พัฒนาการของบรรจุภัณฑ์

Page 1

พัฒนาการของบรรจุภัณฑ์ ตอนที่ 1

หมวดหมู่: หนังสื อบรรจุภณั ฑ์อาหาร [บรรจุภณั ฑ์อาหาร] วันที่: 20 มีนาคม พ.ศ. 2554 พัฒนาการของบรรจุภณั ฑ์อาหาร ตั้งแต่มนุษยชาติ เกิดมาในโลกนี้ ความพยายามอยูร่ อดเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะของคน เริ่ มต้นจากสมัยการทำาเกษตรกรรมสื บ ต่อด้วยการปฏิวตั ิอุตสาหกรรมในศตวรรษที่ 20 การประกอบอาชีพได้เปลี่ยนโฉมจากการเพาะปลูกหรื อผลิตเพื่อบริ โภคเอง มาเป็ น เพาะปลูกหรื อผลิตเพื่อการจำาหน่ายเช่นเดียวกับวิวฒั นาการของบรรจุภณั ฑ์ จากอดีตมาถึงปัจจุบนั เริ ่ มด้วยบทบาท จากการปกป้ องรักษาคุณภาพสิ นค้า พัฒนามาเป็ นสิ่ งอำานวยความสะดวกในการบริ โภคและโฆษณาสิ นค้าไปในตัว นอกจาก นี้บรรจุภณั ฑ์ยงั มีส่วนสำาคัญในการช่วยรักษาสภาพแวดล้อมด้วย สื บ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงพื้นฐานการผลิตจากประเทศกสิ กรรมมาเป็ นประเทศ อุตสาหกรรม ทำาให้คนชนบทละถิ ่นฐาน ของตัวเองมาเป็ นคนเมืองมากยิง่ ขึ้นเพื่อความเป็ นอยู่ ที่ดีข้ ึนและเพิ่มรายได้ สถานะความเป็ นอยูข่ องคนเหล่านี้ ได้เปลี่ยนไป เนื่องจากไม่มีเวลาที่จะเตรี ยม อาหารให้ครอบครัวและตัวเอง เวลาส่วนใหญ่ใช้ในการทำางานปกติและทำางานล่วงเวลายังไม่ รวมถึงเวลาในการสัญจร บรรจุภณั ฑ์ที่จะอำานวยความสะดวกในการเตรี ยมอาหารเพื่อช่วยแก้ปัญหาด้านเวลา ที่จาำ กัดของตัว เองจึงได้อุบตั ิข้ ึน ตัวอย่างเช่น บะหมี่ก่ ึงสำาเร็จรู ปและอาหารกระป๋ องชนิดต่างๆ เป็ นต้น เนื่องจากเวลาอันจำากัดนี้ เอง ทำาให้ พฤติกรรมที่ใช้ในการจับจ่ายใช้สอยเปลี่ยนไปด้วย การซื้ ออาหารจากซุปเปอร์มาร์เก็ตต่างๆ ที่สะดวกในการเดินทางซึ่ งมีอยู่ ทัว่ ไปในระยะไม่เกิน 10 กิโลเมตร สิ นค้าที่วางจำาหน่ายในซุปเปอร์สโตร์หรื อคอนวีเนียนสโตร์จาำ ต้องใช้บรรจุภณั ฑ์ ที่ สามารถสนองความต้องการของคนเมืองตามที่ได้กล่าวถึง สภาวะความเป็ นอยูแ่ ละนิสัยการจับจ่ายใช้สอยที่เปลี่ยนไปดังที่ กล่าวมานี้ ส่งผลให้เกิดการวิวฒั นาการทางด้านบรรจุภณั ฑ์พร้อมทั้งกระบวนการผลิตต่างๆ เพื่อสนองความต้องการของผู้ บริ โภคที่เปลี่ยนไป วิวฒั นาการของบรรจุภณั ฑ์ดงั กล่าวย่อมหนีไม่พน้ การศึกษาวิจยั พัฒนาตัวบรรจุ ภัณฑ์และวิวฒั นาการ ของกระบวนการผลิตอาหาร ผู้ อุปโภคบริ โภคในปัจจุบนั มีความต้องการแตกต่างกันแปรตามอายุ เพศ ศาสนา สถานะ ความเป็ นอยู่ เป็ นต้น มาตรฐาน ความเป็ นอยูข่ องคนในประเทศที่มีบรรจุภณั ฑ์ได้มาตรฐานย่อมมีความเป็ น อยูท่ ี่ดีกว่า สื บเนื่องจากความสามารถในการ ำ รักษาคุณภาพอาหาร การผลิตป้ อนสู่ ตลาดเป็ นจำานวนมากด้วยเครื่ องจักรทำาให้ราคาต่อหน่วยต่ าลงและ สามารถบริ โภคได้ ทัว่ ถึงมากยิง่ ขึ้นโดยไม่แบ่งแยกวรรณะทางด้านเศรษฐกิจ ตัวอย่างของนมกล่องเป็ นตัวอย่างที่เห็นได้อย่างชัดเจนของการ รณรงค์ให้เด็ก นักเรี ยนทัว่ ทั้งประเทศได้ดื่มนมระหว่างอาหารกลางวัน จากการพัฒนาของบรรจุภณั ฑ์นมกล่องที่บรรจุใน สถานะปลอดเชื้อทำาให้สามารถเก็บ ได้นานและสามารถจัดส่ งไปยังชนบทไกลๆ ได้ ส่ งผลให้มีการจัดสรรงบประมาณแผ่น ดินจำานวนหลายพันล้านบาทต่อปี แจกนมให้เด็ก นักเรี ยนเพื่อสร้างให้เยาวชนรุ่ นหลังได้บริ โภคอาหารที่มีคุณค่าต่อการเจริ ญ เติบโตของร่ างกาย ตัวอย่างการวิวฒั นาการของบรรจุภณั ฑ์นมกล่องนี้ ย่อมทำาให้สุขภาพอนามัยของอนุชนรุ่ นหลังดีกว่ารุ่ น บรรพบุรุษ 1.1 ประวัติศาสตร์บรรจุภณั ฑ์ การ ศึกษาประวัติความเป็ นมาของบรรจุภณั ฑ์เปรี ยบเสมือนกับการศึกษาอารยธรรมของ มนุษย์ ความเป็ นอยูท่ ี่ดีขึ้ นของ มนุษยชาติจะพัฒนาไปพร้อมๆ กับมาตรฐานของบรรจุภณั ฑ์ สื บเนื่องจากคุณประโยชน์ที่บรรจุภณั ฑ์เอื ้ออำานวยให้การกิน อยูด่ ีข้ ึน การศึกษาประวัติการพัฒนาการบรรจุภณั ฑ์ยอ่ มจะทำาให้มองเห็นถึงความสำาคัญและคุณ ประโยชน์ของบรรจุภณั ฑ์ที่ มีต่อมนุษยชาติ นอกจากนี้ บรรจุภณั ฑ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติยงั สามารถใช้เป็ นแนวทางในการพัฒนาบรรจุ ภัณฑ์ ด้วยเหตุน้ี การศึกษาประวัติการพัฒนาบรรจุภณั ฑ์จึงควรเริ่ มจากการศึกษาบรรจุ ภัณฑ์ธรรมชาติ 1.1.1 บรรจุภณั ฑ์ธรรมชาติและประเพณี นิยม


เมื่อ ใดก็ตามที่มีการกล่าวถึงบรรจุภณั ฑ์ธรรมชาติมกั จะมีความหมายว่าเป็ นผลงานของ เทวดา เนื่องจากเป็ นบรรจุภณั ฑ์ สมบูรณ์แบบและเป็ นต้นแบบของบรรจุภณั ฑ์ที่มนุษย์ พยายามลอกเลียนบรรจุภณั ฑ์ธรรมชาติที่ให้กาำ เนิดสิ ่ งมีชีวิตหลายๆ ประเภท ตัวอย่างเช่น ไข่ รู ปทรงของไข่ไม่ได้เป็ นรู ปทรงเรขาคณิ ต คือไม่กลมหรื อวงรี ทาำ ให้กลิ ้งไม่สะดวก ส่ งผลให้โอกาส เกิดการกระแทกจากการเคลื่อนไหวไม่รุนแรง ส่วนโค้งของไข่มนพอดีกบั การกกไข่ที่จะให้ความอบอุ่นได้อย่างทัว่ ถึง เปลือกของไข่เต็มไปด้วยรู พรุ นต่างๆ เพื่อให้มีปริ มาณอากาศภายในไข่อย่างพอเหมาะที่จะให้ลูกอ่อนเจริ ญเติบโตได้ ไข่ขาว ที่มีอยูภ่ ายในมีลกั ษณะเป็ นของเหลวหนืดเอื้ออำานวยให้ไข่แดงสามารถ เคลื่อนไหวได้ในขณะเดียวกันยังช่วยปกป้ องไข่แดง ที่อุดมด้วยคุณค่าทาง โภชนาการด้วย เปลือกผิวไข่ที่ยอมให้อากาศซึ มผ่านอย่างพอเหมาะช่วยควบคุมอากาศภายในไข่ให้ สมดุลซึ่ งเป็ นหลักการที่ใช้ในการออกแบบพัฒนาระบบบรรจุภณั ฑ์ที่มีการป้ องกัน เชิงรุ ก (Active Packaging) ซึ่ งจะได้ กล่าวรายละเอียดในบทที่ 2

