PAKRO OF LIFE

Page 1

PAKRO OF LIFE วั ฒ นธรรมแห่ ง สายน้ ำ ตามวิ ถ ี ป ากรอ



วัฒธรรมแห่งสายน้ำ ล้ ว นล้ ำ วิ ถ ี ช ี ว ิ ต เรี ย บง่ า ย มี ผ ื ม น้ ำ คู ่ เ คี ย งกาย หลอมรวมไว้ให้เป็นหนึงเดียว ”


PAKRO OF LIFE

วัฒนธรรมแห่งสายน้ำ ตามวิถีปากรอ

สารบัญ 01 ปากรอ รั ก ษ์ เ ลสาบ 03 บทสั ม ภาษณ์ 04 ภู ม ปั ญ ญา 06 ก่อนจะเป็นเพียงเสียงสดับขาน ของตำนานลุ่มน้ำทะเลสาบ

ป้าแดง สงละเอียด

12

22

08 สะพานปากรอ

สะพานสานสัมพันธ์

บ้ า นเรื อ นริ ม น้ ำ

ชุมชนปากรอ ลุ่มแม่น้ำทะเลสาบสงขลา

20

วั ด แหลมจาก

นมัสการ..พ่อท่านมหาลอย

วั ด บ่ อ หว้ า

สูนย์รวมวัฒนธรรมจิตใจ

24 วิถีชีวิต วิถีประมง ขุมทรัพย์แห่งสายน้ำ

26 ของฝาก...จากปากรอ

แวะซื้ออาหารทะเลสดๆ และผลิตภัณฑ์แปรูป ตลาดหัวสะพานปากรอ

04

22


20

06

24

08

26 12 03


“ สายน้ำหล่อเลี้ยง วิถีชีวิตเรียบง่าย หัวใจกลมเกลียว หลอมรวมเป็นหนึ่งเดียว คนกับสายน้ำ พึ่งพิงพึ่งอาศัยกัน ”


ปากรอ...

ยาณี นวลละออง

ลุม่ น้ำทะเลสาบสงขลาเป็นลุม่ น้ำแห่งเดียว ของประเทศไทย ที่มีระบบทะเลสาบ แบบลากูน (Lagoon) ขนาดใหญ่ เป็นแอ่งรองรับน้ำจืด (น้ำฝน น้ำจืดจากคลอง และน้ ำ หลากจากแผ่ น ดิ น )โดยมี น ้ ำ เค็ ม จาก ทะเลไหลเข้ามาผสมผสาน ปากรอ เป็นคลองเล็กๆ ที ่ อ ยู ่ บ ริ เ วณช่ ว งทะเลสาบสงขลาตอนกลาง ฝั่งทิศตะวันออกติดกับทะเลสาบสงขลาตอนล่าง และฝั่งทิศตะวันตกติดกับทะเลสาบสงขลาตอนบน ทำให้มีสภาพนิเวศน์ที่หลากหลาย ผู้คนส่วนใหญ่ ในชุมชนปากรอส่วนใหญ่ที่นี่มีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย และน่าสนใจ ปากรอเป็นหัวใจหลักของคนที่นี่ เป็นอูข่ า้ วอูน่ ำ้ เพราะคนส่วนใหญ่ทน่ี ม่ี อี าชีพประมง มีการเลี้ยงสัตว์น้ำ เป็นส่วนใหญ่ สัตว์น้ำที่นี่ ก็เรียกได้ว่าอุดมสมบูรณ์มาก และปากรอแต่เดิม มี ค วามรุ ่ ง เรื อ งเป็ น อย่ า งมากเพราะมี ก าร ขนส่งทางน้ำ มีเรือขนส่งสินค้าเข้ามามากมาย แต่เพราะเมื่อก่อนปากรอเป็นถิ่นที่มีโจนชุกชุม และถนนเริม่ มีการพัฒนาขึน้ สะดวกขึน้ มากกว่าเดิม ทำให้ ก ารขนส่ ง ทางน้ ำ เริ ่ ม ลดน้ อ ยลง และไม่ ม ี ห ลงเหลื อแล้ วในปั จจุ บ ั น

