ชื่อหนังสือ : ผู้แต่ง : พิมพ์ครั้งที่ : ปีที่แต่ง : จำนวนพิมพ์ : จำนวนหน้า : ภาพวาดประกอบ : ISBN :
ASEAN Mini Book กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ 3 เดือนมิถุนายน 2556 10,000 เล่ม 144 อาจารย์ ทวีพงษ์ ลิมมากร เจษฎา ฤดีนิรมาน 978-974-7709-99-5
จัดพิมพ์และเผยแพร่ : กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ เลขที่ 443 กระทรวงการต่างประเทศ ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 www.mfa.go.th/asean พิมพ์ที่ : Page Maker Co.,Ltd. 53 - 57 ถ.เอกชัย เขตบางบอน กรุงเทพฯ 10150 โทร 02 416 8820, 02 416 9167
หนังสือเล่มนี้เป็นลิขสิทธิ์ของกรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
คำนำ ในโอกาสทีอ่ าเซียนมีเป้าหมายจะก้าวไปสูก่ ารเป็นประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ ในฐานะสำนักเลขาธิการอาเซียนแห่งชาติ ตระหนักถึง ความจำเป็นในการเตรียมความพร้อมและสร้างความตระหนักรู้ของประชาชนไทยและ ประเทศไทยเพื่อให้การเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียนดำเนินไปอย่างสมบูรณ์ ทั้งในด้าน การเมืองความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ตามเจตนารมณ์ของผู้นำอาเซียน ในการสร้างประชาคมอาเซียนที่ประกอบด้วย 3 เสาหลัก ได้แก่ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community : APSC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio - Cultural Community : ASCC) หนังสือ “ASEAN Mini Book” เป็นหนึ่งในสื่อสิ่งพิมพ์ฉบับกระทัดรัดของ กรมอาเซียน เพื่อสร้างความตระหนักรู้ ให้ความรู้ และสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับ ประชาคมอาเซียนต่อสาธารณชน ซึ่งเกื้อหนุนกับคำขวัญของอาเซียน “หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึง่ อัตลักษณ์ หนึง่ ประชาคม” หรือ “One Vision, One Identity, One Community” และสอดรั บ กั บ พั น ธกิ จ หลั ก และการดำเนิ น งานเชิ ง รุ ก ของกระทรวงการต่ า งประเทศ เพื่อสนับสนุนการเตรียมความพร้อมของประเทศไทยในการเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียนดังกล่าว โดยมุง่ หวังให้ประชาชนไทยมีความรู้ ความเข้าใจ มากขึ้นเกี่ยวกับความเป็นมาและพัฒนาการ ในมิติต่างๆ ของอาเซียน ความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา รวมทั้ง บทบาท ของประเทศไทยในอาเซียน โดยมีการสอดแทรกเกร็ดความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับประเทศ สมาชิกอาเซียนเพือ่ เตรียมความพร้อมของประชาชนไทย ในการก้าวเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน ซึ่งมีทั้งโอกาส และความท้าทายรออยู่ กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ มิถุนายน 2556
สารบัญ แผนผังภาพรวม ข้อมูลพืน้ ฐานประเทศสมาชิกอาเซียน
06 08
• เนการาบรูไนดารุสซาลาม • ราชอาณาจักรกัมพูชา • สาธารณรัฐอินโดนีเซีย • สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว • มาเลเซีย • สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ • สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ • สาธารณรัฐสิงคโปร์ • ราชอาณาจักรไทย • สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
10 12 14 16 18 20 22 24 26 28
กำเนิดและพัฒนาการของอาเซียน : จากสมาคมอาเซียนสูป่ ระชาคมอาเซียน
30
38 40 44 48 54
64
72
• กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) • โครงสร้างและกลไกการดำเนินงานของอาเซียน • ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) • ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political - Security Community : APSC) • ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) • ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio - Cultural Community : ASCC) • ความคืบหน้าในการดำเนินงานของแต่ละด้าน
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
82
• อาเซียน - ออสเตรเลีย • อาเซียน - แคนาดา • อาเซียน - จีน • อาเซียน - สหภาพยุโรป • อาเซียน - อินเดีย • อาเซียน - ญี่ปุ่น • อาเซียน - สาธารณรัฐเกาหลี • อาเซียน - นิวซีแลนด์ • อาเซียน - รัสเซีย • อาเซียน - สหรัฐอเมริกา • อาเซียน - สหประชาชาติ • อาเซียน+ 3 (จีน ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี) • การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก
84 86 90 92 96 98 100 102 104 106 110 112 114
การเชือ่ มโยงระหว่างกันในอาเซียน (ASEAN Connectivity) บทบาทไทยในอาเซียน เกร็ดความรูเ้ กีย่ วกับอาเซียน
116 132 136
138 140
• ตราสัญลักษณ์ประเทศสมาชิกอาเซียน • ดอกไม้ประจำชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน
CONTENTS
ความสัมพันธ์อาเซียนกับประเทศคูเ่ จรจา (ASEAN’s External Relations)
ÊÁÒ¤Á»ÃÐªÒªÒµÔ á Ë‹ § àÍàªÕ  µÐÇÑ ¹ ÍÍ¡à©Õ  §ãµŒ (ÍÒà«Õ  ¹) (Association of Southeast Asian Nations : ASEAN )
¾.È 2540 ¾.È 2540 ¾.È 2538
¾.È 2510
¾.È 2510
¾.È 2542
¾.È 2527 ¾.È 2510
¾.È 2510
¾.È 2510
General Information ก่อตั้งเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 โดยการลงนามปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) ที่วังสราญรมย์ กระทรวงการต่างประเทศ
• มีเป้าหมายการเป็นประชาคมอาเซียนภายในปี 2558 โดยประกอบด้วย 3 เสา ได้แก่ เสาการเมืองและความมั่นคง เสาเศรษฐกิจ และเสาสังคมและวัฒนธรรม • ตลาดขนาดใหญ่ มีประชากรคิดเป็น 1 ใน 10 ของประชากรโลก • มีคู่เจรจา 9 ประเทศ ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ สหรัฐฯ รัสเซีย แคนาดา และ 1 องค์การระดับภูมิภาค ได้แก่ สหภาพยุโรป
ข้อมูลทัว่ ไป พื้นที ่ : 4,435,674 ตารางกิโลเมตร ประชากร : 604.803 ล้านคน (ปี พ.ศ. 2554) วันก่อตั้ง : 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ณ กรุงเทพฯ ประเทศสมาชิก : 10 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย บรูไนฯ เวียดนาม ลาว เมียนมาร์ และกัมพูชา เลขาธิการอาเซียน : Le Luong Minh (ชาวเวียดนาม) (พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2560) ที่ตั้งสำนักเลขาธิการอาเซียน : กรุงจาการ์ตา อินโดนีเซีย เอกสารสำคัญของอาเซียน : ปฏิญญากรุงเทพ (8 สิงหาคม พ.ศ. 2510) กฎบัตรอาเซียน (15 ธันวาคม พ.ศ. 2551)
ข้อมูลเศรษฐกิจ (๒๕๕๕) GDP : 2.3 พันล้าน USD GDP per Capita : 3,601 USD GDP Growth : ร้อยละ 4.7 % สินค้าส่งออกสำคัญ : เครื่องจักรกลไฟฟ้า อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า เชื้อเพลิงและผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับเชื้อเพลิง สินค้านำเข้าสำคัญ : เชื้อเพลิงและผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับเชื้อเพลิง เครื่องจักร อุปกรณ์ไฟฟ้าและชิ้นส่วน ทรัพยากรธรรมชาติ : น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ ป่าไม้ ประมง อุตสาหกรรม : อิเล็กทรอนิกส์ สิ่งทอ พลังงาน ตลาดส่งออกสำคัญ : ญี่ปุ่น จีน สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ตลาดนำเข้าสำคัญ : จีน ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา
ความสัมพันธ์อาเซียน - ไทย บทบาทของไทย มูลค่าการค้ารวม มูลค่าการลงทุน
ไทยเป็น 1 ใน 5 ประเทศสมาชิกผู้ก่อตั้งอาเซียน (อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย) นอกจากนี้ ไทยผลักดันให้มกี ารจัดตัง้ เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) เมื่อปี พ.ศ. 2535 และก่อตั้งการประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมือง และความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟิก (ARF) เมื่อปี พ.ศ. 2537 และเสนอ นโยบายการเชื่อมโยงในภูมิภาค (Connectivity) ปี พ.ศ. 2553 อาเซียนเป็นคู่ค้าอันดับ 1 ของไทย โดยในปี พ.ศ. 2555 มีมูลค่าการค้ารวม 97,070 ล้าน USD หรือคิดเป็นร้อยละ 22.3 ของมูลค่าการค้าทั้งหมดของไทย มูลค่าการลงทุนจากประเทศในอาเซียนมายังไทยในปี พ.ศ. 2554 คิดเป็นมูลค่า 317.13 ล้ า น USD โดยสาขาที ่ ไ ทยมี ศ ั ก ยภาพ ได้ แ ก่ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหาร ผลิตภัณฑ์ยานยนต์ ผลิตภัณฑ์อเิ ล็กทรอนิกส์ และสาขาบริการ เช่น การท่องเทีย่ ว บริการสุขภาพ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
นักท่องเที่ยว
ในปี พ.ศ. 2555 นักท่องเที่ยวอาเซียนเดินทางท่องเที่ยวประเทศในกลุ่มอาเซียน จำนวน 95 ล้านคน
ข้อมูลพืน้ ฐาน ประเทศสมาชิกอาเซียน
Map
Sultan Omar Ali Saifuddin Mosque
เนการาบรูไนดารุสซาลาม (Negara Brunei Darussalam)
10
• • • •
มีเสถียรภาพทางการเมืองสูง โดยสมเด็จพระราชาธิบดีทรงเป็นองค์ประมุขและผู้นำรัฐบาล ปรัชญาของชาติ คือ ราชาธิปไตยอิสลามมลายู (Malay Islamic Monarchy : MIB) ต้องการสร้างความมั่นคงทางด้านอาหารและเพิ่มการจ้างแรงงานต่างชาติ รวมทั้งส่งเสริม การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพประชากรในระยะยาว มีนโยบายปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจให้มีความหลากหลาย โดยเฉพาะด้านการเกษตร การท่องเที่ยว อุตสาหกรรมก่อสร้าง ซึ่งเป็นโอกาสขยายช่องทางการค้า บริการ รวมทั้ง แรงงานไทยให้กว้างขึ้น
ข้อมูลทัว่ ไป พื้นที่ : 5,765 ตารางกิโลเมตร ภาษาราชการ : มาเลย์ (ประมาณจังหวัดนครพนม) ประชากร : 401,890 คน เมืองหลวง : บันดาร์เสรีเบกาวัน ศาสนา : อิสลาม (67%) พุทธ (13%) คริสต์ (10%) และอื่นๆ (10%) พระประมุขและ : สมเด็จพระราชาธิบดี ฮัจญี ฮัสซานัล โบลเกียห์ มูอิซซัดดิน วัดเดาละห์ นายกรัฐมนตรี (Sultan Haji Hassanal Bolkiah Mu’izzaddin Waddaulah) สมเด็จพระราชาธิบดีองค์ที่ 29 รมว.กต. : เจ้าชายโมฮาเหม็ด โบลเกียห์ (Prince Mohamed Bolkiah) วันชาติ : 23 กุมภาพันธ์ วันสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย : 1 มกราคม พ.ศ. 2527
ข้อมูลเศรษฐกิจ (2555) GDP : 16.2 พันล้าน USD สกุลเงิน : ดอลลาร์บรูไน(1 ดอลลาร์บรูไน ประมาณ 24 บาท สถานะ 28 ม.ค. พ.ศ. 56) GDP per Capita : 49,400 USD เงินทุนสำรอง : 6.2 พันล้าน USD Real GDP Growth : ร้อยละ 1.3 อัตราเงินเฟ้อ : ร้อยละ 2 (สถานะ มิ.ย. พ.ศ. 55) ทรัพยากรสำคัญ : น้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติ อุตสาหกรรมหลัก : น้ำมัน อาหาร (สินค้าเกษตรและประมง) และเสื้อผ้า สินค้าส่งออกที่สำคัญ : น้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติ ตลาดส่งออกที่สำคัญ : ญี่ปุ่น อาเซียน เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย อินเดีย สินค้านำเข้าที่สำคัญ : เครื่องจักรอุตสาหกรรม รถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า สินค้าเกษตร อาทิ ข้าวและผลไม้ ตลาดนำเข้าที่สำคัญ : อาเซียน สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น จีน
สถิตทิ ส่ี ำคัญ ไทย-บรูไนดารุสซาลาม (2555) มูลค่าการค้ารวม ในปี พ.ศ. 2555 (ระหว่างเดือน ม.ค. - พ.ย.) มีมูลค่าการค้ารวม 541.84 ล้าน USD ไทยนำเข้า 360.13 ล้าน USD ไทยส่งออก 181.71 ล้าน USD บรูไนฯ เป็นคู่ค้าลำดับ สุดท้ายของไทยในอาเซียน สินค้าส่งออกของไทย ข้าว รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เหล็ก หม้อแปลงไฟฟ้าและส่วนประกอบ เสือ้ ผ้า สำเร็จรูป ปูนซิเมนต์ ผลไม้สดแช่เย็นและแห้ง น้ำตาลทราย ผลิตภัณฑ์เซรามิก ผลิตภัณฑ์ยาง กระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ สินค้านำเข้าจากบรูไนฯ น้ำมันดิบ สินแร่โลหะอืน่ ๆ เศษโลหะและผลิตภัณฑ์ เยือ่ กระดาษและผลิตภัณฑ์สง่ิ ทอ การลงทุน เมือ่ เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2551 กบข. และ Brunei Investment Agency (BIA) รวมทัง้ สถาบันการเงินในประเทศ 8 แห่ง ได้ลงนามบันทึกความเข้าใจเพื่อร่วมจัดตั้ง กองทุนไทยทวีทุน 2 มูลค่ากองทุน 76 ล้าน USD เพื่อลงทุนระยะยาวในบริษัท ทั้งในและนอกตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และที่ผ่านมามีโครงการลงทุน ของบรูไนฯ ภายใต้ BOI จำนวน 1 โครงการ คือ บริษัท เอเพ็กซ์ เซอร์กิต (ไทยแลนด์) จำกัด มูลค่า 503 ล้านบาท การท่องเที่ยว ในปี พ.ศ. 2555 มีนักท่องเที่ยวบรูไนฯ มาไทยจำนวน 10,240 คน คนไทยในบรูไนฯ ประมาณ 5,400 คน (สถานะ ธ.ค. พ.ศ. 55) แรงงานไทยส่วนใหญ่ทำงานในกิจการ ก่ อ สร้ า ง อุ ต สาหกรรมตั ด เย็ บ เสื ้ อ ผ้ า ส่ ง ออก และในภาคธุ ร กิ จ บริ ก าร เช่ น ห้างสรรพสินค้า ร้านอาหาร การตกแต่งดูแลดอกไม้ประดับในสถานที่สำคัญ) สำนักงานของไทยในบรูไนฯ บันดาร์เสรีเบกาวัน (สถานเอกอัครราชทูต) สำนักงานของบรูไนฯ ในไทย กรุงเทพฯ (สถานเอกอัครราชทูต) 11
Map
Angkor Wat
ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia)
12
• • •
มีความสำคัญในเชิงยุทธศาสตร์ต่อไทยในทุกๆ ด้าน เนื่องจากมีพรมแดนทางบกติดต่อกัน ยาว 798 กิโลเมตร และมีพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลประมาณ 26,000 ตารางกิโลเมตร จึงเป็น ปัจจัยที่ก่อให้เกิดทั้ง “โอกาส” และ “ปัญหา” เป็ น แหล่ ง วั ต ถุ ด ิ บ ตลาดการค้ า และแหล่ ง ลงทุ น ที ่ ส ำคั ญ ของไทย มี ศ ั ก ยภาพด้ า น การท่องเที่ยว ทั้งสองประเทศจึงควรร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดเพื่อมุ่งไปสู่การเป็นหุ้นส่วน ทางยุทธศาสตร์และทางเศรษฐกิจเพื่อผลประโยชน์ร่วมกันในอนาคต เป็นจุดเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวระหว่างไทยกับลาวตอนใต้และเวียดนาม ตอนใต้
ข้อมูลทัว่ ไป พื้นที่ : 181,035 ตารางกิโลเมตร ภาษาราชการ : เขมร (1 ใน 3 ของไทย) ประชากร : 14.14 ล้านคน (พ.ศ. 2553) เมืองหลวง : กรุงพนมเปญ ศาสนา : พุทธนิกายเถรวาท พระประมุข : พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สีหมุนี (Preah Bat Samdech Preah Boromneath Norodom Sihamoni) นายกรัฐมนตรี : สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโชฮุน เซน (Samdech Akka Moha Sena Padei Techo Hun Sen) รอง นรม./รมว.กต. : นายฮอร์ นัมฮง (Hor Namhong)
วันชาติ : 9 พฤศจิกายน
วันสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย : 19 ธันวาคม พ.ศ. 2493
ข้อมูลเศรษฐกิจ (2555) สกุลเงิน : เรียล (1 บาท ประมาณ 130 เรียล) เงินทุนสำรอง : 3.732 พันล้าน USD Real GDP Growth : ร้อยละ 6.5 อัตราเงินเฟ้อ : ร้อยละ 2.9 ทรัพยากรสำคัญ : น้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติ (รอการสำรวจและขุดเจาะ) ไม้สัก อัญมณี แร่เหล็ก อุตสาหกรรมหลัก : การท่องเที่ยว เสื้อผ้า การก่อสร้าง การสีข้าว การประมง ไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ ยาง ปูนซีเมนต์ เหมืองอัญมณี สิ่งทอ สินค้าส่งออกที่สำคัญ : เสื้อผ้า สิ่งทอ ไม้ ยางพารา ข้าว ปลา ยาสูบ และรองเท้า ตลาดส่งออกที่สำคัญ : สหรัฐอเมริกา แคนาดา เยอรมนี สหราชอาณาจักร เวียดนาม ญี่ปุ่น สินค้านำเข้าที่สำคัญ : ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม บุหรี่ ทองคำ วัสดุก่อสร้าง เครื่องจักร ยานพาหนะ และยา ตลาดนำเข้าที่สำคัญ : ไทย เวียดนาม สิงคโปร์ จีน ฮ่องกง
GDP : 14.25 พันล้าน USD
GDP per Capita : 2,400 USD
สถิตทิ ส่ี ำคัญ ไทย-กัมพูชา (2555) มูลค่าการค้ารวม มูลค่าการค้าทวิภาคี 4,031 ล้าน USD เพิ่มจากปี พ.ศ 2554 ร้อยละ 40.52 โดยไทย ได้เปรียบดุลการค้า ส่วนการค้าชายแดนไทย - กัมพูชาในเดือน ม.ค. - พ.ย. พ.ศ. 2555 มีมูลค่า 2,560.57 ล้าน USD เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2554 ร้อยละ 29.09) สินค้าส่งออกของไทย มูลค่าการส่งออกจากไทยไปกัมพูชาเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2554 ร้อยละ 40.44 สินค้า ส่งออกของไทย 5 อันดับ แรก คือ 1) น้ำมันสำเร็จรูป 2) น้ำตาลทราย 3) เครื่องดื่ม 4) ปูนซีเมนต์ 5) เครื่องยนต์สันดาปภายใน 6) เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์รักษาผิว สินค้านำเข้าจากกัมพูชา 1) ผักผลไม้ 2) สินแร่โลหะอืน่ ๆ 3) เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ 4) เสือ้ ผ้าสำเร็จรูป 5) เยือ่ กระดาษและเศษกระดาษ การลงทุน ในปี พ.ศ. 2555 โครงการของไทยที่ได้รับอนุมัติมีจำนวน 8 โครงการ เป็นการลงทุน ในอุตสาหกรรมโรงสีขา้ ว รองเท้า เสือ้ ผ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า ยางพารา แปรรูปมันสำปะหลัง รวมเงินลงทุน 8.6 ล้าน USD ไทยมีมูลค่าการลงทุนสูงเป็นอันดับที่ 8 รองจากจีน เกาหลีใต้ ไต้หวัน กัมพูชา เวียดนาม ฮ่องกง การท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวกัมพูชา มาไทยจำนวนประมาณ 423,642 คน (ปี พ.ศ. 2555) นักท่องเที่ยวไทย ไปกัมพูชาจำนวนประมาณ 201,422 คน (ปี พ.ศ 2555) คนไทยในกัมพูชา คนไทยในกัมพูชา 842 คน (สถานะเมื่อเดือน ก.ค. พ.ศ. 2554 โดยแบ่งเป็นที ่ กรุงพนมเปญ 702 คน จังหวัดเสียมราฐ 81 คน กัมปอต 55 คน และที่อื่นๆ 4 คน) คนกัมพูชาในไทย คนกัมพูชาในไทย 137,598 คน (จำนวนแรงงานที่รายงานตัวกับกรมการจัดหางาน ตามสถิติปี พ.ศ. 2555) สำนักงานของไทยกัมพูชา กรุงพนมเปญ (สถานเอกอัครราชทูต) 13 สำนักงานของกัมพูชาในไทย กรุงเทพฯ (สถานเอกอัครราชทูต)/ จังหวัดสระแก้ว (สถานกงสุลใหญ่)
Map
Borobudur Temple
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia)
14
• • • •
เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และมีประชากร มุสลิมมากที่สุดในโลก มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ (น้ำมันและก๊าซธรรมชาติ เหมืองแร่ ถ่านหิน สัตว์น้ำ) เป็นแหล่งประมงที่ใหญ่ที่สุดของไทย มีบทบาทสูงในกลุม่ ประเทศไม่ฝกั ใฝ่ฝา่ ยใด (Non Aligned - Movement : NAM) และองค์การความร่วมมืออิสลาม (Organization Of The Islamic Conference : OIC)
ข้อมูลทัว่ ไป พื้นที่ : 1,904,443 ตารางกิโลเมตร ภาษาราชการ : อินโดนีเซีย (พืน้ ทีท่ างทะเล 3,166,163 ตร.กม.) ประชากร : 248 ล้านคน เมืองหลวง : กรุงจาการ์ตา ศาสนา : อิสลาม(ร้อยละ85.2) คริสต์นกิ ายโปรเตสแตนต์ (ร้อยละ 8.9 ) คริสต์นิกายโรมันคาทอลิก (ร้อยละ 3) ฮินดู (ร้อยละ 1.8 ) พุทธ (ร้อยละ 0.8 ) ศาสนาอื่นๆ (ร้อยละ 0.3 ) ประธานาธิบดี : ดร. ซูซิโล บัมบัง ยูโดโยโน (Dr. Susilo Bambang Yudhoyono) รมว.กต. : ดร. อาร์ เอ็ม มาร์ตี้ มูเลียนา นาตาเลกาวา (Dr. R. M. Marty Muliana Natalegawa)
วันชาติ : 17 สิงหาคม
วันสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย : 7 มีนาคม พ.ศ. 2493
ข้อมูลเศรษฐกิจ (๒๕๕๕) GDP : 878.2 พันล้าน USD สกุลเงิน : รูเปีย (1,000 รูเปีย ประมาณ 3.19 บาท) สถานะ 16 พ.ค. พ.ศ. 2556 GDP per Capita : 3,592.3 USD เงินทุนสำรอง : 104.8 พันล้าน USD (สถานะ มี.ค. พ.ศ. 2556) Real GDP Growth : ร้อยละ 6.3 อัตราเงินเฟ้อ : ร้อยละ 4.2 ทรัพยากรสำคัญ : น้ำมันและก๊าซธรรมชาติ เหมืองแร่ ถ่านหิน สัตว์น้ำ สินค้าส่งออกที่สำคัญ : ก๊าซธรรมชาติ น้ำมัน เครื่องใช้ไฟฟ้า ไม้ เสื้อผ้า ตลาดส่งออกที่สำคัญ : ญี่ปุ่น จีน สหรัฐอเมริกา สิงคโปร์ สินค้านำเข้าที่สำคัญ : เครื่องจักร เคมีภัณฑ์ น้ำมันเชื้อเพลิง ผลิตภัณฑ์อาหาร ตลาดนำเข้าที่สำคัญ : จีน สิงคโปร์ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา
สถิตทิ ส่ี ำคัญ ไทย-อินโดนีเซีย (2555) มูลค่าการค้ารวม สินค้าส่งออกของไทย สินค้านำเข้าจากอินโดนีเซีย การลงทุน การท่องเทีย่ ว คนไทยในอินโดนีเซีย
ในปี พ.ศ. 2555 มูลค่าการค้าเท่ากับ 19,297 ล้าน USD โดยเป็นการนำเข้า 8,087 ล้าน USD และส่งออก 11,209 ล้าน USD ไทยได้ดุลการค้า 3,122 ล้าน USD ระหว่างเดือน ม.ค. - เม.ย. พ.ศ. 2556 มีมูลค่าการค้าเท่ากับ 5,196.16 ล้าน USD โดยเป็นการนำเข้า 2,193.90 ล้าน USD และส่งออก 3,002.26 ล้าน USD รถยนต์ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ อัญมณีและเครื่องประดับ น้ำมันสำเร็จรูป ยางพารา เม็ดพลาสติก เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ยาง เหล็ก เหล็กกล้า และผลิตภัณฑ์ และแผงวงจรไฟฟ้า น้ำมันดิบ เครือ่ งจักรกลและส่วนประกอบ เครือ่ งจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ เคมีภณ ั ฑ์ เครือ่ งเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ ส่วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ แผงวงจรไฟฟ้า และสินแร่โลหะอืน่ ๆ ปี พ.ศ. 2555 ไทยเป็นประเทศผู้ลงทุนอันดับ 15 ในอินโดนีเซีย มีมูลค่าการลงทุน 68 ล้าน USD ส่วนใหญ่เป็นการลงทุนด้านอุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมรถยนต์ อุตสาหกรรมยางและพลาสติก อาทิ เครือเจริญโภคภัณฑ์ เครือซิเมนต์ไทย เหมืองบ้านปู ธนาคารกรุงเทพ ลานนาลิกไนต์ และบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ในปี พ.ศ. 2555 อินโดนีเซียมีการลงทุนในไทยผ่าน BOI จำนวน 1 โครงการ มูลค่า 1.44 ล้าน USD ในปี พ.ศ. 2555 มีนกั ท่องเทีย่ วไทยเดินทางไปอินโดนีเซีย 89,142 คน มีนกั ท่องเทีย่ ว อินโดนีเซียเดินทางมาไทย ประมาณ 448,748 คน ประมาณ 1,500 คน ประกอบด้วยข้าราชการหน่วยราชการไทยในอินโดนีเซียและ คูส่ มรส นักธุรกิจไทย เจ้าหน้าทีอ่ งค์การระหว่างประเทศ และคูส่ มรสของชาวอินโดนีเซีย และชาวต่างชาติในอินโดนีเซีย สำนักงานของไทยในอินโดนีเซีย กรุงจาการ์ตา (สถานเอกอัครราชทูต) / เดนปาซาร์ เมดาน และสุราบายา (สถานกงสุลกิตติมศักดิ์) สำนักงานของอินโดนีเซียในไทย กรุงเทพฯ (สถานเอกอัครราชทูต) / สงขลา (สถานกงสุล)
15
Map
Patuxay (Victory Gate)
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (The Lao People’s Democratic Republic) 16
• • •
เป็นประเทศเพือ่ นบ้านทีม่ คี วามใกล้ชดิ กับไทยทัง้ ในเชิงประวัตศิ าสตร์ ทีต่ ง้ั ทางภูมศิ าสตร์ เชื้อชาติ ศาสนา ภาษา และวัฒนธรรม มีเขตแดนติดต่อกับไทยทั้งทางบกและทางน้ำ ถึง 1,810 กิโลเมตร พัฒนาการต่างๆ ในลาวจึงส่งผลกระทบต่อไทยและการกำหนด นโยบายของไทยต่อภูมิภาคอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ สามารถเป็นแหล่งป้อนวัตถุดิบ แหล่งพลังงานสำรอง และแหล่งลงทุนของไทย เพื่อการผลิตสินค้าส่งออกไปยังประเทศที่สามที่ให้สิทธิพิเศษทางการค้าแก่ลาว เป็นประเทศทีไ่ ม่มที างออกทางทะเล แต่สามารถเป็นจุดเชือ่ มต่อ (land bridge หรือ land link) ด้านการคมนาคมขนส่งและการส่งออกสินค้าของไทยไปยังประเทศที่สาม ในอนุภูมิภาค
ข้อมูลทัว่ ไป พื้นที่ : 236,800 ตารางกิโลเมตร ภาษาราชการ : ภาษาลาว (1/2 ของประเทศไทย) ประชากร : 6.47 ล้านคน (ก.ค. พ.ศ. 2554) เมืองหลวง : เวียงจันทน์ ศาสนา : พุทธ (ร้อยละ 75) นับถือผี (ร้อยละ 16 - 17) ประธานประเทศ : พลโท จูมมาลี ไซยะสอน (Choummaly Sayasone) นายกรัฐมนตรี : นายทองสิง ทำมะวง (Thongsing Thammavong) รอง นรม. / : นายทองลุน สีสุลิด (Thongloun Sisoulith) รมว.กต.
วันชาติ : 2 ธันวาคม
วันสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย : 19 ธันวาคม พ.ศ. 2493
ข้อมูลเศรษฐกิจ (๒๕๕๕) GDP : 9.55 พันล้าน USD สกุลเงิน : กีบ (263 กีบ : 1 บาท) (ณ วันที่ 1 มี.ค. พ.ศ 2556) GDP per Capita : 1,386 USD เงินทุนสำรอง : 1,642 ล้าน USD Real GDP Growth : ร้อยละ 8.3 อัตราเงินเฟ้อ : ร้อยละ 5.1 ทรัพยากรสำคัญ : ไม้ แหล่งน้ำผลิตไฟฟ้า ยิปซัม่ บุก ทองคำ อัญมนี ข้าว ข้าวโพด เหล็ก ถ่านหิน ทองคำ อุตสาหกรรมหลัก : เหมืองแร่ โครงการผลิตไฟฟ้าพลังน้ำ ไม้แปรรูป อุตสาหกรรมเกษตร ก่อสร้าง เครื่องนุ่งห่ม ท่องเที่ยว สินค้าส่งออกที่สำคัญ : ไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ กาแฟ ไฟฟ้า กระป๋อง ทองแดง ทองคำ ตลาดส่งออกทีส่ ำคัญ : ไทย (ร้อยละ 33) จีน (ร้อยละ 23.4) เวียดนาม (ร้อยละ 13.4) (ตัวเลขปี พ.ศ. 2554) สินค้านำเข้าที่สำคัญ : เครื่องจักรและอุปกรณ์ ยานยนต์ เชื้อเพลิง สินค้าอุปโภคบริโภค ตลาดนำเข้าทีส่ ำคัญ : ไทย (ร้อยละ 65.2) จีน (ร้อยละ 11.1) เวียดนาม (ร้อยละ 6.5) (ตัวเลขปี พ.ศ. 2554)
สถิตทิ ส่ี ำคัญ ไทย-ลาว (2555) มูลค่าการค้ารวม ไทยเป็ น คู ่ ค ้ า ลำดั บ ที ่ 1 ของลาว ขณะที ่ ล าวเป็ น คู ่ ค ้ า ลำดั บ ที ่ 26 ของไทย การค้าไทย - ลาว ปี พ.ศ. 2555 เป็นมูลค่ารวม 150,135 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 27.21 โดยไทยเป็นฝ่ายได้ดุลการค้าเพิ่มขึ้น 72,771 ล้านบาท หรือร้อยละ 48.38 สินค้าส่งออกของไทย น้ำมันเชื้อเพลิง รถยนต์ เครื่องจักร เหล็ก เคมีภัณฑ์ ผ้าผืน ยานพาหนะ เครื่องสำอาง เครื่องดื่ม ปูนซิเมนต์ สินค้านำเข้าจากลาวทีส่ ำคัญ สินแร่โลหะ เชือ้ เพลิง ไม้แปรรูป พืช ผักและผลไม้ ถ่านหิน ปุย๋ ลวดและสายเคเบิล เครือ่ งจักรไฟฟ้า สิง่ พิมพ์ การลงทุนของไทยในลาว ไทยเป็นนักลงทุนต่างชาติอันดับ 3 ในลาวเมื่อพิจารณาจากมูลค่าการลงทุนสะสม ในช่วงปี พ.ศ. 2531 - 2555 จำนวน 663 โครงการ มูลค่ารวม 5.73 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในสาขาสำคัญ ได้แก่ พลังงานไฟฟ้า ขนส่ง และโทรคมนาคม ธุรกิจโรงแรมและ การท่องเที่ยว ธนาคาร อุตสาหกรรมไม้แปรรูป เครื่องนุ่งห่มและหัตถกรรม การท่องเที่ยว ปี พ.ศ. 2555 มีนักท่องเที่ยวลาวเดินทางมาไทย 951,090 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.63 และมีนักท่องเที่ยวไทยเดินทางไปลาว 1,937,612 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 23 จำนวนคนไทยในลาว ประมาณ 3,800 คน เป็นนักธุรกิจประมาณ 700 คน และเป็นแรงงานทำงานใน โครงการเหมืองทอง/ทองแดง โครงการไฟฟ้า และโครงการอืน่ ๆ ประมาณ 3,100 คน สำนักงานของไทยในลาว เวียงจันทน์ (สถานเอกอัครราชทูต) / แขวงสะหวันนะเขต (สถานกงสุลใหญ่) สำนักงานของลาวในไทย กรุงเทพฯ (สถานเอกอัครราชทูต) / ขอนแก่น (สถานกงสุลใหญ่) 17
Map
มาเลเซีย (Malaysia)
18
• • • •
Petronas Twin Towers
มุ่งเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี พ.ศ. 2563 (Vision 2020) และมีแผนพัฒนา ต่อเนื่อง (Mission 2057) เป็นแนวทางพัฒนาประเทศจนถึงปี พ.ศ. 2600 มีบทบาทสำคัญในอาเซียนและองค์การความร่วมมืออิสลาม (OIC) ต้องการเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจการค้าของ OIC โดยใช้ศักยภาพด้านการบริหาร ธนาคารอิสลาม และอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล ในปี พ.ศ. 2554 นักท่องเที่ยวมาเลเซียมาไทยมากเป็นอันดับ 1 และเป็นคู่ค้าสำคัญ ของไทย
ข้อมูลทัว่ ไป พื้นที่ : 329,758 ตารางกิโลเมตร ภาษาราชการ : มาเลย์ (ประมาณ 64 % ของไทย) ประชากร : 29.512 ล้านคน (พ.ย. พ.ศ. 2555) เมืองหลวง : กรุงกัวลาลัมเปอร์ ศาสนา : อิสลาม (60%) พุทธ (19%) คริสต์ (12%) พระประมุข : สมเด็จพระราชาธิบดีอัลมูตัสสิมู บิลลาฮี มูฮิบบุดดิน ตวนกู อัลฮัจญ์ อับดุล ฮาลิม มูอัซซัม ชาห์ อิบนี อัลมาฮูม สุลต่าน บาดลิชาห์ สมเด็จพระราชาธิบดีพระองค์ที่ 14 (His Majesty Almu’tasimu Billahi Muhibbuddin Tuanku Alhaj Abdul Halim Mu’adzam Shah ibni Almarhum Sultan Badlishah) นายกรัฐมนตรี : ดาโต๊ะ ซรี มูห์ฮัมหมัด นาจิบ บิน ตุน ฮัจญี อับดุล ราซัค (Dato’ Sri Mohd Najib bin Tun Haji Abdul Razak) รมว.กต. : ดาโต๊ะ ซรี อานิฟาห์ บิน ฮัจญี อามาน (Dato’ Sri Anifah bin Haji Aman)
วันชาติ : 31 สิงหาคม
วันสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย : 31 สิงหาคม พ.ศ. 2500
ข้อมูลเศรษฐกิจ (๒๕๕๕) GDP : 307.7 พันล้าน USD (ประมาณการ) สกุลเงิน : ริ ง กิ ต (1 ริ ง กิ ต ประมาณ 10.17 บาท สถานะ 1 ก.พ. พ.ศ. 2556) GDP per Capita : 10,502 USD (ประมาณการ) เงินทุนสำรอง : 138 พันล้าน USD (สถานะ 31 ต.ค. พ.ศ. 2555) Real GDP Growth : ร้อยละ 5.2 (ประมาณการ) อัตราเงินเฟ้อ : ร้อยละ 1.7 (สถานะ ธ.ค. พ.ศ. 2555) ทรัพยากรสำคัญ : ยางพารา น้ำมันปาล์ม น้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติ ไม้ อุตสาหกรรมหลัก : อิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร สินค้าส่งออกที่สำคัญ : ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ก๊าซธรรมชาติเหลว - LNG น้ำมันปาล์ม น้ำมันสำเร็จรูป เคมีภัณฑ์ ตลาดส่งออกที่สำคัญ : สิงคโปร์ จีน ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา ไทย สินค้านำเข้าที่สำคัญ : ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องจักรและอุปกรณ์ เคมีภัณฑ์ น้ำมันสำเร็จรูป อุปกรณ์ด้านการขนส่ง ตลาดนำเข้าที่สำคัญ : จีน สิงคโปร์ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา ไทย
สถิตทิ ส่ี ำคัญ ไทย-มาเลเซีย (2555) มูลค่าการค้ารวม สินค้าส่งออกของไทย สินค้านำเข้าจากมาเลเซีย การลงทุน การท่องเที่ยว แรงงานไทยในมาเลเซีย
25,531.92 ล้าน USD โดยไทยเสียเปรียบดุลการค้า 679.76 ล้าน USD เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 3.24 เมื่อเปรียบเทียบกับมูลค่าการค้ารวมในช่วงเดียวกันของปี พ.ศ. 2554 ทั้งนี ้ มาเลเซียเป็นคู่ค้าอันดับที่ 4 ของไทย น้ำมันสำเร็จรูป อุปกรณ์และชิ้นส่วนยานยนต์ ยางพารา คอมพิวเตอร์ ผลิตภัณฑ์ยาง เคมีภัณฑ์ เหล็กและผลิตภัณฑ์จากเหล็ก (มูลค่าการส่งออกปี พ.ศ. 2555 มีมูลค่า 12,426.08 ล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.22 เมื่อเปรียบเทียบกับมูลค่าการส่งออก ในช่วงเดียวกันของปี พ.ศ. 2554) เครือ่ งคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ น้ำมันดิบ เครือ่ งจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ เคมีภณ ั ฑ์ แผงวงจรไฟฟ้า เครือ่ งจักรกลและส่วนประกอบ เครือ่ งใช้ไฟฟ้าในบ้าน (มูลค่า การนำเข้าในปี พ.ศ. 2555 คิดเป็น 13,105.84 ล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.28 เมื่อเปรียบเทียบกับมูลค่าการนำเข้าในช่วงเดียวกันของปี พ.ศ. 2554 ) มาเลเซียลงทุนในไทยจำนวน 17 โครงการ มีมูลค่า 11,352 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่ เป็นการลงทุนในสาขาการบริการ ผลิตภัณฑ์เหล็กและเครื่องจักรกล อุปกรณ์อิเล็ก ทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า เคมีภัณฑ์และกระดาษ เครื่องนุ่งห่ม และการเกษตร ในขณะทีไ่ ทยลงทุนในมาเลเซีย (ม.ค. - ก.ย. พ.ศ. 2555) จำนวน 11 โครงการ มีมลู ค่า 4,459 ล้านบาท ซึง่ นักลงทุนทีส่ นใจไปลงทุนในมาเลเซีย ได้แก่ บริษทั เครือเจริญโภคภัณฑ์ บริษัทแอดวานซ์อะโกร กลุ่มบริษัทไทยซัมมิท เครือซีเมนต์ไทย กลุ่มบริษัทสามารถ และร้านอาหารไทย ปี พ.ศ. 2555 (ม.ค. - พ.ย.) มีนกั ท่องเทีย่ วจากมาเลเซียมาไทยประมาณ 2.23 ล้านคน ลดลงร้อยละ 0.81 เมือ่ เปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปี พ.ศ. 2554 (ช่วงเดือน ม.ค. - ก.ย. ปี พ.ศ. 2554 นักท่องเที่ยวไทยไปมาเลเซีย 0.96 ล้านคน ) มีแรงงานไทยประมาณ 210,000 คน (เป็นแรงงานถูกกฎหมาย 9,269 คน) สำนักงานของไทยในมาเลเซีย กรุงกัวลาลัมเปอร์ (สถานเอกอัครราชทูต) / ปีนังและโกตาบารู (สถานกงสุลใหญ่) สำนักงานของมาเลเซียในไทย กรุงเทพฯ (สถานเอกอัครราชทูต) / สงขลา (สถานกงสุลใหญ่) 19
Map
Shwedagon Pagoda
สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ (The Republic of the Union of Myanmar) 20
• • •
มีพัฒนาการทางการเมืองอย่างต่อเนื่อง โดยได้จัดตั้งรัฐบาลพลเรือน มีประธานาธิบดีเป็น ประมุขและหัวหน้ารัฐบาล เมือ่ วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2554 หลังจากได้จดั การเลือกตัง้ ทัว่ ไป เมือ่ วันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 โดยพรรค Union Solidarity and Development Party (USDP) ของรัฐบาลเดิมได้เสียงข้างมาก ต่อมาเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2555 เมียนมาร์ ได้จดั การเลือกตัง้ ซ่อมครัง้ ประวัตศิ าสตร์ ซึง่ นางออง ซาน ซู จี และพรรค National League for Democracy (NLD) ได้รับเลือกตั้งด้วย มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งวัตถุดิบ ตลาดการค้า แรงงานและแหล่งลงทุน ที่สำคัญของไทย โดยเฉพาะด้านพลังงาน (ก๊าซและไฟฟ้าพลังน้ำ) และเป็นทางเชื่อมสู่จีน และอินเดีย เชื่อมทะเลอันดามันกับทะเลจีนใต้ ที่ผ่านมา ไทยและเมียนมาร์ประสบปัญหาร่วมกันหลายประการ อาทิ ยาเสพติด แรงงาน ผิดกฎหมาย การค้ามนุษย์ โรคระบาด ความมั่นคงชายแดน ฯลฯ
ข้อมูลทัว่ ไป พื้นที่ : 657,740 ตารางกิโลเมตร ภาษาราชการ : เมียนมาร์ ประชากร : 63.67 ล้านคน (ประมาณการ ปี พ.ศ. 2555) เมืองหลวง : กรุงเนปยีดอ ศาสนา : พุทธ (89 %) คริสต์ (5 %) อิสลาม (4%) ประมุขและ : นายเต็ง เส่ง (U Thein Sein) อดีตนายกรัฐมนตรี ดำรงตำแหน่งเมือ่ วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2554 ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี : นายวันนะ หม่อง ลวิน (U Wunna Maung Lwin) ดำรงตำแหน่งเมือ่ วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2554 ธงชาติ : เปลี่ยนธงชาติใหม่เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2553 เป็นธงแถบ สีเหลือง หมายถึงความสามัคคีและ
รุ่งเรืองแห่งศาสนา สีเขียวหมายถึง ความสงบ และภูมิทัศน์เขียวขจีของเมียนมาร์ และสีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและความเด็ดเดี่ยว ส่วนรูปดาวสีขาว หมายถึง ความเป็นเอกภาพของชนในชาติ วันชาติ : (วันที่ได้รบั เอกราช) 4 มกราคม พ.ศ. 2491
วันสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย : 24 สิงหาคม พ.ศ. 2491
ข้อมูลเศรษฐกิจ (๒๕๕๕)
GDP : 53.14 พันล้าน USD สกุลเงิน : 850 จัต ต่อ 1 USD (ณ พ.ค. พ.ศ. 2556) (ประมาณการปี พ.ศ. 2555) GDP per Capita : 834 USD เงินทุนสำรอง : 5.751 พันล้าน USD Real GDP Growth : ร้อยละ 6.3 อัตราเงินเฟ้อ : ร้อยละ 6.1 ทรัพยากรสำคัญ : ก๊าซธรรมชาติ ป่าไม้ แร่ธาตุ : เกษตร สิ่งทอ และสินค้าอุปโภคบริโภค อุตสาหกรรมหลัก สินค้าส่งออกที่สำคัญ : ก๊าซธรรมชาติ ไม้ เมล็ดพืชและถั่ว ตลาดส่งออกที่สำคัญ : ไทย จีน อินเดีย สินค้านำเข้าที่สำคัญ : เครื่องจักรกล ใยสังเคราะห์ น้ำมันสำเร็จรูป ตลาดนำเข้าที่สำคัญ : จีน สิงคโปร์ ไทย
สถิตทิ ส่ี ำคัญ ไทย-เมียนมาร์ (๒๕๕๕) มูลค่าการค้ารวม สินค้าส่งออกของไทย สินค้านำเข้าจากเมียนมาร์ การลงทุน การท่องเทีย่ ว คนไทยในเมียนมาร์
ในปี พ.ศ. 2555 มีมูลค่าการค้ารวม 211,345.97 ล้านบาท (เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.85 จากปี พ.ศ. 2554) ไทยส่งออก 96,526.45 ล้านบาท (เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.40) นำเข้า 114,819.51 ล้านบาท (เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 7.80) ไทยขาดดุลการค้า 18,293.06 ล้านบาท (เพิ่มขึ้นร้อยละ 43.75) โดยเป็นการค้าชายแดนมูลค่า 180,471.53 ล้านบาท หรือร้อยละ 85 ของมูลค่าการค้า น้ำมันสำเร็จรูป เครื่องดื่ม เหล็ก รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ปูนซีเมนต์ เป็นต้น (ไทยเป็นคู่ค้าอันดับ 2 ของเมียนมาร์) ก๊าซธรรมชาติ เนื้อสัตว์สำหรับการบริโภค ไม้ซุง ไม้แปรรูปและผลิตภัณฑ์ไม้อื่นๆ ผัก ผลไม้และของปรุงแต่งทีท่ ำจากผัก ผลไม้ สัตว์นำ้ สด เป็นต้น (เมียนมาร์เป็นคูค่ า้ อันดับ 19 ของไทย อันดับ 6 ในอาเซียน) ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2531-2555 ไทยลงทุนในเมียนมาร์เป็นอันดับที่ 2 มูลค่าการลงทุนสะสม 288,286.85 ล้านบาท (9,568 ล้าน USD) คิดเป็นร้อยละ 23.51 ของการลงทุน จากต่างชาติ (อันดับ 1 คือ จีนและฮ่องกง มูลค่า 15,911 ล้านดอลลาร์ USD อันดับ 3 คือ เกาหลีใต้ มูลค่า 2,930 ล้านดอลลาร์ USD) สาขาการลงทุนทีส่ ำคัญ ได้แก่ พลังงาน การผลิต ประมงและปศุสัตว์ โรงแรมและการท่องเที่ยว คมนาคมและการสื่อสาร นักท่องเทีย่ วเมียนมาร์มาไทยในปี พ.ศ. 2555 จำนวน 129,385 คน ทัง้ นี้ ในระหว่างเดือน มกราคม - เมษายน พ.ศ. 2556 มีนักท่องเที่ยวเมียนมาร์มาไทย 54,546 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 29.04 เมื่อเปรียบกับช่วงเวลาเดียวกันเมื่อปี พ.ศ. 2555 ทั้งนี้ ในปี พ.ศ. 2555 มีนักท่องเที่ยวไทยไปเมียนมาร์ จำนวน 72,029 คน ประมาณ 400 - 450 คน ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในกรุงย่างกุ้ง (300 คน) มัณฑะเลย์ เมตจิน่า ทวาย มะริด สำนักงานของไทยในเมียนมาร ์ กรุงย่างกุ้ง (สถานเอกอัครราชทูต) สนง. ผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร (บก เรือ อากาศ) / สนง. ส่งเสริมการค้าใน ตปท. / สนง. ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด / สน. ข่าวกรองแห่งชาติ / สนง. บ.การบินไทย ฯ สำนักงานของเมียนมาร์ในไทย กรุงเทพฯ (สถานเอกอัครราชทูต)
21
Map
Manila Cathedral
สาธารณรัฐฟิลปิ ปินส์ (The Republic of the Philippines) 22
• • • •
ยึดมั่นในค่านิยมและความเชื่อมั่นในประชาธิปไตย เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน เลือกตั้งประธานาธิบดีและเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 นายเบนิกโน เอส อาคีโน ทีส่ าม (นอยนอย) จากพรรค Liberal (LP) ชนะเลือกตัง้ (รับตำแหน่ง 30 มิถนุ ายน พ.ศ. 2553) อย่างไรก็ตาม พรรค LP มีสมาชิกในวุฒิสภาเพียง 4 คน (จากทั้งหมด 24 คน) ทำให้รัฐบาล ประสบความยากลำบากในการดำเนินนโยบาย (จะมีการเลือกตั้งกลางเทอม กลางปี พ.ศ. 2556) มีศักยภาพเป็นแหล่งลงทุนด้านพลังงาน และตลาดส่งออกสินค้าของไทย แม้จะมีปัญหา ความมัน่ คงทางอาหาร แต่กม็ อี ตั ราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นลำดับต้นๆในเอเชีย ประสบปัญหาการแบ่งแยกดินแดนทางตอนใต้ของเกาะมินดาเนา (รัฐบาลฟิลปิ ปินส์ได้บรรลุ กรอบความตกลงกระบวนการเจรจาสันติภาพขัน้ ต้นกับกลุม่ MILF เมือ่ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2555)
ข้อมูลทัว่ ไป พื้นที่ : 298,170 ตารางกิโลเมตร ภาษาราชการ : ตากาล็อกและอังกฤษ (ประมาณ 60% ของไทย) ประชากร : 96 ล้านคน เมืองหลวง : กรุงมะนิลา ศาสนา : โรมันคาทอลิก (83%) โปรเตสแตนท์ (9%) อิสลาม (5%) ประธานาธิบดี : นายเบนิกโน เอส อาคีโน ที่สาม (Benigno S. Aquino III) รมว.กต. : นายอัลเบิร์ต เอฟ เดล โรซาริโอ (Albert F. del Rosario)
วันชาติ : 12 มิถุนายน
วันสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย : 14 มิถุนายน พ.ศ. 2492
ข้อมูลเศรษฐกิจ (๒๕๕๕) GDP : 250.3 พันล้าน USD สกุลเงิน : เปโซ (1 เปโซ ประมาณ 0.74 บาท สถานะ ส.ค. พ.ศ. 2555) GDP per Capita : 4,092 USD เงินทุนสำรอง : 84.507 พันล้าน USD Real GDP Growth : ร้อยละ 6.6 อัตราเงินเฟ้อ : ร้อยละ 3.1 ทรัพยากรสำคัญ : สินแร่โลหะ ก๊าซธรรมชาติ ทองแดงและทองคำ อุตสาหกรรมหลัก : เสื้อผ้า ยา เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ไม้ และอาหารแปรรูป สินค้าส่งออกที่สำคัญ : ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องจักรกล เสื้อผ้าสำเร็จรูป และยานพาหนะ ตลาดส่งออกที่สำคัญ : สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น สิงคโปร์ จีน เนเธอร์แลนด์ ฮ่องกง ไต้หวัน สินค้านำเข้าที่สำคัญ : ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ น้ำมันเชื้อเพลิง เครื่องจักรกล เหล็ก และยานพาหนะ ตลาดนำเข้าที่สำคัญ : สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น สิงคโปร์ ไต้หวัน จีน เกาหลีใต้
สถิตทิ ส่ี ำคัญ ไทย-ฟิลปิ ปินส์ (2555) มูลค่าการค้ารวม สินค้าส่งออกของไทย สินค้านำเข้าจากฟิลปิ ปินส์ การลงทุน การท่องเที่ยว คนไทยในฟิลิปปินส์
(ม.ค. - ธ.ค. พ.ศ. 2555) 7,585 ล้าน USD ไทยส่งออก 4,861 ล้าน USD นำเข้า 2,724 ล้าน USD โดยไทยเป็นฝ่ายได้ดุลการค้า 2,137 ล้าน USD ฟิลิปปินส์เป็นคู่ค้า ลำดับที่ 5 ของไทยในอาเซียน และลำดับที่ 17 ในโลก รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ข้าว แผงวงจรไฟฟ้า น้ำมันสำเร็จรูป เครือ่ งสำอาง สบู่ ผลิตภัณฑ์รักษาผิว เม็ดพลาสติก น้ำตาลทราย เครื่องยนต์สันดาปภายในแบบ ลูกสูบ ผลิตภัณฑ์ข้าวสาลีและอาหารสำเร็จรูปอื่นๆ เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ แผงวงจรไฟฟ้า อุปกรณ์และส่วนประกอบยานยนต์ สินแร่โลหะอื่นๆ เศษโลหะ และผลิตภัณฑ์ เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ เครื่องมือเครื่องใช้เกี่ยวกับ วิทยาศาสตร์ รถยนต์นั่ง เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ บริษัทไทยที่ไปลงทุนในฟิลิปปินส์ ได้แก่ เครือซีเมนต์ไทย เครือเจริญโภคภัณฑ์ เครื อ โรงแรมดุ ส ิ ต ธานี โรงพยาบาลบำรุ ง ราษฎร์ ปตท. เครื อ อิ ต ั ล ไทย และ ธนาคารกรุงเทพ บริษัทฟิลิปปินส์ที่ลงทุนในไทย ได้แก่ บริษัท Universal Robina, San Miguel และ Liwayway Food Industries ซึ่งลงทุนในอุตสาหกรรมอาหาร และเครื่องดื่ม ม.ค. - มี.ค. พ.ศ. 2555 มีนกั ท่องเทีย่ วฟิลปิ ปินส์มาไทย 67,863 คน นักท่องเทีย่ วไทย ไปฟิลิปปินส์ประมาณ 10,478 คน 700 คน โดยประมาณ (อยู่ในกรุงมะนิลา 350 คน เซบู 300 คน จว.อื่นๆ 60 คน) ไม่มีนักโทษไทยในฟิลิปปินส์ สำนักงานของไทยในฟิลิปปินส์ กรุงมะนิลา (สถานเอกอัครราชทูต) / เซบู (สถานกงสุลกิตติมศักดิ์) สำนักงานของฟิลิปปินส์ในไทย กรุงเทพฯ (สถานเอกอัครราชทูต) 23
Map Merlion Park
สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore)
24
• • • • •
มีเสถียรภาพทางการเมืองสูง ทำให้มีความต่อเนื่องของนโยบาย รัฐบาลมีธรรมาภิบาล โปร่งใส เป็นผู้นำด้าน e - government มีนโยบายการทูตเชิงรุก เป็นผู้นำของอาเซียนประเทศหนึ่ง เป็ น ศู น ย์ ก ลางภู ม ิ ภ าคด้ า นธุ ร กิ จ การค้ า และบริ ก าร โทรคมนาคม การเงิ น และมี เป้าหมายเป็นศูนย์กลางเทคโนโลยีสารสนเทศ พลังงาน และเคมีภัณฑ์ มีระบบโครงสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐานและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย เป็ น พั น ธมิ ต รและหุ ้ น ส่ ว นยุ ท ธศาสตร์ ก ั บ ไทยทั ้ ง ในด้ า นความมั ่ น คงและเศรษฐกิ จ มีระบบการศึกษาและการแพทย์ที่ดีระดับแนวหน้าของเอเชีย มีการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์สูง
ข้อมูลทัว่ ไป พื้นที่ : 699.4 ตารางกิโลเมตร ภาษาราชการ : อังกฤษ จีนกลาง มลายู และทมิฬ (ประมาณเกาะภูเก็ต) ประชากร : 5.31ล้านคน (ประมาณ 1/3 ของประชากร เป็นชาวต่างชาติ) เมืองหลวง : สิงคโปร์ ศาสนา : พุทธมหายาน (42.5%) อิสลาม (14.9%) คริสต์ (14.6.%) ฮินดู (4%) ไม่มศี าสนา (25%) ประธานาธิบดี : นายโทนี ตัน เคง ยัม (Dr. Tony Tan Keng Yam/1 กันยายน พ.ศ. 2554 - ปัจจุบัน) นายกรัฐมนตรี : นายลี เซียน ลุง (Mr.Lee Hsein Loong/12 สิงหาคม พ.ศ. 2547- ปัจจุบัน) รมว.กต. : นายเค ชันมูกัม (Mr. K. Shanmugam/(21 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 - ปัจจุบัน)
วันชาติ : 9 สิงหาคม
วันสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย : 20 กันยายน พ.ศ. 2508
ข้อมูลเศรษฐกิจ (๒๕๕๕) GDP : 266.6 พันล้าน USD สกุลเงิน : ดอลลาร์สงิ คโปร์ (1 ดอลลาร์สงิ คโปร์ ประมาณ 25 บาท สถานะ 11 มี.ค. พ.ศ. 2556) GDP per Capita : 47,254 USD เงินทุนสำรอง : 255 พันล้าน USD (สถานะ ธ.ค. พ.ศ. 2556) Real GDP Growth : ร้อยละ 1.2 อัตราเงินเฟ้อ : ร้อยละ 4.3 (สถานะ ธ.ค. พ.ศ. 2556) ทรัพยากรสำคัญ : ทรัพยากรมนุษย์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรมหลัก : การผลิต การก่อสร้าง การคมนาคมขนส่ง และโทรคมนาคม การเงินและการธนาคาร และการบริการอื่นๆ สินค้าส่งออกที่สำคัญ : เครื่องจักรกล เครื่องไฟฟ้า เคมีภัณฑ์ เสื้อผ้า ตลาดส่งออกที่สำคัญ : มาเลเซีย สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป จีน ญี่ปุ่น ไต้หวัน และไทย สินค้านำเข้าที่สำคัญ : เครื่องจักรกล ชิ้นส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้าน้ำมันดิบ เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์อาหาร ตลาดนำเข้าที่สำคัญ : มาเลเซีย สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น จีน ไต้หวัน ไทย ฮ่องกง
สถิตทิ ส่ี ำคัญ ไทย-สิงคโปร์ (2555) มูลค่าการค้ารวม สินค้าส่งออกของไทย สินค้านำเข้าจากสิงคโปร์ การลงทุน การท่องเที่ยว คนไทยในสิงคโปร์ นักโทษไทยในสิงคโปร์ สำนักงานของไทยในสิงคโปร์ สำนักงานของสิงคโปร์ในไทย
18,668.04 ล้าน USD โดยไทยได้เปรียบดุลการค้า 3,003.33 ล้าน USD ลดลงร้อยละ 54.34 เมื่อเปรียบเทียบกับมูลค่าการค้ารวม ปี พ.ศ. 2554 ทั้งนี้ สิงคโปร์เป็นคู่ค้า อันดับที่ 6 ของไทย น้ำมันสำเร็จรูป แผงวงจรไฟฟ้า เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ส่วนประกอบอากาศยานและอุปกรณ์การบิน เครื่องจักรกลและส่วนประกอบของ เครื่องจักรกล เคมีภัณฑ์ เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ ส่วนประกอบอากาศยาน และอุปกรณ์การบิน เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ น้ำมันดิบ ข้าว (มูลค่า การส่งออกปี พ.ศ. 2555 มีมูลค่า 10,835.68 ล้าน USD ลดลงร้อยละ 5.14 เมื่อเปรียบเทียบกับมูลค่าการส่งออกปี พ.ศ. 2555) เคมีภณ ั ฑ์ เครือ่ งคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เรือและสิง่ ก่อสร้างลอยน้ำ แผงวงจรไฟฟ้า น้ำมันสำเร็จรูป เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ เครื่องจักรไฟฟ้า และส่วนประกอบ พืชและผลิตภัณฑ์จากพืช กระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ และ ผลิตภัณฑ์ อาหาร (มูลค่าการนำเข้าปี พ.ศ. 2555 มีมูลค่า 7,832.36 ล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.69 เมื่อเปรียบเทียบกับมูลค่าการนำเข้าปี พ.ศ. 2554) ในปี 2555 สนง. คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนได้อนุมัติ 103 โครงการ คิดเป็น มูลค่าการลงทุนรวม 19,418.2 ล้านบาท ส่วนใหญ่อยูใ่ นสาขาบริการ อิเล็กทรอนิกส์ และผลิตภัณฑ์ไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์โลหะและเครื่องจักร เคมีภัณฑ์และกระดาษ ผลิตภัณฑ์การเกษตร อุตสาหกรรมเบาและสิ่งทอ เหมืองแร่ และเซรามิก ในปี พ.ศ. 2555 มีนักท่องเที่ยวสิงคโปร์มาไทย 821,016 คน เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2554 ร้อยละ 20.33 ในปี พ.ศ. 2555 มีคนไทยในสิงคโปร์ประมาณ 44,000 คน โดยส่วนใหญ่เป็นแรงงาน ในภาคอุตสหากรรมก่อสร้างและอู่ต่อเรือ ในปี พ.ศ. 2555 มีนักโทษไทยในสิงคโปร์ 35 คน เป็นชาย 20 คน หญิง 15 คน ส่วนใหญ่ถูกดำเนินคดีข้อหายาเสพติดและทำงานโดยไม่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย สิงคโปร์ (สถานเอกอัครราชทูต) กรุงเทพฯ (สถานเอกอัครราชทูต) 25
Map
Wat Phra Kaew
ราชอาณาจักรไทย (The Kingdom of Thailand) ตั้งอยู่บนคาบสมุทรอินโดจีนและมลายู ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนด้าน ตะวันออกติดประเทศลาวและประเทศกัมพูชา ทิศใต้เป็นแดนต่อแดนประเทศมาเลเซียและอ่าวไทย ทิศตะวันตกติดทะเลอันดามันและประเทศเมียนมาร์ และทิศเหนือติดประเทศเมียนมาร์และลาว มีแม่นำ้ โขงกัน้ เป็นบางช่วง ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยแบบมีรฐั สภา มีศนู ย์กลางการบริหาร ราชการแผ่นดินอยู่ที่กรุงเทพมหานคร และแบ่งเขตการบริหารออกเป็น การบริหารราชการ ส่วนภูมิภาค ได้แก่ จังหวัด 77 จังหวัด 877 อำเภอ และ 7,255 ตำบล และการปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล และองค์การบริหารส่วนตำบล
26
ข้อมูลทัว่ ไป พื้นที่ : 513,120 ตารางกิโลเมตร ภาษาราชการ : ภาษาไทย ประชากร : 68 ล้านคน (พ.ศ. 2554) เมืองหลวง : กรุงเทพมหานคร ศาสนา : พุทธศาสนา (ร้อยละ 95) ประมุข : พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช นายกรัฐมนตรี : นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร รมว.กต. : นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล วันชาติ : 5 ธันวาคม
ข้อมูลเศรษฐกิจ (๒๕๕๕)
GDP : 345.6 พันล้าน USD สกุลเงิน : บาท (1 ดอลลาร์สหรัฐ ประมาณ 29.09 บาท) (สถานะ เม.ย. พ.ศ. 2556) GDP per Capita : 5,115.8 USD เงินทุนสำรอง : 178.7 พันล้าน USD (สถานะ มี.ค. พ.ศ. 2556) Real GDP Growth : ร้อยละ 6.4 อัตราเงินเฟ้อ : ร้อยละ 3 ทรัพยากรสำคัญ : อัญมณีและเครื่องประดับ ยางพารา ผลิตภัณฑ์ยาง ข้าว อุตสาหกรรมหลัก : สินค้าอุตสาหกรรม, การบริการ, สินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร สินค้าส่งออกที่สำคัญ : ยานยนต์และส่วนประกอบ, เครือ่ งคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ, เชือ้ เพลิง, อัญมณีและเครื่องประดับ ตลาดส่งออกที่สำคัญ : กลุ่มประเทศอาเซียน (9 ประเทศ) ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป สินค้านำเข้าที่สำคัญ : น้ำมันดิบ เครื่องจักรและส่วนประกอบ เครื่องใช้ไฟฟ้าและส่วนประกอบ เคมีภัณฑ์ ตลาดนำเข้าที่สำคัญ : ญี่ปุ่น กลุ่มประเทศอาเซียน (9 ประเทศ) สหภาพยุโรป และสหรัฐอเมริกา
ข้อมูลสำคัญอืน่ ๆ จำนวนสถานเอกอัครราชทูตไทยในต่างประเทศ 65 แห่ง จำนวนคณะผู้แทนถาวรแห่งประเทศไทยประจำสหประชาชาติ 2 แห่ง (นครนิวยอร์ก / นครเจนีวา) จำนวนคณะผู้แทนถาวรแห่งประเทศไทยประจำอาเซียน 1 แห่ง (กรุงจาการ์ตา) จำนวนสถานกงสุลใหญ่ไทยในต่างประเทศ 26 แห่ง จำนวนสำนักงานเศรษฐกิจการค้าไทยในต่างประเทศ 1 แห่ง (เมืองไทเป)
27
Map Ho Chi Minh City Hall
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (The Socialist Republic of Vietnam) • • • •
28
เป็นประเทศเพื่อนบ้านอาเซียนที่มีบทบาทสำคัญด้านความมั่นคงในภูมิภาค เป็นตลาดใหม่ในภูมิภาคอินโดจีน การบริโภคในประเทศขยายตัวต่อเนื่อง ศักยภาพการผลิตสูง แรงงานในประเทศมีคุณภาพและยังคงมีค่าจ้างแรงงานต่ำ การขยายตัวทางเศรษฐกิจในปี พ.ศ. 2555 ประมาณร้อยละ 5.03 ตั้งเป้าหมายเป็นประเทศอุตสาหกรรมภายในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020)
ข้อมูลทัว่ ไป พื้นที่ : 331,690 ตารางกิโลเมตร ภาษาราชการ : เวียดนาม (ประมาณร้อยละ 64 ของไทย) ประชากร : 91.5 ล้านคน (ก.ค. พ.ศ. 2555) เมืองหลวง : กรุงฮานอย ศาสนา : ไม่มีศาสนาประจำชาติ (ประชาชนร้อยละ 9.3 นับถือศาสนาพุทธ (นิกายมหายาน) ประธานาธิบดี : นายเจือง เติ๊น ซาง (Mr. Truong Tan Sang) นายกรัฐมนตรี : นายเหวียน เติ๊น สุง (Mr. Nguyen Tan Dung) รมว.กต. : นายฝ่าม บิ่งห์ มิงห์ (Mr.Pham Binh Minh)
วันชาติ : 2 กันยายน
วันสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย : 6 สิงหาคม พ.ศ. 2519
ข้อมูลเศรษฐกิจ (๒๕๕๕) GDP : 136 พันล้าน USD (ปี พ.ศ. 2555) สกุลเงิน : ดอง (714 ดอง ประมาณ 1 บาท) สถานะ ม.ค. พ.ศ. 2555 GDP per Capita : 1,486.34 USD (ปี พ.ศ. 2555) เงินทุนสำรอง : 20 พันล้าน USD (ธ.ค. พ.ศ. 2555) Real GDP Growth : ร้อยละ 5.03 (ปี พ.ศ. 2555) อัตราเงินเฟ้อ : ร้อยละ 6.81 (ปี พ.ศ. 2555) ทรัพยากรสำคัญ : แร่ฟอสเฟต น้ำมันและก๊าซธรรมชาตินอกชายฝั่ง ถ่านหิน แร่บ๊อกไซต์ ไม้ซุง อุตสาหกรรมหลัก : อาหารแปรรูป สิง่ ทอ รองเท้า ผลิตเครือ่ งจักร เหมืองแร่ ถลุงเหล็ก ปูนซีเมนต์ ปุย๋ เคมี ยางรถยนต์ กระดาษ สินค้าส่งออกที่สำคัญ : สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม โทรศัพท์มือถือ น้ำมันดิบ รองเท้า เครื่องหนัง คอมพิวเตอร์ และอาหารทะเล ตลาดส่งออกที่สำคัญ : สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป อาเซียน จีน และญี่ปุ่น สินค้านำเข้าที่สำคัญ : น้ำมัน ปุ๋ย รถยนต์ รถจักรยานยนต์ ตลาดนำเข้าที่สำคัญ : จีน อาเซียน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป
สถิตทิ ส่ี ำคัญ ไทย-เวียดนาม (๒๕๕๕) มูลค่าการค้าไทย-เวียดนาม ในปี พ.ศ. 2555 มูลค่าการค้าไทย-เวียดนามอยู่ที่ 8.967 พันล้าน USD (เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.35 จากปี
พ.ศ. 2554) โดยไทยส่งออกไปเวียดนาม 6.196 พันล้าน USD (ลดลงร้อยละ 12.2 จากปี พ.ศ. 2554) และไทยนำเข้าจากเวียดนาม 2.770 พันล้าน USD (เพิ่มขึ้นร้อยละ 36.4 จากปี พ.ศ. 2554) ทำให้ไทยเป็นฝ่ายได้ดุลการค้าคิดเป็นมูลค่ารวม 3.426 พันล้าน USD ในช่วง 9 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2555 ไทยเป็นคู่ค้าอันดับที่ 7 ของเวียดนาม โดยเวียดนามนำเข้าจากไทยเป็นลำดับที่ 6 และส่งออกไปยังไทย เป็นลำดับที่ 11 ช่วง 3 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2556 มูลค่าการค้า ไทย-เวียดนาม อยู่ที่ 2.393 พันล้าน USD (เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.09) โดยไทยส่งออกไปเวียดนาม 1.562 พันล้าน USD (เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 4.11) และไทยนำเข้าจากเวียดนาม 832 ล้าน USD (เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 43.50) สินค้าส่งออกของไทย น้ำมันสำเร็จรูป เม็ดพลาสติก เคมีภณ ั ฑ์ ผลไม้สด ผลิตภัณฑ์ยาง เหล็กและเหล็กกล้า รถยนต์ เครือ่ งจักร น้ำตาลทราย และกระดาษ สินค้านำเข้าจากเวียดนาม เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน เครื่องจักรไฟฟ้า น้ำมันดิบ เหล็ก ด้ายและเส้นใย สัตว์น้ำแช่แข็งและแปรรูป คอมพิวเตอร์ เครือ่ งจักรกล และชากาแฟ การลงทุน ในปี พ.ศ. 2555 ไทยมีการลงทุนในเวียดนามมากเป็นลำดับที่ 11 จากประเทศที่เข้ามาลงทุนทั้งหมด และอันดับที่ 7 จากประเทศในกลุ่มอาเซียน โดยมีมูลค่าการลงทุนสะสมของไทยในเวียดนามระหว่างปี พ.ศ 2533 - พ.ศ. 2555 จำนวน 5.901 พันล้าน USD โดยมีโครงการทั้งสิ้น 286 โครงการ สาขาการลงทุนที่สำคัญ ได้แก่ อุตสาหกรรมการแปรรูปสินค้าเกษตร อาหารสัตว์ โรงแรม การผลิตชิ้นส่วนรถยนต์และรถจักรยานยนต์ สินค้าอุปโภคบริโภค อสังหาริมทรัพย์ ภัตตาคาร การท่องเที่ยว ในปี พ.ศ. 2555 มีนักท่องเที่ยวไทยเดินทางไปเวียดนามจำนวน 225,866 คน (เพิ่มขึ้นร้อยละ 24.22 จากปี พ.ศ. 2554) และมีนักท่องเที่ยวเวียดนามเดินทางมาไทย 617,804 คน(เพิ่มขึ้นร้อยละ 24.36 จากปี พ.ศ. 2554) ซึ่งเป็นลำดับที่ 4 จากประเทศ ในกลุ่มอาเซียน รองจากมาเลเซีย ลาว และสิงคโปร์ คนไทยในเวียดนาม ประมาณ 1,500 คน โดยพำนักอยู่ในกรุงฮานอยและจังหวัดใกล้เคียงประมาณ 500 คน พำนักอยู ่ ในนครโฮจิมนิ ห์และจังหวัดใกล้เคียงประมาณ 1,000 คน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ นักธุรกิจ พนักงานบริษทั และแม่บา้ น) 1,200-1,300 คน (ส่วนใหญ่เป็นนักเรียนและนักศึกษาที่ศึกษาในระดับอุดมศึกษาในภาค ตอ./เหนือ) สำนักงานของไทยในเวียดนาม กรุงฮานอย (สถานเอกอัครราชทูต) (สนง.ส่งเสริมการค้า รปท.) (สนง. ผชท. ทห.) / นครโฮจิมินห์ (สกญ.) (สนง.ส่งเสริมการค้า รปท.) (สนง.ททท.) สำนักงานของเวียดนามในไทย กรุงเทพฯ (สถานเอกอัครราชทูต) / ขอนแก่น (สถานกงสุลใหญ่) 29