ถัว่ ลันเตาเป็ นบรรจุภณั ฑ์ธรรมชาติที่สมบูรณ์แบบอีกประเภทหนึ่ง เม็ดถัว่ อยูภ่ ายในฝักเรี ยงตัวเป็ นแถว ตัวฝักเปรี ยบเหมือน กับฟิ ล์มเคลือบอยู่ 2 ชั้น โดยมีช้ นั นอกที่แข็งและชั้นในที่อ่อนนุ่ม ภายในฝักถัว่ ยังมีการปรับอากาศภายในให้เหมาะสมต่อ การเจริ ญเติบโต เปรี ยบเสมือนกับบรรจุภณั ฑ์ปรับสภาวะบรรยากาศ (Modified Atmosphere Packaging) ที่มนุษย์ได้คิดค้น เลียนแบบเมื่อหลายสิ บปี ที่ผา่ นมา นอกจากถัว่ ลันเตาแล้วถัว่ ลิสงก็เป็ นถัว่ อีกแบบหนึ่งที่มีเปลือกข้างนอกคล้าย คลึงกับลอน ของกระดาษ ลูกฟูกซึ่ งเป็ นบรรจุภณั ฑ์ที่นิยมใช้ ลอนบนผิวของเปลือกถัว่ ลิสงสามารถปกป้ องเม็ดถัว่ ที่อยูภ่ ายในด้วยรู ป ลักษณะ ของการเป็ นลอนคล้ายกับลอนกระดาษลูกฟูก เป็ น ที่ยอมรับกันทัว่ ไปว่า บรรจุภณั ฑ์น้ นั เป็ นส่ วนหนึ่งของประเพณี และวัฒนธรรม ตัวอย่างที่เห็นชัดมากที่สุดคือ บรรจุ ภัณฑ์ของขวัญ ไม่วา่ จะเป็ นของขวัญที่เป็ นสิ นค้า หรื อ เงินสด จำาต้องใช้บรรจุภณั ฑ์ห่อ ในกรณี เงินสดและเช็คของขวัญย่อม จะต้องมีซองใส่ ในรู ปแบบต่างๆ กัน ในงานสมรสใดๆ ก็ตาม ถ้าผูร้ ับเชิญไปถึงงานและควักเงินสดโดยปราศจากซองให้แก่ ผูจ้ ดั งานสมรส จะมีความรู้สึกคล้ายๆ กับการจ่ายเงิน แต่ถา้ ให้เป็ นซองที่บรรจุเงินสดหรื อเช็คของขวัญความรู้สึกจะเป็ นการ ให้เพื่อ แสดงความยินดี ไม่ใช่เป็ นการให้เพื่อแลกเปลี่ยนหรื อเพื่อทดแทนกับสิ ่ งที่ได้รับประโยชน์ คล้ายกับการให้องั่ เปา


ของประชาชนจีน เงินที่ให้องั่ เปาเปรี ยบเสมือนกับการอวยพรให้โชคดีตลอดปี ใหม่ นอกจากนี้ ยงั ถือเป็ นประเพณีวา่ ซองที่ ใส่ น้ นั จะต้องเป็ นสี แดงอันเป็ นสื่ อความ หมายถึงความโชคดี สรุ ปได้วา่ บรรจุภณั ฑ์ธรรมชาติและประเพณี นิยมมีบทบาทต่อการพัฒนาบรรจุภณั ฑ์ ทำาให้บรรจุภณั ฑ์สามารถทำาหน้าที่ได้ อย่างสมบูรณ์ แล้วยังเพิ่มคุณค่าของสิ นค้าด้วยสี สันและรู ปทรงของบรรจุภณั ฑ์เอง 1.1.2 ประวัติการพัฒนาบรรจุภณั ฑ์ ำ า ใบไม้ เปลือกหอย เป็ นต้น มาถึงยุคสมัยประมาณ ใน สมัยดึกดำาบรรพ์บรรจุภณั ฑ์มกั จะใช้วสั ดุจากธรรมชาติ เช่น ลูกน้าเต้ 5000 ปี ก่อนพุทธกาล มนุษย์เริ่ มรู้จกั การใช้เครื่ องปั้ นดินเผาทำาให้สามารถเก็บตุนอาหารได้สะดวก ขึ้น ส่ งผลให้สามารถนำา ส่ งไปยังพื้นที่ห่างไกลออกไป พร้อมทั้งการนำาไปสู่ การแลกเปลี่ยนสิ นค้าและค้าขายเป็ นสิ นค้าได้ บรรจุภณั ฑ์ เครื่ องปั้ นดินเผาเหล่านี้พบแหล่งผลิตในประเทศกรี ซและส่ งไปขายไกล ถึงประเทศอิตาลีในปัจจุบนั บรรจุ ภัณฑ์แก้วเริ่ มมีการผลิตประมาณ 2000 ปี ก่อนพุทธกาลในแถบเมโสโปเตเมียหรื อประเทศอียปิ ต์ในปัจจุบนั ส่ วนขวด แก้วใสนั้นสามารถผลิตได้ประมาณ 1000 ปี ก่อนพุทธกาล และทำาให้อียปิ ต์เป็ นประเทศที่ชาำ นาญในการผลิตบรรจุภณั ฑ์แก้ว ต่อมาประมาณ พ.ศ. 500 วิวฒั นาการทางด้านบรรจุภณั ฑ์แก้วได้เปลี่ยนมาเป็ นการเป่ าแก้วซึ่ งได้ตก ทอดมรดกมาถึงปัจจุบนั นี้ วิวฒั นาการในการผลิตแก้วได้กา้ วมาสู่ จุดสุ ดยอดด้วยการพัฒนาของชาวโรมัน ประมาณ พ.ศ. 800 กระดาษเริ่ มผลิต ได้ในช่วงระยะเวลาใกล้เคียงกับแก้ว คือ ประมาณ พ.ศ. 600 ในประเทศจีนแต่ในยุคนั้นกระดาษยังไม่ได้ นำามาใช้ห่อสิ นค้า จวบจนกระทัง่ กระดาษได้รับการนำาเข้าสู่ ประเทศยุโรปผ่านประเทศทางอาหรับ และเริ ่ มมีการผลิต กระดาษครั้งแรกในทวีปยุโรปที่ประเทศสเปนทางเหนือของวาเลน เซี ยโดยชาวมุสลิมสเปน กระดาษได้รับการแปรรู ปเป็ น ถุงกระดาษในช่วง พ.ศ. 2161 ถึง พ.ศ. 2191 และมีการใช้มากถึง 800 ล้านถุงในสหรัฐอเมริ กาในช่วงปี พ.ศ. 2418 ส่วนการ ตัด การทับเส้น พร้อมทั้งการพิมพ์เพื่อแปรรู ปกล่องกระดาษแข็งนั้นเริ่ มได้รับความนิยมใน พ.ศ. 2423 บรรจุภณั ฑ์โลหะ เริ่ มจากการค้นพบวิธีการชุบโลหะด้วยดีบุกโดยกระบวนการ Hot Dip ของชาวโบฮีเมียน ประมาณ พ.ศ. 700 จนกระทัง่ มีการแปรรู ปมาทำาเป็ นกระป๋ องบรรจุยาเส้นที่พบในอังกฤษต้องใช้เวลา นานถึง 500 ปี หลังจากการค้นพบการ ชุบดีบุก บรรจุภณั ฑ์ในแถบทวีปเอเชียได้รับการบันทึกในประวัติศาสตร์ คือ มีการใช้กระป๋ องใส่ชาที่ผลิตจากประเทศใน แหลมมาลายูดว้ ยปริ มาณชา 1 "Kati" หรื อประมาณ 1.5 ออนซ์ในปัจจุบนั นี้เพื่อวางจำาหน่ายในยุโรป ใน แง่ของการศึกษาประวัติศาสตร์ของบรรจุภณั ฑ์ บุคคลที่ได้รับการกล่าวขวัญมากที่สุด คือ ผูป้ ระดิษฐ์บรรจุภณั ฑ์ที่ สามารถเก็บรักษาอาหารได้เป็ นชาวเปอร์เซี ยนที่ชื่อ Nicolas Appeert ซึ่ งได้รับรางวัลจากจักรพรรดินโปเลียนในฐานะที่เป็ น คิดค้นบรรจุภณั ฑ์ที่ สามารถเก็บรักษาอาหารไว้เป็ นเสบียงแก่ทหาร บรรจุภณั ฑ์อาหารดังกล่าวนี้ จะใช้ขวดแก้วพร้อมจุกที่ ปิ ดสนิทแน่นและสามารถฆ่า เชื้อด้วยความร้อนได้ หลักการถนอมอาหารด้วยการฆ่าเชื้ อด้วยความร้อนนี้ได้รับการ วิวฒั นาการต่อโดย ใช้เป็ นกระป๋ องโลหะโดยชาวอังกฤษที่ชื่อ Donkin and Hall ซึ่ งเป็ นผูซ้ ้ื อลิขสิ ทธิ์การผลิตในอังกฤษจาก Appert ด้วยเหตุน้ ี Appert จึงได้รับเกียรติในฐานะผูค้ ิดค้นบรรจุภณั ฑ์กระป๋ องโลหะที่สามารถฆ่าเชื้ อได้ เป็ นคนแรก