ในอดี ต คนปากรอจะใช้ เ ส้ น ทางการ สันจรทางน้ำเป็นหลัก จะทำอะไรหรือไปไหนที ก็จะใช้เรือหางยาวเป็นพาหนะ ทำให้บ้านเรือน ของผู้มีทิศทางของหน้าบ้านจะหันเข้าหาทะเลหมด และบ้ า นเรื อ นบางส่ ว นมี ก ารปลู ก สร้ า งลงมา ในทะเลด้ ว ย ภู ม ิ ป ั ญ ญาของคนรุ ่ น เก่ า ที ่ น ี ่ มี ม ากมายหลายอย่ า ง ทั ้ ง การสร้ า งเครื ่ อ งมื อ ดักจับสัตว์นำ้ การแปรรูปสัตว์นำ้ ให้เป็นผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ หรื อ แม้ ห ระทั ่ ง การสร้ า งบ้ า นเรื อ นริ ม ทะเล ที่ต้องเน้นความแข็งแรงทนทาน และความสะดวกในการใช้งาน ปากรอ นับเป็นวิถชี วี ติ ทีน่ า่ สนใจเป็นอย่างมาก เด็กรุ่นหลังสมัยนี้ก็หันหน้าเข้าสู่เมืองหลวงกันหมด วิถชี วี ติ ทีเ่ รียบง่ายนีเ้ ริม่ จะถูกกระแสนิยมเข้ามาบดบัง หากเราไม่ ถ ่ า ยทอดความสำคั ญ และไม่ ส ื บ สาน วิถีชุมชนหรือไม่นำเสนออกมาให้คนรุ่นใหม่ทราบ วิถีชุมชนเหล่านี้ก็อาจจะเลือนหายไปในไม่ช้า

1


“ รู้ รักษ์ หวงแหน ”


บ า ส ล เ ะ ท ์ ษ รัก บ า ส เ ง ย ี ส ง ย ี ส ด ล พ เ บ ั เ ะ ข า น ของตำนานลุ่มท ก ่ อ น จ ะ เ ป็น

ทะเลสาบสงขลาเป็นระบบนิเวศที่เคยมมีความอุดมสมบูรณ์ ด้วยทรัพยากรณ์ธรรมชาตินานาชนิดและเป็นหม้อข้าวหม้อน้ำ ของชุมชนท้องถิ่นรอบลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลามาช้านาน ตั้งแต่สมัย ปู่ของทวด พ่อของปู่ พ่อของพ่อ ทุกวันนี้ปริมาณสัตว์น้ำลดลง อย่างน่ากลัว การเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีอันเป็นผลจาก ความเจริญของมนุษย์ที่เป็นตัวเร่งอันสำคัญยิ่ง ต่อความเสื่อมโทรม ของทะเลสาบสงขลา ถึงเวลาแล้วที่จะต้องหันมาตระหนักถึงปัญหาอย่างจริงจัง ก่อนที่คนรุ่นต่อไป อาจจะได้ยินเพียงเสียงสดับขานของตำนานลุ่มทะเลสาบ

3


ป้าแดง สงละเอียด

PAKRO OF LIFE วัฒนธรรมแห่งสายน้ำ ตามวิถีปากรอ PAKRO OF LIFE : ทำไมถึงชื่อปากรอ ? ป้าแดง : ปากรอแต่เดิมจะมีเรือยนต์แล่นผ่าน เพราะที่นี่จะเป็นคลองเล็กๆ หรือจุดที่แคบที่สุดของทะเลสาบสงขลา เรือยนต์จึงเป็นจุดหยุดรอรับผู้คนก่อน ที่จะออกสู่ปากอ่าว PAKRO OF LIFE : เรือยนต์ ? ป้าแดง : เป็นเรือที่มาจากระโนดไปสงขลา จะขนคน คนสิ้นค้า หากจะไป ต้องเตรียมตัวให้ดี เพราะวันนึง จะมีแค่สองเที่ยว

