Art in Daily Life

Page 1

ศิลปะในชีวติ ประจําวัน ------------------------------------------------Art in Daily Life

บรรยายโดย ธีรวุฒิ บุญยศักดิ เสรี www.wuttb.multiply.com FB @ VisArt Nu


ศิลปะ ศาสนา และ อารยะธรรม ------------------------------------------------Art, Religion and Civilization


“Where did we come from?”


Origin of Man : Created or Evolved? มนุษย์เริ มต้ นจากจดุ ไหน : การสร้ าง หรื อ การพัฒนา


God…?


Or we came from the sky?


Nazca lines, Peru http://www.crystalinks.com/nazca.html


Did we come from monkey or amebas?


Why do we paint and what do we get out of it?


Beauty or Survival? ความงาม หรื อ ความอย่ รู อด ?



Mother of Man……Mother of Land…..Mother Earth


Primitive or Pre Historical Art ศิลปะก่ อนประวัติศาสตร์


The Story of Art Part I Primitive Art and the Ancient world Why do we paint?


Primitive Art Primitive Art หรือ Pre Historical Art เป็ นศิลปะทีส4 ร้ างขึน9 ในสมัยก่ อนประวัติศาสตร์ ส่ วนมากสร้ างขึน9 ในความเชื4อในเรื4องราวเหนือธรรมชาติ ในรู ปแบบต่ างๆ และในขณะเดียวกันก็ เป็ นตัวบ่ งบอกซึ4งการมองเห็นความงาม อันเป็ นการยืนยันในความเป็ นมนุษย์ แยกออกมาจาก สั ตว์ อย่ างสมบูรณ์

Bisan at Altramira, Spain

Wild Horse at Lascoux , France


Venus of Willendorf วีนัสแห่ งวิเลนดรอฟ หรือ ผู้หญิงแห่ งวิเลนดรอฟ ( The Venus of Willendorf ) ** พบในปี 1908 ทีห4 มู่บ้าน วิเลนดรอฟ ใกล้ เมืองเครมส์ ประเทศออสเตรีย ขนาดความ สู ง 11.1 เซนติเมตร สร้ างขึน9 ด้ วยการแกะสลักหิน เมือ4 ประมาณ 24,000-22,000 ปี ก่ อน คริสตกาล 24,000 BCE – 22,000 BC.


Ancient World Ancient history is the study of the written past from the beginning of recorded human history in the Old World until the Early Middle Ages in Europe and the Qin Dynasty in China. The period following these events includes the Imperial era in China and the period of the Middle Kingdoms in India; The span of recorded history altogether is roughly 5,000 years, with Sumerian cuneiform emerging from the protoliterate period around the 30th century BC being the oldest form of writing discovered so far. This is the beginning of history, as opposed to prehistory, according to the definition used by most historians.


Ancient World ประวัติศาสตร์ โลกยุคโบราณนับตั9งแต่ อดีตทีม4 นุษย์ เริ4มต้ นมีบันทึก ประวัติศาสตร์ จนกระทัง4 ถึงยุคกลางในยุโรปหรือสมัยราชวงศ์ ฉินใน ประเทศจีน อารยธรรมเหล่านีอ9 าจประกอบด้ วยสมัย Imperial ในจีนหรือสมัย Middle Kingdoms ในอินเดีย ฯลฯ ซึ4งประวัติศาสตร์ เหล่านีถ9 ูกบันทึกไว้ เป็ นราย ลักษณ์ อกั ษรประมาณระยะเวลาได้ ราว 5000 ปี และอักษรโบราณทีไ4 ด้ ค้ นพบเหล่านี9 อักษรชุ ดทีเ4 ก่ าแก่ ทสี4 ุ ดทีถ4 ูกค้ นพบได้ แก่ Sumerian cuneiform ในยุค protoliterate period ประมาณ 3,000 ปี ก่อนคริสกาล ซึ4ง นักประวัติศาสตร์ ส่วนใหญ่ เชื4อในแนวทางเดียวกันว่ าเป็ นจุดเริ4มต้ นของยุค ประวัติศาสตร์


Ancient World ประวัติศาสตร์ โลกยุคโบราณนับตั9งแต่ อดีตทีม4 นุษย์ เริ4มต้ นมีบันทึก ประวัติศาสตร์ จนกระทัง4 ถึงยุคกลางในยุโรปหรือสมัยราชวงศ์ ฉินใน ประเทศจีน อารยธรรมเหล่านีอ9 าจประกอบด้ วยสมัย Imperial ในจีนหรือสมัย Middle Kingdoms ในอินเดีย ฯลฯ ซึ4งประวัติศาสตร์ เหล่านีถ9 ูกบันทึกไว้ เป็ นราย ลักษณ์ อกั ษรประมาณระยะเวลาได้ ราว 5000 ปี และอักษรโบราณทีไ4 ด้ ค้ นพบเหล่านี9 อักษรชุ ดทีเ4 ก่ าแก่ ทสี4 ุ ดทีถ4 ูกค้ นพบได้ แก่ Sumerian cuneiform ในยุค protoliterate period ประมาณ 3,000 ปี ก่อนคริสกาล ซึ4ง นักประวัติศาสตร์ ส่วนใหญ่ เชื4อในแนวทางเดียวกันว่ าเป็ นจุดเริ4มต้ นของยุค ประวัติศาสตร์


Sumerian Cuneiform Sumerian Cuneiform หรื ออักษรรู ปลิม 4



Prominent ancient historical civilizations Southwest Asia (Near East) Mesopotamia Persia

North Africa Egypt

South Asia India

East Asia China Mongols

Mediterranean Europe Phoenicians Greek Roman


Egyptian Art : Life After the Death


The Holy land of the Indus River valley : India


Harappa : Mohenjo-Daro


The Holy land of the Indus River valley : India The Indian literary tradition has an oral history reaching down into the Vedic period of the later 2nd millennium BC. Ancientis usually taken to refer to the "golden age" of classical Hindu culture, as reflected in Sanskrit literature, beginning around 500 BC with the sixteen monarchies and 'republics' known as the Mahajanapadas, stretched across the Indo-Gangetic plains from modern-day Afghanistan to Bangladesh. The largest of these nations were Magadha, Kosala, Kuru and Gandhara. Notably, the great epics of Ramayana and Mahabharata are rooted in this classical period.


Europe : Greek Art • Archaic Period • Classical Period • Hellenistic Period


Greek Art


Roman Art



The Story of Art Part II Tradition and Innovation


Church History : The Christian Empire


Jesus of Nazareth (7–2 BC/BCE – 30–36 AD/CE)


Medieval or Middle Ages Art Middle Ages : 4th ad.-14th ad.