Nicolus Appert ผูค้ ิดค้นบรรจุภณั ฑ์กระป๋ องโลหะที่สามารถฆ่าเชื้ อได้เป็ นคนแรก พลาสติก ชนิดแรกสุ ดมีชื่อว่า Parkesine ได้รับการคิดค้นขึ้นในปี พ.ศ. 2399 โดยชาวอังกฤษที่ชื่อว่า Alexander Parkers นับ เป็ นพลาสติกจำาพวก Thermoplastics ชนิดแรกที่ผลิตขึ้นในโลกนี้ และได้นาำ ออกแสดงในงานแสดงสิ นค้าที่เมือง South Kensington ในอีก 6 ปี ต่อมา หลังจากนั้น พลาสติกชนิดต่างๆ ได้รับการคิดค้นขึ้นมากมาย ตัวอย่างเช่น Styrene ซึ่ งได้รับ การคิดค้นในปี พ.ศ. 2409 ตามมาด้วย Vinychloride ในปี พ.ศ. 2415 เป็ นต้น การศึกษาประวัติศาสตร์บรรจุภณั ฑ์ในยุคต่อมา ซึ่ งมีวิวฒั นาการที่น่ากล่าวถึง ดังแสดงไว้ในตารางที่ 1.1


Alexander Parkes - the first plastics 1813 - 1890 ที่มา http://westnorwoodcemetery.com/people_buried/alexander_parkes.html ใน วงการพลาสติก วิวฒั นาการที่พลิก ประวัติศาสตร์พลาสติก ได้แก่ การค้นพบ Polyethylene ในโรงงานของ ICI ประเทศอังกฤษเมื่อปี พ.ศ. 2468 และได้นาำ มา ใช้เป็ นสารหุม้ ฉนวนของสายโทรศัพท์ระหว่างสงครามโลกครั้ งที่ 2 พร้อมทั้งได้รับการพัฒนามาจนเป็ นบรรจุภณั ฑ์ พลาสติกที่นิยมใช้มากที่สุด ตะเข็บคู่ (Double Seam) ของกระป๋ อง 3 ชิ้นได้รับการจดสิ ทธิบตั รครั้งแรกในปี พ.ศ. 2439 โดยชาวนิวยอร์คที่มีชื่อว่า Max Ams ส่วนกระป๋ องอะลูมิเนียมที่ใช้บรรจุนาอั ้ ำ ดลมต้องใช้เวลาอีกเกือบ 100 ปี จึงได้รับการพัฒนาขึ้นมาใช้ทางเชิงพาณิ ชย์ใน ปี พ.ศ. 2508 การ ใช้กล่องกระดาษลูกฟูกครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของอเมริ กา คือ การใช้สาำ หรับบรรจุอาหารเช้าซี ริล (Cereal) พร้อมทั้ง ได้รับการยอมรับให้ใช้เป็ นบรรจุภณั ฑ์ขนส่ งในปี พ.ศ. 2437 ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 จะสิ้ นสุ ดลง มีผปู้ ระกอบการใช้ กล่องอยูเ่ พียง 20% และใช้ลงั ไม้อยู่ 80% จวบจนกระทัง่ สงครามโลกครั้งที่ 2 จบสิ้ นลง ตัวเลขการใช้ดงั กล่าวได้กลับ ตาลปัตรเป็ นมีผใู้ ช้กล่องถึง 80% ตารางที่ 1.1 : ประวัติวิวฒั นาการของบรรจุภณั ฑ์ประเภทต่างๆ ปี ประเภท วิวฒั นาการ บรรจุภณั ฑ์ ยุคโบราณ เครื่ องปั้ น เริ่ มมีการใช้เครื่ องปั้ นดินเผาในประเทศกรี ซ 5000 ปี ดินเผา เริ่ มใช้บรรจุภณั ฑ์แก้วในอารยธรรมแถบเมโสโป ก่อนพุทธกาล แก้ว เตเมีย 2000 ปี แก้ว ผลิตแก้วด้วยการเป่ า ก่อนพุทธกาล กระดาษ เริ่ มมีการผลิตกระดาษ 500 600 ยุคเริ่ มแรก กระดาษ เริ่ มการผลิตบรรจุภณั ฑ์กระดาษ 2245 กระป๋ อง Appert ค้นพบวิธีการถนอมอาหารด้วยความ 2352 กระดาษลูกฟูก ร้อน 2414 ฝา มีการจดลิขสิ ทธิ์ในการผลิตกล่องกระดาษลูกฟูก 2435 กระดาษลูกฟูก William Painter ของสหรัฐอเมริ กาคิดค้นฝา 2437 กระป๋ องโลหะ จีบ 2441 บรรจุภณั ฑ์แก้ว เริ่ มมีการใช้กล่องกระดาษลูกฟูกในการขนส่ ง 2451 กระดาษลูกฟูก ทางรถไฟในสหรัฐอเมริ กา 2458 พลาสติก ใช้ระบบสุ ญญากาศเป็ นครั้งแรกสำาหรับยาสู บใน 2468 ประเทศอังกฤษ บริ ษทั Anchor-Hocking ในสหรัฐอเมริ กา พัฒนาฝาปิ ดที่มีช้ นั ในบุดว้ ยยางและแถบโลหะ รัดฝาโดยรอบ C.D.Altick คิดค้นกระดาษเหนียวสี นาตาล ้ำ


ยุคปัจจุบนั 2503 2505 2507 2510 2513 2520 2521 2524 2526

พลาสติก กระป๋ องโลหะ พลาสติก พลาสติก พลาสติก พลาสติก พลาสติก กล่องกระดาษ พลาสติก

(Kraft) เริ่ มยุคสมัยของพลาสติก โดยมีการใช้ PE, Cellophane, PVC, PS ถ ำ อนได้และขวด เริ่ มผลิตถุงพลาสติกที่ตม้ ในน้าร้ นมขนาดใหญ่ที่ผลิตจาก HDPE เริ่ มผลิตกระป๋ องอะลูมิเนียมสำาหรับเครื่ องดื่ม และกระป๋ องสเปรย์ แผงยาที่ใช้กดเม็ดยาให้ทะลุผา่ นแผ่นเปลว อะลูมิเนียม และฟิ ล์มหดที่มาใช้แทนที่กล่อง กระดาษลูกฟูก หลอดพลาสติกและฝาพลาสติกที่เปิ ดแล้วเกลียว ขาดจากกัน ฟิ ล์มเม็ตทัลไลซ์ (Metallized) ที่มีแสงแวววับ ำ ดลม ขวด PED สำาหรับเครื่ องดื่มน้าอั ระบบบรรจุภณั ฑ์สุญญากาศ และระบบปรับ สภาวะบรรยากาศ กล่องปลอดเชื้อที่นิยมใช้บรรจุนมและเครื่ องดื่ม ขวดซ๊อสมะเขือเทศที่ผลิตด้วยกรรมวิธี Co-Extrusion

