากรรมรูปเทพี สมัยกอ น ประวัติศาสตร

ที่ มา Moore, Elizabeth. The Early Landscape of Burma.


กลองมโ หระทึ ก


เครื่อ งประดับโ ลงศพ


อาณาจักรศรีเ กษตร •

กอ นที่ พ ระเจาอโ นรถามัง ฉ อ แห ง พมาจะเอาชนะ มอญ พื้ นที่ ตอนกลางของประเทศพมาใน ปจจุบันเคยอยูภายใตอํานาจของชนกลุ มหนึ่ง ที่ มีชื่ อ เรียกวา “พยู” (Pyu) พวกพยูเ ปนกลุ มชนที่ พู ดภาษาตระกูล ทิ เ บต พมา ซึ่ งอพยพเข ามาอาศัยในพื้ นที่ ตอนกลาง ของพมาราวกอ นพุ ท ธศตวรรษที่ 10


อาณาจักรศรีเ กษตร •

ปจจุบันเราทราบวาพวกพยูปกครองดวยระบอบ กษั ตริย และนับถือพระพุ ท ธศาสนา เนื่อ งจากนัก โ บราณคดีสามารถขุ ดคนพบพระโ กศที่ ทํ า ดวย หิ น ภายในมีพ ระอัฐิข องกษั ตริยพ ยู ซึ่ งปลงพระ ศพดวยการถวายพระเพลิ ง แบบชาวพุ ท ธ สวน ดานนอกมีจารึกกล าวถึง พระนาม และระยะเวลา ครองราชยข องกษั ตริยเ หล านั้น


โ กศบรรจุพ ระอั ฐิข องกษั ตริยพ ยู

ที่ มา Moore, Elizabeth. The Early Landscape of Burma.


อาณาจักรศรีเ กษตร •

อาณาจักรของพยูมีชื่ อ เรียกวา “อาณาจักรศรี เกษตร” เมือ งสําคัญไ ดแ ก เมือ งศรีเ กษตร ซึ่ งอยู ใกล กับเมือ งแปร เมือ งเปกตะโ น และเมือ งฮาลิ นคยี เปนตน เมือ งเหล านี้มักเปนรูปวงกลม หรือ สี่เ หลี่ ยมมุม มน และมีข นาดใหญมาก ตัวอยางเช น เมือ งศรี เกษตร ซึ่ งมีเ สนผ าศูนยกลางราว 4 กิโ ลเมตร


แผนที่ เปรียบเที ย บขนาด เมือ งสําคัญ ของพวกพยู ที่ มา Moore, Elizabeth. The Early Landscape of Burma.


เมือ งศรีเ กษตร (Sriksetra) •

เมือ งสําคัญที่ สุ ดของพวกพยู ไ ดแ กเ มือ งศรี เกษตร ซึ่ งปจจุบันอยูที่ ห มูบานหมอวซ า และอยู ใกล กับเมือ งแปร บริเ วณตอนกลางของพมา พมาเรียกเมือ งศรีเ กษตรวา ตะเยขิ ตตยา แปลวา ดินแดนอั นศักดิ์สิท ธิ์ หรือ บางก็แ ปลวา เมือ งที่ อุดมไ ปดวยพื ช พั นธุธัญญาหาร

ที่ มา ผาสุข อินทราวุธ . สุวรรณ ภูมิจากหลัก ฐานโบราณ คดี . กรุง เทพฯ ศักดิ์โ สภาการ พิ มพ , 2548. 75.