• Byzantine • Romanesque • Gothic


Byzantine

Hagia Sophia, Istanbul


Romanesque

Notre Dame, Paris


Gothic


Renaissance The Renaissance (from French Renaissance, meaning "rebirth"; Italian: Rinascimento, from re- "again" and nascere "be born") Beginning in Italy that spanned roughly the 14th to the 17th century and later spreading to the rest of Europe. As a cultural movement, it encompassed a rebellion of learning based on classical sources, the development of linear perspective in painting, and gradual but widespread educational reform. Traditionally, this intellectual transformation has resulted in the Renaissance being viewed as a bridge between the Middle Ages and the Modern era. Main Representation Leonardo Da Vinci Michelangelo Buonarroti Raphael Santi



Leonardo da Vinci: Science, Engineering and Inventions

http://www.youtube.com/watch?v=JQM0bfBQvDA


Leonardo da Vinci: Science, Engineering and Inventions

http://www.youtube.com/watch?v=JQM0bfBQvDA


Leonardo da Vinci: Science, Engineering and Inventions

http://www.youtube.com/watch?v=JQM0bfBQvDA


Leonardo da Vinci: Science, Engineering and Inventions

http://www.youtube.com/watch?v=JQM0bfBQvDA


Leonardo da Vinci: Science, Engineering and Inventions

http://www.youtube.com/watch?v=JQM0bfBQvDA


Leonardo da Vinci: Science, Engineering and Inventions

http://www.youtube.com/watch?v=JQM0bfBQvDA


Leonardo da Vinci: Science, Engineering and Inventions

http://www.youtube.com/watch?v=JQM0bfBQvDA


The Story of Art Part III

Spirit of the East “Art of Eternity” จิตวิญาณตะวันออก : ศิลปะแห่ งความเป็ นนิรันดร์


......ศาสนาเป็ นเรื องราวยิง ใหญ่ สําคัญทีส ุ ดควรนํามาสร้ างงานศิลป์ Leo Tolstoy ลีโอ ตอลสตอย


ความสั มพันธ์ ระหว่ างศิลปะกับศีลธรรมและ ศาสนา ความดีทางศีลธรรม ความจริงทางปัญญา ความสมบูรณ์ทางวิญญาณ และ ความเป็ นนิรันทางศาสนา คุณค่ าเหล่ านีล9 ้ วนเป็ นคุณค่ าทีส4 ํ าคัญยิง4 แห่ งชีวติ ศิลปะกับศีลธรรม(Art and Morality) :ศิลปะเกีย4 วกับศีลธรรมหรือไม่ ? เมื4อมนุษย์ เราได้ ดูหรือรับรู้ ถึง ความสุ ขทุกข์ ของคนอืน4 แล้ว ทําให้ เกิดความเห็นอกเห็นใจนั9น ย่ อมเป็ นทีเ4 ข้ าใจได้ ว่า มีเรื4องของคุณธรรมเข้ ามาเกีย4 วข้ อง



Indian Art


ถ้านิสิตคิดว่า คนเราเกิดมาจาก “การสร้ าง”

คําถามต่ อมาคือ

ใคร คือ “ผ้ สู ร้ าง”


จักรวาลวิทยา เป็ นการศึกษาเอกภพโดยรวม ซึ งนับว่ าเป็ นการศึกษาถึงสิ งที ย งิ ใหญ่ ท สี ุดและเป็ นพืน( ฐานที สุดในเวลาเดียวกัน จักรวาลวิทยามุ่งเน้ นที จะศึกษาถึงองค์ ประกอบและความสัมพันธ์ ของสรรพสิ งทัง( หลายในเอกภพ พร้ อมกับพยายามที จะอธิบาย ความเป็ นมาของเอกภพในอดีต และทํานายความเป็ นไปของเอกภพในอนาคต เอกภพเป็ นอย่ างไร เอกภพมีขอบเขตจํากัด หรื อไม่ เอกภพเกิดขึน( ได้ อย่ างไร เพราะเหตุใดเอกภพจึงมีรูปร่ างลักษณะอย่ างที เป็ นอยู่ในปั จจุบัน และอนาคตข้ างหน้ าเอกภพจะ เป็ นอย่ างไร ปั ญหาเหล่ านีค( ือสิ งที นักจักรวาลวิทยาทัง( หลายสนใจ

จักรวาลวิทยาในความหมายที กว้ างที สุด จะหมายถึงการทําความเข้ าใจเอกภพโดยอาศัยความรู้ จากหลายสาขาวิชา ไม่ ว่าจะเป็ น วิทยาศาสตร์ ปรั ชญา ศาสนา หรื อศิลปะ แต่ โดยทั วไปในปั จจุบัน จักรวาลวิทยาจะหมายถึงการศึกษาเอกภพโดยใช้ กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะอย่ างยิ งในด้ านฟิ สิกส์ และดาราศาสตร์ ซึ งถือว่ าเป็ นสองเครื องมือสําคัญในการใช้ ศึกษาเอกภพ เป็ นที ยอมรั บกันอย่ างหลีกเลี ยงไม่ ได้ ว่า ยิ งเรามีความรู้ ทางด้ านฟิ สิกส์ และดาราศาสตร์ มากขึน( เท่ าใด เราก็จะยิ งมีความเข้ าใจในเอกภพ มากขึน( เท่ านัน(

มโนทัศน์ เกี ยวกับเอกภพของมนุษย์ เปลี ยนแปลงไปตามยุคสมัย ชาวอียปิ ต์ โบราณเชื อว่ าเอกภพประกอบด้ วยโลกคือเทพเจ้ าเก็บ ซึ งถูกโอบล้ อมด้ วยท้ องฟ้าคือเทพเจ้ านัท ต่ อมาเมื อชาวกรี กโบราณศึกษาท้ องฟ้าและการโคจรของดวงดาวมากขึน( เขาก็สามารถ สร้ างแบบจําลองเอกภพที สอดคล้ องกับข้ อมูลที ได้ จากการศึกษานัน( โดยให้ โลกเป็ นจุดศูนย์ กลางของเอกภพ และมีพระจันทร์ พระอาทิตย์ รวมทัง( ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ทงั ( หลาย โคจรอยู่รายล้ อม แบบจําลองโลกเป็ นศูนย์ กลาง (geocentric geocentric) geocentric นีเ( ป็ นที ยอมรั บกันมานับพันปี ก่ อนที โคเปอร์ นิคัสจะเสนอแบบจําลองใหม่ ท ใี ห้ ดวงอาทิตย์ เป็ นศูนย์ กลาง (heliocentric heliocentric) heliocentric ด้ วยเหตุผล ว่ าแบบจําลองนีใ( ช้ การคํานวณที ซับซ้ อนน้ อยกว่ า จะเห็นว่ าความรู้ ความเข้ าใจที เพิ มขึน( นัน( ทําให้ มนุษย์ มองโลกและเอกภพต่ าง ออกไป

การศึกษาเอกภพก้ าวหน้ าขึน( อย่ างรวดเร็วในช่ วงคริสต์ ศตวรรษที 20 เพราะในศตวรรษนีม( ีทฤษฎีใหม่ ท ใี ห้ ความรู้ เกี ยวกับ ธรรมชาติของเอกภพมากขึน( เช่ น ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั วไป และควอนตัมฟิ สิกส์ รวมทัง( มีการค้ นพบหลายสิ งที เป็ นประโยชน์ อย่ างมากต่ อวงการจักรวาลวิทยา เช่ น การค้ นพบว่ าเอกภพกําลังขยายตัว หรื อการค้ นพบการแผ่ รังสีคอสมิกไมโครเวฟเบือ( งหลัง (Cosmic Cosmic microwave background radiation) radiation เป็ นต้ น ทัง( ทฤษฎีและการค้ นพบใหม่ ๆ เหล่ านีท( าํ ให้ ภาพของ เอกภพในใจมนุษย์ นัน( กระจ่ างแจ่ มชัดและใกล้ เคียงความจริงยิ งขึน( อย่ างไรก็ตามก็ต้องยอมรั บว่ าสิ งที มนุษย์ ร้ ู เกี ยวกับเอกภพนัน( ยังน้ อยมาก และยังคงมีอีกหลายปั ญหาในทางจักรวาลวิทยาที ยังคงเป็ นปริ ศนาอยู่ในปั จจุบัน

