เครือข่ายคอมพิวเตอร์

Page 1

ระบบเครือ ข่า ย คอมพิว เตอร์ ( Computer Network )


ระบบเครือ ข่า ยคอมพิว เตอร์ค ือ อะไร ? คือ การเชือ ่ มต่อคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป เข้าด้วยกันด้วยสายเคเบิล หรือสือ ่ อืน ่ ๆ ทำาให้ คอมพิวเตอร์สามารถรับส่งข้อมูลแก่กน ั และกันได้ ในกรณีทเี่ ป็นการเชือ ่ มต่อระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์หลายๆ เครื่องเข้ากับเครื่อง คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทเี่ ป็นศูนย์กลาง เรา เรีย กคอมพิว เตอร์ท เี่ ป็น ศูน ย์ก ลางนี้ว ่า โฮสต์ (Host) และเรียกคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ เข้ามาเชือ ่ มต่อว่า ไคลเอนต์ (Client) ระบบเครือ


เราสามารถส่ง ข้อ มูล ภายในอาคาร หรือ ข้า มระหว่า ง เมือ งไปจนถึง อีก ซีก หนึ่ง ของโลก ซึ่งข้อมูลต่างๆ อาจเป็นทั้งข้อความ รูปภาพ เสียง ก่อให้เกิดความ สะดวก รวดเร็วแก่ผู้ใช้ ซึง่ ความสามารถเหล่านี้ทำาให้เครือข่าย คอมพิวเตอร์มค ี วามสำาคัญ และจำาเป็นต่อการใช้งานในแวดวง ต่างๆ


ทำา ไมต้อ งสร้า งระบบเครือ ข่า ยคอมพิว เตอร์ ? สื่อกลางที่ใช้ในการส่งข้อมูล ซึ่งทำาให้การแลก เปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดย สามารถใช้ทรัพยากร (Resource) ที่อยู่ในเครือข่าย ร่วมกันได้ ไม่ว่าจะเป็น เครื่องพิมพ์ แฟกซ์ สแกนเนอร์ ฮาร์ดดิส เป็นต้น ซึ่งจะทำาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายได้มาก นอกจากนี้ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ยังเป็นผลดีใน กรณีที่ต้องการสื่อสารข้อมูลในระยะทางไกล หรือเชือ ่ ม ต่อกับเครือข่ายที่อยู่ห่างไกล เช่น ระบบอินเตอร์เน็ต ทำาให้เราสามารถเชือ ่ มต่อและแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ ทั่วโลกโดยใช้เวลาเพียงน้อยนิด


จุด ประสงค์ห ลัก ๆ ในการสร้า งเครือ ข่า ยขึ้น มานั้น สรุป ได้ด ัง นี้ ▪ การแลกเปลี่ยนข้อมูลทีม ่ ป ี ระสิทธิภาพ

การแลกเปลี่ยนข้อมูลอย่างรวดเร็วและมี ประสิทธิภาพ ถือเป็นเหตุผลแรกเริ่มของการ สร้างระบบเครือข่าย ดังที่ได้กล่าวไปข้างต้น เนื่องจากในการทำางานนั้น ผู้ใช้นั้นมีการแลก เปลี่ยนข้อมูลกันอยู่เสมอ ดังนั้น หากการส่ง ข้อมูลนี้เร็วขึ้น สะดวกขึ้น งานต่างๆ ก็สามารถ คืบหน้าไปได้อย่างรวดเร็ว โดยการแลกเปลี่ยน


▪ การใช้ท รัพ ยากรร่ว มกัน

คือ การที่เครื่องใดๆ ที่อยู่ในเครือข่าย สามารถใช้ งานฮาร์ดแวร์ หรือ ซอฟท์แวร์ที่อยู่ในเครือข่ายร่วม กัน