เมือ งศรีเ กษตร •

เมือ งศรีเ กษตรเปนเมือ งใหญที่ สุ ดของพวกพยู มี กําแพงล อ มรอบยาว 14.6 กม. และมีพื้ นที่ ประมาณ 30 ตร. กม. พื้ นที่ ดานตะวันตกของเมือ งเปนที่ สูง สวนพื้ นที่ ดานทิ ศเหนือ และตะวันออกเปนที่ ราบลุ ม


เมือ งศรีเ กษตร •

• •

กําแพงเมือ งดานตะวันออกเตี้ยกวาดานอื่ น เนื่อ งจากเดิมอาจเคยเปนลําน้ํา แตตอ มาตื้นเขิ น กลายเปนหนองน้ํา แล วผู คนจึง สรางกําแพง เมือ งขึ้ น ดานตะวันออกเฉี ยงใตมีกําแพงเมือ งสามชั้ น โ บราณสถานสําคัญสวนใหญอยูท างทิ ศใตข อง ตัวเมือ ง


เมือ งสําคัญของพวกพยู •

• •

นอกจากเมือ งศรีเ กษตร ยัง มีเ มือ งสําคัญแห ง อื่ นอี ก หลายแห ง เช น เมือ งเบกถาโ น ซึ่ งหมายความถึง พระ วิษ ณุ เมือ งเมิง มอว และเมือ งฮาลิ นคยี เปนตน เมือ งเหล านี้สวนใหญจะมีกําแพงเมือ งล อ มรอบ และ บริเ วณใจกลางเมือ งจะเปนที่ ตั้ง ของพระราชวัง ลั กษณะการวางผั ง คล ายเมือ งสมัยทวารวดีใ นที่ ราบลุ ม แมน้ําเจาพระยา และภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ ของ ประเทศไ ทย


ผั ง เมือ งศรีเ กษตร

ที่ มา Moore, Elizabeth. Early Landscapes of Myanmar. 168.


เมือ งเบกถาโ น

ที่ มา Moore, Elizabeth. Early Landscapes of Myanmar. Bangkok: River Books, 2007. 156.


ผั ง พระราชวัง ที่ เ มือ งเบกถะโ น


ที่ ตั้ง ของเมือ งเบกตะโ น

ที่ มา Moore, Elizabeth. Early Landscapes of Myanmar. Bangkok: River Books, 2007. 155.


เมือ งฮาลิ นคยี

ที่ มา Moore, Elizabeth. Early Landscapes of Myanmar. Bangkok: River Books, 2007.


เมือ งโ บราณ เมิง มอว

ที่ มา Moore, Elizabeth. Early

Landscapes of Myanmar. Bangkok: River Books, 2007.


ภาพถายทางอากาศเมือ งนครปฐม

ที่ มา


เมือ งคูบัว จ.ราชบุรี

ที่ มา


ภาพถายทางอากาศเมือ งศรีมโ หสถ

ที่ มา


สถาปตยกรรม •

เนื่อ งจากชาวพยูนับถือ พระพุ ท ธศาสนา และ ปกครองดวยระบอบกษั ตริย ดัง นั้นโ บราณสถาน ของพวกพยูที่ นักโ บราณคดีคนพบสวนใหญเ ปน พระสถูปเจดีย หรือ ซ ากพระราชวัง โ บราณ นอกจากนั้นยัง มีกําแพงเมือ ง กับประตูเ มือ ง ที่ สรางขึ้ นเพื่ อ ปอ งกันข าศึกศัตรูจากภายนอก


กําแพงและประตูเ มือ งศรีเ กษตร

ที่ มา Moore, Elizabeth. Early Landscapes of Myanmar.


กําแพงเมือ งฮาลิ นคยี

ที่ มา Moore, Elizabeth. Early Landscapes of Myanmar.


กําแพงและคูเ มือ ง Thagara

ที่ มา Moore, Elizabeth. Early Landscapes of Myanmar. Bangkok: River Books, 2007. 223.


พระสถูปเจดียแ บบพยู •

• •

จําแนกออกเปนสองประเภท คือ พระสถูปแบบ ลอมฟาง (Cone-Shaped Stupa) กับพระสถูป ที่ มีผั ง พื้ นเปนรูปสี่เ หลี่ ยม ตัวอยางพระสถูปแบบลอมฟาง ไ ดแ ก พระสถูป บอวบอวจี กับพระสถูปพะยาจี สวนตัวอยางพระสถูปที่ มีผั ง พื้ นรูปสี่เ หลี่ ยม ไ ดแ ก พระสถูปเบเบ กับ พระสถูปเลเมี้ยตนา


พระสถูปทรงลอมฟาง

ที่ มา Paranavitana, S. The Stupa in Ceylon. Colombo: The Ceylon Government Press, 1946.