PAKRO OF LIFE : ตอนนี้เรือยนต์หายไปใหน ? ป้าแดง : เดี่ยวนี้ถนนสะดวกขึ้น สิ่งไหนสะดวก คนก็หันไปหาสิ่งนั้น PAKRO OF LIFE : ถนนที่นี่เมื่อก่อนเป็นแบบไหน ? ป้าแดง : เมื่อก่อนมันไม่เรียกถนนนะ เค้าเรียกคันนา หากวันไหนฝนตก ต้องเดินอ้อมโคลนกันลำบาก PAKRO OF LIFE : แสดงว่าเรือสำคัญกว่ารถ ? ป้าแดง : ชาวบ้านที่นี่ทุกหลังต้องมีเรือ เดินทางไปไหนทางน้ำจะสะดวกว่า คนควนต้องมีรถคนเลต้องมีเรือ


PAKRO OF LIFE : คนปากรอมีอาชีพอะไรเป็นหลัก ? ป้าแดง : ประมง อยู่ใกล้น้ำใกล้เล ต้องทำประมง ทำกันมาตั้งแต่รุ่นปู่รุ่นย่าแล้ว PAKRO OF LIFE : อุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้ทำประมง ทำเองไหม ? ป้าแดง : ทำเองสิ ทุกบ้านเค้าก็ทำกันเอง แต่เดียวนี้ไม่ค่อยทำแล้ว ไม่มีคนสืบทอด ต้องไปซื้อเอาแทน PAKRO OF LIFE : แสดงว่าชาวปากรอที่ทำอาชีพ ประมงก็เริ่มน้อยลงด้วย ? ป้าแดง : ใช่ เดียวนี้คนเค้าก็หันหน้าหาเมืองกัน จะทนอยู่บ้านนอกให้ตัวดำทำไม เงินเดือนก็สูงกว่า PAKRO OF LIFE : เงินน้อยเพราะปลาเริ่มน้อย ด้วยหรือเปล่า ? ป้าแดง : มันก็ไม่แน่นอน แล้วแต่ช่วง ช่วงไหน ปูปลาเยอะชาวประมงใส่ทองกันเป็นแถบ แต่ถ้าช่วงไหนที่ไมค่อยมีปูปลาหนี้สินก็เยอะพอตัว สรุปแล้วไม่แน่นอน PAKRO OF LIFE : ทำอาชีพเสริมอะไรนอกจาก ประมงไหม ? ป้าแดง : มีเลี้ยงปลากะพงขาว แต่เดียวนี้เริ่มเลี้ยงน้อยลง เพราะราคาต่ำ ปลาจากมาเล เข้ามาตีตลาดมากขึ้น PAKRO OF LIFE : บ้านติดทะเลอากาศดีน่าอยู่ ป้าแดง :ใช่อากาศที่นี่ดีมาก จะมีลมจากทะเลพัดอยู่เรื่อย ๆ PAKRO OF LIFE : ทำไมหน้าบ้านบางหลังหันไปหาทะเล ป้าแดง : เดิมหน้าบ้านจะหันเข้าหาทะเลทุกหลัง พอถนนเริ่มมี บ้านที่ปลูกสร้างใหม่ก็เปลี่ยน หันหาถนน หันหาความเจริญ PAKRO OF LIFE : บ้านที่นี่ทำจากอะไร ? ป้าแดง : ส่วนใหญ่จะเป็นวัสดุที่หาเองตามธรรมชาติ เช่น ไม้เคี้ยม ไม่ตาลโตนด ไม้ตะเคียน ส่วนหลังคาส่วนใหญ่ก็จะมุงจาก แต่ถ้าบ้านใหน รวยหน่อยก็จะมุงด้วยกระเบื้องดินเผา ไปซื้อมาจากสะทิ้งหม้อ