กำเนิด
และพัฒนาการของอาเซียน จากสมาคมอาเซียนสูป่ ระชาคมอาเซียน 30
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
• นายอาดัม มาลิก รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย • นายตุน อับดุล ราชัก บิน ฮุสเซน รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง กลาโหม และรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ มาเลเซีย • นายนาชิโช รามอส รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐฟิลปิ ปินส์ • นายเอส ราชารัตนัม รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐสิงคโปร์ • พันเอก (พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ราชอาณาจักรไทย
เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดีต่อกัน ระหว่างประเทศในภูมิภาค ธำรงไว้ซึ่งสันติภาพ เสถียรภาพ และความมั่นคงปลอดภัย ทางการเมือง สร้างสรรค์ความเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาทางสังคมและ วัฒนธรรม การกินดีอยู่ดี บนพื้นฐานของความเสมอภาคและผลประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งจาก เจตน์จำนงที่สอดคล้องกันนี้ เนการาบรูไนดารุสซาลาม ได้เข้าเป็นสมาชิกในลำดับที่ 6 เมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2527 สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เข้าเป็นสมาชิกลำดับที่ 7 เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 สาธารณรั ฐประชาธิ ป ไตยประชาชนลาวและ สหภาพพม่า (ปัจจุบนั เปลีย่ นชือ่ เป็น สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์) เข้าเป็นสมาชิกพร้อมกัน เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 และราชอาณาจักรกัมพูชา เข้าเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2542 ทำให้ปัจจุบันอาเซียนมีสมาชิกรวมทั้งหมด 10 ประเทศ 31
ASEAN COMMUNITY ASEAN
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียน ก่อตั้งขึ้นโดย ปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaraton) ซึ่งลงนามโดยรัฐมนตรีจาก 5 ประเทศสมาชิก ผู้ก่อตั้ง ได้แก่
สัญลักษณ์ของอาเซียน
เป็นรวงข้าวสีเหลือง 10 มัด ผูกมัด ไว้ ด้วยกัน หมายถึง การที่ประเทศในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ ทั้ง 10 ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพ และความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน อยู่ในพื้นที่วงกลมสีแดง ขอบสี ข าวและน้ ำ เงิ น ซึ ่ ง แสดงถึ ง ความเป็ น เอกภาพ มีตวั อักษรคำว่า “asean” สีนำ้ เงินอยูใ่ ต้ภาพ อันแสดงถึง ความมุ่งมั่นที่จะทำงานร่วมกันเพื่อความมั่นคง สันติภาพ เอกภาพ และความก้าวหน้าของประเทศสมาชิกอาเซียน สีทั้งหมดที่ปรากฏในสัญลักษณ์ของอาเซียนเป็นสีสำคัญ ที่ปรากฏในธงชาติของแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนโดย
สีน้ำเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและความก้าวหน้า สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง
32
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
START
8 ÊÔ§ËÒ¤Á
ASEAN COMMUNITY 2556
2527
Bangkok Declaration
2538
2540
2542 2550 ASEAN COMMUNITY ASEAN
¾.È. 2010
Established Joined Joined Joined Joined ASEAN CHARTER
พัฒนาการของอาเซียน นับตั้งแต่ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2510 จนถึงปัจจุบัน อาเซียนมีการพัฒนามาอย่าง ต่ อ เนื ่ อ ง และได้ ก ลายเป็นองค์กรที่มีความแข็งแกร่ง ขึ ้ น ตามลำดั บ โดยมี ก ารกระชั บ ความสัมพันธ์ ท างการเมื อ งและความมั ่ น คง และพั ฒ นาความร่ ว มมื อ ด้ า นเศรษฐกิ จ ให้เอื้ออำนวยต่อศักยภาพในการแข่งขันของอาเซียนให้เพิ่มมากขึ้น รวมทั้งมีปฏิสัมพันธ์ ที่สร้างสรรค์กบั ประเทศภายนอกภูมภิ าคและประชาคมโลกอย่างใกล้ชดิ โดยมุง่ เน้นการสร้าง สถาปัตยกรรมในภูมิภาคที่มีอาเซียนเป็นศูนย์กลาง ทั้งนี้ โดยยึดมั่นในหลักการให้ประชาชน เป็นศูนย์กลางของการพัฒนา และลดช่องว่างในการพัฒนาของประเทศสมาชิกอาเซียน
33
พัฒนาการของความร่วมมืออาเซียน
ในช่วงปี พ.ศ. 2510-2539
ในด้านการเมืองและความมัน่ คง อาเซียนได้มงุ่ เน้นความร่วมมือเพือ่ ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงของภูมิภาค โดยได้มีการจัดทำปฏิญญากำหนดให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ เป็นเขตแห่งสันติภาพเสรีภาพ และความเป็นกลาง (Zone of Peace, Freedom, and Neutrality : ZOPFAN) ในปี พ.ศ. 2514 จัดทำสนธิสญั ญามิตรภาพและความร่วมมือในภูมภิ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation : TAC) ในปี พ.ศ. 2519 และจัดทำสนธิสญ ั ญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty on the Southeast Asia Nuclear Weapon - Free Zone : SEANWFZ) ในปี พ.ศ. 2538 รวมทั้งได้ริเริ่มการประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมัน่ คงในภูมภิ าค เอเชีย - แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum : ARF) ซึ่งเป็นเสมือนกลไกเสริมสร้าง ความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building) โดยใช้แนวทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) เพื่อป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้งในภูมิภาค โดยประเทศไทย ได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ครั้งแรกที่กรุงเทพฯ เมื่อปี พ.ศ. 2537 ¾.È. 2514
¾.È. 2519 ¨Ñ´·Óʹ¸ÔÊÑÞÞÒÁÔµÃÀÒ¾ áÅФÇÒÁËÇÁÁ×Íã¹ÀÙÁÔÀÒ¤ àÍàªÕµÐÇѹÍÍ¡à©Õ§㵌 (Treaty of Amity and Cooperation : TAC)
¾.È. 2538 ¨Ñ´·Óʹ¸ÔÊÑÞÞÒ à¢µ»ÅÍ´ÍÒÇظ¹ÔÇà¤ÅÕÂà ã¹ÀÙÁÔÀÒ¤àÍàªÕµÐÇѹÍÍ¡à©Õ§㵌 (Treaty on the Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone : SEANWFZ)
¾.È. 2537 ÃÔàÃÔèÁ¡ÒûÃЪØÁÍÒà«Õ¹ Ç‹Ò´ŒÇ¤ÇÒÁËÇÁÁ×Í´ŒÒ¹¡ÒÃàÁ×ͧ áÅФÇÒÁÁÑ蹤§ã¹ÀÙÁÔÀÒ¤àÍàªÕÂ-ừԿ ¡ (ASEAN Regional Forum : ARF)
34
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
นอกจากนี้ เพื่อให้ประชาชนอาเซียนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดีและมีการพัฒนา ในทุกด้าน รวมทั้งส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประชาชนอาเซียน ตลอดจนสร้างจิตสำนึก ในความเป็นอาเซียน (ASEAN Awareness) อาเซียนยังให้ความสำคัญกับความร่วมมือ เฉพาะด้าน (Functional Cooperation) ในประเด็นด้านสังคมและวัฒนธรรมที่ครอบคลุม หลายสาขา อาทิ การศึกษา วัฒนธรรม สาธารณสุข แรงงาน สิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เป็นต้น
35
ASEAN COMMUNITY ASEAN
ในด้านเศรษฐกิจ อาเซียนคำนึงถึงความจำเป็นที่จะต้องสร้างกลุ่มเศรษฐกิจ ในภูมิภาคเพื่อเสริมสร้างอำนาจต่อรองและเพิ่มศักยภาพในการผลิตของอาเซียน ในการนี้ อาเซียนโดยการผลักดันของประเทศไทยจึงได้ลงนามจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area : AFTA) ในปี พ.ศ. 2535 เพื่อลดภาษีศุลกากรระหว่างกันเพื่อเพิ่ม ปริมาณการค้าภายในอาเซียน ลดต้นทุนการผลิตสินค้า และดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2541 อาเซียนได้ขยายความร่วมมือด้านเศรษฐกิจเพิ่มเติมเพื่อให้ การรวมตัวทางเศรษฐกิจมีความสมบูรณ์แบบและมีทิศทางที่ชัดเจน ด้วยการจัดตั้งเขต การลงทุนอาเซียน (ASEAN Investment Area : AIA) ซึ่งต่อมาได้มีการขยายขอบเขตของ ความตกลงฯ ให้ครอบคลุมความร่วมมือด้านการค้าและบริการ โดยมีเป้าหมายให้มีการเปิด เสรีครอบคลุมทุกสาขาบริการภายในปี พ.ศ. 2563
กำเนิดประชาคมอาเซียน : จากวิสยั ทัศน์อาเซียน
2020 สูป่ ฏิญญาว่าด้วย ความร่วมมืออาเซียน ฉบับที่ 2 หรือ ปฏิญญาบาหลี 2
ในโอกาสครบรอบ 30 ปีของการก่อตั้งอาเซียน เมื่อปี พ.ศ. 2540 ผู้นำอาเซียน ได้รับรองเอกสาร วิสัยทัศน์อาเซียน 2020 (ASEAN Vision 2020) เพื่อกำหนดเป้าหมาย ว่าภายในปี ค.ศ. 2020 (พ.ศ. 2563) อาเซียนจะเป็น
1) วงสมานฉันท์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ A Concert of Southeast Asian Nations 2) หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างมีพลวัต A Partnership in Dynamic Development 3) มุ่งปฏิสัมพันธ์กับประเทศภายนอก An Outward - Looking ASEAN 4) ชุมชนแห่งสังคมที่เอื้ออาทร A Community of Caring Societies
ต่อมาในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครัง้ ที่ 9 ระหว่างวันที่ 7 - 8 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ณ บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ผู้นำอาเซียนได้ลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน ฉบับที่ 2 (Declaration of ASEAN Concord II หรือ Bali Concord II) โดยเห็นชอบให้มี การจัดตั้ง ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ภายในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) โดยประชาคมอาเซียนประกอบด้วย 3 เสาหลัก ได้แก่
36
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community : ASC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) และ ประชาคมสังคม - วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio - Cultural Community : ASCC)
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
อาเซียนกับประชาคมโลก : ปฏิญญาบาหลี 3 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 19 ณ บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ผู้นำอาเซียนได้ลงนามในปฏิญญาบาหลีว่าด้วยเรื่องประชาคม อาเซียนในประชาคมโลก หรือ ปฏิญญาบาหลี 3 (Bali Concord III) ซึ่งนับเป็นเอกสาร ทีส่ ะท้อนเจตนารมณ์และความพร้อมของอาเซียนในการสร้างวิสยั ทัศน์หลังการสร้างประชาคม อาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 ซึ่งจะดำเนินการควบคู่ไปกับการเสริมสร้างความเข้มแข็งของ ประชาคมอาเซียน และพัฒนาบทบาทของประชาคมอาเซียนในประชาคมโลก เอกสารฉบับนี้ ยังมีความชัดเจนมากขึ้นเกี่ยวกับความร่วมมือภายใต้ประชาคมอาเซียนทั้ง 3 เสา พร้อมทั้ง เน้นย้ำถึงนโยบายและผลประโยชน์ร่วมกันของอาเซียนในเวทีโลก
37
ASEAN COMMUNITY ASEAN
และในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 12 เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2550 ณ เมืองเซบู ประเทศฟิลิปปินส์ ผู้นำอาเซียนได้ตกลงกันที่จะเร่งรัดกระบวนการสร้าง ประชาคมอาเซียนให้แล้วเสร็จภายในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) รวมทั้งได้ออกปฏิญญา เซบูวา่ ด้วยพิมพ์เขียวกฎบัตรอาเซียน (Cebu Declaration on the Blueprint of the ASEAN Charter) เพื่อยืนยันเจตนารมณ์ในการมีกฎบัตรอาเซียนเพื่อเป็นธรรมนูญในการดำเนินงาน เนื ่ อ งจากอาเซี ย นตระหนักว่าการรวมกลุ่มในระดับภู ม ิ ภ าคของอาเซี ย นต้ อ งเผชิ ญ กั บ ความท้าทายและโอกาสที่หลากหลาย ทำให้อาเซียนจำเป็นต้องยกระดับความร่วมมือและ องค์การให้แข็งแกร่งยิง่ ขึน้ โดยกฎบัตรอาเซียนทำให้อาเซียนมีสถานะนิตบิ คุ คลตามกฎหมาย ระหว่างประเทศ เป็นสนธิสัญญาที่ก่อให้เกิดพันธกรณีระหว่างประเทศสมาชิก วางโครงสร้าง ของอาเซียนใหม่ให้มีความสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยผู้นำอาเซียนได้รับรอง กฎบัตรอาเซียนระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ณ ประเทศสิงคโปร์
กฎบัตรอาเซียน
(ASEAN Charter)
ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อปี พ.ศ. 2550 ที่ประเทศสิงคโปร์ ผู้นำอาเซียนได้ลงนามในกฎบัตรอาเซียน ซึ่งเปรียบเสมือนธรรมนูญของอาเซียนที่จะวาง กรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กร เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพของอาเซียนในการดำเนินการ ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขับเคลื่อนการรวมตัวเป็นประชาคม อาเซียนภายในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ.2015) ตามที่ผู้นำอาเซียนได้ตกลงกันไว้ โดยวัตถุประสงค์ ของกฎบัตรอาเซียน คือ ทำให้อาเซียนเป็นองค์การทีม่ ปี ระสิทธิภาพ มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง และเคารพกฎกติกาในการทำงานมากขึน้ นอกจากนี้ กฎบัตรอาเซียน ยังทำให้อาเซียนมีสถานะ เป็นนิติบุคคล ในฐานะที่เป็นองค์กรระหว่างรัฐบาล (Intergovernmental Organization) 38
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
กฎบัตรอาเซียน ประกอบด้วยข้อบทต่างๆ 13 บท 55 ข้อ โดยมีประเด็นใหม่ทแ่ี สดง ความก้าวหน้าของอาเซียน ได้แก่ (1) การจัดตั้งคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (2) การให้อำนาจเลขาธิการอาเซียนสอดส่องและรายงานการทำตามความตกลง ของรัฐสมาชิก (3) การจัดตั้งกลไกสำหรับการระงับข้อพิพาทต่างๆ ระหว่างประเทศสมาชิก (4) การให้ผู้นำเป็นผู้ตัดสินว่าจะดำเนินการอย่างไรต่อรัฐผู้ละเมิดพันธกรณี ตามกฎบัตรฯ อย่างร้ายแรง (5) การเปิดช่องให้ใช้วิธีการอื่นในการตัดสินใจได้ หากไม่มีฉันทามติ (6) การส่งเสริมการปรึกษาหารือกันระหว่างประเทศสมาชิกเพื่อแก้ไขปัญหา ที่กระทบต่อผลประโยชน์ร่วม ซึ่งทำให้การตีความหลักการห้ามแทรกแซง กิจการภายในมีความยืดหยุ่นมากขึ้น (7) การเพิ่มบทบาทของประธานอาเซียน เพื่อให้อาเซียนสามารถตอบสนองต่อ สถานการณ์ฉุกเฉินได้อย่างทันท่วงที (8) การเปิดช่องทางให้อาเซียนสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับองค์กรภาคประชาสังคม มากขึ้น (9) การปรับปรุงโครงสร้างองค์กรให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ เช่น ให้มกี ารประชุม สุดยอดอาเซียน 2 ครั้งต่อปี จัดตั้งคณะมนตรีเพื่อประสานความร่วมมือ ในแต่ละ 3 เสาหลัก และการมีคณะกรรมการผู้แทนถาวรประจำอาเซียน ทีก่ รุงจาการ์ตา เพื่อลดเวลาและค่าใช้จ่ายในการประชุมของอาเซียน เป็นต้น
กฎบัตรอาเซียนมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551 กล่าวคือ หลังจาก ที่ประเทศสมาชิกครบทั้ง 10 ประเทศ ได้ให้สัตยาบันกฎบัตรอาเซียน โดยการประชุมสุดยอด อาเซียนครั้งที่ 14 ระหว่างวันที่ 28 กุมภาพันธ์ - 1 มีนาคม พ.ศ. 2552 ที่จังหวัดเพชรบุรี เป็นการประชุมระดับผู้นำอาเซียนครั้งแรกหลังจากกฎบัตรอาเซียนมีผลบังคับใช้
39
ASEAN CHARTER
โครงสร้างและกลไก การดำเนินงานของอาเซียน
¡ÒûÃЪØÁ ÊØ´ÂÍ´ÍÒà«Õ¹
¤³ÐÁ¹µÃÕ»ÃÐÊÒ¹§Ò¹
¤³ÐÁ¹µÃÕ ¤³ÐÁ¹µÃÕ ¤³ÐÁ¹µÃÕ »ÃЪҤÁ¡ÒÃàÁ×ͧ »ÃЪҤÁàÈÃÉ°¡Ô¨ »ÃЪҤÁàÊѧ¤Á áÅФÇÒÁÁÑ蹤§ÍÒà«Õ¹ ÍÒà«Õ¹ áÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁÍÒà«Õ¹
¡ÒûÃЪØÁ਌ҷÕèÍÒÇØâÊ ¢Í§¤³ÐÁ¹µÃÕÏ
40
¡ÒûÃЪØÁ਌ҷÕèÍÒÇØâÊ ¢Í§¤³ÐÁ¹µÃÕÏ
¡ÒûÃЪØÁ਌ҷÕèÍÒÇØâÊ ¢Í§¤³ÐÁ¹µÃÕÏ
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
กฎบัตรอาเซียน ซึ่งเปรียบเสมือนธรรมนูญของอาเซียน มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ได้กำหนดโครงสร้างองค์กรของอาเซียน ไว้ในหมวดที่ 4 ดังนี้
1. การประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit)
2. คณะมนตรีประสานงานอาเซียน (ASEAN Coordinating Councils : ACCs) คณะมนตรีประสานงานอาเซียน ประกอบด้วยรัฐมนตรีตา่ งประเทศสมาชิกอาเซียน ทำหน้าที่เตรียมการประชุมสุดยอดอาเซียน ประสานงานความตกลงและข้อตัดสินใจของ ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ประสานงานระหว่าง 3 เสาหลัก ดูแลการดำเนินงานและ กิจการต่างๆ ของอาเซียนในภาพรวม โดยคณะมนตรีประสานงานอาเซียนจะมีการประชุมกัน อย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี
3. คณะมนตรีประชาคมอาเซียน (ASEAN Community Councils) คณะมนตรีประชาคมอาเซียนประกอบด้วย คณะมนตรีประชาคม 3 เสาหลัก อันได้แก่ คณะมนตรีการเมืองและความมั่นคงอาเซียน คณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน และคณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ซึ่งเป็นผู้แทนที่ประเทศ สมาชิกแต่งตั้งให้เป็นผู้รับผิดชอบแต่ละเสาหลัก มีอำนาจหน้าที่ในการประสานงานและ ติ ด ตามการทำงานตามนโยบาย โดยเสนอรายงานและข้ อ เสนอแนะต่ อ ที ่ ป ระชุ ม ผู ้ น ำ โดยมีการประชุมอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ประธานการประชุมเป็นรัฐมนตรีจากประเทศสมาชิก ซึ่งเป็นประธานอาเซียน
41
ASEAN STRUCTURE
การประชุ ม สุ ด ยอดอาเซี ย น (ASEAN Summit) ประกอบด้ ว ยประมุ ข หรื อ หัวหน้ารัฐบาล มีอำนาจหน้าที่ในการกำหนดนโยบายสูงสุดและแนวทางร่วมมือของอาเซียน และตัดสินใจในเรื่องสำคัญ โดยให้ประเทศสมาชิกซึ่งเป็นประธานอาเซียนเป็นเจ้าภาพ จัดการประชุม 2 ครั้งต่อปี หรือเรียกประชุมพิเศษหรือเฉพาะกิจเมื่อมีความจำเป็น
4. องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา (ASEAN Sectoral Ministerial Bodies) องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา (เช่น ด้านสาธารณสุข ด้านกลาโหม ด้านการศึกษา ฯลฯ) ประกอบด้วยรัฐมนตรีเฉพาะสาขา มีหน้าที่ปฏิบัติตามข้อตกลงและ ข้อตัดสินใจของทีป่ ระชุมสุดยอดอาเซียน ทีอ่ ยูใ่ นขอบข่ายการดำเนินงานของตน และเสริมสร้าง ความร่วมมือในสาขาของแต่ละองค์กรให้เข้มแข็งขึน้ เพือ่ สนับสนุนการรวมตัวของประชาคม อาเซียน
5. เลขาธิการอาเซียนและสำนักเลขาธิการอาเซียน (Secretary-General of ASEAN and ASEAN Secretariat) สำนักเลขาธิการอาเซียนเป็นหน่วยงานกลางถาวรของอาเซียน โดยมีเลขาธิการ อาเซียนเป็นหัวหน้าเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหาร และมีเจ้าหน้าที่ประจำรับผิดชอบงานเลขานุการ ของอาเซียน เลขาธิการอาเซียน ได้รับการแต่งตั้งโดยที่ประชุมสุดยอดอาเซียนและมีวาระ การดำรงตำแหน่ง 5 ปี โดยไม่มีการต่ออายุ เลขาธิการอาเซียนจะคัดเลือกจากคนชาติ ของประเทศสมาชิกอาเซียนหมุนเวียนกันไปตามตัวอักษรของชื่อประเทศในภาษาอังกฤษ ตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนมีศักดิ์ศรีและสถานะเทียบเท่ากับรัฐมนตรี รองเลขาธิการอาเซียน มีจำนวน 4 คน ซึ่งมีสัญชาติแตกต่างจากเลขาธิการและ คัดเลือกมาจากประเทศสมาชิกอาเซียน 4 ประเทศที่แตกต่างกัน โดยรองเลขาธิการ 2 คน จะคัดเลือกมาจากคนชาติประเทศสมาชิกอาเซียนหมุนเวียนกันไปตามลำดับตัวอักษรของ ชื่อประเทศในภาษาอังกฤษ และมีวาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี โดยไม่มีการต่ออายุ ส่วนรอง เลขาธิการอีก 2 คน จะมาจากการคัดเลือกทั่วไปบนพื้นฐานของความรู้ ความสามารถ และมีวาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี และสามารถต่ออายุได้อีก 3 ปี
42
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
6. คณะกรรมการผูแ้ ทนถาวรประจำอาเซียน (Committee of Permanent Representatives to ASEAN)
7. สำนักงานอาเซียนแห่งชาติ (ASEAN National Secretariat) เป็นหน่วยงานระดับกรมในกระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งแต่ละประเทศได้จัดตั้งเพื่อทำหน้าที่รับผิดชอบประสานงาน สนับสนุนภารกิจและ ความร่ ว มมื อ ต่ า งๆ เกี ่ ย วกั บ อาเซี ย นในประเทศนั ้ น ๆ สำหรั บ ประเทศไทยหน่ ว ยงาน ที่ทำหน้าที่เป็นสำนักงานอาเซียนแห่งชาติ คือ กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
8. องค์กรสิทธิมนุษยชนอาเซียน (ASEAN Human Rights Body) เป็นองค์กรที่จัดตั้งโดยความประสงค์และหลักการของกฎบัตรอาเซียนเกี่ยวกับ การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน ซึ่งคณะทำงานและอำนาจ หน้าที่ จะได้กำหนดโดยที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน
9. มูลนิธอิ าเซียน (ASEAN Foundation) มูลนิธอิ าเซียนสนับสนุนเลขาธิการอาเซียนและดำเนินการร่วมกับองค์กรของอาเซียน ที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการสร้างประชาคมอาเซียน โดยการส่งเสริมความสำนึกที่เพิ่มขึ้น เกี่ยวกับอัตลักษณ์ของอาเซียน การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชาชน การดำเนินงานร่วมกัน ที ่ ใ กล้ ช ิ ด ระหว่ า งภาคธุ ร กิ จ ภาคประชาสั ง คม นั ก วิ ช าการ และผู ้ ม ี ส ่ ว นได้ เ สี ย อื ่ น ๆ ในอาเซียน 43
ASEAN STRUCTURE
คณะกรรมการผูแ้ ทนถาวรประจำอาเซียน เป็นผูแ้ ทนระดับเอกอัครราชฑูตทีแ่ ต่งตัง้ จากประเทศสมาชิกให้ประจำที่สำนักงานใหญ่อาเซียน กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย มีหน้าที่สนับสนุนการทำงานของคณะมนตรีประชาคมอาเซียนและองค์กรระดับรัฐมนตรี เฉพาะสาขา ประสานงานกับเลขาธิการสำนักงานอาเซียนและสำนักงานเลขาธิการอาเซียน ในเรื่องที่เกี่ยวข้องและประสานงานกับสำนักเลขาธิการอาเซียนแห่งชาติและองค์กรระดับ รัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา
ประชาคมอาเซียน (ASEAN COMMUNITY) เสาการเมือง และความมั่นคง
เสาเศรษฐกิจ
มั่นคง
มั่งคั่ง
เสาสังคม และวัฒนธรรม
เอื้ออาทร และแบ่งปัน
ประชาคมอาเซียน ภายในปี 2558 44
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
วิสัยทัศน์ร่วมของผู้นำอาเซียน คือ การสร้างประชาคมอาเซียนทีม่ ขี ดี ความสามารถ ในการแข่งขันสูง มีกฎกติกาในการทำงาน และมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง (ประชาชนมีสว่ นร่วม ในการสร้างประชาคมอาเซียน) เป้าหมายหลักของการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน คือ การสร้างประชาคมที่มีความ แข็งแกร่ง มีความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ สามารถสร้างโอกาสและรับมือสิ่งท้าทาย ทั้งด้านการเมืองความมั่นคง เศรษฐกิจ และภัยคุกคามรูปแบบใหม่ได้อย่างรอบด้าน โดยให้ ประชาชนมีความเป็นอยูท่ ด่ี ี สามารถประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้อย่างสะดวกมากยิง่ ขึน้ และประชาชนในอาเซียนมีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน อาเซียนให้ความสำคัญกับการเร่งรัดการปฏิบัติตามแผนงานการจัดตั้งประชาคม อาเซียน โดยเฉพาะการเร่งรัดการรวมตัวทางเศรษฐกิจ เพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตภายใน ภูมิภาคเป็นหลัก และลดการพึ่งพาเศรษฐกิจโลกที่ผันผวน ในขณะเดียวกัน ก็ให้ความสำคัญ กับการพัฒนาเศรษฐกิจเพือ่ ให้มคี วามเสมอภาคกันระหว่างสมาชิกมากขึน้ ทัง้ นี้ ในการประชุม สุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 21 เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ที่กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา ผู้นำอาเซียนได้ตกลงที่จะกำหนดวันที่อาเซียนจะเป็นประชาคมอาเซียนอย่างเป็นทางการ ในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 45
ASEAN COMMUNITY
ประเทศสมาชิก “สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” 10 ประเทศ หรือ “อาเซียน” มีเป้าหมายจะก้าวไปสูก่ ารเป็นประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ซึ่งประกอบด้วย 3 ด้านหลัก ได้แก่ • ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community : APSC) • ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) และ • ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC)
สามเสาหลักของประชาคมอาเซียน
1. ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน มีเป้าหมายที่สำคัญ ได้แก่
• มีกติกาและมีการพัฒนาค่านิยมและบรรทัดฐานร่วมกัน โดยยึดมั่นหลักการของ การไม่แทรกแซงกิจการภายใน และการส่งเสริมค่านิยมของประชาคมควบคู่กันไป • มีความเป็นเอกภาพ ความสงบสุข ความแข็งแกร่ง และมีความรับผิดชอบร่วมกัน เพื่อแก้ไขปัญหาความมั่นคงที่ครอบคลุมในทุกมิติ เพื่อส่งเสริมให้อาเซียนพึ่งพาอาศัยกลไก ของตนมากขึ้น ในการแก้ไขปัญหาและความท้าทายต่างๆ ในภูมิภาค • มีพลวัตและมีปฏิสัมพันธ์กับนอกภูมิภาคอาเซียน
2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มีเป้าหมายการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ได้แก่
• การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวสำหรับประชากร 600 ล้านคนในอาเซียน โดยมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุนและบุคลากรวิชาชีพต่างๆ อย่างสะดวกมากขึ้น และมีการไหลเวียนอย่างเสรียิ่งขึ้นสำหรับเงินทุน • การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน โดยให้ความ สำคัญกับประเด็นด้านนโยบายทีจ่ ะช่วยส่งเสริมการรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจในเรือ่ งต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นนโยบายการแข่งขันที่เป็นธรรม การคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา และนโยบายภาษี รวมทั้งการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เป็นต้น • การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน โดยการส่งเสริม SMEs และ การเสริมสร้างขีดความสามารถของประเทศสมาชิกอาเซียนผ่านโครงการ อาทิ โครงการริเริ่ม เพื่อการรวมกลุ่มของอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration : IAI) เพื่อลดช่องว่าง ทางการพัฒนา รวมถึงการส่งเสริมความร่วมมือด้านธุรกิจระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน • การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก โดยเน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ ของอาเซียนกับประเทศภายนอกภูมิภาค เพื่อให้อาเซียนมีท่าทีร่วมกันอย่างชัดเจน รวมทั้ง ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายในด้านการผลิต / จำหน่าย ภายในภูมภิ าคให้เชือ่ มโยงกับเศรษฐกิจโลก
46
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
• การพัฒนามนุษย์ • การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม • สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม • ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม • การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน • การลดช่องว่างทางการพัฒนา
ประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียน
ย
น
กฎ
N Char t e
r
SEA
A
บัต ร อ า เ ซี
ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน
ประชาคม สังคม-วัฒนธรรมอาเซียน
47
ASEAN COMMUNITY
3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน มีเป้าหมายให้อาเซียนเป็นประชาคม ที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง สังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน ประชากรอาเซียนมีความเป็นอยู ่ ที่ดีและมีการพัฒนาในทุกด้าน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ส่งเสริมการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน รวมทั้งส่งเสริมอัตลักษณ์ของอาเซียน โดยให้ความสำคัญกับ การดำเนินการใน 6 ด้าน ได้แก่
48
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
Â Ò Á »‡ÒË
à
1. Treaty off AAmity mity aand nd CCooperration ooperration in South Southeast Asia (TAC)
สนธิสัญญามิตรภาพและความรวมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต • ลงนามเมื่อป 2519 • เปนเอกสารแสดงความมั่นคง ความเจริญดานเศรษฐกิจและความรวมมือ ระหวางกันในภูมิภาค รวมทั้งการระงับขอพิพาทโดยสันติวิธี • ปจจุบัน มีประเทศนอกภูมิภาคเขารวมเปนภาคี 20 ประเทศ
ASEAN POLITICAL-SECURITY COMMUNITY : APSC
1. »ÃЪҤÁ·ÕèÁÕ¡µÔ¡ÒáÅСÒþѲ¹Ò¤‹Ò¹ÔÂÁáÅÐÁÕºÃ÷Ѵ°Ò¹Ã‹ÇÁ¡Ñ¹ 2. ÀÙÁÔÀÒ¤·ÕèÁÕ¤ÇÒÁ໚¹àÍ¡ÀÒ¾ ÁÕ¤ÇÒÁʧºÊØ¢ ¤ÇÒÁá¢ç§á¡Ã‹§ ¾ÃŒÍÁ·Ñé§ÁÕ¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍºÃ‹ÇÁ¡Ñ¹ à¾×èÍᡌ䢻˜ÞËÒ¤ÇÒÁÁÑ蹤§ ·Õè¤Ãͺ¤ÅØÁ·Ø¡ÁÔµÔ 3. ÀÙÁÔÀÒ¤·ÕèÁÕ¾ÅÇѵ Áͧä»ÂѧâÅ¡ÀÒ¾¹Í¡·ÕèÁÕ¡ÒÃÃÇÁµÑÇáÅÐÁÕÅѡɳР¢Í§¡ÒþÖ觾ҫÖ觡ѹáÅСѹÁÒ¡¢Öé¹
2. The Southeast Asia Nuclear - Weapon - Free Zone (SEANWFZ) สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียรในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต
3. ASEAN Regional Forum (ARF)
การประชุมวาดวยความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย - แปซิฟก
4. á¼¹§Ò¹¡ÒÃÊÌҧ»ÃЪҤÁ¡ÒÃàÁ×ͧáÅФÇÒÁÁÑ¹è ¤§ÍÒà«Õ¹ (APSC Blueprint)
ไดรับการรับรองในที่ประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 14 ป 2552 ที่ชะอำ - หัวหิน 49
1. ภาพรวม
ประชาคมการเมืองและความมัน ่ คงอาเซียน เป็นกลไกสืบเนือ่ งจากปฏิญญาบาหลี 2 (Bali Concord II) (ซึ่งเดิมทีกลไกใช้คำว่า ASEAN Security Community) แต่ได้รับ การก่อตัง้ เป็นทางการภายหลังจากทีก่ ฎบัตรอาเซียนมีผลบังคับใช้ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2551 แม้ว่าประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ไม่เน้นการมีนโยบายต่างประเทศและ ความมั่นคงร่วมกันเหมือนสหภาพยุโรป แต่ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน พยายามที่จะหาจุดยืนร่วมกันในหลายเรื่อง เพื่อสร้างรากฐานที่มั่นคงสำหรับสันติภาพและ เสถียรภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
2. เป้าหมายของประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน
ตามเอกสารแผนงานการจั ด ตั ้ ง ประชาคมการเมื อ งและความมั ่ น คงอาเซี ย น ประเทศสมาชิ ก อาเซี ย นได้ ต กลงที ่ จ ะให้ ป ระชาคมการเมื อ งและความมั ่ น คงอาเซี ย น มีเป้าหมายสำคัญ 3 ประการ ดังนี้ ประชาคมที ่ ม ี ก ติ ก าและมี ก ารพั ฒ นาค่ า นิ ย มและบรรทั ด ฐานร่ ว มกั น (A rules-based community of shared values and norms) ซึ่งเป็น 2 หลักการ ที่ถ่วงดุลซึ่งกันและกัน กล่าวคือ • การไม่แทรกแซงกิจการภายใน • ส่งเสริม Community values ประชาคมทีท่ ำให้ภมู ภิ าคมีความเป็นเอกภาพ มีความสงบสุข มีความแข็งแกร่ง พร้ อ มทั ้ ง มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบร่วมกันเพื่อแก้ไขปัญหาความมั ่ น คงที ่ ค รอบคลุ ม ในทุ ก มิ ต ิ (A cohesive, peaceful and resilient region with shared responsibility for comprehensive security) ซึ่งเป็นความพยายามที่จะส่งเสริมให้อาเซียนพึ่งพาอาศัยกลไก ของตนมากขึ้น ในการแก้ไขปัญหาและความท้าทายต่างๆ ในภูมิภาค ประชาคมที่ทำให้เป็นภูมิภาคที่มีพลวัตและมองไปยังโลกภายนอกที่มี การรวมตัว และลักษณะพึ่งพาซึ่งกันและกันมากยิ่งขึ้น (A dynamic and outward looking region in an increasingly integrated and interdependent world) ซึ่งสะท้อน ถึงการทีอ่ าเซียนยอมรับว่าไม่ควรมุง่ เพียงเรือ่ งภายใน แต่เน้นการสร้างหุน้ ส่วนกับโลกภายนอก ให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน 50
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
3. สถานะล่าสุด
4. พัฒนาการล่าสุดในประเด็นที่สำคัญ สนธิ ส ั ญ ญาเขตปลอดอาวุ ธ นิ ว เคลี ย ร์ ใ นภู ม ิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ (Southeast Asia Nuclear Weapon - Free Zone : SEANWFZ) อาเซียนอยู่ระหว่าง การหาข้อสรุปการเจรจากับประเทศผูม้ อี าวุธนิวเคลียร์ (NWS) เพือ่ ให้ NWS ลงนามในพิธสี าร แนบท้ายสนธิสัญญาฯ ต่อไป สนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia : TAC) ได้รับความสนใจจากประเทศ นอกภูมิภาคมากขึ้น ปัจจุบันมีประเทศภาคีทั้งสิ้น 30 ประเทศ และสหภาพยุโรป อาชญากรรมข้ า มชาติ ไทยมี ส ่ ว นสำคั ญ ริ เริ ่ ม ให้ อ าเซี ย นให้ ค วามสำคั ญ มากยิ่งขึ้นกับการหามาตรการแก้ไขปัญหา อันเนื่องจากผลกระทบทางลบจากการส่งเสริม ความเชื่อมโยงในอาเซียน เช่น ความท้าทายจากอาชญากรรมข้ามชาติต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ปัญหายาเสพติด การค้ามนุษย์ และการฟอกเงิน ทั้งนี้ เป้าหมายระยะยาว คือ การมีระบบ การคุ้มกันประชาคมอาเซียนที่มีความเชื่อมโยงมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะมีผลกระทบทางลบหรือ ผลข้างเคียงจากความเชื่อมโยง 51
ASEAN POLITICAL-SECURITY COMMUNITY : APSC
ปัจจุบันเสาการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มีความคืบหน้าในการส่งเสริม การแลกเปลี่ยนข้อมูลและประสานท่าทีมากยิ่งขึ้น ในเรื่องที่มีนัยทางนโยบายและการเมือง ของภูมิภาค โดยการดำเนินการขับเคลื่อนเสาการเมืองและความมั่นคงอาเซียน จัดตั้งโดย คณะมนตรีประชาคมการเมืองและความมั่นคง ซึ่งประชุมปีละ 2 ครั้งเป็นอย่างน้อย ประเด็ น ที ่ ไ ทยผลั ก ดั น ให้ ม ี ก ารหารื อ ในการประชุ ม คณะมนตรี ป ระชาคม การเมืองและความมั่นคง คือ การส่งเสริมให้กลไกอาเซียนต่างๆ ในเสาการเมืองและ ความมั่นคงเสาเศรษฐกิจ และเสาสังคมและวัฒนธรรม มีการประสานงานเพื่อแก้ไขปัญหา ของ Cross - Cutting Issues ซึ่งเป็นประเด็นที่คาบเกี่ยวระหว่างกลไกต่างๆ และการจัดการ กับความเสี่ยงของการส่งเสริมความเชื่อมโยงในภูมิภาคหรือ Inherent Risks of Enhanced ASEAN Connectivity ซึ่งรวมถึงอาชญากรรมข้ามชาติ และผลกระทบทางด้านลบต่างๆ เช่น ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และปัญหาสาธารณสุข เป็นต้น
การส่งเสริมสันติภาพในภูมภ ิ าค ผูน้ ำอาเซียนได้ประกาศเปิดตัวสถาบันอาเซียน เพื่อสันติภาพและความสมานฉันท์ในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 21 เมื่อเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ความมั ่ น คงทางทะเล เป็ น ประเด็ น ที ่ ป ระเทศนอกภู ม ิ ภ าคให้ ค วามสนใจ ซึ่งอาเซียนเองจะต้องรักษาความเป็นแกนหลักในเรื่องนี้ให้ได้ สิทธิมนุษยชน คณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights : AICHR) ซึ่งเป็นองค์กร ที่ไทยมีส่วนร่วมสำคัญในการจัดตั้งได้ยกร่างปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน เพื่อ จะนำไปสู่การสร้างกลไก เช่น สนธิสัญญาและอนุสัญญาที่เกี่ยวข้องในอนาคต โดยเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ผูน้ ำอาเซียนได้ให้การรับรองปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 21 ควบคู่กับการลงนามในแถลงการณ์พนมเปญ เพื่อรับรองปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
5. ประเด็นสำคัญที่ไทยผลักดันในการสร้างประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียน ส่ ง เสริ ม ค่ า นิ ย มของประชาธิ ป ไตย ธรรมาภิ บ าล และหลั ก การนิ ต ิ ธ รรม ในอาเซียน โดยมุ่งเน้นประโยชน์ของประชาชนเป็นที่ตั้ง ส่งเสริมความร่วมมือกับภาคประชาสังคมในงานของประชาคมการเมืองและ ความมั่นคงอาเซียน โดยใช้หัวข้อการหารือเป็นตัวตั้งในการเชิญองค์กรที่มิใช่ของรัฐบาล ในการแก้ไขปัญหา Non - Traditional Threats เช่น เรื่องการบริหารจัดการภัยพิบัติ อาชญากรรมข้ามชาติ เช่น การค้ายาเสพติดและการค้ามนุษย์ เป็นต้น และมุ่งดำเนินภารกิจ ทางมนุษยธรรมมากกว่าด้านการเมือง ส่งเสริมให้มค ี วามโปร่งใสมากขึน้ ระหว่างฝ่ายกลาโหมอาเซียน โดยการแลกเปลีย่ น ข้อมูลเรือ่ ง Arms Modernization และการส่งผูส้ งั เกตการณ์ในการซ้อมรบ ควรมีความร่วมมือกัน ให้มากยิ่งขึ้นในเรื่องการบริหารจัดการภัยพิบัติและการปฏิบัติการรักษาสันติภาพ 52
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ส่ ง เสริ ม ความร่ ว มมื อ ของอาเซี ย นในด้ า นต่ า งๆ เช่ น การรั ก ษาสั น ติ ภ าพ การบริหารจัดการภัยพิบตั ิ โดยเฉพาะการจัดทำระบบและยุทธศาสตร์บรู ณาการโดยประสาน การทำงานของฝ่ายพลเรือน ฝ่ายกลาโหมอาเซียน และสำนักเลขาธิการอาเซียน และ การส่งเสริมความมั่นคงทางทะเล เป็นต้น ASEAN POLITICAL-SECURITY COMMUNITY : APSC
องค์กรเฉพาะสาขาภายใต้ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน และหน่วยงานราชการไทยที่รับผิดชอบ 1. ASEAN Foreign Ministers Meeting (AMM) • ASEAN Senior Officials Meeting (ASEAN SOM)
• ASEAN Standing Committee (ASC) • Senior Officials Meeting on Development Planning (SOMDP)
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงพาณิชย์
2. Commission on the Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone (SEANWFZ Commission) • Executive Committee of the SEANWFZ Commission
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงการต่างประเทศ 3. ASEAN Defence Ministers Meeting (ADMM) • ASEAN Defence Senior Officials Meeting (ADSOM)
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงกลาโหม 4. ASEAN Law Ministers Meeting (ALAWMM) • ASEAN Senior Law Officials Meeting (ASLOM)
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : สำนักงานอัยการสูงสุดและกระทรวงยุติธรรม 5. ASEAN Ministerial Meeting on Transnational Crime (AMMTC) • Senior Officials Meeting on Transnational Crime (SOMTC) • ASEAN Senior Officials on Drugs Matters (ASOD) • Directors-General of Immigration Departments and Heads of Consular Affairs
Divisions of Ministries of Foreign Affairs Meeting (DGICM)
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สมช/ปปส./สตม./กระทรวงการต่างประเทศ
6. ASEAN Regional Forum (ARF) • ASEAN Regional Forum Senior Officials Meeting (ARF SOM)
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงการต่างประเทศ
53
໚áÅаҹ¡ÒüÅÔ ¹µÅÒ´µÃ‹ÇÁ เคลื่อนยายสินคาเสรี เคลื่อนยายบริการอยางเสรี เคลื่อนยายการลงทุนอยาเสรี เคลื่อนยายแรงงานมีฝมืออยางเสรี เคลื่อนยายเงินทุนอยางเสรีมากขึ้น
ลดชองวางการพัฒนา ระหวางสมาชิกเกา-ใหม สนับสนุนการพัฒนา SMEs
e-ASEAN นโยบายภาษี นโยบายการแขงขัน สิทธิทรัพยสินทางปญญา การคุมครองผูบริโภค พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน
ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สรางเครือขายการผลิต จำหนาย จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค
54
ÒŒ à» ´ดàÊภÃาษÕ¡ีเหÒÃลือ¤
ล นป 2558 ใ 0 ะ ล ย รอ
à» ´àÊÃÕ¡ÒäŒÒºÃÔ¡ÒÃ
เปดเสรีบริการเรงรั (e-ASEAN สุขภาพ ทองเดที่ย4 สาขา ว โลจิสติกส)
ع à» ´àเสÊรÃิมÕ¡แลÒะÃคÅุม§คร·อง
สง หวาง การลงทุนรียะนภายใต ประเทศอาเซTreatment National
à» ´àÊÃÕ¡ÒÃà¤Å×è͹ŒÒÂà§Ô¹·Ø¹
สงเสริมการเชื่อมโยงตลาดทุนระหว างกัน และพัฒนาตลาดพันธบัตร และมาตรการเปดเสรีบัญชีทุน
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ASEAN ECONOMIC COMMUNITY : AEC
ŒÒ A)  ¹ × Í è Ò¡ Ãधŧҹ½ม‚ÁรÍ× ับรวมา (MR áà งยอ สาข ปนิก
ตกลาชีพ 7 าล สถาตแพทยงเที่ยว) อ ข าม วิช ยาบ ทัน (ทอ
ลงน
ÁÕ¢Õ´¤ÇÒÁÊÒÁÒö 㹡ÒÃᢋ§¢Ñ¹ÊÙ§
เนนการดำเนิน การแขงขัน e นโยบาย การพัฒนาโคร-ASEAN การคุมครอง ทงสรางพื้นฐาน การพัฒนา IC รัพยสินทางปญญา T
ร พ ทย ิการ ิว วก รวจ แพาขาบร ศ ำ ส นักส ีและ 1 ัญช นักบ
¨Ô ¡ ° É Ã È à ÷ҧ ¡Ñ¹ Ò ¡ Ò ¹ ² Ñ ÁÕ¾ ·Õèà·‹Òà·ÕÂÁ
ะ รวมแล น ว ส ี ม การ s MV) สงเสริม ตัวของ SME าชิกใหม (CL ม าย การขย ชวยเหลือแกส ับการพัฒนา ด ม ใหควา องวางของระ ช เพื่อลด
55
ÊÔ觷Õè¨Ðà¡Ô´¢Öé¹ã¹ »ÃЪҤÁàÈÃÉ°¡Ô¨ »‚ 2558 ÊÔÊ¹Ô ¤Œ¤ÒŒ
ภาษีนำเขขาเปนศู าเปนศูนยย/อุ /อุปสรรคนำเข สรรคนำเขาา ระหวางอาเซี อาเซียนดวยกันหมดไป
¸¸ØÃØ ¡Ô¡¨Ô º Ã¡Ô Òà ºÃÔ ÒÃ
ถือหุนในธุรกิจบริการในอาเซียน ไดอยางเสรี
ลงทุนในอาเซียนไดอยางเสรี
áç§Ò¹ á秧ҹ
วิชาชีพ/แรงงานฝมือเคลื่อนยาย ไดอยางเสรีในอาเซียน
ตลาด 10 ประเทศรวมเปนหนึ่ง
ŧ·Ø ŧ§·¹Ø
ÊÒ¢Òà˧ÃÑ´¡ÒÃÃÇÁµÑÇ 12 ÊÒ¢Ò • ทองเที่ยว • สินคาเกษตร • สินคาประมง • ยานยนต • ผลิตภัณฑไม • ยาง • สิ่งทอ • การบิน • อิเล็กทรอนิกส • เทคโนโลยีสารสนเทศ • สุขภาพ • ลอจิสติกส
ÍÒà«Õ  ¹ ä´ŒÃѺ¡ÒÃÍӹǤÇÒÁÊдǡ㹡ÒûÃСͺÇÔªÒªÕ¾ÁÒ¡¢Öé¹ สาขาวิศวกรรม สาขานักสำรวจ สาขานักบัญชี สาขาสถาปตยกรรม
MRA ไไมไดเปน การเปดตลาด แตเปนเพียงการอำนวย ความสะดวกในขั้นตอน การขอใบอนุญาต โดยลดขั้นตอนการตรวจสอบ/ รับรองวุฒิการศึกษา หรือหาความรูทางวิชาชีพ 56
สาขาพยาบาล สาขาทันตแพทย
สาขาแพทย
+1 ÊÒ¢ÒºÃÔ¡Ò÷‹Í§à·ÕèÂÇ MRAs ขอตกลงยอมรับรวมนักวิชาชีพในอาเซียนสามารถ จดทะเบียนหรือขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศ อาเซียนอื่นได แตยังตองปฎิบัติตามกฎระเบียบภายใน ของประเทศนั้นๆ
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
1. ภูมิหลัง
ผู้นำอาเซียนได้เห็นชอบให้จัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซึง่ ประกอบด้วย 3 เสาหลัก ได้แก่ ประชาคมการเมืองความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน และได้ประกาศปฏิญญาเซบูว่าด้วย การเร่งรัดการจัดตั้งประชาคมอาเซียนให้บรรลุผลจากเดิมที่กำหนดไว้ในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) เป็น ปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) โดยในส่วนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ได้จัดทำ แผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) เป็นแผนงานบรูณาการ การดำเนินงานด้านเศรษฐกิจต่างๆ เพือ่ ให้เห็นการดำเนินงานในภาพรวมที่จะนำไปสู่การเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนภายในปี พ.ศ. 2558 แผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนประกอบด้วยเป้าหมายสำคัญ 4 ประการ ได้แก่ • การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว • การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน • การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค • การบรูณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
57
ASEAN ECONOMIC COMMUNITY : AEC
อาเซียนมีการพัฒนาการด้านการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเรื่อยมา เริ่มตั้งแต่ การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (Asean Free Trade Agreement : AFTA) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 และพยายามส่งเสริมให้มคี วามร่วมมือครอบคลุมด้านอืน่ ๆ ด้วย เช่น การค้าบริการ การลงทุน ซึ่งได้มีการจัดทำกรอบความตกลงด้านการค้าบริการของอาเซียน (ASEAN Framework Agreement on Services : AFAS) และกรอบความตกลงว่าด้วยเขตการลงทุน อาเซียน (Framework Agreement on the ASEAN Investment Area : AIA) เมื่อปี พ.ศ. 2538 และปี พ.ศ. 2541 ตามลำดับ (ปัจจุบัน ความตกลง AIA ผนวกเข้ากับความตกลง ว่าด้วยการคุ้มครองการลงทุนอาเซียน (Asean Investment Guarantee Agreement : AIGA) และมีชื่อใหม่ว่า ความตกลงการลงทุนของอาเซียน หรือ ASEAN Comprehensive Investment Agreement : ACIA)
2. พัฒนาการสำคัญของการเตรียมการไปสูก่ ารเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ที่ประชุมคณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ครั้งที่ 8 เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2555 ณ เมืองเสียมราฐ ประเทศกัมพูชา ได้รับทราบการดำเนินงานตามแผนงาน การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งวัดผลโดย AEC Scorecard ว่ามีความคืบหน้า มากพอควร โดยในช่วงปี พ.ศ. 2551 - พ.ศ. 2552 อาเซียนดำเนินการได้ร้อยละ 87.6 ของ แผนทีจ่ ะต้องดำเนินการในช่วงดังกล่าว และในช่วงปี พ.ศ. 2553 - พ.ศ. 2554 อาเซียนดำเนินการ ได้ร้อยละ 63.4 โดยความล่าช้าส่วนใหญ่เป็นเรื่องการรวมตัวกลุ่มด้านศุลกากร การค้าบริการ และมาตรฐานและความสอดคล้อง ทั้งนี้ ในภาพรวมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 - พ.ศ. 2555 (เดือนสิงหาคม) อาเซียนสามารถดำเนินการตามแผนได้ร้อยละ 72.6 อาเซี ย นได้ ม อบหมายให้ ส ถาบั น วิ จ ั ย ทางเศรษฐกิ จ เพื ่ อ อาเซี ย นและเอเชี ย ตะวันออก (Economic Research Institute for ASEAN and East Asia : ERIA) จัดทำ รายงานการประเมินผลแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในระยะครึ่งทาง (AEC Blueprint Midterm Review) โดย ERIA ได้เสนอมาตรการที่อาเซียนควรให้ความสำคัญ ในลำดับต้นจากปัจจุบันจนถึงปี พ.ศ. 2558 ได้แก่ การลด / ยกเลิกภาษีศุลกากร การแก้ไข ปัญหา / อุปสรรคจากมาตรการทีไ่ ม่ใช่ภาษี การอำนวยความสะดวกทางการค้าและการลงทุน การเปิดการค้าบริการ การเปิดเสรีการลงทุน การอำนวยความสะดวกด้านการขนส่ง การดำเนินการเพื่อลดช่องว่างของระดับการพัฒนาระหว่างประเทศสมาชิก การพัฒนา และส่งเสริม SMEs และการเจรจาจัดทำความตกลงการเป็นหุน้ ส่วนทางเศรษฐกิจอย่างรอบด้าน ในระดับภูมิภาค (Regional Comprehensive Economic Partnership : RCEP) ปั จ จุ บ ั น อาเซี ย นกำลั ง อยู ่ ร ะหว่ า งการจั ด ลำดั บ ความสำคั ญ ของกิ จ กรรม และมาตรการที่สำคัญต่างๆ ที่จะต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในปี พ.ศ. 2558 เพื่อให้ การก้าวสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนบรรลุผลสำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม โดยที่ประชุม คณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ครั้งที่ 8 ได้ให้แนวทางการจัดลำดับความสำคัญว่า จะต้องเป็นมาตรการที่มีผลสำคัญต่อการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ อาทิ แนวคิดการจัดตั้งกลไก เพื่อดูแลเรื่องการยกเลิกมาตรการที่ไม่ใช่ภาษี การจัดตั้งระบบอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียว 58
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ของอาเซียน (ASEAN Single Window : ASW) การจัดตั้งคลังข้อมูลอาเซียน (ASEAN Trade Repository : ATR) เพือ่ ส่งเสริมการทำธุรกิจของภาคเอกชนให้มคี วามคล่องตัวมากขึน้ รวมทัง้ การปฏิรูปกฎระเบียบและกฎหมายซึ่งเป็นกลไกสำคัญในการผลักดันให้การดำเนินการ ตามแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเป็นรูปธรรมได้เร็วยิ่งขึ้น
นอกจากนี้ ประเทศสมาชิกอาเซียนยังได้ลงนามความตกลงว่าด้วยการเคลือ่ นย้าย บุคคลธรรมดาของอาเซียน (ASEAN Agreement on Movement of Natural Persons : ASEAN MNP Agreement) เพือ่ อำนวยความสะดวกกับการเคลือ่ นย้ายบุคลากรทีป่ ระสงค์ จะให้บริการในประเทศสมาชิกในสาขาที่เกี่ยวกับการค้าสินค้า การค้าบริการและการลงทุน โดยความตกลงฯ จะครอบคลุมเฉพาะมาตรการที่เกี่ยวกับการเข้าเมืองชั่วคราว การพำนัก ชั่วคราว และการทำงานของบุคลากรตามประเภทที่ระบุไว้ในข้อผูกพัน ไทยจะได้สิทธิ ประโยชน์ภายใต้ความตกลงฯ เฉพาะกับบุคลากร 2 ประเภท คือ ผู้เยี่ยมเยือนทางธุรกิจ (Business Visitor) และผูโ้ อนย้ายภายในบริษทั (Intra - Corporate Transferee) ทีม่ สี ญ ั ชาติ ประเทศสมาชิกอาเซียนเท่านั้นและไม่รวมถึงผู้มีถิ่นพำนักถาวร (Permanent Resident) ที่อยู่ในประเทศอาเซียน
59
ASEAN ECONOMIC COMMUNITY : AEC
ในช่วงการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 21 และการประชุมสุดยอดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ระหว่างวันที่ 17 - 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา ผู้นำประเทศสมาชิกอาเซียนและประเทศคู่เจรจา (จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์) ได้ร่วมประกาศเปิดการเจรจา RCEP อย่างเป็นทางการ และได้รับมอบ หมายให้มีการเริ่มต้นการเจรจาตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2556 โดยมุ่งหมายให้การเจรจาแล้วเสร็จ ภายในสิ้นปี พ.ศ. 2558 บนพื้นฐานของหลักการทั่วไปและวัตถุประสงค์ของการเจรจา ตามทีร่ ฐั มนตรีเศรษฐกิจอาเซียนได้รบั รองแล้วเมือ่ เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2555 ทีเ่ มืองเสียมราฐ (อาทิ การเจรจาที่สอดคล้องกับมาตราที่เกี่ยวข้องต่างๆ ของ GATT การเปิดความสัมพันธ์ ทีก่ ว้างและลึกมากขึน้ จาก FTA+1 ทีม่ อี ยูใ่ นปัจจุบนั การพิจารณามาตรการอำนวยความสะดวก ทางการค้าและการลงทุน และเพิ่มความโปร่งใสในความสัมพันธ์ทางการค้าและการลงทุน ระหว่างประเทศผู้เข้าร่วม รวมถึงให้คำนึงถึงระดับการพัฒนาที่แตกต่างและสถานการณ์ของ ประเทศผู้เข้าร่วม เป็นต้น)
3. การดำเนินการของประเทศไทย มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2555 มอบหมายให้สำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จัดทำแผนแม่บทในการดำเนินการเตรียม ความพร้อมในการเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน โดยในการประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร การเข้าสูป่ ระชาคม อาเซียน พ.ศ. 2558 (ASEAN Economic Community : AEC) ครัง้ ที่ 2 เมือ่ วันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2555 ที่มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน ได้กำหนดยุทธศาสตร์ 8 ประการ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ท่ี 1 - การเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของสินค้า บริการ การค้ า และการลงทุ น ที ่ ค รอบคลุ ม ตั ้ ง แต่ ก ารส่ ง เสริ ม การลงทุ น ไทยในต่ า งประเทศ การอำนวยความสะดวก การตลาด การพัฒนาศักยภาพในการแข่งขัน การพัฒนา / ปรับปรุงมาตรฐาน การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
ยุทธศาสตร์ท่ี 2 - การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการคุ้มครองทางสังคม เพื่อให้
ยุทธศาสตร์ท่ี 3 - การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและโลจิกติกส์เพื่อให้โครงสร้าง
ยุทธศาสตร์ท่ี 4 - การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อให้มีมาตรฐานการศึกษา
ยุทธศาสตร์ท่ี 5 - การพัฒนากฎหมายและกฎระเบียบ เพื่ออำนวยความสะดวก
ยุทธศาสตร์ท่ี 6 - การสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักถึงความสำคัญ
ประชาชนได้รับการคุ้มครองทางสังคม มีสภาพแวดล้อมความเป็นอยู่ที่มั่นคงปลอดภัย
พื้นฐานมีความเชื่อมโยงและมีขีดความสามารถในการรับรองและมีกฏระเบียบที่อำนวย ความสะดวกทั้งการค้าและการลงทุน อาเซียน รวมทั้งทักษะฝีมือและภาษา โดยนายกรัฐมนตรีย้ำใน 3 ด้าน คือ ภาคการศึกษา ภาคแรงงานและผู้ประกอบการ และภาครัฐ พร้อมมอบหมายให้ สำนักงาน กพ. เตรียมจัดทำ แผนการพัฒนาดังกล่าว ด้านการค้าการลงทุน รวมทัง้ สามารถปกป้องผลประโยชน์และเพิม่ ความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ
ของอาเซียน เพื่อให้ประชาชนทั่วไป ผู้ประกอบการ เจ้าหน้าที่ของรัฐ เข้าใจและตระหนักถึง การเป็นประชาคมอาเซียน 60
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ยุทธศาสตร์ท่ี 7 - การเสริมสร้างความมัน่ คง เน้นสร้างความร่วมมือ สร้างพันธมิตร
ยุทธศาสตร์ท่ี 8 - การเพิ่มศักยภาพของเมืองเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน
การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนทั้งทางบก ทางทะเล รวมถึงการสร้างปัจจัยสนับสนุนต่างๆ เช่น ฐานข้อมูล
61
ASEAN ECONOMIC COMMUNITY : AEC
เพือ่ ทำให้เมืองมีศกั ยภาพทีจ่ ะเชือ่ มโยงกับสมาชิกอาเซียน ทัง้ ในด้านอุตสาหกรรม การท่องทีย่ ว การลงทุน และการค้าชายแดน ซึ่งนายกรัฐมนตรีได้เสนอให้มีการกำหนดยุทธศาสตร์ ของเมืองสำคัญในด้านต่างๆ อาทิ เมืองหลวง เมืองเกษตร เมืองอุตสาหกรรม เมืองท่องเที่ยว เมืองการค้าชายแดน ตลอดจน Green City เนื่องจากถือเป็นยุทธศาสตร์สำคัญในการสร้าง จุดขาย (Branding)
4. จุดแข็งและจุดอ่อนของไทย จุดแข็ง ผู้ประกอบการไทยสามารถขยายตลาดการค้าสินค้าและการบริการที่มี คุณภาพไปยังตลาดอาเซียนซึ่งมีประชากรกว่า 590 ล้านคน โดยจำแนกได้ดังนี้ สินค้าอุตสาหกรรม เช่น รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ สิง่ ทอและเครือ ่ งนุง่ ห่ม เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ วัสดุก่อสร้าง ผลิตภัณฑ์ยาง รวมถึง สินค้า อุปโภคบริโภค สินค้าเกษตร เช่น ข้าว ยางพารา ผัก ผลไม้สด รวมถึงสินค้าเกษตรแปรรูป เช่น อาหารสำเร็จรูป ธุรกิจบริการ เช่น การท่องเทีย ่ ว และบริการทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง (เช่น โรงแรม ร้านอาหาร ภัตตาคาร) บริการสุขภาพ (สปา นวดแผนโบราณ) ที่ตั้งเอื้อต่อการเป็นศูนย์กลางโครงข่ายเชื่อมโยงคมนาคมด้านต่างๆ สาธารณูปโภคพื้นฐานทั่วถึง ระบบธนาคารค่อนข้างเข้มแข็ง จุดอ่อน สินค้าของประเทศอาเซียนอื่นอาจเข้ามาในตลาดในประเทศไทยมากขึ้น ในราคาที่ต่ำกว่า หรือคุณภาพดีกว่า สินค้าอุตสาหกรรม เช่น ปิโตรเลียม (จากมาเลเซียและเมียนมาร์) เคมีภัณฑ์ ยาง และพลาสติก (จากมาเลเซีย) สินค้าเกษตร เช่น ข้าว (จากเวียดนาม) น้ำมันปาล์ม (จากมาเลเซีย) กาแฟ (จากเวียดนามและอินโดนีเซีย) ชา (จากอินโดนีเซีย) และมะพร้าว (จากฟิลปิ ปินส์) เป็นต้น ธุรกิจบริการ เช่น ธุรกิจโรงพยาบาล โทรคมนาคม และโลจิสติกส์ (จากสิงคโปร์ และมาเลเซีย)
62
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
องค์กรเฉพาะสาขาภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และหน่วยงานราชการไทยที่รับผิดชอบ 1. ASEAN Economic Ministers Meeting (AEM)
• High Level Task Force on ASEAN Economic Integration (HLTF-EI) • Senior Economic Officials Meeting (SEOM)
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงพาณิชย์
2. ASEAN Free Trade Area (AFTA) Council
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงพาณิชย์
ASEAN ECONOMIC COMMUNITY : AEC
3. ASEAN Investment Area (AIA) Council
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน กระทรวงพาณิชย์ 4. ASEAN Finance Ministers Meeting (AFMM) • ASEAN Finance and Central Bank Deputies Meeting (AFDM) • ASEAN Director-General of Customs Meeting (Customs DG)
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงการคลัง
5. ASEAN Ministers Meeting on Agriculture and Forestry (AMAF)
• Senior Officials Meeting of the ASEAN Ministers on Agriculture and Forestry (SOM-AMAF) • ASEAN Senior Officials on Forestry (ASOF)
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม 6. ASEAN Ministers on Energy Meeting (AMEM)
• Senior Officials Meeting on Energy (SOME)
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงพลังงาน
7. ASEAN Ministerial Meeting on Minerals (AMMin)
• ASEAN Senior Officials Meeting on Minerals (ASOMM)
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
8. ASEAN Ministerial Meeting on Science and Technology (AMMST)
• Committee on Science and Technology (COST)
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
9. ASEAN Telecommunications and Information Technology Ministers Meeting (TELMIN)
• Telecommunications and Information Technology Senior Officials Meeting (TELSOM) • ASEAN Telecommunication Regulators’ Council (ATRC)
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวง ICT สำนักงาน กสทช.