การใช้ฮ าร์ด แวร์ร ่ว มกัน เช่น การแชร์ เครื่องพิมพ์ (Printer) โดยทุกเครื่องในเครือข่าย สามารถใช้งานเครื่องพิมพ์เครื่องนั้นได้โดยไม่ จำาเป็นต้องสลับกันใช้ เพียงเชื่อมต่ออยูก ่ ับเครือ ข่าย ก็สามารถใช้งานเครื่องพิมพ์ได้ การใช้ซ อฟท์แ วร์ร ่ว มกัน คือ ผู้ใช้ในเครือ


▪ ความประหยัด สิง่ ที่ตามมาอีกอย่างหนึง่ หลังจากทีส ่ ามารถ รับส่งข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว และใช้ ทรัพ ยากรร่ว มกัน ได้ ก็คอ ื การที่องค์กร สามารถประหยัดค่าใช้จ่ายได้เป็นอย่างมาก เช่น การแชร์เครื่องพิมพ์ทำาให้ไม่จำาเป็น ต้องซื้อเครื่องพิมพ์หลายเครื่อง การแชร์ ซอฟต์แวร์ทำาให้ไม่จำาเป็นต้องซื้อ ซอฟต์แวร์หลายชุด การแลกเปลีย ่ นข้อมูล


ชนิด ของสัญ ญาณข้อ มูล สัญญาณอนาล๊อก (Analog signal) คือ เป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง ที่มล ี ก ั ษณะเป็นคลืน ่ ไซน์(Sine Wave) โดยหน่วยวัดสัญญาณแบบนี้คอ ื เฮิรตซ์(Hertz) โดยมีลก ั ษณะสมบัติ 2 ประการคือ ความถี่ของคลืน ่ (Frequency) คือ จำานวนครั้งทีค ่ ลืน ่ ทวนซำ้าระหว่างช่วงเวลาที่กำาหนด หมายถึง จำานวน ครั้งทีค ่ ลืน ่ จะเสร็จสิน ้ หนึง่ รอบในหนึ่งวินาที ความถีท ่ ี่ ถูกเพิม ่ ขึ้นจะถูกแทนด้วย 1 ช่วงกว้างของคลืน ่ (Ampitude) คือ ความสูงของคลืน ่ ภายในคาบเวลาที่


สัญญาณดิจิตอล (Digital signal) คือ สัญญาณทีไ ่ ม่ตอ ่ เนือ ่ ง โดยรูปแบบของ สัญญาณมีความเปลีย ่ นแปลง ทีไ ่ ม่ปะติดปะ ต่อกัน อัตราการส่งข้อมูลมีหน่วยเป็น bps หรือ Bit Per Second


โมเด็ม (Modem) เป็นอุปกรณ์ที่ทำาหน้าทีแ ่ ปลง สัญญาณดิจิตอลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็น สัญญาณอนาล็อก ทิศทางของการส่งข้อมูล สามารถจำาแนกได้ 3 รูปแบบ ดังต่อไปนี้


ทิศ ทางการส่ง ข้อ มูล

จากผู้สง่ ไปยังผูร้ ับมีทิศทางการส่งข้อมูล (transmission mode) 3 รูป ▪ 1.การส่งข้อมูลทิศทางเดียว ▪

การสื่อสารข้อมูลทางเดียว (simplea transmission) เป็นการสือ ่ สารข้อมูลที่มีผู้สง่ ข้อมูลทำาหน้าที่ส่งแต่เพียงผู้เดียวและผู้รับทำา หน้าที่รับข้อมูลแต่เพียงอย่างเดียว ตลอดการ ทำาการสือ ่ สารข้อมูลกันผู้รับจะไม่มีการตอบกลับ มายังผูส ้ ่งเลย การสือ ่ สารข้อมูลในลักษณะนี้ เช่น การรับฟังวิทยุ การดูโทรทัศน์ การรับข้อมูล จากเพจเจอร์ เป็นต้น