พระสถูปเจดียบอบอจี • • • • •

อยูท างทิ ศใตข องเมือ งศรีเ กษตร ห างจากตัว เมือ งราว 250 เมตร ลั กษณะเปนทรงกระบอก ความสูง ประมาณ 46 เมตร สวนยอดเปนรูปกรวย มีฉั ตรอยูดานบน สวนล างสุดประกอบดวยฐานเขี ยง 5 ชั้ น ภายในพระสถูปกลวง สวนที่ กลวงสูง 24 เมตร วัสดุกอ สรางเปนอิ ฐดินเผา ฉาบผิ วดวยปูน


พระสถูปบอบอจี เมือ งศรีเ กษตร

ที่ มา Moore, Elizabeth. Early Landscapes of Myanmar. Bangkok: River Books, 2007.


ฐานพระสถูปบอบอจี

ที่ มา Moore, Elizabeth. Early Landscapes of Myanmar. Bangkok: River Books, 2007.


พระสถูปพะยาจี • •

ตั้ง อยูท างทิ ศตะวันตกเฉี ยงเหนือ นอกกําแพง เมือ งศรีเ กษตร ลั กษณะเปนพระสถูปทรงกรวย หรือที่ เ รียกวา พระสถูปทรงลอมฟาง


พระสถูปพะยาจี (Hpayagyi)

ที่ มา Moore, Elizabeth. The Early Landscapes of Myanmar. 171.


ผั ง อาคารหมายเลข 18 เบกถาโ น

ที่ มา ผาสุข อินทราวุธ . สุวรรณ ภูมิจากหลัก ฐานโบราณ คดี . 224.


โ บราณสถาน KKG 14 เมือ งเบกถา โน

ที่ มา Moore, Elizabeth. The Early Landscape of Burma.


โ บราณสถาน SGR 2 เมือ ง Thagara

ที่ มา Moore, Elizabeth. The Early Landscape of Burma.


ผั ง พื้ นโ บราณสถาน SGR 2

ที่ มา Moore, Elizabeth. The Early Landscape of Burma.


โ กศหิ นบรรจุพ ระอั ฐิ •

เมื่อ นักโ บราณคดีขุ ดคนซ ากโ บราณสถานของ พวกพยู ไ มวาจะเปนพระสถูป หรือ วิห าร จะพบ โ กศบรรจุอัฐิฝ ง อยูใ ตอ าคารเหล านั้น โ กศสวนมากสรางดวยหิ น และสรางขึ้ นเพื่ อ บรรจุ พระอัฐิข องกษั ตริยพ ยู บนโ กศจารึกอักษร โ บราณ เล าถึง พระประวัติข องกษั ตริยที่ สิ้นพระชนม


พระโ กศบรรจุพ ระอั ฐิข องกษั ตริยพ ยู


พระโ กศบรรจุพ ระอั ฐิ


วัสดุกอ สราง •

วัสดุกอ สรางพระสถูปเจดีย หรือ พระราชวัง สวนมากเปนอิ ฐดินเผาขนาดใหญ มีรอยนิ้วมือ บากเปนรูปสัญลั กษณช นิดตางๆ


วัสดุกอ สราง

ที่ มา Moore, Elizabeth. The Early Landscape of Burma.


วัสดุกอ สราง

ที่ มา Moore, Elizabeth. The Early Landscape of Burma.


วัสดุกอ สราง • •

สวนบานเรือ นของสามัญชน คงจะสรางดวยไ ม วัสดุมุง หลั ง คาเรือนของสามัญชนอาจใช ห ญา หรือ ฟาง ขณะที่ บานเรือ นของผู ที่ มีฐานะ หรือ พระราชวัง มุง ดวยกระเบื้อ งดินเผาที่ มีลั กษณะ คล ายกับกระเบื้อ งกาบู หรือกระเบื้อ งกาบกล วย


กระเบื้อ งมุง หลั ง คาของพวกพยู


กระเบื้อ งมุง หลั ง คาของพวกพยู


กระเบื้อ งมุง หลั ง คาของพวกพยู

ที่ มา Moore, Elizabeth. The Early Landscape of Burma.


