หลักสูตรท้องถิ่น

Page 1

1


2

คานา หนั ง สื อ อิ เ ลคทรอนิ ก ส์ ( E-BOOK ) เรื่ อ ง หลั ก สู ต รท้ อ งถิ่ น จั ด ทาขึ้ น เพื่ อ แนวทางการจั ด การ เรี ย นการสอน ซึ่ ง เป็ น วี ธี ก ารจั ด การเรี ย นการสอน อี ก วิ ธี ห นึ่ ง สามารถนาไปใช้ ใ ช้ ใ นการสอนได้ เ ป็ น อย่ า งดี ผู้ จั ด ทาหวั ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า หนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (E-BOOK)เล่ ม นี้ จะเป็ น ประโยชน์ และเป็ น แนวทางต่ อ การจั ด การเรี ย นการสอน ตลอดจนนาไปสู่ ก ารประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ ห้ เ หมาะสมกั บ ผู้ เ รี ย นต่ อ ไป

ญาณวรุ ต ม์ พรหมมา


3

สารบัญ เรื่ อ ง

หน้ า

ความหมายของหลักสูตรท้องถิ่น

2

หลักสูตรท้องถิ่น

8

ความเป็นมาของหลักสูตรท้องถิ่น

10

ความสาคัญของหลักสูตรท้องถิ่น

14

รูปแบบของหลักสูตรท้องถิ่น

21

แนวทางการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น

25

แหล่งอ้างอิง

27


4


2

ความหมายของหลักสูตรท้องถิน่

นักวิชาการและนักการศึกษา หลายท่านได้ให้ความหมายของหลักสูตรท้องถิ่นไว้ หลากหลาย ดังนี้ กรมวิชาการ (2545) กล่าวว่า หลักสูตรท้องถิ่น หมายถึง มวลประสบการณ์ที่จัด ขึ้นทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน


3

เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ ทักษะ เจตคติ และคุณภาพการดารงชีวิต โดย พยายามใช้ทรัพยากรในท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้บนพื้นฐานของสภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ของตนเอง ตลอดจนมี ส่วนร่วมในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ของชาติบ้านเมือง


4

ใจทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์ (2539) กล่าวว่า หลักสูตรระดับท้องถิ่น หมายถึง มวลประสบการณ์ที่ สถานศึกษาหรือหน่วยงานและบุคคลในท้องถิ่นจัด ให้แก่ผู้เรียนตามสภาพและความต้องการของท้องถิ่น นั้น ๆ


5

ประมวลสาระชุดวิชาการพัฒนาหลักสูตรและวิทย วิธีทางการสอน (มสธ.) (มปป.) ให้ความหมาย หลักสูตรท้องถิ่น หมายถึง เนื้อหาสาระและมวล ประสบการณ์ที่จัดให้กับผู้เรียนในท้องถิ่นที่หนึ่งที่ใด โดยเฉพาะ ถ้าพิจารณาขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตร ของหลักสูตรกลางและหลักสูตรท้องถิ่นจะพบว่ามี ขั้นตอนที่แตกต่างกันออกไปบ้าง หลักสูตรท้องถิ่น แบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ


6

1.หลักสูตรท้องถิ่นที่สร้างขึ้นเพื่อกลุ่มเป้าหมาย เฉพาะ เป็นหลักสูตรระยะสั้นเพื่อผู้เรียนในท้องถิ่น ทุกวัย ทุกระดับอายุ เช่น หลักสูตรจักสาน หลักสูตร การทาของชาร่วยจากเปลือกหอย เป็นต้น