มนุษย์ มักจะมีคาํ ถามคําถามหนึ งขึน( ในใจตัวเองอยู่เสมอว่ า เรามาจากไหน เราคือใคร และเรากําลังจะไปไหน[2 2] บางครั ง( บางที จักรวาลวิทยาอาจจะเป็ นกุญแจสําคัญดอกหนึ งที จะไขคําตอบของคําถามเหล่ านีใ( นระดับมหภาคก็เป็ นได้


ในคัมภีร์ ปุราณะ (Sacred Puranic) เชื4อว่ าจักรวาลมีสัณฐานเช่ นทีเ4 ห็นในภาพนี9 โดยมีเขาสิ เนรุ เป็ นศูนย์กลาง และมีแผ่ นดิน นํา9 และลม ลดหลัน4 ลงมาเป็ นชั9นๆ ภายใต้ แผ่ นดิน ถูกหนุนด้ วยช้ างทีย4 นื อยู่บนหลังเต่ า โดยมีพระพรหมเป็ นผู้สร้ างสรรพชีวิตขึน9 มีพระวิษณุ เป็ นผู้ดูแลรักษาและมีพระศิวะเป็ นผู้ทําลายเมือ4 ถึงเวลาเสื4 อโทรม วนเวียนเป็ นวัฎจักรเช่ นนี9 เรื4อยมาตามความเชื4อในศาสนาพราหมณ์ -ฮินดู



เริ มต้มมาจากไฟ

เริ มต้ นมาจาก “ไฟ”



Divided to Three Highest God.. “Trimurti”


Lord Brahma

พระพรหม (อักษรโรมัน Brahmā; อักษรเทวนาครี मा) เป็ นเทพเจ้ าในศาสนาพราหมณ์ ฮินดู ถือว่าเป็ นผู้สร้ าง จักรวาล และเป็ นหนึ4งในตรีมูรติ อันประกอบด้ วยพระพรหม พระวิษณุ และพระศิวะ ต่ างจาก พรหมัน อันเป็ นเป้ าสู งสุ ดของ ปรัชญาฮินดู แต่ มีรากศัพท์ เดียวกัน โดยที4พรหมันนั9นเป็ นนาม นปุงสกลิงก์ คือไม่ มีเพศ ขณะที4พระพรหม เป็ นปุลลิงก์ หรือ บุรุษเพศ ตามคัมภีร์พระเวท ถือว่ าพระพรหมมีชายา คือพระนางปชาบดี มีหงส์ เป็ นพาหนะ มี 4 พระพักตร์ เป็ นเทพแห่ ง การสร้ างและการให้ พร ที4เรียกว่ า "พรหมพร" ถือเป็ นเทพเจ้ าแห่ งความเมตตา


Lord Shiva

พระอิศวร หรือ พระศิวะ (สั นสกฤต: शव Śiva) มีพาหนะ คือ โคเผือก ชื4อว่า อุศุภราช พระอิศวรเป็ นมหาเทพแห่ งการ ทําลาย มีกายสี ขาว แต่ พระศอเป็ นสี ดาํ เพราะเมื4อตอนที4พระนารายณ์ และเหล่ าเทวดา อสู ร ทําพิธีกวนสมุทรโดยใช้ พญานาคเป็ นตัว ฉุดเขาพระสุ เมรุ น9 ัน ใช้ เวลากวนนานมาก พญานาคจึงคลายพิษออกมาปกคลุมไปทั4วโลก พระศิวะ จึงว่าเกรงจะเป็ นภัยต่ อมนุษย์ และสิ4 งมีชีวติ ในโลกจึงได้ สูบเอาพิษเหล่ านั9นไว้ จงึ ทําให้ คอของพระศิวะเป็ นสี ดาํ นั9นเอง มีพระเนตรถึง 3 ดวง ดวงที4 3 อยู่กลาง พระนลาฏ ซึ4งตามปกติจะหลับอยู่ เนื4องจากพระเนตรดวงที4 3 นี9 มีอานุภาพร้ ายแรงมาก หากลืมขึน9 เมือ4 ใดจะเผาผลาญทุกอย่ างให้ มอดไหม้ ประทับอยู่ ณ เขาไกรลาส อันเป็ นศู นย์ กลางแห่ งจักรวาล มีมเหสี คอื พระแม่ อุมา รู ปลักษณ์ของพระอิศวร โดยมากจะ ปรากฏให้ เห็นเป็ นชายผมยาว มีพระจันทร์ เป็ นปิ4 นปักผม มีลกู ประคําหรือกะโหลกมนุษย์ เป็ นสังวาล มีงูเห่ าพันรอบพระศอ นุ่งห่ ม หนังเสื ออันเป็ นเครื4องนุ่งห่ มของฤๅษี การบูชาพระอิศวรจะกระทําได้ โดยการบูชาต่อศิวลึงค์อนั เป็ นสัญลักษณ์ แทนตัวพระองค์ นั4นเอง


Tales of Lord Shiva, Drinking Poison with Smile and Mt.Kailash


Shiva Nataraja พระอิศวรมีท่าร่ ายรําอันเป็ นการร่ ายรําของเทพเจ้ า เรียกว่ า "ปางนาฏราช"(nataraja) เมือ4 แปลงกายลง ไปปราบฤๅษีทไี4 ม่ ประพฤติตนอยู่ในเพศดาบส ซึ4งต่ อมาชาวฮินดูได้ ถือเอาท่ าร่ ายรํานีเ9 ป็ นต้ นแบบของการร่ าย รําต่ าง ๆ มาตราบจนปัจจุบนั


Lord Vishnu พระวิษณุ (อังกฤษ: Vishnu , อักษร เทวนาครี : व ण)ु หรือเรียกอีกอย่ างว่ า พระนารายณ์ เป็ น1 ใน 3 มหาเทพ มี หน้ าทีค4 ุ้มครองแลดูแลรักษาทั9ง 3 โลกตาม ความเชื4อของชาวฮินดู จากคัมภีร์ พราหมณ์ รู ปร่ างลักษณะมีพระวรกายจะมี สี ทเี4 ปลีย4 นไปตามยุค ฉลองพระองค์ ดงั4 กษัตริย์ มีมงกุฎทอง อาภรณ์ สีเหลือง มี 4 กร ถือ สั งข์ จักร ตรี คทา แต่ ทจี4 ะพบเห็น ได้ บ่อยทีส4 ุ ดคือถือ จักร์ สั งข์ คทา ส่ วนอีก กรจะถือ ดอกบัวบ้ าง หรือ ไม่ ถืออะไรเลย บ้ าง (โดยจะอยู่ในลักษณะ"ประทานพร")