วัสดุมุง ของพวกพยู

ที่ มา Moore, Elizabeth. The Early Landscape of Burma.


ภาพสันนิษ ฐานเรือ นแบบพยู

ที่ มา Moore, Elizabeth. The Early Landscape of Burma


พระพุ ท ธรูปแบบพยู •

ลั กษณะคล ายกับพระพุ ท ธรูปแบบทวารวดีใ น ไ ทย นิยมสรางพระพุ ท ธรูปหลายปาง เช น ปาง ปฐมเทศนา ประทั บนั่ง ห อ ยพระบาท หรือ ปาง ประทั บยืนในท าตรีภัง คะ วัสดุที่ ใ ช เ ปนดินเผา หรือ สําริด


พระพุ ท ธรูปสมัยศรีเ กษตร

ที่ มา Moore, Elizabeth. The Early Landscape of Burma.


พระพุ ท ธรูปแบบพยู

ที่ มา Moore, Elizabeth. The Early Landscape of Burma.


พระพุ ท ธรูปแบบพยู

ที่ มา Moore, Elizabeth. The Early Landscape of Burma.


พระพิ มพ ดินเผา

ที่ มา Moore, Elizabeth. The Early Landscape of Burma.


เทวรูปพระวิษ ณุ


เหรียญของพวกพยู


พุ กาม

ที่ มา Burma Art and Archaeology. Green, Alexandra, and Blurton, Richard, editor. (Chicago: Art Media Resources, 2002.), 9.


ระบอบการปกครอง •

ประเทศสหภาพเมียนมาร หรือ สหภาพพมา เคย ปกครองดวยระบอบกษั ตริยมาเปนเวลากวาแปด ศตวรรษ ราชวงศแ รกของพมาคือ ราชวงศพุ กาม ปกครอง พมาระหวางป พ .ศ. 1583-1830


ราชวงศพุ กาม •

กษั ตริยพ ระองคแ รกของพุ กามคือ พระเจาอนิ รุท ธมหาราช หรืออโ นรถามัง ฉ อ (ครองราชย ระหวางป พ .ศ. 1580-1620) ในป พ .ศ. 1600 พระเจาอโ นรถามัง ฉ อ ทรง ทราบจากพระเถระชาวมอญรูปหนึ่ง นามวา “พระ ชิ นอรหั นต” วาชาวมอญมีความรอบรูใ น พระไ ตรปฎก


พระเจาอนิรุท ธมหาราช •

พระเจาอโ นรถามัง ฉ อ จึง ทู ล ขอพระไ ตรปฎกจาก พระเจามนูห ะ (หรือ พระเจามกุฏะ) ซึ่ งเปน กษั ตริยมอญในขณะนั้น เมื่อ พระเจามนูห ะไ มพ ระราชทานพระไ ตรปฎก ให พระเจาอโ นรถามัง ฉ อ จึง ยกทั พ ไ ปตีเ มือ งหง สาวดี และสามารถปราบพวกมอญ ซึ่ งเคยมี อํานาจเหนือ บริเ วณปากลุ มแมน้ําอิ ระวดี


พระเจาอนิรุท ธมหาราช •

ครั้ง นั้นทรงกวาดตอ นครัวมอญจากเมือ งหงสาว ดีมาอาศัยที่ พุ กาม ทํ า ให พ มารับเอาอารยธรรม มอญซึ่ งเจริญกวา พระเจาอโ นรถามัง ฉ อ ทรงเลื่ อ มใสใน พระพุ ท ธศาสนานิกายเถรวาทอยางยิ่ง ทรงเห็ น วาลั ท ธิอ ารีที่ ช าวพมานับถือ ในสมัยนั้นเต็มไ ป ดวยความเชื่ อ ที่ ง มงาย