1.2 นิยาม ศัพท์คาำ ว่า "บรรจุภณั ฑ์" ได้รับการกล่าวถึงอย่างกว้างๆ แต่มกั จะมีการใช้คาำ ว่าภาชนะบรรจุกบั บรรจุภณั ฑ์อย่างสับสน ำ คำาถามมีอยูว่ า่ ภาชนะบรรจุกบั บรรจุภณั ฑ์น้ ันแตกต่างกันอย่างไร ขอให้พิจารณาบรรจุภณั ฑ์นาปลา ้ ำ การซื้ อน้าปลามาขวด ำ หนึ่งจากร้านขายของชำาตัวขวดนั้นย่อมเป็ นบรรจุภณั ฑ์ แต่เมื่อนำามาถึงบ้านเวลาบริ โภคจะเทน้าปลาใส่ ถว้ ยเล็กๆ ตาม ำ สัดส่ วนที่ตอ้ งการใช้บริ โภค ถ้วยเล็กๆ ดังกล่าวนี้ กลายมาเป็ นภาชนะบรรจุ ในบางกรณี ครอบครัวใหญ่อาจซื้ อน้าปลาเป็ น ำ ขวดลิตรแล้วนำามากรอกใส่ ขวดเล็กที่ บ้าน แม้วา่ น้าปลาจะใส่ ขวดเหมือนกัน แต่ขวดใหญ่ที่ซื้อมาจากร้านค้านั้นจะถือเป็ น บรรจุภณั ฑ์ ในขณะที่ขวดเล็กที่กรอกใส่ ที่บา้ นนั้นจะถือว่าเป็ นภาชนะบรรจุ เพราะไม่ได้ทาำ หน้าที่เอื้ออำานวยความสะดวก ในการขนย้ายและไม่ได้มีบทบาทการส่ ง เสริ มการจำาหน่ายเมื่อวางขายบนชั้นหิ้ง ณ จุดขาย อีก ตัวอย่างเช่น การรับประทานอาหารตามร้านนอกบ้าน จาน ชาม หรื อถาดที่ใส่ มาบริ การที่โต๊ะนั้ นจะถือว่าเป็ นภาชนะ บรรจุ แต่เมื่อไรก็ตามที่ภาชนะบรรจุน้ นั ๆ มีการปิ ดผนึกและนำาส่ ง เช่นนำาไปรับประทานที่บา้ น หรื อบนรถ ภาชนะบรรจุ นั้นๆ จะกลายมาเป็ นบรรจุภณั ฑ์ แม้วา่ บรรจุภณั ฑ์ที่วา่ จะไม่มีการพิมพ์ยหี่ อ้ หรื อฉลากก็ตาม จากตัวอย่างข้างต้นนั้น จะพบว่า ภาชนะบรรจุจะกลายมาเป็ นบรรจุภณั ฑ์น้ ันต้องมีบทบาทและหน้าที่บางอย่าง นอกเหนือจากการรองรับบรรจุใส่ ผลิตภัณฑ์ เท่านั้น นอก จากศัพท์คาำ ว่า ภาชนะบรรจุ และบรรจุภณั ฑ์ในภาษาไทย ศัพท์ภาษาอังกฤษคำาว่า Packing และ Packaging อาจจะก่อ ให้เกิดความสับสนได้เช่นกัน โดยปกติคาำ ว่า Packing จะมีความหมายใกล้เคียงกับการบรรจุหีบห่อ กล่าวคือ Packing สื่ อ ความหมายถึงการบรรจุห่อเพื่อการขนส่ ง ในขณะที่ศพั ท์คาำ ว่า Packaging มีความหมายกว้างกว่า และตรงกับศัพท์คาำ ว่า บรรจุภณั ฑ์ในไทย กล่าวอีกนัยหนึ่งได้วา่ Packing นับเป็ นส่ วนหนึ่งของ Packaging นัน่ เอง


นิยาม : บรรจุภณั ฑ์เป็ นทั้งศาสตร์และศิลป์ ที่ใช้ในการบรรจุสินค้าในการจัดจำาหน่าย เพื่อสนองความต้องการของผูซ้ ื้ อและ หรื อผูบ้ ริ โภคด้วยต้นทุนที่เหมาะสม ศาสตร์ และศิลป์ ความรู้ที่ใช้ในการพัฒนาบรรจุภณั ฑ์ตอ้ งใช้ความรู้หลายๆ สาขามาประยุกต์ใช้ ตัวอย่างเช่น บรรจุภณั ฑ์ อาหารต้องใช้ความรู้ทางด้านเทคโนโลยีอาหารเฉพาะทาง เช่น อาหารที่เป็ นแป้ ง อาหารที่มีความเป็ นกรดต่ าำ เป็ นต้น เพื่อ วิเคราะห์การเกิดปฏิกิริยาระหว่างอาหารและบรรจุภณั ฑ์ พร้อมทั้งศึกษาวิธีการถนอมรักษาอาหารให้ได้ตามกำาหนดเวลาที่ ต้องการหรื อที่ เรี ยกชื่อเป็ นภาษาอังกฤษว่า Shelf-Life นอกจากนี้การกำาหนดอายุขยั ของอาหารยังคงต้องใช้ความรู้ทางด้าน การตลาด การขนส่ ง เพื่อประเมินเวลาที่สินค้าอาหารจะอยูใ่ นตลาดและสามารถบริ โภคได้หมดก่อนอาหาร จะแปลงสภาพ จนบริ โภคไม่ได้ นอก เหนือจากศาสตร์ดงั ที่กล่าวมาแล้วบางส่ วน การออกแบบกราฟฟิ กของบรรจุภณั ฑ์ยงั เป็ นสาขาวิชาหนึ่งของพาณิ ชยศิล ปะที่ ต้องออกแบบให้ตรงตามกลุ่มเป้ าหมายที่ทางด้านการตลาดได้กาำ หนดไว้ เพื่อว่าบรรจุภณั ฑ์ที่ออกแบบนั้นจะได้รับการ ำ ยอมรับและการซื้ อซ้าหลายๆ ครั้งจนเป็ นที่นิยมในกลุ่มเป้ าหมายที่กาำ หนดไว้ ผู้ ซื้ อและบริ โภค ณ จุดขายมีสินค้าหลายประเภทที่ผซู้ ื้ อไม่จาำ เป็ นต้องเป็ นผูบ้ ริ โภคเสมอไป ยกตัวอย่างเช่น ของขวัญในช่วง เทศกาล สิ นค้าสำาหรับเด็กทารกหรื อสัตว์เลี้ยง เป็ นต้น การออกแบบบรรจุภณั ฑ์สาำ หรับสิ นค้าที่ผซู้ ื้ อไม่ใช่ผบู้ ริ โภคนี้ จำาต้อง สร้างสิ่ งจูงใจและความมัน่ ใจต่อผูซ้ ้ื อว่าสิ นค้าดังกล่าวจะก่อให้เกิด อรรถประโยชน์สูงสุ ดแก่ผบู้ ริ โภค ด้วยเหตุน้ ี การ ออกแบบบรรจุภณั ฑ์เหล่านี้ จะเน้นในการสร้างภาพแห่งความพอใจแทน ที่จะเน้นเรื่ องคุณสมบัติของตัวสิ นค้าที่ใช้ในการ ออกแบบทัว่ ๆ ไป ำ ่สุดเท่า ที่จะต่าำ ต้น ทุนที่เหมาะสม มองจากในแง่ธุรกิจ การผลิตสิ นค้าเพื่อการจัดจำาหน่ายย่อมต้องการสิ นค้าที่มีตน้ ทุนต่ าที ำ างเดียวอาจจะก่อให้เกิดความเสี ยหายให้แก่ บรรจุภณั ฑ์ได้ง่าย ได้ ในการพัฒนาบรรจุภณั ฑ์ การเลือกใช้วสั ดุที่มีตน้ ทุนต่ าอย่ ทำาให้บรรจุภณั ฑ์ไม่สามารถทำาหน้าที่อย่างสมบูรณ์ ด้วยเหตุน้ี จึงต้องคิดถึงผลกระทบของค่าใช้จ่ายที่อาจจะเกิดขึ้นทัว่ ทั้ง ระบบ (Total System Cost) ำ ดลม ในเรื่ องของต้นทุน บรรจุภณั ฑ์น้ี มีปรากฏอยูบ่ ่อยๆ ว่ามีค่าสู งกว่าต้นทุนของตัวสิ นค้า ตัวอย่างเช่น บรรจุภณั ฑ์ของน้าอั เป็ นต้น ด้วยเหตุน้ ี จึงเป็ นความยากลำาบากที่จะประเมินว่าต้นทุนของบรรจุภณั ฑ์ควรจะ เป็ นร้อยละเท่าไรของราคาสิ นค้า ใน ทางปฏิบตั ิควรคำานึงถึงบรรจุภณั ฑ์ที่สามารถสนองความต้องการของผูซ้ ื้ อและ หรื อผูบ้ ริ โภค เพราะถ้าบรรจุภณั ฑ์และ ผลิตภัณฑ์ได้รับความนิยม ผลกำาไรที่ได้ยอ่ มทำาให้มีรายได้ที่จะจุนเจือต้นทุนบรรจุภณั ฑ์ได้