Lord Vishnu At Milky Ocean


Vishnu Avatars • • •

• • • •

• •

ปางที 1 มัตสยาวตาร (อวตารเป็ นปลา) เพื อช่วยเหลือมวลมนุษย์และสัตว์ให้พน้ จากนํ/าท่วมโลก ปางที 2 กูรมาวตาร (อวตารเป็ นเต่า) เพื อช่วยเหล่าเทวะและอสูรกวน เกษียรสมุทร ปางที 3 วราหาวตาร (อวตารเป็ นหมูป่า) มีสองตํานานหลักๆคือ 1) เพื อปราบ อสูรนาม"หิ รัณยากษะ"ซึ งลักเอาแผ่นธรณี ไปโดยการม้วนแล้วเหน็บไว้ที ขา้ ง กาย และ 2) เพื อยุติการประลองพลังอํานาจกันระหว่าง พระศิวะ และ พระ พรหม ปางที 4 นรสิ งหาวตาร (อวตารเป็ นครึ งสิ งห์) เพื อปราบอสูรนาม "หิ รัณยกศิปุ" ผูเ้ ป็ นน้องชายของ "หิ รัณยากษะ" ปางที 5 วามนาวตาร (อวตารเป็ นพราหมณ์เตี/ย) เพื อปราบอสูรนาม "พาลี" ผู ้ เป็ นเหลนของ "หิ รัณยกศิปุ" ปางที 6 ปรศุรามาวตาร (อวตารเป็ นพราหม์ผใู ้ ช้ขวานเป็ นอาวุธ) เพื อปราบ กษัตริ ย ์ (ผูเ้ ป็ นมนุษย์) นาม "พระเจ้าอรชุน" หรื อ "พระเจ้าสหัสอรชุน" ผูม้ ี ใบหน้า 1พันหน้า ผูก้ ่อยุคเข็ญและทําลายล้างศาสนา ปางที 7 รามาวตาร หรื อ รามจันทราวตาร (อวตารเป็ นพระราม กษัตริ ยแ์ ห่งอ โยธยา) เพื อปราบอสูรนาม "ราวณะ" หรื อ "ราพณ์" หรื อที คนไทยรู ้จกั กันดีใน นาม "ทศกัณฐ์" กษํตริ ย ์ แห่งกรุ งลงกา - ปางนี/เป็ นหลักในการจัด จารี ต และ ขนบธรรมเนียม ประเพณี ของสังคมอินเดีย ปางที 8 กฤษณาวตาร (อวตารเป็ นพระกฤษณะ) เพื อขับรถม้าให้ "พระอรชุน" และสอนวิถี และวิธีการดําเนินชีวิต ให้แก่พระอรชุน ปางที 9 พุทธาวตาร (อวตารเป็ นพระพุทธเจ้า) ชาวฮินดูมีความเชื อว่าพระ นารายณ์อวตารในปางนี/เพื อหลอกลวงให้พวกนอกรี ตที ไม่นบั ถือวรรณะแยก ออกไปจากศาสนาพราหมณ์ ; ในบางแห่งเชื อว่าปางที เก้านี/คือ พลรามาวตาร (อวตารเป็ นพลราม) หรื อพระพลรามซึ งเป็ นพี ชายของพระกฤษณะ เป็ นการ อวตารคู่กบั พระกฤษณะ ปางที 10 กัลกยาวตาร หรื อ กัลกิยาวตาร (อวตารเป็ นมนุษย์ผขู ้ ี มา้ ขาว หรื อ กัลกี) เป็ นอวตารที ยงั ไม่เกิดขึ/น แต่เป็ นการทํานายอนาคตไว้วา่ ในยามที เป็ น ปลายแห่งกลียคุ ที ที เมื อผูค้ นไม่รู้จกั ธรรมะ ไม่รู้ผิดชอบชัว ดีอีกต่อไป โลกทั/ง โลกต้องเผชิ ญกับยุคเข็ญไปทุกหย่อมหญ้า จะมีบุรุษขี มา้ ปรากฏตัวขึ/นเพื อปัด เป่ าความทุกข์ยาก และนําธรรมะกลับมาสู่มวลมนุษย์อีกครั/งหนึ ง


Matsyavatar • ปางที 1 มัตสยาวตาร (อวตาร เป็ นปลา) เพื อช่วยเหลือมวล มนุษย์และสัตว์ให้พน้ จากนํ/า ท่วมโลก


Vishnu Kurmavataram тАв р╕Ыр╕▓р╕Зр╕Чр╕╡ 2 р╕Бр╕╣р╕гр╕бр╕▓р╕зр╕Хр╕▓р╕г (р╕нр╕зр╕Хр╕▓р╕г р╣Ар╕Ыр╣З р╕Щр╣Ар╕Хр╣И р╕▓) р╣Ар╕Юр╕╖ р╕нр╕Кр╣И р╕зр╕вр╣Ар╕лр╕ер╣И р╕▓р╣Ар╕Чр╕зр╕░ р╣Бр╕ер╕░р╕нр╕кр╕╣ р╕гр╕Бр╕зр╕Щр╣Ар╕Бр╕йр╕╡р╕вр╕гр╕кр╕бр╕╕р╕Чр╕г


Vishnu Varaha Avatar • ปางที 3 วราหาวตาร (อวตาร เป็ นหมูป่า) มีสองตํานาน หลักๆคือ 1) เพื อปราบอสูร นาม"หิ รัณยากษะ"ซึ งลักเอา แผ่นธรณี ไปโดยการม้วน แล้วเหน็บไว้ที ขา้ งกาย และ 2) เพื อยุติการประลองพลัง อํานาจกันระหว่าง พระศิวะ และ พระพรหม


Vishnu Narsingh Avatar • ปางที 4 นรสิ งหาวตาร (อวตารเป็ นครึ งสิ งห์) เพื อ ปราบอสู รนาม "หิ รัณยกศิ ปุ" ผูเ้ ป็ นน้องชายของ "หิ รัณยากษะ"


Vishnu Vamana Avatar

• ปางที 5 วามนาวตาร (อวตารเป็ น พราหมณ์เตี/ย) เพื อปราบอสู รนาม "พาลี" ผูเ้ ป็ นเหลนของ "หิ รัณยกศิ ปุ"


Parshuram Avatar • ปางที 6 ปรศุรามาวตาร (อวตาร เป็ นพราหม์ผใู ้ ช้ขวานเป็ นอาวุธ) เพื อปราบกษัตริ ย ์ (ผูเ้ ป็ นมนุษย์) นาม "พระเจ้าอรชุน" หรื อ "พระ เจ้าสหัสอรชุน" ผูม้ ีใบหน้า 1พัน หน้า ผูก้ ่อยุคเข็ญและทําลายล้าง ศาสนา


Ramavatar - Ramchandra Avatar • ปางที 7 รามาวตาร หรื อ ราม จันทราวตาร (อวตารเป็ น พระราม กษัตริ ยแ์ ห่ งอโยธยา) เพื อปราบอสู รนาม "ราวณะ" หรื อ "ราพณ์" หรื อที คนไทยรู ้จกั กันดีในนาม "ทศกัณฐ์" กษัตริ ย ์ แห่ งกรุ งลงกา - ปางนี/เป็ นหลัก ในการจัด จารี ต และ ขนบธรรมเนียม ประเพณี ของ สังคมอินเดีย