สถาปตยกรรมพุ กาม •

สถาปตยกรรมพุ กามสวนมากที่ ปรากฏในปจจุบัน เปนสถาปตยกรรมในพระพุ ท ธศาสนา โ ดยเฉพาะอยางยิ่ง พระสถูปเจดีย กับวิห ารเจดีย พระสถูปเจดียสวนมากสรางขึ้ นเพื่ อ ประดิษ ฐาน พระบรมสารีริกธาตุ สวนวิห ารเจดียสรางขึ้ นเพื่ อ ประดิษ ฐานพระพุ ท ธรูป


พระสถูปเจดีย •

ดัง นั้นพระสถูปเจดียแ บบพมาในเมือ งพุ กามจึง เปนอาคารทึ บตัน ยกเวนพระสถูปบางแห ง ที่ ภายในประดิษ ฐานพระพุ ท ธรูป นอกจากนั้นพระสถูปแบบพมาสวนใหญมีฐาน กวาง เนื่อ งจากพมาตั้ง อยูบนรอยเลื่ อ นที่ เ ปลื อ ก โ ลกผื นใหญสองผื นมาชนกัน คือ เปลื อ กโ ลกยูเ ร เซี ย กับอินเดีย ทํ า ให เ กิดแผ นดินไ หวรุนแรง บอยครั้ง


พระสถูปชเวสันดอ

ที่ มา


พระสถูปเจดียช เวซิ โ กน

ที่ มา Shwedagon.


รูปดานพระสถูปเจดียช เวซิ โ กน

ที่ มา Shwedagon.


พระมหาสถูปเจดียช เวดากอง

ที่ มา


รูปดานพระสถูปเจดียชเวกากอง

ที่ มา Shwedagon.


ผั ง บริเ วณพระสถูป เจดียช เวดากอง

ที่ มา Shwedagon.

ที่ มา


หตี หรือ ฉั ตรบนยอดพระสถูป

ที่ มา Shwedagon.


มนุทิ ห ะ (มนุษ ยสีห ะ)

ที่ มา Shwedagon.


พระสถูป Ein Yar Kyaung

ที่ มา Pichard, Pierre. The Pentagonal Stupa.


ผั ง พื้ นของพระสถูป Ein Yar Kyaung

ที่ มา Pichard, Pierre. The Pentagonal Stupa.


รูปตัดของพระสถูป Ein Yar Kyaung

ที่ มา Pichard, Pierre. The Pentagonal Stupa.


พระพุ ท ธรูปภายในพระสถูปเจดีย


เจดียวิห ารอนันทะ • • • •

สรางในสมัยพระเจากยันซิ ทถา พ .ศ. 1634 โ ปรดให จําลองถ้ํานันทมูล ในปาหิ มพานต ซึ่ ง เปนที่ อ าศัยของพระปจเจกพุ ท ธเจา ผั ง พื้ นกวางยาวดานละ 61 เมตร ความสูง 51 เมตร

ที่ มา สันติ เล็ กสุ ขุ ม. เที่ ย วดงเจดี ย ที่ พ มาประเทศ . กรุง เทพฯ มติช น, 2545. 149.


เจดียวิห ารอนันทะ

ที่ มา


ภายในเจดีย วิห ารอนันทะ


ผั ง พื้ น ของเจ ดียวิห าร อนันทะ ที่ มา


รูปตัดอานันทเจดีย

ที่ มา


เจดียวิห ารนากายน • • •

สรางเมื่อ พ .ศ. 1633 สมัยพระเจากยันซิ ทถา คําวา นากายน มีความหมายวา พญานาคที่ แ ผ พั ง พาน ในที่ นี้ห มายถึง พญานาคที่ แ ผ พั ง พานเพื่ อ ช วยเหลื อ พระเจากยันซิ ทถาเมื่อ ครั้ง หลบหนีราช ภัย

ที่ มา สันติ เล็ กสุ ขุ ม. เที่ ย วดงเจดี ย ที่ พ มาประเทศ . กรุง เทพฯ มติช น, 2545. 145.