PAKRO OF LIFE : วัสดุธรรมชาติทนเหรอ ? ป้าแดง : ทนสิ แต่ต้องมีภูมิปัญญารุ่นปู่รุ่นย่ามาช่วย เช่นหลังคาจาก เมื่อสานจากเป็นตับเสร็จ จะเอามาแช่น้ำ เพื่อกันพวกแมลงแล้วก็เพื่อ ความแข็งแรงทนทาน PAKRO OF LIFE : แถวนี้มีวัดมั้ย ? ป้าแดง : มีสองวัดติดทะเลหมด มีวัดแหลมจากกับวัดบ่อหว้า PAKRO OF LIFE : ที่นี่มีประเพณีอะไรแปลกๆ ไหม ? ป้าแดง : มีประเพณีรับเทียมดา เป็นการอันเชิญเทวดามาสถิต ที่ต้นไม้ใหญ่ เพื่อปกปักรักษาคนในหมู่บ้าน โดยจะมีการรับรับมาปีนึง พอครบปีก็เปลี่ยน เทวดาองค์ใหม่มาแทน PAKRO OF LIFE : คลองปากรอ มีการอนุรักษ์ จากหน่อยงานไหนบ้างไหม ? ป้าแดง : มีคนในชุมชนนี่แหละช่วยกันอนุรักษ์ PAKRO OF LIFE : อนุรักษ์แบบไหน ? ป้าแดง : โดยการปลูกฝังเรื่องการไม่ทิ้งขยะลงในน้ำ ไม่ปล่อยสารเคมีลงในน้ำ และการไม่จับสัตว์น้ำ ตัวเล็กหรือใชช่วงฤดูวางไข่ PAKRO OF LIFE : อยากฝากอะไรถึงคนรุ่นใหม่ไหม ? ป้าแดง : วิถีชีวิตคนของรุ่นก่อนอาจจะดูล้าสมัย แต่มันก็มีแฝงไปด้วยสิ่งต่าง ๆ เยอะแยะ ทั้งทางด้านคุณธรรมจริยธรรม การอยู่ร่วมกัน กับธรรมชาติ หากเราปล่อยให้สูนหาย หรือไม่ให้ความสำคัญ สักวันเทคโนโลยีจะเข้ามา บงการชีวิตและใช้ให้เราเป็นหุ่นเชิด

5


“ ภู ม ิ ป ั ญ ญาพยุ ง ตน ฝึ ก ฝนจนจำชำนาญ สืบทอดรุน่ ลูกหลาน สืบสาน รักษา อย่าละเลย ”


“ ภูมปิ ญั ญาเป็นความรูท้ ป่ี ระกอบไปด้วยคุณธรรม ซึง่ สอดคล้องกับวิถชี วี ติ แบบตั ้ ง เดิ ม ของชาวบ้ า นในวิ ถ ี ด ั ้ ง เดิ ม ของชุ ม ชนชาวปากรอ หากภูมปิ ญั ญาสอดคล้องกับชีวติ การทำมาหากิน การอยูร่ ว่ มกันในชุมชน การปฎิบตั ศิ าสนา พิธกี รรมและประเพณี ภูมปิ ญั ญาจะสร้างสัมพันธ์ทด่ี ี ระหว่าง คนกับคน คนกับธรรมชาติ และคนกับสิง่ เหนือธรรมช ให้มคี วามสมดุล ”

7


“ การจะปลู ก สร้ า งบ้ า นเรื อ นริ ม น้ ำ ไม่ใช่เรือ่ งง่ายเลย จำเป็นต้องศึกษาพืน้ ทีใ่ ห้ดี และต้องนำเอาภูมปิ ญ ั ญาของคนรุน่ ก่อน มาช่วยด้วย แต่บ้านจะน่าอยู่มากขึ้น หากคนในบ้ า นมี ค วามรั ก ให้ แ ก่ ก ั น ”


บ้านเรือนริมน้ำ ชุมชนปากรอ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา บ้านริมน้ำ เป็นบ้านทีห่ ลายๆ อาจจะเคยใฝ่ฝนั อยากจะมี เพราะบรรยากาศดี วิวสวย