Ramayana

http://www.youtube.com/watch?v=Zs03zXUUURs

รามายณะ (สันสกฤต: रामायण) เปนวรรณคดี ประเภทมหากาพยของอินเดีย เชื่อวาเปนนิทานที่เลาสืบ ตอกันมายาวนานในหลากหลายพื้นที่ของชมพูทวีป แต ผูไดรวบรวมแตงใหเปนระเบียบครั้งแรก คือ มหาฤๅษี วาลมีกิ เมื่อกวา 2,400 ปมาแลว โดยประพันธไวเปน บทรอยกรองประเภทฉันทภาษาสันสกฤต เรียกวา โศลก จํานวน 24,000 โศลกดวยกัน โดยแบงเปน 7 ภาค (กาณฑ หรือ กัณฑ) ดังนี้ 1.พาลกาณฑ 2.อโยธยากาณฑ 3.อรัณยกาณฑ 4.กีษกินธกาณฑ 5.สุนทรกาณฑ 6.ยุทธกาณฑ 7.อุตตรกาณฑ รามายณะเปนวรรณคดีที่มีการดัดแปลง เลาใหม และแพรหลายไปในหลายภูมิภาคของเอเชีย โดยมี เนื้อหาแตกตางกันไป และอาจเรียกชื่อแตกตางกันไป ดวย เปนเรื่องราวเกี่ยวกับการทําศึกสงครามระหวาง ฝาย พระราม กับ ฝาย ทศกัณฐ (ยักษ) โดยพระรามจะ มาชิงตัว นางสีดา (มเหสีของพระราม) ซึ่งถูกทศกัณฑ ลักพาตัวมา ทางฝายพระรามมีนองชาย ชื่อ พระ ลักษมณ และ หนุมาน (ลิงเผือก) เปนทหารเอกชวยใน การทําศึก รบกันอยูนานทายที่สุดฝายยักษก็ปราชัย รามายณะเมื่อแพรหลายในหมูชาวไทย คนไทย ไดนํามาแตงใหมก็เรียกวา รามเกียรติ์ ซึ่งมีหลายฉบับ ดวยกัน สวนในหมูชาวลาวนั้น เรียกวา พะลักพะลาม (พระลักษมณพระราม)


Krishna Avatar

• ปางที 8 กฤษณาวตาร (อวตารเป็ น พระกฤษณะ) เพื อขับรถม้าให้ "พระอรชุน" และสอนวิถี และวิธีการดําเนินชีวติ ให้แก่ พระอรชุน บทสนทนานั=นเป็ นทีม าของบท Bhagavad Gita (ภัคว คีตา)คําสอนสําคัญในศาสนา Hindu


Mahabharata มหาภารตะเป็ นมหากาพย์ชิ/นเอกชิ/นหนึ งของโลก และ เป็ นหนึ งในสองมหากาพย์ที สาํ คัญที สุดของชนชาวอินเดีย เรื อง แรกคือ มหากาพย์รามายณะ หรื อรามเกียรติCและเรื องที สองคือ มหากาพย์มหาภารตะนัน เอง มหาภารตะเป็ นเรื องราวที กล่าวถึงขนบธรรมเนียม ประเพณี วิถีชีวิต ศาสนา การเมือง ศิลปะหลายแขนง อีกทั/ง ประวัติความเป็ นมาของวงศ์ตระกูล และธรรมเนียมประเพณีการ รบการสงครามของอินเดียยุคโบราณ เนื/ อหาสาระของมหาภา รตะโดยหลักๆ ที รับรู้กนั ทัว ไปคือ เป็ นเรื องราวความขัดแย้งของ พี นอ้ งสองตระกูล ระหว่างตระกูลเการพ และ ตระกูลปาณฑพ ซึ งทั/งสองต่างก็สืบเชื/อสายมาจากบรรพบุรุษคนเดียวกัน นัน ก็ คือ ท้าวภรตแห่งกรุ งหัสตินาปุระ ผูเ้ กรี ยงไกรและเป็ นผู้ วางรากฐานการเมืองการปกครองให้กบั ดินแดนแคว้นแห่ งนี/ สื บ ต่อกันมาจนถึงลูกหลานแห่ งสองตระกูลคือ เการพ และปาณฑพ มหาภารตะยังเป็ นเรื องของการทํามหาสงครามที ยิง ใหญ่ ณ ทุ่งราบกุรุเกษตร ของพันธมิตรฝ่ ายเการพ และ พันธมิตรฝ่ ายปาณฑพ กล่าวกันว่านี คือการต่อสูร้ ะหว่างธรรมะ และฝ่ ายอธรรม ความดีและความชัว http://www.youtube.com/watch?v=wPWSGiXKDS8 At mins : 12


Buddha Avatar • ปางที 9 พุทธาวตาร (อวตารเป็ น พระพุทธเจ้า) ชาวฮินดูมีความ เชื อว่าพระนารายณ์อวตารในปาง นี/เพื อหลอกลวงให้พวกนอกรี ตที ไม่นบั ถือวรรณะแยกออกไปจาก ศาสนาพราหมณ์ ; ในบางแห่ ง เชื อว่าปางที เก้านี/คือ พลรามาว ตาร (อวตารเป็ นพลราม) หรื อ พระพลรามซึ งเป็ นพี ชายของ พระกฤษณะ เป็ นการอวตารคู่กบั พระกฤษณะ


Kalki Avatar • ปางที 10 กัลกยาวตาร หรื อ กัลกิยาวตาร (อวตารเป็ น มนุษย์ผขู้ ี มา้ ขาว หรื อ กัลกี) เป็ นอวตารที ยงั ไม่เกิดขึ/น แต่ เป็ นการทํานายอนาคตไว้วา่ ในยามที เป็ นปลายแห่ งกลียคุ ที ที เมื อผูค้ นไม่รู้จกั ธรรมะ ไม่ รู้ผิดชอบชัว ดีอีกต่อไป โลก ทั/งโลกต้องเผชิญกับยุคเข็ญ ไปทุกหย่อมหญ้า จะมีบุรุษขี ม้าปรากฏตัวขึ/นเพื อปั ดเป่ า ความทุกข์ยาก และนําธรรมะ กลับมาสู่มวลมนุษย์อีกครั/ง หนึ ง


Map of India map


Indian Indian historical Timeline 3000 BC: Beginning of the Indus Valley Civilization 2500 BC: Establishment of the cities of Harappa and Mohenjo-Daro in the Indus Valley 2000 BC: Decline of the Indus Valley Civilization 1600 BC: India is invaded by the Aryans from the west who drive away the Dravidians 1100 BC: With the discovery of iron, Indo-Aryans start using iron tools 1000 BC: One of the earliest Holy Scripture, Rig-Veda is composed 750 BC: Indo-Aryans rule over Mahajanapadas ( Great States) in northern India, from the Indus to the Ganges 700 BC: Beginning of the caste system, with the Brahmans taking the highest class 600 BC: The Upanishads are composed in Sanskrit 543 BC: Bimbisara of Bihar conquers the Magadha region in the northeast 527 BC: Prince Siddhartha Gautama attains enlightenment and becomes the Buddha 500 BC: The ascetic prince Mahavira establishes Jainism in northern India 327 BC: Alexander the Great of Macedonia invades the Indus valley, fights the famous battle with Porus 304 BC: Magadha king Chandragupta Maurya buys the Indus valley and establishes the Maurya dynasty with Pataliputra as the capital 300 BC: Ramayana, a famous epic is composed 300 BC: Chola dynasty establishes his kingdom over southern India with capital in Thanjavur


Indian Indian Historical Timeline 290 BC: Chandragupta's son Bindusara, extends the empire to the Deccan region

259 BC: Mauryan emperor Ashoka converts to Buddhism and sends out Buddhist missionaries to nearby regions 220 BC: Maurya dynasty expands to almost all of India

200 BC: Mahabharata, another famous epic is composed

200 BC: Andhras occupy the east coast of India 184 BC: Maurya dynasty ends and marks the beginning of Sunga dynasty 150 BC: Patanjali writes the "Yoga Sutras"

100 BC: Bhagavata Gita is composed

78 BC: End of Sunga dynasty 50 AD: Thomas, an apostle of Jesus, visits India

50 AD: The first Buddhist stupa is constructed at Sanchi 200 AD: The Manu code puts down the rules of everyday life and divides Hindus into four major castes (Brahmins, warriors, farmers/traders, non-Aryans) 300 AD: The Pallava dynasty is established in Kanchi 350 AD: The Sangam is compiled in the Tamil language in the kingdom of Madurai and the Puranas are composed 380 AD: Two giant Buddha statues are carved Buddhist monks in the rock at Afghanistan 390 AD: Chandra Gupta II extends the Gupta kingdom to Gujarat

450 AD: Kumaragupta builds the monastic university of Nalanda

499 AD: Hindu mathematician Aryabhatta writes the "Aryabhattiyam", the first book on Algebra 500 AD: Beginning of Bhakti cult in Tamil Nadu 528 AD: Gupta Empire sees a downfall due to continuous barbaric invasions 550 AD: Chalukyan kingdom is established in central India with capital in Badami


the cities of Harappa and MohenjoMohenjo-Daro the cities of Harappa and Mohenjo-Daro 2500 BC.