2.การส่งข้อมูลสองทิศทางสลับกัน การสือ ่ สารข้อมูลโดยการส่งข้อมูลสอง ทิศทางสลับกัน (half-duplex transmission) เป็นการสื่อสารข้อมูลที่ผส ู้ ่งเเละผู้รับทำาหน้าที่ผลัด กันส่งและรับ โดยที่ระหว่างฝ่ายหนึ่งทำาหน้าทีส ่ ่ง อีกฝ่ายหนึ่งจะต้องรอให้ผู้สง่ ให้เสร็จก่อนถึงจะ สามารถส่งกลับได้ นั่นคือ ณ ขณะใดขณะหนึ่ง จะ มีผส ู้ ่งเพียงฝ่ายเดียวเท่านั้น ไม่สามารถส่งโต้ตอบ กันได้ในเวลาเดียวกัน จึงเป็นการผลัดการส่งและ รับข้อมูล เช่น การใช้วิทยุสอ ื่ สาร เป็นต้น


3.การส่งข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน การสือ ่ สารข้อมูลโดยการส่งข้อมูล สองทิศทางพร้อมกัน (full-duplex transmission) เป็นการสือ ่ สารข้อมูลทีท ่ งั้ ผู้ ส่งและผู้รับสามารถเป็นผู้สง่ และผู้รับพร้อม กันได้ในเวลาเดียวกัน นั่นคือ ระหว่างอีก ฝ่ายหนึง่ ทำาการส่งข้อมูลอยู่ อีกฝ่ายหนึง่ ก็ สามารถส่งข้อมูลตอบกลับมาได้เลยโดย ไม่ ต้องรอให้สง่ ข้อมูลหมดก่อน เช่น การคุย


องค์ป ระกอบของเครือ ข่า ย คอมพิว เตอร์? การที่ค อมพิว เตอร์ 2 เครื่อ งจะเชื่อ มต่อ กัน เป็น ระบบเครือ ข่า ยได้ น น ้ ั ต้ อ งมี อ งค์ - คอมพิวเตอร์อย่างน้อย 2 ประกอบพื้น ฐานดัง นี้ เครื่อง

- Network Interface Card (NIC) หรือเน็ตเวิร์คการ์ด - สือ ่ กลางและอุปกรณ์ สำาหรับการรับส่งข้อมูล - โปรโตคอล (Protocol) เป็น ภาษาที่ใช้สำาหรับการสือ ่ สาร


ระบบปฏิบ ัต ิก ารเครือ ข่า ย หรือ

NOS (Network Operating System) ระบบปฏิบัติการเครือข่ายทีค ่ อยจัดการการ ใช้งานเครือข่ายของผู้ใช้งานแต่ละคน หรือควบคุมการใช้ทรัพยากรต่างๆ เช่น windows server2003


1. เน็ต เวิร ์ค การ์ด เป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ และ ระบบเครือข่าย ส่วนใหญ่จะเรียกว่า “NIC (Network Interface Card)” หรือบางทีก็เรียกว่า “LAN การ์ด (LAN Card)” อุปกรณ์เหล่านี้จะ ทำาการแปลงข้อมูลเป็นสัญญาณที่สามารถส่งไป ตามสายสัญญาณหรือสือ ่ แบบอื่นได้ ปัจจุบันนี้ ก็ได้มีการแบ่งการ์ดออกเป็นหลายประเภท ซึง่ จะ ถูกออกแบบให้สามารถใช้ได้กับเครือข่ายประเภท แบบต่าง ๆ เช่น อีเธอร์เน็ตการ์ด โทเคนริ งการ์ด เป็นต้น การ์ดในแต่ละประเภทอาจใช้กับ