1.3 หน้าที่ของบรรจุภณั ฑ์ หน้าที่ของบรรจุภณั ฑ์อาหารแปรรู ปมีความสอดคล้องกับวิทยาการ 2 ด้าน คือ ด้านเทคนิคและด้านการตลาด จำาแนกได้ดงั นี้


ด้านเทคนิค การบรรจุใส่ การปกป้ องคุม้ ครอง การรักษาคุณภาพอาหาร การขนส่ ง การวางจำาหน่าย การรักษาสิ่ งแวดล้อม

ด้านการตลาด การส่ งเสริ มการขาย การแสดงข้อมูลอาหาร การตั้งราคาขายได้สูงขึ้น การเพิ่มปริ มาณขาย ให้ความถูกต้องรวดเร็ว การรณรงค์

หน้าที่ของบรรจุภณั ฑ์สามารถให้คาำ อธิบายเพิม่ เติมได้ดงั นี้ - การทำาหน้าที่บรรจุใส่ ได้แก่ ใส่ -ห่อสิ นค้า ด้วยการชัง่ ตวง วัด นับ - การทำาหน้าที่ปกป้ องคุม้ ครอง ได้แก่ ป้ องกันไม่ให้สินค้าเสี ยรู ป แตกหัก ไหลซึ ม - การทำาหน้าที่รักษาคุณภาพอาหาร ได้แก่ การใช้วสั ดุที่ป้องกันอากาศซึ มผ่าน ป้ องกันแสง ป้ องกันก๊าซเฉื่ อยที่ฉีดเข้าไป ชะลอปฏิกิริยาชีวภาพ ป้ องกันความชื้ นจากภายนอก - การทำาหน้าที่ขนส่ ง ได้แก่ กล่องลูกฟูก ลังพลาสติก ซึ่งบรรจุสินค้าหลายห่อหรื อหน่วย เพื่อความสะดวกในการเคลื่อนย้าย และขนส่ งสิ นค้าไปยังแหล่งผลิตหรื อแหล่งขาย


- การวางจำาหน่าย คือ การนำาบรรจุภณั ฑ์ที่มีสินค้าอาหารแปรรู ปอยูภ่ ายในวางจำาหน่ายได้โดยไม่จาำ เป็ น ต้องเห็นสิ นค้าเลย สามารถวางนอนหรื อวางตั้งได้โดยสิ นค้าไม่ได้รับความเสี ยหาย ซึ่งควรคำานึงถึงขนาดที่เหมาะสมกับชั้นวางสิ นค้าด้วย - การรักษาสิ่ งแวดล้อม ได้แก่ 1. ใช้วสั ดุบรรจุภณั ฑ์ที่ให้ปริ มาณขยะน้อย เป็ นวัสดุที่ยอ่ ยสลายได้ง่าย ในกระบวนการผลิตจะไม่ใช้สารที่ทาำ ลายชั้น บรรยากาศ เป็ นต้น 2. นำาบรรจุภณั ฑ์เวียนใช้ใหม่หรื อใช้ประโยชน์อื่นได้ เช่น ขวดเหล้า แก้วใส่ แยม เป็ นต้น 3. หมุนเวียนนำากลับมาผลิตใหม่ คือ นำาบรรจุภณั ฑ์ที่ใช้แล้วไปหลอมหรื อย่อยสลายเป็ นวัตถุดิบสำาหรับใช้ผลิตบรรจุภณั ฑ์ หรื อสิ นค้าอื่นได้ - ทำาหน้าที่ส่งเสริ มการขายเพราะบรรจุภณั ฑ์ที่ออกแบบสวยงามสามารถใช้เป็ นสื่ อ โฆษณาได้ดว้ ยตัวเอง รวมถึงการ ออกแบบบรรจุภณั ฑ์เพื่อใช้เฉพาะกาล เช่น มีการแนบของแถมไปกับบรรจุภณั ฑ์ การนำารู ปภาพดารา เครื่ องหมายกีฬาที่ได้ รับความนิยมมาพิมพ์บนบรรจุภณั ฑ์ จะเป็ นแนวทางหนึ่งในการเรี ยกความนิยมของสิ นค้า

- ทำาหน้าที่เป็ นฉลากแสดงข้อมูลของอาหารแปรรู ป ได้แก่ ข้อมูลทางด้านโภชนาการ ส่วนประกอบของอาหาร วันที่ผลิต วัน ที่หมดอายุ คำาแนะนำา และเครื่ องหมายเลขทะเบียนหรื อเลขอนุญาตจากคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) - ทำาให้ต้งั ราคาขายได้สูงขึ้นเนื่องจากบรรจุภณั ฑ์ที่สวยงามจะสร้างมูลค่าเพิ่ม ให้แก่สินค้า สร้างความนิยมในสิ นค้า จากตรา และเครื่ องหมายการค้าทำาให้เกิดความภักดี (Loyalty) ในตัวสิ นค้าส่ งผลให้ขายราคาที่สูงขึ้นได้ หรื อ ที่เรี ยกว่าสิ นค้าแบ รนด์เนม (Brandname) - การเพิ่มปริ มาณขาย ด้วยการรวมหน่วยขายปลีกในบรรจุภณั ฑ์อีกชั้นหนึ่ง เช่น นมกล่อง 1 โหลในกล่องกระดาษลูกฟูกที่มี ำ าความสะอาดพร้อมกับซองน้ายาทำ ำ าความสะอาดเพื่อใช้เติมใส่ ในขวดเมื่อใช้น้ายาในขวดหมด ำ หูหิ้ว หรื อการขายขวดน้ายาทำ แล้ว เป็ นต้น - ให้ความถูกต้องรวดเร็วในการขาย โดยการพิมพ์บาร์โค้ดบนบรรจุภณั ฑ์ทาำ ให้คนคิดเงินไม่จาำ เป็ นต้องอ่านป้ ายราคาบน บรรจุภณั ฑ์แล้วกดเงินที่ตอ้ งจ่าย แต่ให้เครื่ องอ่านบาร์โค้ดทำาหน้าที่แทน ทำาให้รวดเร็ วขึ้ นและถูกต้อง - ร่ วมมีบทบาทในการรณรงค์เรื่ องต่างๆ เช่น สัญลักษณ์รีไซเคิล ฉลากเขียว กีฬา ท่องเที่ยว กินของไทยใช้ของไทย เป็ นต้น