เจดียวิห ารนากายน


องคประกอบสถาปตยกรรม

ที่ มา


ภายในเจดียวิห ารนากายน


พระในเจดียวิห ารนากายน


เจดียวิห ารทาตบยินยู • • •

สรางสมัยพระเจาอลองคสิตถุ ปลายพุ ท ธ ศตวรรษที่ 17 ชื่ อ ทาตบยินยู หรือสัพ พั ญู เปนพระนามของ พระพุ ท ธเจา สูง ถึง 61 เมตร เปนเจดียที่ สูง ที่ สุดในพุ กาม

สันติ เล็ กสุขุ ม. เที่ ย วดงเจดีย ที่ พ มาประเทศ . กรุง เทพฯ มติช น, 2545.


ทาตบยินยู (สัพ พั ญู) เจดีย


รูปตัดของพระเจดียท าตบยินยู


ทาตบยินยู


เจดียวิห ารธัมยางจี (ธรรมรัง สี ) • •

สรางในสมัยพระเจานรถุ พ .ศ. 1710-1713 การกอ สรางไ มแ ล วเสร็จ เนื่อ งจากพระเจานรถุ ถูกลอบปลงพระชนม


เจดียวิห ารธัมยางจี (ธรรมรัง สี )

ที่ มา


อวสานของราชวงศพุ กาม •

หลั ง จากราชวงศพุ กามเสียแกจีนแล ว พมาก็ แตกออกเปนหลายอาณาจักร เนื่อ งจากชาว มอญ และชาวไ ทยใหญประกาศเอกราชไ มขึ้ น แกพ มา


รายการอ างอิ ง •

สันติ เล็ กสุขุ ม. เที่ ย วดงเจดี ย ที่ พ มาประเทศ . กรุง เทพฯ มติช น, .


References • Burma Art and Archaeology. Green, Alexandra, and Blurton, Richard, editor. Chicago: Art Media Resources, 2002. • Moore, Elizabeth. Early Landscape of Burma. • Paranavitana, S. The Stupa in Ceylon. Colombo: The Ceylon Government Press, 1946.


สถาปตยกรรมอันเนื่องในสถาบันกษัตริยของพมา • ประเทศพมาเคยปกครองดวยระบอบกษัตริยมาเปนระยะเวลาหลายรอย ป จนกระทั่งพายแพสงครามกับอังกฤษในป พ.ศ. 2429 • ประกอบดวยราชวงศที่สําคัญ 3 ราชวงศ คือ ราชวงศพุกาม ตองอู และ คองบอง • ราชวงศพุกามปกครองพมาระหวางป พ.ศ. 1580-1830 มีราชธานีคือ กรุงพุกาม • ราชวงศคองบองปกครองพมาระหวางป พ.ศ. 2280-2429 มีราชธานีคือ กรุงอมรปุระอังวะ และมัณฑะเลย


พระราชวังในกรุงมัณฑะเลย • กรุงมัณฑะเลยสรางขึ้นในสมัยพระเจามินดุง (ประมาณ พ.ศ. 24002420) • ประกอบดวยปราสาทราชมณเฑียร • โครงสรางไม และ


รายการอางอิง • กองจดหมายเหตุแหงชาติ. • คึกฤทธิ์ ปราโมช, หมอมราชวงศ. ลักษณะไทย. กรุงเทพฯ สํานักพิมพ ไทยวัฒนาพานิช, 25. • แนงนอย ศักดิ์ศรี, หมอมราชวงศ. มรดกสถาปตยกรรมกรุง รัตนโกสินทร. กรุงเทพฯ โรงพิมพกรุงเทพ, 2539. • แนงนอย ศักดิ์ศรี, หมอมราชวงศ. สถาปตยกรรมพระบรมมหาราชวัง. กรุงเทพฯ โรงพิมพกรุงเทพ, 2530.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.