2.สายสัญ ญาณ ปัจจุบันมีสายสัญญาณที่ใช้ เป็นมาตรฐานในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อยู่3 ประเภท 1.สายคู่บด ิ เกลียว ( twisted pair ) ใน แต่ละคู่ของสายทองแดงซึ่งจะถูกพันกันตาม มาตรฐาน เพือ ่ ต้องการลดการรบกวนจาก คลืน ่ แม่เหล็กไฟฟ้ากับคู่สายข้างเคียงได้แล้ว ผ่านไปยังสายเคเบิลเดียวกัน หรือจากภายนอก เท่านั้น เนือ ่ งจากสายคูบ ่ ิดเกลียวนัน ้ มีราคาไม่ แพงมากใช้ส่งข้อมูลได้ดี แล้วนำ้าหนักเบา ง่าย


- สายคู่บด ิ เกลียวชนิดหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) ที่หุ้มด้วยฉนวนชัน ้ นอกที่ หนาอีกชั้นเพื่อป้องกันการรบกวนของ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

- สายคู่เกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน (Unshielded Twisted Pair : UTP) ทำาให้สะดวกในการโค้ง งอ แต่ก็สามารถป้องกันการรบกวนของ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อยกว่าชนิดแรก


2.สายโคแอกเชียล เป็นตัวกลางการเชื่อมโยงที่มีลักษณะเช่นเดียวกับ สายทีวีที่มีการใช้งานกันอยู่เป็นจำานวนมากไม่ว่าจะใช้ ในระบบเครือข่ายเฉพาะที่ และใช้ในการส่งข้อมูลระยะ ที่ไกลระหว่างชุมสายโทรศัพท์หรือการส่งข้อมูลสัญญาณ วีดีทัศน์ ซึ่งสายโคแอกเชียลทีใ ่ ช้ทั่วไปก็มีอยู่ 2 ชนิด คือ 50 โอห์ม ซึง่ ใช้ส่งข้อมูลแบบดิจิทอล และชนิด 75โอห์ม ซึ่งก็จะใช้ส่งข้อมูลสัญญาณอนาล็อก สายโค แอกเชียลมีฉนวนหุ้มเพือ ่ ป้องกันการรบกวนของคลื่น สัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้า และก็เพื่อป้องกันสัญญาณ รบกวนอื่น ๆ ซึ่งก็เป็นส่วนหนึ่งที่ทำาให้สายแบบนี้มีช่วง


3 .เส้นใยแก้วนำาแสง

เส้นใยนำาแสง ( fiber optic ) เป็นการที่ใช้ให้แสง เคลื่อนที่ไปในท่อแก้ว ซึ่ง สามารถส่งข้อมูลด้วยเป็น อัตราความหนาแน่นของ สัญญาณข้อมูลที่สูงมาก ที่ ปัจจุบันถ้าใช้เส้นใยนำาแสงกับ ระบบอีเธอร์เน็ตก็ใช้ได้ด้วย


3 อุป กรณ์เ ครือ ข่า ย ▪ อุปกรณ์ทน ี่ ำามาใช้ในเครือข่ายทำาหน้าที่ จัดการเกีย ่ วกับการรับ- ส่งข้อมูลในเครือ ข่าย หรือใช้สำาหรับทวนสัญญาณเพื่อ ให้การรับ-ส่งข้อมูลได้ดี และส่งในระยะที่ ไกลมากขึ้น หรือใช้สำาหรับขยายเครือ ข่ายให้มีขนาดใหญ่ขึ้น อุปกรณ์เครือข่ายที่ พบเห็นโดยทัว ่ ไป เช่น ฮับ สวิตซ์ เราท์เตอร์


ฮับ (HUB) คืออุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมกันระหว่างกลุ่มของ คอมพิวเตอร์ มีหน้าที่รับส่งเฟรมข้อมูลทุกเฟรมที่ได้รับจาก พอร์ตใดพอร์ตหนึ่งเพือ ่ ส่งไปยังทุก ๆ พอร์ตที่เหลือ