• Senior Transport Officials Meeting (STOM)
10. ASEAN Transport Ministers Meeting (ATM)
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงคมนาคม
11. Meeting of the ASEAN Tourism Ministers (M-ATM)
• Meeting of the ASEAN National Tourism Organisations (ASEAN NTOs)
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย 12. ASEAN Mekong Basin Development Cooperation (AMBDC)
• ASEAN Mekong Basin Development Cooperation Steering Committee (AMBDC SC) • High Level Finance Committee (HLFC)
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 13. ASEAN Centre for Energy หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงพลังงาน 14. ASEAN-Japan Centre in Tokyo
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงพาณิชย์
63
Â Ò Á »‡ÒË
à àà¾×¾×èÍãËãˌˌÍÒà«Õ¹໚¹Êѧ¤Á·ÕèÁÕàÍ¡ÀÒ¾
ÁÕ¤ÇÒ ÇÒÁàÍ× ÒÁàÍ éÍÍҷõ‹Í¡Ñ¹ ÁÕ¤ÇÒÁ໚¹ÍÂÙ‹´Õ ¾Ñ²¹Ò· ¹¹Ò·Ø¡´ŒÒ¹ áÅÐÁÕ¤ÇÒÁÁÑ蹤§·Ò§Êѧ¤Á
¡ÒþѲ¹ÒÁ¹ØÉ เนนการบูรณาการดานการศึกษา สรางสังคมความรู พัฒนาทรัพยากรมนุษย ษย สงเสริมการจางงานที่เหมาะสม สงเสริม ICT
¡Òä،Á¤Ãͧ áÅÐÊÇÑÊ´Ô¡ÒÃÊѧ¤ÁÁ
ขจัดความยากจน สรางเครื ครอข อข อขาย ขาย ความปลอดภัยทางสังคม ความปลอดภยทางสงคม สงเสริมความมัน่ คง และความปลอดภัยดานอา นอาหาร หาาร การควบคุมโรคติดตอ
¡ÒÃÅ´ª‹Í§Ç‹Ò§ ¡ÒþѲ¹Ò
เสริมสรางความรวมมือเพื่อลดชองวาง การพัฒนาระหวางประเทศสมาชิกเกา 6 ประเทศ และกลุม CLMV (กัมพูชา ลาว เมียนมาร และเวียดนาม)
Ê‹§àÊÃÔÁ¤ÇÒÁÂÑè§Â×¹ ´ŒÒ¹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ
การจัดการปญหาสิ่งแวดลอมของโลก ปญหามลพิษทางสิ่งแวดลอมขามแดน การเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ สงเสริมการจัดการทางทรัพยากรธรรมชาติ
¡ ¡ÒÃÊÃŒ Ò§ ÍÍѵÅѡɳ ÍÒà«Õ¹
สสรางความรูสึกเปนเจาของ ออนุนรักษมรดกทางวัฒนธรรมของ อาเซียน และสงเสริมความรูสึก ออา ของการเปนประชาคมอาเซียน ขขอ
¡Ò §àÊÃÔÁ ¡ÒÃÊ‹ ¤ÇÒÁÂصԸÃÃÁáÅÐ ¤Ç ÊÔ·¸Ô·Ò§Êѧ¤Á
คุมครองสิทธิผูดอยโอกาส แรงงานยายถิ่นฐาน สงเสริม แร คความรั ว บผิดชอบตอสังคมขององคกรธุรกิจ
1. ภาพรวม อาเซียนมุ่งหวังประโยชน์จาการรวมตัวกันเพื่อทำให้ประชาชนมีการอยู่ดีกินดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ มีสิ่งแวดล้อมที่ดี มีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียว โดยมีความร่วมมือ เฉพาะด้าน (Functional Cooperation) ภายใต้ประเด็นเชิงสังคมและวัฒนธรรมทีค่ รอบคลุม ในหลายด้าน ได้แก่ เยาวชน การศึกษา และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สิทธิมนุษยชน สาธารณสุข วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สิง่ แวดล้อม สตรี แรงงาน การขจัดความยากจน สวัสดิการสังคม และการพัฒนา วัฒนธรรมและสารนิเทศ กิจการพลเรือน การตรวจคนเข้าเมืองและกงสุล ยาเสพติด การจัดการภัยพิบัติ และสิทธิมนุษยชน โดยมีคณะทำงานอาเซียนรับผิดชอบ การดำเนินความร่วมมือในแต่ละด้าน อาเซียนได้ตั้งเป้าหมายการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 โดยมุง่ หวังให้อาเซียนเป็นประชาคมทีม่ ปี ระชาชนเป็นศูนย์กลาง มีสงั คมทีเ่ อือ้ อาทร และแบ่งปัน ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็นอยูท่ ด่ี แี ละมีการพัฒนาในทุกด้าน เพือ่ ยกระดับ คุณภาพชีวิตของประชาชน ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน รวมทั้งส่งเสริม อัตลักษณ์อาเซียน (ASEAN Identity) เพือ่ รองรับการเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน อาเซียนได้จดั ทำแผนงาน การจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community Blueprint) ซึ่งประกอบด้วยคุณสมบัติหลักที่สำคัญ 6 ด้าน ได้แก่
66
1. การพัฒนามนุษย์ (Human Development) 2. การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม (Social Welfare and Protection) 3. สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice and Rights) 4. ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Sustainability) 5. การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน (Building an ASEAN Identity) 6. การลดช่องว่างทางการพัฒนา (Narrowing the Development Gap)
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
2. กลไกการดำเนินงานของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน แบ่งเป็น 3 ระดับ
คณะกรรมการเจ้าหน้าทีอ่ าวุโสด้านสังคมและวัฒนธรรม (Senior Officials Committee for ASCC : SOCA) เป็นการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสซึ่งจัดขึ้นประมาณ 3 ครั้งต่อปี เพือ่ ติดตามความคืบหน้าในการดำเนินมาตรการต่างๆ ขององค์กรเฉพาะด้าน (Sectoral Bodies) ใน ASCC ตามแผนงานจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน และสรุปรายงานผล การดำเนินการต่อคณะมนตรีฯ ในส่วนของประเทศไทย ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ เป็นผู้แทนไทยใน SOCA องค์กรเฉพาะสาขา (Sectoral bodies) มีหน้าที่จัดทำแผนงานเพื่อให้ประเทศสมาชิก อาเซียนดำเนินการตามแผนงานจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน STEP 3
STEP 2
STEP 1
ͧ¤ ¡Ã੾ÒÐÊÒ¢Ò
enior fficials ommittee for SCC
SEAN ocio ultural ommunity
¤³ÐÁ¹µÃÕ»ÃЪҤÁÊѧ¤Á áÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ
¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃ਌Ò˹ŒÒ·ÕèÍÒÇØâÊ ´ŒÒ¹Êѧ¤ÁáÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ
67
ASEAN SOCIO-CULTURAL COMMUNITY : ASCC
คณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio Cultural Community Council : ASCC) มีการประชุมปีละครัง้ และรายงานผลความคืบหน้าในการดำเนินการตาม แผนงาน ASCC ต่อผูน้ ำในการประชุมสุดยอดอาเซียน ในส่วนของประเทศไทย รัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เป็นผู้แทนในคณะมนตรีฯ
3. การดำเนินการทีส่ ำคัญ การศึกษา ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 15 ที่อำเภอหัวหิน จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์ เมื่อปี พ.ศ. 2553 ผู้นำอาเซียนได้ให้การรับรองปฏิญญาชะอำ - หัวหิน ว่าด้วยการเสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนด้านการศึกษา (Cha-am Hua Hin Declaration on Strengthening Cooperation on Education to Achieve ASEAN Caring and Sharing Community) ซึง่ ถือว่าเป็นกรอบการดำเนินงานด้านการศึกษาฉบับแรกของอาเซียน โดยเน้น บทบาทของการศึกษาในการสร้างประชาคมอาเซียนทั้ง 3 เสาหลัก นอกจากนี้ ที่ประชุม รัฐมนตรีศึกษาอาเซียน (ASEAN Education Ministers Meeting หรือ ASED) ครั้งที่ 6 ได้รับรองแผนงานด้านการศึกษา 5 ปี ของอาเซียน (ASEAN 5 - Year Work Plan on Education 2011 - 2015) โดยกำหนดสาระสำคัญไว้ 5 ประการ คือ 1. การร่วมมือกันสร้างความตระหนักรู้ (Promoting ASEAN Awareness) 2. การเพิ่มการเข้าถึงการศึกษาในระดับประถมและมัธยมศึกษาที่มีคุณภาพ (Increasing Access to Quality Primary and Secondary Education) 3. การยกระดับคุณภาพการศึกษา เพิ่มมาตรฐานการศึกษา ส่งเสริมการเรียนรู ้ ตลอดชีวิต และการพัฒนาสาขาอาชีพ (Increasing Quality of Education - Performance Standards, Lifelong Learning and Professional Development) 4. การส่งเสริมการแลกเปลีย่ นด้านการข้ามแดนและความร่วมมือระหว่างประเทศ ด้านการศึกษา (Strengthening Cross-Border Mobility and Internationalisation of Education) 5. การสนับสนุนองค์กรเฉพาะสาขาอื่นๆ (Support for other ASEAN sectoral bodies with an interest in education การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน มีการจัดตั้งคณะกรรมาธิการระหว่าง รัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights หรือ AICHR) เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2552 เพื่อส่งเสริมและปกป้องสิทธิ มนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน ซึ่งช่วยเกื้อหนุนกระบวนการสร้างประชาคมอาเซียน ปัจจุบนั ดร. เสรี นนทสูติ รองเลขาธิการมูลนิธสิ ถาบันวิจยั และพัฒนาองค์กรภาครัฐ ดำรงตำแหน่งผู้แทนไทยในคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน โดยมีวาระการดำรงตำแหน่งระหว่างวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ทั้งนี้ ผู้นำอาเซียนได้ลงนามรับรองปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน 68
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
(ASEAN Human Rights Declaration) ระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 21 ที่กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ซึ่งถือเป็นเอกสารสำคัญ ที่แสดงเจตนารมณ์ของอาเซียนในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
การจัดการภัยพิบัติ มีการลงนามข้อตกลงการจัดตั้งศูนย์การให้ความช่วยเหลือ ด้านมนุษยธรรมของอาเซียน ( ASEAN Coordinating Centre for Humanitarian Assistance on Disaster Management หรือ AHA Centre) ระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 19 ที่เมืองบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย เพื่อเป็นกลไกความร่วมมือการจัดการ ภั ย พิ บ ั ต ิ ใ นภู ม ิ ภ าค โดยมี ก ารเปิ ด ศู น ย์ AHA Center ซึ ่ ง ตั ้ ง อยู ่ ณ กรุ ง จาการ์ ต า ประเทศอินโดนีเซีย อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 นอกจากนี้ ที่ประชุมฯ ยังได้ตกลงที่จะเพิ่มบทบาทให้กับเลขาธิการอาเซียนในการทำหน้าที่เป็น ผู้ประสานงานความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม (Humanitarian Assistance Coordinator) แรงงานข้ามชาติ ผูน้ ำอาเซียนได้ลงนามในปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยการคุม้ ครองและ ส่งเสริมแรงงานต่างด้าว (ASEAN Declaration on the Protection and Promotion of the Rights of Migrant Workers) เมื่อวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2550 ระหว่างการประชุม สุดยอดอาเซียน ที่เมืองเซบู ประเทศฟิลิปปินส์ โดยมีการจัดตั้งคณะกรรมการอาเซียนว่าด้วย การปฏิบัติให้เป็นไปตามปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยการคุ้มครองและส่งเสริมแรงงานต่างด้าว (ASEAN Committee on the Implementation of the ASEAN Declaration on the Protection and Promotion of the Rights of Migrant Workers : ACMW) เพื่อกำกับ ดูแลและติดตามการยกร่างตราสารอาเซียนว่าด้วยการคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิของแรงงาน ต่างด้าว ซึ่งมีกำหนดดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในปี พ.ศ. 2558 69
ASEAN SOCIO-CULTURAL COMMUNITY : ASCC
นอกจากนี้ มีการจัดตัง้ คณะกรรมาธิการว่าด้วยการปกป้องและส่งเสริมสิทธิของสตรี และเด็ก (ASEAN Commission for the Promotion and Protection of the Rights of Women and Children หรือ ACWC) เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2553 เพื่อเป็นกลไก ในการส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขัน้ พืน้ ฐานของสตรีและเด็กในอาเซียน โดยผูแ้ ทนไทยใน ACWC คือ ดร. สายสุรี จุตกิ ลุ (ด้านสิทธิเด็ก) และ นางกานดา วัชโรทัย (ด้านสิทธิสตรี) โดยปัจจุบัน นางกานดาฯ ดำรงตำแหน่งประธาน ACWC นอกจากนี้ ประเทศไทยยังได้ผลักดันให้มีการประกาศทศวรรษคนพิการอาเซียน (ค.ศ. 2011 - 2020) เพื ่ อ ส่ ง เสริ ม ความสามารถและศั ก ยภาพของคนพิ ก าร รวมทั ้ ง ส่ ง เสริ ม การมี ส ่ ว นร่ ว ม ของคนพิการในสังคมมากขึ้น
สิง่ แวดล้อม มีการจัดตั้งศูนย์อาเซียนว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (ASEAN Centre for Biodiversity : ACB) เมื่อปี พ.ศ. 2548 ระหว่างการประชุมรัฐมนตรีอาเซียน ด้านสิง่ แวดล้อม อย่างไม่เป็นทางการครัง้ ที่ 9 ทีป่ ระเทศฟิลปิ ปินส์ ทัง้ นี้ ศูนย์ ACB มีววิ ฒ ั นาการ มาจาก ASEAN Regional Centre for Biodiversity Conservation (ARCBC) ซึ่งได้รับ การสนับสนุนทางการเงินจากคณะกรรมมาธิการยุโรป (European Commission) การจัดตัง้ ACB แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นของอาเซียนในการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ของความหลากหลายทางชีวภาพในภูมิภาคอาเซียน และความพยายามในการประสาน นโยบายที่เกี่ยวข้องกับประเด็นเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพระหว่างประเทศสมาชิก อาเซียน นอกจากนี้ ยังมีการจัดตั้งกองทุนความหลากหลายทางชีวภาพแห่งอาเซียน (ASEAN Biodiversity Fund) เพื่อใช้สำหรับสนับสนุนการดำเนินงานของ ACB ทั้งนี ้ ศูนย์ ACB ตั้งอยู่ ณ เมือง Los Banos ประเทศฟิลิปปินส์ การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน ระหว่างดำรงตำแหน่งประธานอาเซียนเมื่อปี พ.ศ. 2551 ประเทศไทยได้ริเริ่มการจัดการหารือระหว่างผู้นำอาเซียนกับภาคประชาชน เพื่อส่งเสริม การมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมต่อกระบวนการสร้างประชาคมอาเซียน และเป็นสังคม ที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง โดยที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 ที่อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้เห็นชอบกับข้อเสนอของประเทศไทยในการจัดตั้งสมาคม อาเซียน - ประเทศไทย (ASEAN Association - Thailand) เพื่อช่วยส่งเสริมการดำเนินงาน ของภาครัฐในการสร้างประชาคมอาเซียน และเป็นเวทีปฏิสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐ สถาบัน การศึกษา และภาคประชาชน รวมทั้งสร้างความตระหนักรู้และความเข้าใจที่ถูกต้อง ของประชาชนเกี่ยวกับอาเซียนและความร่วมมือในกรอบต่างๆ ของอาเซียน นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2551 อาเซียนได้จัดให้มีการประกวดเพลงประจำอาเซียน ซึ่งเป็นการดำเนินการเพื่อให้เป็นไปตามกฎบัตรอาเซียน บทที่ 40 ซึ่งระบุให้อาเซียนมีเพลง ประจำอาเซียน โดยเพลง “The ASEAN Way” จากประเทศไทย ได้รับการตัดสินให้เป็น เพลงชนะเลิศ ซึ่งเป็นผลงานการประพันธ์เนื้อร้องของ นายพยอม วลัยพัชรา และแต่งทำนอง และเรียบเรียง โดยนายกิตติคุณ สดประเสริฐ ร่วมกับ นายสำเภา ไตรอุดม โดยอาเซียน ส่งเสริมให้มกี ารใช้เพลงประจำอาเซียน “The ASEAN Way” ในโอกาสและกิจกรรมสำคัญ เกี่ยวเนื่องกับอาเซียน และประเทศคู่เจรจา โดยมีการแปลเนื้อร้องเป็นภาษาต่างๆ เพื่อช่วย เสริมสร้างความตระหนักรู้เรื่องอาเซียน สร้างความรู้สึกนึกคิดและจิตสำนึก ค่านิยม และ หลักการร่วมกันในหมู่พลเมืองอาเซียน 70
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
องค์กรเฉพาะสาขาภายใต้ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน และหน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงศึกษาธิการ
4. ASEAN Ministerial Meeting on Disaster Management (AMMDM) • ASEAN Committee on Disaster Management (ACDM) หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงมหาดไทย 5. ASEAN Ministerial Meeting on the Environment (AMME) • ASEAN Senior Officials on the Environment (ASOEN) หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 6. Conference of the Parties to the ASEAN Agreement on Transboundary Haze Pollution (COP) • Committee (COM) under the COP to the ASEAN Agreement on Transboundary Haze Pollution หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 7. ASEAN Health Ministers Meeting (AHMM) • Senior Officials Meeting on Health Development (SOMHD)
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงสาธารณสุข
8. ASEAN Labour Ministers Meeting (ALMM) • Senior Labour Officials Meeting (SLOM) • ASEAN Committee on the Implementation of the ASEAN Declaration on the Protection and Promotion of the Rights of Migrant Workers หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงแรงงาน 9. ASEAN Ministers on Rural Development and Poverty Eradication (AMRDPE) • Senior Officials Meeting on Rural Development and Poverty Eradication (SOMRDPE)
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงมหาดไทย
10. ASEAN Ministerial Meeting on Social Welfare and Development (AMMSWD) • Senior Officials Meeting on Social Welfare and Development (SOMSWD)
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์ 11. ASEAN Ministerial Meeting on Youth (AMMY) • Senior Officials Meeting on Youth (SOMY)
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์ 12. ASEAN Conference on Civil Service Matters (ACCSM)
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.พ. 13. ASEAN Biodiversity Centre
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
14. ASEAN Coordinating Centre for Humanitarian Assistance in Disaster Management (AHA Centre)
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงมหาดไทย
15. ASEAN Earthquakes Information Centre
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงมหาดไทย
16. ASEAN Specialised Meteorological Centre
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 17. ASEAN University Network (AUN)
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงศึกษาธิการ
18. ASEAN Ministerial Meeting on Sports (AMMS)
หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา
71
ASEAN SOCIO-CULTURAL COMMUNITY : ASCC
1. ASEAN Ministers Responsible for Information (AMRI) • Senior Officials Meeting Responsible for Information (SOMRI) หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กรมประชาสัมพันธ์ 2. ASEAN Ministers Responsible for Culture and Arts (AMCA) • Senior Officials Meeting for Culture and Arts (SOMCA) หน่วยราชการไทยที่รับผิดชอบ : กระทรวงวัฒนธรรม 3. ASEAN Education Ministers Meeting (ASED) • Senior Officials Meeting on Education (SOM-ED)
ความคืบหน้า
ของการเตรียมพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในแต่ละด้าน
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (กระทรวงการต่างประเทศเป็นหน่วยประสานงานหลัก โดยดำเนินงานร่วมกับ หน่วยงานความมั่นคงอื่นๆ ของประเทศไทย คือ กระทรวงกลาโหม กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงยุติธรรม) ภาพรวม ในปี พ.ศ. 2555 อาเซียนได้มีพัฒนาการที่ดีในการดำเนินการตามแผน การจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน โดยมีการสร้างกฎเกณฑ์ บรรทัดฐาน และความร่วมมือกับต่างประเทศ อาทิ
72
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
การจัดตั้งสถาบันอาเซียนเพื่อสันติภาพและความสมานฉันท์
ด้านสิทธิมนุษยชน มีการจัดทำปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (ASEAN Human Rights Declaration : AHRD) นั บ เป็ น เอกสารสำคั ญ ด้ า นสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน ฉบับแรกของอาเซียน แสดงให้เห็นถึงมาตรฐานของอาเซียนในด้านการส่งเสริมและคุ้มครอง สิทธิมนุษยชนให้กับประชาชนอาเซียน ด้านการแก้ไขปัญหายาเสพติด ประเทศไทยมีบทบาทสำคัญในการเป็นเจ้าภาพ จัดการประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านยาเสพติด สมัยพิเศษ เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2555 ซึ่งก่อนหน้านี้ไม่เคยมีการประชุมระดับรัฐมนตรี มีแต่การประชุมในระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส เท่านั้น โดยที่ประชุมย้ำถึงความสำคัญที่จะทำให้อาเซียนเป็นเขตปลอดยาเสพติดภายในปี พ.ศ. 2558 ซึง่ จะเข้าสูก่ ารเป็นประชาคมอาเซียน รวมถึงการสกัดกัน้ การลักลอบขนยาเสพติด ข้ามพรมแดน ด้านการค้ามนุษย์ ประเทศไทยผลักดันให้มีการจัดทำแผนปฏิบัติการระดับ ภูมิภาค (Regional Plan of Action) ควบคู่ไปกับการจัดทำอนุสัญญาอาเซียนว่าด้วย การต่อต้านการค้ามนุษย์ (ASEAN Convention on Trafficking in Persons) เพื่อเป็น กรอบความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ในระดับภูมิภาค
ประเด็ น ทะเลจี น ใต้ อาเซี ย นยั ง เผชิ ญ กั บ ความท้ า ทายในการแก้ ไขปั ญ หา ดังกล่าว ประเทศไทยในฐานะประเทศผู้ประสานงานความสัมพันธ์อาเซียน - จีน ได้ผลักดัน ให้มีการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียน - จีน เพื่อรักษาพลวัตการเจรจาที่สร้างสรรค์และ พิจารณาแนวทางการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างอาเซียน - จีน ในด้านต่างๆ ที่จะเป็น ผลประโยชน์ ร ่ ว มของทั ้ ง สองฝ่ า ย รวมถึ ง การหารื อ แนวทางในการจั ด ทำแนวปฏิ บ ั ต ิ ในทะเลจีนใต้ (Code of Conduct in the South China Sea) ซึ่งเป็นกระบวนการ สร้างความไว้เนื้อเชื่อใจและการเจรจาหารือระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง 73
TOWARDS ASEAN COMMUNITY 2015
(ASEAN Institute of Peace and Reconciliation) อย่างเป็นทางการ มีสำนักงานอยู่ท ี่ กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย มีภารกิจในการวิจัยและรับฟังความคิดเห็นเพื่อส่งเสริม สันติภาพในภูมิภาค และมีหน้าที่ในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทระหว่างกันในอาเซียน
ในส่วนการดำเนินการของประเทศไทย มีพฒ ั นาการทีส่ ำคัญ อาทิ การจัดทำแนวปฏิบัติและแผนปฏิบัติการ 3 ปี (พ.ศ. 2556 - พ.ศ.2558) ของกระทรวงกลาโหม เพือ่ เตรียมความพร้อมสูก่ ารเป็นประชาคมอาเซียน โดยในปี พ.ศ. 2556 กระทรวงกลาโหมจะดำเนินกิจกรรมในด้านต่างๆ ที่เป็นรูปธรรมมากขึ้น โดยเฉพาะการฝึก ร่วมผสมกับกลุ่มประเทศอาเซียน อาทิ ความมั่นคงทางทะเล การช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม และบรรเทาภัยพิบัติ การแพทย์ทหาร การรักษาสันติภาพ และการต่อต้านการก่อการร้าย เป็นต้น การเสริ ม สร้ า งความร่ ว มมื อ ด้ า นการจั ด การภั ย พิ บ ั ติ ซึ ่ ง มี ก รมป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) กระทรวงมหาดไทย เป็นหน่วยประสานหลักของประเทศ และมีหน้าทีเ่ ป็นประธานคณะกรรมการอาเซียนด้านการจัดการภัยพิบตั ิ (ASEAN Committee on Disaster Management : ACDM) ด้วย การจั ด การฝึ ก ซ้ อ มการบรรเทาภั ย พิ บ ั ต ิ ภ ายใต้ ก รอบ ARF (ASEAN Regional Forum Disaster Relief Exercise : ARF DiREx) โดยประเทศไทยและสาธารณรัฐ เกาหลี ร่วมกันจัดขึน้ ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2556 ทีจ่ งั หวัดเพชรบุรี เพือ่ เสริมสร้างศักยภาพ ในการเตรียมความพร้อมของไทยร่วมกับประเทศสมาชิก ARF ในการจัดการกับภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ และส่งเสริมความร่วมมือระหว่างฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหารในการจัดการ ภัยพิบัติ และสร้างเครือข่ายกับประเทศและองค์กรระหว่างประเทศ ซึ่งมีความก้าวหน้า ด้านการบริหารจัดการภัยพิบัติ
74
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ภาพรวม อาเซียนมีพัฒนาการในการดำเนินการตามแผนการจัดตั้งประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน อาทิ ปัจจุบันอาเซียนอยู่ระหว่างการจัดทำตัวชี้วัดผลการดำเนินงานตามแผน การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Scorecard) ระยะที่ 3 (ปี พ.ศ. 2555 - 2556) ซึ่งประเทศไทยสามารถดำเนินการไปได้ร้อยละ 84.6 และอยู่ระหว่างการดำเนินการปรับ มาตรฐานและความสอดคล้องในเรื่องพิกัดศุลกากร การอำนวยความสะดวกทางการค้า ระบบการรั บ รองถิ ่ น กำเนิ ด สิ น ค้ า ด้ ว ยตั ว เอง มาตรฐานของ SME และการจั ด ทำ ระบบข้อมูลศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียว หรือ “ASEAN Single Window” อาเซี ย นประสบความสำเร็ จ ในการจั ด ทำความตกลงอาเซี ย นว่ า ด้ ว ย การเคลือ่ นย้ายบุคคลธรรมดา (ASEAN Agreement on the Movement of Natural Persons) ได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในปี พ.ศ. 2555 เพื่อส่งเสริมและอำนวยความสะดวก ให้เกิดการเคลื่อนย้ายบุคลากรที่ประสงค์จะให้บริการในประเทศสมาชิกในสาขาที่เกี่ยวกับ การค้าสินค้า การค้าบริการ และการลงทุน โดยข้อผูกพันของไทยจะอนุญาตให้มีการเคลื่อน ย้ายบุคลากร 2 ประเภท คือ ผูเ้ ยีย่ มเยือนทางธุรกิจ (Business Visitor) และผูโ้ อนย้ายภายในบริษทั (Intra - Corporate Transferee) โดยครอบคลุมการเคลื่อนย้ายบุคลากรใน 25 สาขา อาทิ บริการวิศวกรรม บริการคอมพิวเตอร์ บริการวิจัยและการพัฒนา บริการด้านการเงิน บริการด้านโทรคมนาคม บริการด้านสุขภาพ และบริการด้านโรงแรม เป็นต้น 75
TOWARDS ASEAN COMMUNITY 2015
(กระทรวงพาณิชย์เป็นหน่วยประสานงานหลัก โดยดำเนินงานร่วมกับหน่วยงาน ด้านเศรษฐกิจอื่นๆ ของประเทศไทย อาทิ กระทรวงการคลัง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงพลังงาน และกระทรวงการท่องเที่ยวและ กีฬา เป็นต้น)
การดำเนิ น การตามความตกลงอาเซี ย นว่ า ด้ ว ยการค้ า บริ ก าร (ASEAN Framework Agreement on Trade in Services : AFAS) อาเซียนได้ผูกพันเปิดเสรีการค้า บริการชุดที่ 8 แล้วเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2555 โดยนักลงทุนอาเซียนสามารถมีหุ้นส่วน ของผู ้ ถ ื อ หุ ้ น ต่ า งชาติ ไ ด้ ไ ม่ เ กิ น ร้ อ ยละ 70 ในสาขาบริ ก าร อาทิ บริ ก ารด้ า นวิ ช าชี พ บริการด้านคอมพิวเตอร์ บริการด้านโทรคมนาคม บริการด้านการวิจัยและการพัฒนา บริการด้านอสังหาริมทรัพย์ บริการด้านการก่อสร้าง บริการด้านการจัดจำหน่าย บริการ ด้านการศึกษา บริการด้านสุขภาพ บริการด้านการท่องเทีย่ ว บริการด้านนันทนาการและกีฬา เป็นต้น ทั้งนี้ ในบางสาขาอาจเป็นการเปิดเสรีเฉพาะบางสาขาย่อย (Sub - Sector) และมีอกี 2 - 3 สาขาทีเ่ ปิดให้ผถู้ อื หุน้ เป็นชาวต่างชาติไม่เกินร้อยละ 51 อาทิ บริการด้านการขนส่งทางน้ำ ทางรถไฟ และทางอากาศ นอกจากนี้ ยังมีเงื่อนไขว่าจะต้องปฏิบัติตามกฎหมายในแต่ละ สาขาด้วย การจัดทำข้อตกลงยอมรับร่วม (Mutual Recognition Agreement : MRA) เพื่ออำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายแรงงานวิชาชีพนั้น ปัจจุบัน อาเซียนได้จัดทำ MRA แล้ว 7 สาขาวิชาชีพ ได้แก่ แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล วิศวกรรม สถาปัตยกรรม นักบัญชี และช่างสำรวจ และ 1 สาขาบริการ คือ บริการการท่องเที่ยว ประเทศไทยได้ลงนาม MRA ในสาขาการบริการการท่องเที่ยวแล้วเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2555 พัฒนาการที่สำคัญยิ่งในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 21 เมื่อเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 คือ การที่ผู้นำอาเซียน 10 ประเทศ กับผู้นำจีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอินเดีย ประกาศให้มกี ารเริม่ เจรจาการเป็นหุน้ ส่วนทางเศรษฐกิจ อย่างรอบด้านในภูมิภาค (Regional Comprehensive Economic Partnership : RCEP) โดยจะเริ่มการเจรจาในต้นปี พ.ศ. 2556 เพื่อให้บรรลุผลได้ในปี พ.ศ. 2558 ซึ่งเป็นปีที่จะ เข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ทั้งนี้ โดยเห็นว่า RCEP จะช่วยปรับให้ FTA ระหว่างอาเซียน กับทั้ง 6 ประเทศดังกล่าว มีกฎระเบียบที่สอดคล้องกัน
76
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ในส่วนการดำเนินการของประเทศไทย มีพฒ ั นาการทีส่ ำคัญ อาทิ
การลงนามในข้อตกลงยอมรับร่วม (MRA) เพื่ออำนวยความสะดวกในการ เคลื่อนย้ายแรงงานมีทักษะในสาขาการบริการการท่องเที่ยวเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 และพัฒนาการการเตรียมความพร้อมในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องเพือ่ รองรับการเคลือ่ นย้าย แรงงานมีทักษะในสาขาบริการการท่องเที่ยว อาทิ การจัดตั้งคณะกรรมการบุคลากรวิชาชีพ ท่องเที่ยวแห่งชาติ และการจัดตั้งคณะกรรมการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพด้านการท่องเที่ยว รวมถึงการจัดทำหลักสูตรฝึกอบรมและสือ่ การเรียนรูใ้ นลักษณะต่างๆ รวมถึงมาตรฐานสำหรับ 32 วิชาชีพ การเตรียมความพร้อมในการอำนวยความสะดวกในการเคลือ ่ นย้ายแรงงาน มีทักษะใน 7 สาขาวิชาชีพและ 1 การบริการของกระทรวงแรงงาน ที่ผ่านมา มีการประชุม ระดมความเห็นเพื่อประเมินว่าการเคลื่อนย้ายแรงงานมีทักษะจะมีผลกระทบต่อคนไทย และต่อการแข่งขันของประเทศไทยในด้านแรงงานมีทักษะอย่างไร ซึ่งสรุปผลได้ว่ายังไม่มี ผลกระทบมากนัก เนื่องจากแต่ละสาขาวิชาชีพยังมีสภาวิชาชีพของไทยคอยกำกับดูแลอยู่ นอกจากนี้ ยังมีการดำเนินการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับผลกระทบจากการเคลื่อนย้าย แรงงานด้วย 77
TOWARDS ASEAN COMMUNITY 2015
การจัดทำมาตรฐานสินค้าเกษตรและอินทรีย์ อาทิ ผักผลไม้อาเซียน จำนวน 28 รายการ และอยู่ระหว่างการจัดตั้งกลุ่มผู้เชี่ยวชาญเพื่อศึกษาและปรับปรุงกฎหมาย เกี่ยวกับสินค้าเกษตรและสินค้าประมง เพื่อให้สอดคล้องกับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน รวมถึงการจัดสัมมนาสร้างความตระหนักรูใ้ ห้แก่เกษตรกรไทยโดยเฉพาะการจัดแสดง และจำหน่ายสินค้าของกลุ่มสหกรณ์ และการเชื่อมโยงเครือข่ายเรื่องการตลาดของสินค้า เกษตร ซึง่ เป็นหนึง่ ในเรือ่ งทีร่ ฐั มนตรีอาเซียนด้านการเกษตรและป่าไม้ได้ตกลงกัน โดยเฉพาะ การขับเคลื่อนกลุ่มสหกรณ์ และในการประชุมรัฐมนตรีอาเซียน+3 ด้านการเกษตรและป่าไม้ (ASEAN+3 Ministers Meeting on Agriculture and Forestry : AMAF+3) เมือ่ เดือนกันยายน พ.ศ. 2555 ทีป่ ระเทศลาว ประเทศไทยได้เสนอเป็นเจ้าภาพในการจัดตัง้ สำนักงานเลขานุการ โครงการสำรองข้าวฉุกเฉินของอาเซียน+3 (ASEAN Plus Three Emergency Rice Reserve : APTERR) และได้รับฉันทามติจากที่ประชุมฯ แล้ว และกำลังอยู่ระหว่างการดำเนินการ เกีย่ วกับกระบวนการภายใน เพือ่ หาแนวทางรองรับสถานะของสำนักงานเลขานุการ APTERR
การเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันด้านการค้าสินค้า บริการ และ การลงทุน โดยกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้จัดทำแผนงาน 4 ด้านสำคัญ ได้แก่
• การถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมพลังงาน ทดแทน • การพัฒนาศักยภาพด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมของผูป้ ระกอบการ SME เพื่อเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน • การเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตด้วยการวิจยั และพัฒนา รวมถึงการถ่ายโอน เทคโนโลยี • การพัฒนาปรับปรุงมาตรฐานสินค้าด้วยการทดสอบทางห้องปฏิบัติการ
การดำเนินการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในส่วนของ ICT ตามแผนแม่ บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื ่ อ สารอาเซี ย น (ASEAN ICT Masterplan 2015 : AIM 2015) โดยโครงการที่ประเทศไทยรับผิดชอบ ได้แก่ การจัดทำ มาตรฐานและนิยามทักษะบุคลากรด้าน ICT อาเซียน (ASEAN ICT Skills Standard and Definition) และการจัดทำแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์อาเซียน (ASEAN e - Government Strategic Action Plan) โดยประเทศไทยให้ความสำคัญ กับการวางโครงสร้างพืน้ ฐานด้าน ICT รวมทัง้ การจัดสัมมนาเพือ่ เผยแพร่การเปิดตลาดการค้า บริการในสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และโครงการ Smart Thailand เป็นต้น
78
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์ เป็นหน่วยประสานงานหลัก โดยดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานด้านสังคมและวัฒนธรรมอื่นๆ ของประเทศไทย อาทิ กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข และสำนักงาน กพ. เป็นต้น)
การจัดทำตัวชีว ้ ดั ผลการดำเนินงานตามแผนการจัดตัง้ ประชาคมสังคมและ วัฒนธรรมอาเซียน (ASCC Scorecard) โดยจะนำมาใช้ในการประเมินผลในเดื อ น มิถุนายน พ.ศ. 2556 การจั ด ตั ้ ง กลไกใหม่ ได้ แ ก่ รั ฐ มนตรี อ าเซี ย นด้ า นกี ฬ าซึ ่ ง จะมี ก ารประชุ ม เป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2556 และรัฐมนตรีอาเซียนด้านสตรีซึ่งมีการประชุมครั้งแรกไปแล้ว เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2555 การจั ด ทำเอกสารคู ่ ม ื อ หลั ก สู ต รอาเซี ย น ในการประชุ ม รั ฐ มนตรี อ าเซี ย น ด้านการศึกษา (ASEAN Ministers Meeting on Education) ครั้งที่ 7 เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2555 ได้ออกเอกสารคู่มือหลักสูตรอาเซียน (ASEAN Curriculum Sourcebook) เพือ่ ให้ประเทศสมาชิกใช้เป็นแนวทางในการจัดหลักสูตรการเรียนการสอนระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และให้เยาวชนเรียนรู้อาเซียนและประเทศ สมาชิกในแง่มุมต่างๆ เพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นประชาคมอาเซียน นอกจากนี ้ ประเทศสมชิ ก อาเซี ย นได้ ร ั บ รองแผนงานด้ า นการศึ ก ษา 5 ปี (ASEAN 5 - Year Work Plan on Education 2011 - 2015 ) ซึง่ เป็นแนวทางความร่วมมือ อาเซียนด้านการศึกษา มีสาระสำคัญ 5 ประการ คือ
1. การร่วมมือกันสร้างความตระหนักรู้ (Promoting ASEAN Awareness) 2. การเพิ่มการเข้าถึงการศึกษาในระดับประถมและมัธยมศึกษาที่มีคุณภาพ (Increasing Access to Quality Primary and Secondary Education)
79
TOWARDS ASEAN COMMUNITY 2015
ภาพรวม อาเซียนมีพัฒนาการในการดำเนินการตามแผนการจัดตั้งประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียนหลายด้าน อาทิ
3. การยกระดับคุณภาพการศึกษา เพิ่มมาตรฐานการศึกษา ส่งเสริมการเรียนรู้ ตลอดชีวิต และการพัฒนาสาขาอาชีพ (Increasing Quality of Education - Performance Standards, Lifelong Learning and Professional Development) 4. การส่งเสริมการแลกเปลี่ยนด้านการข้ามแดนและความร่วมมือระหว่างประเทศ ด้านการศึกษา (Strengthening Cross - Border Mobility and Internationalisation of Education) 5. การสนับสนุนองค์กรเฉพาะสาขาอื่นๆ (Support for other ASEAN sectoral bodies with an interest in education) การส่งเสริมบทบาทของภาคประชาสังคม โดยการจัดตัง ้ GO - NGO Forum ซึ่งเป็นข้อริเริ่มของประเทศไทยเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในการ ขับเคลื่อนและผลักดันการดำเนินการตามแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน นอกจากนี้ ยังมีการจัดตัง ้ กลไกด้านสิทธิมนุษยชนทีด่ แู ลสิทธิสตรีและสิทธิเด็ก คือ คณะกรรมาธิการอาเซียนว่าด้วยการส่งเสริมและคุมครองสิทธิสตรีและสิทธิเด็ก (ASEAN Commission on the Promotion and Protection of the Rights of Women and Children : ACWC)
ในส่วนการดำเนินการของประเทศไทย มีพฒ ั นาการทีส่ ำคัญ อาทิ ประเทศไทยได้ผลักดันให้หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (Universal Health Coverage : UHC) เป็นวาระสำคัญของการประชุมรัฐมนตรีสาธารณสุขอาเซียน (ASEAN Health Ministerial Meeting : AHMM) ครั้งที่ 11 และการประชุมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าทั่วภูมิภาคอาเซียนซึ่งจะมีผลให้ประชาชนของแต่ละ ประเทศสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม และลดผลกระทบ ในบริเวณชายแดนที่มีการข้ามพรมแดนมารับการรักษาในประเทศไทย การกำหนดยุทธศาสตร์การศึกษา เพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นประชาคม อาเซียนและความคืบหน้าในการสร้างระบบถ่ายโอนหน่วยกิต ซึ่งดำเนินการโดยเครือข่าย มหาวิทยาลัยอาเซียน (ASEAN University Network : AUN) ทัง้ นี้ กระทรวงศึกษาธิการ 80
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ได้กำหนดยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี พ.ศ. 2546 - 2561 5 ด้าน ซึ่งสอดคล้อง กับนโยบายของรัฐบาล ประกอบด้วย
• การให้ความสำคัญกับการศึกษา • การลงทุนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • การส่งเสริมการจ้างงานที่เหมาะสม • การส่งเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศ • การอำนวยความสะดวกในการเข้าถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงประยุกต์
การพัฒนาองค์ความรู้และการจัดการความรู้ทางด้านมรดกวัฒนธรรมและ ความหลากหลายทางวัฒนธรรมในอาเซียน โดยเผยแพร่องค์ความรู้ดงั กล่าวผ่านสือ่ ต่างๆ รวมถึงการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องกับงานด้านวัฒนธรรม ทั้งในระดับผู้บริหาร ระดับปฏิบตั กิ าร ผูเ้ ชีย่ วชาญ ศิลปินแห่งชาติ ศิลปินพืน้ บ้าน ช่างหัตถกรรม นักเรียน นักศึกษา เยาวชน และประชาชน เป็นต้น ทั้งนี้ การดำเนินงานของไทยภายใต้ประชาคมสังคม และวัฒนธรรม มี 3 ระดับ ได้แก่ ระดับจังหวัด ระดับประเทศ และระดับภูมิภาค การกำหนดให้ปี ค.ศ. 2013 (พ.ศ. 2556) เป็นปี ASEAN Sports Industry Year โดยประเทศสมาชิกอาเซียนจะร่วมกันจัดกิจกรรมเพื่อเฉลิมฉลอง โดยการกีฬา แห่งประเทศไทย ซึง่ เป็นหน่วยประสานงานหลักในการจัดกิจกรรม แสดงความสนใจทีจ่ ะเพิม่ กีฬาประเภทตะกร้อหรือมวยในอนาคต เนื่องจากเป็นกีฬาที่ประเทศสมาชิกอาเซียน มีความเชี่ยวชาญ การพัฒนาชนบทและขจัดความยากจน ซึ่งมีกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวง มหาดไทย ซึง่ เป็นหน่วยประสานงาน กำหนดจัดโครงการต่างๆ อาทิ การแสดงและจำหน่าย ผลิตภัณฑ์ในโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ระหว่างประเทศไทยกับประเทศ สมาชิกอาเซียน โครงการพัฒนาทีมวิทยากรโดยให้ตัวแทนชุมชนมารับความรู้จากส่วนกลาง แล้วนำไปขยายผลต่อในชุมชน โครงการถ่ายทอดวีดีทัศน์ทางไกลจากส่วนกลางไปยัง ศาลากลางจังหวัดในจังหวัดต่างๆ และการจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการร่วมกลุ่มจังหวัด (Regional Cooperation Center : RCC) ซึ่งได้รับความช่วยเหลือจากที่สนใจและมีความพร้อม เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียนและประชาคมอาเซียนแก่จังหวัดและกลุ่ม จังหวัดต่างๆ เป็นต้น 81
TOWARDS ASEAN COMMUNITY 2015
»‚ ¾.È. 2517
AUSTRALIA
»‚ ¾.È. 2534
CHINA
UN
»‚ ¾.È. 2520
»‚ ¾.È. 2520
CANADA
EU
USA
»‚ ¾.È. ¾ È 2520 2
»‚ ¾.È. 2520 200
RUSSIA
»‚ ¾.È. ¾ È 2535
INDIA
»‚ ¾.È. 2539
NEW ZEALAND »‚ ¾.È. 2518
ROK
»‚ ¾.È. È 2532
82
JAPAN
»‚ ¾.È. 2516
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ASEAN ’s
ter
n a l R e l a ti o n
s
ASEAN’S EXTERNAL RELATIONS
Ex
a
Indi
ei
Brun
83
ASEAN - AUSTRALIA
อาเซียน - ออสเตรเลีย ออสเตรเลียเป็นประเทศคูเ่ จรจาประเทศแรกของอาเซียน โดยออสเตรเลียได้สถาปนา ความสัมพันธ์กับอาเซียนในปี พ.ศ 2517 (ค.ศ. 1974) และจะมีความสัมพันธ์ครบรอบ 40 ปี ในปี พ.ศ 2557 (ค.ศ. 2014) ออสเตรเลียและอาเซียนดำเนินความสัมพันธ์กันอย่างราบรื่น มีการปรับเปลี่ยนลำดับความสำคัญของความร่วมมือในสาขาต่างๆ ไปตามพัฒนาการ ทางเศรษฐกิจและความจำเป็นอื่นๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของทั้งสองฝ่าย ปัจจุบัน ความสัมพันธ์อาเซียน - ออสเตรเลีย ครอบคลุมความร่วมมือด้านการเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ในด้านการเมืองและความมั่นคง ออสเตรเลียเข้าเป็นภาคีความตกลงสนธิสัญญา มิตรภาพและความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation : TAC) ในปี พ.ศ. 2548 และได้ร่วมรับรองเอกสารแผนงานโครงการ ในการปฏิบัติตามปฏิญญาร่วมอาเซียน - ออสเตรเลีย เพื่อต่อต้านการก่อการร้ายสากล (ASEAN - Australia Joint Declaration for Cooperation to Combat International Terrorism) ในด้านเศรษฐกิจ อาเซียน ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ได้ลงนามความตกลง เพือ่ จัดตัง้ เขตการค้าเสรีอาเซียน - ออสเตรเลีย - นิวซีแลนด์ (ASEAN - Australia - New Zealand Free Trade Agreement : AANZFTA) เมื่อปี พ.ศ. 2552 ส่งผลให้การค้าสินค้าระหว่าง อาเซียนกับออสเตรเลียในปี พ.ศ. 2554 เพิ่มขึ้นร้อยละ 23.02 จากปี พ.ศ. 2553 มีมูลค่ารวม 84
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
70,789.20 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยอาเซียนได้ดุลการค้าออสเตรเลียเป็นมูลค่า 15,387.62 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (อาเซียนส่งสินค้าไปยังออสเตรเลียเป็นมูลค่า 43,088.41 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และออสเตรเลียส่งสินค้าไปยังอาเซียนเป็นมูลค่า 27,700.79 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) ออสเตรเลีย จะเข้าร่วมการเจรจาจัดทำความตกลงพันธมิตรทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (Regional Comprehensive Economic Partnership : RCEP) ซึ่งอาเซียนจะเริ่มการเจรจาในปี พ.ศ. 2556 ด้วย
ออสเตรเลียให้ความช่วยเหลืออาเซียนในด้านการพัฒนาภายใต้ ASEAN - Australia Development Cooperation Program (AADCP) โดยในระยะแรก (ปี พ.ศ. 2545 - พ.ศ. 2551) มี ม ู ล ค่ า ความช่ ว ยเหลื อ ประมาณ 45 ล้ า นดอลลาร์ อ อสเตรเลี ย และในระยะที ่ ส อง (ปี พ.ศ. 2552 - พ.ศ. 2558) ออสเตรเลียมีเป้าหมายจะขยายความช่วยเหลือให้แก่อาเซียน เป็นเงิน 57 ล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย และได้ตัดสินใจขยายระยะเวลากรอบความร่วมมือ AADCP II ออกไปจนถึงปี พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019)
85
ASEAN’S EXTERNAL RELATIONS
ในด้านความร่วมมือเพื่อการพัฒนา ออสเตรเลียกับอาเซียนมีความร่วมมือด้าน การศึกษาระหว่างมหาวิทยาลัยในเครือข่าย ASEAN University Network : AUN โดยมี โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหว่างอาเซียนและออสเตรเลียในปี พ.ศ. 2554 มีนักศึกษา จากออสเตรเลียสู่ประเทศสมาชิกอาเซียน 239 คน และจากประเทศสมาชิกอาเซียนสู่ ออสเตรเลีย 61 คน นอกจากนั้น ในเรื่องการจัดการภัยพิบัติ ออสเตรเลียประกาศให้การ สนับสนุนการดำเนินการ ASEAN Agreement on Disaster Management and Emergency Response (AADMER) และ ASEAN Coordinating Center for Humanitarian Assistance on Disaster Management (AHA Center) เป็นเงินจำนวน 2 ล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย นอกจากนั้น ในคณะกรรมการอาเซียนด้านการจัดการภัยพิบัติ (ASEAN Committee on Disaster Management : ACDM) ออสเตรเลียยังเป็นคณะทำงาน Working Group เพื่อพิจารณาความเชื่อมโยงระหว่าง ASEAN Agreement on Disaster Management and Emergency Response (AADMER) Work Program และ EAS Work Plan on Disaster Management
ASEAN - CANADA
อาเซียน - แคนาดา 1. ภูมหิ ลัง ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งอาเซี ย นและแคนาดาเริ ่ ม ต้ น อย่ า งเป็ น ทางการในปี พ.ศ. 2520 (ค.ศ. 1977) แต่ได้ประสบภาวะชะงักงันนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 (1997) เมื่ออาเซียนรับเมียนมาร์เข้าเป็นสมาชิก ซึ่งแคนาดาไม่ประสงค์ให้เมียนมาร์เข้าเป็นภาคี ความตกลงว่าด้วยความร่วมมือด้านเศรษฐกิจฯ หลังจากนั้น ได้มีความพยายามหาทางรื้อฟื้น ความสัมพันธ์ฯ จนกระทัง่ ในวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) ทัง้ สองฝ่ายเห็นชอบ ให้จดั การประชุม ASEAN - Canada Dialogue ครัง้ แรก ซึง่ นับเป็นจุดเริม่ ต้นของการกลับมา ดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างกันอีกครั้ง ทีป ่ ระชุมรัฐมนตรีตา่ งประเทศอาเซียน (Post Ministerial Conference - PMC+1) กับแคนาดา เมือ่ วันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ณ ประเทศสิงคโปร์ ได้ให้ความเห็นชอบปฏิญญา ร่วมว่าด้วยความเป็นหุ้นส่วนที่เพิ่มพูนระหว่างอาเซียนกับแคนาดา (Joint Declaration on the ASEAN - Canada Enhanced Partnership) ซึ่งเป็นแผนแม่บทในการดำเนิน ความสัมพันธ์ระหว่างกันในอนาคต โดยประเทศไทยทำหน้าที่ประเทศผู้ประสานงาน (Country Coordinator) ความสัมพันธ์อาเซียน - แคนาดา ระหว่างเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2552กรกฎาคม พ.ศ. 2555 ปัจจุบัน ประเทศสิงคโปร์ทำหน้าที่เป็นประเทศผู้ประสานงาน ความสัมพันธ์อาเซียน - แคนาดา ระหว่างเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2555 - กรกฎาคม พ.ศ. 2558
86
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ทีป ่ ระชุม PMC+1 กับแคนาดา เมือ่ วันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ณ กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม ได้ให้การรับรองอย่างเป็นทางการต่อแผนปฏิบัติการเพื่อดำเนินการ ให้เป็นไปตามปฏิญญาร่วมฯ (Plan of Action to Implement the Joint Declaration on the ASEAN - Canada Enhanced Partnership 2010 - 2015 ) เพื่อเป็นแนวทางในการ ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกันไปอีก 5 ปี (พ.ศ. 2553 - พ.ศ. 2558) ซึ่งสอดคล้องกับ แผนการสร้างประชาคมอาเซียนภายในปี ค.ศ. 2015 นอกจากนี้ แคนาดาได้ภาคยานุวัติ สนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia : TAC) ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความมุ่งมั่นของแคนาดา ต่อการส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาค การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน - แคนาดา (PMC+1) อาเซียนได้จัดการประชุม PMC+1 กับแคนาดาครั้งล่าสุด เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ณ เมืองบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย การประชุม ASEAN - Canada Dialogue แคนาดาได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ASEAN - Canada ครั้งที่ 8 ซึ่งเป็น การประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส ระหว่างวันที่ 2 - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2554 ที่นครแวนคูเวอร์ โดยที่ประชุมได้ทบทวนพัฒนาการที่สำคัญทั้งในอาเซียนและแคนาดา และความคืบหน้า ในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับแคนาดา รวมทั้งหารือและแลกเปลี่ยน ความคิ ด เห็ น ในประเด็ น ทางยุ ท ธศาสตร์ ท ั ้ ง ในด้ า นการเมื อ ง ความมั ่ น คง เศรษฐกิ จ ประเด็นปัญหาท้าทายอื่นๆ ในภูมิภาค และความร่วมมือเพื่อการพัฒนาต่างๆ นอกจากนี ้ แคนาดายังได้ริเริ่มจัดการหารือกับภาคเอกชนและวิชาการของแคนาดาเกี่ยวกับแนวทาง การขยายความร่วมมืออาเซียน - แคนาดา ภายหลังจากการประชุม ASEAN - Canada Dialogue ครั้งที่ 8 ด้วย
87
ASEAN’S EXTERNAL RELATIONS
2. กลไกความร่วมมือ
ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ASEAN - Canada Dialogue ครั้งที่ 9 ซึ่งเป็น การประชุมระดับเจ้าหน้าทีอ่ าวุโสประจำปี ระหว่างวันที่ 7 - 8 มิถนุ ายน พ.ศ. 2555 ทีก่ รุงเทพฯ โดยการประชุม ASEAN - Canada Dialogue ครั้งที่ 10 จัดขึ้นที่นครโตรอนโต ระหว่าง วันที่ 6 - 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 ASEAN - Canada Joint Coordination Committee (JCC) อาเซียนและแคนาดาได้จดั การประชุม ASEAN - Canada Informal Coordinating Mechanism (ICM) ครั้งที่ 6 ซึ่งเป็นการประชุมในระดับเอกอัครราชทูตผู้แทนถาวรประจำ อาเซียน เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 ณ สำนักเลขาธิการอาเซียน กรุงจาการ์ตา เพือ่ ติดตามพัฒนาการในอาเซียนและแคนาดา รวมทัง้ ความสัมพันธ์และกิจกรรมความร่วมมือ ในด้านต่างๆ ระหว่างอาเซียนและแคนาดา ทัง้ นี้ ทีป่ ระชุมฯ ได้มมี ติเห็นชอบให้ปรับกลไก ICM เป็นกลไกทางการโดยใช้ชอ่ื ใหม่วา่ ASEAN - Canada Joint Coordination Committee (JCC) โดยจะยังคงเป็นการประชุมระดับเอกอัครราชทูตผู้แทนถาวรฯ เช่นเดียวกับ ICM และจะจัด การประชุม JCC ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2556
3. ท่าทีของแคนาดา แคนาดาได้เน้นการให้ความร่วมมือแก่อาเซียนในการดำเนินงานด้านต่างๆ ได้แก่ สิทธิมนุษยชน โดยสนับสนุนการดำเนินงานของ ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights (AICHR) และ ASEAN Commission for the Promotion and Protection of the Rights of Women and Children (ACWC) อย่างต่อเนื่อง การต่อต้าน การก่อการร้ายและอาญชากรรมข้ามชาติ โดยเฉพาะการต่อต้านการลักลอบขนคนเข้าเมือง การส่งเสริมการค้าการลงทุน ความร่วมมือด้านสาธารณสุข โดยเน้นเรือ่ งการเตรียมความพร้อม เพือ่ รับมือกับโรคระบาด เป็นต้น อย่างไรก็ดี ประเด็นความร่วมมืออืน่ ๆ ทีป่ ระเทศสมาชิกอาเซียน ได้เน้นย้ำและผลักดัน ได้แก่ การเสริมสร้างความเชือ่ มโยง การศึกษาและการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ รวมทั้งการฝึกอบรมภาษาอังกฤษ กิจกรรม Inter - Faith Dialogue และ การบริหาร จัดการภัยพิบัติ ปัจจุบัน แคนาดาให้ความสนใจพัฒนาการในอาเซียนมากขึ้น รวมทั้งติดตาม พัฒนาการของสถาปัตยกรรมในภูมิภาคเอเชียที่มีอาเซียนเป็นแกนกลาง ทั้งนี้ ความสัมพันธ์ 88
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
4. การดำเนินงานต่อไป ไทยได้ตดิ ตามความคืบหน้าในการจัดทำข้อตกลงด้านการค้าและการลงทุนระหว่าง อาเซียนกับแคนาดาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เป็นกลไกในการส่งเสริมการค้าและการลงทุน ระหว่ า งกั น โดยก่ อ นหน้ า นี ้ ไ ด้ ม ี ก ารหารื อ เพื ่ อ จั ด ทำกรอบความร่ ว มมื อ ที ่ เรี ย กว่ า ASEAN - Canada Trade and Investment Framework Agreement : TIFA และทีป่ ระชุม เจ้าหน้าที่อาวุโสด้านเศรษฐกิจอาเซียน - แคนาดา ครั้งที่ 15 เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2554 ที่ประเทศสิงคโปร์ สามารถสรุปการเจรจาจัดทำ TIFA ได้โดยเปลี่ยนรูปแบบเอกสารเป็น ASEAN - Canada Joint Declaration on Trade and Investment ซึง่ จะเป็นกรอบแนวทาง ความร่วมมือด้านการค้าและการลงทุนระหว่างกันต่อไป 89