Buddhist Influence Amaravati Dynasty Maurya & Shunga Dynasty Gandhara School Gupta & Post Gupta Dynasty Pallava Dynasty Pala-Sena


Amaravati Stupas


First Mauryan stupa at Sanchi (50AD)


The Buddha’s Image of Gandhara School


The Buddha’s Image of Gandhara School


“Ajanta & Ellora” The most delicate Rock-cut Monastery (300-700 AD.)


The Buddha’s Image of Gupta period


Pallava Dynasty of the Southern Region Khamasutra at Kajuraho


Sadhu and Original Yoga Performing


Jainism Mahavir the founder of Jainism and Jain Monastery


Jainism Mahavir the founder of Jainism and Jain Monastery


Thai Traditional Art


Thai Art History Timeline • • • • • • •

อาณาจักรทวารวดี Dvaravati Kingdom (6th-11thCentury) อาณาจักรศรีวชิ ัย Srivijaya Kingdom (7th-13th Century) อาณาจักรลพบุรี Lopburi Kingdom (12th-15th Century) อาณาจักรสุ โขทัย Sukhothai Kingdom (14th-15th Century) อาณาจักรเชียงแสนล้านนา Chengxiang- Lanna Kingdom (13th-15th Century) อาณาจักรอยุธยา Ayudhaya Kingdom (15th-18th Century) อาณาจักรรัตนโกสิ นธ์ Rattanakosin Kingdom (19thCentury upto present date)


อาณาจักรทวารวดี Dvaravati Kingdom (6th-11thCentury) Dvaravati Dynasty


อาณาจักรศรีวชิ ัย Srivijava Kingdom (7th-13th Century) Srivijaya Dynasty


อาณาจักรลพบุรี Lopburi Kingdom (12th-15th Century) Lopburi Dynasty


อาณาจักรสุ โขทัย Sukhothai Kingdom (14th-15th Century) Sukhothai Kingdom


อาณาจักรสุ โขทัย Sukhothai Kingdom (14th-15th Century) Sukhothai Kingdom


อาณาจักรเชียงแสนล้ านนา Chengxiang- Lanna Kingdom (13th-15th Century) Chengxiang- Lanna Kingdom


อาณาจักรอยุธยา Ayudhaya Kingdom (15th-18th Century) Ayudhaya Kingdom


อาณาจักรอยุธยา Ayudhaya Kingdom (15th-18th Century) Ayudhaya Kingdom


อาณาจักรรัตนโกสิ นธ์ Rattanakosin Kingdom (19thCentury upto present date) Rattanakosin Kingdom


The Story of Art Part IV

Modern World The story without end


Modern Art In Search of New Standard : Experimental Art


Fauvism เป็ นชื4อจิตรกรรมทีส4 ํ าคัญลัทธิหนึ4ง ทีเ4 กิดขึน9 ในช่ วงต้ นศตวรรษที4 20 โดยคําว่ า Fauve มาจากภาฝรั4งเศส แปลว่ า สั ตว์ ป่า ซึ4งทีจ4 ริงแล้วเป็ นคําวิพากษ์ วจิ ารณ์ ในแง่ ลบของนักวิจารณ์ ศิลปะชื4อ Louis Vauxcelles ทีม4 ตี ่ องานจิตรกรรมทีจ4 ัดแสดงที4 Salon ในปี 1905 ทีค4 รั9งนั9นมีผลงานศิลปกรรมทั9งเก่าและใหม่ จัดแสดงอยู่รวมกัน รวมถึงผลงานของ Donatello ประติมากรเอกในสมัย Renaissance โดยเขาเขียน ถึงผลงานจิตรกรรมเหล่านั9นว่ า Donatello ``parmi les fauves'' (among the wild beasts) “Donatello ท่ ามกลางฝูงสั ตว์ ป่า” แต่ แทนทีจ4 ิตรกรรุ่ นใหม่ เหล่านั9นจะ รู้สึกต่ อต้ านกลับเป็ นทีช4 อบใจและนําเอาคํานั9นมาใช้ เป็ นชื4อกลุ่มของตนเอง


Fauvism Aesthetic Modernist Movement มักอ้ างอิงถึงลัทธิ Fauvism ว่ าเป็ น First Avant Garde ของวงการศิลปกรรมใน Europe ทีป4 รากฏขึน9 ครั9งแรกที4 Salon ในฤดูใบไม้ ร่วงปี 1905 เป็ นผลงานจิตรกรรมทีม4 ีการใช้ สี non-naturalistic colors (ทีม4 แี นวโน้ ม ปฏิเสธสี แบบเหมือนจริงในธรรมชาติ) โดยกลุ่ม Fauvism นีไ9 ด้ รับอิทธิพลโดยตรง จากผลงานของ Vincent Van Gogh ซึ4งเขาได้ กล่ าวถึงงานของเขาว่ า “Instead of trying to render what I see before me, I use color in a completely arbitrary way to express myself powerfully”(แทนที4พยามถ่ ายทอดสิ4 งทีป4 รากฏอยู่ต่อหน้ าของ ฉัน ฉันกลับเลือกทีจ4 ะใช้ สีตามอารมณ์ ของฉันเพือ4 แสดงออกในความเป็ นตัวฉัน อย่ างมีพลัง) ลัทธิ Fauvism ต่ อยอดแนวคิดนีโ9 ดยการแปลค่ าอารมณ์ ความรู้สึกให้ เป็ นสี สันต่ างๆที4มที ที ่ าการแสดงออกแบบดิบๆ(radical)หยาบๆ จนเกือบจะดูเลอะ เทอะ ทีซ4 ึ4งถือเป็ นแนวทางสํ าคัญในการกําหนดทิศทางในการสร้ างสรรค์ จิตรกรรม สมัยใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิง4 แนวโน้ มทางการใช้ สี