7

2.หลักสูตรอีกประเภทหนึ่งเป็นหลักสูตรท้องถิ่น สาหรับเสริมหลักสูตรแกนกลางให้มีความสมบูรณ์ขึ้น หลักสูตรท้องถิ่นในลักษณะนี้จะใช้ร่วมกับหลักสูตร แกนกลาง โดยอาจจัดเป็นรายวิชาอิสระที่ให้เลือก เรียนหรือไม่อาจจัดเป็นรายวิชาแต่จัดเป็นกิจกรรม หรือประสบการณ์ที่ผู้สอนสามารถดัดแปลงเนื้อหาที่ กาหนดมาจากส่วนกลางมาประยุกต์โดยนาเอาสาระ ทรัพยากร เทคนิควิธีการท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ได้


8

หลักสูตรท้องถิน่ หลักสูตรท้องถิ่น คือ หลักสูตรที่ได้ คิดค้น ประยุกต์ มาจากสภาพแวดล้อม ชุมชน ทรัพยากร รวมทั้งบุคลากรและความสนใจ ความสามารถของ นักเรียน


9

กล่าวโดยสรุป

หลักสูตรท้องถิ่น คือ การจัดประสบการณ์การเรียนและเนื้อหาสาระให้กับ ผู้เรียนในท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งโดยเฉพาะ เพื่อให้ สอดคล้องกับสภาพชีวิตจริงทางสังคม วัฒนธรรมและ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนและของท้องถิ่น นั้นๆ


10

ความเป็นมาของหลักสูตรท้องถิ่น การจัดทาหลักสูตร ท้องถิ่น และจัดการเรียนรู้บูรณาการแบบองค์รวม (Integrated learning to the Unified Concept)

ในการจัดการศึกษา

หรือการจัดการเรียนรู้ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และ ปรับปรุง พ.ศ. 2545 ได้ กาหนดการปฏิรูปการเรียนรู้ไว้ในหมวด 4 ว่าด้วย แนวทางการจัดการศึกษา โดยเฉพาะมาตรา 22 : หลักการจัดการศึกษา มาตรา 23 : สาระการ เรียนรู้ มาตรา 24 :กระบวนการเรียนรู้ ซึง่ สะท้อน


11

ให้เห็นอย่างชัดเจนถึงการมีเป้าหมายที่จะพัฒนา ผู้เรียนอย่างเป็นองค์รวมโดยผ่านการบูรณาการ เรียนรู้ด้านต่าง ๆ อย่างสมดุล การเรียนรู้บูรณาการ แบบองค์รวมเป็นการจัดการเรียนรู้ที่เชื่อมโยง หลอม รวมเป้าหมายการเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้ สาระหรือ ประสบการณ์ ทั้งภายในกลุ่มสาระหรือระหว่างกลุ่ม สาระ อย่างกลมกลืน โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ที่ ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ และพัฒนาผู้เรียนเป็นองค์ รวม (ทุกด้าน) ซึ่งอาจเป็นการเรียนรู้ผ่านโครงงาน และการเรียนรู้วิถีชีวิตชุมชนที่สอดคล้องกับชีวิต จริง


12

นับตั้งแต่มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 เป็นกฎหมาย การศึกษาแห่งชาติฉบับแรกที่เป็นเสมือนธรรมนูญ การศึกษา ที่กาหนดกรอบแนวคิด ความมุ่งหมาย และหลักการ สิทธิหน้าที่ทางการศึกษา ระบบ การศึกษา แนวการจัดการศึกษา การบริหารและ การจัดการศึกษา มาตรฐานและการประกันคุณภาพ การศึกษา ครู คณาจารย์และ บุคลากร ทรัพยากรและการลงทุน เทคโนโลยีเพื่อ การศึกษาไว้ถึง 9 หมวด 78 มาตรา ที่ครอบคลุม การปฏิรูปการศึกษาไว้ครบทุกด้าน โดยเฉพาะใน หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา ตามความที่ปรากฏ ในมาตรา 27 กาหนดให้คณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐานกาหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐานเพื่อความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองที่ดีของ