ASEAN’S EXTERNAL RELATIONS
อาเซียน - แคนาดา ในช่วง 3 - 4 ปีที่ผ่านมา มีพัฒนาการเชิงบวกที่ส่งสัญญาณว่าแคนาดา น่าจะมีความร่วมมือกับอาเซียนอย่างเป็นรูปธรรมมากยิง่ ขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การภาคยานุวตั ิ TAC และการเข้าร่วมพิธีสารที่ 3 แก้ไขเพิ่มเติม TAC การรับรองแผนปฏิบัติการฯ นอกจากนี้ แคนาดายังได้แต่งตั้งเอกอัครราชทูตประจำอาเซียนและจัดตั้ง Canada’s ASEAN Network ซึ่งเป็นเครือข่ายเอกอัครราชทูตแคนาดาในประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อเป็นกลไกกำหนด และขับเคลื่อนนโยบายต่ออาเซียน อย่างไรก็ดี แม้ว่าอาเซียน - แคนาดา จะมีปฏิญญาฯ และแผนปฏิบัติการฯ ซึ่งระบุ แนวทางในการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกันโดยละเอียด การดำเนินความร่วมมือ ในช่วงที่ผ่านมายังไม่มีความคืบหน้าเท่าที่ควร ทั้งนี้ แคนาดายังคงไม่สามารถมีปฏิสัมพันธ์ กับอาเซียนได้อย่างเต็มที่ เนื่องจากยังมีข้อจำกัดเกี่ยวกับเมียนมาร์ ถึงแม้ความสัมพันธ์ ทวิภาคีระหว่างแคนาดาและเมียนมาร์เริม่ มีแนวโน้มดีขน้ึ หลังจากทีร่ ฐั บาลเมียนมาร์ปล่อยตัว นางออง ซาน ซู จี และเมี ย นมาร์ แ ละแคนาดาต่ า งให้ ค วามเห็ น ชอบต่ อ การแต่ ง ตั ้ ง เอกอัครราชทูตระหว่างกัน นอกจากนี้ ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา แคนาดาต้องประสบกับปัญหาสภาวะเศรษฐกิจ และมีข้อจำกัดด้านงบประมาณ ซึ่งส่งผลกระทบต่อโครงการความร่วมมือกับอาเซียน รวมทั้ง แคนาดาก็ยังไม่มีนโยบายที่จะจัดตั้งกองทุนความร่วมมือกับอาเซียน ในขณะที่แคนาดายังคง ยืนยันว่าได้ดำเนินกิจกรรมความร่วมมือกับอาเซียนมาโดยตลอด แต่จะใช้วิธีประสานงาน ระดับทวิภาคีเป็นส่วนใหญ่
ASEAN - CHINA
อาเซียน - จีน จีนเริ่มมีความสัมพันธ์กับอาเซียนเมื่อปี พ.ศ. 2534 ต่อมาในปี พ.ศ. 2539 จีนได้รับ สถานะคู่เจรจาของอาเซียนอย่างเต็มรูปแบบ โดยทั้งสองฝ่ายมีความร่วมมือกันในหลากหลาย สาขา อาทิ การเกษตร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนาลุ่มน้ำโขง การลงทุน พลังงาน การขนส่ง วัฒนธรรม สาธารณสุข การท่องเที่ยว และสิ่งแวดล้อม และมีกลไกการประชุมระดับผู้นำเป็นประจำทุกปีในช่วงเดียวกันกับ การประชุมสุดยอดอาเซียนในช่วงปลายปี รวมทัง้ มีกลไกระดับรัฐมนตรี เจ้าหน้าทีอ่ าวุโส อธิบดี และคณะทำงานในสาขาต่างๆ ในด้านเศรษฐกิจ อาเซียนและจีนได้ร่วมลงนามกรอบความตกลงทางเศรษฐกิจแบบ รอบด้ า น เมื ่ อ ปี พ.ศ. 2545 และต่อมาในปี พ.ศ. 2553 ความตกลงเขตการค้ า เสรี อาเซียน - จีน มีผลบังคับใช้ส่งผลให้การค้าอาเซียน - จีน ขยายตัว และจีนกลายเป็นคู่ค้า อันดับ 1 ของอาเซียนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 เป็นต้นมา เมือ่ ปี พ.ศ. 2554 ในโอกาสทีค่ วามสัมพันธ์อาเซียน - จีน ครบรอบ 20 ปี ทัง้ สองฝ่าย ได้ประกาศให้เป็นปีแห่งการแลกเปลีย่ นและมิตรภาพ (Year of Exchange and Friendship) และได้มีการเปิดศูนย์อาเซียน - จีน (ASEAN - China Centre) ที่กรุงปักกิ่ง ซึ่งมีหน้าที ่ ส่งเสริมการค้า การลงทุน การท่องเที่ยว การแลกเปลี่ยนในระดับประชาชน การสร้าง
90
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
91
ASEAN’S EXTERNAL RELATIONS
ความตระหนักรู้ของสาธารณชน รวมทั้งส่งเสริมความเข้าใจซึ่งกันและกันระหว่างประชาชน อาเซียนกับจีน ผ่านการแลกเปลี่ยนด้านวัฒนธรรมและการศึกษา (www.asean-china- centre.org) ในระหว่างเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2555 - เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2558 ไทยทำหน้าที่ ประเทศผู้ประสานงานความสัมพันธ์อาเซียน - จีน ซึ่งไทยให้ความสำคัญต่อ 3Cs ได้แก่ (1) Community หรือการสร้างประชาคม ด้วยการส่งเสริมให้จีน ในฐานะ ประเทศมหาอำนาจในภูมภิ าค แสดงบทบาทอย่างแข็งขันและสร้างสรรค์เพือ่ สร้างความพร้อม ของอาเซียนในการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 (2) Connectivity หรือความเชื่อมโยง ด้วยการส่งเสริมให้ภาครัฐและเอกชน ของจี น มี ส ่ ว นช่ ว ยสนั บ สนุ น การพั ฒ นาเครื อ ข่ า ยความเชื ่ อ มโยงในภู ม ิ ภ าคในทุ ก มิ ต ิ (โครงสร้างพื้นฐาน กฎระเบียบ และประชาชนต่อประชาชน) (3) Regional Code of Conduct in the South China Sea (COC) หรือ แนวปฏิ บ ั ต ิ ใ นทะเลจี น ใต้ โดยไทยพยายามผลั ก ดั น ให้ ม ี ก ารเจรจาจั ด ทำแนวปฏิ บ ั ต ิ ในทะเลจีนใต้ ควบคู่ไปกับการปฏิบัติตามและดำเนินกิจกรรม / โครงการความร่วมมือต่างๆ ภายใต้ปฏิญญาว่าด้วยการปฏิบัติของภาคีในทะเลจีนใต้ (Declaration on the Conduct of Parties in the South China Sea : DOC) โดยมุ่งเสริมสร้างความเชื่อมั่นและความไว้เนื้อ เชื่อใจ (Trust and Confidence) และความเข้าใจอันดีระหว่างอาเซียนกับจีน
ASEAN - EUROPEAN UNION
อาเซียน - สหภาพยุโรป 1. ความเป็นมา อาเซียนและสหภาพยุโรป มีความสัมพันธ์ในระดับกลุ่มระหว่างกันมาเป็น เวลานาน โดยสหภาพยุโรปเป็นคู่เจรจา (dialogue partner) อย่างไม่เป็นทางการของ อาเซียนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 (ค.ศ. 1972) และได้พัฒนาเป็นคู่เจรจาอย่างเป็นทางการ ในปี พ.ศ. 2520 (ค.ศ. 1977) ปัจจุบัน เวียดนามเป็นประเทศผู้ประสานงานความสัมพันธ์ อาเซียน - สหภาพยุโรป โดยมีวาระ 3 ปี (กรกฎาคม พ.ศ. 2555 - กรกฎาคม พ.ศ. 2558) ปัจจุบัน การดำเนินความสัมพันธ์อาเซียน - สหภาพยุโรป เป็นไปตาม Bandar Seri Begawan Plan of Action to Strengthen the ASEAN - EU Enhanced Partnership (ค.ศ 2013 - ค.ศ. 2017) ซึ่งได้รับการรับรองในที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียน สหภาพยุโรป ครั้งที่ 19 เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2555 เพื่อเป็นแนวทางความร่วมมือ ในอีก 5 ปีข้างหน้า โดยครอบคลุมความร่วมมือที่จะสนับสนุน 3 เสาหลักของการเป็น ประชาคมอาเซียน และแผนแม่บทว่าด้วยการเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน
92
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
2. พัฒนาการความร่วมมือทีส่ ำคัญ ความสั ม พั น ธ์ อ าเซี ย น - สหภาพยุ โรป มี พ ั ฒ นาการมากขึ ้ น ในมิ ต ิ ต ่ า งๆ โดยเฉพาะในบริบทพัฒนาการในเมียนมาร์และการผ่อนคลายมาตรการคว่ำบาตรชั่วคราว ของสหภาพยุโรปต่อเมียนมาร์ โดยสหภาพยุโรปมุ่งมั่นที่จะให้ความช่วยเหลือเพื่อเสริมสร้าง ศักยภาพของเมียนมาร์ และสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ของอาเซียน เพื่อสร้างความพร้อมที่อาเซียนจะก้าวไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 ทั้งนี้ ที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียน - สหภาพยุโรป ครั้งที่ 19 ได้ออกแถลงข่าวร่วม 35 ปี แห่งมิตรภาพและความร่วมมือ ซึ่งสหภาพยุโรปประกาศสนับสนุนการรวมตัวของ อาเซียนเป็นจำนวนเงิน 20 ล้านยูโร ภายใต้โครงการ ASEAN Regional Integration Supported by the EU : ARISE และโครงการ Regional EU - ASEAN Dialogue Instrument : READI
93
ASEAN’S EXTERNAL RELATIONS
ในช่วงการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน - สหภาพยุโรป ณ กรุงพนมเปญ เมือ่ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2555 ไทยได้ยำ้ ความสำคัญของการดำเนินการตามแผนปฏิบตั กิ าร Bandar Seri Begawan อย่างมีประสิทธิภาพและขอให้สหภาพยุโรปพิจารณามีบทบาท ทีส่ ร้างสรรค์ยง่ิ ขึน้ ในเรือ่ งการเชือ่ มโยง (Connectivity) ทัง้ 3 ด้าน ได้แ้ ก่ ด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน ด้านสถาบัน และประชาชน การลดช่องว่างเพื่อการพัฒนา รวมถึงความร่วมมือด้าน วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การศึกษา และการท่องเทีย่ ว ซึง่ เป็นประเด็นทีไ่ ทยผลักดันในระหว่าง การเจรจาร่าง Bandar Seri Begawan Plan of Action ดังกล่าว นอกจากนี้ อาจให้สหภาพยุโรป พิจารณาต่อความร่วมมือด้านการเมืองและความมัน่ คงผ่าน Organization for security and Cooperation in Europe : OSCE ในเรื ่ อ งมาตรการสร้ า งความไว้ เ นื ้ อ เชื ่ อ ใจและ การทูตเชิงป้องกัน การต่อต้านการก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติ การลักลอบค้ามนุษย์ การย้ายถิ่นฐาน และยาเสพติด เป็นต้น
ด้านการเมืองและความมั่นคง อาเซียนยินดีที่สหภาพยุโรปได้ภาคยานุวัต ิ สนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia : TAC) ของสหภาพยุโรป โดยสหภาพยุโรปได้ภาคยานุวตั ิ TAC แล้วในช่วงการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน และการประชุมรัฐมนตรีอาเซียน กับประเทศคู่เจรจาเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2555 ที่กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา สหภาพยุโรปยังมีความร่วมมืออย่างแข็งขันใน ASEAN Regional Forum (ARF) และสนับสนุน การเป็นแกนกลางของอาเซียน (ASEAN Centrality) ในโครงสร้างความสัมพันธ์ในภูมิภาค รวมทัง้ แสดงความสนใจเข้าร่วมการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit : EAS) และ ASEAN Defence Ministers Meeting Plus (ADMM Plus) ด้วย ด้ า นเศรษฐกิ จ สหภาพยุ โรปเห็ น ว่ า การจั ด ทำความตกลงการค้ า เสรี ก ั บ ประเทศสมาชิกอาเซียนเป็นรายประเทศ เป็นการปูทางไปสู่การจัดทำความตกลงในกรอบ ภู ม ิ ภ าคต่ อ ไป ในการนี ้ ในการประชุ ม รั ฐ มนตรี อ าเซี ย น - สหภาพยุ โรป ครั ้ ง ที ่ 19 บารอนเนสแคทเธอรีน แอชตัน (Baroness Catherine Ashton) ซึ่งเป็นประธานร่วม ฝ่ายสหภาพยุโรปได้กล่าวว่า ปี พ.ศ. 2558 ซึ่งอาเซียนจะบรรลุการเป็นประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน หรือ AEC อาจเป็นโอกาสดีที่จะฟื้นฟูการเจรจาจัดทำความตกลงการค้าเสรีระหว่าง อาเซียนกับสหภาพยุโรปอีกครั้ง ด้านสังคมและวัฒนธรรม มี Regional EU - ASEAN Dialogue Instrument (READI) เป็นกลไกด้านนโยบายสนับสนุนความสัมพันธ์อาเซียน - สหภาพยุโรป ในประเด็น ที่ไม่เกี่ยวกับการค้า และดูแลความสัมพันธ์ อาทิ สุขอนามัยสัตว์ การเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ และโรคติดต่อ เป็นต้น
94
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
นอกจากนี้ สหภาพยุโรปได้จัดสรรกรอบงบประมาณเพื่อสนับสนุนอาเซียน ได้แก่
(1) ARISE ช่วงปี พ.ศ. 2553 - 2558 จำนวน 15 ล้านยูโร สนับสนุนการรวมตัว ทางเศรษฐกิจของอาเซียนโดยเฉพาะภายใต้กรอบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (2) EU - ASEAN Multi - Annual Indicative Programme : MIP ช่วงปี พ.ศ. 2554 - พ.ศ. 2556 จำนวน 30 ล้านยูโร แบ่งเป็น สนับสนุนการเชื่อมโยง ในอาเซียน (การบริหารจัดการชายแดน โดยรวมการผ่านแดนทางบกและ การบังคับใช้พธิ กี ารศุลกากร และการศึกษาระดับอุดมศึกษา) จำนวน 18 ล้านยูโร สิทธิมนุษยชน จำนวน 4.5 ล้านยูโร และการเสริมสร้างความสามารถ ด้านสถาบันโดยรวมและการจัดทำฐานข้อมูลเชิงสถิติในอาเซียน จำนวน 7.5 ล้านยูโร
ประเด็นสถานการณ์ในภูมิภาคและระหว่างประเทศ ที่เป็นความสนใจร่วม ระหว่างอาเซียนกับสหภาพยุโรป อาทิ ปัญหาทะเลจีนใต้ สถานการณ์ในตะวันออกกลาง และแอฟริกาเหนือ สถานการณ์การเงินและเศรษฐกิจโลก วิกฤตการณ์หนี้ในสหภาพยุโรป บทบาทของ G-20 การปฏิรูปสถาบันการเงิน การส่งเสริมการเติบโตระดับโลก การลด/ ขจัดอุปสรรคทางการค้า การต่อต้านการก่อการร้าย การต่อต้านการกีดกันทางการค้า รวมทัง้ ประเด็นการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในอาเซียน เป็นต้น
95
ASEAN’S EXTERNAL RELATIONS
ASEAN - INDIA
อาเซียน - อินเดีย อินเดียเริม่ ต้นความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการกับอาเซียน เมือ่ ปี พ.ศ. 2535 ในฐานะ
คูเ่ จรจาเฉพาะด้าน และได้ยกระดับความสัมพันธ์ขน้ึ เป็นคูเ่ จรจาอย่างสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2538 และได้มีการประชุมสุดยอดกับอาเซียนครั้งแรกในปี พ.ศ. 2545 อาเซียนและอินเดีย มีเอกสาร ASEAN - India Partnership for Peace, Progress and Shared Prosperity เป็นพืน้ ฐานกำหนดแนวทางในการดำเนินความสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่างกัน ในโอกาส การครบรอบ 20 ปีของความสัมพันธ์อาเซียน - อินเดีย ในฐานะประเทศคู่เจรจาเมื่อปี พ.ศ. 2555 อินเดียได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสุดยอดอาเซียน - อินเดีย สมัยพิเศษ ณ กรุงนิวเดลี เมื่อ วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ซึ่งผู้นำทั้งสองฝ่ายได้ให้การรับรองเอกสาร วิสัยทัศน์ผู้นำอาเซียน - อินเดีย (ASEAN - India Vision Statement) ซึ่งจะเป็นแนวทาง ในการดำเนินความสัมพันธ์อาเซียน - อินเดีย ในทศวรรษหน้า โดยได้ประกาศยกระดับ ความสัมพันธ์เป็นหุน้ ส่วนทางยุทธศาสตร์ และจะดำเนินความร่วมมือด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและการพัฒนา และการเชื่อมโยงระหว่างกันในทิศทางที่เกื้อหนุนต่อการเป็นหุ้นส่วน ทางยุทธศาสตร์ดังกล่าว รวมทั้งเอื้อต่อการสร้างประชาคมอาเซียน ในด้านการเมืองและความมั่นคง อินเดียได้เข้าร่วม ASEAN Regional Forum : ARF ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 โดยมีบทบาทในเรื่องความร่วมมือด้านความมั่นคงทางทะเล อีกทั้งได้รับรองแถลงการณ์ร่วมกับอาเซียน ว่าด้วยความร่วมมือเพื่อต่อต้านการก่อการร้าย สากลในปีเดียวกัน และได้เป็นภาคีความตกลงสนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในภูมิภาค เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ เ มื ่ อ ปี พ.ศ. 2546 นอกจากนั ้ น อิ น เดี ย ยั ง เป็ น สมาชิ ก ของ การประชุมสุดยอดอาเซียนตะวันออก (EAST ASIA SUMMIT : EAS) ในปี พ.ศ. 2548 96
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ในด้านความร่วมมือเพื่อการพัฒนา อินเดียส่งเสริมความร่วมมือกับอาเซียน ในสาขาที่อินเดียมีศักยภาพ เช่น ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี IT รวมทั้งการแพทย์และ เภสัชกรรม นอกจากนั้น อินเดียให้ความสำคัญแก่การสร้างประชาคมอาเซียน โดยให้ ความช่วยเหลือแก่ประเทศ CLMV ในการลดช่องว่างทางการพัฒนา อินเดียยังให้ความสำคัญ กับการกระชับความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนกับประชาชน โดยจัดให้มีโครงการแลกเปลี่ยน การเยือนระหว่างเยาวชน นักศึกษา ผู้สื่อข่าว นักการทูต และสมาชิกรัฐสภา ด้านการเชื่อมโยงกับอาเซียน อินเดียให้ความสำคัญกับการเชื่อมโยงกับอาเซียน แบบรอบด้าน ทั้งทางบก เรือ และอากาศ อินเดียส่งเสริมการเชื่อมโยงกับอาเซียนผ่านทะเล อันดามัน โดยมีทะวายของพม่าเป็นประตูสำคัญ สนับสนุนการสร้างทางหลวงสามฝ่าย ไทย - พม่า - อินเดีย และการพัฒนา Mekong - India Economic Corridor (โฮจิมินห์ พนมเปญ - กรุงเทพ - ทะวาย - เจนไน) เพื่อเป็นเส้นทางลัดเชื่อมโยงภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง กับอินเดียฝั่งตะวันออก
97
ASEAN’S EXTERNAL RELATIONS
ในด้านเศรษฐกิจ อาเซียนและอินเดียได้ลงนามกรอบความตกลงว่าด้วยความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจอย่างรอบด้าน เมื่อปี พ.ศ. 2546 โดยได้ลงนามความตกลงด้านการค้าสินค้า เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2552 ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2553 และมี เป้าหมายจะลงนามความตกลงด้านการค้าบริการและการลงทุนภายในปี พ.ศ. 2556 ในปี พ.ศ. 2554 อาเซียนและอินเดีย มีมูลค่าการค้าสองฝ่ายประมาณ 76,442.97 ล้ า นดอลลาร์ ส หรั ฐ สู ง กว่ า เป้ า หมายที ่ ผ ู ้ น ำของทั ้ ง สองฝ่ า ยกำหนดไว้ ใ นการประชุ ม สุดยอดอาเซียน - อินเดีย ครั้งที่ 7 เมื่อตุลาคม พ.ศ. 2552 ให้ขยายมูลค่าการค้าเป็น 70,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ภายใน ปี พ.ศ. 2555 ผูน้ ำอาเซียน - อินเดีย ได้กำหนดเป้าหมายในเอกสารวิสยั ทัศน์ผนู้ ำอาเซียน - อินเดีย ว่าจะขยายมูลค่าการค้าสองฝ่ายเป็น หนึ่งแสนล้านดอลลาร์สหรัฐ ภายในปี พ.ศ. 2558
ASEAN - JAPAN
อาเซียน - ญีป่ นุ่ ญี่ปุ่นเริ่มมีความสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการกับอาเซียนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2516 และ พัฒนาไปสูก่ ารเป็นประเทศคูเ่ จรจาของอาเซียนในปี พ.ศ. 2520 โดยในปี พ.ศ. 2524 อาเซียน และญีป่ นุ่ ได้จดั ตัง้ ศูนย์อาเซียน - ญี่ปุ่น (ASEAN - Japan Centre) ที่กรุงโตเกียว เพื่อส่งเสริม การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว ระหว่างกัน (www.asean.or.jp) ในปี พ.ศ. 2546 ญี่ปุ่นได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสุดยอดอาเซียน - ญี่ปุ่น สมัยพิเศษ (ASEAN - Japan Commemorative Summit) ที่กรุงโตเกียว ในโอกาสครบรอบ 30 ปีของความสัมพันธ์อาเซียน - ญี่ปุ่น และได้มีการลงนาม Tokyo Declaration for the Dynamic and Enduring ASEAN - Japan Partnership เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่าง สองฝ่ายบนพื้นฐานของหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2547 ญี่ปุ่นได้เข้าเป็นภาคี สนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia : TAC) และเป็นประเทศแรกที่จัดตั้งกรอบการประชุม ความร่วมมือด้านการต่อต้านการก่อการร้าย (Counter Terrorism Dialogue) อย่างเป็น ทางการกับอาเซียนในปีเดียวกัน
98
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ในปี พ.ศ. 2549 ญี่ปุ่นได้จัดตั้งกองทุนรวมอาเซียน - ญี่ปุ่น (Japan - ASEAN Integration Fund : JAIF) เพื่อสนับสนุนการบูรณาการของอาเซียน และเป็นผู้สนับสนุน รายใหญ่ทส่ี ดุ ในกรอบข้อริเริม่ เพือ่ การรวมตัวของอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration : IAI)
ในปี พ.ศ. 2556 ญี่ปุ่นเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสุดยอดอาเซียน - ญี่ปุ่น สมัยพิเศษ ที่กรุงโตเกียว เพื่อฉลองครบรอบ 40 ปี ความสัมพันธ์อาเซียน - ญี่ปุ่น
99
ASEAN’S EXTERNAL RELATIONS
ในปี พ.ศ. 2551 อาเซียนและญี่ปุ่นได้ลงนามความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจ อาเซียน - ญี่ปุ่น (ASEAN - Japan Closer Economic Partnership : AJCEP) เพื่อส่งเสริม ความร่วมมือทางเศรษฐกิจให้ใกล้ชิดกันยิ่งขึ้น และในปี พ.ศ. 2554 ญี่ปุ่นได้จัดตั้งคณะผู้แทน ถาวรญี่ปุ่นประจำอาเซียน ณ กรุงจาการ์ตา เป็นประเทศแรก และร่วมกันรับรองแผน ปฏิบัติการอาเซียน - ญี่ปุ่น ฉบับใหม่ (ปี พ.ศ. 2554 - พ.ศ.2558) นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2554 ญีป่ นุ่ ยังได้จดั ตัง้ คณะทำงานเฉพาะกิจว่าด้วยความเชือ่ มโยงของอาเซียน (Japan’s Taskforce on connectivity) เพื่อเป็นกลไกประสานงานกับคณะกรรมการประสานงานอาเซียนว่าด้วย ความเชื่อมโยงระหว่างกันในภูมิภาค (ASEAN Connectivity Coordinating Committee : ACCC) เพื่อส่งเสริมความเชื่อมโยงของอาเซียน ญี่ปุ่นให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยน ระหว่างประชาชน โดยเฉพาะในระดับเยาวชน โดยได้จัดตั้งกองทุน Japanese Scholarship Fund for ASEAN Youth เพื่อส่งเสริมการศึกษาและการพัฒนาบุคลากรของอาเซียน รวมทั้งจัดโครงการแลกเปลี่ยนเยาวชนญี่ปุ่น - เอเชียตะวันออก ในศตวรรษที่ 21 (JENESYS) ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2550 - พ.ศ. 2555) และดำเนินการต่อระยะสอง (JENESYS 2.0) โดยมี เป้าหมายแลกเปลี่ยนเยาวชนระหว่างกัน 30,000 คน
ASEAN - REPUBLIC OF KOREA (ROK)
อาเซียน - สาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐเกาหลีเริ่มมีความสัมพันธ์กับอาเซียนในปี พ.ศ. 2532 ในฐานะประเทศ คู่เจรจาเฉพาะด้าน และพัฒนาไปสู่การเป็นคู่เจรจาของอาเซียนในปี พ.ศ. 2534 โดยในปี พ.ศ. 2547 สาธารณรัฐเกาหลีได้เข้าเป็นภาคีสนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในเอเชีย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ (Treaty of Amity and Cooperation : TAC) และลงนามใน Joint Declaration on Comprehensive Partnership เพื่อส่งเสริมความเป็นหุ้นส่วน อย่างรอบด้าน ต่อมาในปี พ.ศ. 2548 อาเซียนและสาธารณรัฐเกาหลีได้ลงนามใน Joint Declaration for Cooperation to Combat International Terrorism และ Framework Agreement on Comprehensive Economic Cooperation ซึ่งกำหนดให้ มีการจัดตั้งเขตการค้าเสรีระหว่างกัน โดยทั้งสองฝ่ายได้ลงนามในความตกลงว่าด้วย การค้าสินค้าในปี พ.ศ. 2549 และความตกลงว่าด้วยการค้าบริการในปี พ.ศ. 2550 ในปี พ.ศ. 2552 อาเซียนและสาธารณรัฐเกาหลีได้จัดตั้งศูนย์อาเซียน - เกาหลี (ASEAN - Korea Centre) ที่กรุงโซล เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการค้า การลงทุน การท่ อ งเที ่ ย ว และการแลกเปลี ่ ย นวั ฒ นธรรมระหว่ า งกั น (www.aseankorea.org)
100
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
และได้จัดตั้งกองทุน ASEAN - ROK Future Oriented Cooperation Projects : FOCP และกองทุน ASEAN - ROK Special Cooperation Fund : SCF เพื่อส่งเสริมการดำเนิน โครงการความร่วมมือระหว่างกัน
101
ASEAN’S EXTERNAL RELATIONS
ในปี พ.ศ. 2553 อาเซียนและสาธารณรัฐเกาหลีได้เห็นชอบให้ยกระดับ ความสัมพันธ์จากหุ้นส่วนอย่างรอบด้านเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ และร่วมรับรอง แถลงการณ์ร่วม ว่าด้วยความเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์เพื่อสันติภาพและความรุ่งเรือง (Joint Declaration on ASEAN-Republic of Korea Strategic Partnership for Peace and Prosperity) และแผนปฏิบตั กิ ารอาเซียน - สาธารณรัฐเกาหลี เพือ่ ดำเนินการตามปฏิญญาฯ ระหว่างปี พ.ศ. 2554 - พ.ศ. 2558 นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2555 สาธารณรัฐเกาหลียังได้ จัดตั้งคณะผู้แทนถาวรสาธารณรัฐเกาหลีประจำอาเซียน ณ กรุงจาการ์ตา อีกด้วย
ASEAN - NEW ZEALAND
อาเซียน - นิวซีแลนด์ ความสัมพันธ์อาเซียน - นิวซีแลนด์ เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ 2518 (ค.ศ. 1975) โดย นิวซีแลนด์เป็นประเทศคูเ่ จรจาลำดับที่ 2 ของอาเซียน อาเซียนและนิวซีแลนด์จะมีความสัมพันธ์ ครบ 40 ปี ในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ในระยะแรกความสัมพันธ์อาเซียน - นิวซีแลนด์เป็น ในลักษณะผู้รับกับประเทศผู้ให้ แต่ในปัจจุบันได้พัฒนาไปสู่ความสัมพันธ์อย่างรอบด้าน และปรับแนวทางความร่วมมือในอนาคตเป็นระยะๆ เพื่อให้สนองตอบต่อความต้องการ การจั ด ลำดั บ ความสำคั ญ ความชำนาญ และผลประโยชน์ ร ่ ว มกั น ของทั ้ ง สองฝ่ า ย ความสัมพันธ์อาเซียน - นิวซีแลนด์ ได้ครอบคลุมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจ และความร่วมมือเพื่อการพัฒนา ในด้านการเมืองและความมั่นคง นิวซีแลนด์เข้าเป็นภาคีความตกลงหรือภาคยานุวตั ิ สนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation : TAC) ในปี พ.ศ. 2548 และลงนามในปฏิญญาร่วมว่าด้วยความร่วมมือ เพื่อต่อต้านการก่อการร้ายสากลกับอาเซียน (ASEAN - New Zealand Joint Declaration for Cooperation to Combat International Terrorism) ในด้านเศรษฐกิจ อาเซียน ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ได้ลงนามความตกลง เพือ่ จัดตัง้ เขตการค้าเสรีอาเซียน - ออสเตรเลีย - นิวซีแลนด์ (ASEAN - Australia - New Zealand Free Trade Agreement : AANZFTA) เมื่อปี พ.ศ. 2552 ความตกลงดังกล่าวส่งผลให้ 102
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
มูลค่าการค้าระหว่างอาเซียน - นิวซีแลนด์ ขยายตัวขึน้ ประมาณร้อยละ 15 ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2553 การค้าสินค้าระหว่างอาเซียนกับนิวซีแลนด์ในปี พ.ศ. 2554 มีมูลค่ารวม 8,733.60 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยอาเซียนได้ดลุ การค้านิวซีแลนด์เป็นมูลค่า 1,631.52 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (อาเซียนส่งออกไปนิวซีแลนด์เป็นมูลค่า 5,182.56 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และนำเข้าจากนิวซีแลนด์ เป็นมูลค่า 3,551.04 ล้านดอลลาร์สหรัฐ)
ที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับนิวซีแลนด์ เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ได้ให้การรับรองเอกสาร 2 ฉบับ คือ 1. ปฏิญญาร่วมว่าด้วยความเป็นหุ้นส่วนที่ครอบคลุมทุกด้านระหว่างอาเซียนและ นิวซีแลนด์ (Joint Declaration for an ASEAN - NZ Comprehensive Partnership) และ 2. แผนปฏิ บ ั ต ิ ก ารเพื ่ อ ปฏิ บ ั ต ิ ต ามปฏิ ญ ญาร่ ว มว่ า ด้ ว ยความเป็ น หุ ้ น ส่ ว นที ่ ครอบคลุ ม ทุ ก ด้ า นระหว่ า งอาเซี ย นและนิ ว ซี แ ลนด์ ค.ศ. 2012-2015 (Plan of Action to Implement the Joint Declaration for an ASEAN - NZ Comprehensive Partnership 2012 - 2015) เพือ่ เป็นแนวทาง การดำเนินความร่วมมือทางการเมืองและความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและ วัฒนธรรม และการพัฒนาระหว่างอาเซียนและนิวซีแลนด์
103
ASEAN’S EXTERNAL RELATIONS
ในด้านความร่วมมือเพื่อการพัฒนา นิวซีแลนด์ให้ความสำคัญกับความร่วมมือ ด้านการศึกษา การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การเกษตร การจัดการภัยพิบตั ิ และการลดช่องว่าง ทางการพัฒนา ในเรื่องการจัดการภัยพิบัติ นิวซีแลนด์ได้ให้ความช่วยเหลือในการจัดตั้งศูนย์ ประสานงานอาเซียนในการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม (ASEAN Coordinating Centre for Humanitarian Assistance : AHA Centre)
ASEAN - RUSSIA
อาเซียน - รัสเซีย ความสัมพันธ์อาเซียน-รัสเซีย ความสัมพันธ์อาเซียน - รัสเซีย เริ่มต้นจากการหารือระหว่างอาเซียนกับรัสเซีย ในปี พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1991) และพัฒนาความสัมพันธ์จนรัสเซียได้รบั สถานะประเทศคูเ่ จรจา กับอาเซียน ในการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศ สมัยที่ 29 ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2539 ที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย
ในระดับผู้นำ ได้มีการประชุมสุดยอดอาเซียน - รัสเซีย ครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2548 ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย และครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2553 ที่กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม และทุกปีจะมีการประชุมระดับรัฐมนตรีต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่ า งประเทศอาเซี ย น เพื ่ อ กำหนดทิ ศ ทางความร่ ว มมื อ และความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งกั น มีการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส และการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านเศรษฐกิจดูแล ภาพรวมการดำเนินความสัมพันธ์ และมีกลไกเพื่อประสานงานและติดตามการดำเนินงาน ผ่านการประชุมระดับอธิบดี มีการประชุมคณะกรรมการร่วมด้านการวางแผนและการจัดการ ซึ่งมีคณะทำงานรายสาขา เช่น คณะทำงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และคณะทำงาน ว่าด้วยความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ
104
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
สำหรับความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจนั้น รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนและรัฐมนตรี เศรษฐกิจรัสเซีย ได้จัดการประชุมหารือกันครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2553 ณ เมืองดานัง ประเทศเวียดนาม นอกจากนี้ ในปีเดียวกันยังได้มีการจัดทำ ASEAN - Russia Energy Cooperation Work Programme 2010 - 2015 เพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริม ความร่ ว มมื อ ด้ า นพลั ง งานอาเซี ย น - รั ส เซี ย และความตกลงว่ า ด้ ว ยความร่ ว มมื อ ทางวัฒนธรรมระหว่างรัฐบาลประเทศสมาชิกอาเซียนกับรัฐบาลรัสเซีย (Agreement on Cultural Cooperation between the Governments pf the Member States of ASEAN and the Government of the Russian Federation) ด้วย เมือ่ พ.ศ. 2554 อาเซียนและรัสเซียได้ฉลองครบ 15 ปีความสัมพันธ์อาเซียน - รัสเซีย โดยประเทศสมาชิกอาเซียนได้จัดตั้ง ASEAN Moscow Committee ขึ้นเพื่อเป็นอีกช่องทาง หนึ่งในการติดตามและผลักดันความร่วมมืออาเซียน - รัสเซีย ต่อไป
105
ASEAN’S EXTERNAL RELATIONS
ความสัมพันธ์อาเซียน - รัสเซีย ได้มพี ฒ ั นาการอย่างต่อเนือ่ งและครอบคลุมหลายมิติ ทั้งในด้านการเมืองและความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม โดยในปี พ.ศ. 2546 ทั้งสองฝ่ายได้ลงนามปฏิญญาร่วมอาเซียน - รัสเซีย ว่าด้วยความเป็นหุ้นส่วนเพื่อสันติภาพ ความมั่นคง ความมั่งคั่ง และการพัฒนาในภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟิก และเมื่อปี พ.ศ. 2547 รัสเซียได้ลงนามในสนธิสญ ั ญามิตรภาพและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมาในปี พ.ศ. 2548 ผูน้ ำอาเซียนและรัสเซีย ได้ลงนามในเอกสารสำคัญคือ Joint Declaration of the Heads of State/Government of the Member Countries of ASEAN and the Head of State of the Russian Federation on Progressive and Comprehensive Partnership รวมทั้งได้รับรอง Comprehensive Programme of Action 2005 - 2015 เพื่อเป็น แนวทางการดำเนินกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์อาเซียน - รัสเซีย ตามปฏิญญาร่วม ดังกล่าว
ASEAN - USA
อาเซียน - สหรัฐฯ 1. ภูมหิ ลัง ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งอาเซี ย นกั บ สหรั ฐ ฯ เริ ่ ม ต้ น อย่ า งเป็ น ทางการเมื ่ อ ปี พ.ศ. 2520 (ค.ศ. 1977) โดยในระยะแรกเน้นความร่วมมือด้านการพัฒนา ต่อมาขยายถึง ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ การค้าและการลงทุน โดยประเทศสมาชิกอาเซียนประสงค์ที่จะ ส่งเสริมความร่วมมือด้านเศรษฐกิจกับสหรัฐฯ ทัง้ ในระดับทวิภาคีและในลักษณะกลุม่ ประเทศ ทั้งนี้ สหรัฐฯ ได้ให้ความสำคัญต่อประเด็นด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย และยังคงต้องการมีบทบาทสำคัญเชิงยุทธศาสตร์ในภูมิภาคตลอดมา ในปั จ จุ บ ั น รั ฐ บาลสหรั ฐ ฯ ดำเนิ น นโยบายปรั บ สมดุ ล ย์ (re-balancing) โดยให้ ค วามสำคั ญ มากขึ ้ น กั บ ภู ม ิ ภ าคเอเชี ย และเล็ ง เห็ น ความสำคั ญ ของอาเซี ย น ทัง้ ในด้านการเมือง ความมัน่ คง และเศรษฐกิจ ทัง้ นี้ นาย Barack Obama ประธานาธิบดีสหรัฐฯ ย้ำเสมอว่า สหรัฐฯ เป็นส่วนหนึ่งของแปซิฟิก (Pacific Nation) และแสดงเจตนารมณ์ของ สหรัฐฯ ที่จะเข้ามามีบทบาทมากขึ้นในภูมิภาคเอเชีย นอกจากนี้ ประธานาธิบดี Obama ยังได้เข้าร่วมการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit : EAS) ครั้งที่ 6 เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ที่เมืองบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย และครั้งที่ 7 เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ซึ่งนับว่าเป็นการยืนยันเจตนารมณ์ของผู้นำสหรัฐฯ ในการกระชั บ ความสั ม พั น ธ์ แ ละความร่ ว มมื อ กั บ ภู ม ิ ภ าคเอเชี ย -แปซิ ฟ ิ ก โดยสหรั ฐ ฯ ให้ความสำคัญกับการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก และเห็นว่าเป็นเวทีทส่ี ำคัญในการหารือ ทางยุทธศาสตร์ระหว่างผู้นำ 106
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ประเทศไทยเป็นประเทศผูป ้ ระสานงานความสัมพันธ์อาเซียน - สหรัฐฯ ในช่วง เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2546 - เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2549 ซึง่ ในช่วงดังกล่าว อาเซียนและสหรัฐฯ มีความร่วมมือที่ใกล้ชิดในด้านการต่อต้านการก่อการร้าย โดยทั้งสองฝ่ายได้จัดทำปฏิญญา ร่วมอาเซียน - สหรัฐฯ เพื่อความร่วมมือในการต่อต้านการก่อการร้ายระหว่างประเทศ (ASEAN - U.S. Joint Declaration for Cooperation to Combat International Terrorism) เมื่อปี พ.ศ. 2545 และความร่วมมือด้านเศรษฐกิจภายใต้กรอบความตกลงการค้าและ การลงทุน (Trade and Investment Framework Arrangement : TIFA) ซึ่งทั้งสองฝ่าย ได้ลงนามร่วมกันเมื่อปี พ.ศ. 2549
ทีป ่ ระชุมผูน้ ำอาเซียน - สหรัฐฯ ครัง้ ที่ 1 ยังได้กำหนดให้มกี ารจัดตัง้ ผูท้ รงคุณวุฒิ อาเซียน - สหรัฐ ฯ (ASEAN - U.S. Eminent Persons Group : EPG) โดยมอบหมายภารกิจให้ EPG เสนอแนะแนวทางการยกระดับความสัมพันธ์อาเซียน - สหรัฐฯ จาก ‘enhanced partnership’ เป็น ‘strategic partnership’ ต่อผู้นำอาเซียน-สหรัฐฯ ทั้งนี้ ผู้ทรงคุณวุฒิ ได้เสนอรายงานข้อเสนอแนะต่อที่ประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน - สหรัฐฯ ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 107
ASEAN’S EXTERNAL RELATIONS
ประเด็นที่สหรัฐฯ ให้ความสำคัญ ได้แก่ พัฒนาการในเมียนมาร์ สถานการณ์ ในทะเลจีนใต้ ความร่วมมือด้านความมั่นคงในกรอบ ASEAN Regional Forum (ARF) การส่งเสริมสิทธิมนุษยชน การต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติ การจัดการภัยพิบตั ิ การสนับสนุน การสร้างประชาคมอาเซียนภายในปี ค.ศ. 2015 การพัฒนาความเชื่อมโยงในภูมิภาค ของอาเซียน การให้ความสำคัญของสถาปัตยกรรมในภูมิภาคที่มีอาเซียนเป็นศูนย์กลาง (ASEAN Centrality) และการมีบทบาทที่แข็งขันในการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit : EAS) การส่งเสริมการค้าและการลงทุน รวมทัง้ การเชิญชวนให้ประเทศ อาเซี ย นพิ จ ารณาเข้ า ร่ ว มในกรอบความตกลงหุ ้ น ส่ ว นยุ ท ธศาสตร์ เ อเชี ย - แปซิ ฟ ิ ก (Trans - Pacific Partnership : TPP) กรอบความริเริ่มลุ่มแม่น้ำโขง (Lower Mekong Initiative : LMI) ซึ่งเน้นในเรื่องการส่งเสริมความร่วมมือด้านการคมนาคม การศึกษา สาธารณสุข สิ่งแวดล้อม การเชื่อมโยงระหว่างกัน ความมั่นคงทางอาหารและการเกษตร และความมั่นคงทางพลังงาน
2. กลไกความร่วมมือ เมื่อปี พ.ศ. 2548 สหรัฐฯ และอาเซียนได้ออกแถลงการณ์วิสัยทัศน์ร่วมกันว่า ด้วยความเป็นหุ้นส่วนเพิ่มพูนระหว่างอาเซียนกับสหรัฐฯ (Joint Vision Statement on the ASEAN - U.S. Enhanced Partnership) ซึ่งเป็นเอกสารกำหนดแนวทางความสัมพันธ์ ระหว่างกัน ทัง้ ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และความร่วมมือเพือ่ การพัฒนา ปั จ จุ บ ั น อาเซี ย น - สหรั ฐ ฯ มี ก ลไกความร่ ว มมื อ ในหลายระดั บ ได้ แ ก่ การประชุมผูน้ ำอาเซียน - สหรัฐฯ (ASEAN - U.S. Leaders’ Meeting : AULM) เป็นการประชุม ระดับผูน้ ำ การประชุมรัฐมนตรีตา่ งประเทศอาเซียน - สหรัฐฯ (PMC) เป็นการประชุมประจำปี ระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศอาเซียน - สหรัฐ ฯ การประชุม ASEAN U.S. Dialogue เป็นการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส (SOM) ซึ่งจัดขึ้นทุกปี โดยมีหัวข้อ การหารือครอบคลุมทุกเรื่อง การประชุม ASEAN - U.S. Joint Cooperation Committee : JCC เป็นการประชุมระหว่างเอกอัครราชทูตผู้แทนถาวรอาเซียนกับเอกอัครราชทูตกิจการ อาเซียนของสหรัฐฯ และการประชุม ASEAN - U.S. Working Group Meeting เป็นการประชุม ในระดับเจ้าหน้าที่ของประเทศสมาชิก เพื่อพิจารณาโครงการความร่วมมือระหว่างอาเซียน และสหรัฐฯ ในด้านต่างๆ โดยเฉพาะในสาขาความร่วมมือตาม Plan of Action to Implement the ASEAN - U.S. Enhanced Partnership
3. สถานะล่าสุด ระหว่างการประชุมผู้นำอาเซียน - สหรัฐฯ ครั้งที่ 4 ณ กรุงพนมเปญ เมื่อเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ทั้งสองฝ่ายมุ่งมั่นที่จะพัฒนาความสัมพันธ์ให้ก้าวหน้า และตกลง ทีจ่ ะยกระดับความสัมพันธ์เป็นหุน้ ส่วนทางยุทธศาสตร์ (strategic partnership) โดยทัง้ สองฝ่าย จะเร่งรัดการดำเนินการตามแผนปฏิบตั กิ ารอาเซียน - สหรัฐ ฯ ค.ศ. 2011-2015 (ASEAN - U.S. Plan of Action to Implement the ASEAN - U.S. Enhanced Partnership 2011 - 2015) นอกจากนี้ อาเซียนและสหรัฐฯ ได้เห็นพ้องกับข้อเสนอของผู้ทรงคุณวุฒิฯ ในการยกระดับ การประชุมผู้นำอาเซียน - สหรัฐฯ เป็นการประชุมสุดยอดอาเซียน - สหรัฐฯ (ASEAN - U.S. Leaders Summit) โดยกำหนดจัดการประชุมสุดยอดฯ เป็นประจำทุกปี เริม่ จากปี พ.ศ. 2556 108
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
สหรัฐฯ ได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ASEAN - U.S. Dialogue ครั้งที่ 26 ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2556 โดยประเด็นหลักของการหารือ เป็นประเด็นที่ฝ่ายสหรัฐฯ ให้ความสนใจ (U.S. led agenda) และพยายามผลักดันและ มีบทบาทในอาเซียน ได้แก่ ความช่วยเหลือทางมนุษยธรรมและการบริหารจัดการภัยพิบัติ ความมัน่ คงทางทะเล อาชญากรรมข้ามชาติ Cyber Crime / Cyber Security หลักธรรมาภิบาล และนิติธรรม ความร่วมมือ ASEAN - U.S. Expanded Economic Engagement (E3) Initiatives พลังงาน การศึกษา และข้อริเริม่ ลุม่ แม่นำ้ โขงตอนล่าง (Lower Mekong Initiative : LMI) ทัง้ นี้ สหรัฐฯ ยังได้กล่าวย้ำถึงนโยบายปรับสมดุลย์ของสหรัฐฯ ทีม่ งุ่ กระชับความสัมพันธ์ กับภูมภิ าคเอเชีย และพยายามผลักดันให้มกี ารขับเคลือ่ นความร่วมมือ E3 ซึง่ จะช่วยยกระดับ มาตรฐานการจัดทำความตกลงการค้าเสรีของอาเซียน และปูทางไปสู่ Trans - Pacific Strategic Economic Partnership Agreement (TPP) โดยเมียนมาร์จะเป็นเจ้าภาพ จัดการประชุม ASEAN - U.S. Dialogue ครั้งที่ 27 ที่เมียนมาร์ ในช่วงครึ่งปีแรกของปี พ.ศ. 2557 109
ASEAN’S EXTERNAL RELATIONS
พร้อมกันนี้ ผู้นำอาเซียนและสหรัฐฯ ได้รับรองแถลงการณ์ร่วมผู้นำอาเซียน - สหรัฐฯ ครั้งที่ 4 เพื่อแสดงเจตนารมณ์ทางการเมืองที่ทั้งสองฝ่ายจะกระชับความร่วมมือระหว่างกัน ในทุกมิติ อาทิ ด้านการเมืองและความมั่นคง (การจัดการภัยภิบัติผ่านกรอบ ASEAN Agreement on Disaster Management and Emergency Response : AADMER อาชญากรรมข้ามชาติและการค้ามนุษย์ การไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ ) ด้านเศรษฐกิจ (การเพิ่มมูลค่าการค้าการลงทุนโดยผ่าน 2013 ASEAN - U.S. Trade and Investment Framework Arrangement : TIFA) การส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาคเอกชนโดยเฉพาะ SMEs และมีการจัด ASEAN - US Business Summit เป็นประจำทุกปี) การสนับสนุน แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันของอาเซียน (Master Plan on ASEAN Connectivity : MPAC) และด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และลดช่องว่างในการพัฒนาของ อาเซียนผ่านกรอบความ ริเริ่มลุ่มน้ำโขงตอนล่าง (Lower Mekong Initiative : LMI) การส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนกับประชาชน ผ่านการศึกษา (โครงการ U.S. Fulbright Exchange Program และโครงการความช่วยเหลือทางวิชาการผ่าน USAID การฝึกอบรม - วิจัยร่วมกันและการสอนภาษาอังกฤษ)
ASEAN - UNITED NATIONS
อาเซียน - สหประชาชาติ ความสัมพันธ์อาเซียน - สหประชาชาติ (United Nations - UN) เริ่มต้นจาก ความร่วมมือด้านวิชาการระหว่างอาเซียนกับ United Nations Development Programme (UNDP) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 และ UNDP ได้รับสถานะ Dialogue Partner ของอาเซียนในปี พ.ศ. 2520 ความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับสหประชาชาติได้พัฒนาให้ใกล้ชิดยิ่งขึ้น โดยอาเซียนได้รบั สถานะเป็นผูส้ งั เกตการณ์ของสหประชาชาติในปี พ.ศ. 2547 ซึง่ แสดงให้เห็น ถึงความยอมรับบทบาทเชิงสร้างสรรค์ของอาเซียนภายในภูมิภาคว่าสอดคล้องกับความ พยายามของประชาคมโลกที่จะร่วมมือกันสร้างความสงบสุข และส่งเสริมการพัฒนา ที่เท่าเทียมกัน อาเซียนและสหประชาชาติ มีความร่วมมือกันในหลายระดับ ในระดับผู้นำได้มี การประชุมสุดยอดอาเซียน - สหประชาชาติ ครัง้ แรกเมือ่ ปี พ.ศ. 2543 โดยมีวตั ถุประสงค์หลัก เพือ่ กำหนดแนวทางความร่วมมือ อาทิ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การลดช่องว่างในการพัฒนา เป็นต้น รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์และเสริมสร้างการเชื่อมโยงที่ต่อเนื่องระหว่างประเทศ ในกลุ่มอาเซียนและสหประชาติ นอกจากนี้ ทั้งสองฝ่ายได้มีการประชุมระดับรัฐมนตรี ต่างประเทศกับเลขาธิการ UN และประธานสมัชชาสหประชาชาติ ในช่วงการประชุมสมัชชา สหประชาชาติ สมัยสามัญ (UN General Assembly : UNGA) ทุกปี ที่นครนิวยอร์ก เพื่อประสานความสัมพันธ์ของทั้งสองฝ่ายให้มีความต่อเนื่อง รวมทั้งผลักดันนโยบายไปสู่ แผนงานและกิจกรรมที่เป็นรูปธรรม 110
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ในการประชุมสุดยอดอาเซียน - สหประชาชาติ ครั้งที่ 4 เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ผู ้ น ำอาเซี ย นและเลขาธิ ก ารสหประชาชาติ ได้ ร ั บ รองปฏิ ญ ญาว่ า ด้ ว ย ความเป็นหุน้ ส่วนระหว่างอาเซียนกับสหประชาชาติ (Joint Declaration on Comprehensive Partnership between the ASEAN and the UN) เพื่อส่งเสริมและขยายความร่วมมือ ที่เป็นหุ้นส่วนระหว่างอาเซียนกับสหประชาชาติให้มากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในประเด็นที่ท้าทาย ต่อภูมิภาคและต่อโลก อาทิ การรักษาสันติภาพ การให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม การบริหารจัดการภัยพิบัติ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประชาธิปไตย ธรรมาภิบาล สิทธิมนุษยชน การขจัดปัญหาความยากจน ความมั่นคงของมนุษย์ การบรรลุเป้าหมายแห่ง สหัสวรรษของสหประชาชาติ การพัฒนาแบบยั่งยืน ความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน และโรคระบาด
111
ASEAN’S EXTERNAL RELATIONS
ในปี พ.ศ. 2550 อาเซียนกับสหประชาชาติ ได้ร่วมกันลงนามในบันทึกความเข้าใจ ว่าด้วยความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับสหประชาชาติ (Memorandum of Understanding Between the Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) and the United Nations (UN) on ASEAN - UN Cooperation) เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่าง สำนักเลขาธิการอาเซียนกับสำนักเลขาธิการสหประชาชาติให้เป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น โดยเน้นให้ องค์การทั้งสองทำงานร่วมกันเพื่อเสริมสร้างและรักษาสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาค และเพือ่ บรรลุเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Development Goals) ในปี พ.ศ. 2558 นอกจากนี้ ทั้งสององค์การจะร่วมมือกันในการสนับสนุนการสร้างประชาคม อาเซียนทั้ง 3 เสา รวมทั้งส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกลไกเฉพาะด้านของอาเซียนกับ UN specialized agencies โดยเฉพาะความร่วมมือกับ UNESCAP เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ความเชีย่ วชาญในประเด็นความร่วมมือต่างๆ ซึง่ บันทึกความเข้าใจฉบับนีไ้ ด้กลายเป็นพืน้ ฐาน สำคัญสำหรับความร่วมมือในการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมแก่ผู้ประสบภัยจาก ไซโคลนนาร์กิส ที่ประเทศเมียนมาร์ เมื่อปี พ.ศ. 2551 และนำไปสู่การรับรอง Joint Declaration on ASEAN - UN Collaboration in Disaster Management ระหว่างผู้นำ อาเซียนและสหประชาชาติในการประชุมสุดยอดอาเซียน - สหประชาชาติครั้งที่ 3 เมื่อเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
ASEAN+3 (CHINA-JAPAN-ROK)
อาเซียน +3 (จีน ญีป่ นุ่ และสาธารณรัฐเกาหลี) กรอบความร่วมมืออาเซียน+3 เริม่ ต้นขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2540 ในช่วงทีเ่ กิดวิกฤตการณ์ ทางการเงินในภูมิภาคเอเชียตะวันออก โดยมีการพบหารือระหว่างผู้นำของประเทศสมาชิก อาเซียนและผู้นำของจีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี เป็นครั้งแรก ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2540 นับแต่นั้นเป็นต้นมา การประชุมสุดยอด อาเซียน+3 ได้จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในช่วงเดียวกับการประชุมสุดยอดอาเซียน กรอบความร่วมมืออาเซียน+3 เริม่ เป็นรูปเป็นร่างภายหลังการออกแถลงการณ์รว่ ม ว่าด้วยความร่วมมือเอเชียตะวันออก เมื่อปี พ.ศ. 2542 และการจัดตั้ง East Asia Vision Group : EAVG ในปี พ.ศ. 2542 เพื่อจัดวางวิสัยทัศน์ความร่วมมือในเอเชียตะวันออก EAVG ได้เสนอแนะแนวคิดการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออก (East Asian Community : EAc) และมาตรการความร่วมมือในด้านต่างๆ เพื่อนำไปสู่การจัดตั้ง EAc ในการประชุมสุดยอดอาเซียน+3 ครั้งที่ 9 ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อปี พ.ศ. 2548 ผู้นำได้ลงนามใน Kuala Lumpur Declaration on the ASEAN+3 Summit กำหนด ให้การจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออกเป็นเป้าหมายระยะยาว และให้กรอบอาเซียน+3
112
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
เป็ น กลไกหลั ก ในการนำไปสู ่ เ ป้ า หมายระยะยาวดั ง กล่ า ว ในโอกาสครบรอบ 10 ปี ของกรอบอาเซียน+3 ในปี พ.ศ. 2550 ได้มีการออกแถลงการณ์ร่วมว่าด้วยความร่วมมือ เอเชียตะวันออก ฉบับที่ 2 และแผนงานความร่วมมืออาเซียน+3 (พ.ศ. 2550 - พ.ศ. 2560)
113
ASEAN’S EXTERNAL RELATIONS
ปัจจุบัน ความร่วมมือในกรอบอาเซียน+3 ครอบคลุมความร่วมมือต่างๆ มากกว่า 20 สาขา ภายใต้กรอบการประชุมในระดับต่างๆ ประมาณ 60 กรอบการประชุม ซึง่ ประเทศไทย ให้ความสำคัญต่อการส่งเสริมความเชื่อมโยงในภูมิภาค ตลอดจนผลักดันการดำเนินการ ตามแผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (Master Plan on ASEAN Connectivity : MPAC) ซึ ่ ง เป็ น ยุ ท ธศาสตร์ ส ำคั ญ ของการเป็ น ประชาคมอาเซี ย น การรวมตัวกันในภูมิภาค และการลดช่องว่างด้านการพัฒนา โดยที่ประชุมสุดยอดอาเซียน+3 สมัยพิเศษ เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ที่กรุงพนมเปญ ได้รับรองแถลงการณ์ ผู้นำว่าด้วยความเป็นหุ้นส่วนความเชื่อมโยงอาเซียน+3 (Leaders’ Statement on ASEAN Plus Three Partnership on Connectivity) ตามข้อริเริ่มของประเทศไทย
7
TH
EAST ASIA SUMMIT PLENARY SESSON Phnom Penh, 20 November 2012
การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit : EAS) การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit : EAS) เดิมเป็นข้อริเริ่ม ในกรอบอาเซี ย น+3 (จี น ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี) โดยจะเป็ น การวิ ว ั ฒ นาการของ การประชุมสุดยอดอาเซียน+3 ไปสู่การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก อย่างไรก็ดี อาเซียน เห็นว่า ควรเปิดกว้างให้ประเทศนอกกลุ่มอาเซียน+3 เข้าร่วมด้วย โดยได้กำหนดหลักเกณฑ์ 3 ประการสำหรับการเข้าร่วม ได้แก่
การเป็นประเทศคู่เจรจาเต็มตัวของอาเซียน การมีความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นกับอาเซียน และ การภาคยานุวตั สิ นธิสญ ั ญามิตรภาพและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia : TAC)
ในปัจจุบัน มีประเทศที่เข้าร่วมใน EAS จำนวน 18 ประเทศ ได้แก่ อาเซียน 10 ประเทศ ออสเตรเลีย จีน อินเดีย ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี นิวซีแลนด์ รัสเซีย และสหรัฐฯ โดยรัสเซียและสหรัฐฯ เข้าร่วมการประชุม EAS เป็นครั้งแรกในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ที่บาหลี ในการประชุม EAS ครั้งที่ 1 ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ได้มีการลงนาม Kuala Lumpur Declaration on East Asia Summit กำหนดให้ EAS เป็นเวทีหารือทางยุทธศาสตร์ที่เปิดกว้าง โปร่งใส และครอบคลุม และที่ประชุมฯ ยังเห็นพ้อง กับแนวคิดของประเทศไทยทีใ่ ห้ EAS เป็นเวทีของผูน้ ำทีจ่ ะแลกเปลีย่ นความเห็นและวิสยั ทัศน์ 114
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ในประเด็นยุทธศาสตร์อย่างเปิดกว้างอีกด้วย การประชุม EAS มีขึ้นเป็นประจำทุกปี ในช่วงการประชุมสุดยอดอาเซียน โดยมีประเทศที่เป็นประธานอาเซียนในปีนั้นเป็นประธาน ในการประชุม EAS ครัง้ ที่ 6 ทีบ่ าหลี เมือ่ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ทีป่ ระชุมฯ ได้เน้นย้ำ การส่งเสริมความร่วมมือใน 5 สาขา ได้แก่ พลังงาน การเงิน การศึกษา การจัดการภัยพิบัติ และการสาธารณสุขและป้องกันโรคระบาด ควบคู่ไปกับการหารือเชิงยุทธศาสตร์เพื่อเสริม สร้างสันติภาพ เสถียรภาพ และความมั่งคั่งในภูมิภาค และที่ประชุมฯ ได้รับรอง
Declaration of the East Asia Summit on ASEAN Connectivity เพื่อแสดงเจตนารมณ์ที่จะร่วมมือกันส่งเสริมการมีส่วนร่วมและความร่วมมือระหว่างอาเซียน กับประเทศคู่เจรจาที่เข้าร่วม EAS ในการพัฒนาความเชื่อมโยงในอาเซียนตามแผนแม่บท อาเซียนว่าด้วยความเชือ่ มโยงระหว่างกันในอาเซียน (Master Plan on ASEAN Connectivity : MPAC) ในการประชุม EAS ครั้งที่ 7 เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ที่กรุงพนมเปญ ที่ประชุมฯ ได้รับรองเอกสารจำนวน 2 ฉบับ ได้แก่ แถลงการณ์พนมเปญว่าด้วยข้อริเริม ่ ด้านการพัฒนาของการประชุมสุดยอด เอเชียตะวันออก (Phnom Penh Declaration on East Asia Summit Development Initiative) ซึ่งเป็นข้อเสนอของจีน เพื่อให้ EAS ให้ความสำคัญมากขึ้นเกี่ยวกับประเด็น ด้านการพัฒนา แถลงการณ์การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ครั้งที่ 7 ว่าด้วยการรับมือ ในระดับภูมภิ าคเกีย่ วกับการควบคุมและจัดการกับปัญหาโรคมาลาเรียทีด่ อ้ื ยา (Declaration of the 7th East Asia Summit on Regional Responses to Malaria Control and Addressing Resistance to Antimalarial Medicines) ซึ่งเสนอโดยออสเตรเลีย 115