1.4 ประเภทของบรรจุภณั ฑ์ ตามนิยามที่กล่าวมาแล้ว บรรจุภณั ฑ์ทาำ หน้าที่เป็ นพาหะนำาผลผลิตจากกระบวนการผลิตผ่านการขนย้าย เก็บในคลังสิ นค้า ระบบการขนส่ ง ระบบการจัดจำาหน่าย เปิ ดโอกาสให้เลือกซื้ อ เอื้ออำานวยความสะดวกในการบริ โภคพร้อมทั้งกำาจัดซาก บรรจุภณั ฑ์ได้ง่าย จากขั้นตอนต่างๆ เหล่านี้ การแยกประเภทของบรรจุภณั ฑ์อาจแยกได้หลายลักษณะแล้วแต่จุดมุ่งหมาย การแยก ประเภท ดังแสดงในตารางที่ 1.2 ตารางที่ 1.2 : การแยกประเภทของบรรจุภณั ฑ์ วิธีการ จุดมุ่งหมาย ประเภทของบรรจุภณั ฑ์ 1 การออกแบบ 1.1 บรรจุภณั ฑ์ช้ นั ในหรื อปฐมภูมิ (Primary Packaging) 1.2 บรรจุภณั ฑ์ช้ นั ที่สองหรื อทุติยภูมิ (Secondary Packaging) 1.3 บรรจุภณั ฑ์ช้ นั ที่สามหรื อตติยภูมิ (Tertiary Packaging) 2 วัสดุที่ใช้ผลิต 2.1 เยือ่ และกระดาษ 2.2 พลาสติก 2.3 แก้ว 2.4 โลหะ 1.4.1 บรรจุภณั ฑ์แบ่งตามการออกแบบ ด้วยหลักการในการออกแบบ สามารถจำาแนกประเภทของบรรจุภณั ฑ์ได้ 3 จำาพวก คือ (1) บรรจุภณั ฑ์ช้ นั ในหรื อปฐมภูมิ (Primary Packaging) เป็ นบรรจุภณั ฑ์ที่ผซู้ ้ื อจะได้สัมผัสเวลาที่จะบริ โภค บรรจุภณั ฑ์น้ี จะ ำ เป็ นต้น บรรจุภณั ฑ์น้ ี เป็ นบรรจุภณั ฑ์ ได้รับการโยนทิ้งเมื่อมีการเปิ ดและบริ โภคสิ นค้าภายในจนหมด เช่น ซองบรรจุน้าตาล ที่อยูช่ ้ นั ในสุ ดติดกับตัวสิ นค้า ใน การออกแบบบรรจุภณั ฑ์ช้ นั ในมีปัจจัยที่ตอ้ งพิจารณา 2 ประการคือ อันดับแรกจะต้องมีการทดสอบจนมัน่ ใจว่าอาหารที่ ผลิตและบรรจุภณั ฑ์ที่เลือกใช้จาำ ต้องเข้ากันได้ (Compatibility) หมายความว่าตัวอาหารจะไม่ทาำ ปฏิกิริยาต่อผลิตภัณฑ์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นนี้อาจจะเกิดจากการแยกตัวของเนื้ อวัสดุบรรจุภณั ฑ์เข้า สู่ อาหาร (Migration) หรื อการทำาให้บรรจุภณั ฑ์ เปลี่ยนแปลงรู ปทรงไปเช่นในกรณี การบรรจุอาหารใส่ เข้า ไปในบรรจุภณั ฑ์ขณะที่อาหารยังร้อนอยู่ (Hot Filling) เมื่อเย็นตัว


ลงในสภาวะบรรยากาศห้อง จะทำาให้รูปทรงของบรรจุภณั ฑ์บูดเบี้ ยวได้ เหตุการณ์น้ ีจะพบบ่อยมากในขวดพลาสติกทรง กระบอก ซึ่ งแก้ไขได้โดยการเพิ่มร่ องบนผิวทรงกระบอกหรื อเปลี่ยนรู ปทรงเป็ นสี่ เหลี่ยม มุมมน

CPET บรรจุภณั ฑ์ช้ นั ในสำาหรับ บรรจุอาหารแช่เยือกแข็ง (freezing) และเข้าไมโครเวฟได้ นอกเหนือจากความเข้ากันได้ของอาหารและบรรจุภณั ฑ์แล้ว ปัจจัยอันดับต่อมาที่ตอ้ งพิจารณา คือ บรรจุภณั ฑ์ช้ั นในจะเป็ น บรรจุภณั ฑ์ที่วางขายบนหิ้งหรื อไม่ ในกรณี ที่บรรจุภณั ฑ์ช้ นั ในจำาต้องวางขายแสดงตัวบนหิ้ง การออกแบบความสวยงาม การสื่ อความหมายและภาพพจน์จะเริ่ มเข้ามามีบทบาทในการออกแบบบรรจุภณั ฑ์

บรรจุภณั ฑ์ช้ นั ในที่ทาำ หน้าที่วางขายบนหิ้ง (2) บรรจุภณั ฑ์ช้ นั ที่สองหรื อทุติยภูมิ (Secondary Packaging) เป็ นบรรจุภณั ฑ์ที่รวบรวมบรรจุภณั ฑ์ช้ นั แรกเข้าด้วยกัน เพื่อ เหตุผลในการป้ องกันหรื อจัดจำาหน่ายสิ นค้าได้มากขึ้ น หรื อด้วยเหตุผลในการขนส่ ง บรรจุภณั ฑ์ช้ นั ที่สองที่เห็นได้ทวั่ ไป ำ 50 ซอง เป็ นต้น เช่น กล่องกระดาษแข็งของหลอดยาสี ฟัน ถุงพลาสติกใส่ซองน้าตาล ใน การออกแบบบรรจุภณั ฑ์ช้ นั ที่สองนี้มกั จะเป็ นบรรจุภณั ฑ์ที่ตอ้ งวางแสดงบนหิ้ง ณ จุดขาย ดังนั้น การเน้นความสวยงาม และภาพพจน์ของบรรจุภณั ฑ์ช้ นั ที่สองจึงมีความจำาเป็ นอย่าง ยิง่ ตัวอย่างเช่น กล่องยาสี ฟัน การออกแบบของหลอดยาสี ฟัน ที่อยูภ่ ายในก็ไม่จาำ เป็ นต้องออกแบบให้สอดสี หลายสี ในทางกลับกันถ้าบรรจุภณั ฑ์ช้ันในได้รับการออกแบบอย่างสวยงาม ในการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ช้ นั ที่สองนี้อาจจะทำาการเปิ ดเป็ นหน้าต่างเพื่อให้เห็น ถึงความสวยงามของบรรจุภณั ฑ์ช้ันในที่


ำ 50 ซองนั้น ถุงพลาสติกที่เลือกใช้ไม่จาำ เป็ นต้องช่วย ออกแบบมาอย่างดีแล้ว ในกรณีของตัวอย่างถุงพลาสติกใส่ซองน้าตาล ำ ำ 50 ซองเข้าด้วยกันเพื่อการจัดจำาหน่ายแต่ตวั รักษาคุณภาพของน้าตาลมากเท่ าซองชั้น ใน เนื่องจากทำาหน้าที่รวมซองน้าตาล ถุงเองต้องพิมพ์สอดสี อย่างสวยงาม เพราะเป็ นถุงที่วางขายบนหิ ้ง ณ จุดขาย บรรจุภณั ฑ์ช้ นั ในหรื อปฐมภูมิ (Primary Packaging) และบรรจุภณั ฑ์ช้ นั ที่สองหรื อทุติยภูมิ (Secondary Packaging) มีชื่อ เรี ยกอีกชื่อหนึ่งว่า บรรจุภณั ฑ์เพื่อการจำาหน่ายปลีก (Commercial Packaging) (3) บรรจุภณั ฑ์ช้ นั ที่สามหรื อตติยภูมิ (Tertiary Packaging) หน้าที่หลักของบรรจุภณั ฑ์น้ ี คือการป้ องกันระหว่างการขนส่ ง บรรจุภณั ฑ์ขนส่ งนี้ อาจแบ่งย่อยเป็ น 3 ประเภท คือ - บรรจุภณั ฑ์ที่ใช้จากแหล่งผลิตถึงแหล่งขายปลีกเมื่อสิ นค้าได้รับการจัดเรี ยง วางบนหิ ้งหรื อคลังสิ นค้าของแหล่งขายปลีก แล้ว บรรจุภณั ฑ์ขนส่ งก็หมดหน้าที่การใช้งาน บรรจุภณั ฑ์เหล่านี้ เช่น แคร่ และกะบะ (Pallet) เป็ นต้น ำ ้ม - บรรจุภณั ฑ์ที่ใช้ระหว่างโรงงาน เป็ นบรรจุภณั ฑ์ที่จดั ส่ งสิ นค้าระหว่างโรงงาน ตัวอย่างเช่น ลังใส่ ซองพริ กป่ น ถุงน้ าจิ เป็ นผลผลิตจากโรงงานหนึ่งส่ งไปยังโรงงานอาหารสำาเร็ จรู ปเพื่อทำาการบรรจุไป พร้อมกับอาหารหลัก เป็ นต้น - บรรจุภณั ฑ์ที่ใช้จากแหล่งขายปลีกไปยังมือผูอ้ ุปโภคบริ โภค เช่น ถุงต่างๆ ที่ร้านค้าใส่สินค้าให้ผซู้ ื้ อ การ ออกแบบบรรจุภณั ฑ์ช้ นั ที่สามนี้ จึงต้องคำานึงถึงความสามารถในการป้ องกันสิ นค้าระหว่างการขนส่ ง ส่วนข้อมูลราย ละเอียดบนบรรจุภณั ฑ์ขนส่ งจะช่วยในการจัดส่ งเป็ นไปอย่างสะดวก และถูกต้อง บรรจุภณั ฑ์ช้ันที่สามนี้จึงเรี ยกอีกชื่อหนึ่ง ว่าบรรจุภณั ฑ์เพื่อการขนส่ ง (Distribution Packaging) พัฒนาการของบรรจุภัณฑ์ ตอนที่ 3