แถมการได้สัมผัสวิถีธรรมชาติอย่างใกล้ชิต เป็นอะไรที่แสนจะมีความสุข ปากรอเป็นชุมชนที่มี ผู้คนนิยมปลูกบ้านเรือนริมน้ำ เพราะเนื้อที่ส่วนใหญ่จะติดกับน้ำ และเมื่อก่อนจะสัญจรทางน้ำ เป็นหลัก หน้าบ้านเกือบทุกหลังจะมีการหันหน้าไปหาน้ำ และการจะสร้างบ้านให้อยู่ริมน้ำได้ก็ ต้องมาการคิดที่รอบครอบก่อนจะสร้างทุกครั้ง เช่นการคำนวณปริมาณของน้ำขึ้น-น้ำลง เพราะหากสร้างแล้วน้ำท่วมบ่อยก็จะมีปญ ั หาตามมาในภายหลัง หรือแม้แต่การคำนวณทิศทาง ของลม เพื่อดูแรงลมว่าจะพัดแรงทำให้บ้านเรือนได้รับผลกระทบจากแรงลมนั้นหรือไม่ เป็นต้น บ้านเรือนที่นี่เดิมจะทำจากไม้เป็นส่วนใหญ่ หากบ้ า นหลั ง ใหนทำจากอิ ฐ จากปู น สั น นิ ฐ านได้ เ ลยว่ า บ้ า นนั ้ น รวยแน่ น อน และวัสดุที่ใช้ทำบ้านเรือนก็จะเน้นในเรื่อง ความแข็งแรง ทนทาน และหาได้ในระแวก เช่น ไม้ตาลโตนด ไม้ตะเคียน ไม้เคีย้ ม เป็นต้น ส่ ว นหลั ง คาก็ จ ะทำจากกระเบื ้ อ งดิ น เผา โดยจะซือ้ มาจากบ้านบางหม้อ อำเภอสิงหนคร หรือบางบ้านอาจมุงด้วยตับจาก โดยใบจาก

จะหาได้จากต้นจากในพื้นที่ นำเอามาสาน ให้ เ ป็ น ตั บ และมี ก ารนำเอาภู ม ิ ป ั ญ ญา ของคนรุน่ ก่อนๆ มาใช้ เช่นการนำเอาตับจาก มาแช่ น ้ ำ ก่ อ นนำเอามามุ ง เป็ น หลั ง คา เพื ่ อ ช่ ว ยให้ เ กิ ด ความแข็ ง แรง ทนทาน และช่วยป้องกันสัตว์ทม่ี ากัดแทะจำพวกมอด หรือปลวก เสาบ้านหากจะปลูกลงไปในน้ำ ก็จะมีการหล่อเสาปูนมารองลงไปในน้ำก่อน เพือ่ ป้องกันการกัดเซาะของน้ำกับเสาบ้านเรือน

9


...ทีห่ ลังบ้าน นอกชาน ลานกว้างใหญ่ ทอดยาวไป ใกล้ ช ิ ด ติ ด ชายฝั ่ ง เรือนานา แล่นผ่านมา พาเสียงดัง นั่งเอนหลัง เหยียดแข่งขา ท่าสบาย


...แดดอ่อนอ่อน ทาบเคียง ระเบียงบ้าน ลมพัดผ่าน คลื่นเป็นลอน ตอนสายสาย วูบวาบไหว ไหลเย็น เป็นประกาย ยามแสงฉาย มาต้ อ ง ท้ อ งนที

11


สะพาน กาญจนาภิ เ ษก ๒

หรือสะพานปากรอ สร้างขึ�นเมื�อพ.ศ. ���� เป็ น สะพานที � ใ ช้ ส ำหรั บ สั ญ จรไปมาทางบก โดยปลายสะพานทั�งสองจะพาดข้ามระหว่าง เขตอำเภอสิ ง หนครกั บ อำเภอควนเนี ย ง จังหวัดสงขลา ซึ�งเป็นสะพานที�ทอดข้ามอยู่ บนคลองปากรอ สะพานปากรอนอกจาก จะใช้ประโยชน์เพื�ออำนวยความสะดวกในการ สัญจรแล้วก็ยงั เป็นจุดเชือ� สายสัมพันธ์ของคนใน ครอบครัวและเป็นจุดผ่อนคลายของกลุ่มคน ที � ร ั ก ในการตกเบ็ ด จากทุ ก ทั � ว สาระทิ ศ มีตั�งแต่วัยผู้ใหญ่ วัยรุ่น หรือจนถึงวัยเด็ก ทีต� ามพ่อแม่มาสัมผัสบรรยากาศทีน� �ี โดยทุกวัน จะมีผู้ที�รักในการตกเบ็ดได้แวะเวียนเข้ามาที�นี� มากหน้าหลายตา บางคนก็มาหลายครัง� นับไม่ถว้ น เหตุเพราะว่าบรรยาการที�นี�ดี แถมยังได้นั�งมอง ชาวประมงหากุ ้ ง หาปลาในระยะใกล้ ๆ และหากช่ ว งใหนที � ม ี ป ลาเยอะคนก็ จ ะเย่ อ ะ ตามไปด้ ว ยเรี ย กได้ ว ่ า หากขั บ รถผ่ า นตรง สะพานปากรอ ก็จะเห็นราวสะพานสองข้างทาง แน่ น ขนั ด ไปด้ ว ยผู ้ ค นมากหน้ า หลายตา กันเลยทีเดียว