ASEAN’S EXTERNAL RELATIONS
Declaration of the East Asia Summit on the Principles for Mutually Beneficial Relations เพือ่ แสดงเจตนารมณ์ทจ่ี ะยอมรับร่วมกันในหลักการและแนวปฏิบตั ิ ต่างๆ ที่จะเป็นตัวกำหนดรูปแบบและแนวทางในการปฏิสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่เข้าร่วม EAS และ
การเชือ่ มโยง
ระหว่างกันในอาเซียน (ASEAN Connectivity) ความเป็นมา ทีป ่ ระชุมสุดยอดอาเซียน ครัง้ ที่ 15 เมือ่ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2552 ทีช่ ะอำ - หัวหิน ประเทศไทย เห็นชอบกับข้อเสนอของไทยเกี่ยวกับแนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างกัน ในอาเซียน (ASEAN Connectivity) เพื่อเสริมสร้างความเป็นปึกแผ่นของอาเซียนและ นำอาเซียนไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 และได้ออกแถลงการณ์ว่าด้วย ความเชือ่ มโยงระหว่างกันในอาเซียน รวมทัง้ ได้จดั ตัง้ คณะทำงานระดับสูงว่าด้วยความเชือ่ มโยง ระหว่างกันในอาเซียน (High Level Task Force on ASEAN Connectivity : HLTF - AC) เพื่อจัดทำแผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (Master Plan on ASEAN Connectivity : MPAC) ให้แล้วเสร็จ เพื่อนำเสนอต่อที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 17
116
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
á¼¹ áÁ‹
¹ Òà«ÂÕ ã¹Í
¤ÇÒÁàª×Íè Áâ§ÃÐËÇÒ‹ Ò‹ ´ÇŒ  §¡¹Ñ Ç · º
¤ÇÒÁàª×èÍÁ⧴ŒÒ¹ â¤Ã§ÊÌҧ¾×é¹°Ò¹
¤ÇÒÁàª× ÒÁ èÍÁ⧠´ŒŒÒ¹»ÃЪҪ¹
• คมนาคม • เทคโนโลยีสารสนเทศ • พลังงาน
• การศึกษาและ วัฒนธรรม • การทองเที่ยว
¤ÇÒÁàª×èÍÁ⧴ŒÒ¹¡®ÃÐàºÕº
• เปดเสรีและอำนวยความสะดวก • ความตกลงการขนสงในภูมิภาค ทางการคา • พิธีการในการขามพรมแดน • เปดเสรีและอำนวยความสะดวก • โครงการเสริมสรางศักยภาพ ในการบริการและการลงทุน • ความตกลง/ขอตกลงยอมรับรวมกัน
ทีป ่ ระชุมสุดยอดอาเซียน ครัง้ ที่ 17 เมือ่ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2553 ณ กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม ได้ให้การรับรองแผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน เพื่อเป็นกรอบความร่วมมือในการสร้างความเชื่อมโยงระหว่างกัน โดยความเชื่อมโยงดังกล่าว จะเน้นภายในอาเซียนในเบื้องต้นและจะเป็นพื้นฐานการเชื่อมโยงไปสู่ภูมิภาคต่างๆ อาทิ เอเชียตะวันออก เอเชียใต้ และอื่นๆ ต่อไป แผนแม่บทฯ มีเจตนารมณ์ที่จะเร่งรัดการเชื่อมโยงประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศให้เป็นหนึ่งเดียว ทั้งในด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านกฎระเบียบ และด้านประชาชน โดยมีเป้าหมายสูงสุดเพื่อการสนับสนุนการสร้างประชาคมอาเซียนอย่างแท้จริงภายในปี พ.ศ. 2558 และให้อาเซียนเป็นศูนย์กลางของสถาปัตยกรรมภูมิภาค 117
ASEAN CONNECTIVITY
ในปี พ.ศ. 2553 โดยในส่วนของไทย คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบแต่งตั้ง นายประดาป พิบูลสงคราม อดีตเอกอัครราชทูต ณ กรุงโรม และอดีตรองปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เป็นผู้แทน
ด้ า นโครงสร้ า งพื ้ น ฐาน ได้ ม ี ก ารกำหนดยุ ท ธศาสตร์ ใ นแผนแม่ บ ทฯ ในการก่อสร้าง ถนน เส้นทางรถไฟ การขนส่งทางน้ำ การขนส่งทางอากาศ รวมทัง้ การเชือ่ มโยง ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและด้านพลังงาน (โครงการท่อก๊าซและระบบสายส่งไฟฟ้าของ อาเซียน) โดยมีคณะทำงานสาขาต่างๆ ของอาเซียน (ASEAN Sectoral Bodies) เป็นหน่วยงาน รับผิดชอบหลัก ในการดำเนินการให้บรรลุเป้าหมาย ตามกรอบเวลาทีก่ ำหนดไว้ในแผนแม่บทฯ ด้ า นกฎระเบี ย บ แผนแม่ บ ทฯ จะมี ส ่ ว นในการเร่ ง รั ด การดำเนิ น การตาม ความตกลง พิธีสาร ข้อบังคับต่างๆ ที่มีขึ้นเพื่ออำนวยความสะดวกในการข้ามแดนให้สะดวก รวดเร็ว โปร่งใส ลดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง การเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ และการลงทุน ทั้งของภาครัฐและภาคเอกชน ในขณะเดียวกันก็ป้องกันและแก้ไขปัญหาที่จะเกิดจาก อาชญากรรมข้ามชาติ แรงงานผิดกฎหมาย การค้ามนุษย์และมลภาวะต่างๆ ที่ตามมาจาก การเชื่อมโยง ด้ า นประชาชน แผนแม่ บ ทฯ จะช่ ว ยส่ ง เสริ ม และอำนวยความสะดวก การไปมาหาสูก่ นั ระหว่างประชาชน การเชือ่ มโยงทางสังคม วัฒนธรรม และการสร้างความรูส้ กึ ของการเป็นประชาคมอาเซียนที่เป็นอันหนึ่งอันหนึ่งเดียวกันมากขึ้น
กลไกในการดำเนินการ อาเซียนได้จดั ตัง้ คณะกรรมการประสานงานอาเซียนว่าด้วยความเชือ่ มโยงระหว่างกัน ในภูมภิ าค (ASEAN Connectivity Coordinating Committee : ACCC) เพือ่ ทำหน้าทีต่ ดิ ตาม กำกับดูแล ผลักดันและเร่งรัด ประเมินความคืบหน้า รวมทั้งระดมทุนในการดำเนินการตาม แผนแม่บทฯ โดยประสานงานกับผูป้ ระสานงานของแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน (National Coordinator) Sectoral Bodies ประเทศคูเ่ จรจาและองค์กรระหว่างประเทศอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง คณะกรรมการ ACCC ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ เป็นกรรมการ ACCC มีการประชุมร่วมกันปีละ 4 ครั้ง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555
118
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
สถานะการดำเนินการภายใต้แผนแม่บท (ระหว่างปี พ.ศ. 2553-2556) การดำเนินการทัง้ หมดภายใต้แผนแม่บทฯ ส่วนใหญ่กำหนดไว้วา่ จะต้องเสร็จสิน้ ในปี พ.ศ. 2558 อย่างไรก็ดี มีการดำเนินการในมาตรการทีม่ กี ำหนดเวลาจะต้องเสร็จสิน้ ระหว่างปี พ.ศ. 2553 - 2556 ดังนี้
ด้ า นกฎระเบี ย บ อาเซี ย นกำลั ง เร่ ง ดำเนิ น การเพื ่ อ ให้ ค วามตกลง 3 ฉบั บ มีผลบังคับใช้อย่างสมบูรณ์ ได้แก่ ความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวก ในการขนส่งสินค้าผ่านแดน ความตกลงว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งข้ามแดน และความตกลงว่าด้วยการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ อย่างไรก็ดี ยังไม่สามารถดำเนินการ ได้เต็มรูปแบบ เนือ่ งจากบางประเทศยังติดขัดการดำเนินการตามกฎหมายภายใน (ประเทศไทย ได้ให้สตั ยาบันแล้วทัง้ 3 ฉบับ) อีกทัง้ อาเซียน (รวมทัง้ ไทย) ยังไม่ได้ลงนามพิธสี ารสำคัญ 2 ฉบับ แนบท้ายความตกลง ความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้า ผ่านแดน (ASEAN Framework Agreement on the Facilitation of Goods in Transit : AFAFGIT ได้แก่ พิธสี าร 2 การกำหนดทีท่ ำการพรมแดน และพิธสี าร 7 ระบบศุลกากรผ่านแดน (พิธสี าร 7 มีเพียง ลาว เวียดนาม และอินโดนีเซีย แสดงความพร้อมทีจ่ ะลงนาม) ดังนั้น อาเซียนจึงต้องเร่งผลักดันการดำเนินการด้านกฎระเบียบให้รุดหน้า เพื่อให้ การเชือ่ มโยงระหว่างกันในอาเซียนมีประสิทธิภาพและช่วยเร่งรัดการก้าวไปสูป่ ระชาคมอาเซียน รวดเร็วตามเป้าหมาย 119
ASEAN CONNECTIVITY
ด้านโครงสร้างพืน ้ ฐาน โครงการและมาตรการทีม่ กี ำหนดต้องเสร็จสิน้ ภายในปี พ.ศ. 2556 ส่วนใหญ่เป็นไปตามกรอบเวลาทีต่ ง้ั ไว้ อาทิ การยกระดับถนนต่างๆ ของทางหลวง อาเซียน ให้เป็นระดับ 3 ยังคงมีเพียงบางส่วนในลาวและเมียนมาร์ทย่ี งั ไม่เสร็จ (ถนนส่วนใหญ่ ของไทยเป็นระดับ 1 และ 2 ไม่มถี นนทีเ่ ป็นระดับ 3) การก่อสร้างทางรถไฟสิงคโปร์ - คุนหมิง ในเส้นทางจากสิงคโปร์ - พนมเปญ เป็นไปตามกรอบเวลา (สำหรับ missing link ทีอ่ ยูใ่ นประเทศไทย ระหว่างอรัญประเทศ - คลองลึก 6 กิโลเมตร ได้รบั จัดสรรงบประมาณสำหรับปี พ.ศ. 2556 และคาดว่าจะสร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2557) อย่างไรก็ดี เส้นทางช่วงต่อจากพนมเปญยังคงมี อุปสรรคด้านงบประมาณและด้านเทคนิค นอกจากนั้น โครงการอื่นๆ เช่น การพัฒนา Mekong - India Economic Corridor การสร้างโครงข่ายอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง (ASEAN Broadband Corridor) อยูร่ ะหว่างการดำเนินการ
ด้านประชาชน มีความคืบหน้าในด้านการศึกษา อาทิ การพัฒนา ASEAN Curriculum Sourcebook และหลั ก สู ต รอาเซี ย นศึ ก ษาของ ASEAN University Network : AUN อย่างไรก็ดี การพัฒนา ASEAN Virtual Resource Learning ยังไม่มี ความคืบหน้าเท่าที่ควร และสำหรับการส่งเสริมการไปมาหาสู่ระหว่างประชาชนยังคงต้อง เร่งดำเนินการเรื่องการยกเว้นการตรวจลงตราระหว่างอาเซียนทุกประเทศ (เมียนมาร์ยังต้อง มีการทำความตกลงทวิภาคีเป็นรายประเทศ) และ ASEAN Common Visa ซึง่ หลายประเทศ ยังไม่พร้อมเนื่องจากมีความห่วงกังวลเรื่องความมั่นคง (รวมทั้งไทย) การระดมทุน อาเซียนดำเนินการเรือ่ งการระดมทุนเพือ่ การดำเนินการภายใต้ แผนแม่บท ฯ หลายรูปแบบด้วยกัน ได้แก่ 1) งบประมาณของแต่ละประเทศ 2) การสนับสนุนจากประเทศคูเ่ จรจา และองค์กรเพือ่ การพัฒนา 3) การลงทุนแบบการร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน (Public-Private Partnership : PPP) ทัง้ ภายในอาเซียนและประเทศคูเ่ จรจา 4 ) กองทุนเพือ่ การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานในภูมภิ าคอาเซียน สำหรับ PPP อาเซียนกำลังร่วมมือกับหลายองค์กร เช่น ธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank : ADB) ธนาคารโลก (World Bank) และสถาบันวิจัยเศรษฐกิจ แห่งอาเซียนและเอเชียตะวันออก (Economic Research Institute for ASEAN and East Asia : ERIA) ในเรื่องการนำ PPP มาใช้ในการระดมทุนเพื่อดำเนินโครงการภายใต้แผน แม่บทฯ นอกจากนั้น ACCC ยังอยู่ระหว่างพิจารณาจัดตั้ง Private Sector Consultative Group เพื่อสนับสนุนการดำเนินการเรื่อง PPP ด้วย นอกจากนี้ สำนักงานเลขาธิการอาเซียนได้จดั ทำ project information sheet รวม 15 โครงการเร่งด่วนภายใต้แผนแม่บทฯ เพื่อเป็นคู่มือสำหรับการระดมทุนกับประเทศ คู่เจรจา องค์กรเพื่อการพัฒนา และภาคเอกชน ที่สนใจจะลงทุน / ร่วมมือกับอาเซียน ในโครงการที่สามารถสร้างผลตอบแทน (bankable-viable project)
120
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ความร่วมมือกับประเทศคูเ่ จรจา ขณะนี้มีประเทศคู่เจรจาที่ได้จัดตั้งคณะทำงาน หรือคณะกรรมการเฉพาะกิจ
มาหารือกับ ACCC เพื่อส่งเสริมการเชื่อมโยงกับอาเซียน ได้แก่ ญี่ปุ่น (ประชุมร่วมกันแล้ว 4 ครั้ง) และจีน (ประชุมร่วมกันแล้ว 1 ครั้ง และจะมีการประชุมครั้งต่อไปในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2556) นอกจากนั้น ยังมีประเทศที่ได้จัดตั้งคณะทำงานเฉพาะกิจในลักษณะเดียวกัน และจะมีการหารือร่วมกันในลำดับต่อไปในเดือนมิถนุ ายน พ.ศ. 2556 ได้แก่ สาธารณรัฐเกาหลี และอินเดีย
สถานะความร่วมมือ
ญี่ปุ่น ให้ความสำคัญกับเรื่องดังต่อไปนี้
การส่งเสริมความเชื่อมโยงในแนวระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก - ตะวันตก (East - West Economic Corridor : EWEC) และระเบียงเศรษฐกิจตอนใต้ (Southern Corridor) โดยเน้นการเชื่อมโยงทั้งทางบก และทางทะเล ญี่ปุ่น ได้จัดตั้ง Japan Task Force on Connectivity เพือ่ เป็นกลไกการหารือกับ ACCC ในการสนับสนุนการดำเนินการภายใต้ แผนแม่บทฯ โดยเน้นการพัฒนาระบบโลจิสติกส์และมาตรฐานการขนส่งทีเ่ อือ้ ต่อการสนับสนุน ห่วงโซ่อปุ ทาน การผลิตและส่งออกเป็นหลัก ทัง้ นี้ ACCC กับ Japan Task Force มีการประชุม ร่วมกันแล้ว 4 ครั้ง ครั้งสุดท้ายจัดขึ้น back to back กับการประชุม ACCC ครั้งที่ 1/2556 เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2556
121
ASEAN CONNECTIVITY
ญี่ปุ่นให้ความสำคัญกับการบริหารจัดการความเชื่อมโยงด้านกฎระเบียบ ซึ่งกระทบต่อห่วงโซ่อุปทานของสินค้าและผลประโยชน์ญี่ปุ่นในภูมิภาค ญี่ปุ่นมองว่าไทยควร มีบทบาทนำในการจัดการเรื่องนี้ โดยญี่ปุ่นพร้อมให้การสนับสนุนทั้ง Software และ Hardware แต่ญี ่ปุ่นให้ความสำคัญกับการศึกษาประเด็น ปัญ หาเชิงลึ กแบบรอบด้าน (cross - cutting issues) นำหน้าการให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
ญีป ่ นุ่ ให้ความสำคัญกับ Expanded Connectivity หรือการขยายการเชือ่ มโยง ไปนอกอาเซียนหรือจากฐานการผลิตสูต่ ลาดสินค้า โดยมีเป้าหมายทีอ่ นิ เดีย ผ่านการเชือ่ มโยง ทั้งทางบกและทางทะเล (ทางบก ถนน 3 ฝ่าย ไทย - เมียนมาร์ - อินเดีย ทางทะเลท่าเรือ ติละวาและทวาย) เพื่อเป็นเส้นทางส่งสินค้าและวัตถุดิบระหว่างกัน รวมทั้งเชื่อมโยงห่วงโซ่ อุปทานในผลิตภัณฑ์ที่แต่ละฝ่ายมีความเชี่ยวชาญ เช่น ส่งรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ จากอาเซียนไปอินเดีย ญี ่ ป ุ ่ น ขอให้ อ าเซี ย นให้ ค วามสำคั ญ ในการผลั ก ดั น ในเรื ่ อ ง Cross Border ให้มากขึ้น เพื่อให้ทันกับความคืบหน้าในการดำเนินการในเรื่องโครงสร้างพื้นฐาน ญี่ปุ่นได้ให้ความช่วยเหลือในการศึกษาเพื่อสนับสนุนการดำเนินโครงการ เร่งด่วนของอาเซียน ได้แก่ ด้าน ICT ญีป่ นุ่ มีโครงการศึกษา (Feasibility Study) 2 โครงการ ได้แก่ Feasibility Study for the Implementation of ICT Infrastructure among ASEAN states และ Enhancement of ICT intra - regional Network among ASEAN Member States (ASEAN Smart Network) ด้านพลังงาน ญี่ปุ่นได้ทำการศึกษา Feasibility Study for Melaka - Pekanbaru Power Interconnection ด้านการขนส่งทางทะเล ญีป่ นุ่ ได้ศกึ ษา ความเป็นไปได้ในการสร้างเครือข่ายเรือบรรทุกยานพาหนะล้อเลื่อนในอาเซียนและทางเลือก ในการส่งเสริมการพัฒนาการขนส่งทางทะเลระยะสั้น (Study on the Roll - on / Roll - off RO - Ro Network and Short sea Shipping)
จีน ให้ความสำคัญกับ การเชื ่ อ มโยงโครงสร้ า งพื ้ น ฐานตามแนวระเบี ย งเศรษฐกิ จ เหนื อ - ใต้ (North - South Economic Corridor : NSEC) โดยจีนได้จัดสรรเครดิตสินเชื่อจำนวน 25,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและการเชื่อมโยง ในอาเซียน รวมทั้งโครงการสำคัญอื่นๆ ในอาเซียน
122
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
จีนได้ตั้งกองทุนเพื่อการลงทุนอาเซียน - จีน (China - ASEAN Investment Cooperation Fund : CAF) จำนวน 10,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งสามารถใช้เพื่อลงทุน ในโครงสร้างพื้นฐานในอาเซียนด้วย จีนได้ตั้ง Chinese Working Committee of the China - ASEAN Connectivity Cooperation Committee เพื่อเป็นกลไกการหารือระหว่าง ACCC กับจีน โดยให้คณะกรรมการดังกล่าวมีการประชุมกับอาเซียนในช่วงเดียวกับการประชุม ACCC โดยได้มีการประชุมร่วมกัน ครั้งแรกเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 โดยได้หารือเรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของจีนในการสนับสนุนการดำเนินการภายใต้แผนแม่บทฯ และ โครงการทีม่ ศี กั ยภาพอืน่ ๆ ตลอดจนโครงการเร่งด่วน 15 โครงการ การประชุม ระหว่าง ACCC กับจีนครั้งต่อไปจะมีขึ้นในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2556
โครงการที่จีนได้ให้ความช่วยเหลืออาเซียน อาทิ (1) การให้เงินทุนสนับสนุนการสร้างถนนด้านตะวันตกของแม่นำ้ โขงเชือ่ มต่อ คุนหมิง - กรุงเทพฯ ภายใต้ระเบียงเศรษฐกิจเหนือ - ใต้ / (สะพานมิตรภาพไทย - ลาว เชียงของ - ห้วยทราย) / เส้นทางนำร่อง (Navigation route) แม่โขงตอนบน / โครงข่าย สายไฟฟ้าในเวียดนามและลาว (2) การจัดทำ Feasibility Study ในเรือ่ ง Missing Link ทางรถไฟในกัมพูชา / ทางรถไฟในลาว / ทางรถไฟในเมียนมาร์ / รถไฟความเร็วสูงจากกรุงเทพฯ - เชียงใหม่ กรุงเทพฯ - หนองคาย และลาว - คุนหมิง / และโครงข่ายทางหลวงในอนุภมู ภิ าคลุม่ แม่นำ้ โขง (Greater Mekong Sub - region : GMS) เป็นต้น
ASEAN CONNECTIVITY
123
สหภาพยุโรป
ให้ความสำคัญแก่การเชื่อมโยงด้านกฎระเบียบ การจัดการข้ามพรมแดนและ การเชื ่ อ มโยงระหว่ า งประชาชน โดยในด้ า นกฎระเบี ย บได้ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น การสร้ า ง ขี ด ความสามารถของอาเซี ย นในการอำนวยความสะดวกด้ า นการขนส่ ง ด้ า นการค้ า และการจัดการด้านศุลกากรเป็นเงิน 15 ล้านยูโร (ระหว่างปี พ.ศ. 2555 - 2558) การพัฒนา ตลาดการบินเดียวของอาเซียน 5 ล้านยูโร (ระหว่างปี พ.ศ. 2555 - 2559) ด้านประชาชน ให้การสนับสนุนด้านการพัฒนาการศึกษาระดับสูง 10 ล้านยูโร (ระหว่างปี พ.ศ. 2556 - 2560)
อาเซียนได้เสนอให้สหภาพยุโรปจัดตัง้ คณะกรรมการเฉพาะเพือ่ หารือกับอาเซียน ในเรื่องความเชื่อมโยง และสหภาพยุโรปได้แสดงความสนใจต่อข้อเสนอดังกล่าว
สหรัฐอเมริกา สหรัฐฯ ได้มีข้อริเริ่มความร่วมมือเพื่อความเชื่อมโยงสหรัฐฯ - อาเซียน (US - ASEAN Connectivity Cooperation Initiative) ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2554 โดยการสนับสนุนของ United States Trade and Development Agency (USTDA) ความริเริ่มดังกล่าวเน้นการส่งเสริมความเชื่อมโยง 3 ด้านได้แก่ พลังงาน การคมนาคมขนส่ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และส่งเสริมการใช้ทรัพยากรและความเชี่ยวชาญ ของภาคเอกชนสหรัฐฯ ให้เป็นประโยชน์ เพือ่ สนับสนุนการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ. 2558
สหรัฐฯ ได้จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการด้านการเชื่อมโยง 2 ครั้ง คือ 1) “ASEAN Disaster Management, Mitigation, and Response Technologies” 2) “ASEAN Smart Grid and Power Transmission Workshop and Reverse Trade Mission” โดยทั้ง 2 การประชุมเน้นบทบาทและความร่วมมือจากภาคเอกชนในการส่งเสริม การเชื่อมโยงระหว่างทั้งสองฝ่าย
124
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
สหรัฐฯ มีความร่วมมือด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ด้านการศึกษา ส่วนใหญ่ จะเป็นในลักษณะของความร่วมมือทวิภาคี และเป็นความร่วมมือผ่านโครงการ Fulbright กับประเทศต่างๆ ในอาเซียน ส่วนความร่วมมือกับอาเซียนเพิ่งมีการดำเนินการโครงการแรก คือ โครงการฝึกอบรมภาษาอังกฤษ โดยเป็นการร่วมมือระหว่างบรูไนดารุสซาลามและสหรัฐฯ ภายใต้ชื่อโครงการ “Brunei - US English Language Enrichment Programme for ASEAN, University Brunei Darussalam (UBD) in collaboration with East-West Center (EWC) in Hawaii” ระหว่างวันที่ 13 พฤษภาคม - 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 เป็นเวลา 11 สัปดาห์ โดยมีผู้เข้าร่วมจากประเทศอาเซียนจำนวน 10 คน / ประเทศ ทั้งนี้ โครงการฯ แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ การฝึกอบรมภาษาอังกฤษแก่ครูสอนภาษา เพื่อให้บุคคลเหล่านี้ สามารถกลับมาถ่ายทอดวิชาให้แก่นกั ศึกษาอาเซียนต่อไป ในลักษณะ “Train the Trainers” และการอบรมสำหรับข้าราชการ และนักการทูตของประเทศสมาชิกอาเซียน
ผูท้ รงคุณวุฒอิ าเซียน - สหรัฐ (ASEAN - US Eminent Persons Group : EPG) ได้มขี อ้ เสนอแนะเพือ่ ส่งเสริมด้านความเชือ่ มโยงในอาเซียนต่อทีป่ ระชุมผูน้ ำอาเซียน - สหรัฐฯ ครั้งที่ 4 เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ณ กรุงพนมเปญ ดังนี้
2) ส่งเสริมความร่วมมืออาเซียน - สหรัฐฯ ในด้านความร่วมมือทางทะเล โดยเน้นการเสริมสร้างขีดความสามารถ การแลกเปลี่ยนข้อมูล และความร่วมมือทางด้าน เทคโนโลยี 3) ส่งเสริมการฝึกอบรมสำหรับบุคคลากรของประเทศ กัมพูชา ลาว เมียนมาร์ เวียดนาม (CLMV) ในสาขาต่างๆ กว่า 10,000 คน ในระยะเวลา 2 ปี โดยสนับสนุน
125
ASEAN CONNECTIVITY
1) สนับสนุนให้ตง้ั U.S. Task Force on Connectivity เพือ่ เป็นกลไกการหารือ กับ ACCC เกี่ยวกับการสนับสนุนการดำเนินการภายใต้แผนแม่บทฯ รวมทั้งเสนอข้อริเริ่ม ใหม่เพื่อส่งเสริมความเชื่อมโยงในอาเซียน
ความร่วมมือภายใต้ Initiative for ASEAN Integration (IAI) และ Lower Mekong Initiative (LMI) เพื่อสร้างขีดความสามารถ CLMV ในการลดช่องว่างด้านการพัฒนา อินเดีย ให้ความสำคัญกับการเชื่อมโยงแบบรอบด้าน ทางบก อินเดียสนับสนุนการสร้างทางหลวงสามฝ่ายไทย - เมียนมาร์ - อินเดีย และการขยายเส้นทางดังกล่าวไปยังกัมพูชาและลาว รวมทั้งการสร้างทางหลวงสายใหม่ เชื่อมโยงเวียดนาม กัมพูชา ลาว และเมียนมาร์ กับอินเดีย
ทางทะเล อิ น เดี ย พยายามเชื ่ อ มโยงกั บ อาเซี ย นผ่ า นทะเลอั น ดามั น โดยมี ทวายของเมียนมาร์เป็นประตูสำคัญ อินเดียจึงสนับสนุนแนวคิดของกรอบการประชุมสุดยอด เอเชียตะวันออก (East Asia Summit : EAS) ในการพัฒนา Mekong - India Economic Corridor (โฮจิมินห์ - พนมเปญ - กรุงเทพฯ - ทวาย - เจนไน) เพื่อเป็นเส้นทางลัดเชื่อมโยง ภูมภิ าคลุม่ แม่นำ้ โขงกับอินเดียฝัง่ ตะวันออก และพัฒนาเขตเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมพร้อม กันไปด้วย ทางอากาศ อินเดียสนับสนุนการเปิดน่านฟ้าเสรีกับอาเซียน ปัจจุบัน อินเดีย อยู่ระหว่างการเจรจาจัดทำความตกลงว่าด้วยการขนส่งทางอากาศมีเป้าหมายให้แล้วเสร็จ ภายในปี พ.ศ. 2558
อินเดียได้จัดตั้ง India Inter - Ministerial Group on ASEAN Connectivity เพื่อร่วมมือกับอาเซียนในเรื่องการเชื่อมโยงด้วย โดยมีการประชุมกับ ACCC ครั้งแรก ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2556 ที่ประเทศอินโดนีเซีย สาธารณรัฐเกาหลี ให้ความสำคัญกับการส่งเสริมความความเชื่อมโยงโดยเฉพาะด้าน ICT เช่น โครงการ ASEAN - ROK Cyber University เพื่อจะส่งเสริมความร่วมมือด้านการศึกษาและ การแลกเปลี่ยนระดับประชาชน สาธารณรัฐเกาหลีได้จัดตั้งกลไกเพื่อหารือกับ ACCC เพื่อผลักดันความร่วมมือ ด้านความเชื่อมโยงอย่างรอบด้าน โดยมีการประชุมครั้งแรกร่วมกับ ACCC ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2556 ที่ประเทศอินโดนีเซีย 126
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ออสเตรเลีย
เป็นประเทศที่มีบทบาทเรื่องความเชื่อมโยงและการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ภายใต้กรอบความร่วมมือในอนุภูมิภาค โดยเฉพาะภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงเป็นเวลายาวนาน ภายใต้แผนแม่บทฯ ออสเตรเลียสนใจร่วมมือกับอาเซียนในเรื่องการพัฒนากฎระเบียบ ทางการค้า (ROO) / การร่วมลงทุนระหว่างรัฐกับเอกชน (PPP) / การศึกษาแนวทางการจัดทำ ASEAN single visa การพัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการข้ามพรมแดน นอกจากนี้ ยังสนใจ ที่จะจัดตั้ง Taskforce เพื่อทำงานร่วมกับ ACCC ในระยะต่อไปด้วย แคนาดา
อาเซียน+3 (จีน ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี)
ที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน+3 ครั้งที่ 13 เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2555 ที ่ ก รุ ง พนมเปญ เห็ น ชอบกั บ ข้ อ เสนอของไทยที ่ เ สนอให้ ผ ู ้ น ำอาเซี ย น+3 ออกแถลงการณ์ ASEAN Plus Three Partnership on Connectivity ในการประชุม สุดยอดอาเซียน+3 เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2555
การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit : EAS)
ในการประชุม EAS ครัง ้ ที่ 6 เมือ่ วันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ทีเ่ มืองบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ที่ประชุมฯ ได้รับรอง Declaration of the 6th East Asia Summit on ASEAN Connectivity เพื่อแสดงเจตนารมณ์ร่วมกันส่งเสริมการมีส่วนร่วมและ ความร่วมมือระหว่างอาเซียนและประเทศคูเ่ จรจาทีเ่ ข้าร่วม EAS ในการพัฒนาความเชือ่ มโยง ในอาเซียนตามแผนแม่บทฯ 127
ASEAN CONNECTIVITY
มี ค วามสนใจที ่ จ ะร่ ว มมื อ กั บ อาเซี ย นในเรื ่ อ งการจั ด การผลกระทบด้ า นลบ จากการเชื่อมโยง นอกจากนั้น แคนาดาได้เสนอให้มีความร่วมมือในการพัฒนาประสิทธิภาพ ในการเชือ่ มโยงห่วงโซ่อปุ ทาน (supply chains) ระหว่างอาเซียน-แคนาดา โดยให้ความสำคัญ กับการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ แคนาดาเสนอให้อาเซียนใช้ประโยชน์จาก Asia Pacific Gateway and Corridor Initiative (APGCI) เป็นช่องทางเชื่อมโยงห่วงโซ่อุปทานระหว่าง สองภูมิภาค
กองทุนเพือ่ การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานในภูมภิ าคอาเซียน (ASEAN Infrastructure Fund) ในการระดมทุนเพื่อการเชื่อมโยงในภูมิภาค นอกเหนือจากงบประมาณของ ประเทศสมาชิกแต่ละประเทศ รวมทั้งความร่วมมือสนับสนุนโดยประเทศคู่เจรจาและองค์กร เพื่อการพัฒนาแล้ว อาเซียนยังได้ก่อตั้ง AIF ขึ้นเพิ่อสนับสนุนโครงการความเชื่อมโยง ที่มีความสำคัญเร่งด่วนด้วย
AIF มีวัตถุประสงค์เพื่อเร่งรัดการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานภายในและระหว่าง พรมแดนของประเทศสมาชิกอาเซียน และส่งเสริมการใช้เงินออมของอาเซียนในการสนับสนุน ทางการเงินสำหรับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าว โดยมีเป้าหมายระยะยาวที่จะออก พันธบัตรที่ธนาคารกลางสามารถถือเพื่อเป็นทุนสำรองระหว่างประเทศได้ในที่สุด กองทุนนีม ้ เี งินตัง้ ต้นจำนวน 485.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank : ADB) ให้เงินสนับสนุน จำนวน 150 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ส่วนที่เหลือจะเป็นการสมทบทุนของประเทศสมาชิกอาเซียนอีก 335.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ดังนี้ มาเลเซีย 150 ล้านดอลลาร์สหรัฐ บรูไนฯ 10 ล้านดอลลาร์สหรัฐ อินโดนีเซีย 120 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เวียดนาม 10 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ฟิลิปปินส์ 15 ล้านดอลลาร์สหรัฐ กัมพูชา 0.1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ไทย 15 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ลาว 0.1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ สิงคโปร์ 15 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เมียนมาร์ 0 ล้านดอลลาร์สหรัฐ กองทุน AIF มีที่ตั้งที่ประเทศมาเลเซีย มีลักษณะเป็นบริษัทจำกัดภายใต้ กฎหมายมาเลเซีย และมีอำนาจในการทำสัญญาและดำเนินการต่างๆ ในนามของตนเอง
128
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ในปีแรก กองทุนฯ จะให้เงินยืมจำนวน 300 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพือ่ สนับสนุน โครงการด้านการเชื่อมโยงในภูมิภาคใน 3 ด้าน คือ การคมนาคมขนส่ง พลังงานและ การจั ด การน้ ำ โดย ADB จะออกเงิ น สมทบโครงการเหล่ า นี ้ ด ้ ว ยในระยะต่ อ ไปเมื ่ อ มี ความเข้มแข็งมากขึ้นจะมีการออกพันธบัตรกึ่งหนี้กึ่งทุนเพื่อให้ประเทศสมาชิกและผู้สนใจ ร่วมลงทุนด้วย
ประเทศไทยได้ให้เงินสนับสนุนกองทุนฯ ตามพันธกรณีในงวดแรกไปแล้ว จำนวน 5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เมื่อสิ้นไตรมาส 3 ของปี พ.ศ. 2555 และมีกำหนดจะจ่าย เงินงวดที่ 2 อีก 5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในช่วงไตรมาสที่ 3 ของปี พ.ศ. 2556
กองทุน AIF อยู่ระหว่างจัดสรรเงินยืมและเงินสมทบจาก ADB เพื่อสนับสนุน โครงการด้านโครงสร้างพื้นฐานของอาเซียน โดยในระยะแรกโครงการส่วนใหญ่ยังเป็น โครงการพัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐานของอาเซียนนอกแผนแม่บทฯ
บทบาทของไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในฐานะประธานคณะกรรมการ อาเซียนแห่งชาติ ได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน เพื ่ อ เป็ น กลไกการประสานงานและติ ดตามให้ มี ก ารดำเนิ น การตามแผนแม่ บ ทว่ า ด้ ว ย ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนที่สอดคล้องกับผลประโยชน์ของประเทศไทยและ ทำหน้าที่เป็น National Coordinator ทั้งนี้ โดยมีรองปลัดกระทรวงการต่างประเทศเป็น ประธานคณะอนุกรรมการฯ
129
ASEAN CONNECTIVITY
ประเทศไทยมีบทบาทนำในการเสนอแนวความคิดเรือ่ ง ASEAN Connectivity ตั้งแต่เริ่มต้นและต่อมารัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศได้เสนอ Concept Paper ว่าด้วยการเชือ่ มโยงระหว่างกันในอาเซียนต่อทีป่ ระชุม ASEAN Foreign Ministerial Retreat ที่เมืองดานัง ประเทศเวียดนาม เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2553 ซึ่งได้รับการตอบรับจาก ประเทศสมาชิกอาเซียนอืน่ ๆ และเป็นจุดกำเนิดของการจัดทำร่างแผนแม่บทฯในเวลาต่อมา
ประเทศไทยผลักดันให้มกี ารเร่งรัดการดำเนินการเชือ่ มโยงภายใต้แผนแม่บทฯ โดยได้ ร ิ เริ ่ ม จั ด โครงการสำรวจเส้ น ทางสำหรั บ รั ฐ มนตรี ต ่ า งประเทศอาเซี ย น 2 ครั ้ ง เพื่อสำรวจศักยภาพทางเศรษฐกิจ การค้าและการลงทุน คือ ครั้งที่ 1 การสำรวจเส้นทาง หมายเลข 9 (มุกดาหาร - สะหวันนะเขต - ดานัง) เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2553 และ ครั้งที่ 2 การสำรวจ เส้นทาง R3A (เชียงของ - ห้วยทราย - จิ่งหง) เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2554 ซึง่ จากการสำรวจ เส้นทางทัง้ 2 ครัง้ พบว่าเส้นทางทัง้ 2 มีศกั ยภาพทางเศรษฐกิจสูง สามารถใช้เป็นเส้นทางขนส่งสินค้าเกษตรและสินค้าอุปโภคบริโภค และการท่องเทีย่ ว อย่างไรก็ดี ยังคงมีปัญหาเรื่องการจัดการข้ามพรมแดนที่จะต้องเร่งแก้ไข
เมือ่ วันที่ 13 - 15 มิถนุ ายน พ.ศ. 2555 ประเทศไทยได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม “ASEAN Workshop on Cross - Border Management : A Key to Efficient ASEAN Connectivity” และการประชุม “ASEAN+3 Partnership on Connectivity” ที่กรุงเทพฯ เชิญคณะอนุกรรมการฯ ผูแ้ ทนจากหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องของไทยและประเทศสมาชิกอาเซียน ผู้แทนจากประเทศคู่เจรจา องค์การระหว่างประเทศ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอื่นๆ เข้าร่วมประชุม
การประชุม “ASEAN Workshop on Cross-Border Management : A Key to Efficient ASEAN Connectivity” มี ว ั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื ่ อ เสริ ม สร้ า งความรู ้ แ ละความเข้ า ใจในการดำเนิ น การตาม แผนแม่บทฯ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเสริมสร้างศักยภาพของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของ อาเซียนในด้านการบริหารจัดการข้ามพรมแดน เพื่ออำนวยความสะดวกการขนส่งสินค้า ข้ามแดน การเคลื่อนย้ายแรงงาน และการไปมาหาสู่ระหว่างประชาชนให้มีประสิทธิภาพ การประชุม “ASEAN+3 Partnership on Connectivity” มี ว ั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื ่ อ ผลั ก ดั น และพั ฒ นาแนวคิ ด เรื ่ อ งหุ ้ น ส่ ว นความเชื ่ อ มโยง อาเซียน+3 ซึง่ จะช่วยสนับสนุนแผนแม่บทฯ และช่วยปูทางนำไปสูก่ ารยกระดับความเชือ่ มโยง ระหว่างกันในเอเชียตะวันออก รวมถึงระดมความคิดเห็นเพื่อตอบโจทย์ในการขับเคลื่อน หุ้นส่วนความเชื่อมโยงอาเซียน+3 อย่างเป็นรูปธรรม โดยตระหนักถึงเป้าหมายในระยะยาว ที่จะสร้างประชาคมเอเชียตะวันออก (East Asia Community) 130
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ประเทศไทยเสนอให้ผน ู้ ำอาเซียน+3 ออกแถลงการณ์ ASEAN+3 Partnership on Connectivity ในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน+3 ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ที่กรุงพนมเปญ เพื่อเป็นการแสดงเจตนารมณ์ของผู้นำในการสนับสนุนการดำเนินการ เรื่องความเชื่อมโยงภายใต้แผนแม่บทฯ และยกระดับความเชื่อมโยงระหว่างกันในภุมิภาค เอเชียตะวันออก โดยดำเนินการภายใต้สาขาความร่วมมือต่างๆ ทีม่ อี ยูแ่ ล้วในกรอบอาเซียน+3 เพือ่ ต่อยอดจากผลและข้อเสนอแนะจากการประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร “ASEAN+3 Partnership on Connectivity” เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2555 ประเทศไทยกำหนด จะจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ “Enhancing Connectivity through Multi - layered Regional Frameworks : The Role of Dialogue Partners” ในเดือนกรฏาคม พ.ศ. 2556 เพื่อระดมความคิดเกี่ยวกับแนวทางความร่วมมือของประเทศคู่เจรจาในการสนับสนุน ความเชื่อมโยงในภูมิภาคฯ โดยทบทวนแนวทางและกลไกความร่วมมือที่มีอยู่ในกรอบต่างๆ เพื่อให้สนับสนุนการดำเนินการภายใต้แผนแม่บทให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและไม่ซ้ำซ้อนกัน
ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพร่วมกับนิวซีแลนด์ จัดการประชุม EAS Regulatory Roundtable ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อระดมความคิดเกี่ยวกับ แนวทางการร่วมมือในกลุม่ EAS เพือ่ สนับสนุนการดำเนินการด้านการเชือ่ มโยงด้านกฎระเบียบ ภายใต้แผนแม่บทฯ
ASEAN CONNECTIVITY
131
132
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
บทบาทไทยในอาเซียน นับตั้งแต่อาเซียนได้ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2510 ประเทศไทยได้มีบทบาทสำคัญ ในการผลักดันความร่วมมือของอาเซียนให้มีความคืบหน้ามาโดยตลอด และอาเซียน ถือเป็นหัวใจสำคัญของนโยบายด้านการต่างประเทศของประเทศไทยเรือ่ ยมาจนถึงปัจจุบนั เนือ่ งจากการส่งเสริมความร่วมมือในกรอบต่างๆ ของอาเซียน เป็นการสร้างความไว้เนือ้ เชือ่ ใจ ระหว่างประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งจะช่วยส่งเสริมสันติภาพ เสถียรภาพ และความเจริญรุ่งเรืองในภูมิภาคสืบไป
133
THAILAND AND ASEAN
ในช่วงทีป่ ระเทศไทยดำรงตำแหน่งประธานอาเซียนเมือ่ ปี พ.ศ. 2551 - พ.ศ. 2552 ประเทศไทยให้ความสำคัญกับการวางรากฐานสำหรับประชาคมอาเซียนโดยมีประชาชน เป็นศูนย์กลาง โดยได้มีการจัดทำแผนงานสู่ประชาคมอาเซียนปี พ.ศ. 2552 - พ.ศ. 2558 (Cha-am Hua Hin Roadmap for an ASEAN Community 2009 - 2015) ซึง่ ครอบคลุม แผนงานการจัดตัง้ ประชาคมอาเซียนในทัง้ สามเสา รวมทัง้ การอนุวตั กิ ารกฎบัตรอาเซียน เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพของกลไกต่างๆ ของอาเซียนให้สามารถร่วมแก้ไขปัญหา ทีม่ ผี ลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนได้อย่างทันท่วงที โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในโลกปัจจุบันที่ต้องเผชิญกับปัญหาท้าทายความมั่นคงในรูปแบบใหม่ เช่น โรคระบาด การก่อการร้าย ยาเสพติด การค้ามนุษย์ สิ่งแวดล้อม และภัยพิบัติ
ในด้านการเมืองและความมัน่ คง ประเทศไทยพยายามผลักดันให้อาเซียนดำเนินการ
ด้านการส่งเสริมความไว้เนื้อเชื่อใจและการทูตเชิงป้องกัน โดยใช้กลไกต่างๆ ในกรอบอาเซียน เช่น การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน (ADMM) การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน กับคูเ่ จรจา (ADMM Plus) และการประชุมว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมัน่ คง ในเอเชีย - แปซิฟิก (ARF) รวมทั้งได้ผลักดันการจัดตั้งเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEANWFZ) และส่งเสริมให้อาเซียนร่วมมือกันมากขึ้นในการรับมือ กับภัยคุกคามด้านความมัน่ คงรูปแบบใหม่ อาทิ ยาเสพติด ภัยพิบตั ิ และอาชญากรรมข้ามชาติ นอกจากนี ้ ประเทศไทยยั ง ได้ ม ี บ ทบาทสำคั ญ ในการส่ ง เสริ ม สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน ในอาเซียน โดยได้ผลักดันการจัดตั้งและคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิ มนุษยชน (AICHR) และให้การสนับสนุนการทำงานของ AICHR อย่างต่อเนื่อง ซึ่งรวมถึง การส่ ง เสริ ม การมี ส ่ ว นร่ ว มของภาคส่ ว นต่ า งๆ ในการจั ด ทำปฏิ ญ ญาอาเซี ย นว่ า ด้ ว ย สิทธิมนุษยชน (Asean Human Rights Declaration) ซึ่งผู้นำอาเซียนได้รับรองเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 21 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา
ในด้านเศรษฐกิจ ประเทศไทยตระหนักถึงความสำคัญของการรวมตัวทางเศรษฐกิจ
ในภูมิภาคที่จะช่วยส่งเสริมความสามารถในการแข่งขันและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ของภูมิภาคอย่างยั่งยืน โดยนายอานันท์ ปันยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรี ได้เป็นผู้เสนอและ ริเริม่ ให้มกี ารจัดตัง้ เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2535 ซึง่ ต่อมา อาเซียนได้จดั ทำ ความตกลงเขตการค้าเสรีกับอีก 6 ประเทศได้แก่ จีน สาธารณรัฐเกาหลี ญี่ปุ่น อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ นอกจากนี้ อาเซียนยังอยู่ระหว่างการเจรจาจัดทำความตกลง พันธมิตรทางเศรษฐกิจระดับภูมภิ าค (Regional Comprehensive Economic Partnership หรือ RCEP) ซึ่งจะนำไปสู่เขตการค้าเสรีระดับภูมิภาคขนาดใหญ่ ครอบคลุมประชากร เกิ น ครึ ่ ง หนึ ่ ง ของโลก โดยประเทศไทยจะมีบทบาทสำคัญ ในการผลั ก ดั น เรื ่ อ งนี ้ ต ่ อ ไป เพื่อส่งเสริมศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศและของภูมิภาค 134
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ประเทศไทยยังเป็นผู้ริเริ่มและผลักดันแนวคิดเกี่ยวกับความเชื่อมโยงในอาเซียน (Enhanced Connectivity in ASEAN) โดยครอบคลุมทุกมิติ ได้แก่ ความเชือ่ มโยงด้านกายภาพ ด้านกฎระเบียบ และระหว่างประชาชน ซึ่งนำไปสู่การจัดทำแผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยง ในอาเซียน อันเป็นกรอบยุทธศาสตร์หลักที่จะช่วยสนับสนุนเกื้อกูลการดำเนินการด้าน ความเชื่อมโยงในกรอบอื่นๆ ทั้งในระดับอนุภูมิภาคและทวิภาคี และต่อมาประเทศไทย ยังได้ผลักดันแนวคิดความเชื่อมโยงกับนอกภูมิภาค (Connectivity Beyond ASEAN) เพื่อขยายเครือข่ายการคมนาคมขนส่งไปสู่ประเทศนอกภูมิภาค เช่น จีน และอินเดียด้วย
ในด้านสังคมและวัฒนธรรม
ประเทศไทยได้ผลักดันการสร้างประชาคมอาเซียนที่มี ประชาชนเป็นศูนย์กลางมาโดยตลอด รวมทัง้ ให้ความสำคัญกับการมีสว่ นร่วมของประชาชน ในการสร้างประชาคมอาเซียน โดยประเทศไทยได้ริเริ่มการประชุมระหว่างผู้นำอาเซียนกับ ผู้แทนสมัชชารัฐสภาอาเซียน ผู้แทนภาคประชาสังคม และผู้แทนเยาวชน เพื่อส่งเสริม การปฏิสมั พันธ์ระหว่างอาเซียนกับประชาชนกลุ่มต่างๆ นอกจากนี้ ประเทศไทยได้ร่วมมือกับ ประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นๆ อย่างแข็งขันเพื่อเพิ่มพูนความร่วมมือด้านสังคมและวัฒนธรรม อาทิ การบริหารจัดการภัยพิบตั ิ การศึกษา สิง่ แวดล้อม สาธารณสุข การลดช่องว่าง ด้านการพัฒนา และการสร้างอัตลักษณ์อาเซียน เพือ่ ให้บรรลุการสร้างสังคมทีเ่ อือ้ อาทรและแบ่งปันในอาเซียน
THAILAND AND ASEAN 135
ตราสัญลักษณ์ประเทศและข้อมูลพืน้ ฐานประเทศสมาชิกอาเซียน เนการาบรูไนดารุสซาลาม (NEGARA BRUNEI DARUSSALAM) เมืองหลวง บันดาร์เสรีเบกาวัน วันชาติ 23 กุมภาพันธ์ สกุลเงิน ดอลลาร์บรูไน วันเข้าร่วมอาเซียน 8 มกราคม 2527
ราชอาณาจักรกัมพูชา (KINGDOM OF CAMBODIA)
เมืองหลวง กรุงพนมเปญ วันชาติ 9 พฤศจิกายน สกุลเงิน เรียล วันเข้าร่วมอาเซียน 9 เมษายน 2542
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (REPUBLIC OF INDONESIA) เมืองหลวง กรุงจาการ์ตา วันชาติ 17 สิงหาคม สกุล รูเปีย วันเข้าร่วมอาเซียน 8 สิงหาคม 2510
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (LAO PEOPLE’S DEMOCRATIC REPUBLIC)
มาเลเซีย (MALAYSIA)
เมืองหลวง เวียงจันทน์ วันชาติ 2 ธันวาคม สกุลเงิน กีบ วันเข้าร่วมอาเซียน 23 กรกฎาคม 2540 เมืองหลวง กรุงกัวลาลัมเปอร์ วันชาติ 31 สิงหาคม สุกลเงิน ริงกิต วันเข้าร่วมอาเซียน 8 สิงหาคม 2510
หมายเหตุ : การถอดชื่อเมืองและสกุลเงินอ้างอิงตามราชบัญฑิตยสถาน 138
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ (THE REPUBLIC OF UNION OF MYANMAR) เมืองหลวง กรุงเนปยีดอ วันชาติ 4 มกราคม สกุลเงิน จัต วันเข้าร่วมอาเซียน 23 กรกฎาคม 2540
GENERAL INFORMATION ON ASEAN MEMBER STATES
สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (REPUBLIC OF THE PHILIPPINES) เมืองหลวง กรุงมะนิลา วันชาติ 12 มิถุนายน สกุลเงิน เปโซ วันเข้าร่วมอาเซียน 8 สิงหาคม 2510 สาธารณรัฐสิงคโปร์ (REPUBLIC OF SINGAPORE) เมืองหลวง สิงคโปร์ วันชาติ 9 สิงหาคม สกุลเงิน ดอลลาร์สิงคโปร์ วันเข้าร่วมอาเซียน 8 สิงหาคม 2510 ราชอาณาจักรไทย (KINGDOM OF THAILAND) เมืองหลวง กรุงเทพมหานคร วันชาติ 5 ธันวาคม สกุลเงิน บาท วันเข้าร่วมอาเซียน 8 สิงหาคม 2510
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (SOCIALIST REPUBLIC OF VIETNAM)
เมืองหลวง กรุงฮานอย วันชาติ 2 กันยายน สกุลเงิน ดอง วันเข้าร่วมอาเซียน 28 กรกฎาคม 2538 139
ดอกไม้ประจำชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน บรูไนดารุสซาลาม ดอกซิมปอร์ หรือ ดอกส้านชะวา (SIMPOR or DILLENIA) เป็น ดอกไม้ที่มีกลีบดอกขนาดใหญ่สีเหลือง เมื่อบานเต็มที่กลีบดอก จะบานออกคล้ายกับร่ม รูปดอกซิมปอร์พบได้บนธนบัตรราคา 1 ดอลลาร์ของประเทศบรูไนฯ และถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลาย ในด้านศิลปะการออกแบบงานฝีมือพื้นเมือง ดอกซิมปอร์พบทั่วไป ตามแม่น้ำของประเทศบรูไนฯ โดยเฉพาะแม่น้ำ Tem-burong และยังพบตามบึงหรือบริเวณทีม่ ที รายสีขาว ส่วนต่างๆ ของซิมปอร์ นำมาใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย เช่น ใช้ในการรักษาบาดแผล
กัมพูชา
ดอกลำดวน (RUMDUL) เป็นดอกสีขาวเหลืองอยู่บนใบเดี่ยว มี ก ลิ ่ น หอมในเวลาค่ ำ เนื ่ อ งจากกลิ ิ ่ น หอมนี ้ เ องทำให้ ใ นอดี ต มีการเปรียบดอกลำดวนกับสตรีชาวกัมพูชา ต้นลำดวนมีความสูง 8-12 เมตร พบได้ ท ั ่ ว ไปในประเทศกั ม พู ช าและนิ ย มปลู ก ในสวนสาธารณะ
อินโดนีเซีย ดอกกล้วยไม้ราตรี (MOON ORCHID) เป็นกล้วยไม้ในสายพันธุ์ Phalaenopsis amabilis ซึง่ เป็นหนึง่ ในสามของดอกไม้ประจำชาติ อินโดนีเซีย โดยดอกไม้ประจำชาติอีกสองดอก คือ ดอกมะลิซ้อน (Jasmi-num sambac) และดอก Rafflesia arnoldii ดอกกล้วยไม้ราตรีจะบาน 2-3 ครั้งต่อปี และสามารถเจริญเติบโต ได้ดใี นอากาศชื้น จึงมักพบได้ทั่วไปบริเวณที่ราบต่ำของประเทศ อินโดนีเซีย 140
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ลาว
GENERAL INFORMATION ON ASEAN MEMBER STATES
ดอกจำปาลาว หรื อ ดอกลี ล าวดี (DOK CHAMPA or PLUMERIA) เป็นสัญลักษณ์ของประเทศลาว มีกลิ่นหอมและ มีหลายสี เช่น สีแดง สีเหลือง สีชมพู และโทนสีอ่อนต่างๆ ดอกจำปาลาว เป็นตัวแทนของความจริงใจและความสุขในชีวิต จึงนิยมใช้ประดับในพิธีต่างๆ หรือทำพวงมาลัยเพื่อต้อนรับแขก ดอกจำปาลาวผลิบานทุกวัน และอยู่ได้นานจึงมักปลูกอย่าง แพร่หลายและพบเห็นได้ทั่วไป โดยเฉพาะในบริเวณวัดและ สถานที่ศักดิ์สิทธิ์
มาเลเซีย
ดอกชบาแดง (BUNGA RAYA) เป็นดอกไม้ประจำชาติของ ประเทศมาเลเซี ย โดยกลี บ ของดอกชบาแดงเป็ น ตั ว แทน 5 หลักการแห่งความเป็นชาติของประเทศมาเลเซีย ซึ่งเป็น ปรัชญาเพือ่ เสริมสร้างความเป็นปึกแผ่นและความอดทนในชาติ ดอกชบาแดง พบได้ทั่วไปในประเทศมาเลเซียและบางส่วนของ ลำต้นสามารถนำมาใช้ประโยชน์ทางการแพทย์และความงาม ได้อีกด้วย
เมียนมาร์
ดอกประดู ่ (PADUAK) มี ส ี เ หลื อ งทองและส่ ง กลิ ่ น หอม หลั ง ฤดู ฝ นแรกของเดื อ นเมษายน ซึ ่ ง เป็ น เวลาเดี ย วกั บ การเฉลิมฉลองเทศกาลปีใหม่ของประเทศเมียนมาร์ เมือ่ ผลิดอก ต้นของดอกประดู่จะเป็นสีทองตลอดทั้งคืน ชาวเมียนมาร์ จึ ง ถื อ ว่ า ต้ น ประดู ่ เ ป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ข องความแข็ ง แรงและ ความทนทาน ดอกไม้ชนิดนีย้ งั หมายถึงวัยหนุม่ สาวและความรัก ดอกประดู ่ เ ป็ น ดอกไม้ ท ี ่ ข าดไม่ ไ ด้ ใ นงานประเพณี แ ละพิ ธ ี ทางศาสนาในประเทศเมียนมาร์ นอกจากนี้ ลำต้นยังสามารถ นำไปทำเครื่องเรือนได้อีกด้วย 141
ฟิลปิ ปินส์
ดอกพุดแก้ว (SAMPAGUITA JASMINE) เป็นดอกไม้ประจำ ชาติของประเทศฟิลิปปินส์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1934 ดอกพุดแก้ว มีกลีบดอกรูปดาวสีขาวทีบ่ านตลอดทัง้ ปี โดยจะแย้มดอกในตอน กลางคืนและส่งกลิน่ หอมประมาณหนึง่ วัน สำหรับชาวฟิลปิ ปินส์ ดอกไม้ชนิดนี้เป็นสัญลักษณ์ของความบริสุทธิ์ ความเรียบง่าย ความอ่อนน้อมถ่อมตนและความเข้มแข็ง กลิ่นหอมหวลของ ดอกพุดแก้ว ถูกนำมากล่าวขานในตำนานเรื่องเล่าและบทเพลง ของประเทศฟิลิปปินส์ โดยมีความเชื่อว่าดอกพุดแก้วนี้ถูกนำมา จากแถบเทือกเขาหิมาลายา ในศตวรรษที่ 17
สิงคโปร์
ดอกกล้วยไม้ตระกูลแวนด้า (VANDA MISS JOAQUIM) เป็นดอกกล้วยไม้สมี ว่ งซึง่ เป็นทีร่ จู้ กั มากทีส่ ดุ ในประเทศสิงคโปร์ โดยตั้งชื่อตามผู้ผสมพันธุ์ ด้วยรูปลักษณ์ที่สวยงามและยังบาน ตลอดปี ทำให้ดอกไม้ชนิดนีถ้ กู คัดเลือกให้เป็นดอกไม้ประจำชาติ ของประเทศสิงคโปร์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1981
ไทย
ดอกราชพฤกษ์หรือดอกคูน (Golden Shower tree or Ratchaphrek) ชาวไทยถือว่าสีเหลืองของดอกไม้ชนิดนี้ คือสี ของพระพุทธศาสนาและความรุ่งโรจน์ อีกทั้งยังเป็นสัญลักษณ์ ของความสามัคคีปรองดอง ดอกราชพฤกษ์จะเริม่ บานตัง้ แต่เดือน กุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคม ขณะผลิ บ านลำต้ น จะทิ ้ ง ใบ เหลือเพียงดอกสีเหลืองอร่าม ดอกราชพฤกษ์เป็นที่รู้จักทั่วไป ในประเทศไทยและปลูกอย่างแพร่หลายตามข้างถนน 142
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
เวียดนาม
143
GENERAL INFORMATION ON ASEAN MEMBER STATES
ดอกบัวสีชมพู (PINK LOTUS FLOWER) เป็นดอกไม้ที่ได้รับ การคัดเลือกจากชาวเวียดนามให้เป็นดอกไม้ประจำชาติ ดอกบัว ถือเป็น 1 ใน 4 ดอกไม้และพืชที่มีความสง่างามประกอบไปด้วย ต้นสน ต้นไผ่ และดอกเบญจมาศ ดอกบัวเป็นที่รู้จักในนาม “ดอกไม้แห่งรุ่งอรุณ” พบได้ทั่วไปตามแหล่งน้ำของประเทศ เวียดนาม สำหรับชาวเวียดนามแล้ว ดอกบัว คือสัญลักษณ์ของ ความบริสทุ ธิ์ ความผูกพัน และการมองโลกในแง่ดี ความสง่างาม ของดอกบัวมักถูกกล่าวถึงในบทกลอนและเพลงพื้นเมืองของ ประเทศเวียดนาม
ประเทศไทยกับอาเซียน
One Vision, One Identity, One Community
คำ�นำ� การบรรลุ เ ป้ า หมายของการเป็ น ประชาคมอาเซี ย นในปี ๒๕๕๘ นั้น ประชาชนในชาติต้องรับรู้เข้าใจ และให้การสนับสนุน ดั ง นั้ น การสร้ า งความตระหนั ก รู ้ เ กี่ ย วกั บ อาเซี ย นและความรู ้ สึ ก ของการเป็นประชาคม จึงเป็นสิ่งที่ส�ำคัญ กรมประชาสัมพันธ์ในฐานะ หน่วยงานด้านสนเทศอาเซียนของประเทศไทย ซึ่งมีภารกิจที่ส�ำคัญ ในการเผยแพร่ ค วามรู ้ เ รื่ อ งอาเซี ย นสู ่ ป ระชาชนในทุ ก ภาคส่ ว นของ ประเทศ จึงได้จัดพิมพ์หนังสือเล่มนี้ขึ้นมาโดยรวบรวมข้อมูลของอาเซียน ในด้านต่าง ๆ ที่ประชาชนควรรู้ ได้แก่ ข้อมูลพื้นฐานของประเทศ อาเซียน แผนการสื่อสารของอาเซียน แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยง ระหว่างกันในอาเซียน และที่ส�ำคัญคือแผนงานแห่งชาติส�ำหรับการ ก้าวสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ซึ่งได้ก�ำหนดเป้าหมายและมาตรการ ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องน�ำไปปฏิบัติ คณะผู้จัดท�ำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ ต่อผู้อ่านในการสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียน และการเตรียม ความพร้อมก่อนการก้าวสู่ประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ได้อย่าง สมบูรณ์และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อไป
ส�ำนักการประชาสัมพันธ์ต่างประเทศ กรมประชาสัมพันธ์ เมษายน 2555
สารบัญ 3
คำ�นำ� บทที่ 1 กำ�เนิดอาเซียนและวัตถุประสงค์ สัญลักษณ์ของอาเซียน
เพลงประจำ�อาเซียน กฎบัตรอาเซียน กลไกการบริหารของอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียน ประเทศคู่เจรจาอาเซียน
5 10 10 13 20 22 70
บทที่ 2 ประเทศไทยกับอาเซียน
105
บทที่ 3 สู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
115 117
- ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political - Security Community) - ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) - ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio - Cultural Community) - แผนงานแห่งชาติส�ำหรับการก้าวสู่การเป็น ประชาคมอาเซียนในปี 2558
119 121 124
บทที่ 4 การสร้างความเชื่อมโยงในอาเซียน
161
บรรณานุกรม
199
คณะผู้จัดทำ�
200
1
กำ�เนิดอาเซียนและวัตถุประสงค์
ประเทศไทยกับอาเซียน
5
ก�ำเนิดอาเซียนและวัตถุประสงค์ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียน (Association of South East Asian Nations : ASEAN) ก่อตั้ง ขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok Declaration) ลงนามโดย รัฐมนตรีจาก 5 ประเทศ ได้แก่ นายอาดัม มาลิก รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ตุน อับดุล ราซัก บิน ฮุสเซน รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ ประเทศมาเลเซีย นายนาซิโซ รามอส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐฟิลปิ ปินส์ นายเอส ราชารัตนัม รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการ ต่างประเทศ สาธารณรัฐสิงคโปร์ และพันเอก (พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการต่างประเทศ ราชอาณาจักรไทย เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความ เข้าใจอันดีต่อกันระหว่างประเทศในภูมิภาค ธ�ำรงไว้ซึ่งสันติภาพ เสถียรภาพ และความมัน่ คงปลอดภัยทางการเมือง สร้างสรรค์ความ เจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม การกินดีอยูด่ บี นพืน้ ฐานของความเสมอภาคและผลประโยชน์รว่ มกัน จากเจตจ�ำนงทีส่ อดคล้องกันนีน้ �ำไปสูก่ ารขยายสมาชิกภาพ โดยบรูไน ดารุสซาลาม ได้เข้าเป็นสมาชิกในล�ำดับที่ 6 เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2527 สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เข้าเป็นสมาชิกล�ำดับที่ 7 เมือ่ วันที่ 28 กรกฎาคม 2538 สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์เข้าเป็นสมาชิกพร้อมกัน เมือ่ วันที่ 23 กรกฎาคม 2540 และราชอาณาจักรกัมพูชา เข้าเป็น สมาชิก ล�ำดับที่ 10 เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2542 ท�ำให้ปัจจุบัน อาเซียนมีสมาชิกรวมทั้งหมด 10 ประเทศ
6
ประเทศไทยกับอาเซียน