1.4.2 ประเภทของบรรจุภณั ฑ์จาำ แนกตามวัสดุ บรรจุภณั ฑ์แยกตามวัสดุหลักที่ใช้ในการผลิตได้ 4 ประเภท คือ เยือ่ และกระดาษ นับได้วา่ เป็ นบรรจุภณั ฑ์ที่ใช้มากที่สุดและมีแนวโน้มใช้มากยิง่ ขึ้น เนื่องจากการรี ไซเคิลได้ง่าย อันเป็ นผล จากการรณรงค์สิ่งแวดล้อม กระดาษนับเป็ นวัสดุบรรจุภณั ฑ์ประเภทเดียวที่สามารถสร้างขึ้ นใหม่ได้จากการ ปลูกป่ าทดแทน กระดาษที่ใช้ในอุตสาหกรรมบรรจุภณั ฑ์มีหลายประเภท และสามารถพิมพ์ตกแต่งได้ง่ายและสวยงาม นอกจากนี้ ยงั สะดวก ต่อการขนส่ งจากผูผ้ ลิตไปยังผูใ้ ช้เนื่องจากสามารถพับได้ ทำาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการขนส่ ง ำ กเบา ป้ องกันการซึ ม พลาสติก เป็ นวัสดุบรรจุภณั ฑ์ที่อตั ราการเจริ ญเติบโตสู งมาก คุณประโยชน์ของพลาสติกคือ มีน้าหนั ผ่านของอากาศและก๊าซได้ระดับหนึ่ง สามารถต่อต้านการทำาลายของแบคทีเรี ยและเชื้ อรา มีคุณสมบัติหลายอย่างที่สามารถ เลือกใช้ในงานที่เหมาะสม พลาสติกบางชนิดยังเป็ นฉนวนกันความร้อนอีกด้วย พลาสติกที่ใช้ในอุตสาหกรรมบรรจุภณั ฑ์มี อยูห่ ลากหลายประเภท การศึกษาคุณสมบัติของพลาสติกแต่ละประเภทมีความจำาเป็ นอย่างยิ ง่ ที่จะทำาให้ บรรจุภณั ฑ์ พลาสติกที่เลือกใช้สามารถทำาหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์ แก้ว นับเป็ นบรรจุภณั ฑ์ที่มีความเฉื่ อยต่อการทำาปฏิกิริยากับสารเคมีชีวภาพต่างๆ เมื่อเทียบกับวัสดุบรรจุภณั ฑ์อื่นๆ และ รักษาคุณภาพสิ นค้าได้ดีมาก ข้อดีของแก้วคือมีความใสและทำาเป็ นสี ต่างๆ ได้ สามารถทนต่อแรงกดได้สูงแต่เปราะแตกง่าย ในด้านสิ่ งแวดล้อม แก้วสามารถนำากลับมาใช้ใหม่ได้ สิ่ งที่พึงระวังในเรื่ องการบรรจุ คือ ฝาขวดแก้วจะต้องเลือกใช้ฝาที่ได้ ขนาด และต้องสามารถปิ ดได้สนิทแน่น เพื่อช่วยรักษาคุณภาพและยืดอายุของสิ นค้า โลหะ ในอุตสาหกรรมบรรจุภณั ฑ์อาหาร วัสดุโลหะที่ใช้มี 2 ชนิด คือ - เหล็กเคลือบดีบุก เป็ นบรรจุภณั ฑ์ที่แข็งแรงป้ องกันอันตรายจากสิ่ งแวดล้อมและสภาวะอากาศ การลงทุนในการผลิตไม่สูง นักและไม่สลับซับซ้อน สามารถใช้บรรจุอาหารได้ดี เนื่องจากสามารถปิ ดผนึกได้สนิทและฆ่าเชื้ อได้ดว้ ยความร้อน ในแง่ ของสิ่ งแวดล้อมสามารถแยกออกจากขยะได้ง่ายด้วยการใช้แม่เหล็ก


ำ กเบา อีกทั้งมีความแข็งแรงทนต่อการซึมผ่านของอากาศ - อะลูมิเนียม มักจะใช้ในรู ปเปลวอะลูมิเนียมหรื อกระป๋ อง มีน้าหนั ก๊าซ แสง และกลิ่นรสได้ดี ในรู ปของเปลวอะลูมิเนียมมักใช้เคลือบกับวัสดุอื่นซึ่ งให้ภาพลักษณ์ที่ดี เนื่องจากความเงาวับ ของอะลูมิเนียมและเป็ นตัวเหนี่ยวนำาความเย็นได้ดี 1.5 วิทยาการบรรจุภณั ฑ์ ในอดีตกาลผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมอาหารมักจะคิดว่าบรรจุภณั ฑ์เป็ นค่าใช้จ่าย ที่ไม่น่าจะเสี ย ดังนั้นการเลือกใช้บรรจุ ำ นเกณฑ์ตราบจนกระทัง่ ช่องทางการจัดจำาหน่ายในบ้านเราค่อยๆ เปลี่ยนโฉมมาเป็ นร้านค้า ภัณฑ์จึงมักจะเลือกราคาต่าเป็ แบบช่วยเหลือตนเอง เริ่ มจากซุปเปอร์มาร์เก็ตกลายเป็ นไฮเปอร์มาร์เก็ตในปัจจุบนั บรรจุภณั ฑ์ไม่ได้ทาำ หน้าที่เพียงห่อหุม้ สิ นค้าไว้เท่านั้น แต่ตอ้ งช่วยตะโกนบอกด้วยคำาบรรยายบนบรรจุภณั ฑ์ ณ จุดขาย ผูป้ ระกอบการจึงเริ ่ มตระหนักถึงความ สำาคัญของบรรจุภณั ฑ์ กอปรกับการเริ่ มมีหลักสู ตรทางด้านบรรจุภณั ฑ์ในระดับมหาวิทยาลัยและ อาชีวศึกษา ทำาให้บรรจุ ภัณฑ์ศาสตร์เริ่ มจะได้รับการยอมรับจากผูป้ ระกอบการมากขึ้นเรื่ อยๆ เทคโนโลยี ทางด้านบรรจุภณั ฑ์ประกอบด้วยศาสตร์และศิลป์ ในหลายๆ สาขา เริ ่ มจากวิทยาศาสตร์ วิศวกรรม วัสดุศาสตร์ การตลาด จิตวิทยา และการออกแบบ ความรู้ต่างๆ ในหลากหลายสาขาเหล่านี้ เปรี ยบเสมือนยาหม้อปรุ งขึ้นมาเพื่อพัฒนา วิทยาการ บรรจุภณั ฑ์อนั ประกอบด้วย การบรรจุใส่ การเก็บคงคลัง การจัดส่ ง การจัดจำาหน่ายด้วยบรรจุภณั ฑ์หลายประเภท และหลายขนาด ด้วยจุดประสงค์ที่จะตอบสนองความต้องการของผูบ้ ริ โภคเพื่อสร้างความประทับใจ ให้กลับมาซื ้ อใหม่ จากการที่วิทยาการบรรจุ ภัณฑ์ประกอบด้วยหลายๆ สาขาดังกล่าวมานี้ บุคลากรที่เข้ามารับผิดชอบงานทางด้านบรรจุภณั ฑ์ จึงอาจมีความรู้พ้ืนฐานต่าง สาขาขึ้นอยูก่ บั ขอบเขตของงานบรรจุภณั ฑ์ที่รับผิดชอบ สำาหรับนักศึกษาตามระบบทางด้าน วิทยาการบรรจุภณั ฑ์สามารถแบ่งได้เป็ น 2 สาขา คือ สาขาทางด้านเทคโนโลยี พื้นฐานความรู้ควรจะครอบคลุมถึงวิชาความรู้ทางด้านเคมี ฟิ สิกส์ จุลชีววิทยา คณิ ตศาสตร์ กลศาสตร์ และอิเล็คทรอนิคส์ ความรู้ต่างๆ เหล่านี้ มีความจำาเป็ นต่อการแก้ปัญหาทางด้านบรรจุภณั ฑ์ สาขา ทางศิลปะ จำาเป็ นต้องมีความรู้ทางด้านออกแบบกราฟฟิ กในเชิงพาณิชย์ (พาณิ ชย์ศิลป์ ) การตลาด จิตวิทยา และการ โฆษณา ความรู้พ้ืนฐานนี้มีบทบาทต่อการส่ งเสริ มการขายของบรรจุภณั ฑ์ ใน ประเทศไทยเริ่ มมีการเปิ ดหลักสู ตรความรู้ระดับปริ ญญาตรี ทางด้านนี้ มาประมาณ 10 ปี โดยภาควิชาเริ่ มแรกคือ ภาควิชา เทคโนโลยีการบรรจุ อยูภ่ ายใต้คณะอุตสาหกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยของรัฐอื่นๆ ที่มีการ เปิ ดสอนวิทยาการบรรจุภณั ฑ์ในระดับปริ ญญาตรี ได้แก่ มหาวิทยาลัยสงขลา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และในอนาคตอันใกล้ นี้คงเป็ นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ส่วนมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์กม็ ีโครงการขยายระดับการศึกษาสู งถึงขั้นปริ ญญา โท ในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า สถาบันการ ศึกษาดังกล่าวเหล่านี้ มักจะเน้นทางด้านเทคโนโลยี ส่วนทางด้านศิลปะนั้นยังไม่มีสถาบันการศึกษาใดๆ เปิ ด สอนวิชาทางด้านการออกแบบกราฟฟิ กโดยเฉพาะ การสอนการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ทางกราฟฟิ กมักจะสอนเพียงแต่ระดับ วิชา (Course) เช่น วิชาการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ภาควิชาออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เป็ นต้น นอก เหนือจากการศึกษาตามระบบแล้ว ยังมีการจัดการศึกษาต่อเนื่อง การสัมมนาและการฝึ กอบรม ซึ่งมีการจัดอยูต่ ลอดปี โดยมหาวิทยาลัยต่างๆ ดังกล่าวมาแล้ว ยังมีการจัดการโดยองค์กรต่างๆ เช่น สมาคมการบรรจุภณั ฑ์ไทย ศูนย์บรรจุหีบห่อ ไทย กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม กรมส่ งเสริ มการส่ งออก รายละเอียดได้รวบรวมไว้ในบทที่ 9 สำาหรับการศึกษาต่อเนื่องทางไปรษณี ย ์ สถาบันที่มีชื่อเสี ยงและมีมานานที่สุด ได้แก่ Pira International ของประเทศอังกฤษ (e-mail : publications@pira.co.uk) และยังมีของสถาบันบรรจุภณั ฑ์ Institute of Packaging (e-mail : trining@iop.co.uk)