13

ชาติ การดารงชีวิต และการประกอบอาชีพ ตลอดจน เพื่อการศึกษาต่อ ให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่ จัดทาสาระของหลักสูตรตามวัตถุประสงค์ในวรรค หนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อเป็น สมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และ ประเทศชาติ ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่ของสถานศึกษา โดยตรงที่จะต้องจัดทาหลักสูตรที่สอดคล้องกับสภาพ ปัญหาชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น


14

ความสาคัญของหลักสูตรท้องถิน่


15

ถึงแม้ว่าจะมีหลักสูตรแกนกลางหรือหลักสูตร แม่บทแล้ว แต่ยังต้องมีการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น ทั้งนี้มีเหตุผลและความจาเป็นดังต่อไปนี้คือ (ใจทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์ 2539:109-110)


16

หลักสูตรแกนกลางหรือหลักสูตร แม่บทได้กาหนดจุดหมายเนื้อหาสาระ และกิจกรรม อย่างกว้างๆ เพื่อให้ทุกคนได้เรียนรู้คล้ายคลึงกัน ทา ให้กระบวนการเรียนการสอนมุ่งเนื้อหาสาระและ ประสบการณ์ที่เป็นหลักการทั่วๆไปไม่สามารถ ประมวลรายละเอียดเกี่ยวกับสาระความรู้ตาม สภาพแวดล้อม สังคม เศษฐกิจ ปัญหาและความ ต้องการของท้องถิ่นในแต่ละแห่งได้ทั้งหมด จึงต้อง พัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นเพื่อตอบสนองความต้องการ ของท้องถิ่นให้มากที่สุด


17

การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทางด้าน เศรษฐกิจ การเมือง และด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีผลกระทบโดยตรงต่อทรรศนะและการ ดาเนินชีวิตของคนไทยทั้งในเมืองและชนบทจึงต้องมี หลักสูตรท้องถิ่นเพื่อปรับสภาพของผู้เรียนให้สามารถ รับกับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆดังกล่าวโดยเฉพาะ ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับภูมิลาเนาท้องถิ่นของตนเพื่อให้ ผู้เรียนสามารถนาความรู้และประสบการณ์ไปพัฒนา ตน ครอบครัว และท้องถิ่นตลอดจนดาเนินชีวิตอยู่ใน ท้องถิ่นของตนอย่างเป็นสุข


18

การเรียนรูท้ ี่ดีควรจะเรียนรุ้จากสิ่งที่ใกล้ตัวไป ยังสิ่งที่ไกลตัวเพราะเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียน สามารถดูดซับได้รวดเร็วกว่า ดังนั้นจึงควรมีหลักสูตร ท้องถิ่นเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ชีวิตจริงตามสภาพ เศรษฐกิจสังคมของท้องถิ่นตน แทนที่จะเรียนรู้เรื่อง ไกลตัว ซึ่งทาให้ผู้เรียนไม่รู้จักตนเอง ไม่รู้จักชีวิต ไม่ เข้าใจและไม่มีความรู้สึกที่ดีต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม รอบตัวเอง นอกจากนี้ การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นจะ ช่วยปลูกฝังให้ผู้เรียนมีความรักและความผูกพัน รวมทั้งภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตน


19

ทรัพยากรท้องถิ่นโดยเฉพาะภูมิปัญญา ท้องถิ่นหรือภูมิปัญญาชาวบ้านในชนบทของไทยมีอยุ่ มากมายและมีค่าบ่งบอกถึงความเจริญมาเป็น เวลานาน หลักสูตรแม่บทหรือหลักสูตรแกนกลางไม่ สามารถนาเอาทรัพยากรท้องถิ่นดังกล่าวมาใช้ ประโยชน์ได้ แต่หลักสูตรท้องถิ่นสามารถบูรณาการ เอาทรัพยากรท้องถิ่นและภูมิปัญญาชาวบ้านทั้งหลาย มาใช้ในการเรียนการสอน ไม่ว่าด้านอาชีพ หัตถกรรม เกษตรกรรม ดนตรี การแสดง วรรณกรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ซึ่งมีผลทาให้ ผู้เรียนได้รู้จักท้องถิ่นของตน เกิดความรักความผูกพัน กับท้องถิ่นของตน และสามารถใช้ทรัพยากรท้องถิ่น ในการประกอบอาชีพได้