สวิตซ์ (Switch) หรือ บริดจ์ (Bridge) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ สำาหรับเชื่อมต่อ LAN สองเครือข่ายเข้าด้วยกัน โดยจะต้อง เป็น LAN ชนิดเดียวกัน และก็ใช้โปรโตคอลในการรับส่ง ข้อมูลเหมือนกัน


เราท์เตอร์ ( Routing ) เป็นอุปกรณ์ที่ทำาหน้าทีเ่ ชื่อมต่อ ในระบบเครือข่ายกับหลายระบบเข้าด้วยกันที่คล้ายกับ บริดจ์ แต่มส ี ่วนการทำางานจะซับซ้อนมากกว่าบริดจ์ มาก โดยเราท์เตอร์ก็มีเส้นทางการเชื่อมโยงข้อมูล ระหว่างแต่ละเครือข่ายเก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียก ว่า Routing Table ทำาให้เราท์เตอร์สามารถทำาหน้าที่ จัดหาเส้นทางและเลือกเส้นทางเหมาะสมทีส ่ ุดเพื่อใช้ เดินทางและเพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมี ประสิทธิภาพ


องค์ป ระกอบพืน ้ ฐานในการ สื่อ สารข้อ มูล 1. ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล (Sender) เป็นแหล่งต้นทางของการ สื่อสาร เช่น ผูพ ้ ูด 2. ผูร้ ับหรืออุปกรณ์รับ ข้อมูล (Receiver) เป็นแหล่งปลาย ทางของการสือ ่ สาร เช่น ผู้รับ เครื่องพิมพ์ 3. ข่าวสาร (Massage) เป็นตัวเนื้อหา ของข้อมูล ซึ่งมีได้หลายรูปแบบดังนี้ ข้อความ (Text) เสียง (Voice)


ประเภทของเครือ ข่า ย คอมพิว เตอร์ ▪ LAN (Local Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น เครือข่ายที่ใช้งานอยู่ในบริเวณ ที่ไม่กว้างนัก อาจใช้อยู่ภายใน อาคารเดียวกันหรือใกล้กัน ▪ MAN (Metropolitan Area Network) : ระบบเครือข่าย ระดับเมือง เป็นระบบเครือข่าย ที่ใช้ภายในเมืองหรือจังหวัด เท่านั้น


ลัก ษณะการ ทำา งาน

การทำาหน้าทีข ่ องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องของ ระบบเน็ตเวิร์คเป็นสำาคัญ อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ


1.Peer to Peer Network

เป็นลักษณะของกลุ่ม

คอมพิวเตอร์ที่คอมพิวเตอร์ทุก เครื่องมีสิทธิ์เท่าเทียมกันหมด (Peer) ไม่มีเครื่องไหนทำาหน้าที่ เป็นศูนย์กลางของเน็ตเวิร์ค เครื่องทุกเครื่องเป็นทั้งผู้ใช้ และ ผู้ถูกใช้ สามารถเป็นได้ทั้ง Client และ Server ไม่มีเครื่อง


2.เครือ ข่า ยแบบ Client/Server สำาหรับเครือข่าย LAN ที่ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์จำานวน มากกว่า 10 เครื่องขึ้นไปนั้น จำาเป็นต้องมีระบบจัดการ บริการ การใช้งานในเครือ ข่าย โดยมีคอมพิวเตอร์หลัก เครื่องหนึ่งทำาหน้าที่เป็น ศูนย์กลางของเครือข่างเรียก


ข่า ย (Network Topology) การเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ เข้าเป็นเครือข่ายแต่ละเครือข่าย จะมี รูปแบบที่แตกต่างกัน เราเรียกว่า โท โปโลยี (Topology) หมายถึง รูป แบบของการเชื่อมต่อเครือข่าย พิจารณาจากการลากเส้นมาเชื่อมต่อ กันเกิดเป็นรูปร่างต่างๆ