ปฏิญญากรุงเทพฯ ได้ระบุวัตถุประสงค์ส�ำคัญ 7 ประการ ของการจัดตั้งอาเซียน ได้แก่ (1) ส่งเสริมความร่วมมือและ ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ และการบริหาร (2) ส่งเสริมสันติภาพ และความมั่นคงส่วนภูมิภาค (3) เสริมสร้างความเจริญรุ่งเรือง ทางเศรษฐกิจ พัฒนาการทางวัฒนธรรมในภูมิภาค (4) ส่งเสริม ให้ ป ระชาชนในอาเซี ย นมี ค วามเป็ น อยู ่ แ ละคุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี (5) ให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในรูปของการฝึกอบรมและ การวิจัย และส่งเสริมการศึกษาด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (6) เพิ่มประสิทธิภาพของการเกษตรและอุตสาหกรรม การขยาย การค้า ตลอดจนการปรับปรุงการขนส่งและการคมนาคม และ (7) เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอกองค์การความ ร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่น ๆ และองค์การระหว่างประเทศ
ประเทศไทยกับอาเซียน
7
นโยบายการด�ำเนินงานของอาเซียนจะเป็นผลจากการประชุม หารือในระดับหัวหน้ารัฐบาล ระดับรัฐมนตรี และเจ้าหน้าที่อาวุโส อาเซียน ทัง้ นีก้ ารประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) หรือ การ ประชุมของผูน้ �ำประเทศสมาชิกอาเซียนเป็นการประชุมระดับสูงสุดเพือ่ ก�ำหนดแนวนโยบายในภาพรวมและเป็นโอกาสที่ประเทศสมาชิก ได้ร่วมกันประกาศเป้าหมายและแผนงานของอาเซียนในระยะยาว ซึ่งจะปรากฏเป็นเอกสารในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ แผนปฏิบัติการ (Action Plan) แถลงการณ์ร่วม (Joint Declaration) ปฏิญญา (Declaration) ความตกลง (Agreement) หรืออนุสญ ั ญา (Convention) ส่วนการประชุมในระดับรัฐมนตรีและเจ้าหน้าทีอ่ าวุโสจะเป็นการประชุม เพื่อพิจารณาทั้งนโยบายในภาพรวมและนโยบายเฉพาะด้าน
8
ประเทศไทยกับอาเซียน
อาเซียนได้ลงนามร่วมกันในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือใน อาเซียน ฉบับที่ 2 (Declaration of ASEAN Concord II หรือ Bali Concord II) เพื่อประกาศจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ภายในปี 2563 หรือ ค.ศ. 2020 โดยสนับสนุน การรวมตัวและความร่วมมืออย่างรอบด้าน ในด้านการเมือง ให้ จัดตั้ง “ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน” หรือ ASEAN Political-Security Community (APSC) ด้านเศรษฐกิจให้จดั ตัง้ “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” หรือ ASEAN Economic Community (AEC) และด้านสังคมและวัฒนธรรมให้จัดตั้ง “ประชาคมสังคมและ วัฒนธรรมอาเซียน” หรือ ASEAN Socio-Cultural Community (ASCC) ซึ่งต่อมาผู้น�ำอาเซียนได้เห็นชอบให้เร่งรัดการรวมตัวเป็น ประชาคมอาเซียนให้เร็วขึ้นกว่าเดิมอีก 5 ปี คือภายในปี 2558 หรือ ค.ศ. 2015 โดยได้เล็งเห็นว่าสถานการณ์โลกเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว อาเซียนจ�ำเป็นต้องปรับตัวเพือ่ ให้สามารถคงบทบาทน�ำ ในการด�ำเนินความสัมพันธ์ในภูมิภาคและตอบสนองความต้องการ ของประชาชนได้อย่างแท้จริง
ประเทศไทยกับอาเซียน
9
สัญลักษณ์และธงของอาเซียน
สัญลักษณ์ของอาเซียนเป็นรวงข้าวสีเหลือง 10 มัด หมายถึง การที่ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศ รวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็นน�้ำหนึ่งใจเดียวกัน อยู่ในพื้นที่ วงกลม สีแดง สีขาว และน�้ำเงิน ซึ่งแสดงถึงความเป็นเอกภาพ มี ตัวอักษรค�ำว่า “asean” สีน�้ำเงิน อยู่ใต้ภาพรวงข้าวอันแสดงถึง ความมุ่งมั่นที่จะท�ำงานร่วมกันเพื่อความมั่นคง สันติภาพ เอกภาพ และความก้าวหน้าของประเทศสมาชิกอาเซียน สีทั้งหมดที่ปรากฏ ในสัญลักษณ์ของอาเซียนเป็นสีส�ำคัญที่ปรากฏในธงชาติของแต่ละ ประเทศสมาชิกอาเซียน สีน�้ำเงิน หมายถึง สันติภาพและความ มั่นคง สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและความก้าวหน้า สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ และสีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง
เพลงประจ�ำอาเซียน (ASEAN Anthem)
การจัดท�ำเพลงประจ�ำอาเซียน เป็นการด�ำเนินการตามข้อ 40 ของกฎบัตรอาเซียนที่ก�ำหนดให้อาเซียน “มีเพลงประจ�ำอาเซียน” ในปี 2551 ประเทศไทยได้รับความไว้วางใจจากประเทศ สมาชิกอาเซียน ให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันเพลงประจ�ำอาเซียน ซึง่ ได้จดั เป็นการแข่งขันแบบเปิดให้ประชาชนในประเทศสมาชิกอาเซียน ที่สนใจส่งเพลงของตนเองเข้าประกวด (open competition) โดยมี หลักเกณฑ์ 5 ประการ ได้แก่ 1. มีเนื้อร้องเป็นภาษาอังกฤษ 2. มีลักษณะเป็นเพลงชาติประเทศสมาชิกอาเซียน
10
ประเทศไทยกับอาเซียน
3. มีความยาวไม่เกิน 1 นาที 4. เนื้อร้องสะท้อนความเป็นหนึ่งเดียวของอาเซียนและ ความหลากหลายทางด้านวัฒนธรรมและเชื้อชาติ 5. เป็นเพลงที่แต่งขึ้นใหม่ กระทรวงการต่างประเทศ เป็นเจ้าภาพจัดการประกวดแข่งขัน เพลงประจ�ำอาเซียนในระดับภูมิภาค การแข่งขันรอบแรกมีขึ้นเมื่อ วันที่ 16 ตุลาคม 2551 ที่โรงแรม Pullman Bangkok King Power มีกรรมการจากประเทศสมาชิกอาเซียนประเทศละ 1 คน ในส่วนของประเทศไทย ฯพณฯ องคมนตรี พล.ร.อ.อัศนี ปราโมช ได้ให้เกียรติรับเป็นกรรมการฝ่ายไทยและท�ำหน้าที่ประธานการ ประชุมคัดเลือกเพลง คณะกรรมการได้คัดเลือกเพลงจ�ำนวน 10 เพลง จาก 99 เพลงทีส่ ง่ เข้าประกวดจากทุกประเทศสมาชิกอาเซียน (เป็นเพลงทีแ่ ต่งโดยชาวไทย 11 เพลง) และการแข่งขันรอบตัดสินมี ขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2551 คณะกรรมการตัดสินประกอบ ด้วยกรรมการชุดเดิมจากอาเซียนจ�ำนวน 10 คน และจากนอก อาเซียนอีก 3 คน คือ ประเทศญี่ปุ่น สาธารณรัฐประชาชนจีน และ เครือรัฐออสเตรเลีย ที่ประชุมมีมติเป็นเอกฉันท์เลือกเพลง ASEAN Way ของไทยที่แต่งโดย นายกิตติคุณ สดประเสริฐ (ท�ำนองและ เรียบเรียง) นายส�ำเภา ไตรอุดม (ท�ำนอง) และ นางพะยอม วลัยพัชรา (เนื้อร้อง) ให้เป็นเพลงประจ�ำอาเซียน และได้ใช้บรรเลงอย่างเป็น ทางการในพิธีเปิดการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2552 การมีเพลงประจ�ำอาเซียนถือว่ามีความส�ำคัญต่ออาเซียนเป็น อย่างยิ่ง ซึ่งจะช่วยสนับสนุนการเสริมสร้างอัตลักษณ์ของอาเซียน อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ การเชือ่ มโยงประชาชนของรัฐสมาชิกอาเซียน เข้าไว้ด้วยกัน และการที่ไทยได้รับความไว้วางใจจากประเทศสมาชิก อาเซียนให้เป็นเจ้าภาพจัดการประกวดแข่งขันเพลงประจ�ำอาเซียน รวมทัง้ เพลงจากไทยได้รบั คัดเลือกให้เป็นเพลงประจ�ำอาเซียน ถือเป็น เกียรติภูมิของประเทศ และแสดงถึงความสามารถของคนไทยด้วย ประเทศไทยกับอาเซียน
11
12 ประเทศไทยกับอาเซียน
12
ประเทศไทยกับอาเซียน
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)
ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อปี 2550 ที่ สาธารณรัฐสิงคโปร์ ผู้น�ำอาเซียนได้ลงนามในกฎบัตรอาเซียน ซึ่ง เปรียบเสมือนธรรมนูญของอาเซียนที่จะวางกรอบทางกฎหมายและ โครงสร้างองค์กร เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพของอาเซียนในการด�ำเนินการ ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การขับเคลื่อน การรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนภายในปี 2558 ตามทีผ่ นู้ �ำอาเซียน ได้ตกลงกันไว้ โดยวัตถุประสงค์ของกฎบัตรคือ ท�ำให้อาเซียนเป็น องค์กรที่มีประสิทธิภาพ มีประชาชนเป็นศูนย์กลางและเคารพ กฎกติกาในการท�ำงานมากขึ้น นอกจากนี้ กฎบัตรอาเซียนจะมี สถานะเป็นนิตบิ คุ คลแก่อาเซียนในฐานะทีเ่ ป็นองค์กรระหว่างรัฐบาล (Intergovernmental Organization) จุดเด่นประการหนึง่ ของกฎบัตรอาเซียน คือ การทีข่ อ้ บทต่าง ๆ ถูกก�ำหนดขึ้นเพื่อให้อาเซียนเป็นองค์กรที่ประชาชนเข้าถึงและ เอื้อประโยชน์ต่อประชาชนในประเทศสมาชิกมากยิ่งขึ้น กฎบัตร อาเซียนประกอบด้วยบทบัญญัติ 13 บท รวม 55 ข้อย่อย อาจ สรุปบทบัญญัติที่ส�ำคัญของกฎบัตรอาเซียนได้ ดังนี้ บทที่ 1 เป้าหมายและหลักการ (Purposes and Principles) ระบุเป้าหมายของอาเซียนและหลักการด�ำเนินความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ สมาชิก ได้แก่ เป้าหมายการส่งเสริมสันติภาพ เสถียรภาพ ความสามารถ ในการแข่งขันของภูมภิ าค ความกินดีอยูด่ ขี องประชาชน ความมัน่ คง ของมนุษย์ การส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรม การลดช่องว่างของการพัฒนาการส่งเสริมประชาธิปไตย การเคารพสิทธิมนุษยชน การพัฒนาอย่างยั่งยืน สิ่งแวดล้อม การศึกษา ยาเสพติด การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน เป็นต้น ส่วนหลักการ
ประเทศไทยกับอาเซียน
13
ได้แก่ เรือ่ งอ�ำนาจอธิปไตย การไม่แทรกแซงกิจการภายใน หลักนิตธิ รรม และธรรมาภิบาล และการเคารพความแตกต่าง เป็นต้น บทที่ 2 สถานะบุคคล (Legal Personality) ให้อาเซียนมี สถานะบุคคลตามกฎหมาย บทที่ 3 สมาชิกภาพ (Membership) ก�ำหนดกฎเกณฑ์และ กระบวนการในการรับสมาชิกใหม่ เช่น ต้องเป็นประเทศที่อยู่ใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และได้รับการรับรองจากประเทศ สมาชิกอาเซียนและต้องยินยอมผูกพันตามกฎบัตรและสามารถปฏิบตั ิ ตามพันธกรณีของรัฐสมาชิก รวมทั้งก�ำหนดสิทธิและหน้าที่ของรัฐ สมาชิกไว้กว้าง ๆ คือรัฐสมาชิกจะมีสิทธิและหน้าที่ตามที่ก�ำหนดไว้ ในกฎบัตรและความตกลงต่าง ๆ ของอาเซียน รวมถึงหน้าที่ในการ ออกกฎหมายภายในเพื่อรองรับพันธกรณีด้วย บทที่ 4 องค์กรของอาเซียน (Organs) ประกอบด้วย 1. ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) เป็น องค์กรสูงสุดในการก�ำหนดนโยบายและมีการประชุมปีละ 2 ครั้ง 2. คณะมนตรีประสานงานอาเซียน (ASEAN Coordinating Council) ประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ ประเทศสมาชิกอาเซียน ท�ำหน้าทีเ่ ตรียมการประชุมสุดยอดอาเซียน ประสานงานระหว่าง 3 เสาหลัก เพื่อความเป็นบูรณาการในการ ด�ำเนินงานของอาเซียน และแต่งตั้งรองเลขาธิการอาเซียน 3. คณะมนตรีประชาคมอาเซียน (ASEAN Community Councils) ส�ำหรับ 3 เสาหลักของประชาคมอาเซียน ประกอบ ด้วยผู้แทนที่แต่ละประเทศสมาชิกแต่งตั้งเพื่อท�ำหน้าที่ประสานงาน และติดตามการด�ำเนินงานตามแนวนโยบายของผู้น�ำทั้งในเรื่องที่ อยูภ่ ายใต้เสาหลักของตน และเรือ่ งทีเ่ ป็นประเด็นทีเ่ กีย่ วข้องกับสาม เสาหลัก และเสนอรายงานและข้อเสนอแนะในเรื่องที่อยู่ภายใต้การ ดูแลของตนต่อผู้น�ำ
14
ประเทศไทยกับอาเซียน
4. องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา (ASEAN Sectoral Ministerial Bodies) จัดตั้งโดยที่ประชุมสุดยอดอาเซียน 5. ส�ำนักเลขาธิการอาเซียน (ASEAN Secretariat) อยู่ ภายใต้บังคับบัญชาของเลขาธิการอาเซียน (Secretary - General of ASEAN) 6. คณะผู้แทนถาวรประจ�ำอาเซียน (Committee of Permanent Representatives (CPR) to ASEAN) ที่กรุงจาการ์ตา โดยประเทศสมาชิกจะแต่งตัง้ ผูแ้ ทนระดับเอกอัครราชทูตเพือ่ ท�ำหน้าที่ เป็นคณะผู้แทนถาวรประจ�ำอาเซียน ที่กรุงจาการ์ตา 7. ส�ำนักเลขาธิการอาเซียนแห่งชาติ (ASEAN National Secretariats) จัดตั้งโดยประเทศสมาชิกแต่ละประเทศ 8. องค์กรสิทธิมนุษยชนของอาเซียน (ASEAN Human Rights Body - AHRB) มีหน้าที่ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ในภูมิภาค 9. มูลนิธอิ าเซียน (ASEAN Foundation) มีหน้าทีส่ นับสนุน เลขาธิการอาเซียนและประสานงานกับองค์กรอื่น ๆ ของอาเซียน บทที่ 5 องค์กรที่มีความสัมพันธ์กับอาเซียน (Entities Associated with ASEAN) ให้อาเซียนสามารถมีปฎิสมั พันธ์กบั องค์กร ต่าง ๆ ทีส่ นับสนุนหลักการและวัตถุประสงค์ของอาเซียนตามรายชือ่ ในภาคผนวกของกฎบัตรได้ โดยภาคผนวกจะแบ่งประเภทองค์กร ดังกล่าวเป็น 5 ประเภท ได้แก่ 1) องค์กรรัฐสภา คือ สมัชชา รัฐสภาอาเซียน (ASEAN Inter - Parliamentary Assembly - AIPA) 2) องค์กรภาคธุรกิจ 3) องค์กรภาคประชาสังคมทีไ่ ด้รบั การรับรอง โดยอาเซียน 4) กลุ่ม Think Tank และองค์กรด้านการศึกษา และ 5) องค์กรอื่น ๆ โดยให้อ�ำนาจเลขาธิการอาเซียนในการปรับปรุง ภาคผนวกตามข้อเสนอแนะของคณะผู้แทนถาวรประจ�ำอาเซียน
ประเทศไทยกับอาเซียน
15
บทที่ 6 เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูต (Immunities and Privileges) ระบุหลักการกว้าง ๆ ในการให้เอกสิทธิ์และความ คุ้มกันทางการทูตแก่ 1) ส�ำนักเลขาธิการอาเซียนและองค์กรอื่น ๆ ของอาเซียน 2) เลขาธิการอาเซียนและเจ้าหน้าทีข่ องส�ำนักเลขาธิการ อาเซียน และ 3) ผู้แทนถาวรของรัฐสมาชิก ณ กรุงจาการ์ตา และ ผูแ้ ทนของรัฐสมาชิกทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรมของอาเซียน เช่น เดินทางไป ประชุม เป็นต้น โดยรายละเอียดให้เป็นไปตามข้อตกลงแยกต่างหาก จากกฎบัตร บทที่ 7 กระบวนการตัดสินใจ (Decision-making) หลัก ทั่วไป คือ ฉันทามติ (Consensus) แต่มีข้อยกเว้นได้แก่ 1) กรณีที่ ไม่มแี นวทางมติ อาจส่งเรือ่ งให้ผนู้ �ำตกลงกันว่าจะใช้วธิ กี ารใดตัดสิน 2) กรณีที่มีข้อตกลงอื่น ๆ ของอาเซียนอนุญาตให้ใช้วิธีการอื่น ตัดสินใจได้ เช่น ปัจจุบนั มีสนธิสญ ั ญาว่าด้วยเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ให้ใช้คะแนนเสียง 2 ใน 3 ได้ และ 3) กรณีทมี่ กี ารละเมิดพันธกรณีตามกฎบัตรอย่างร้ายแรง ผูน้ �ำ มีอ�ำนาจตัดสินใจด้วยวิธีการใด ๆ ตามที่จะตกลงกันเพื่อก�ำหนด มาตรการลงโทษ นอกจากนี้ ยังให้มีความยืดหยุ่นในการผูกพัน ตามข้อตกลงต่าง ๆ โดยใช้สูตรอาเซียน ลบ X (ASEAN minus X) ส�ำหรับความตกลงทางเศรษฐกิจ ซึง่ หมายความว่าหากประเทศสมาชิก ทุกประเทศมีฉนั ทามติเกีย่ วกับเรือ่ งนัน้ ๆ แล้ว ประเทศทีย่ งั ไม่พร้อม ก็อาจเลือกที่จะยังไม่เข้าร่วมได้ บทที่ 8 การระงับข้อพิพาท (Settlement of Disputes) 1) ก�ำหนดในหลักการให้มีกลไกระงับข้อพิพาท (Dispute Settlement Mechanism - DSM) ส�ำหรับทุกเสาหลัก 2) ใช้การปรึกษาหารือ และการเจรจาในการระงับข้อพิพาทเป็นอันดับแรก 3) ให้คู่พิพาท สามารถเลือกใช้กระบวนการไกล่เกลีย่ โดยอาจขอให้ประธานอาเซียน หรือเลขาธิการอาเซียนเป็นผู้ไกล่เกลี่ยได้ 4) หากความตกลงเฉพาะ
16
ประเทศไทยกับอาเซียน
ก�ำหนด DSM ไว้แล้ว ก็ให้ใช้ DSM นัน้ 5) หากข้อขัดแย้งไม่เกีย่ วข้อง กับความตกลงของอาเซียนฉบับใดให้ใช้กลไกคณะอัครมนตรีทจี่ ดั ตัง้ โดย สนธิสญ ั ญาไมตรีและความร่วมมือในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 6) หากไม่อาจหาข้อยุตใิ นข้อขัดแย้งได้ อาจยกเรือ่ งให้ทปี่ ระชุมสุดยอด อาเซียนตัดสิน 7) ให้เลขาธิการอาเซียนติดตามตรวจสอบการปฎิบตั ิ ตามค�ำแนะน�ำ/ ค�ำตัดสินจาก DSM ของประเทศสมาชิก และจัดท�ำ รายงานเสนอผูน้ �ำ 8) ก�ำหนดให้น�ำเรือ่ งการไม่ปฎิบตั ติ ามค�ำแนะน�ำ/ ค�ำตัดสินจาก DSM ให้ผู้น�ำพิจารณา และ 9) กฎบัตรไม่ตัดสิทธิ ของประเทศสมาชิกที่จะใช้รูปแบบการระงับข้อพิพาทตามกฎบัตร สหประชาชาติหรือกฎหมายระหว่างประเทศอื่น บทที่ 9 งบประมาณและการเงิน (Budget and Finance) ให้ความส�ำคัญกับการบริหารจัดการงบประมาณทีเ่ ป็นไปตามมาตรฐาน สากลและสามารถตรวจสอบได้ และก�ำหนดเรื่องงบการบริหาร งานของส�ำนักเลขาธิการอาเซียน ซึ่งรัฐสมาชิกจะจ่ายเงินสนับสนุน เท่า ๆ กันตามที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และสามารถรับเงินสนับสนุน จากประเทศคู่เจรจาได้ แต่จะต้องไม่มีเงื่อนไขพิเศษ ทั้งนี้ กฎบัตร มิได้ระบุเรื่องกองทุนพิเศษต่าง ๆ เพื่อการด�ำเนินการของอาเซียน อาทิ การด�ำเนินกิจกรรมความร่วมมือ การลดช่องว่างการพัฒนา ฯลฯ เพราะเป็นเรื่องที่จะต้องมีการศึกษาและก�ำหนดวิธีระดมทุนที่ เหมาะสมต่อไป บทที่ 10 การบริหารงานและกระบวนการ (Administration and Procedure) 1) ก�ำหนดให้ประธานของทีป่ ระชุมสุดยอดอาเซียน คณะมนตรีประสานงานอาเซียน คณะมนตรีประชาคมอาเซียน และ คณะผู้แทนถาวรประจ�ำอาเซียน ตลอดจนองค์กรระดับรัฐมนตรี อาเซียนเฉพาะสาขาและองค์กรเจ้าหน้าทีอ่ าวุโสตามทีเ่ หมาะสมมาจาก ประเทศเดียวกัน (Single Chairmanship) เพือ่ ส่งเสริมให้การท�ำงาน เป็นเอกภาพและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน 2) การเพิ่มบทบาท
ประเทศไทยกับอาเซียน
17
ประธานในการ (ก) เป็นผู้ส่งเสริมผลประโยชน์ของอาเซียนและเป็น ผู้ผลักดันการสร้างประชาคมอาเซียน (ข) เป็นผู้ส่งเสริมความเป็น ศูนย์กลางของอาเซียนในแง่การน�ำนโยบายของอาเซียนเข้าไปผนวก ไว้ในนโยบายระดับชาติของรัฐสมาชิก และการส่งเสริมบทบาทของ อาเซียนในการด�ำเนินความสัมพันธ์กบั ประเทศภายนอกภูมภิ าค และ (ค) ท�ำให้อาเซียนสามารถจัดการวิกฤตการณ์และสถานการณ์เร่งด่วน ที่มีผลกระทบต่ออาเซียนได้อย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ บทที่ 11 อัตลักษณ์และสัญลักษณ์ของอาเซียน (Identity and Symbols) ก�ำหนดให้อาเซียน มีหน้าที่ในการส่งเสริม 1) อัตลักษณ์ ซึง่ หมายถึงการสร้างความรูส้ กึ ในการเป็นเจ้าของอาเซียน ในหมู่ประชาชนและ 2) สัญลักษณ์ ได้แก่ ค�ำขวัญ (วิสัยทัศน์เดียว อัตลักษณ์เดียว ประชาคมเดียว) ธงและดวงตราอาเซียน วันอาเซียน (วันที่ 8 สิงหาคม ของทุกปี) และเพลงอาเซียน บทที่ 12 ความสัมพันธ์กบั ภายนอก (External Relations) มีหลักการส�ำคัญ ดังนี้ 1) ให้อาเซียนเป็นผู้ผลักดันหลักในการรวม กลุม่ ระดับภูมภิ าคทีอ่ าเซียนริเริม่ ขึน้ และเน้นการเป็นศูนย์กลางของ อาเซียนในโครงสร้างความสัมพันธ์ระดับภูมภิ าค 2) ให้ประเทศสมาชิก พยายามหาท่าทีร่วมในเวทีระหว่างประเทศต่าง ๆ 3) ก�ำหนดให้ ประเทศผู้ประสานงาน (Country Coordinators) มีหน้าที่ประสาน งานความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจาหรือองค์กร ระหว่างประเทศอืน่ โดยมีคณะกรรมการอาเซียนในประเทศที่ 3 หรือ องค์กรระหว่างประเทศ (ASEAN Committees in Third Countries and International Organizations) เป็นผู้สนันสนุนการท�ำงาน โดยเฉพาะการส่งเสริมความสัมพันธ์กับประเทศที่คณะกรรมการ นั้นตั้งอยู่ 4) ให้รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนในฐานะองค์กรความ ร่วมมือเฉพาะสาขาเป็นผู้ดูแลความสอดคล้องและความเป็นอันหนึ่ง อันเดียวกันของการด�ำเนินความสัมพันธ์ภายนอกของอาเซียน
18
ประเทศไทยกับอาเซียน
5) ให้อ�ำนาจคณะมนตรีประสานงานอาเซียนแต่เพียงองค์กรเดียว ในการก�ำหนดสถานะความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการกับประเทศ หรือองค์กรภายนอก โดยที่ประชุมรัฐมนตรีอื่น ๆ สามารถเชิญ ประเทศหรือองค์กรภายนอกเข้าร่วมกิจกรรมได้เป็นครั้งคราว และ 6) ให้การรับรองเอกอัครราชทูตที่ประเทศอื่นแต่งตั้งให้เป็นผู้แทน ประจ�ำอาเซียน บทที่ 13 บทบัญญัตทิ วั่ ไปและบทบัญญัตสิ ดุ ท้าย (General and Final Provisions) ก�ำหนดเรื่องพันธกรณีของประเทศสมาชิก ในการปฏิบัติตามพันธกรณีภายใต้กฎบัตร และความตกลงต่าง ๆ ของอาเซียน การมีผลใช้บงั คับของกฎบัตรเมือ่ ทุกประเทศให้สตั ยาบัน การภาคยานุวัติของประเทศสมาชิกใหม่ ซึ่งเป็นที่เข้าใจว่าจะเปิดให้ เฉพาะประเทศติมอร์เลสเตเท่านั้น การแก้ไขกฎบัตร การทบทวน กฎบัตร 5 ปีหลังจากกฎบัตรมีผลใช้บังคับหรือตามที่ผู้น�ำก�ำหนด การตีความกฎบัตร ตามกฎการด�ำเนินงานที่ก�ำหนดโดยคณะมนตรี ประสานงานอาเซียน การก�ำหนดให้ความตกลงอาเซียนที่มีอยู่ใน ปัจจุบันมีผลใช้บังคับต่อไปและให้กฎบัตรมีผลเหนือกว่าความตกลง ในกรณีที่มีความขัดแย้งกัน กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของอาเซียน กฎบัตรอาเซียนมีผลใช้บงั คับตัง้ แต่วนั ที่ 15 ธันวาคม 2551 กล่าวคือ หลังจากทีป่ ระเทศสมาชิกครบทัง้ 10 ประเทศ ได้ให้สตั ยาบัน กฎบัตร และการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 ระหว่างวันที่ 28 กุมภาพันธ์ − 1 มีนาคม 2552 ที่จังหวัดเพชรบุรี ประเทศไทย เป็นการประชุมระดับผู้น�ำอาเซียนครั้งแรกหลังจากกฎบัตรมีผล บังคับใช้
ประเทศไทยกับอาเซียน
19
กลไกการบริหารของอาเซียน (Organ) กลไกระดับอาเซียน การประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) คณะมนตรีประสานงานอาเซียน (ASEAN Coordinating Council : ACC) คณะมนตรีประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political - Security Community Council)
คณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (ASEAN Economic Community Council)
คณะมนตรีประชาคมสังคมและ วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio - Cultural Community Council)
การประชุม รมต./ จนท.อาวุโส อาเซียนเฉพาะด้าน
การประชุม รมต./จนท.อาวุโส อาเซียนเฉพาะด้าน
การประชุม รมต./จนท.อาวุโส อาเซียนเฉพาะด้าน
คณะกรรมการประสานงานการเชื่อมโยงกันในภูมิภาคอาเซียน (ASEAN Connectivity Coordinating Committee: ACCC)
การติดตามความคืบหน้าระดับอาเซียน กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ประชาคมการเมืองและ ความมั่นคงอาเซียน
ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน
ประชาคมสังคมและ วัฒนธรรมอาเซียน
APSC Blueprint
AEC Blueprint
ASCC Blueprint
AEC Scorecard
อยูร่ ะหว่างท�ำ ASCC Scorecard
แผนแม่บทว่าด้วยความเชือ่ มโยงระหว่างกันในอาเซียน (Master Plan on ASEAN Connectivity) การท�ำ Scorecard และ Matrix of Implementation
20
ประเทศไทยกับอาเซียน
กลไกระดับประเทศ กลไกระดับคณะกรรมการอาเซียนแห่งชาติ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเป็นประธาน) คณะกรรมการด�ำเนินการเพื่อ จัดตั้งประชาคมการเมืองและ ความมั่นคงอาเซียน
คณะอนุกรรมการด�ำเนินการตาม แผนงานไปสู่การเป็นประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน
คณะกรรมการส�ำหรับคณะ มนตรีประชาคมสังคมและ วัฒนธรรมอาเซียน
คณะอนุกรรมการว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน
การติดตามความคืบหน้าระดับประเทศ แผนงานแห่งชาติส�ำหรับการก้าวสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 ภายใต้การก�ำกับดูแลของคณะกรรมการแห่งชาติ แผนงานระดับกระทรวง
ภารกิจเร่งด่วน การเตรียมความพร้อมภายในประเทศ การเตรียมความพร้อมส่วน ราชการ
การด�ำเนินการ อย่างเข้มข้นเพื่อ สร้างประชาคม และในการมี ปฏิสัมพันธ์ กับภายนอก
ปรับโครงสร้าง ส่วนราชการเพื่อ รองรับประชาคม อาเซียน
ผลักดันการสร้างประชาคมอาเซียน ให้อยู่ในร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11
ฝึกอบรม ข้าราชการให้มี ความพร้อม
การสร้างความตระหนักรู้และ เตรียมความพร้อม
ในภาค การศึกษา
ประเทศไทยกับอาเซียน
ในภาค ประชาชน
21
ประเทศสมาชิกอาเซียน (ข้อมูล ณ เมษายน 2555) บรูไนดารุสซาลาม
บรูไนฯ เป็นสมาชิกอาเซียน เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2527 ข้อมูลทั่วไป มีชื่อเป็นทางการว่า เนการาบรูไนดารุสซาลาม (Negara Brunei Darussalam) ตัง้ อยูบ่ นเกาะบอร์เนียว มีนำ�้ มันดิบและก๊าซธรรมชาติ มีความต้องการน�ำเข้าสินค้าเกษตรและแรงงาน มีนักท่องเที่ยวที่มี ก�ำลังซือ้ สูง และส่งเสริม Medical Tourism เริม่ พิจารณาขยายการค้า การลงทุนในธุรกิจทีห่ ลากหลายในภูมภิ าคต่าง ๆ เพิม่ มากขึน้ ซึง่ เป็น โอกาสส�ำหรับไทยในการเพิม่ การค้า การลงทุนกับบรูไนฯ และร่วมกัน เข้าไปลงทุนในประเทศที่สามมากขึ้น พื้นที่ 5,765 ตารางกิโลเมตร เมืองหลวง บันดาร์เสรีเบกาวัน ประชากร 414,000 คน (พ.ศ. 2553)
22
ประเทศไทยกับอาเซียน
ภาษา มาเลย์ เป็นภาษาราชการ รองลงมาเป็นภาษาอังกฤษและภาษาจีน ศาสนา อิสลาม (ร้อยละ 67) พุทธ (ร้อยละ 13) คริสต์ (ร้อยละ 10) และ ฮินดู (ร้อยละ 10) วันชาติ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ วันสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย วันที่ 1 มกราคม 2527 การปกครอง ระบอบกษัตริย์ มีสมเด็จพระราชาธิบดีเป็นประมุขของรัฐและเป็น นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีกลาโหม และรักษาการรัฐมนตรีการคลังด้วย อากาศ อากาศโดยทั่วไปค่อนข้างร้อนชื้น มีปริมาณฝนตกค่อนข้างมาก อุณหภูมิเฉลี่ย 28 องศาเซลเซียส สกุลเงิน ดอลลาร์บรูไน (เงินดอลลาร์บรูไนมีมลู ค่าเท่ากับเงินดอลลาร์สงิ คโปร์ และสามารถใช้แทนกันได้) ข้อมูลเศรษฐกิจ บรูไนฯ ส่งออกน�้ำมันถึงร้อยละ 90 รายได้ประชากรต่อหัว
ประเทศไทยกับอาเซียน
23
25,200 ดอลลาร์สหรัฐ แต่น�้ำมันส�ำรองจะเหลืออยู่อีกประมาณ 25 ปี หากไม่พบแหล่งน�ำ้ มันใหม่ในอนาคต จึงเริม่ กระจายการผลิต และส่งเสริมอุตสาหกรรมอืน่ ๆ เช่น สินค้าเกษตร ประมง และเสือ้ ผ้า นอกเหนือจากการผลิตน�้ำมัน ทรัพยากรธรรมชาติ น�้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติ ผลิตภัณฑ์ส่งออกหลัก น�้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติ ผลิตภัณฑ์น�ำเข้าที่ส�ำคัญ เครื่องจักรอุตสาหกรรม รถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า สินค้าเกษตร อาทิ ข้าวและผลไม้ ตลาดส่งออกที่ส�ำคัญ ญี่ปุ่น อาเซียน เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย ตลาดน�ำเข้าที่ส�ำคัญ อาเซียน สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ความสัมพันธ์ระหว่างไทย – บรูไนดารุสซาลาม ไทยสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับบรูไนฯ เมือ่ วันที่ 1 มกราคม 2527 ทั้งสองฝ่ายมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดและมีทัศนคติที่ดีต่อกัน มีการแลกเปลี่ยนการเยือนระดับราชวงศ์และผู้น�ำระดับสูงอย่าง สม�่ำเสมอ และเป็นพันธมิตรในเรื่องต่าง ๆ ทั้งในกรอบอาเซียนและ กรอบสหประชาชาติ
24
ประเทศไทยกับอาเซียน
ด้านการเมืองและความมั่นคง ไทยและบรูไนฯ มีทศั นะทางด้านการทหารและความมัน่ คงทีส่ อดคล้อง กันและมีการแลกเปลี่ยนการเยือนระหว่างผู้น�ำระดับสูงของกองทัพ ของทั้งสองประเทศ ด้านเศรษฐกิจ/การค้า บรูไนฯ ก�ำลังพยายามเปลี่ยนแปลงจากเศรษฐกิจที่พึ่งพาน�้ำมัน เป็นหลัก ไปสูก่ ารปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจทีม่ คี วามหลากหลาย มากขึ้น จากเดิมที่เน้นนโยบายให้สวัสดิการมาเป็นการส่งเสริมการ ลงทุนจากต่างประเทศ และแปรรูปรัฐวิสาหกิจต่าง ๆ โดยให้เอกชน เข้ามามีส่วนร่วม บรูไนฯ เป็นคู่ค้าล�ำดับที่ 9 ของไทย ในอาเซียน และอันดับที่ 71 ในระดับโลก สินค้าทีบ่ รูไนฯ ส่งออกมาประเทศไทย ได้แก่ สินค้าเหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ สินค้าส่งออกของ ประเทศไทย คือ ข้าว หม้อแปลงไฟฟ้าและส่วนประกอบ ปูนซิเมนต์ ผลิตภัณฑ์เซรามิก และผลิตภัณฑ์กระดาษ ด้านการท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวบรูไนฯ เดินทางมาท่องเที่ยวในไทยเป็นนักท่องเที่ยว ที่มีการใช้จ่ายสูงและมีศักยภาพ ด้านสังคม วัฒนธรรมและการศึกษา ไทยและบรูไนฯ ได้รว่ มลงนามในบันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือ ในทวิภาคีดา้ นสารสนเทศและการกระจายเสียงและภาพเพือ่ เป็นการ ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือด้านข้อมูลข่าวสารและประชาสัมพันธ์ การแลกเปลีย่ นรายการวิทยุ โทรทัศน์และสือ่ สิง่ พิมพ์ทมี่ สี าระ ตลอดจน การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร อันจะส่งผลให้เกิดความเข้าใจอันดี ระหว่างประชาชนของทั้งสองประเทศ
ประเทศไทยกับอาเซียน
25
ด้านการศึกษา ปัจจุบันมีนักศึกษาไทยที่ไปเรียนในมหาวิทยาลัยบรูไนฯ ทั้งโดยทุน รัฐบาลไทยและบรูไนฯ และมีนักศึกษามุสลิมจากจังหวัดชายแดน ภาคใต้ที่ได้รับทุนจากทางการบรูไนฯ ให้ไปเรียนทางด้านรัฐศาสตร์ และการศาสนา ซึ่งมีทั้งหญิงและชาย แต่ก็มีนักศึกษาหลายคนที่ บริษัทเอกชนในประเทศไทยส่งไปเรียนวิชาทั่วไป ข้อควรรู ้ - สินค้าที่ขัดกับข้อก�ำหนดฮาลาล ได้แก่ เนื้อไก่สด/แช่แข็ง (ทีไ่ ม่ได้เชือดโดยชาวมุสลิม) สินค้าทีข่ ดั กับประเพณี และขนบธรรมเนียม อันดีงาม ได้แก่ ภาพและสิ่งพิมพ์ลามกอนาจาร เป็นต้น สินค้าที่ขัด กับหลักข้อปฏิบตั ขิ องศาสนาอิสลาม เช่น เครือ่ งดืม่ ผสมแอลกอฮอล์ และสินค้าที่ขัดกับกฎหมายระหว่างประเทศต่าง ๆ เช่น กฎหมายที่ ให้ความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา เช่น สินค้าปลอม รวมทั้ง สินค้าที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานด้านสุขอนามัย - สตรีชาวบรูไนฯ จะแต่งกายมิดชิด นุ่งกระโปรงยาว เสือ้ แขนยาวและมีผา้ โพกศีรษะ คนต่างชาติ จึงไม่ควรนุง่ กระโปรงสัน้ และใส่เสื้อไม่มีแขน ควรหลีกเลี่ยงเสื้อผ้าสีเหลืองเพราะถือเป็น สีของพระมหากษัตริย์ - การทักทายจะจับมือกันเบา ๆ และสตรีจะไม่ยนื่ มือให้บรุ ษุ จับ การใช้นวิ้ ชีไ้ ปทีค่ นหรือสิง่ ของถือว่าไม่สภุ าพ แต่จะใช้หวั แม่มอื ชีแ้ ทน และจะไม่ใช้มือซ้ายในการส่งของให้ผู้อื่น สตรีเวลานั่งจะไม่ให้เท้าชี้ ไปทางผู้ชายและไม่ส่งเสียงหรือหัวเราะดัง
26
ประเทศไทยกับอาเซียน
ราชอาณาจักรกัมพูชา
กัมพูชา เป็นสมาชิกอาเซียนเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2542 ข้อมูลทั่วไป มีชอื่ เป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) มีความส�ำคัญในเชิงยุทธศาสตร์ตอ่ ประเทศไทยในทุก ๆ ด้าน เนือ่ งจาก มีพรมแดนทางบกติดต่อกันยาว 798 กิโลเมตร และมีพื้นที่ทับซ้อน ทางทะเลประมาณ 26,000 ตารางกิโลเมตร จึงเป็นปัจจัยทีก่ อ่ ให้เกิด ทัง้ “โอกาส” และ “ปัญหา” รวมทัง้ เป็นแหล่งวัตถุดบิ ตลาดการค้า และแหล่งลงทุนที่ส�ำคัญของไทย ทั้งสองประเทศจึงควรร่วมมือกัน อย่างใกล้ชิด เพื่อมุ่งไปสู่การเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์และทาง เศรษฐกิจเพือ่ ผลประโยชน์รว่ มกันในอนาคต นอกจากนีย้ งั เป็นจุดเชือ่ มโยง ทางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวที่ส�ำคัญระหว่างไทยและลาว พื้นที ่ 181,035 ตารางกิโลเมตร เมืองหลวง กรุงพนมเปญ
ประเทศไทยกับอาเซียน
27
ประชากร 14.14 ล้านคน (พ.ศ. 2553) ภาษา เขมรเป็นภาษาราชการ ส่วนภาษาที่ใช้โดยทั่วไป ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส เวียดนาม จีน และไทย ศาสนา พุทธ (นิกายเถรวาท) อิสลาม และคริสต์ วันชาติ วันที่ 9 พฤศจิกายน วันสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย วันที่ 19 ธันวาคม 2493 การปกครอง ระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข อากาศ ร้อนชื้น มีฤดูฝนยาวนาน อุณหภูมิโดยเฉลี่ย 20 - 36 องศาเซลเซียส สกุลเงิน เรียล ข้อมูลเศรษฐกิจ รัฐบาลกัมพูชาให้ความส�ำคัญอย่างสูงสุดต่อการก�ำหนดยุทธศาสตร์
28
ประเทศไทยกับอาเซียน
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เพือ่ มุง่ ขจัดความยากจน ยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนโดยเฉพาะใน พื้นที่ชนบทให้ดีขึ้น ผลิตภัณฑ์ส่งออกหลัก เสื้อผ้า สิ่งทอ รองเท้า ปลา ไม้ ยางพารา และข้าว ผลิตภัณฑ์น�ำเข้าส�ำคัญ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม บุหรี่ ทองค�ำ วัสดุก่อสร้าง เครื่องจักรยาน พาหนะและยา ตลาดส่งออกที่ส�ำคัญ สหรัฐอเมริกา เยอรมนี สหราชอาณาจักร แคนาดา และเวียดนาม ตลาดน�ำเข้าที่ส�ำคัญ จีน ฮ่องกง เวียดนาม ไทย ไต้หวัน ความสัมพันธ์ระหว่างไทย - กัมพูชาด้านการเมืองและความมัน่ คง ผู้น�ำไทยกับกัมพูชามีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดและมีการแลกเปลี่ยน การเยือนระหว่างกันอย่างสม�่ำเสมอ ซึ่งมีส่วนช่วยให้ความร่วมมือ ระหว่างสองประเทศด�ำเนินไปอย่างราบรืน่ และสามารถแก้ไขปัญหา และอุปสรรคต่าง ๆ ได้แต่ยังคงมีประเด็นปัญหาที่ต้องร่วมมือแก้ไข เช่น การปักปันเขตแดน เป็นต้น ด้านเศรษฐกิจ/การค้า/การลงทุน การลงทุนของไทยในกัมพูชาสูงเป็นล�ำดับ 5 การลงทุนทีส่ �ำคัญของไทย
ประเทศไทยกับอาเซียน
29
คือ ด้านการเกษตร ด้านอุตสาหกรรมและภาคบริการ เช่น โรงแรม ท่องเที่ยว ร้านอาหาร และธุรกิจโทรคมนาคม เป็นต้น ด้านสังคม วัฒนธรรมและการศึกษา ไทยกับกัมพูชามีความคล้ายคลึงกันทางด้านศิลปวัฒนธรรมอย่างมาก จึงเป็นเรือ่ งง่ายทีร่ ฐั บาลทัง้ สองฝ่ายจะใช้ความร่วมมือด้านวัฒนธรรม เป็นสื่อกลาง ได้มีการจัดตั้งคณะกรรมาธิการร่วมไทย – กัมพูชา เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านวัฒนธรรมและใช้เป็นกลไกในการ กระชับความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนของทัง้ สองประเทศ และยังได้ จัดตั้งคณะอนุกรรมการด้านวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และการ ท่องเที่ยว เพื่อผลักดันความร่วมมือในแต่ละสาขาด้วย นอกจากนี้ ไทยกับกัมพูชาได้รว่ มลงนามในบันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือ ด้านสารสนเทศและการกระจายเสียง ด้านแรงงาน ไทยกับกัมพูชาได้จัดท�ำบันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือใน การจ้างแรงงาน และบันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือในการ ขจัดการค้าเด็กและผู้หญิงและการช่วยเหลือเหยื่อจากการค้ามนุษย์ เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2546 เพื่อจัดระเบียบและแก้ไขปัญหา แรงงานข้ามแดนโดยผิดกฎหมายชาวกัมพูชาในไทยรวมทั้งป้องกัน และปราบปรามขบวนการค้ามนุษย์
30
ประเทศไทยกับอาเซียน
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย เป็นสมาชิกผูก้ อ่ ตัง้ อาเซียน เมือ่ วันที่ 8 สิงหาคม 2510 ข้อมูลทั่วไป มีชอื่ เป็นทางการว่า สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) เป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และมีประชากร มุสลิมมากที่สุดในโลก มีทรัพยากรธรรมชาติมาก (น�้ำมัน ถ่านหิน ทองค�ำ สัตว์น�้ำ) เป็นแหล่งประมงที่ใหญ่ที่สุดของไทย มีบทบาทสูง ในกลุ่ม NAM และ OIC พื้นที่ 5,193,250 ตารางกิโลเมตร เมืองหลวง กรุงจาการ์ตา ประชากร 243 ล้านคน (พ.ศ. 2553) ภาษา อินโดนีเซีย เป็นภาษาราชการ
ประเทศไทยกับอาเซียน
31
ศาสนา อิสลาม (ร้อยละ 85.2) คริสต์นิกายโปรแตสแตน (ร้อยละ 8.9) คริสต์นิกายโรมันคาทอลิก (ร้อยละ 3) ฮินดู (ร้อยละ 1.8) พุทธ (ร้อยละ 0.8) ศาสนาอื่น ๆ (ร้อยละ 0.3) วันชาติ วันที่ 17 สิงหาคม วันสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย วันที่ 7 มีนาคม 2493 การปกครอง ระบอบประชาธิปไตย มีประธานาธิบดีเป็นผู้น�ำของประเทศ (วาระ การบริหารประเทศ 5 ปี และต่อได้อีก 1 วาระ) มีการแบ่งอ�ำนาจ ระหว่างประธานาธิบดีและสภาผูแ้ ทนราษฎรและเป็นการปกครองใน ระบบสาธารณรัฐแบบ Unitary Republic ซึ่งมีการปกครองตนเอง ในบางพื้นที่ (Provincial Autonomy) อากาศ แบบป่าฝนเขตร้อน มี 2 ฤดูคือ ฤดูแล้งและฤดูฝน อุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 21 – 33 องศาเซลเซียส สกุลเงิน รูเปียห์
32
ประเทศไทยกับอาเซียน
ข้อมูลเศรษฐกิจ อินโดนีเซียมีการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศคิดเป็นมูลค่ารวม ประมาณ 10,349.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยประเทศผูล้ งทุนทีส่ �ำคัญ ในอินโดนีเซีย 10 อันดับแรก เมื่อพิจารณาจากมูลค่าการลงทุน คือ สิงคโปร์ อังกฤษ เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ไต้หวัน ซีเชล เมอริเชียส มาเลเซีย ออสเตรเลีย และบราซิล ไทยเป็นประเทศผูล้ งทุนอันดับที่ 15 ของอินโดนีเซีย มีมูลค่าการลงทุนประมาณ 63 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทรัพยากรส�ำคัญ น�้ำมัน ถ่านหิน สัตว์น�้ำ อุตสาหกรรมหลัก น�้ำมันและก๊าซธรรมชาติ สิ่งทอ เสื้อผ้า รองเท้า เหมืองแร่ ผลิตภัณฑ์น�ำเข้าที่ส�ำคัญ น�้ำมัน เหล็ก ท่อเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็ก สิ่งทอ เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ส่งออกที่ส�ำคัญ ก๊าซธรรมชาติ แร่ธาตุ ถ่านหิน ผลิตภัณฑ์จากไม้ สิ่งทอ ตลาดส่งออกที่ส�ำคัญ สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา จีน
ประเทศไทยกับอาเซียน
33
ตลาดน�ำเข้าที่ส�ำคัญ สิงคโปร์ ญี่ปุ่น จีน สหรัฐอเมริกา ความสัมพันธ์ระหว่างไทย – อินโดนีเซีย ไทยมีความสัมพันธ์กับดินแดนที่เป็นอินโดนีเซียในปัจจุบันมาช้านาน โดยเฉพาะความสัมพันธ์กบั ชวา และ มีการแลกเปลีย่ นทางวัฒนธรรม กันอย่างลึกซึ้ง ทั้งทางวรรณคดี อาหาร เครื่องแต่งกาย และเครื่อง ดนตรี เป็นต้น ด้านการทูต ไทยและอินโดนีเซียได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตเมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2493 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทัง้ สองด�ำเนินไปได้ ด้วยดี มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจและ สังคม ทั้งในระดับทวิภาคีและกรอบพหุภาคีโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความร่วมมือในกรอบอาเซียน นอกจากนี้ ยังมีการแลกเปลี่ยน การเยือนในระดับต่าง ๆ อย่างสม�่ำเสมอ ด้านการเมืองและความมั่นคง ทั้งไทยและอินโดนีเซียมีประเพณีการแลกเปลี่ยนการเยือนของ ผู้น�ำทางทหาร โดยผู้น�ำทางทหาร ของทั้งสองประเทศจะเดินทาง ไปท�ำความรู้จักกันในโอกาสเข้ารับต�ำแหน่งใหม่ และเยี่ยมอ�ำลา ในโอกาสพ้นจากต�ำแหน่ง
34
ประเทศไทยกับอาเซียน
ด้านเศรษฐกิจ/การค้า ไทยและอินโดนีเซียมีกลไกความร่วมมือในรูปของคณะกรรมาธิการ ร่วมว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการ (JC) ข้อควรรู ้ - ไม่ควรใช้มอื ซ้ายในการรับ - ส่งของ หรือรับประทานอาหาร คนมุสลิมอินโดนีเซียถือว่ามือซ้าย ไม่สภุ าพ ไม่จบั ศีรษะคนอินโดนีเซีย รวมทั้งการลูบศีรษะเด็ก - การครอบครองยาเสพติด อาวุธ หนังสือรูปภาพอนาจาร มีบทลงโทษหนัก อาทิ การน�ำเข้าและครอบครองยาเสพติด มีโทษ ถึงประหารชีวิต นอกจากนั้น ยังมีบทลงโทษรุนแรงเกี่ยวกับการค้า และส่งออกพืชและสัตว์กว่า 200 ชนิด จึงควรตรวจสอบก่อนซือ้ หรือ น�ำพืชและสัตว์ออกนอกประเทศ
ประเทศไทยกับอาเซียน
35
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
ลาวเป็นสมาชิกอาเซียนเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2540 ข้อมูลทั่วไป มีชื่อเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (Lao People’s Democratic Republic) เป็นประเทศเพือ่ นบ้านทีม่ คี วาม ใกล้ชิดกับไทยทั้งในเชิงประวัติศาสตร์ ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ เชื้อชาติ ศาสนา ภาษา และวัฒนธรรม มีเขตแดนติดต่อกับประเทศไทย ทัง้ ทางบกและทางน�ำ้ ถึง 1,810 กิโลเมตร พัฒนาการต่าง ๆ ในลาว จึงส่งผลกระทบต่อไทยและการก�ำหนดนโยบายของไทยต่อภูมภิ าคอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ รวมทั้งเป็นแหล่งป้อนวัตถุดิบ แหล่งพลังงานส�ำรอง และแหล่งลงทุนของไทย เพื่อการผลิตสินค้าส่งออกไปยังประเทศที่ สามที่ให้สิทธิพิเศษทางการค้าแก่ลาว นอกจากนี้เป็นประเทศที่ไม่มี ทางออกทางทะเล แต่สามารถเป็นจุดเชื่อมต่อ (Land Bridge หรือ Land Link) ด้านการคมนาคมขนส่งและการส่งออกสินค้าของไทย ไปยังประเทศที่สามในอนุภูมิภาค พื้นที่ 236,800 ตารางกิโลเมตร
36
ประเทศไทยกับอาเซียน
เมืองหลวง นครหลวงเวียงจันทน์ ประชากร 6 ล้านคน ภาษา ลาว ศาสนา พุทธ (ร้อยละ 75) อื่นๆ (ร้อยละ 25) วันชาติ วันที่ 2 ธันวาคม วันสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย วันที่ 19 ธันวาคม 2493 การปกครอง ระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ (ทางการลาวใช้ค�ำว่าระบอบประชาธิปไตย ประชาชน) โดยพรรคการเมืองเดียว คือพรรคประชาชนปฏิวัติลาว ซึ่งเป็นองค์กรที่มีอ�ำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ มีประธาน ประเทศเป็นประมุข และนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาล นโยบาย ต่างประเทศมุง่ สร้างเสริมความสัมพันธ์แบบรอบด้านกับทุกประเทศ
ประเทศไทยกับอาเซียน
37
โดยให้ความส�ำคัญกับประเทศเพื่อนบ้ านเป็นล�ำดับแรก ได้แก่ เวียดนาม จีน เมียนมาร์ กัมพูชา และไทย รองลงมาเป็นประเทศ ร่วมอุดมการณ์ ได้แก่ รัสเซีย เกาหลีเหนือ และคิวบา อากาศ ลักษณะภูมอิ ากาศของลาวคล้ายกับภาคเหนือและภาคอีสานของไทย แต่ฤดูหนาวมีอากาศหนาวมากกว่า พื้นที่ทางภาคใต้และทาง ตอนกลางของประเทศเป็นบริเวณที่มีฝนตกชุกมากกว่าภาคเหนือ สกุลเงิน กีบ ข้อมูลเศรษฐกิจ การเพาะปลูก ภาคเกษตรกรรม มีพื้นที่เพาะปลูก 1,187,500 ไร่ และผลิตข้าวได้ 2.6 ล้านตัน/ปี ผลิตภัณฑ์ส่งออกที่ส�ำคัญ ไม้ซุง ไม้แปรรูป ผลิตภัณฑ์ไม้ เศษโลหะ ถ่านหิน เสื้อผ้าส�ำเร็จรูป ผลิตภัณฑ์น�ำเข้าที่ส�ำคัญ รถจักรยานยนต์ และส่วนประกอบ เครือ่ งใช้ไฟฟ้า เครือ่ งอุปโภคบริโภค ตลาดส่งออกที่ส�ำคัญ ไทย เวี ย ดนาม ฝรั่ ง เศส ญี่ ปุ ่ น เยอรมนี สหรั ฐ อเมริ ก า สหราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์
38
ประเทศไทยกับอาเซียน
ตลาดน�ำเข้าที่ส�ำคัญ ไทย จีน เวียดนาม สิงคโปร์ ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย เยอรมนี ความสัมพันธ์ระหว่างไทย - ลาว ด้านการทูต ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับลาวในปัจจุบันด�ำเนินไปอย่างราบรื่น ใกล้ชิด ทั้งสองฝ่ายได้ใช้กลไกและเวทีความร่วมมือในด้านต่าง ๆ ที่จัดตั้งขึ้นทั้งในกรอบทวิภาคีและพหุภาคีผลักดันความร่วมมือและ แก้ไขปัญหา เพื่อหาทางออกร่วมกันอย่างสันติวิธี ด้านการเมืองและความมั่นคง กองทัพไทยและลาวมีความสัมพันธ์ที่ดีทั้งในระดับส่วนกลางและ ท้องถิ่นมีความตกลงว่าด้วยความร่วมมือด้านความมั่นคงบริเวณ ชายแดนไทย - ลาว ระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมกับ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงป้องกันประเทศ ตัง้ แต่เดือนตุลาคม 2546 เพื่อเป็นกรอบในการปฏิบัติงานให้ชายแดนไทย - ลาวเป็นชายแดน แห่งมิตรภาพ สันติภาพ และความมั่นคง นอกจากนี้ทั้งสองฝ่าย ยังมีความร่วมมือด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ซึง่ มีการ ประชุมว่าด้วยความร่วมมือด้านยาเสพติดเป็นประจ�ำทุกปี ด้านเศรษฐกิจ/การค้า การค้าระหว่างประเทศทัง้ สองมีมลู ค่าเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ไทยเป็น ประเทศที่ลงทุนในลาวมากที่สุด นอกจากนี้ไทยได้ให้สิทธิพิเศษด้าน ภาษีศุลกากรในการน�ำเข้าสินค้าเกษตรจากลาว ทั้งในรูปของการ ให้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรแก่ประเทศสมาชิกอาเซียนใหม่ และ
ประเทศไทยกับอาเซียน
39
ยกเว้นอากรขาเข้าสินค้าในลักษณะ one way free trade หลายร้อย รายการตั้งแต่ปี 2547 จนถึงปัจจุบัน ด้านการท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวไทยไปลาวเพิ่มขึ้นร้อยละ 60 และนักท่องเที่ยวลาว มาไทยเพิ่มขึ้นร้อยละ 78.84 ด้านสังคม วัฒนธรรมและการศึกษา ไทยให้ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการกับลาว ตัง้ แต่ปี 2516 โดยเน้นด้านการพัฒนาบุคลากรในลักษณะการให้ทุนการศึกษา ทุนฝึกอบรม ดูงาน และโครงการพัฒนาในสาขาการเกษตร การศึกษา และสาธารณสุข ทัง้ สองฝ่ายยังมีความร่วมมือด้านแรงงาน ทัง้ การจ้างแรงงาน การคุม้ ครองแรงงาน และการแก้ปญ ั หาแรงงาน ต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง
40
ประเทศไทยกับอาเซียน
ประเทศมาเลเซีย (Malaysia)
มาเลเซียเป็นสมาชิกผู้ก่อตั้งอาเซียนเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 ข้อมูลทั่วไป มาเลเซียมุ่งเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี 2563 หรือ (Vision 2020) และมีแผนพัฒนาต่อเนื่อง (Mission 2057) เป็นแนวทาง พัฒนาประเทศจนถึงปี 2600 มีบทบาทส�ำคัญในองค์การการประชุม อิสลาม (OIC) และต้องการเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจการค้าของ OIC ภายในปี 2552 โดยใช้ศักยภาพด้านการบริหารธนาคารอิสลาม และอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล ในปี 2550 นักท่องเที่ยวมาเลเซีย มาไทยมากเป็นอันดับหนึ่ง และเป็นคู่ค้าส�ำคัญของไทยในอาเซียน พื้นที่ 329,758 ตารางกิโลเมตร เมืองหลวง กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประชากร 27.73 ล้านคน
ประเทศไทยกับอาเซียน
41
ภาษา มาเลย์ ศาสนา อิสลาม (ร้อยละ 60) พุทธ (ร้อยละ 19) คริสต์ (ร้อยละ 12) วันชาติ วันที่ 31 สิงหาคม วันสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย วันที่ 31 สิงหาคม 2500 การปกครอง ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา ปัจจุบันประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ ประมุขแห่งรัฐมีต�ำแหน่งเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี อยู่ในต�ำแหน่ง คราวละ 5 ปี นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาลสหพันธรัฐ และ มุขมนตรีแห่งรัฐ เป็นหัวหน้ารัฐบาลแห่งรัฐ อากาศ มีอากาศร้อนชื้นแถบศูนย์สูตร อยู่ในอิทธิพลของลมมรสุม สกุลเงิน ริงกิต ข้อมูลเศรษฐกิจ การเพาะปลูก เป็นประเทศที่ผลิตยางพาราที่ส�ำคัญของโลก และ ข้าวเจ้าปลูกมากบริเวณที่ราบลุ่มแม่น�้ำทั้ง 2 ด้าน
42
ประเทศไทยกับอาเซียน
ผลิตภัณฑ์ส่งออกที่ส�ำคัญ อุปกรณ์ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ น�้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติเหลว ปิโตรเลียม เฟอร์นิเจอร์ ยาง น�้ำมันปาล์ม ผลิตภัณฑ์น�ำเข้าที่ส�ำคัญ ชิ้นส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องจักรอุตสาหกรรม สินค้าแปรรูป สินค้าอาหาร ตลาดส่งออกที่ส�ำคัญ สหรัฐอเมริกา สิงคโปร์ ญี่ปุ่น จีน ไทย ฮ่องกง ตลาดน�ำเข้าที่ส�ำคัญ ญี่ปุ่น จีน สิงคโปร์ สหรัฐอเมริกา ไต้หวัน ไทย ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับมาเลเซีย ด้านการทูต นอกจากสถานเอกอัครราชทูตไทยในกรุงกัวลาลัมเปอร์แล้ว ไทย ยังมีสถานกงสุลใหญ่ ในมาเลเซียอีก 2 แห่ง คือ ปีนัง และ โกตาบารู และมีสถานกงสุลกิตติมศักดิ์เกาะลังกาวี อีก 1 แห่ง ส�ำหรับหน่วยงานของส่วนราชการต่าง ๆ ซึง่ ตั้งส�ำนักงานอยูภ่ ายใต้ สถานเอกอัครราชทูตไทย ได้แก่ ส�ำนักงานผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร ส�ำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ส�ำนักงานแรงงาน ส่วน หน่วยงานของไทยอืน่ ๆ ทีต่ งั้ ส�ำนักงานในมาเลเซียคือการท่องเทีย่ ว แห่งประเทศไทยบริษัทการบินไทย ส�ำหรับหน่วยงานของมาเลเซีย ในไทยได้แก่ สถานเอกอัครราชทูตมาเลเซีย และสถานกงสุลใหญ่ มาเลเซียประจ�ำจังหวัดสงขลา
ประเทศไทยกับอาเซียน
43
ด้านการเมืองและความมั่นคง ไทยและมาเลเซียมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดและแน่นแฟ้น มีการ แลกเปลี่ยนการเยือนทั้งเป็นทางการและไม่เป็นทางการในระดับ ต่าง ๆ ตั้งแต่ระดับพระราชวงศ์ชั้นสูง ระดับรัฐบาล และเจ้าหน้าที่ อย่างสม�ำ่ เสมอ แต่ยงั คงมีประเด็นปัญหาทีต่ อ้ งร่วมมือกันแก้ไข เช่น ปัญหาการปักปันเขตแดนทางบก ปัญหาบุคคลสองสัญชาติ และ การก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย เป็นต้น ด้านเศรษฐกิจ/การค้า การค้าระหว่างไทยกับมาเลเซียในปี 2550 มีมูลค่า 16,408 ล้าน ดอลลาร์สหรัฐ ไทยขาดดุลการค้า 826.50 ล้านดอลลาร์สหรัฐ สินค้า ส่งออกที่ส�ำคัญของไทย ได้แก่ เครื่องส�ำอาง เครื่องคอมพิวเตอร์ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ แผงวงจรไฟฟ้า ยางพารา สินค้าน�ำเข้าที่ส�ำคัญจากมาเลเซีย ได้แก่ น�้ำมันดิบและแร่เชื้อเพลิง เคมีภัณฑ์ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบเคมีภัณฑ์ เครื่องจักรไฟฟ้า และส่วนประกอบ ในปี 2550 นักลงทุนมาเลเซีย ได้รบั อนุมตั โิ ครงการลงทุนจากส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการ ลงทุนเพิ่มขึ้นร้อยละ 53 ส่วนใหญ่เป็นการลงทุนด้านอุปกรณ์และ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ด้านการท่องเที่ยว ในปี 2550 นักท่องเทีย่ วมาเลเซียเดินทางมาประเทศไทย 1.2 ล้านคน และนักท่องเทีย่ วชาวไทยเดินทางไปมาเลเซียประมาณ 600,000 คน ด้านสังคม วัฒนธรรมและการศึกษา ไทยกับมาเลเซียมีความใกล้ชิดกันในระดับท้องถิ่น ประชาชนทั้งสอง ฝ่ายไปมาหาสู่กันในฐานะมิตรและเครือญาติ มีโครงการเชื่อมโยง
44
ประเทศไทยกับอาเซียน
เส้นทางคมนาคม และความร่วมมือด้านการบริหารจัดการสัญจร ข้ามแดน เพื่ออ�ำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในพื้นที่และส่งเสริม การติดต่อด้านการค้าและการท่องเที่ยว นอกจากนี้ ทั้งสองฝ่าย ยังอนุญาตให้ประชาชนทีถ่ อื สัญชาติของอีกฝ่ายหนึง่ ทีอ่ าศัยอยูใ่ นพืน้ ที่ ชายแดนใช้บัตรผ่านแดนซึ่งออกให้โดยหน่วยงานปกครองท้องถิ่น ของแต่ละประเทศแทนการใช้หนังสือเดินทางเพื่อผ่านด่านพรมแดน รวมทัง้ มีการแลกเปลีย่ นการเยือนของผูน้ �ำศาสนาอิสลาม การแลกเปลีย่ น ข้อมูลด้านการบริหาร จัดการโรงเรียนสอนศาสนาอิสลามและวิทยาลัย อิหม่าม เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านกิจการศาสนาอิสลาม มีการ ประชุมความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกันเพื่อทบทวนและติดตาม ผลการด�ำเนินงานของทั้ง 2 ประเทศ ข้อควรรู้ ประเทศมาเลเซียบัญญัตใิ นรัฐธรรมนูญให้ศาสนาอิสลามเป็นศาสนา ประจ�ำชาติ และผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามจะได้รับสิทธิพิเศษ คือ เงิน อุดหนุนทางด้านการศึกษา สาธารณสุข การคลอดบุตร งานแต่งงานและ งานศพตามนโยบาย “ภูมบิ ตุ ร” มาเลเซียมีปญ ั หาประชากรหลากหลาย เชื้อชาติ ในอดีตเคยเกิดการปะทะระหว่างเชื้อชาติ เนื่องจากการ กีดกันทางเชื้อชาติ ชาติพันธุ์ในมาเลเซียประกอบด้วย ชาวมาเลย์ กว่าร้อยละ 40 ที่เหลือกว่าร้อยละ 33 เป็นชาวจีน ร้อยละ 10 เป็นชาวอินเดีย ร้อยละ 10 เป็นชนพื้นเมืองบนเกาะบอร์เนียว ร้อยละ 5 เป็นชาวไทย และอื่น ๆ ร้อยละ 2
ประเทศไทยกับอาเซียน
45
สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์
เมียนมาร์เป็นสมาชิกอาเซียนเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2540 ข้อมูลทั่วไป มีชื่อเป็นทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ (Republic of the Union of Myanmar) มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่ง วัตถุดบิ ทรัพยากรธรรมชาติ ตลาดการค้า แรงงาน และแหล่งลงทุน ที่ส�ำคัญของไทย โดยเฉพาะด้านพลังงาน (ก๊าซและไฟฟ้าพลังน�้ำ) และเป็นทางเชื่อมสู่สาธารณรัฐประชาชนจีนและสาธารณรัฐอินเดีย เมียนมาร์เป็น “Critical Factor” ในยุทธศาสตร์ระดับภูมภิ าคของไทย ซึง่ ไทยได้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์ภายในเมียนมาร์หลายประการ อาทิ ยาเสพติด แรงงานผิดกฎหมาย ความมั่นคงบริเวณชายแดน เป็นต้น พื้นที่ 657,740 ตารางกิโลเมตร เมืองหลวง เนปิดอว์
46
ประเทศไทยกับอาเซียน