สำาหรับในทวีปเอเชีย ได้แก่ Asian Packaging Federation ที่มอบให้ทาง Indian Institute of Packaging (e-mail : iip@bom3vsnl.net.in) เป็ นผูจ้ ดั การศึกษาต่อเนื่องทางไปรษณี ยส์ าำ หรับชาวเอเชีย สำาหรับ ผูท้ ี่สนใจวิทยาการทางด้านนี้ และต้องการทราบถึงวิวฒั นาการด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภณั ฑ์ สามารถติดตาม ได้จากงานแสดงสิ นค้าทางด้านบรรจุภณั ฑ์ที่มีอยู่ 2 งานในประเทศไทย คือ Pro-Pak Asia ซึ่งเน้นหนักไปทางด้าน กระบวนการผลิตอาหาร (Process) และบรรจุภณั ฑ์อาหาร ซึ่ งจะจัดประมาณกลางปี ของทุกปี ส่วนงานแสดงสิ นค้าอีกงาน หนึ่ง คือ Thai Pack Print ที่จดั ประมาณปลายปี ของทุกปี โดยเน้นในทางด้านการแปรรู ปบรรจุภณั ฑ์และเครื่ องจักรบรรจุ ภัณฑ์ ใน งานระดับสากล งานแสดงสิ นค้าเครื่ องจักรทางด้านบรรจุภณั ฑ์ที่ใหญ่ที่สุด คือ Interpack ของประเทศเยอรมันโดยจัดที่ เมือง Dusseldorf ทุกปี เว้นปี โดยจะมีในปี พ.ศ. 2542 ช่วงเดือนพฤษภาคม ในแถบเอเชียการแสดงเครื่ องจักรและวัสดุภณั ฑ์ ที่ได้รับความนิยมมากที่สุด คือ Tokyo Pack จัดโดยสถาบันบรรจุภณั ฑ์ญี่ปุ่น (Japan Packaging Institute) โดยจัดสลับปี เว้น ปี กับ Japan Pack ซึ่ งจัดโดยสมาคมผูผ้ ลิตเครื่ องจักรบรรจุภณั ฑ์ของญี่ปุ่น โดยงานทั้งสองจะจัดในช่วงต้นเดือนตุลาคมของ ทุกปี สลับกันคนละปี บทสรุ ป บรรจุ ภัณฑ์ได้กาำ เนิดขึ้นพร้อมกับการเกิดของมนุษย์ ตอนเริ่ มต้นบรรจุภณั ฑ์จะทำาหน้าที่เฉพาะเป็ นภาชนะรองรับอาหาร ำ ่ม และค่อยๆ วิวฒั นาการขึ้นเป็ นบรรจุภณั ฑ์เต็มรู ปแบบ ด้วยเหตุน้ี บรรจุภณั ฑ์จึงมีความสัมพันธ์กบั ประเพณี นิยม และน้าดื ของแต่ละชนชาติอย่าง ใกล้ชิด บรรจุภณั ฑ์ใหม่ๆ ที่เกิดจากความคิดริ เริ ่ มของมนุษย์ได้มีการพัฒนาสอดคล้องกับบรรจุภณั ฑ์ ธรรมชาติ ยกตัวอย่างเช่น ไข่ ถัว่ และกล้วย เป็ นต้น คุณลักษณะ ของบรรจุภณั ฑ์ประกอบด้วย การรวบรวมปริ มาณของผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อทำาการปกป้ องรักษาคุณภาพของ อาหารพร้อม ทั้งเอื้ออำานวยความสะดวกในการขนส่ ง ณ จุดขาย บรรจุภณั ฑ์จะทำาหน้าที่พนักงานขายใบ้ (Silent Salesman) ด้วยการสื่ อความหมายต่างๆ ที่พมิ พ์บนบรรจุภณั ฑ์ให้แก่เป้ าหมายซึ่ งอาจจะเป็ นผูซ้ ้ื อและหรื อผูบ้ ริ โภค อย่างไรก็ตาม คุณลักษณะของบรรจุภณั ฑ์ต่างๆ เหล่านี้ จะสัมฤทธิผลได้ต่อเมื่อมีตน้ ทุนเหมาะสมกับราคาของสิ นค้าซึ่ งแปรตาม ปริ มาณ การขายและตลาดที่จาำ หน่ายสิ นค้านั้นๆ ประเภทของ บรรจุภณั ฑ์อาจแบ่งตามเหตุผลในการออกแบบหรื อแบ่งตามวัสดุที่ใช้ผลิต เมื่อแบ่งตามเหตุผลในการออกแบบ ซึ่ งแยกเป็ นบรรจุภณั ฑ์ช้ นั ใน บรรจุภณั ฑ์ช้ นั ที่สอง และบรรจุภณั ฑ์ช้ นั ที่สามนั้น เป็ นการแยกตามวัตถุประสงค์ในการ ออกแบบที่แตกต่างกัน ส่วนการแยกตามวัสดุแบ่งเป็ น 4 ประเภท ได้แก่ เยือ่ และกระดาษ พลาสติก แก้ว และโลหะ วิทยาการบรรจุภณั ฑ์นบั เป็ นวิทยาการใหม่ในเมืองไทย ซึ่งประกอบความรู้ทางหลายด้านผสมกัน บรรจุภณั ฑ์เปรี ยบเสมือน บ้านที่คนเราอยู่ เมื่อวิศวโยธาร่ วมกับสถาปนิกช่วยการออกแบบบ้านให้คนเราอาศัย ผลิตภัณฑ์อาหารก็จาำ ต้องอาศัย วิศวกรรมบรรจุภณั ฑ์และนักออกแบบกราฟฟิ กออกแบบ บรรจุภณั ฑ์ให้ผลิตภัณฑ์อาหารอาศัยอยู่ การสร้างบ้านมีต้ังแต่การ สร้างบ้านไม้มุงหลังคาจาก ห้องแถว คฤหาสน์ คอนโดมิเนียมให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้ าหมายที่มีรายได้และมีชีวิตความเป็ น อยู่ ที่แตกต่างกัน การออกแบบบรรจุภณั ฑ์อาหารก็คล้ายคลึงกันมีท้ งั ซอง ถุง กล่อง กระป๋ อง ขวด ให้เลือกตามความเหมาะ สมของอาหารแต่ละประเภท สิ่ งที่แตกต่างกัน คือ บรรจุภณั ฑ์อาหารมีอายุขยั โดยปกติไม่เกิน 2 ปี และไม่มีโอกาสทำาการ ซ่อมแซมระหว่างการใช้งานเหมือนกับบ้านที่คนเราอยู่


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.