สะพานปากรอ์ สะพานสานสัมพันธ

ในตอนเย็นจะมีพระอาทิตย์ตก จุ ด ชมวิ ว ตรงสะพานปากรอก็ เ ป็ น อีกสถานทีห� นึง� ทีเ� รียกได้วา่ สวยไม่แพ้ทอ�ี น�ื แต่ เ พราะจั ง หวั ด สงขลามี ภ ู ม ิ ป ระเทศ ทีต� ดิ กับฝัง� ตะวันออก ตอนพระอาทิตย์ตก อาจจะไม่ลงน้ำเหมือนอย่างฝัง� ทิศตะวันตก เช่ น ในแถบจั ง หวั ด ภู เ ก็ ต แต่ ร ั บ รอง บรรยากาศพระอาทิตย์ตกทีน� ก� ี ถ็ อื ว่าสุดยอด

13



15



17


วัดแหลมจาก

นมัสการ...พ่อท่านมหาลอย


วัดแหลมจาก ต.ปากรอ อ.สิงหนคร จ.สงขลา

วั ด แหลมจาก เป็ น วั ด เก่ า แก่ ค ู ่ ค าบสมุ ท รสะทิ ้ ง พระ อี ก วั ด หนึ ่ ง ของจั ง หวั ด สงขลา เป็ น ศู น ย์ ร วมจิ ต ใจ ของชาวปากรอมาช้านาน ตามหลักฐานทางโบราณคดี สั น นิ ษ ฐานว่ า วั ด แห่ ง นี ้ ส ร้ า งมาตั ้ ง แต่ ส มั ย อยุ ธ ยา และถู ก ทิ ้ ง ให้ เ ป็ น วั ด ร้ า งก่ อ นที ่ จ ะมี ก ารบู ร ณะใหม่ พระที่มีชื่อเสียงของวัดแหลมจากและเป็นที่รู้จัก ของบรรดาเซี ย นพระภาคใต้ คื อ พ่ อ ท่ า นมหาลอย เจ้าอาวาสรูปแรกของวัดแหลมจาก ท่านเป็นพระที่มี ความชำนาญงานศิลป์ และเป็นผูส้ ร้างสถาปัตยกรรมต่างๆ ภายในวัดแห่งนี้มากมาย พ่อท่านมหาลอย เป็นพระที่ ชาวสิ ง หนคร และใกล้ เ คี ย งให้ ค วามเคารพนั บ ถื อ และแวะเวี ย นมาทำบุ ญ ที ่ ว ั ด แห่ ง นี ้ ไ ม่ ข าดสาย

วัดแหลมจาก ยังเป็นที่ประดิษฐานพระนอน ที ่ ไ ด้ ร ั บ การขึ ้ น ทะเบี ย นเป็ น โบราณสถานของชาติ มาตั ้ ง แต่ ป ี 2542 ด้ ว ยที ่ ต ั ้ ง ของวั ด แห่ ง นี ้ อ ยู ่ ร ิ ม ทะเลสาบสงขลา ทำให้บรรยากาศของวัดร่มรื่นเหมาะ แก่ ก ารมาทำบุ ญ และพั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจเป็ น อย่ า งยิ ่ ง