1. Bus

Topology

เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องบนสาย สัญญาณหลักเส้นเดียว ที่เรียกว่า BUS ทีปลายทั้งสอง ด้านปิดด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่า Teminator ไม่มี คอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งเป็นศูนย์กลางในการ เชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์เครื่องใดหยุดทำางาน ก็ไม่มผ ี ลกับ คอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ในเครือข่าย ▪(Terminator) ทำาหน้าที่ดูดกลืนสัญญาณเพื่อป้องกันไม่ให้ สัญญาณข้อมูลนั้นสะท้อนกลับมายังบัสอีก เป็นการป้องกัน การชนกันของสัญญาณข้อมูลอื่นๆที่เดินทางอยู่บนบัส


ข้อ ดี ของการเชื่อ แบบบัส คือ

-สามารถติดตั้งได้งา่ ย เนือ ่ งจากเป็นโครงสร้างเครือข่ายที่ ไม่ซับซ้อน -การเดินสายเพื่อต่อใช้งาน สามารถทำาได้งา่ ย -ประหยัดค่าใช้จ่าย กล่าวคือ ใช้สายส่งข้อมูลน้อยกว่า เนื่องจากสามารถเชื่อมต่อกับสายหลักได้ทันที -ง่ายต่อการเพิ่มสถานีใหม่เข้าไปในระบบ โดยสถานีนี้ สามารถใช้สายส่งข้อมูลที่มอ ี ยู่แล้วได้ ข้อ เสีย ของการเชื่อแบบบัส คือ 1. ถ้ามีสายเส้นใดเส้นหนึ่งหลุดไปจากสถานีใดสถานี


2. เครือข่ายแบบวงแหวน

(Ring Topology)

เป็นการเชื่อมต่ออุปกรณ์ตา่ งๆ เข้า กันเป็นวงกลม ข้อมูลข่าวสารจะถูกส่ง จากโหนดหนึ่งไปยังอีกโหนดหนึ่ง วน อยูใ ่ นเครือข่ายไปใน ทิศทางเดียว เหมือนวงแหวน (ในระบบเครือข่ายรูป วงแหวนบาง ระบบสามารถส่งข้อมูลได้ สองทิศทาง) ในแต่ละโหนดหรือสถานี จะมีรีพีตเตอร์ประจำาโหนด 1 ตัว ซึ่งจะ ทำาหน้าที่เพิ่มเติมข่าวสารที่จำาเป็นต่อ การสื่อสาร ในส่วนหัวของแพ็กเกจ ข้อมูล สำาหรับการส่งข้อมูลออกจาก


ข้อ ดีของโทโปโลยีร ูป วงแหวน 1. การส่งข้อมูลสามารถส่งไปยังผู้รับหลาย ๆ โหนด พร้อมกันได้ โดยกำาหนดตำาแหน่งปลายทางเหล่านั้นลง ในส่วนหัว ของแพ็กเกจข้อมูลรีพต ี เตอร์ของแต่ละโหนด จะตรวจสอบเองว่ามีข้อมูลส่งมาให้ที่โหนดตนเองหรือไม่ 2. การส่งข้อมูลเป็นไปในทิศทางเดียวกัน จึงไม่มีการชน กันของสัญญาณข้อมูล

ข้อ เสีย ของโทโปโลยีร ป ู วงแหวน 1. ถ้ามีโหนดใดโหนดหนึ่งเกิดเสียหาย ข้อมูลจะไม่


3.โครงสร้า งเครือ ข่า ยแบบ ดาว(Star Network) เป็นการเชื่อมต่อสถานีหรือจุดต่าง ๆ ออกจาก คอมพิวเตอร์ศูนย์กลางหรือคอมพิวเตอร์แม่ข่ายที่ เรียกว่า File Server แต่ละสถานีจะมีสาย สัญญาณเชื่อมต่อกับศูนย์กลาง ไม่มก ี ารใช้สาย สัญญาณร่วมกัน เมื่อสถานีใดเกิดความเสียหายจะ ไม่มผ ี ลกระทบกับสถานีอื่น ๆ ปัจจุบันนิยมใช้ อุปกรณ์ HUB ฮับ เป็นอุปกรณ์ที่รวมสัญญาณที่มา จากอุปกรณ์รับส่งหลายๆ สถานี เข้าด้วยกัน ฮับ เปรียบเสมือนเป็นบัสที่รวมอยู่ที่จุดเดียวกัน