ประชากร 58.38 ล้านคน (พ.ศ. 2551 - 2552) ภาษาราชการ เมียนมาร์/พม่า ศาสนา พุทธ (ร้อยละ 89) คริสต์ (ร้อยละ 5) อิสลาม (ร้อยละ 4) และ อื่น ๆ (ร้อยละ 2) วันชาติ วันที่ 4 มกราคม วันสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย วันที่ 24 สิงหาคม 2491 การปกครอง การปกครองแบบสาธารณรัฐ มีรฐั สภาซึง่ ประกอบด้วยสภาประชาชน สภาชาติพันธุ์ และสภาท้องถิ่น โดยมี นายเต็ง เส่ง (U Thein Sein) ด�ำรงต�ำแหน่งประธานาธิบดี เป็นประมุขและหัวหน้ารัฐบาล ตั้งแต่ วันที่ 30 มีนาคม 2554 อากาศ มรสุมเมืองร้อน ด้านหน้าภูเขาอาระกันโยมา ฝนตกชุกมาก ภาคกลาง
ประเทศไทยกับอาเซียน
47
ตอนบนแห้งแล้งมาก เพราะมีภูเขากั้นก�ำบังลม ส่วนภาคตะวันออก เฉียงเหนือ อากาศค่อนข้างเย็น และค่อนข้างแห้งแล้ง สกุลเงิน จั๊ต ข้อมูลเศรษฐกิจ การเพาะปลูกเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลัก เขตเกษตรกรรมคือบริเวณ ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น�้ำอิรวดี และแม่น�้ำสะโตง ปลูกข้าวเจ้า ปอกระเจา อ้อย และพืชเมืองร้อนอื่น ๆ ผลิตภัณฑ์ส่งออกที่ส�ำคัญ ก๊าซธรรมชาติ สิ่งทอ ไม้ซุง ผลิตภัณฑ์น�ำเข้าที่ส�ำคัญ เครื่องจักรกล ใยสังเคราะห์ น�้ำมันส�ำเร็จรูป ตลาดส่งออกที่ส�ำคัญ ไทย อินเดีย จีน ตลาดน�ำเข้าที่ส�ำคัญ จีน สิงคโปร์ ไทย ความสัมพันธ์ระหว่างไทย - เมียนมาร์ ด้านการทูต ไทยและเมียนมาร์เปิดสถานเอกอัครราชทูตของทั้งสองฝ่ายเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2492 ทั้งสองประเทศมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดทั้งใน
48
ประเทศไทยกับอาเซียน
ระดับรัฐบาลและประชาชน มีการแลกเปลี่ยนการเยือนในทุกระดับ อย่างสม�่ำเสมอ ด้านการเมืองและความมั่นคง ไทยและเมียนมาร์มกี ลไกความร่วมมือทวิภาคี ได้แก่ คณะกรรมาธิการ ร่วมไทย - เมียนมาร์ (Thailand – Myanmar Joint Commission on Bilateral Cooperation – JC) คณะกรรมการเขตแดนร่วม (Joint Boundary Committee – JBC) และคณะกรรมการชายแดนส่วน ภูมภิ าค (Regional Border Committee – RBC) เพือ่ ส่งเสริมความ ร่วมมือและแก้ไขปัญหาในระดับต่าง ๆ ทัง้ ในภาพรวมและระดับพืน้ ที ่ ด้านเศรษฐกิจ/การค้า ไทยและเมียนมาร์มกี ลไกความร่วมมือในกรอบคณะกรรมาธิการร่วม ทางการค้าไทย - เมียนมาร์ (Joint Trade Commission – JTC) เพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือทางการค้าระหว่างกัน ไทยเป็นประเทศคู่ค้าอันดับ 1 ของเมียนมาร์ สินค้าส่งออกที่ส�ำคัญ ของไทย ได้แก่ ไขมันและน�้ำมันจากพืชและสัตว์ เคมีภัณฑ์ เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ และเม็ดพลาสติก สินค้าที่ไทยน�ำเข้าจาก เมียนมาร์ ได้แก่ ก๊าซธรรมชาติ ไม้ซุง ไม้แปรรูป สินแร่โลหะอื่น ๆ และเศษโลหะ เหล็ก เหล็กกล้า และถ่านหิน ด้านการลงทุน ภาค เอกชนไทยลงทุนในเมียนมาร์ ร้อยละ 17.28 ของการลงทุนจาก ต่างประเทศทั้งหมด และเป็นอันดับ 2 รองจากประเทศสิงคโปร์ ด้านการท่องเที่ยว ไทยและเมียนมาร์จัดตั้งคณะกรรมการร่วมด้านการท่องเที่ยวและ พัฒนาการท่องเทีย่ วระหว่างภาคใต้ของไทยกับเมืองทวายของเมียนมาร์
ประเทศไทยกับอาเซียน
49
ด้านสังคม วัฒนธรรมและการศึกษา ไทยและเมียนมาร์ได้ลงนามในความตกลงทางวัฒนธรรมเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2542 และมีการด�ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ เช่น โครงการอัญเชิญผ้าพระกฐินพระราชทานไปถวายแก่วดั ในเมียนมาร์ การเชิญผู้สื่อข่าวเมียนมาร์เยือนไทย การสนับสนุนการสอน ภาษาไทยในมหาวิทยาลัยภาษาต่างประเทศของเมียนมาร์ โครงการ ความร่วมมือทางวิชาการที่ไทยให้ทุนการศึกษา ทุนฝึกอบรม/ดูงาน จัดส่งวัสดุอปุ กรณ์และผูเ้ ชีย่ วชาญไปให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำในด้านต่าง ๆ ในสาขาการเกษตร การศึกษา สาธารณสุข และสาขาอืน่ ๆ ทีท่ งั้ สองฝ่าย เห็นชอบร่วมกัน นอกจากนี้ เมื่อปี 2544 รัฐบาลไทยได้ให้ความ ช่วยเหลือแก่เมียนมาร์ ในโครงการพัฒนาหมู่บ้านยองข่า รัฐฉาน โดยน�ำโครงการพัฒนาดอยตุงเป็นแบบอย่างเพื่อยกระดับความ เป็นอยูข่ องประชาชนเมียนมาร์ให้เลิกปลูกฝิน่ และปลูกพืชผลอย่างอืน่ ช่วยสร้างโรงเรียน โรงพยาบาล ด�ำเนินการด้านสาธารณสุข ฯลฯ แต่ภายหลังเมื่อมีการปลดพลเอก ขิ่น ยุ้น โครงการดังกล่าวได้ รับผลกระทบจึงหยุดชะงักไป นอกจากนี้ไทยและเมียนมาร์ได้ร่วม ลงนามในบันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือด้านสารสนเทศและ การกระจายเสียงและแพร่ภาพ
50
ประเทศไทยกับอาเซียน
สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
ฟิลิปปินส์เป็นสมาชิกผู้ก่อตั้งอาเซียนเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 ข้อมูลทั่วไป มีชื่อเป็นทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines) เป็นพันธมิตรที่ใกล้ชิดของไทยมาเป็นเวลานานและมี มุมมองยุทธศาสตร์ร่วมกันในหลายด้าน ผลักดันความร่วมมือ ในด้านการค้า พลังงาน ความมั่นคง ประสบปัญหาเสถียรภาพทาง การเมืองและเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง ประสบปัญหาจากขบวนการ มุสลิมแบ่งแยกดินแดนภาคใต้ พื้นที่ 298,170 ตารางกิโลเมตร เมืองหลวง กรุงมะนิลา ประชากร 98 ล้านคน
ประเทศไทยกับอาเซียน
51
ภาษา ตากาล็อก เป็นภาษาประจ�ำชาติ ภาษาฟิลิปปินส์และภาษาอังกฤษ เป็นภาษาราชการ ศาสนา คริสต์นิกายโรมันคาทอลิค (ร้อยละ 83) นิกายโปรเตสแตนท์ (ร้อยละ 9) อิสลาม (ร้อยละ 5) วันชาติ วันที่ 12 มิถุนายน วันสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย วันที่ 12 กันยายน 2492 การเมืองการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยในรูปแบบสาธารณรัฐ มีประธานาธิบดีเป็น ประมุขและหัวหน้าคณะบริหารประเทศ อยูใ่ นต�ำแหน่งคราวละ 6 ปี ด�ำรงต�ำแหน่งไม่เกิน 1 วาระ มีวฒ ุ สิ มาชิก 24 คนมาจากการเลือก ตั้งจากผู้มีสิทธิออกเสียงทั่วประเทศ มีวาระ 6 ปีและรัฐบาลจะจัด ให้มีการเลือกตั้งวุฒิสมาชิกจ�ำนวนครึ่งหนึ่ง (12 คน) ทุก 3 ปี อากาศ มรสุมเขตร้อน ได้รบั ความชุม่ ชืน้ จากลมมรสุมทัง้ 2 ฤดู ได้รบั ฝนจาก ลมพายุไต้ฝนุ่ และดีเปรสชัน่ บริเวณทีฝ่ นตกมากทีส่ ดุ คือเมืองบาเกียว สกุลเงิน เปโซฟิลิปปินส์
52
ประเทศไทยกับอาเซียน
ข้อมูลเศรษฐกิจ พืชเศรษฐกิจส�ำคัญ มะพร้าว อ้อย ป่านอบากา และข้าวเจ้า แร่ส่งออกส�ำคัญ เหล็ก โครไมต์ ทองแดง เงิน ผลิตภัณฑ์ส่งออกหลัก แผงวงจรไฟฟ้า รถยนต์อุปกรณ์และส่วนประกอบ น�้ำมันส�ำเร็จรูป รถจักรยานยนต์และส่วนประกอบ เม็ดพลาสติก เครื่องส�ำอาง เหล็กกล้า เคมีภณ ั ฑ์ เครือ่ งจักรกล ผลิตภัณฑ์ยางผลิตภัณฑ์พลาสติก เครื่องรับโทรทัศน์ และกระดาษ ตลาดส่งออกที่ส�ำคัญ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น จีน เนเธอร์แลนด์ ฮ่องกง สิงคโปร์ ตลาดน�ำเข้าที่ส�ำคัญ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น สิงคโปร์ ไต้หวัน จีน เกาหลีใต้ ความสัมพันธ์ระหว่างไทย – ฟิลิปปินส์ มีความสัมพันธ์ทยี่ าวนานและราบรืน่ มาโดยตลอด ฟิลปิ ปินส์นบั เป็น ประเทศแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไทยสถาปนาความสัมพันธ์ ทางการทูตด้วย ความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจ เป็นคูค่ า้ ล�ำดับที่ 5 ของไทยในกลุม่ อาเซียน รองจากสิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ในขณะที่ไทยเป็นคู่ค้าล�ำดับที่ 2 ของฟิลิปปินส์ ในกลุ่มอาเซียนรองจากสิงคโปร์
ประเทศไทยกับอาเซียน
53
ด้านความมั่นคง ฟิลิปปินส์สนับสนุนแนวทางแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ของไทยอย่างสันติ โดยเน้นการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งฟิลิปปินส์พร้อมจะให้ความสนับสนุนด้านข้อมูล ข่าวสาร และ ประสบการณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการผสมผสานหลักสูตรทาง ศาสนากับหลักสูตรสามัญและกฎหมาย ซึ่งฟิลิปปินส์ได้ด�ำเนิน การไปแล้วในระดับหนึ่ง รวมทั้งยกร่างแผนงานเพื่อส่งเสริม ความร่ ว มมื อ ในการต่ อ ต้ า นการก่ อ การร้ า ยและอาชญากรรม ข้ามชาติ และส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างศาสนาต่าง ๆ โดยการ จัดสัมมนาระหว่างศาสนากับลัทธิความเชื่อ (Interfaith Dialogue) ทั้งนี้ ไทยได้จัดท�ำบันทึกความเข้าใจระหว่างส�ำนักงานต�ำรวจ แห่งชาติ และส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติฟิลิปปินส์ ในเรื่องความ ร่วมมือป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติ ด้านการค้า/การลงทุน ไทยขอให้ฟลิ ปิ ปินส์น�ำเข้าข้าวมากขึน้ และขอให้ยกเลิกมาตรการจ�ำกัด การน�ำเข้าสินค้ากระจก โดยมีมติให้คณะกรรมาธิการร่วมด้านการค้า พิจารณาหารายละเอียดและแนวทางแก้ไขปัญหา ด้านสาธารณสุข ไทยและฟิลิปปินส์ได้หารือกันในหลายประเด็น โดยเฉพาะเรื่อง ไข้หวัดนกซึ่งทั้งสองฝ่ายห่วงกังวลเรื่องการแพร่ระบาดของโรค ในภูมภิ าค โดยพร้อมจะร่วมมือกันแลกเปลีย่ นข้อมูลและประสบการณ์ เพื่อป้องกันและสกัดกั้นการขยายตัวของโรค
54
ประเทศไทยกับอาเซียน
ด้านพลังงาน ทั้งสองฝ่ายจะเร่งรัดจัดการประชุมคณะท�ำงานร่วมด้านพลังงาน (Joint Working Group on Energy) เพื่อสร้างความร่วมมือทั้ง พลังงานทางเลือก พลังงานชีวภาพ การลงทุนด้านพลังงานไฟฟ้า และพลังงานอื่น ๆ ด้านการท่องเที่ยว ไทยและฟิลิปปินส์ได้ลงนามในความตกลงว่าด้วยความร่วมมือด้าน การท่องเที่ยว เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2536 และในการประชุม คณะกรรมาธิการร่วมว่าด้วยความร่วมมือทวิภาคีไทย - ฟิลิปปินส์ เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2550 ทั้งสองฝ่ายเห็นชอบที่จะกระชับความ สัมพันธ์ด้านการท่องเที่ยว โดยให้มีการแลกเปลี่ยนการเยือนของ ผูบ้ ริหารระดับสูง การจัดพบปะระหว่างนักธุรกิจ และการแลกเปลีย่ น บุคลากรด้านการท่องเทีย่ ว โดยเฉพาะในสาขาทีไ่ ทยมีศกั ยภาพ เช่น การท่องเที่ยวที่สนับสนุนการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วม ของชุมชน เป็นต้น
ประเทศไทยกับอาเซียน
55
สาธารณรัฐสิงคโปร์
สิงคโปร์เป็นสมาชิกผู้ก่อตั้งอาเซียนเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 ข้อมูลทั่วไป มีชอื่ เป็นทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore) มีความมัน่ คงด้านการเมืองภายในท�ำให้มคี วามต่อเนือ่ งของนโยบาย ในด้านต่าง ๆ และมีนโยบายการทูตเชิงรุก เป็นผู้น�ำของอาเซียน ประเทศหนึง่ เป็นศูนย์กลางธุรกิจด้านการค้าและบริการ โทรคมนาคม การเงินและเทคโนโลยีสารสนเทศ (ธุรกิจที่ไม่ต้องอาศัยพื้นที่หรือ ทรัพยากรธรรมชาติ) โดยมีการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานและ การโทรคมนาคมที่ทันสมัย เป็นพันธมิตรและหุ้นส่วนยุทธศาสตร์ กับไทยในการเข้าถึงและขยายโอกาสการค้าและการลงทุน มีระบบ การศึกษาและการแพทย์ที่ดีในเอเชีย มีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ที่ดีและต่อเนื่อง พื้นที่ 699.4 ตารางกิโลเมตร เมืองหลวง สิงคโปร์
56
ประเทศไทยกับอาเซียน
ประชากร 4.6 ล้านคน ภาษา มาเลย์ เป็นภาษาประจ�ำชาติ และใช้ภาษาอังกฤษ มาเลย์ จีนกลาง และทมิฬ เป็นภาษาราชการ ศาสนา พุทธ (ร้อยละ 42.5) อิสลาม (ร้อยละ 14.9) คริสต์ (ร้อยละ 14.6) ฮินดู (ร้อยละ 4) ไม่นับถือศาสนา (ร้อยละ 25) วันชาติ วันที่ 9 สิงหาคม วันสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย วันที่ 20 กันยายน 2508 การปกครอง ระบอบสาธารณรัฐ ระบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุข และ นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาล รัฐสภามีวาระคราวละ 5 ปี นโยบายต่างประเทศของสิงคโปร์ เน้นด้านเศรษฐกิจ เทคโนโลยีและ การลงทุนจากต่างประเทศ อากาศ ร้อนชื้น มีฝนตกตลอดปี อุณหภูมิเฉลี่ย 26.8 องศาเซลเซียส
ประเทศไทยกับอาเซียน
57
สกุลเงิน ดอลลาร์สิงคโปร์ ข้อมูลเศรษฐกิจ จุดแข็งของสิงคโปร์ คือ เป็นประเทศขนาดเล็ก มีประชากรเพียง 4 5 ล้านคน ท�ำให้ศักยภาพของคนเป็นจุดเด่นของประเทศ เนื่องจาก รัฐบาลสามารถทุม่ งบประมาณในการพัฒนาระบบการศึกษาได้อย่าง มีประสิทธิภาพ สิงคโปร์โดดเด่นในการเสนอแนวคิดเรือ่ งความร่วมมือ ใหม่ ๆ กับอาเซียน เช่น เสนอแผนความร่วมมือประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน ซึง่ เป็นข้อตกลงทีจ่ ะเริม่ ใช้ในปี 2563 และแนวคิดเรือ่ งการ ตกลงด้านการค้าระหว่างอาเซียน เป็นต้น พืชเศรษฐกิจที่ส�ำคัญ ยางพารา มะพร้าว ผัก ผลไม้ ผลิตภัณฑ์ส่งออกหลัก ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม เครื่องจักร ผลิตภัณฑ์น�ำเข้าที่ส�ำคัญ พลังงาน (ร้อยละ 40 ของการน�ำเข้าทั้งหมด) และอาหาร ตลาดส่งออกที่ส�ำคัญ มาเลเซีย สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ตลาดน�ำเข้าที่ส�ำคัญ มาเลเซีย สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น จีน ไต้หวัน ไทย ฮ่องกง
58
ประเทศไทยกับอาเซียน
ความสัมพันธ์ระหว่างไทย – สิงคโปร์ ด้านการทูต ความสัมพันธ์ไทย – สิงคโปร์ด�ำเนินมาอย่างราบรื่นตลอด และได้ พัฒนาไปในลักษณะ “หุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์” เนื่องจากทั้งสอง ประเทศมีจุดแข็งและมีศักยภาพที่เอื้อประโยชน์ต่อกันเป็นอย่างดี ไทยมีทรัพยากรธรรมชาติ แรงงานจ�ำนวนมากและมีพนื้ ทีก่ ว้างใหญ่ ส่วนสิงคโปร์แม้จะไม่มที รัพยากรธรรมชาติและมีพนื้ ทีน่ อ้ ย แต่มคี วาม ก้าวหน้าทางทรัพยากรมนุษย์ เทคโนโลยีและและอุตสาหกรรมใน ระดับสูง จึงได้น�ำจุดแข็งของทั้งสองประเทศมาพัฒนาร่วมกันจนน�ำ ไปสู่การส่งเสริมความสัมพันธ์และการพัฒนาที่ยั่งยืน ด้านการเมืองและความมั่นคง มีความร่วมมือทวิภาคี ทั้งการประชุมอย่างไม่เป็นทางการ (Prime Minister Retreat) ระหว่างนายกรัฐมนตรีไทยกับสิงคโปร์ เพือ่ สร้าง ความคุ้นเคยระดับผู้น�ำและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีการประชุม คณะกรรมาธิการบริหารร่วมด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศระหว่าง กองทัพไทย – สิงคโปร์ เพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์ด้านความมั่นคง ของทั้งสองประเทศ มีการจัดตั้งคณะท�ำงานร่วมกองทัพเรือไทย – สิงคโปร์ และการฝึกร่วมผสม (Cobra Gold) เป็นต้น ด้านเศรษฐกิจ/การค้า สิงคโปร์ มีความช�ำนาญเรือ่ งของระบบการค้าเสรีเป็นอย่างดีและเป็น คู่ค้าส�ำคัญอันดับ 5 ของไทย รองจากสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น จีนและ มาเลเซีย สินค้าส่งออกที่ส�ำคัญของไทย ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ น�้ำมันส�ำเร็จรูป แผนวงจรไฟฟ้าและ ส่วนประกอบอากาศยาน ด้านการลงทุน สิงคโปร์เป็นประเทศทีเ่ ข้ามา
ประเทศไทยกับอาเซียน
59
ลงทุนในไทยมากเป็นอันดับ 6 โดยมีการส่งเสริมความร่วมมือด้านสินค้า อาหารและเกษตร การขนส่งและโลจิสติกส์ และอสังหาริมทรัพย์ ด้านการท่องเที่ยว ชาวสิงคโปร์มีทัศนคติที่ดีต่อไทยและชาวไทย และมีความรู้เกี่ยวกับ ไทยในระดับดี เนือ่ งจากมีความนิยมชมชอบเดินทางเข้ามาท่องเทีย่ ว ในไทย ตลาดนักท่องเที่ยวชาวสิงคโปร์จึงเป็นหนึ่งในตลาดหลักของ การท่องเที่ยวของไทย ด้านสังคม วัฒนธรรมและการศึกษา กลไกความร่วมมือ ได้แก่ โครงการความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน ข้าราชการพลเรือนไทย – สิงคโปร์ (Thailand – Singapore Civil Service Exchange Programme - CSEP) ด้านการศึกษา มีแผนงาน เพื่อพัฒนาบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดยแลกเปลี่ยน คณาจารย์ นักวิจัย และนิสิตนักศึกษาของทั้งสองประเทศ ข้อควรรู้ หน่วยราชการเปิดท�ำการวันจันทร์ – ศุกร์ ระหว่างเวลา 08.30 น. - 13.00 น. และ 14.00 น. - 16.30 น. และวันเสาร์ เปิดท�ำการ ระหว่างเวลา 08.00 น. – 13.00 น. ผูถ้ อื หนังสือเดินทางไทยสามารถ เดิ น ทางเข้ า สิ ง คโปร์ ไ ด้ โ ดยไม่ ต ้ อ งขอรั บ การตรวจลงตราและ สามารถพ�ำนักอยูไ่ ด้ 14 วัน การพ�ำนักเกินระยะเวลาทีก่ �ำหนดถือว่า ผิดกฎหมายมีโทษจ�ำคุกสูงสุด 6 เดือน เฆีย่ น 3 ที ปรับสูงสุด 6,000 ดอลลาร์สิงคโปร์ และห้ามเข้าประเทศ การหลบหนีเข้าสิงคโปร์และ ประกอบอาชีพเร่ขายบริการผิดกฎหมาย จะถูกลงโทษอย่างรุนแรง การลักลอบน�ำยาเสพติด อาวุธปืนและสิ่งผิดกฎหมายอื่น ๆ จะได้ รับโทษอย่างรุนแรงขั้นประหารชีวิต
60
ประเทศไทยกับอาเซียน
ราชอาณาจักรไทย
ไทยเป็นสมาชิกผู้ก่อตั้งอาเซียนเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 ข้อมูลทั่วไป มีชอื่ อย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand) พื้นที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร เมืองหลวง กรุงเทพมหานคร ประชากร 64 ล้านคน ภาษาราชการ ไทย ศาสนา พุทธ (ร้อยละ 90) พราหมณ์ ฮินดู คริสต์ และอิสลาม
ประเทศไทยกับอาเซียน
61
วันชาติ วันที่ 5 ธันวาคม การเมืองการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข อากาศ แบบเขตร้อน (tropical climate) อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี ประมาณ 18 - 34 องศาเซลเซียส สกุลเงิน บาท ข้อมูลเศรษฐกิจ มูลค่าการค้าระหว่างไทย - ประเทศในอาเซียน (มกราคม – พฤศจิกายน 2551) รวมทั้งสิ้น 66,146.88 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ไทยเกินดุลการค้า 9,625.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐ สินค้าส่งออก ที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ น�้ำมันส�ำเร็จรูป รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์และส่วนประกอบ เหล็ก เหล็กกล้าและ ผลิตภัณฑ์ เคมีภัณฑ์ ยางพารา เม็ดพลาสติก สินค้าส่งออกที่ลดลง ได้แก่ แผงวงจรไฟฟ้า เครือ่ งจักรกลและส่วนประกอบของเครือ่ งจักร ส่วนประกอบอากาศยานและอุปกรณ์การบิน เครื่องใช้ไฟฟ้าและ ส่วนประกอบทองแดงและของท�ำด้วยทองแดง อุปกรณ์กึ่งตัวน�ำ ทรานซิสเตอร์และไดโอด และวงจรพิมพ์ เป็นต้น
62
ประเทศไทยกับอาเซียน
พืชเศรษฐกิจที่ส�ำคัญ ข้าว ข้าวโพด ยางพารา มันส�ำปะหลัง ผลไม้นานาชนิด เช่น เงาะ ทุเรียน สับปะรด มังคุด ลางสาด มะม่วง กล้วยหอม ส้มโอ ฯลฯ อาหาร ทะเลสดและตากแห้ง และผลิตภัณฑ์แปรรูปอื่น ๆ ประเทศไทยกับอาเซียน ไทยเป็นหนึ่งในห้าของสมาชิกผู้ก่อตั้งและเป็นจุดก�ำเนิดของอาเซียน และมีบทบาทอย่างแข็งขันในกิจกรรมของอาเซียนตลอดมา รวมทั้ง ยังมีส่วนผลักดันให้อาเซียนมีโครงการความร่วมมือในด้านต่าง ๆ ทีท่ นั การณ์และสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ระหว่าง ประเทศ อาทิ การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน การประชุมอาเซียน ว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ข้อควรรู้ ธนาคารเปิดท�ำการตัง้ แต่วนั จันทร์ – ศุกร์ ระหว่างเวลา 08.30 น. – 15.30 น. (ยกเว้นธนาคารตามห้างสรรพสินค้าที่เปิดบริการทุกวัน)
ประเทศไทยกับอาเซียน
63
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
เวียดนามเป็นสมาชิกอาเซียนเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2538 ข้อมูลทั่วไป มีชอื่ อย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam) เป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์และมีบทบาท ส�ำคัญด้านความมั่นคงในภูมิภาค เป็นตลาดใหม่ในภูมิภาคอินโดจีน การบริโภคในประเทศขยายตัวต่อเนือ่ ง ศักยภาพการผลิตสูง แรงงาน ในประเทศมีคณ ุ ภาพ และยังคงมีคา่ จ้างแรงงานต�ำ ่ ถูกจับตามองว่า จะเป็นคูแ่ ข่งทางเศรษฐกิจทีส่ �ำคัญของไทย อย่างไรก็ตาม ตัง้ แต่ชว่ ง ต้นปี 2551 เศรษฐกิจเวียดนามขยายตัวไม่สมดุล อัตราเงินเฟ้อ สูงมาก ตั้งเป้าหมายเป็นประเทศอุตสาหกรรมภายในปี 2563 พื้นที่ 331,690 ตารางกิโลเมตร เมืองหลวง กรุงฮานอย ประชากร 87 ล้านคน
64
ประเทศไทยกับอาเซียน
ภาษาราชการ เวียดนาม ภาษาทีใ่ ช้ในการติดต่อสือ่ สารทางธุรกิจ คือ ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส และจีน ศาสนา พุทธ (ร้อยละ 90) คริสต์ (ร้อยละ 7) ศาสนาอื่น ๆ (ร้อยละ 3) วันชาติ วันที่ 2 กันยายน วันสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย วันที่ 6 สิงหาคม 2519 การเมืองการปกครอง ระบอบสังคมนิยม โดยพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม แต่งตั้งโดยสภา แห่งชาติ (National Assembly) มีวาระด�ำรงต�ำแหน่ง 5 ปี ผูกขาด การชี้น�ำภายใต้ระบบผู้น�ำร่วม (Collective Leadership) เวียดนาม เป็นประเทศที่มีเสถียรภาพทางการเมือง มีเอกภาพสูง และมี การกระจายอ�ำนาจ ซึ่งมีหลังการประชุมสมัชชาพรรคคอมมิวนิสต์ เวียดนาม สมัยที่ 10 เมื่อกลางปี 2549 มีผู้น�ำที่มีประสบการณ์ ด้านเศรษฐกิจและมีภาพลักษณ์ของผู้น�ำรุ่นใหม่ อากาศ มรสุมเขตร้อน ชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกเปิดโล่งรับลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือทีพ่ ดั ผ่านทะเลจีนใต้ ท�ำให้มโี อกาสรับลมมรสุม และพายุหมุนเขตร้อน จึงมีฝนตกชุกในฤดูหนาวอุณหภูมิเฉลี่ยตั้งแต่ 5 องศาเซลเซียส ถึง 37 องศาเซลเซียส
ประเทศไทยกับอาเซียน
65
สกุลเงิน ด่ง ข้อมูลเศรษฐกิจ พืชเศรษฐกิจที่ส�ำคัญ ข้าวเจ้า ยางพารา ชา กาแฟ ยาสูบ พริกไทย การประมง จับปลาได้เป็นอันดับ 4 ของสินค้าส่งออก เช่น ปลาหมึก กุ้ง อุตสาหกรรมที่ส�ำคัญ อุตสาหกรรมทอผ้า อาหาร เหมืองแร่ รองเท้า ปูนซีเมนต์ เหมืองแร่ที่ส�ำคัญ ถ่านหิน น�้ำมันปิโตรเลียม และก๊าซธรรมชาติ ผลิตภัณฑ์น�ำเข้าที่ส�ำคัญ วัตถุดิบ วัสดุสิ่งทอ เครื่องหนัง เครื่องจักร ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ตลาดส่งออกที่ส�ำคัญ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา จีน สหภาพยุโรป ตลาดน�ำเข้าที่ส�ำคัญ สิงคโปร์ ญี่ปุ่น ไต้หวัน เกาหลีใต้ จีน
66
ประเทศไทยกับอาเซียน
ความสัมพันธ์ระหว่างไทย – เวียดนาม ไทยได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับเวียดนาม เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2519 โดยเปิดสถานเอกอัครราชทูตที่กรุงฮานอยและ สถานกงสุลใหญ่ที่นครโฮจิมินห์ เมื่อปี 2521 และปี 2535 ตาม ล�ำดับ สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงฮานอย ประกอบด้วย ส�ำนักงานผู้ช่วยทูตฝ่ายทหารและส�ำนักงานส่งเสริมการค้าใน ต่างประเทศ เวียดนามเปิดสถานเอกอัครราชทูตในไทย เมือ่ ปี 2521 ความสัมพันธ์ทวิภาคีไทย - เวียดนามปัจจุบันอยู่ในระดับที่ดี มีการ แลกเปลี่ยนการเยือนทุกระดับรวมถึงระดับท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง ความร่วมมือด้านการค้า ทั้งสองประเทศวางกลไกความสัมพันธ์ในหลายระดับ ระดับสูงสุด คือ กรอบการประชุมคณะรัฐมนตรีรว่ มไทย - เวียดนามอย่างไม่เป็น ทางการ (Joint Cabinet Retreat : JCR) ซึ่งในการประชุม JCR ครั้งที่ 1 เมื่อปี 2547 ทั้งสองฝ่ายได้แสดงเจตนารมณ์ ใน “แถลงการณ์ร่วมว่าด้วยกรอบความร่วมมือไทย - เวียดนาม ในทศวรรษแรกของศตวรรษที่ 21” (Joint Statement on the Thailand - Vietnam Cooperation Framework in the First Decade of the 21st Century) ระบุให้มีการเพิ่มพูนความร่วมมือ ในทุก ๆ ด้าน และตกลงให้จัดตั้งกลไกการหารือร่วม (Joint Consultative Mechanism : JCM) เพื่อเป็นกลไกในระดับรอง ท�ำหน้าทีด่ แู ล ประสานความร่วมมือในภาพรวมแทนคณะกรรมาธิการ ร่วมไทย - เวียดนาม (Joint Commission : JC)
ประเทศไทยกับอาเซียน
67
ด้านการเมืองและความมั่นคง มีความร่วมมือและประสานกันอย่างใกล้ชิด โดยมีกรอบการประชุม คณะท�ำงานร่วมว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง (Joint Working Group on Political and Security Cooperation : JWG on PSC) เป็นกลไกส�ำคัญ ความร่วมมือด้านการลงทุน ไทยลงทุนในเวียดนามสูงเป็นอันดับที่ 12 จากนักลงทุนต่างชาติ ทั้งหมด เอกชนไทยนิยมลงทุนที่นครโฮจิมินห์และจังหวัดข้างเคียง ในสาขาส�ำคัญ ได้แก่ ด้านการท่องเที่ยวและโรงแรม เคมีภัณฑ์ อุตสาหกรรมการเกษตร อาหารสัตว์ อุตสาหกรรมพลาสติก ชิน้ ส่วน รถจักรยานยนต์ ทั้งนี้ สาขาการลงทุนที่มีความน่าสนใจ ได้แก่ ภาคบริการ ซึ่งไทยมีประสบการณ์และเวียดนามมีความต้องการ เพิม่ ขึน้ มาก เมือ่ เข้าเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลก และมีการขยายตัว ทางเศรษฐกิจขึ้นอีกระดับหนึ่ง ด้านวิชาการ สังคมและวัฒนธรรม ประเทศไทยมีความร่วมมือทางวิชาการกับเวียดนามตั้งแต่ปี 2535 ผ่านกรอบการประชุมความร่วมมือทางวิชาการไทย - เวียดนาม นอกจากนี้ ทัง้ สองฝ่ายยังเห็นความส�ำคัญของการแลกเปลีย่ นการสอน ภาษาระหว่างกัน โดยรัฐบาลไทยได้รับความร่วมมือให้เปิดหลักสูตร สอนภาษาไทยในมหาวิทยาลัยของเวียดนาม 5 แห่ง ทัง้ นี้ เวียดนาม สนับสนุนงบประมาณ 3.5 แสนดอลลาร์สหรัฐ เพื่อสร้างโรงเรียน สอนภาษาเวียดนามที่จังหวัดนครพนม ทั้งสองฝ่ายได้แลกเปลี่ยน การศึกษาดูงานระหว่างกันในด้านต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง
68
ประเทศไทยกับอาเซียน
ข้อควรรู ้ - ผูถ้ อื หนังสือเดินทางของไทย สามารถเดินทางเข้าเวียดนาม โดยได้รับการยกเว้นการตรวจลงตรา และพ�ำนักอยู่ในเวียดนามได้ ไม่เกิน 30 วัน - ชาวต่างชาติที่อยู่ในเวียดนาม ต้องถือหนังสือเดินทาง ติดตัวตลอดเวลา ทั้งนี้ควรถ่ายเอกสารหนังสือเดินทาง บัตรเครดิต และเอกสารส�ำคัญอื่นๆ แยกเก็บไว้ต่างหากจากต้นฉบับ เนื่องจาก โรงแรมที่พักจะขอให้แขกต่างชาติแสดงหนังสือเดินทาง เพื่อการลง ทะเบียนและแจ้งทางการต�ำรวจที่เกี่ยวข้อง เวียดนามไม่อนุญาตให้ ถ่ายภาพอาคารที่ท�ำการต่างๆ ของรัฐ - หากน�ำเงินตราต่างประเทศติดตัวเข้ามามากกว่า 7,000 ดอลลาร์สหรัฐ ต้องแจ้งให้ศุลกากรเวียดนามทราบ การน�ำเงินตรา ออกประเทศมากกว่า 7,000 ดอลลาร์สหรัฐ ต้องได้รับอนุญาต จากธนาคารแห่งชาติหรือธนาคารกลางในท้องถิ่นก่อน มิเช่นนั้น จะถูกยึดเงิน - บทลงโทษของเวียดนามในคดียาเสพติด การฉ้อโกง หน่วยงานของรัฐมีโทษประหารชีวิต
ประเทศไทยกับอาเซียน
69
ประเทศคูเ่ จรจาอาเซียน อาเซียน - จีน
ความสัมพันธ์อาเซียน - สาธารณรัฐประชาชนจีนเริม่ ขึน้ เมือ่ ปี 2534 และในปี 2539 ได้ยกสถานะเป็น full dialogue partner ในปี 2549 ได้มีการประชุมสุดยอดอาเซียน - จีนสมัยพิเศษ ที่นครหนานหนิง เพื่อฉลองครบรอบ 15 ปีความสัมพันธ์อาเซียน - จีน และในปี 2554 จีนและอาเซียนได้จดั กิจกรรมเพือ่ เฉลิมฉลองครบรอบ 20 ปี ของความสัมพันธ์ ด้านการเมืองและความมั่นคง จีนเป็นประเทศคู่เจรจาแรกที่ภาคยานุวัติสนธิสัญญาไมตรี และความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (TAC) ในปี 2546 และเป็นประเทศที่ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ประเทศแรกที่แสดง ความพร้อมทีจ่ ะลงนามในพิธสี ารต่อท้ายสนธิสญ ั ญาเขตปลอดอาวุธ นิวเคลียร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้านเศรษฐกิจ จีนเป็นประเทศคูเ่ จรจาประเทศแรกทีเ่ สนอให้มกี ารจัดตัง้ เขต การค้าเสรีกบั อาเซียน โดยทัง้ สองฝ่ายได้ลงนามใน ASEAN - China Framework Agreement on Economic Cooperation เมือ่ ปี 2545
70
ประเทศไทยกับอาเซียน
ซึ่งวางเป้าหมายให้จัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน - จีนกับประเทศ สมาชิกอาเซียนเก่า 6 ประเทศ ได้แก่ สิงคโปร์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย ฟิลิปปินส์ และบรูไนฯ ภายในปี 2553 และกับประเทศสมาชิก อาเซียนใหม่ 4 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และ เวียดนาม (CLMV) ภายในปี 2558 โดยอาเซียน - จีนได้ลงนาม ความตกลงด้านการค้าสินค้าในปี 2547 ความตกลงด้านการค้า บริการในปี 2550 และความตกลงด้านการลงทุนในปี 2552 ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน - จีนมีผลสมบูรณ์เมื่อ วันที่ 1 มกราคม 2553 ซึง่ ท�ำให้อตั ราภาษีศลุ กากรสินค้าส่วนใหญ่ เหลือร้อยละ 0 (เฉพาะประเทศอาเซียนเก่า 6 ประเทศกับจีน) ในปี 2552 อาเซียน - จีน มีมลู ค่าการค้าระหว่างกัน 1.6 แสนล้าน ดอลลาร์สหรัฐ ลดลงจากปี 2551 ประมาณ 3 หมื่นล้านดอลลาร์ สหรัฐแต่จีนได้กลายเป็นคู่ค้าอันดับ 3 ของอาเซียน และอาเซียน เป็นคู่ค้าอันดับ 3 ของจีนเช่นกัน อย่างไรก็ตาม มูลค่าการลงทุน ระหว่างกันยังอยู่ในระดับต�่ำ (ปี 2551 จีนลงทุนในอาเซียน 1.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็นร้อยละ 2.4 ของเงินลงทุนจาก ต่างชาติทั้งหมด) จีนเป็นคู่เจรจาประเทศที่ 3 ที่อาเซียนได้ร่วมลงนามความ ตกลงจัดตั้งศูนย์อาเซียน - จีน (ASEAN Virtual Learning Resources Centres : AVLRC) ที่กรุงปักกิ่ง ด้านการพัฒนา อาเซียนและจีนได้ก�ำหนดให้มคี วามร่วมมือใน 11 สาขาหลัก ได้แก่ เกษตร เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การ ลงทุน การพัฒนาลุม่ น�ำ้ โขง การคมนาคมขนส่ง พลังงาน วัฒนธรรม สาธารณสุข การท่องเที่ยว และสิ่งแวดล้อม
ประเทศไทยกับอาเซียน
71
ด้านความเชื่อมโยง อาเซียนได้ผลักดันเรือ่ งความเชือ่ มโยง (Connectivity) ภายใน ภูมิภาค และจีนได้จัดตั้งกองทุนอาเซียน - จีนเพื่อการลงทุน และ โครงการสินเชื่อเชิงพาณิชย์ โดยให้ความส�ำคัญกับการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานด้านโครงข่ายคมนาคม โทรคมนาคม พลังงาน และทรัพยากรธรรมชาติภายในอาเซียน โดยรับข้อเสนอโครงการ ทั้งจากภาครัฐและเอกชน อาเซียนและจีนได้จัดท�ำแผนปฏิบัติการว่าด้วยการส่งเสริม ความร่วมมือด้านสารสนเทศและสือ่ อาเซียน - จีน ระหว่างปี 2553 2558 โดยมีกจิ กรรมต่าง ๆ ได้แก่ การแลกเปลีย่ นการเยือน (ในทุก ระดับ) การฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ การแลกเปลี่ยนรายการและ ภาพยนตร์ สื่อสิ่งพิมพ์ รวมทั้งเทคโนโลยีใหม่ ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านโทรศัพท์เคลื่อนที่และอินเทอร์เน็ต เป็นต้น
72
ประเทศไทยกับอาเซียน
อาเซียน - ญีป่ นุ่
ญี่ปุ่นเริ่มความสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการกับอาเซียนในปี 2516 และพัฒนาความสัมพันธ์เป็นประเทศคูเ่ จรจาของอาเซียนในปี 2520 และในปี 2546 มีการประชุมสุดยอดอาเซียน - ญี่ปุ่น สมัย พิเศษ (ASEAN-Japan Commemorative Summit) ที่กรุงโตเกียว ในโอกาสครบรอบ 30 ปีความสัมพันธ์อาเซียน - ญี่ปุ่น โดยได้มี การลงนามปฏิญญาโตเกียวว่าด้วยการเป็นหุ้นส่วนอาเซียน - ญี่ปุ่น (Tokyo Declaration for the Dynamic and Enduring ASEAN - Japan Partnership) เพื่อก�ำหนดทิศทางความร่วมมือระหว่าง สองฝ่าย ญี่ปุ่นให้การสนับสนุนการรวมตัวของอาเซียนโดยจัดตั้ง กองทุนเพื่อสนับสนุนการรวมตัวกันของอาเซียน (Japan - ASEAN Integration Fund – JAIF) และยังเป็นผูส้ นับสนุนรายใหญ่ทสี่ ดุ ของ กรอบข้อริเริ่มเพื่อการรวมตัว ของอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration – IAI) อีกด้วย ด้านการเมือง ญี่ปุ่นเป็นประเทศคู่เจรจาล�ำดับที่ 4 ที่ได้ภาคยานุวัติสนธิ สัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia - TAC) และเป็น
ประเทศไทยกับอาเซียน
73
ประเทศแรก ทีจ่ ดั ตัง้ กรอบการประชุมความร่วมมือด้านการต่อต้าน การก่อการร้ายอย่างเป็นทางการกับอาเซียน ด้านเศรษฐกิจ เมือ่ ปี 2524 อาเซียนและญีป่ นุ่ ได้จดั ตัง้ ศูนย์อาเซียน - ญีป่ นุ่ เพือ่ ส่งเสริมการค้า การลงทุน และการท่องเทีย่ ว ทีก่ รุงโตเกียว ทัง้ นี้ ญี่ปุ่นเป็นคู่ค้าอันดับ 1 และผู้ลงทุนรายใหญ่อันดับ 2 ของอาเซียน เมือ่ เดือนเมษายน 2551 อาเซียนและญีป่ นุ่ ได้ลงนามความตกลงหุน้ ส่วนเศรษฐกิจอาเซียน - ญีป่ นุ่ (ASEAN - Japan Comprehensive Economic Partnership - AJCEP) นอกจากนี้ อาเซียนและญี่ปุ่น ได้จัดตั้งกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิขึ้น เพื่อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนา ความสัมพันธ์อาเซียน - ญี่ปุ่นในอนาคต โดยกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิได้ จัดท�ำรายงานข้อเสนอแนะต่อผู้น�ำอาเซียนและญี่ปุ่นในการประชุม สุดยอดอาเซียน - ญี่ปุ่น ครั้งที่ 12 เมื่อเดือนตุลาคม 2552 ที่ อ�ำเภอชะอ�ำและหัวหิน ประเทศไทย ด้านสังคมและวัฒนธรรม ญีป่ นุ่ ให้ความส�ำคัญกับการแลกเปลีย่ นระหว่างประชาชนโดย เฉพาะในระดับเยาวชน จึงได้จัดตั้งโครงการ Japan East Asia Network of Exchanges for Students and Youths (JENESYS) ขึ้นโดยเชิญเยาวชนจากประเทศในเอเชียตะวันออกมาแลกเปลี่ยน ที่ญี่ปุ่นปีละประมาณ 6,000 คน ต่อเนื่องกันเป็นเวลา 5 ปี ตั้งแต่ เดือนสิงหาคม 2550 ถึงเดือนกรกฎาคม 2555
74
ประเทศไทยกับอาเซียน
ไทยมีบทบาทเป็นประเทศสมาชิกอาเซียนทีเ่ ป็นแหล่งลงทุนที่ ส�ำคัญของญีป่ นุ่ ซึง่ ญีป่ นุ่ สนใจร่วมมือกับไทยในการพัฒนาอนุภมู ภิ าค ลุ่มน�้ำโขงโดยเฉพาะด้านการพัฒนาความเชื่อมโยง ทั้งในด้าน Hardware และ Software เพื่อส่งเสริมการลดช่องว่างระหว่าง ประเทศสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ และประเทศสมาชิกใหม่ 4 ประเทศ (CLMV) เพือ่ มุง่ ไปสูเ่ ป้าหมายของการรวมตัวเป็นประชาคม อาเซียนในปี 2558 โดยได้มีการจัดการประชุมระดับรัฐมนตรีและ ผูน้ �ำในกรอบการประชุมแม่โขง - ญีป่ นุ่ (ประกอบด้วยประเทศญีป่ นุ่ ไทย ลาว เมียนมาร์ เวียดนามและกัมพูชา) ซึง่ เริม่ ขึน้ ตัง้ แต่ปี 2551
ประเทศไทยกับอาเซียน
75
อาเซียน - สาธารณรัฐเกาหลี
สาธารณรัฐเกาหลีเริ่มมีความสัมพันธ์กับอาเซียนในปี 2532 ในฐานะคู่เจรจาเฉพาะด้านและได้รับสถานะเป็นคู่เจรจาเต็มตัว ของอาเซียนในปี 2534 เกาหลีได้ภาคยานุวัติสนธิสัญญาไมตรี และความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation) และได้ลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือ การเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2547 เพื่อ ส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือที่รอบด้าน ในปี 2548 อาเซียนและเกาหลีได้ลงนามในกรอบความ ตกลงว่ า ด้ ว ยความร่ ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ ซึ่ ง ก�ำหนดให้ มี ก าร จัดตั้งเขตการค้าเสรีระหว่างกัน นอกจากนี้ อาเซียนและเกาหลีได้ ร่วมจัดตั้งศูนย์อาเซียน - เกาหลี เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2550 ทีก่ รุงโซล เพือ่ ส่งเสริมความร่วมมือด้านการค้า การลงทุน การท่องเทีย่ ว และการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมระหว่างกัน โดยได้มีพิธีเปิด อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่13 มีนาคม 2552 เมื่อวันที่ 1 - 2 มิถุนายน 2552 เกาหลีเป็นเจ้าภาพ จัดการประชุมสุดยอดอาเซียน - เกาหลีสมัยพิเศษ ที่เกาะเจจู เพื่อเฉลิมฉลองครบรอบ 20 ปีความสัมพันธ์ระหว่างทั้งสองฝ่าย โดยผู้น�ำทั้งสองฝ่ายได้ร่วมลงนามในแถลงการณ์ร่วมการประชุม
76
ประเทศไทยกับอาเซียน
สุ ด ยอดอาเซี ย น - เกาหลี ส มั ย พิ เ ศษ มี เ นื้ อ หามุ ่ ง ส่ ง เสริ ม ความร่วมมืออย่างรอบด้าน ปัจจุบันอาเซียนและเกาหลีมีความ ร่วมมือในด้านการค้า การลงทุน การขนส่ง การท่องเทีย่ ว การเกษตร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านวิชาการ การรักษา สิง่ แวดล้อม สาธารณสุข การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การแลกเปลีย่ น ด้านวัฒนธรรม และการต่อต้านการก่อการร้าย และสนับสนุน การลดช่องว่างการพัฒนาและการรวมตัวของอาเซียนอย่างต่อเนือ่ ง ระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน - เกาหลี ครั้งที่ 13 เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2553 สองฝ่ายได้ยกระดับความสัมพันธ์ เป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ และได้จัดท�ำปฏิญญาร่วมว่าด้วยการ เป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการเพื่อก�ำหนดทิศทาง การส่งเสริมความร่วมมืออาเซียน - เกาหลี (2554 - 2558) นอกเหนือจากการมีปฏิสัมพันธ์โดยตรงในกรอบความสัมพันธ์กับ อาเซียน เกาหลียังมีบทบาทในเวทีอื่น ๆ ที่จัดตั้งขึ้นโดยอาเซียน อาทิ กรอบความร่วมมืออาเซียน+3 เวทีการประชุมสุดยอดเอเชีย ตะวันออก และการประชุมอาเซียนว่าด้วยการเมืองและความมั่นคง ในเอเชีย - แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum)
ประเทศไทยกับอาเซียน
77
อาเซียน - ออสเตรเลีย
ออสเตรเลียเป็นประเทศแรกที่ได้สถาปนาความสัมพันธ์ ประเทศคูเ่ จรจากับอาเซียนในปี 2517 และด�ำเนินความสัมพันธ์กนั อย่างราบรื่นมีการปรับเปลี่ยนล�ำดับความส�ำคัญของความร่วมมือ ในสาขาต่าง ๆ ไปตามพัฒนาการทางเศรษฐกิจและความจ�ำเป็น อื่น ๆ ที่ตอบสนองต่อวิสัยทัศน์อาเซียน โดยเฉพาะการรวมตัวเป็น ประชาคมอาเซียนในปี 2558 ด้านการเมืองและความมั่นคง อาเซียนและออสเตรเลียได้ร่วมลงนาม ASEAN - Australia Joint Declaration for Cooperation to Combat International Terrorism เมื่อปี 2547 และได้ภาคยานุวัติสนธิสัญญาไมตรีและ ความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation : TAC) เมื่อเดือนธันวาคม 2548 นอกจากนี้ ออสเตรเลียมีบทบาทในกรอบ ASEAN Regional Forum (ARF) อย่างแข็งขัน และให้ความส�ำคัญกับสถานการณ์ทางการเมืองและความ มั่นคงในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นอันดับต้น ๆ โดยเฉพาะ เรื่องการก่อการร้าย อาชญากรรมข้ามชาติ และการค้ามนุษย์
78
ประเทศไทยกับอาเซียน
ด้านเศรษฐกิจ อาเซียน ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ได้ร่วมลงนามความ ตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน-ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ (ASEAN Australia - New Zealand Free Trade Agreement: AANZFTA) เมื่อวันที่ 27 ภุมภาพันธ์ 2552 ในช่วงการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 ณ อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี ความตกลง AANZFTA มีผลบังคับใช้ตงั้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2553 ส�ำหรับประเทศออสเตรเลีย มาเลเซีย เมียนมาร์ ฟิลปิ ปินส์ สิงคโปร์ และเวียดนาม โดยประเทศไทย ได้แจ้งถึงความพร้อมในการบังคับใช้ความตกลงต่อประเทศภาคีใน ภายหลัง ท�ำให้ความตกลง AANZFTA มีผลบังคับใช้ส�ำหรับ ประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 12 มีนาคม 2553 เป็นต้นมา ด้านความร่วมมือด้านการพัฒนา ภายใต้ ASEAN - Australia Development Cooperation Program (AADCP) ระยะที่ 2 ระหว่าง ปี 2552 - 2558 ออสเตรเลียจะให้ความช่วยเหลือด้านการพัฒนากับอาเซียนเป็น มูลค่าประมาณ 57 ล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย โดยจะเน้นการ เสริมสร้างขีดความสามารถ การวิจัย และให้ค�ำแนะน�ำเชิงนโยบาย รวมถึงการสนับสนุนกลไกระดับภูมภิ าคเพือ่ การรวมตัวทางเศรษฐกิจ เพื่อจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 ระหว่างเดือนกรกฎาคม 2549 ถึงเดือนกรกฎาคม 2552 ประเทศไทยในฐานะประเทศผู้ประสานงานความสัมพันธ์อาเซียน ออสเตรเลีย มีบทบาทในการสนับสนุนและผลักดันให้อาเซียนและ ออสเตรเลียร่วมลงนามเอกสารส�ำคัญ 3 ฉบับ ได้แก่ 1) Joint Declaration on ASEAN - Australia Comprehensive Partnership
ประเทศไทยกับอาเซียน
79
(2550) 2) ASEAN - Australia - New Zealand Free Trade Agreement และ 3) ASEAN - Australia Development Cooperation Program (AADCPII) ในการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับออสเตรเลีย เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2553 ที่กรุงฮานอย เวียดนาม อาเซียน และออสเตรเลียเห็นพ้องให้เพิ่มความร่วมมือด้านการพัฒนาและ การรวมตัวทางเศรษฐกิจเพื่อเสริมสร้างประชาคมอาเซียน ในปี 2558 โดยเฉพาะด้านการศึกษา การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การลดช่องว่างการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การจัดการภัยพิบัติ และการส่งเสริมการติดต่อระหว่างประชาชน นอกจากนี้ไทยได้เสนอให้ออสเตรเลียเข้ามามีบทบาทสนับสนุน การพัฒนาเครือข่ายเชื่อมโยงในภูมิภาค โดยเน้นในเรื่องเทคโนโลยี สะอาด การจัดการระบบคมนาคมขนส่ง และการอ�ำนวยความ สะดวกในการข้ามแดนเพื่อเพิ่มพูนและยกระดับความสัมพันธ์กับ อาเซียน ออสเตรเลียได้เสนอให้มีการประชุมสุดยอดอาเซียน ออสเตรเลียเป็นครั้งแรก ในปี 2553 ในช่วงเดียวกับการประชุม สุดยอดอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา
80
ประเทศไทยกับอาเซียน
อาเซียน - นิวซีแลนด์
ความสัมพันธ์อาเซียน - นิวซีแลนด์ เริ่มตั้งแต่ปี 2518 โดย นิวซีแลนด์เป็นประเทศคู่เจรจา ล�ำดับที่ 2 ของอาเซียนหลังจาก ออสเตรเลีย เดิมความสัมพันธ์เป็นไปในลักษณะประเทศผู้รับกับ ประเทศผู้ให้ โดยมีจุดมุ่งหมายหลักคือความร่วมมือเพื่อการพัฒนา ซึ่งในปัจจุบันความสัมพันธ์อาเซียน - นิวซีแลนด์ได้พัฒนาเป็นความ สัมพันธ์อย่างรอบด้าน ด้านการเมืองความมั่นคง นิวซีแลนด์ได้ภาคยานุวตั สิ นธิสญ ั ญาไมตรีและความร่วมมือใน ภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation : TAC) และได้ลงนามในปฎิญญาร่วมว่าด้วยความร่วมมือเพื่อต่อต้าน การก่อการร้ายสากลกับอาเซียน (ASEAN - New Zealand Joint Declaration for Cooperation to Combat International Terrorism) เมื่อปี 2548 นอกจากนี้ประเทศสมาชิกอาเซียนยังได้ รับประโยชน์จากบทบาทอันแข็งขันของนิวซีแลนด์ในด้านการต่อต้าน การก่อการร้าย โดยเฉพาะในกรอบ Interfaith Dialogue และ Alliance of Civilization ด้วย
ประเทศไทยกับอาเซียน
81
ด้านเศรษฐกิจ อาเซียน ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ได้ร่วมลงนามความ ตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน-ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ (ASEAN Australia - New Zealand Free Trade Agreement : AANZFTA) เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2552 ในช่วงการประชุมสุดยอดอาเซียน ครัง้ ที่ 14 ณ อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี โดยความตกลง AANZFTA มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 ส�ำหรับออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ มาเลเซีย เมียนมาร์ ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และเวียดนาม โดยไทยได้แจ้งถึงความพร้อมในการบังคับใช้ความตกลงต่อประเทศ ภาคีในภายหลัง ท�ำให้ความตกลง AANZFTA มีผลบังคับใช้ส�ำหรับ ไทยตั้งแต่วันที่ 12 มีนาคม 2553 เป็นต้นมา ด้านการพัฒนา ไทยได้เสนอต่อที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับ นิวซีแลนด์ที่จังหวัดภูเก็ต เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2552 ให้มีการ ยกร่างกรอบความร่วมมืออาเซียน - นิวซีแลนด์ ฉบับที่ 2 ระหว่าง ปี 2553 - 2558 เพือ่ ก�ำหนดแนวทางความร่วมมือด้านการพัฒนา ระหว่างอาเซียนและนิวซีแลนด์ให้สอดคล้องและเกื้อหนุนกับการ จัดตัง้ ประชาคมอาเซียนในปี 2558 ซึง่ ทีป่ ระชุมได้ให้ความเห็นชอบ ตามข้อเสนอของไทย และต่อมาที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศ อาเซียนกับนิวซีแลนด์ (PMC+1) เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2553 ณ กรุงฮานอย เวียดนาม ได้รับรองเอกสารแนวทางการด�ำเนิน ความร่วมมือทางการเมืองและความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและ วัฒนธรรม และการพัฒนาระหว่างอาเซียนและนิวซีแลนด์ 2 ฉบับ คือ 1) ปฏิญญาร่วมว่าด้วยความเป็นหุ้นส่วนที่ครอบคลุมทุกด้าน ระหว่างอาเซียนและนิวซีแลนด์ 2) แผนปฏิบัติการเพื่อปฏิบัติตาม
82
ประเทศไทยกับอาเซียน
ปฏิญญาร่วมว่าด้วยความเป็นหุ้นส่วนที่ครอบคลุมทุกด้านระหว่าง อาเซียนและนิวซีแลนด์ ปี 2553 - 2558 (Plan of Action to Implement the Joint Declaration for an ASEAN - NZ Comprehensive Partnership 2010 - 2015) นอกจากนีป้ ระเทศไทยได้เสนอให้นวิ ซีแลนด์เข้ามามีบทบาทใน เรื่องความเชื่อมโยงในอาเซียน (ASEAN Connectivity) โดยเฉพาะ เรือ่ งความเชือ่ มโยงทางทะเล ความมัน่ คงทางทะเล รวมทัง้ การพัฒนา Clean Technology และการจัดการเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืนด้วย ภายใต้กรอบความร่วมมือฉบับปัจจุบัน นิวซีแลนด์ ได้เสนอ โครงการ flagship 4 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการให้ทุนแก่ นักศึกษาอาเซียน ปีละ 170 คน เป็นเวลา 5 ปี 2) โครงการแลก เปลี่ยนนักธุรกิจรุ่นใหม่ 3) การจัดการภัยพิบัติ และ 4) โครงการ แลกเปลี่ยนความรู้และแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศด้านการเกษตรภายใต้ แนวคิดเรื่อง Agricultural Diplomacy และในปี 2553 นิวซีแลนด์ ได้เสนอให้มีการประชุมสุดยอดอาเซียน - นิวซีแลนด์สมัยพิเศษ (Commemorative Summit) เพื่อฉลองโอกาสครบรอบ 35 ปี ของ ความสัมพันธ์อาเซียน - นิวซีแลนด์
ประเทศไทยกับอาเซียน
83
อาเซียน - อินเดีย
อาเซียนกับอินเดียเริ่มต้นความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการใน ปี 2535 ในลักษณะคู่เจรจาเฉพาะด้านและยกระดับขึ้นเป็นคู่เจรจา อย่างสมบูรณ์ เมื่อปี 2538 ต่อมาได้พัฒนาความสัมพันธ์สู่ระดับ การประชุมสุดยอดครั้งแรก เมื่อ 5 พฤศจิกายน 2545 ที่กรุง พนมเปญ กัมพูชา ความสัมพันธ์อาเซียน - อินเดีย เป็นความ สัมพันธ์อย่างรอบด้านในฐานะหุ้นส่วน โดยมีเอกสารความเป็น หุ้นส่วนระหว่างอาเซียน - อินเดีย เพื่อสันติภาพ ความก้าวหน้า และความเจริญรุ่งเรืองร่วมกัน (ASEAN - India Partnership for Peace, Progress and Shared Prosperity) ก�ำหนดแนวทาง ในการด�ำเนินความสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่างกันในด้าน การเมือง เศรษฐกิจ และความร่วมมือเพือ่ การพัฒนา โดยมีแผนปฏิบตั ิ การรองรับ ปัจจุบนั อยูภ่ ายใต้แผนปฏิบตั กิ าร ปี 2553 - 2558 ทัง้ สองฝ่ายได้จัดตั้งกองทุนอาเซียน - อินเดีย (ASEAN India Fund) เพื่อสนับสนุนการด�ำเนินความร่วมมือดังกล่าว ด้านการเมืองและความมั่นคง อินเดียได้เข้าร่วมการประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือ ด้าน การเมืองและความมั่นคงในภูมิในเอเชีย - แปซิฟิก ตั้งแต่ปี 2539 โดยมีบทบาทในเรื่องความร่วมมือด้านความมั่นคงทางทะเล และ ได้ภาคยานุวัติสนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในภูมิภาคเอเชีย
84
ประเทศไทยกับอาเซียน
ตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อปี 2546 อีกทั้งได้รับรองแถลงการณ์ร่วมกับ อาเซียนว่าด้วยความร่วมมือเพื่อต่อต้านการก่อการร้ายในปีเดียวกัน นอกจากนั้นอินเดียยังได้เข้าเป็นสมาชิกของการประชุมสุดยอด เอเชียตะวันออกในปี 2548 ด้านเศรษฐกิจ อาเซียนและอินเดียได้ลงนามกรอบความตกลงว่าด้วยความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจอย่างรอบด้านในปี 2546 ซึ่งครอบคลุมการ เปิดเสรีการค้าสินค้าบริการ การลงทุนและความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สาขาต่าง ๆ และได้บรรลุผลการเจรจาจัดท�ำความตกลงด้านการ ค้าสินค้าในเดือนสิงหาคม 2551 อาเซียน - อินเดียตั้งเป้าหมาย ขยายมูลค่าการค้าระหว่างกันเป็น 70 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2555 จากมูลค่าการค้าเมื่อปี 2551 - 2552 ประมาณ 46.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยอาเซียนเป็นฝ่ายได้ดุลการค้าประมาณ 7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ด้านสังคมและการพัฒนา อินเดียให้ความร่วมมือสนับสนุนการพัฒนาและลดช่องว่าง ในอาเซียน โดยจัดตั้งศูนย์ฝึกอบรมภาษาอังกฤษและศูนย์ฝึกอบรม ผู้ประกอบการในกัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม ตลอดจน ส่งเสริมความร่วมมือกับอาเซียนในสาขาที่อินเดียมีศักยภาพ เช่น ด้า นวิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ส ารสนเทศ รวมทั้ งการแพทย์ และเภสัชกร โดยได้จัดตั้งกองทุน ASEAN - India Science & Technology Fund ด้วยเงิน ตั้งต้น 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อ พัฒนาความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การจัดตัง้ ศูนย์ ฝึกอบรมด้านไอที การตั้งกองทุน ASEAN - India Green Fund เพื่อสนับสนุนกิจกรรมในการส่งเสริมการปรับตัวและลดผลกระทบ
ประเทศไทยกับอาเซียน
85
จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภูมิภาคโดยอินเดียออกเงิน ตั้งต้น 5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ การพัฒนาความร่วมมือด้านการ แพทย์แผนโบราณ การให้ทนุ การฝึกอบรมด้านอายุรเวชแก่บคุ ลากร ของอาเซียน โครงการความร่วมมือด้านการผลิตยา นอกจากนั้น เพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์ภาคประชาสังคมอาเซียนและอินเดียมี โครงการประจ�ำปีเพื่อแลกเปลี่ยนระหว่างประชาชนหลายกลุ่มทั้ง นักศึกษา ผูส้ อื่ ข่าว และนักการทูต อีกทัง้ ก�ำลังจะริเริม่ ให้มกี ารเยือน ระหว่างสมาชิกรัฐสภาด้วย ในเดือนธันวาคม 2555 อาเซียนและอินเดียจะมีก าร ประชุมสุดยอดเพือ่ ฉลองโอกาสครบรอบ 20 ปี ของความสัมพันธ์ใน ฐานะประเทศคู่เจรจา และครบรอบ 10 ปี ของการประชุมสุดยอด อาเซียน - อินเดีย นอกจากนีอ้ นิ เดียแสดงความพร้อมทีจ่ ะสนับสนุน ความเชื่อมโยงระหว่างกันของอาเซียน (ASEAN Connectivity) ทั้งการขยายทางหลวงสามฝ่ายไทย - พม่า - อินเดีย ไปยังลาว กัมพูชา และการพัฒนา Mekong - India Economic Corridor อีกทัง้ สนับสนุนการพัฒนาการเชือ่ มโยงด้านไอทีของอาเซียน โดยเสนอ จะให้ทุนการศึกษาด้านไอทีแก่ประเทศสมาชิกอาเซียนประเทศละ 100 ทุน เป็นเวลา 5 ปี ตั้งแต่ปี 2554 เป็นต้นไป
86
ประเทศไทยกับอาเซียน
อาเซียน - แคนาดา
ความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนและแคนาดาเริ่มต้นอย่างเป็น ทางการในปี 2520 แต่ได้ประสบภาวะชะงักงันนับตั้งแต่ปี 2540 เมื่ออาเซียนรับเมียนมาร์เข้าเป็นสมาชิก ซึ่งแคนาดาไม่ประสงค์ให้ เมียนมาร์เข้าเป็นภาคีความตกลงว่าด้วยความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ หลังจากนัน้ ได้มคี วามพยายามหาทางรือ้ ฟืน้ ความสัมพันธ์ จนกระทัง่ ในวันที่ 19 มกราคม 2547 ทั้งสองฝ่ายเห็นชอบให้จัดการประชุม ASEAN - Canada Dilogue เป็นครั้งแรก ซึ่งนับเป็นการกลับมา ด�ำเนินความสัมพันธ์ระหว่างกันอีกครั้ง ในวันที่ 22 กรกฎาคม 2552 อาเซียนได้จัดการประชุม รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน (Post Ministerial Conference – PMC+) กับแคนาดา โดยที่ประชุมได้ให้ความเห็นชอบปฎิญญาร่วม ว่าด้วยความเป็นหุน้ ส่วนทีเ่ พิม่ พูนระหว่างอาเซียนกับแคนาดา (Joint Declaration on the ASEAN - Canada Enhanced Partnership) ซึง่ จะเป็นแผนแม่บทในการด�ำเนินความสัมพันธ์ระหว่างกันในอนาคต นอกจากนีไ้ ทยยังได้เข้ารับหน้าทีป่ ระเทศผูป้ ระสานงานความสัมพันธ์ อาเซียน-แคนาดา เป็นเวลา 3 ปีในการประชุม PMC ในครั้งนี้ด้วย อาเซียนและแคนาดาได้จัดการประชุม ASEAN - Canada Informal Coordinating Meeting Mechanism (ICM) ครั้งที่ 4 ซึ่งเป็นการประชุมในระดับผู้แทนถาวรประจ�ำอาเซียน ระหว่างวันที่