Fauvism Artists Henri Matisse Maurice Vlaminck George Rouault AndrĂŠ Derain


Cubism หลังจากการปรากฏขึน9 ของลัทธิ Cubism อาจกล่ าวได้ ว่าในโลกแห่ งศิลปะเปลีย4 นโฉม หน้ าไปอย่ างสิ9นเชิง ถือได้ ว่าเป็ น Movementที4มอี ทิ ธิพลต่ อการเปลีย4 นแปลงทิศทางในการ สร้ างสรรค์ ศิลปกรรมมากที4สุด นําโดยPablo Picasso ชาว Spain และ George Braque ชาว ฝรั4งเศส 2 จิตรกรผู้พลิกโฉมหน้ าของโลกแห่ งทัศนศิลป์ ซึ4งผลงานที4ปรากฏออกมาไม่ เพียง แค่ ต้องการเปลีย4 นแปลง ทว่ าเต็มไปด้ วยความงามและความรู้ สึกในผลงานแนวใหม่ จน เกือบจะกล่ าวได้ ว่าเป็ นภาพแห่ งความจริงจากดวงตาของพระเจ้ า ทุกๆมุมมองของเนือ9 หา ทั9งหมด ประหนึ4งปรากฏขึน9 ในมุมมองหนึ4งเดียว Cubism Movement ได้ ถูกพัฒนาโดยจิตรกรทั9งสองเริ4มต้ นประมาณปี 1907 จน กลายเป็ นอิทธิพลหลักในศิลปกรรมตะวันตก โดยการตัดซอยวัตถุทุกชิ9นที4เขาเขียนเป็ นชิ9น เล็กชิ9นน้ อยเหมือนเหลีย4 มมุมของการเจียรนัยเพชรพลอย โดยเราสามารถแบ่ งแยก กระบวนการพัฒนาออกได้ เป็ น 3 ช่ วงเวลา คือ 1.Analytical Cubism ( Cubismวิเคราะห์ ) 2.High Analytical Cubism ( ยุคทองของ Cubismวิเคราะห์ ) 3.Synthetic Cubism ( Cubism แบบสั งเคราะห์ )


Analytic Cubism


High Analytic Cubism


Synthetic Cubism หห


Dadaism and Surrealism Dada เปน Movement ทางศิลปกรรมในชวง สงครามโลกครั้งที่ 1 มีแนวโนมตอตาน ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีที่เคยปฏิบัติกันมา ในอดีต ซึ่งถูกมองวาเปนแนวคิดที่ผิด(anti aesthetics) อันมีผลมาจากความเสือ ่ มโทรมทาง ศิลปวัฒนธรรมและสังคม ที่เปนผลกระทบจาก สงครามโลกครัง้ ที่1 การแสดงออกของศิลปน แตละคนในกลุมนีม ้ ีลักษณะ แดกดัน เยาะเยย ถากถาง มองโลกในแง่ ร้าย เห็นว่ าโลกแบบเก่ าๆควรจะทําลายทิง9 ได้ แล้ ว ตามอย่างผูน้ าํ ทางการปกครองแบบอนาธิ ปไตย (Anarchism) เคยกล่าวไว้วา่ “การทําลายก็เป็ นการสร้างสรรค์เหมือนกัน”


Dadaism เกิดขึน9 อย่ างเป็ นทางการในฤดูใบไม้ ผลิ ปี 1916 โดยกลุ่มกวี นักประพันธ์ และ สิ4 งศิลปิ นชาติต่างๆใน Europe ซึ4งในช่ วงเวลานั9น บรรยากาศทางเศรษฐกิจและ สั งคมใน Europe ตกอยู่ในช่ วงที4บอบชํ9า ประชาชนจํานวนมากขาดแคลนอาหารและ ไร้ ทอี4 ยู่อาศัย บ้ านแตกสาแหรกขาด จิตใจของประชาชนอยู่ในสภาพที4ตกตํ4า อันเป็ น ผลจากสงคราม ทําให้ กลุ่มศิลปิ นหลบหนีจากแรงกดดันทางสั งคมและการเมืองใน ประเทศของตนไปอยู่ทเี4 มือง Zurich ประเทศ Switzerland และได้ รวมตัวกันสร้ าง Movement ทาง ศิลปกรรมเพือ4 ปรับปรุ งทิศทางของศิลปวัฒนธรรม ศีลธรรมและคุณค่ าทางสั งคมขึน9 ใหม่ โดยศิลปิ นกลุ่มนี9 มักจัดการชุ มนุมกันขึน9 ที4กจิ การ Cabarets ชื4อ “Cabarets Voltaire” ของ Hugo Ball นักประพันธ์ ลภี9 ัย ชาวGerman ซึ4งที4นี4มกี วี ศิลปิ นและปัญญาชนหัวก้าวหน้ า มาชุ มนุมกันและสร้ าง Movement ทางศิลปกรรมในแนว ทางของพวกเขาไว้ อย่ างมากมาย **Hugo Ball หลังจากถึงแก่กรรมแล้วได้ รับการยกย่ องดุจเป็ นนักบุญทางศาสนา ประจําเมือง


Dada Aesthetic Dada เป็ นคําที ถูกเลือกขึ/นมาด้วยวิธีพิเศษ โดยการเอามีดพกสอดลงไปใน พจนานุกรมแล้วเปิ ดขึ/น แล้วนําคําที ปรากฏขึ/นเป็ นคําแรกมาใช้ ซึ งคําว่า Dada มา จากภาษาฝรั งเศส ตรงกับคําว่า Hobby-horse(ม้าโยก) ซึ งเป็ นที ถูกใจสมาชิกในกลุ่ม เพราะมีความหมายลึกซึ/ งสะท้อนเจตนารมณ์ของกลุ่ม ที มีปรัชญาที ตอ้ งการกลับ คุณค่าของค่านิยมต่างๆที ยดึ ถือกันอยู่ พวกเขาต้องการชําระล้างความเชื อที มอง ศิลปะเป็ นของสู งส่ ง ไม่ได้มีเป้ าหมายเพียงแค่สร้างงานให้ดูงามเท่านั/น หากแต่ตอ้ ง สร้างความปั นป่ วนได้ และมองศิลปกรรมในอดีตเป็ นเรื องไร้สาระ “Dada เป็ น จุดประสงค์ ดังจุลนิ ทรีที4บริสุทธิ กระจัดกระจายอยู่ทวั4 ไปในอากาศ มันเจาะทะลุ ซอกซอนอยู่ในทุกหนทุกแห่ ง ด้ วยเหตุนีจ9 ึงไม่ สามารถอธิบายให้ ชัดแจ้ งได้ ด้วย วาจาหรือแค่ การกล่ าวถึงแบบแผนของมัน” โดยในสมัยนั/นมีลทั ธิทางศิลปะเกิดขึ/น มากมาย ซึ งล้วนแล้วแต่มีแนวคิดปฏิวตั ิศิลปกรรมในอดีตทั/งสิ/ น และศิลปิ นในกลุ่ม Dada ก็มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับศิลปิ นในหลายลัทธิ ดังนั/นผลงานของ Dada จึงมี ลักษณะที แกว่งไปมาแต่พอจะประมวลได้วา่ พวก Dada จะนําแนวคิดของหลายๆ ลัทธิมาผสมปนเปกันไปหมด นําเรื4องราวต่ างๆมาอยู่ด้วยกันอย่างไม่ คาํ นึงถึง เหตุผล(แบบเก่ าๆ) เพือ4 ให้ เกิดสิ4 งใหม่ ขนึ9


Dadaism Artists • • • •

Marcel Duchamp Francis Picabia Kurt Schwitters Jean Arp


Freudianism Freud อธิบายพฤติกรรมของมนุษย์ โดยแบ่ งแยกออกได้ ดังนี9 Reason + Will + Passion ( or Ego +Superego + Unconscious ) ตามทฤษฎีของ Freud เชื4อว่ า Sexual Instinct เป็ นปัจจัยสํ าคัญในการ กําหนดพฤติกรรมของมนุษย์ ซึ4งประสบการณ์ ด้าน Sexual (*มิได้ หมายถึงเพียงแต่เรื องกามวิสยั หากแต่หมายถึงความต้องการในความรัก) โดยเฉพาะอย่ างยิง4 ทีเ4 กิดขึน9 ในวัยเด็ก ซึ4งประสบการณ์ เหล่านีไ9 ม่ ว่าด้ าน บวกหรือลบ จะฝังลึกลงไปในจิตใต้ สํานึกแม้ ว่าความทรงจําในส่ วน จิตสํ านึกจะหลงลืมไปแล้ ว และปมประสบการณ์ เหล่านั9นจะเผยออกมา ในพฤติกรรมต่ างๆของมนุษย์ โดยเฉพาะอย่ างยิง4 พฤติกรรมทีเ4 กิดขึน9 ขณะทีอ4 ยู่ในสภาวะทีไ4 ร้ ความควบคุมจากจิตสํ านึก