ข้อ ดีของการเชื่อ มแบบดาว คือ ง่ายต่อการใช้บริการ เพราะมีศน ู ย์กลางอยูท ่ ค ี่ อมพิวเตอร์แม่ข่ายอยูเ่ ครื่องเดียว และเมือ ่ เกิดความเสียหายทีค ่ อมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่อง หนึ่ง คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นก็จะไม่มผ ี ลกระทบอันใด เพราะใช้สายคนละเส้น ข้อ เสีย ของการเชือ ่ มแบบดาว คือ ต้องใช้สาย สัญญาณจำานวนมาก เพราะแต่ละสถานีมส ี ายสัญญาณ ของตนเองเชื่อมต่อกับศูนย์กลางจึงเหมาะสมกับเครือข่าย ระยะใกล้มาก กว่าการเชื่อมต่อเครือข่ายระยะไกล การ


4.แบบต้น ไม้ (Tree Topology) มี ลักษณะเชือ ่ มโยงคล้ายกับโครงสร้างแบบ ดาวแต่จะมีโครงสร้างแบบต้นไม้ โดยมีสาย นำาสัญญาณแยกออกไปเป็นแบบกิ่งไม่เป็นวง รอบ โครงสร้างแบบนีจ ้ ะเหมาะกับการ ประมวลผลแบบกลุม ่ จะประกอบด้วยเครื่อง คอมพิวเตอร์ระดับต่างๆกันอยู่หลายเครื่อง แล้วต่อกันเป็นชัน ้ ๆ ดูราวกับแผนภาพ องค์กร แต่ละกลุม ่ จะมีโหนดแม่ละโหนดลูก ในกลุม ่ นัน ้ ที่มก ี ารสัมพันธ์กน ั การสือ ่ สาร


ข้อ ดี - การติดตั้งเครือข่ายและการดูแลรักษา ทำา ได้ง่าย หากมีเครื่องใดเกิดความเสียหาย ก็ สามารถตรวจสอบได้ง่าย และศูนย์ กลาง สามารถตัดเครื่องที่เสียหายนัน ้ ออกจากการ สือ ่ สาร ในเครือข่ายได้เลย โดยไม่มีผลกระทบ กับระบบเครือข่าย - เปลี่ยนรูปแบบการวางสายได้ง่าย สามารถเพิ่ม node ได้ง่าย

-

- ตรวจสอบจุดที่เป็นปัญหาได้ง่าย ข้อ เสีย - เสียค่าใช้จ่ายมาก ทั้งในด้านของ เครื่องที่จะใช้เป็น เครื่องศูนย์กลาง หรือตัว HUB เอง และค่าใช้จ่ายในการติดตั้งสาย


5. โทโพโลยีแ บบผสม (Hybrid Topology) โทโพโลยีแบบผสม (Hybrid Topology) เป็นรูปแบบใหม่ ที่เกิดจากการผสมผสานกัน ของโทโปโลยีแบบ STAR , BUS , RING เข้า ด้วยกัน เพื่อเป็นการลดข้อเสียของรูปแบบที่ กล่าวมา และเพิ่มข้อดี ขึ้นมา มักจะนำามาใช้กับ ระบบ WAN (Wide Area Network) มาก ซึ่ง การเชื่อมต่อกันของแต่ละรูปแบบนัน ้ ต้องใช้ตัว



▪ ข้อดี 1.รองรับการทำางานของอุปกรณ์จากผู้ ผลิตที่แตกต่าง 2.นำาส่วนดีของโทโพโลยีต่างๆ มาใช้ ▪ ข้อเสีย 1.มีค่าใช้จ่ายสูง 2.เครือข่ายมีความซับซ้อน