21


วัดบ่อหว้า

ศูนย์รวมวัฒธรรมจิตใจ

“ การรู้จักฏของธรรมชาติ การชิมรสของธรรมชาติ จนรูจ้ กั รักธรรมชาติ ล้วนแต่ชว่ ยให้เข้าใจธรรมมะได้โดยง่าย ” พุทธทาสภิกขุ

“วัดบ่อหว้า” เป็นวัดเล็กๆ อยู่ติด

ทะเลสาบสงขลา ทางทิ ศ ใต้ ตั ้ ง อยู ่ ท ี ่ ห มู ่ ท ี ่ 11 บ้ า นบ่ อ หว้ า อำเภอควนเนี ย ง จั ง หวั ด สงขลา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย สร้างขึ้นเป็นวัดนับแต่ พ.ศ.2364 สมั ย รั ช กาลที ่ ๒ พระบาทสมเด็ จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย แห่งกรุง รั ต นโกสิ น ทร์ ในอดี ต นิ ย มการสั ญ จรทางน้ ำ ด้ า นหลั ง ของวั ด จึ ง ติ ด กั บ ทะเลสาบสงขลา เพื่ออำนวยความสะดวกในการเดินทางมาทำบุญ และสั ก การบู ช าสิ ่ ง ต่ า งๆ ที ่ อ ยู ่ ภ ายในวั ด เพื ่ อ นเป็ น ที ่ ย ึ ด เหนี ่ ย วจิ ต ใจของผู ้ ค นในระแวก ใกล้เคียง โดยชุมชนแถวนี้จะประกอบ ไปด้วยชุมชนบ้านใต้ ชุมชนบ้านกลาง และชุมชนบ้านบ่อหว้า

สำหรั บ ชื ่ อ ที ่ ม าของวั ด “บ่ อ หว้ า ” ก็ ม าจากชื ่ อ ของชุ ม ชนที ่ ต ั ้ ง โดยเล่ า ต่ อ ๆ กันว่า แต่เดิมมีบ่อน้ำขนาดใหญ่ อยู ่ ใ กล้ ต ้ น หว้ า เป็ น บ่ อ น้ ำ จื ด ธรรมชาติ ที ่ ค นในชุ ม ชนใช้ ใ นการอุ ป โภคบริ โ ภค เรียกได้ว่าเป็นบ่อน้ำศูนย์กลางที่ สร้ า งคุ ณ ประโยชน์ ใ ห้ ก ั บ คนในชุ ม ชน ได้ ม ากเลยที เ ดี ย ว เพราะเนื ่ อ งด้ ว ยทำเล ที ่ ต ั ้ ง ชุ ม ชน ติ ด กั บ ทะเลการที ่ จ ะหาน้ ำ จื ด ไว้ อ ุ ป โภคบริ โ ภคนั ้ น ค่ อ นข้ า งจะหายาก บ่ อ แห่ ง นี ้ จ ึ ง เป็ น ที ่ ม าของชื ่ อ ชุ ม ชนบ่ อ หว้ า และเป็นที่มาของชื่อวัดนั่นเอง


23


“ประมง” อาชีพหลักดั่งเดิมของชาวปากรอ

เพราะเนื ่ อ งจากลั ก ษณะของที ่ อ ยู ่ อ าศั ย ติ ด กั บ ทะเล จึ ง มี ก าร หาเลี้ยงชีพโดยการจับสัตว์น้ำบริเวณคลองปากรอมากินเป็นอาหาร และนำมาขายเพื ่ อ เลี ้ ย งชี พ “ประมง” เป็ น อาชี พ ที ่ ส ื บ ทอดกั น มา รุ ่ น สู ่ ร ุ ่ น ก่ อ นที ่ จ ะค่ อ ย ๆลดเลื อ นไปที ล ะช้ า ๆ ด้ ว ยเหตุ เ พราะ สั ง คมปั จ จุ บ ั น มี ก ารหลงใหลในวั ต ถุ น ิ ย ม และเริ ่ ม หั น หลั ง ให้ ก ั บ ธรรมชาติ หั น หน้ า เข้ า หาเมื อ งหลวงกั น หมด ยั ง คงหลงเหลื อ แต่ คนรุ ่ น เก่ า ที ่ ย ั ง ใช้ ช ี ว ิ ต แบบเดิ ม ที ่ แ ฝงไปด้ ว ยความเรี ย บง่ า ย แต่ แ อบแฝงไปด้ ว ยวิ ถ ี ช ี ว ิ ต ที ่ น ่ า สนใจ