Movement of Art in Thailand ความเคลือ นไหวทางศิลปกรรมในประเทศไทย




ศิลป์ สยามกับก้าวย่างของความเปลี ยนผ่าน

กรณี ศึกษางาน อาจารย์ มณเฑียร บุญมา


อ.มณเฑียร บุญมา พุทธศาสนา และการผสมผสานวัสดุสายพันธุ์ใหม่ …ผลงานของข้าพเจ้ามิใช่เป็ นผลงานพุทธศิลป์ อย่างแน่นอน ข้าพเจ้า ปรารถนาให้ผลงานของข้าพเจ้าเป็ นสิ งที แสดงเนื/อหา ความหมายอันเกิดจาก รู ปลักษณ์ของรู ปร่ าง นํ/าหนัก ความสมดุล และส่ วนต่างๆที เป็ นส่ วนที สามารถเห็นได้จากสิ งต่างๆที ขา้ พเจ้าได้สร้างเป็ นผลงานขึ/น หากแม้นพบว่า ผลงานของข้าพเจ้าแสดงความหมายและสาระของพุทธปรัชญานัน ก็เป็ นเพราะ ความเป็ นสัจธรรมที องค์พระพุทธเจ้าค้นพบนั/น ได้เป็ นสากลที สัมพันธ์เกี ยว ข้องกับสาระแห่งความเป็ นไปของการมีอยู่ การปรากฏและการแปรเปลี ยน สู ญสลายของสรรพสิ ง ซึ งเป็ นสาระสําคัญของผลงานของข้าพเจ้าก็ได้ พุทธศาสนานั/น สําหรับข้าพเจ้าแล้ว เป็ นส่ วนที หล่อหลอมมโนคติและทัศนคติที มีต่อโลก ชีวติ และศิลปะ


เทพธิดาวีนัสแห่ งกรุ งเทพฯ เป็ นการอ้ างล้ อเลียนจิตรกรรมยุคคลาสสิ ก วีนัสเป็ นสั ญลักษณ์ ของความงามในสตรี เพศ เขานํามาเสนอด้ วยวัสดุด้อยค่ า คือ ลังไม้ โทรมๆแผ่ นโลหะบุบๆถังสี ทมี4 สี นิม ท่ อนไม้ ทเี4 ต็มไปด้ วยตะปู วีนัสกลายเป็ นหญิงทรุ ดโทรมเป้ นการแทนค่ าความงาม ในวัตถุต่างๆทั9งในแง่ กายภาพและความหมาย


เรื4องราวจากท้ องทุ่ง มณเฑียรเข้าไปหยิบจับเอาข้าวของสําเร็ จรู ป ชนบทไทยมาทํางานประติมากรรมจัดวาง วัตถุดิบแบบสามัญธรรมดาอย่างเขาควาย หนังควาย กระสอบข้าวสาร สุ่ มไก่ จอบ เสี ยม ถูกนํามาประกอบสร้างขึ/นเป็ นสิ งใหม่ ที แสดงถึงแก่นสําคัญของตัววัตถุมนั เองอย่าง ไม่เคยมีศิลปิ นคนไหนทํามาก่อน เป็ นการจัด การกับวัสดุมาประกอบกันศิลปิ นเป็ นตัวกลาง



สถูป เป็ นอนุสาวรีย์ของคนงานทีส4 ร้ างขึน9 จาก เหล็กเส้ น รอยมือจับทีเ4 ป็ นปูนซิเมนต์ ถังปูนสามใบที4ทาํ หน้ าทีเ4 ป็ นฐาน ดูสวย งามและเรียบง่ ายสะท้ อนความเป็ นชีวติ ของคน


เจดีย์ดนิ แดง สร้างจากดินสี น/ าํ ตาลผสมนํ/าและกาว สะท้อนให้เห็นความเก่าแก่และเปราะ บาง เช่นเดียวกับโบราณสถานที กาํ ลัง เสื อมโทรมตามริ มถนนในเชียงใหม่


โอม 2535 : โต๊ะโลหะทรงสามเหลี ยม มีบาตรพระ15ใบวางเรี ยงเป็ นรู ปสาม เหลี ยม ภายนอกบาตรเป็ นสี ดาํ คลํ/า ภายในบาตรสุ กสว่างด้วยทองคําเปลว รอยมือจับดินเผาเกาะอยูข่ อบบาตรไล่เรี ยงจากมากไปหาน้อยบ่งบอกถึงกระ บวนการปล่อยวางกิเลสและตัวตนจนเข้าสู่ ความว่างไร้ตวั ตน


กัดกรดบนโลหะ/หล่อทองเหลือง/ไม้


อโรคยาศาลา คือความไม่ มโี รคหรือบําบัดรักษาให้ หายจากโรค เมือ4 รวมกับคําว่ า ศาลา หมายถึงบ้ านที4ปราศจากโรค รู ปทรง คล้ ายสถูปขนาดย่ อม ประกอบขึน9 จาก กล่ องโลหะโปร่ งด้ วยรู พรุ นทีเ4 รียงทับ ซ้ อนกัน ส่ วนข้ างในมีรูปปอดทีโ4 รยด้ วย สมุนไพรเขาต้ องการให้ คนมาบําบัดชะ ล้างระงับจิตใจ ได้ เข้ าสู่ สภาวะทีเ4 ป็ น ธรรมชาติทสี4 งบผ่อนคลายมีสมาธิ




บ้ านแห่ งความหวัง เป็ นรู ปบ้านที เรี ยงร้อยจากเส้นลูกปัดยาสมุนไพร ผนังห้องถูกระบายเคลือบด้วยสมุนไพรหลากสี นานาชนิดส่ งกลิ นหอมให้คนดูได้สูดดมด้านล่าง ถูกออกแบบประกอบขึ/นโดยม้านัง ไม้พอกด้วยดิน สอพองผสมชาดสี แดงทาทับไว้ คนดูสามารถเดิน เข้าไปเพื อให้ได้ประสบการณ์ดา้ นสมาธิ ผ่านเม็ดยา สมุนไพร ดัง การบําบัดเยียวยารักษากายใจ ความ เปราะบางไม่มนั คงของบ้านที ทาํ หน้าที บาํ บัดรักษา แสดงถึงความหวังท่ามกลางความไม่แน่นอนไม่จีรัง ของชีวิต


ศาลาแห่ งจิต ทําหน้าที เป็ นดัง ที หลบหลีกความวุน่ วาย คนดูสามารถเข้าสู่ความ สงบ เป็ นพื/นที แห่ งจิตวิญญาณและพลังอํานาจอันศักดิCสิทธิCเป็ นสากล


“I think, therefore I am” “ฉั นคิด ดังนั+นฉั นจึ งมีอยู่” Rene Descartes,1637


• http://www.youtube.com/watch?v=Hz9H LvfuMbk&feature=related • http://www.youtube.com/watch?v=CO3 1MV9QQHU&feature=related • http://www.youtube.com/watch?v=drtJ3 TJ7BB8&feature=fvsr


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.