แบบตาข่า ย (Mesh Topology) รูปแบบเครือข่ายแบบนี้ ปกติใช้ในระบบเครือ ข่ายบริเวณกว้าง (Wide Area Network) ลักษณะ การสือ ่ สารจะมีการต่อสายหรือการเดินของข้อมูล ระหว่างคอมพิวเตอร์หรือโหนดไปยังโหนดอื่น ๆ ทุก ๆ ตัว ทำาให้มท ี างเดินข้อมูลหลายเส้นและปลอดภัย จากเหตุการณ์ที่จะเกิดจากการล้มเหลวของระบบ แต่ระบบนีจ ้ ะมีคา่ ใช้จ่ายมากกว่าระบบอื่น ๆ เพราะ ต้องใช้สายสือ ่ สารเป็นจำานวนมาก


ข้อ ดี ในกรณีสายเคเบิล ้ บางสาย ชำารุด เครือข่ายทั้งหมดยัง สมารถใช้ได้ ทำาให้ระบบมี เสถียรภาพสูง นิยมใช้กับ เครือข่ายที่ต้องการ เสถียรภาพสูง และเครือข่าย ที่มค ี วามสำาคัญ ข้อ เสีย สิน ้ เปลืองค่าใช้จ่าย และ


ประโยชน์ข องระบบเครือ ข่า ยคอมพิว เตอร์ 1.การใช้อุปกรณ์ร่วมกัน ผูใ ้ ช้ สามารถใช้อป ุ กรณ์ รอบข้างทีต ่ ่อพ่วงกับระบบคอมพิวเตอร์ ร่วมกันได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เช่นเครื่องพิมพ์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดี รอม สแกนเนอร์ เป็นต้น 2.การใช้โปรแกรมและข้อมูลร่วมกันได้ การเชือ ่ มต่อ คอมพิวเตอร์เป็นเครือข่าย ทัง้ ประเภทเครือข่าย LAN , MAN และ WAN ทำาให้คอมพิวเตอร์ สามารถสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลระยะไกลได้ โดย ใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ทางด้านการติดต่อสื่อสาร 3.ความประหยัด ตัวอย่างเช่นในสำานักงานแห่งหนึ่งมี


4. สามารถประยุก ต์ใ ช้ใ นงานด้า นธุร กิจ ได้ องค์กรธุรกิจทีม ่ ก ี ารเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ กับ ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพือ ่ ประโยชน์ทางธุรกิจ เช่น เครือข่ายของธุรกิจธนาคาร ธุรกิจการบิน ธุรกิจ ประกันภัย ธุรกิจการท่องเทีย ่ ว เป็นต้น 5. ความเชือ ่ ถือ ได้ข องระบบงาน นับเป็นสิง่ ที่ สำาคัญสำาหรับการดำาเนินธุรกิจ ถ้าทำางานได้เร็วแต่ขาด ความน่าเชือ ่ ถือก็ถอ ื ว่า ไม่มีประสิทธิภาพ ดังนัน ้ เมื่อนำา


เว็บไซด์อา้ งอิง ประโยชน์ข องระบบเครือ ข่า ย คอมพิว เตอร์ (ออนไลน์). (2554). สืบค้นจาก : http://www.thaigoodview.com/node/93594 [1 กุมภาพันธ์ 2557] Topology (ออนไลน์). (2552). สืบค้นจาก :


ชิก กลุม ่

นางสาวฐิตาพร ทัด 554111001 นายสุวิทย์ มณีฉาย 554111024 นายณัฐกฤตา โต้เคีย 554111028 นายประเสริฐ เจติยวรรณ วิท ยาลัย ราชภัฏ หมู่บ ้า นจอมบึง 554111034 ▪คบ.2 สาขาศิล ปศึก ษา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.