20


21

รูปแบบของหลักสูตรท้องถิ่น


22

หลักสูตรท้องถิ่น มี 2 ลักษณะ คือ

เป็นหลักสูตรที่ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการ สร้างอย่างเท่าเทียมกับครู และนักวิชาการจาก ภายนอก เนื้อหาสาระ โครงสร้างการจัด เวลา การจัดการและการบริหารหลักสูตรเป็นไปตาม แนวคิดและหลักการทีชาวบ้านในท้องถิ่นให้ ความสาคัญ และเห็นว่าเป็นความจาเป็นที่สมาชิกของ ท้องถิ่นนั้นจะต้องเรียนรู้เพื่อความอยู่รอด ตลอดจน การพัฒนาที่ยั่งยืนของท้องถิ่นนั้น


23

โดยเฉพาะมีการบูรณาการวัฒนธรรมท้องถิ่น ความเป็นท้องถิ่น กระบวนการเรียนรู้ตามวิถีท้องถิ่น กับความสามารถในการนาเทคโนโลยีใหม่ๆมาใช้เพื่อ พัฒนาท้องถิ่นที่ยั่งยืน


24

ชาวบ้านที่ร่วมสร้างหลักสูตรมีส่วนร่วมในการ ประเมินนักเรียนเป็นหลักสูตรที่ชาวบ้านในชุมชน ท้องถิ่นรวมตัวกันเป็นเครือข่ายจากหลายๆ องค์กร ทั้งภาครัฐ เอกชนและกลุ่มธุรกิจเพื่อมุ่งสร้างความ เข้มแข็งให้กับชุมชน หรือแก้ปัญหาที่กาลังเกิดขึ้นใน ชุมชน เนื้อหาที่บรรจุในหลักสูตรเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับ ปัญญาชาวบ้านโดยตรง เป็นสิ่งที่ชาวบ้านให้ ความสาคัญ และเป็นสิ่งที่ชาวบ้านลงความเห็น ร่วมกันว่าสามารถช่วยให้ชุมชนพัฒนาตนเองได้โดยคง ความเป็นเอกลักษณ์ของตนไว้ ชาวบ้านจัดสรร งบประมาณทั้งหมดที่ใช้ในการพัฒนาและและ ดาเนินการเอง


25

แนวทางการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น

ในการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นอาจมี ขั้นตอนแตกต่างกันไปบ้างตามแนวความคิดของนัก การศึกษาและนักวิชาการ ดังนี้หลักสูตรการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2544 (2544) กล่าวใน ขั้นตอนการจัดหลักสูตรไว้ดังนี้ หลักสูตรการศึกษาขั้น พื้นฐานที่สถานศึกษานาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ใน สถานศึกษานั้นกาหนดโครงสร้างที่เป็นสาระการ เรียนรูจ้ านวนเวลาอย่างกว้างๆมาตรฐานการเรียนรู้ที่ แสดงคุณภาพผู้เรียนเมื่อเรียนจบ 12 ปี และเมื่อจบ


26

การเรียนรู้แต่ละช่วงชั้นของสาระการเรียนรู้แต่ละกลุ่ม สถานศึกษาต้องนาโครงสร้างดังกล่าวนี้ไปจัดทาเป็น หลักสูตรสถานศึกษาโดยคานึงถึงสภาพปัญหา ความ พร้อม เอกลักษณ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นและคุณลักษณะ อันพึงประสงค์


27

แหล่งอ้างอิง’ แหล่งสืบค้น : www.gotoknow.org/posts/164271 www.kroobannok.com/3731 panchalee.wordpress.com/2009/04/10/local_curric ulum/ ภาพประกอบ : www.autoinfo.co.th


28



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.