“ ไม่ ม ี เ งิ น ตรา ยั ง มี ป ลาให้ เ ราหา ใต้ น าวา เป็ น ขุ ม ทรั พ ย์ อ ั น มากมาย ให้เราได้ อิม่ กาย สบายท้อง อิม่ เอมสุข ”

วิ ถ ี ช ี ว ิ ต วิ ถ ี ป ระมง ขุ ม ทรั พ ย์ แ ห่ ง สายน้ ำ

25


ของฝาก...จากปากรอ แวะซื้ออาหารทะเลสดๆ

และผลิตภัณฑ์แปรูป ตลาดหัวสะพานปากรอ


ชาวปากรอทีน่ จ่ี ะมีอาชีพประมงเป็นหลัก และลักษณะของน้ำที่นี่จะแตกต่างจากที่อื่น นั่นคือลักษณ์ของน้ำที่เรียกว่า “น้ำกร่อย” หรื อ ชาวบ้ า นที ่ น ี ่ เ รี ย กว่ า น้ ำ สองดอง เพราะจะเป็ น น้ำ ที่มีการผสมระหว่า งน้ำ เค็ ม และน้ ำ จื ด สั ต ว์ ท ะเลของปากรอจึ ง ขึ ้ น ชื ่ อ เรียกได้ว่าอร่อยไม่แพ้ที่ใด ผลผลิตจากชาวประมงที่ได้มา ก ็ ส ่ ว น ใ ห ญ ่ แล้ ว ก็ จ ะนำมาขายหรื อ นำมา แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ตา่ ง ๆ ตลาดหัวสะพานปากรอ เป็นสถานทีร่ วบรวมผลผลิตทีช่ าวบ้านหามาได้ ไม่วา่ จะเป็นสัตว์นำ้ ตามฤดูกาลทีใ่ นแต่ละช่วงจะมี

ประเภทของสั ต ว์ แ ต่ ล ะชนิ ด ที ่ ม ากน้ อ ย แต่งต่างกันไป หรือจะเป็นสัตว์น้ำ ที่ชาวปากรอเลี้ยงไว้ประกอบอาชีพ เช่นปลากะพงขาว เป็นต้น และผลผลิตจาก การแปรรู ป สั ต ว์ ท ะเล ที ่ ช าวบ้ า นมี ก ารใช้ ภู ม ิ ป ั ญ ญาเข้ า มาช่ ว ยในการถนอมอาหาร เช่น การทำปลาแห้ง กุง้ ส้ม มันกุง้ หรือกะปิ เป็นต้น ตลาดทีน่ เ่ี ป็นตลาดทีอ่ ยูใ่ นชุมชน ราคาทีน่ ่ี จึงจะไม่จดั ว่าแพงมาก และของทะเลทีน่ ร่ี บั รองว่า สดแท้ แ น่ น อน เพราะพอชาวประมงขึ ้ น ฝั ่ ง ทางด้ า นพ่ อ ค้ า แม่ ค ้ า คนกลางก็ ร ั บ ซื ้ อ และนำมาขายยั ง ตลาดทั น ที ..เรียกได้วา่ “ซือ้ ของทะเลจาก ตลาด หัวสะพานปากรอรับรองไม่มผี ดิ หวัง”

27


“ ตะวันหลบลิ้มน้ำทำผลุบโผล่ ชายเมฆโย้ลมเย้าคราวเย็นค่ำ แสงทองทาบฉาบทั ่ ว ท้ อ งน้ ำ คลื่นร้องร่ำเพลงซนจนเริ่มชิน ”



สายน้ำ

วีถีชีวิต

HEART คน COMPLEMENTARY


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.