ประเทศไทยกับอาเซียน
87
24 - 25 กุมภาพันธ์ 2553 ณ ส�ำนักเลขาธิการอาเซียน กรุงจาการ์ตา อินโดนีเซีย เพื่อติดตามพัฒนาการความสัมพันธ์และกิจกรรม ความร่วมมือในด้านต่าง ๆ ระหว่างอาเซียนและแคนาดา นอกจากนี้ ที่ประชุมยังได้มีการยกร่างและแก้ไขแผนปฏิบัติการเพื่อให้เป็นไป ตามเจตนารมณ์ของปฏิญญาร่วมว่าด้วยความเป็นหุ้นส่วนที่เพิ่มพูน ระหว่างอาเซียนกับแคนาดา ปี 2553 - 2554 (Plan of Axiton to Implement the Joint Declaration on the ASEAN - Canada Enhanced Partnership 2010 - 2015) ประเทศไทยในฐานะประเทศผูป้ ระสานงานเป็นเจ้าภาพจัดการ ประชุม ASEAN - Canada Dialogue ครั้งที่ 7 ระหว่างวันที่ 10 - 11 มิถุนายน 2553 ณ โรงแรมสยามซิตี้ กรุงเทพฯ ซึ่ง เป็นการประชุมในระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส ได้หารือและแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นในประเด็นทางยุทธศาสตร์ทั้งในด้านการเมือง ความ มัน่ คง เศรษฐกิจ ประเด็นปัญหาในภูมภิ าคและความร่วมมือเพือ่ การ พัฒนาต่าง ๆ
88
ประเทศไทยกับอาเซียน
อาเซียน - สหรัฐอเมริกา
ความสัมพันธ์อาเซียน - สหรัฐฯ เริม่ ต้นอย่างเป็นทางการเมือ่ ปี 2520 โดยในระยะแรกเน้นความร่วมมือด้านการพัฒนา ต่อมา ขยายถึงความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ ทัง้ นี้ สหรัฐฯ เน้นการหารือและ ส่งเสริมความสัมพันธ์ดา้ นการเมืองและความมัน่ คงกับอาเซียน ขณะที่ อาเซียนยังต้องการความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาและปรารถนา ที่จะส่งเสริมในด้านเศรษฐกิจและการค้ากับสหรัฐฯ ในลักษณะกลุ่ม ประเทศ รัฐบาลสหรัฐฯ ให้ความส�ำคัญกับภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้มากขึน้ ดังจะเห็นได้จากการทีส่ หรัฐฯ แต่งตัง้ เอกอัครราชทูต กิจการอาเซียนเป็นประเทศแรก รวมทัง้ นางฮิลลารี คลินตัน รัฐมนตรี ต่างประเทศสหรัฐฯ เดินทางเยือนส�ำนักเลขาธิการอาเซียนที่กรุง จาการ์ตาเมือ่ เดือนกุมภาพันธ์ 2552 และเข้าร่วมการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา ครั้งที่ 42 ที่ไทยเมื่อเดือน กรกฎาคม 2552 ได้กล่าวย�้ำว่าสหรัฐฯ ให้ความส�ำคัญกับอาเซียน ในฐานะหุ้นส่วนด้านการเมือง เศรษฐกิจ และยุทธศาสตร์ รวมทั้ง แสดงความพร้อมที่จะร่วมมือกับอาเซียนในประเด็นที่เป็นประโยชน์ ร่วมกันทั้งในกรอบทวิภาคีและในกรอบองค์การระหว่างประเทศใน เรื่องต่าง ๆ และสหรัฐฯ ยังได้ภาคยานุวัติสนธิสัญญาไมตรีและ
ประเทศไทยกับอาเซียน
89
ความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia - TAC) ในการประชุม ดังกล่าวด้วย การประชุมผู้น�ำอาเซียน - สหรัฐฯ ครั้งที่ 1 (1stASEAN - US Leaders’ Meeting) ในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2552 ที่ สิงคโปร์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีได้เป็นประธาน การประชุมร่วมกับประธานาธิบดีสหรัฐฯ ถือเป็นการประชุมสุดยอด ครัง้ แรกระหว่างอาเซียนและสหรัฐฯ โดยทีป่ ระชุมได้เน้นยำ�้ ถึงความ สัมพันธ์อันแน่นแฟ้นระหว่างอาเซียนและสหรัฐฯ ในฐานะหุ้นส่วนใน การเผชิญกับปัญหาและความท้าทายต่าง ๆ ซึง่ สหรัฐฯ ยินดีรว่ มมือ ในการสร้างประชาคมอาเซียนภายในปี 2558 ขณะทีอ่ าเซียนก็ยนิ ดี กับนโยบายของรัฐบาลสหรัฐฯ ปัจจุบัน ที่เร่งส่งเสริมความสัมพันธ์ กับอาเซียนและแสดงความพร้อมทีจ่ ะร่วมมือกับสหรัฐฯ ในการแก้ไข ปัญหาต่างๆ ในภูมิภาค นอกจากนั้น ผู้น�ำอาเซียนและสหรัฐฯ ยัง ได้ออกแถลงการณ์ร่วมกันเพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมความ สัมพันธ์อย่างเป็นรูปธรรม ไม่วา่ จะเป็นการพบหารือระหว่างรัฐมนตรี สหรัฐฯ และอาเซียน การจัด Road Show ร่วมกันของอาเซียนไป ยังสหรัฐฯ การประกาศจัดตั้ง Eminent Person Group ในการ ส่งเสริมและสนับสนุนความสัมพันธ์ระหว่างกัน เป็นต้น ในวันที่ 22 กรกฎาคม 2553 ที่กรุงฮานอย เวียดนาม อาเซี ย นได้ จั ด การประชุ ม รั ฐ มนตรี ต ่ า งประเทศอาเซี ย นและ สหรัฐฯ (Post Ministerial Conference+1 with the US) ซึ่ง นางฮิลลารี คลินตัน รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ ย�้ำถึงการ เป็นประเทศแปซิฟิกของสหรัฐฯ และยืนยันการให้ความส�ำคัญ
90
ประเทศไทยกับอาเซียน
ต่อภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน รวมทั้งแสดงความ พร้อมทีจ่ ะให้ความช่วยเหลือด้านการสร้างประชาคมอาเซียน นอกจากนี้ ยังได้ประกาศว่า ประธานาธิบดีสหรัฐฯ ประสงค์จะจัดการประชุม สุดยอดผู้น�ำอาเซียน - สหรัฐฯ ครั้งที่ 2 ในช่วงฤดูใบไม้ร่วง ในระหว่างการประชุมสมัชชาสหประชาชาติ และมอบหมายให้ นางคลินตันเข้าร่วมในฐานะผู้สังเกตการณ์ในการประชุมสุดยอด ผู้น�ำเอเชียตะวันออก (East Asia Summit – EAS) ในช่วงการ ประชุมสุดยอดผู้น�ำอาเซียนในเดือนตุลาคม 2553
ประเทศไทยกับอาเซียน
91
อาเซียน - รัสเซีย
ความสัมพันธ์อาเซียน - รัสเซีย เริ่มต้นจากการที่รัสเซีย ได้สถาปนาความสัมพันธ์ในฐานะคู่หารือ (Consultative relations) กับอาเซียนในปี 2534 และพัฒนาความสัมพันธ์จนได้รับสถานะ ประเทศคู่เจรจา (Dialogue Partner) กับอาเซียนในการประชุม รัฐมนตรีตา่ งประเทศอาเซียน สมัยที่ 29 เมือ่ เดือนกรกฎาคม 2539 ที่กรุงจาการ์ตา โดยมีอินโดนีเซีย เมียนมาร์ เป็นประเทศผู้ประสาน งานความสัมพันธ์ฯ ระหว่างปี 2552 - 2555 ส�ำหรับกลไกของความสัมพันธ์จะประกอบด้วย (1) ASEAN Russia Summit (ระดับผู้น�ำ) จัดขึ้น 1 ครั้ง เมื่อปี 2548 ณ กรุง กัวลาลัมเปอร์ มาเลเซีย และครัง้ ที่ 2 ในช่วงการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 17 เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2553 ณ กรุงฮานอย เวียดนาม (2) ASEAN PMC+1 (ระดับรัฐมนตรี) ประชุมปีละครัง้ (3) ASEAN Russia SOM (ระดับปลัด) ประชุมทุก 18 เดือน ตัง้ Open - Ended WG endorsed by PMC+1 (4) ASEAN - Russia Joint Cooperation Committee (CPR) ประชุมปีละครั้ง (5) ASEAN - Russia Joint Planning and Management Committee (CPR) ประชุมปีละครั้ง
92
ประเทศไทยกับอาเซียน
ความร่วมมือในสาขาต่าง ๆ ระหว่างอาเซียนกับรัสเซีย ดังนี้ - ความร่วมมือด้านการเมืองความมัน่ คง อาเซียนและรัสเซีย ได้ลงนามในเอกสารส�ำคัญหลายฉบับ ได้แก่ ปฏิญญาร่วมอาเซียน รัสเซียว่าด้วยความเป็นหุน้ ส่วนเพือ่ สันติภาพ ความมัน่ คง ความมัง่ คัง่ และการพัฒนาในภูมภิ าคเอเชีย - แปซิฟกิ ปี 2546 แถลงการณ์รว่ ม อาเซียน - รัสเซียว่าด้วยความร่วมมือในการต่อต้านการก่อการร้าย ปี 2547 และรัสเซียได้ภาคยานุวัติสนธิสัญญาไมตรีและความ ร่วมมือในปี 2547 - ความร่วมมือด้านการพัฒนา ในปี 2548 ผูน้ �ำอาเซียนและ รัสเซียได้ลงนามใน Joint Declaration of the Heads of State/ Government of the Member Countries of ASEAN and the Head of State of the Russian Federation on Progressive and Comprehensive Partnership และได้รบั รอง Comprehensive Programme of Action to Promote Cooperation between ASEAN and the Russian Federation ปี 2548 - 2558 ซึ่ง อาเซียนและรัสเซียได้จัดตั้งกองทุน ASEAN - Russia Dialogue Partnership Financial Fund (DPFF) ขึ้นเพื่อการด�ำเนินกิจกรรม ความร่วมมือต่าง ๆ โดยรัสเซียเป็นผู้มอบเงินเข้ากองทุนฝ่ายเดียว ขณะนี้กองทุนมีเงินประมาณ 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ - ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ รัฐมนตรีต่างประเทศของ อาเซียนและรัสเซียได้ลงนามในความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทาง เศรษฐกิ จ และการพั ฒ นา ปี 2548 ที่ ก รุ ง กั ว ลาลั ม เปอร์ มาเลเซีย ในปี 2552 มูลค่าการค้าระหว่างอาเซียน - รัสเซีย ประมาณ 8,530 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ สินค้าส�ำคัญที่รัสเซีย
ประเทศไทยกับอาเซียน
93
ส่งออกมาอาเซียน ได้แก่ ชิ้นส่วนประกอบโลหะ เคมีภัณฑ์ และ สินค้าประกอบจากสินแร่ ในขณะที่อาเซียนส่งออกสินค้าประเภท เครือ่ งจักร เครือ่ งใช้อเิ ล็กทรอนิกส์ อาหารส�ำเร็จรูป นำ�้ มันประกอบ อาหารไปรัสเซีย รัสเซียถือเป็นตลาดใหญ่ที่มีศักยภาพส�ำหรับการ ขยายตลาดของอาเซียนและจะเป็นประตูกระจายสินค้าอาเซียนไปยัง กลุ่มประเทศเครือรัฐ เอกราช (Commonwealth of Independent States : CIS) ได้ในอนาคต - การจัดตั้ง ASEAN Centre เลขาธิการอาเซียน ผู้แทน ประเทศสมาชิกอาเซียนร่วมกับอธิการบดี Moscow State Institute of international Relations (MGIMO) ได้ลงนามในบันทึกความ เข้าใจเพื่อจัดตั้งศูนย์อาเซียนในกรุงมอสโก มื่อวันที่ 22 กรกฏาคม 2552 และมีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการไปเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2553
อาเซียน+3
กรอบความร่วมมืออาเซียน+3 (จีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐ เกาหลี) เริ่มต้นขึ้นเมื่อปี 2540 ในช่วงที่เกิดวิกฤตทางการเงินใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออก โดยผู้น�ำของประเทศสมาชิกอาเซียนและ ผู้น�ำของจีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี ได้พบหารือระหว่างกัน เป็นครั้งแรก ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ มาเลเซีย เมื่อเดือนธันวาคม 2540 นั บ แต่ นั้ น เป็ น ต้ น มา การประชุ ม สุ ด ยอดอาเซี ย น+3 ได้จัดขึ้นเป็นประจ�ำทุกปีในช่วงเดียวกับการประชุมสุดยอดอาเซียน กรอบความร่วมมืออาเซียน+3 เริ่มเป็นรูปเป็นร่างภายหลังการ ออกแถลงการณ์ร่วมว่าด้วยความร่วมมือเอเชียตะวันออกเมื่อปี 2542 และการจัดตั้ง East Asia Vision Group (EAVG) ในปี 2542 เพื่อวางวิสัยทัศน์ความร่วมมือในเอเชียตะวันออก EAVG
94
ประเทศไทยกับอาเซียน
ได้เสนอแนะแนวคิดการจัดตัง้ ประชาคมเอเชียตะวันออก (East Asian Community - EAC) และมาตรการความร่วมมือในด้านต่าง ๆ เพื่อ น�ำไปสู่การจัดตั้ง EAC ต่อมา ในการประชุ ม สุ ด ยอดอาเซี ย น+3 ครั้ ง ที่ 9 ณ กรุ ง กัวลาลัมเปอร์ มาเลเซีย เมือ่ ปี 2548 ผูน้ �ำได้ลงนามในปฏิญญากรุง กัวลาลัมเปอร์วา่ ด้วยการประชุมสุดยอดอาเซียน+3 (Kuala Lumpur Declaration on the ASEAN+3 Summit) ก�ำหนดให้การจัดตั้ง ประชาคมเอเชียตะวันออกเป็นเป้าหมายระยะยาวและให้กรอบความ ร่วมมืออาเซียน +3 เป็นกลไกหลักในการน�ำไปสู่เป้าหมายระยะยาว ดังกล่าว และในโอกาสครบรอบ 10 ปีของกรอบความร่วมมืออาเซียน+3 ในปี 2550 ได้มีการออกแถลงการณ์ร่วมว่าด้วยความร่วมมือ เอเชียตะวันออก ฉบับที่ 2 และแผนงานความร่วมมืออาเซียน+3 (ปี 2550 - 2560) ไทยได้เป็นประธานอาเซียนและเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสุดยอด อาเซียน+3 ครั้งที่ 12 เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2552 ที่อ�ำเภอชะอ�ำ และหัวหิน ซึ่งที่ประชุมฯ ได้รับรองแถลงการณ์ ชะอ�ำ หัวหิน ว่า ด้วยความมั่นคงด้านอาหารและการพัฒนาพลังงานชีวภาพในกรอบ ความร่วมมืออาเซียน+3 (Cha - am Hua Hin Statement on ASEAN Plus Three Cooperation on Food Security and Bio - Energy Development) เพือ่ ส่งเสริมความร่วมมือด้านอาหาร และพลังงาน ซึง่ รวมถึงการจัดตัง้ ระบบส�ำรองข้าวฉุกเฉินอาเซียน+3 (ASEAN Plus Three Emergency Rice Reserve – APTERR) เพือ่ เป็นหลักประกันความมัน่ คงด้านอาหารในภูมภิ าค และการจัดท�ำ ยุทธศาสตร์แบบบูรณาการเกี่ยวกับการผลิตและการบริโภคอาหาร และพลังงานชีวภาพที่ยั่งยืนและเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ที่ประชุมฯ ยังได้สนับสนุนไทยที่จะเป็นผู้ผลักดันการจัดตั้งกลไกความร่วมมือ
ประเทศไทยกับอาเซียน
95
ด้ า นการศึ ก ษาในกรอบความร่ ว มมื อ อาเซี ย น+3 นอกจากนี้ ไทยในฐานะประเทศผูป้ ระสานงานอาเซียน+3 ในเวลานัน้ ได้ออก แถลงข่าวว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน+3 เพือ่ รับมือกับวิกฤตเศรษฐกิจ และการเงินโลกเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2552 ปัจจุบันความร่วมมือในกรอบอาเซียน+3 ครอบคลุมความ ร่วมมือในสาขาต่าง ๆ ประมาณ 20 สาขา ภายใต้กรอบการประชุม ในระดับต่าง ๆ ประมาณ 50 การประชุม ความร่วมมือด้านการ เงินภายใต้มาตรการริเริ่มเชียงใหม่ (Chiang Mai Initiative - CMI) ซึ่งริเริ่มขึ้นเมื่อปี 2543 เป็นสาขาความร่วมมือที่มีความก้าวหน้า มากที่สุด โดยได้มีการจัดตั้งกองทุนส�ำรองพหุภาคีภายใต้ CMI หรือที่เรียกว่า “CMI Multilateralization (CMIM)” เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2553 ซึ่งมีวงเงิน 1.2 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อเป็น กลไกช่วยรักษาเสถียรภาพทางการเงินในภูมภิ าค และจะมีการจัดตัง้ ASEAN+3 Macroeconomic Research Office (AMRO) ที่ สิงคโปร์ เพื่อวิเคราะห์และติดตามสภาวะเศรษฐกิจในภูมิภาคและ สนับสนุน CMIM นอกจากนี้ยังมีการจัดตั้งหน่วยงานประกันเครดิต และการลงทุน (Credit Guarantee and Investment Facility : CGIF) เพื่อสนับสนุนการออกพันธบัตรของภาคเอกชน โดยมีวงเงิน เริ่มต้น 700 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเทศอาเซียน+3 ยังได้จัดตั้ง กองทุน ASEAN Plus Three Cooperation Fund (APTCF) ซึ่ง มีเงินทุนเริ่มต้นจ�ำนวน 3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อเป็นกองทุนร่วม ในการสนับสนุนการด�ำเนินมาตรการต่าง ๆ ภายใต้แผนงานความ ร่วมมืออาเซียน+3 (ปี 2550 - 2560) รวมทัง้ การด�ำเนินโครงการ และกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ในการส่งเสริมความร่วมมือ อาเซียน+3
96
ประเทศไทยกับอาเซียน
ความร่วมมือในเวทีการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit - EAS) เดิมทีเป็นข้อริเริม่ ในกรอบอาเซียน+3 โดยจะเป็นการวิวฒ ั นาการของ การประชุมสุดยอดอาเซียน+3 ไปสู่การประชุมสุดยอดเอเชียตะวัน ออก อย่างไรก็ดี อาเซียนเห็นว่า ควรเปิดกว้างให้ประเทศนอกกลุ่ม อาเซียน+3 เข้าร่วมด้วย จึงได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์ 3 ประการ ส�ำหรับการ เข้าร่วม ได้แก่ (1) การเป็นคู่เจรจาเต็มตัวของอาเซียน (2) การ มีความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นกับอาเซียน และ (3) การภาคยานุวัติ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia) ใน ปัจจุบันมีประเทศที่เข้าร่วมใน EAS จ�ำนวน 16 ประเทศ ได้แก่ อาเซียน 10 ประเทศ ออสเตรเลีย จีน อินเดีย ญี่ปุ่น สาธารณรัฐ เกาหลี และนิวซีแลนด์ ในการประชุม EAS ครัง้ ที่ 1 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ มาเลเซีย เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2548 ได้มีการลงนาม Kuala Lumpur Declaration on East Asia Summit ก�ำหนดให้ EAS เป็นเวทีหารือ ทางยุทธศาสตร์ที่เปิดกว้าง โปร่งใส และครอบคลุม และได้เห็นพ้อง กับแนวความคิดของไทยทีใ่ ห้ EAS เป็นเวที ของผูน้ �ำทีจ่ ะแลกเปลีย่ น ความเห็นและวิสัยทัศน์ในประเด็นเชิงยุทธศาสตร์ในลักษณะ top down การประชุม EAS มีขึ้นเป็นประจ�ำทุกปีในช่วงการประชุม สุดยอดอาเซียน โดยประเทศที่เป็นประธานอาเซียนจะเป็นประธาน การประชุมฯ ในการประชุม EAS ครั้งที่ 2 ณ เมืองเซบู ฟิลิปปินส์ เมื่อเดือนมกราคม 2550 ที่ประชุมฯ เห็นชอบให้ก�ำหนดสาขา ความร่วมมือทีม่ คี วามส�ำคัญในล�ำดับแรก 5 สาขา ได้แก่ ไข้หวัดนก ความมัน่ คงด้านพลังงาน การศึกษา การเงิน และการจัดการภัยพิบตั ิ
ประเทศไทยกับอาเซียน
97
ไทยได้เป็นประธานและเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมฯ ครัง้ ที่ 4 เมื่ อ วั น ที่ 25 ตุ ล าคม 2552 ที่ อ�ำเภอชะอ�ำและหั ว หิ น โดยทีป่ ระชุมฯ ได้รบั รองแถลงการณ์ชะอ�ำ หัวหิน ว่าด้วยการจัดการ ภัยพิบตั ิ (Cha - am Hua Hin Statement on EAS Disaster Management) เพื่อส่งเสริมการพัฒนาการเตรียมความพร้อมที่รอบด้านและเพิ่ม ศักยภาพการลดความเสีย่ งจากภัยพิบตั ใิ นภูมภิ าค ตลอดจนพิจารณา ความเป็นไปได้ในการจัดตัง้ เครือข่ายการประสานงานการตอบสนอง ภัยพิบัติในระดับภูมิภาคผ่านกรอบและกลไกอาเซียนและภูมิภาค ที่ มี อ ยู ่ เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบภั ย ทางธรรมชาติ ใ นภู มิ ภ าค นอกจากนี้ไทยในฐานะประเทศผู้ประสานงาน EAS ได้ออก แถลงข่าวร่วมการประชุมสุดยอดอาเซียตะวันออก ว่าด้วยวิกฤต เศรษฐกิจและการเงินโลก เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2552 เพื่อแสดง เจตนาร่วมกันของประเทศ EAS ที่จะร่วมมือกันรับมือผลกระทบ จากวิกฤตเศรษฐกิจและการเงินโลกที่อุบัติขึ้นเมื่อปี 2551 ปัจจุบนั ประเด็นทีผ่ นู้ �ำ EAS ให้ความสนใจ ได้แก่ ความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจ การเงิน การค้าและการลงทุน (การประชุมสุดยอด G-20 การเจรจาการค้ารอบโดฮา การส่งเสริมสินเชื่อเพื่อการค้า และการเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจแบบรอบด้านในเอเชียตะวันออก) และความเชื่อมโยงในภูมิภาค (Regional Connectivity) และให้ ความส�ำคัญกับการแลกเปลีย่ นข้อคิดเห็นเกีย่ วกับทิศทางความร่วมมือ ในอนาคตของ EAS ในบริบทโครงสร้างสถาปัตยกรรมทางการ เมืองระหว่างประเทศในภูมิภาค (Regional Architecture) และ การขยายจ�ำนวนประเทศที่เข้าร่วม EAS รวมสหรัฐฯ และรัสเซีย ที่เข้าเป็นสมาชิกในปี 2554 รวมทั้งเสริมสร้างความเข้มแข็ง ให้ กั บ EAS เพื่ อ ให้ ส ามารถตอบสนองความท้ า ทายใหม่ ๆ
98
ประเทศไทยกับอาเซียน
ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ในขณะที่ให้คงลักษณะการเป็นเวที การหารือด้านยุทธศาสตร์ส�ำหรับผู้น�ำที่มีความยืดหยุ่นไว้
อาเซียน - สหภาพยุโรป
อาเซี ย นและสหภาพยุ โ รปมี ค วามสั ม พั น ธ์ ใ นระดั บ กลุ ่ ม ระหว่างกันมาเป็นเวลานาน สหภาพยุโรปถือเป็นคูเ่ จรจา (Dialogue Partner) อย่างไม่เป็นทางการของอาเซียนตั้งแต่ปี 2515 และได้ พัฒนาเป็นคู่เจรจาอย่างเป็นทางการในปี 2520 และในโอกาส ครบรอบ 30 ปี การสถาปนาความสัมพันธ์อาเซียน - สหภาพยุโรป ในปี 2550 ทั้งสองฝ่ายได้จัดการประชุมสุดยอดสมัยพิเศษอาเซียน - สหภาพยุโรป (ASEAN - EU Commemorative Summit) ขึ้นเมื่อ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2550 ที่สิงคโปร์ โดยมีบรูไนดารุสซาลาม เป็นประเทศผูป้ ระสานงานความสัมพันธ์อาเซียน - สหภาพยุโรป ตัง้ แต่ เดือนกรกฎาคม 2552 (ค.ศ. 2009) มีวาระ 3 ปี ด้านการเมือง และความมั่นคง ปัจจุบันสหภาพยุโรปให้ความส�ำคัญกับอาเซียน มากขึน้ ในการประชุมรัฐมนตรีตา่ งประเทศอาเซียน - สหภาพยุโรป ครั้งที่ 16 ระหว่างวันที่ 14 - 15 มีนาคม 2550 ที่ประชุมได้ รับรองปฏิญญานูเร็มเบิร์กว่าด้วยการเป็นหุ้นส่วนที่เพิ่มพูนระหว่าง สหภาพยุโรปกับอาเซียน (Nuremberg Declaration on an ASEAN EU Enhanced Partnership) เพื่อเป็นแนวทางในการด�ำเนินความ สัมพันธ์และความร่วมมือในอนาคตทั้งในด้านการเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และความร่วมมือเพือ่ การพัฒนา และ ต่อมาในการประชุมสุดยอดสมัยพิเศษระหว่างอาเซียนกับสหภาพยุโรป เมือ่ เดือนพฤศจิกายน 2550 ผูน้ �ำอาเซียนและสหภาพยุโรปได้ให้การ รับรองแผนปฏิบตั กิ ารเพือ่ ด�ำเนินการตามปฏิญญานูเร็มเบิรก์ ฯ (Plan
ประเทศไทยกับอาเซียน
99
of Action to Implement the Nuremberg Declaration on an ASEAN - EU Enhanced Partnership) นอกจากนี้อาเซียนและ สหภาพยุโรปได้ลงนามใน Joint Declaration on Cooperation to Combat Terrorism ในปี 2546 ซึ่งเป็นเอกสารหลักในการ ด�ำเนินความร่วมมือระหว่างกันในด้านการต่อต้านการก่อการร้าย และมีโครงการความร่วมมือเรื่องการจัดการชายแดนภายใต้แผน Regional Indicative Programme (RIP) ค.ศ. 2007 - 2010 ซึ่งเป็นความร่วมมือระยะกลางระหว่างอาเซียนและสหภาพยุโรป สหภาพยุโรปเป็นสมาชิกของ ASEAN Regional Forum (ARF) และได้แสดงความจ�ำนงที่จะภาคยานุวัติสนธิสัญญาไมตรี และความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia - TAC) ด้วย ด้านเศรษฐกิจ ส�ำหรับการเจรจาจัดท�ำความตกลงการค้าเสรี อาเซียน - สหภาพยุโรป ไทยได้เข้าร่วมกับประเทศสมาชิกอาเซียน ในการเจรจาจัดท�ำความตกลงการค้าเสรีอาเซียน - สหภาพยุโรป มาตั้งแต่ปี 2550 แต่ทั้งสองฝ่ายไม่สามารถหาข้อยุติได้โดยเฉพาะ ประเด็นส�ำคัญ เช่น ระดับการเปิดตลาดสินค้าและบริการ ทรัพย์สนิ ทางปัญญา การจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐและนโยบายการแข่งขัน เป็นต้น รวมถึงประเด็นการเมืองระหว่างประเทศเรื่องการยอมรับเมียนมาร์ จึงส่งผลให้ในการประชุมคณะเจรจาจัดท�ำความตกลงการค้าเสรี อาเซียน - สหภาพยุโรป ครั้งที่ 7 เมื่อวันที่ 4 - 5 มีนาคม 2552 ที่มาเลเซีย คณะเจรจาฯ ได้มีมติให้พักการเจรจาไว้ชั่วคราว ด้านความร่วมมือและกาพัฒนา ความร่วมมือเพื่อการ พัฒนาระหว่างอาเซียนกับสหภาพยุโรปเป็นการด�ำเนินงานระหว่าง อาเซียนกับประชาคมยุโรป (European Community) โดยอาศัย
100
ประเทศไทยกับอาเซียน
Cooperation Agreement between Member Countries of ASEAN and European Community ปี 2523 เป็นพื้นฐาน โดยมี ASEAN - EC Joint Cooperation Committee (JCC) เป็นกลไกหลักในการด�ำเนินความร่วมมือ สหภาพยุโรปได้จัดสรรงบประมาณ จ�ำนวน 70 ล้านยูโร ส�ำหรับโครงการความร่วมมือในกรอบอาเซียน - สหภาพยุโรป (Regional EU - ASEAN Programmes) ปี 2550 - 2556 โดยมี วัตถุประสงค์เพือ่ สนับสนุนการจัดตัง้ ประชาคมอาเซียน และประเด็น ความร่วมมือที่ส�ำคัญในเรื่องการเสริมสร้างขีดความสามารถด้าน สถิติของส�ำนักเลขาธิการอาเซียน สนับสนุนความร่วมมือมาตรฐาน ทรัพย์สินทางปัญญา การบินพลเรือน การย้ายถิ่นฐานและการ จัดการชายแดน ด้ า นความเชื่ อ มโยงระหว่ า งกั น ของอาเซี ย น (ASEAN Connectivity) สหภาพยุโรปแสดงความพร้อมทีจ่ ะสนับสนุนอาเซียน ในการสร้างองค์ความรู้ด้านการจัดการข้ามพรมแดนและรูปแบบ การระดมทุน อาเซียนและประชาคมยุโรปยังมี Regional EU - ASEAN Dialogue Instrument (READI) เป็นกลไกส่งเสริมกรอบความร่วมมือ ด้านที่ไม่ใช่การค้าและการลงทุน โดยจัดให้มีการหารือในระดับ เจ้าหน้าที่ต่อเนื่องกับการประชุมของอาเซียนในสาขาความร่วมมือ นั้น ๆ ที่มีอยู่แล้ว สาขาความร่วมมือภายใต้ READI ที่ส�ำคัญ ได้แก่ การลักลอบค้ามนุษย์ เทคโนโลยีสารสนเทศ การขนส่งทางอากาศ และการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ
ประเทศไทยกับอาเซียน
101
อาเซียน - สหประชาชาติ
ความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับสหประชาชาติ (United Nations - UN) เริ่มขึ้นบนพื้นฐานของความร่วมมือด้านวิชาการ ระหว่างอาเซียนกับ UNDP ซึ่งได้เริ่มขึ้นในช่วงปี 2513 และต่อมา UNDP ได้รบั สถานะประเทศคูเ่ จรจา (Dialogue Partner) ของอาเซียน ในปี 2520 ต่อมาสหประชาชาติพยายามที่จะพัฒนาความร่วมมือ กับอาเซียน โดยส่งเสริมให้มีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง 2 องค์กร ภายใต้ ยุทธศาสตร์ของส�ำนักงานเลขาธิการสหประชาชาติที่จะส่งเสริมการ เป็นหุ้นส่วนกับองค์การระดับภูมิภาคทั่วโลก เพื่อช่วยแก้ไขปัญหา ระดับโลกและภูมิภาค ในชั้นนี้สหประชาชาติยังไม่มีสถานะเป็น ประเทศคูเ่ จรจากับอาเซียน แต่อาเซียนเข้าร่วมการประชุมในสถานะ ผู้สังเกตการณ์ในการประชุมขององค์การสหประชาชาติ การประชุมสุดยอดอาเซียน - สหประชาชาติ ครัง้ ที่ 1 จัดขึน้ ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2543 ในระหว่างการประชุม UNCTAD ครั้งที่ 10 มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์ และสร้างความเชือ่ มโยงทีต่ อ่ เนือ่ งระหว่างประเทศในกลุม่ อาเซียนกับ สหประชาชาติและเพือ่ สนับสนุนการท�ำงานของทีป่ ระชุมสหประชาชาติ ว่าด้วยการค้าและการพัฒนาสมัยที่ 10 มีเลขาธิการอาเซียนและ หัวหน้าองค์กรต่าง ๆ ภายใต้กรอบสหประชาชาติเข้าร่วมด้วย ที่ประชุมได้หารือใน 3 หัวข้อหลักคือ 1) ประเด็นด้านการเมือง และความมั่นคง 2) ประเด็นด้านการพัฒนา และ 3) ความร่วมมือ ระหว่างอาเซียนกับสหประชาชาติในเรือ่ งของการเมืองและความมัน่ คง การประชุมสุดยอดอาเซียน - สหประชาชาติ ครัง้ ที่ 2 จัดขึน้ ที่นครนิวยอร์ก เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2548 มีวัตถุประสงค์
102
ประเทศไทยกับอาเซียน
เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับสหประชาชาติ เพื่อให้ อาเซียนเป็นที่ยอมรับมากยิ่งขึ้นในเวทีระหว่างประเทศ รวมทั้งเพื่อ ติดตามผลการประชุมสุดยอดอาเซียน - สหประชาชาติ ครั้งที่ 1 โดยมีประเด็นหารือที่ส�ำคัญ คือ (1) การสนับสนุนระบบพหุภาคี นิยม (Multilateralism) และ การปฏิรปู สหประชาชาติ ซึง่ ต้องมีความ สอดคล้องกับสถานการณ์ปจั จุบนั และให้ความส�ำคัญกับการขจัดความ ยากจน (2) การสนับสนุนการพัฒนาและการขยายสมาชิกภาพของ สภาความมั่นคงสหประชาชาติ (UNSC) โดยยึดหลักความโปร่งใส และตรวจสอบได้ (3) ความร่วมมือเพื่อช่วยประเทศสมาชิกอาเซียน บรรลุ Millennium Development Goals (MDGs) ในปี 2558 (4) ความร่วมมือเพื่อช่วยอาเซียนในการจัดตั้งประชาคมอาเซียน ภายในปี 2558 (5) ความร่วมมือในประเด็นเฉพาะด้าน เช่น การจัดการภัยพิบตั ิ HIV/AIDs และไข้หวัดนก (6) การสร้างสันติภาพ และความมั่นคง การประชุมสุดยอดอาเซียน-สหประชาชาติ ครั้งที่ 3 จัดขึ้น เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2553 ระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 17 ที่กรุงฮานอย เวียดนาม มีสาระส�ำคัญ ได้แก่ 1) ความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับสหประชาชาติเพื่อช่วยให้ประเทศ สมาชิกอาเซียนสามารถบรรลุเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Development Goals) ภายในปี 2558 2) การให้ ความส�ำคัญกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ซงึ่ รวมถึงการสาธารณสุข การศึกษา และสิทธิมนุษยชน 3) การเข้ามามีส่วนร่วมของ สหประชาชาติและองค์กรระหว่างประเทศในการเสริมสร้างความ เชือ่ มโยงในอาเซียน (ASEAN Connectivity) และ 4) การมีสว่ นร่วม
ประเทศไทยกับอาเซียน
103
ของสหประชาชาติในการเสริมสร้างศักยภาพ ให้กับประเทศสมาชิก อาเซียนส�ำหรับปฏิบัติการรักษาสันติภาพและการบริหารจัดการ ภัยพิบัติ การประชุมสุดยอดอาเซียน - สหประชาชาติ ครัง้ ที่ 4 จัดขึน้ เมือ่ วันที่ 19 พฤศจิกายน 2554 ระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 19 เมืองบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย เป็นการทบทวนการ ด�ำเนินความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับองค์การสหประชาชาติและ ก�ำหนดทิศทางการด�ำเนินความสัมพันธ์ในอนาคต โดยเน้นความ ร่วมมือที่เป็นรูปธรรมเพื่อให้อาเซียนสามารถใช้ประโยชน์จากความ เชีย่ วชาญของสหประชาชาติในเรือ่ งต่าง ๆ และเพือ่ ให้สหประชาชาติ สนับสนุนบทบาทของอาเซียนในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ในภูมิภาค ที่ประชุมได้รับรองปฏิญญาความเป็นหุ้นส่วนระหว่างอาเซียนกับ องค์การสหประชาชาติ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วม มือที่เป็นหุ้นส่วนยิ่งขึ้นระหว่างอาเซียนกับสหประชาชาติในสาขา ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสามเสาหลักของอาเซียน ได้แก่ การเมืองและ ความมั่นคง เศรษฐกิจ และสังคมและวัฒนธรรม
104
ประเทศไทยกับอาเซียน
2
ประเทศไทยกับอาเซียน
ประเทศไทยกับอาเซียน
105
ประเทศไทยกับอาเซียน สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียน ซึ่งก่อตั้งมาตั้งแต่ปี 2510 มีพัฒนาการมาเป็นล�ำดับและไทยก็มี บทบาทส�ำคัญในการผลักดันความร่วมมือของอาเซียนให้มีความ คืบหน้ามาโดยตลอด ดร.ถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง การต่างประเทศของไทยในขณะนั้น มีบทบาทส�ำคัญในการเดินทาง ไปเจรจาไกล่เกลีย่ ความขัดแย้งระหว่างมลายาและฟิลปิ ปินส์ เรือ่ งการ อ้างกรรมสิทธิเหนือดินแดนซาบาห์และซาราวัก รวมทัง้ การทีส่ งิ คโปร์ แยกตัวออกมาจากมลายา และได้เชิญรัฐมนตรีตา่ งประเทศของประเทศ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อีก 4 ประเทศ คือ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ มาหารือร่วมกันที่แหลมแท่น จังหวัดชลบุรี อันน�ำมาสู่การลงนามในปฏิญญากรุงเทพ เพื่อก่อตั้งอาเซียน ที่ วังสราญรมย์ เมือ่ วันที่ 8 สิงหาคม 2510 ไทยจึงถือเป็นทัง้ ประเทศ ผู้ร่วมก่อตั้งและเป็น “บ้านเกิด” ของอาเซียน ต่อมาอาเซียนได้ขยายสมาชิกภาพขึน้ มาเป็นล�ำดับ โดยบรูไน ดารุสซาลาม เข้าเป็นสมาชิกเป็นประเทศที่ 6 ในปี 2527 และภายหลัง เมื่อประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่เหลืออีก 4 ประเทศ คือ เวียดนาม ลาว เมียนมาร์ และกัมพูชา ทยอยกันเข้าเป็นสมาชิก จนครบ 10 ประเทศ เมื่อปี 2542 นับเป็นก้าวส�ำคัญที่ไทยได้มี บทบาทเชื่อมโยงประเทศที่ตั้งอยู่บนภาคพื้นทวีปและประเทศที่เป็น หมู่เกาะทั้งหมดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ให้เป็นอันหนึ่งอัน เดียวกันโดยมีไทยเป็นจุดศูนย์กลาง ถึงแม้วา่ ปฏิญญากรุงเทพ จะมิได้ ระบุถึงความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง โดยกล่าวถึง
106
ประเทศไทยกับอาเซียน
เพียงความร่วมมือกันด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การศึกษา การเกษตร อุตสาหกรรม การส่งเสริมสันติภาพและเสถียรภาพ ในภูมิภาค แต่อาเซียนได้มีบทบาทส�ำคัญในการเสริมสร้างความ ไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างประเทศในภูมิภาค ลดความหวาดระแวงและ ช่วยเสริมสร้างสภาพแวดล้อม ทีเ่ อือ้ อ�ำนวยต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ และทีส่ �ำคัญไทยได้เป็นแกนน�ำร่วมกับอินโดนีเซียและประเทศสมาชิก อาเซียนดัง้ เดิมในการแก้ไขปัญหากัมพูชา รวมทัง้ ความร่วมมือในการ แก้ไขปัญหาผูล้ ภี้ ยั อินโดจีนจนประสบความส�ำเร็จลุลว่ งไปด้วยดี และ ช่วยเสริมสร้างสันติภาพ เสถียรภาพ และความมัน่ คงในภูมภิ าคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อไทยที่เป็นประเทศด่านหน้า นอกจากนี้ ประเทศไทย โดยอดีตนายกรัฐมนตรีนายอานันท์ ปันยารชุน มีบทบาทส�ำคัญในการผลักดันความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ของอาเซียนให้มคี วามคืบหน้า โดยการริเริม่ ให้มกี ารจัดตัง้ เขตการค้า เสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area : AFTA) ขึ้นเมื่อปี 2535 โดยอาเซียนตกลงทีจ่ ะลดภาษีศลุ กากรระหว่างกันให้เหลือร้อยละ 0-5 ในเวลา 15 ปี ซึ่งต่อมาได้ลดเวลาลงเหลือ 10 ปี โดยประเทศ สมาชิกเก่า 6 ประเทศ ได้ด�ำเนินการแล้วเสร็จในปี 2546 ในขณะ ที่ประเทศสมาชิกใหม่ 4 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และ เวียดนาม ด�ำเนินการเสร็จสิ้นในปี 2551 ต่อมาทีป่ ระชุมสุดยอดอาเซียนทีบ่ าหลี เมือ่ ปี 2546 ได้แสดง เจตนารมณ์รว่ มกันทีจ่ ะสร้างประชาคมอาเซียน โดยมีการจัดท�ำแผน งานด้านต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว น�ำมาสู่การจัดท�ำ กฎบัตรอาเซียน เพื่อวางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กร ของอาเซียน ท�ำให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มีกฎกติกาในการท�ำงาน
ประเทศไทยกับอาเซียน
107
มีประสิทธิภาพ และเป็นองค์กรเพื่อประชาชนอย่างแท้จริง ทั้งนี้ กฎบัตรอาเซียน ได้เริ่มมีผลใช้บังคับแล้วตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม 2551 ซึ่งเป็นช่วงเวลาเดียวกับที่ไทยได้เข้าด�ำรงต�ำแหน่งประธาน อาเซียน และที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 ที่ประเทศไทย เป็นเจ้าภาพ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2552 ได้รับรองปฏิญญาชะอ�ำ - หัวหินว่าด้วยแผนงานส�ำหรับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในทั้ง 3 เสาหลัก คือ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คง ประชาคมเศรษฐกิจ และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม เพือ่ ด�ำเนินการให้บรรลุเป้าหมาย ของการจัดตั้งประชาคมอาเซียนภายในปี 2558 ประเทศไทยกับการด�ำรงต�ำแหน่งประธานอาเซียน เมื่อเดือนกรกฎาคม 2551 ไทยเข้าด�ำรงต�ำแหน่งประธาน อาเซียนต่อจากสิงคโปร์ นับเป็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ส�ำคัญในการ สร้างประชาคมอาเซียน รวมทั้งอยู่ในช่วงเดียวกับที่คนไทย คือ ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ ด�ำรงต�ำแหน่งเลขาธิการอาเซียน ไทยจึงให้ ความส�ำคัญต่อการวางรากฐานส�ำหรับการสร้างประชาคมอาเซียน เพือ่ ให้เป็นประชาคมทีค่ �ำนึงถึงผลประโยชน์ของประชาชนเป็นส�ำคัญ โดยการเสริมสร้างประสิทธิภาพของกลไกต่าง ๆ ของอาเซียนให้ สามารถเข้าไปร่วมแก้ไขปัญหาทีม่ ผี ลกระทบต่อชีวติ ความเป็นอยูข่ อง ประชาชนได้อย่างทันท่วงที นอกจากนี้ ไทยได้ผลักดันให้กลไกใหม่ ๆ ของอาเซียนทีก่ �ำหนด ไว้ในกฎบัตรอาเซียน สามารถด�ำเนินงานได้อย่างครบถ้วน ทั้งการ จัดตัง้ คณะกรรมการผูแ้ ทนถาวรประจ�ำอาเซียนทีก่ รุงจาการ์ตา คณะ มนตรีประสานงานอาเซียน และคณะมนตรีประจ�ำประชาคมอาเซียน
108
ประเทศไทยกับอาเซียน
ทั้ง 3 เสาหลัก รวมทั้งเปิดโอกาสให้ประชาชนและภาคประชาสังคม ต่าง ๆ ได้เข้ามามีส่วนร่วม เพื่อช่วยกันสร้างประชาคมอาเซียน ดังจะเห็นได้จากริเริ่มให้มีการพบปะอย่างไม่เป็นทางการระหว่าง ผู้น�ำอาเซียนกับผู้แทนสมัชชารัฐสภาอาเซียน เยาวชนอาเซียนและ ภาคประชาสังคมอาเซียนในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 และครั้งที่ 15 ที่อ�ำเภอชะอ�ำ - หัวหิน เป้าหมายส�ำคัญประการหนึ่งของไทยในการสร้างประชาคม อาเซียนให้เป็น “ประชาคม เพื่อประชาชน” ก็คือ การจัดตั้งกลไก สิทธิมนุษยชนอาเซียนเพือ่ ให้เป็นหน่วยงานหลักในการประสานความ ร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนกับองค์การระหว่างประเทศ ที่เกี่ยวข้องและองค์กร ภาคประชาสังคมต่าง ๆ ในการส่งเสริมและ คุม้ ครองสิทธิของประชาชนในภูมภิ าค ซึง่ เป็นทีน่ า่ ยินดีวา ่ เป้าหมาย ดั ง กล่ า วได้ บ รรลุ ผ ลอย่ า งเป็ น รู ป ธรรมในระหว่ า งการประชุ ม สุดยอดอาเซียน ครัง้ ที่ 15 ทีอ่ �ำเภอชะอ�ำ - หัวหิน เมือ่ เดือนตุลาคม 2552 ซึง่ มีการประกาศจัดตัง้ คณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วย สิทธิมนุษยชนขึน้ อย่างเป็นทางการ นับเป็นความส�ำเร็จประการหนึง่ ที่ไทยในฐานะประธานอาเซียนได้มีบทบาทส�ำคัญในการผลักดัน ในการด�ำเนินการให้บรรลุเป้าหมายเรือ่ งการจัดตัง้ ประชาคม อาเซียนภายในปี 2558 อาเซียนจ�ำเป็นต้องให้ความส�ำคัญกับ ประชาชนทั้งในเรื่องการให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมและรู้สึก เป็นเจ้าของประชาคมที่จะสร้างขึ้น ทั้งนี้บทเรียนจากสหภาพยุโรป ชี้ให้เห็นว่าประชาคมจะไม่สามารถบรรลุผลได้หากประชาชนไม่ให้ การสนับสนุน ต่อมาในปี 2553 ไทยได้เสนอแนวคิดเกีย่ วกับความเชือ่ มโยง
ประเทศไทยกับอาเซียน
109
ในภูมภิ าคอาเซียน (ASEAN Connectivity) เพือ่ เสริมสร้างความเป็น ปึกแผ่นของประชาคมอาเซียน ในปี 2558 (ค.ศ. 2015) อีกทั้ง เพือ่ ส่งเสริมความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนในเวทีโลก และ ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 20 ที่กัมพูชา ในปี 2555 ผู้น�ำอาเซียนให้การรับรองปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยอาเซียน ปลอด ยาเสพติด ปี 2558 ตามข้อเสนอของไทย ประเทศไทยสู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558 รัฐบาลไทยมีจุดมุ่งหมายในการน�ำประเทศไปสู่การเป็น ประชาคมอาเซียนในปี 2558 อย่างสมบูรณ์ โดยสร้างความพร้อม และความเข้มแข็ง ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และการเมืองความมั่นคง โดยนโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มด�ำเนินการ ในปีแรกยังรวมถึงการเร่งด�ำเนินการตามข้อผูกพันในการรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 ทั้งในมิติเศรษฐกิจ สังคม และ ความมั่นคง ตลอดจนการเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคมขนส่งภายใน และภายนอกภูมิภาค นอกจากนี้ ยังมีนโยบายด้านเศรษฐกิจและ สังคมอีกหลายประการเพือ่ รองรับการเข้าสูก่ ารเป็นประชาคมอาเซียน กลไกในการด�ำเนินงานระดับชาติ (1) คณะกรรมการอาเซียนแห่งชาติ ซึ่งมีรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศเป็นประธาน เป็นกลไกตัดสินใจและประสาน งานระดับนโยบายเพือ่ บูรณาการการด�ำเนินการของหน่วยงานไทยและ เตรียมความพร้อมเพื่อก้าวสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 อย่างเป็นเอกภาพและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ได้มีการจัดตั้ง
110
ประเทศไทยกับอาเซียน
คณะอนุกรรมการว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนเพื่อ ประสานงานและติดตามให้มกี ารด�ำเนินการตามแผนแม่บทว่าด้วยความ เชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนที่สอดคล้องกับผลประโยชน์ของไทย และคณะอนุกรรมการประชาสัมพันธ์ ซึ่งมีอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ เป็นประธาน เพื่อบูรณาการงานการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจและ การสร้างความตระหนักรู้เรื่องอาเซียนแก่ทุกภาพส่วนของสังคม เพื่อให้ประชาชนไทยมีส่วนร่วมกับการสร้างประชาคมอาเซียนและ สามารถใช้โอกาสจากประชาคมอาเซียนได้อย่างเต็มที่ (2) คณะกรรมการ/อนุกรรมการส�ำหรับการด�ำเนินการตาม แผนงานการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในแต่ละเสา โดยหน่วยงานที่ เป็นผู้ประสานงานหลักของแต่ละเสาเป็นประธาน ได้แก่ กระทรวง การต่างประเทศ – เสาการเมืองและความมั่นคง กระทรวงพาณิชย์ – เสาเศรษฐกิจ และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ – เสาสังคมและวัฒนธรรม (3) ส�ำนักเลขาธิการอาเซียนแห่งชาติ จัดตั้งขึ้นตามข้อ 13 ของกฎบัตรอาเซียน โดยมี กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ ท�ำหน้าที่ดังกล่าว เพื่อเป็นผู้ประสานงานกลางแห่งชาติในเรื่องการ อนุวัติข้อตัดสินใจของอาเซียนและเตรียมการระดับชาติของการ ประชุมอาเซียน รวมทั้งให้มีส่วนร่วมในการสร้างประชาคมอาเซียน และเก็บรักษาข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอาเซียน แนวทางการด�ำเนินงานเพื่อสร้างประชาคม ประเด็นความร่วมมือส�ำคัญทีไ่ ทยผลักดันและมีความเร่งด่วน ส�ำหรับการสร้างประชาคมอาเซียนที่มีขีดความสามารถในการ
ประเทศไทยกับอาเซียน
111
แข่งขันสูง และมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง ภายในปี 2558 (ค.ศ. 2015) - ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ เพือ่ สร้างตลาดและฐานการ ผลิตเดียว ส�ำหรับประชากร 600 ล้านคนในอาเซียน โดยให้มีการ ไหลเวียนอย่างเสรีส�ำหรับสินค้า บริการ การลงทุนและบุคลากร วิชาชีพต่างๆ และมีการไหลเวียนอย่างเสรียิ่งขึ้นส�ำหรับเงินทุน - การเสริมสร้างความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (ASEAN Connectivity) ตามแผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยง ระหว่างกันในอาเซียน (ASEAN Master Plan on ASEAN Connectivity) ในปี 2558 เพือ่ เป็นกรอบในการร่วมมือในการสร้างความเชือ่ มโยง ระหว่างกันใน 3 มิติ คือ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านกฎระเบียบ และด้านประชาชน โดยความเชื่อมโยงดังกล่าวจะเน้นอาเซียนใน เบื้องต้น และจะเป็นพื้นฐานในการเชื่อมโยงไปภูมิภาคต่าง ๆ อาทิ เอเชียตะวันออก เอเชียใต้ และอื่น ๆ ต่อไป - การบริหารจัดการภัยพิบตั ิ ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 19 ที่สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ได้มีการลงนามความตกลง เพื่อเริ่มด�ำเนินการศูนย์ประสานงานอาเซียนเพื่อให้ความช่วย เหลือด้านมนุษยธรรม หรือ AHA Center ขึ้นที่กรุงจาการ์ตา อินโดนีเซีย เพื่อท�ำหน้าที่ประสานความช่วยเหลือระหว่างประเทศ สมาชิกอาเซียนและความช่วยเหลือจากนอกภูมิภาคกรณีภัยพิบัติ นอกจากนี้ไทยได้เป็นผู้ริเริ่มให้มีการออกแถลงการณ์ว่าด้วยความ ร่วมมือในด้านการป้องกันอุทกภัย การลดผลกระทบ การบรรเทา การฟื้นฟู และการบูรณะ (ASEAN Leaders’ Statement on Cooperation in Flood Prevention, Mitigation, Relief,
112
ประเทศไทยกับอาเซียน
Recovery and Rehabilitation) ซึง่ นับเป็นครัง้ แรกทีอ่ าเซียนก�ำหนด ความร่วมมือ ด้านการบริหารจัดการน�้ำและการฟื้นฟูและบูรณะ หลังภัยพิบัติอย่างชัดเจน - การรักษาความเป็นศูนย์กลางของอาเซียนในโครงสร้าง สถาปัตยกรรมในภูมภิ าค เพือ่ ให้อาเซียนเป็นผูข้ บั เคลือ่ นกรอบความ ร่วมมือต่าง ๆ ในภูมิภาค ได้แก่ ASEAN+1, ASEAN+3, ASEAN Regional Forum (ARF) และ East Asia Summit (EAS) ซึง่ สหรัฐฯ และรัสเซียเข้าร่วมประชุม EAS เป็นครั้งแรกเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2554 โดยมีโครงการส�ำคัญ เช่น เส้นทางรถไฟคุนหมิง − สิงคโปร์ และการก่อสร้างท่าเรือน�้ำลึกทวายในเมียนมาร์ เป็นต้น นอกจากนี้ ไทยส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากความตกลงเขตการค้าเสรี (FTA) ต่าง ๆ ที่อาเซียนมีกับ 6 ประเทศคู่เจรจา (จีน ญี่ปุ่น สาธารณรัฐ เกาหลี อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์) - การเพิม่ บทบาทของอาเซียนในเวทีโลก อาเซียนมีสว่ นร่วม ในการประชุม G20 อย่างต่อเนื่อง และมีการประชุมระหว่างผู้น�ำ อาเซียนกับเลขาธิการสหประชาชาติอย่างสม�ำ่ เสมอ รวมทัง้ ได้จดั ท�ำ ความเป็นหุ้นส่วนรอบด้านกับสหประชาชาติ (ASEAN – UN Comprehensive Partnership) โดยส่งเสริมความร่วมมือในประเด็นที่ มีผลประโยชน์รว่ มกัน เช่น การปฏิบตั กิ ารรักษาสันติภาพ การบริหาร จัดการภัยพิบัติ และการส่งเสริมความมั่นคงทางทะเล เป็นต้น การเตรียมความพร้อมของประเทศไทยสูก่ ารเป็นประชาคมอาเซียน - การเตรียมความพร้อมของภาครัฐ การพัฒนาศักยภาพ ข้าราชการทัง้ ด้านการท�ำงานในเวทีระหว่างประเทศ และทักษะภาษา
ประเทศไทยกับอาเซียน
113
อังกฤษและภาษาเพือ่ นบ้าน รวมทัง้ การด�ำเนินการแก้ไขและปรับปรุง กฏหมายให้สอดคล้องกับพันธกรณีของไทยภายใต้กรอบอาเซียน ทั้งสามเสา - การเตรียมความพร้อมของภาคประชาชน โดยการสร้าง ความตระหนักรู้และให้ประชาชน มีส่วนร่วมในกระบวนการสร้าง ประชาคมอาเซียนผ่านกิจกรรมอาเซียนสัญจร กิจกรรมวันอาเซียน การสัมมนา ค่ายเยาวชนอาเซียน การตอบปัญหาอาเซียน การจัดท�ำ สือ่ เผยแพร่ ทัง้ สือ่ สิง่ พิมพ์ เว็บไซต์ รายการวิทยุและโทรทัศน์ รวมทัง้ เครือข่ายศูนย์อาเซียนศึกษา เป็นต้น - การเตรียมความพร้อมของภาคเอกชน โดยพัฒนา ศักยภาพของภาคเอกชนให้มีขีดความสามารถในการแข่งขัน และ สามารถใช้โอกาสจากการเปิดตลาดเสรีอาเซียนได้อย่างเต็มที่ รวมทัง้ ให้ความส�ำคัญกับการจัดท�ำยุทธศาสตร์เพือ่ ลดทอนผลกระทบทีอ่ าจ เกิดขึน้ กับภาคธุรกิจไทย โดยเฉพาะกับผูป้ ระกอบการขนาดกลางและ ขนาดย่อม
114
ประเทศไทยกับอาเซียน
3
สู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ประเทศไทยกับอาเซียน
115
สูป ่ ระชาคมอาเซียน ปี 2558 “ประชาคมอาเซียน” เป็นเป้าหมายของการรวมตัวกันของ ประเทศสมาชิกอาเซียน เพือ่ เพิม่ อ�ำนาจต่อรองและขีดความสามารถ ในการแข่งขันในเวทีระหว่างประเทศในทุกด้าน รวมถึงความสามารถ ในการรับมือกับปัญหาใหม่ ๆ ระดับโลกที่ส่งผลกระทบต่อภูมิภาค เช่น ภาวะโลกร้อน การก่อการร้าย หรืออาจกล่าวได้ว่า การเป็น ประชาคมอาเซียนคือการท�ำให้ประเทศสมาชิกรวมเป็น “ครอบครัว เดียวกัน” มีความแข็งแกร่งและมีภมู ติ า้ นทานทีด่ ี สมาชิกในครอบครัว มีสภาพความเป็นอยูท่ ดี่ ี ปลอดภัย และสามารถท�ำมาค้าขายได้อย่าง สะดวกยิ่งขึ้น แรงผลักดันส�ำคัญที่ท�ำให้ผู้น�ำประเทศสมาชิกอาเซียนตกลง จัดตั้งประชาคมอาเซียนซึ่งถือเป็นการปรับปรุงและวางรากฐาน การพัฒนาของอาเซียนครั้งใหญ่คือ สภาพแวดล้อมระหว่างประเทศ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปทัง้ ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ท�ำให้อาเซียน ต้องเผชิญกับความท้าทายใหม่ ๆ เช่น โรคระบาด อาชญากรรม ข้ามชาติ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ปัญหาสิ่งแวดล้อม ภาวะโลกร้อน และความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดจากการไม่สามารถแข่งขันทางเศรษฐกิจกับ ประเทศอื่น ๆ โดยเฉพาะสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐ อินเดียได้ เพราะประเทศเหล่านี้ มีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ อย่างก้าวกระโดด ประชาคมอาเซียนถือก�ำเนิดขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อเดือน ตุลาคม 2546 จากการที่ผู้น�ำอาเซียนได้ร่วมลงนามในปฏิญญาว่า ด้วยความร่วมมืออาเซียน (Declaration of ASEAN Concord II หรือ Bali Concord) เห็นชอบให้จัดตั้งประชาคมอาเซียน ภายใน ปี 2563 ต่อมาในการประชุมสุดยอดผู้น�ำอาเซียน ครั้งที่ 12 ใน
116
ประเทศไทยกับอาเซียน
เดือนมกราคม 2550 ที่เซบู ฟิลิปปินส์ ผู้น�ำอาเซียนได้ตกลงให้มี การจัดตั้งประชาคมอาเซียนให้แล้วเสร็จเร็วขึ้นภายในปี 2558 ประชาคมอาเซียน ประกอบด้วยความร่วมมือ 3 ด้านซึ่ง เปรียบเสมือนเสาหลักสามเสาทีเ่ กีย่ วข้องสัมพันธ์กนั ได้แก่ ประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political - Security Community - APSC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community - AEC) และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community - ASCC) เสาหลัก แต่ละด้านมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political - Security Community) อาเซียนได้ตกลงทีจ่ ะให้ประชาคมการเมืองและความมัน่ คง มี เป้าหมายส�ำคัญ 3 ประการ ดังนี้ (1) ประชาคมทีม่ กี ติกาและมีการพัฒนาค่านิยมและบรรทัดฐาน ร่วมกัน (A rules-based Community of shared values and norms) ซึ่งมี 2 หลักการที่ต้องยึดมั่นควบคู่กันไป กล่าวคือการ ไม่แทรกแซงกิจการภายใน และการส่งเสริมค่านิยมของประชาชน (Community values) (2) ประชาคมที่ท�ำให้ภูมิภาคมีความเป็นเอกภาพ มีความสุข มีความแข็งแรง พร้อมทัง้ มีความรับผิดชอบร่วมกัน เพือ่ แก้ไขปัญหา ความมั่นคงที่ครอบคลุมในทุกมิติ (A cohesive, peaceful and resilient region with shared responsibility for comprehensive security) ซึง่ เป็นความพยายามทีจ่ ะส่งเสริมให้อาเซียนพึง่ พาอาศัยกลไก ของตนมากขึน้ ในการแก้ไขปัญหาและความท้าทายต่าง ๆ ในภูมภิ าค (3) ประชาคมทีท่ �ำให้เป็นภูมภิ าคทีม่ พี ลวัต และมองไปยังโลก
ประเทศไทยกับอาเซียน
117
ภายนอกทีม่ กี ารรวมตัวกันและลักษณะพึง่ พาซึง่ กันและกันมากยิง่ ขึน้ (A dynamic and outward looking region in an increasingly integrated and interdependent world) ซึง่ สะท้อนถึงการทีอ่ าเซียน ยอมรับว่าไม่ควรมุ่งเพียงเรื่องภายใน แต่เน้นการสร้างหุ้นส่วนกับ โลกภายนอกให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน ไทยกับการสร้างประชาคมการเมืองและความมั่นคง • ส่งเสริมค่านิยมของประชาธิปไตย ธรรมาภิบาล และหลักการ นิติธรรมในอาเซียน โดยมุ่งเน้นประโยชน์ของประชาชนเป็นที่ตั้ง • ส่งเสริมความร่วมมือกับภาคประชาสังคมในงานทีเ่ กีย่ วข้อง กับประชาคมการเมืองและความมั่นคง และมุ่งด�ำเนินภารกิจทาง มนุษยธรรมมากกว่าด้านการเมือง ในการแก้ไขปัญหา Non Traditional Threats เช่น การค้ายาเสพติดและการค้ามนุษย์ เป็นต้น • ส่งเสริมให้มีความโปร่งใสมากขึ้นระหว่างฝ่ายกลาโหม อาเซียน โดยการแลกเปลี่ยนข้อมูลเรื่อง Arms Modernization และ การส่งผู้สังเกตการณ์ในการซ้อมรบ ควรมีความร่วมมือกันให้มาก ยิ่งขึ้นในเรื่องการบริหารจัดการภัยพิบัติ และการปฏิบัติการรักษา สันติภาพ • ส่งเสริมความร่วมมือของอาเซียนในการแก้ไขปัญหา ร่วมกันในเรื่องของ (1) ปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (2) การบริหาร จัดการภัยพิบตั โิ ดยเฉพาะการจัดท�ำระบบและยุทธศาสตร์บรู ณาการ โดยประสานการท�ำงานของฝ่ายพลเรือน ฝ่ายกลาโหมอาเซียนและ ส�ำนักเลขาธิการอาเซียน และ (3) การส่งเสริมความมัน่ คงทางทะเล และการปราบปรามโจรสลัด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community)
118
ประเทศไทยกับอาเซียน
อาเซียนจะรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนภายในปี 2558 โดยมีเป้าหมายอาเซียนมีตลาดและฐานการผลิตเดียวกันและ มีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน และแรงงานมีฝีมืออย่าง เสรี อาเซียนได้จดั ท�ำแผนงานการจัดตัง้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community Blueprint) ซึง่ เป็นแผนงานบูรณาการ การด�ำเนินงานด้านเศรษฐกิจเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ 4 ด้าน คือ (1) การตลาดและฐานการผลิตเดียว โดยจะมีการเคลือ่ นย้ายสินค้า บริการ การลงทุน และแรงงานฝีมอื อย่างเสรี รวมทัง้ การเคลือ่ นย้าย เงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น ตลอดจนการส่งเสริมการรวมกลุ่มสาขา ส�ำคัญของอาเซียนให้เป็นรูปธรรม โดยได้ก�ำหนดเป้าหมายเวลาทีจ่ ะ ค่อย ๆ ลดหรือยกเลิกมาตรการที่มิใช่ภาษี ส�ำหรับประเทศสมาชิก เก่า 6 ประเทศภายในปี 2553 เปิดตลาดภาคบริการและเปิดเสรี การลงทุนภายในปี 2558 และเปิดเสรีการลงทุนภายในปี 2553 (2) การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของ อาเซียนโดยให้ความส�ำคัญกับประเด็นด้านนโยบายที่จะช่วยส่งเสริม การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เช่น นโยบายการแข่งขัน การคุ้มครอง ผู้บริโภค สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ นโยบายภาษี และการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน (การเงิน การขนส่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ และพลังงาน) (3) การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ให้มีการพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) และการเสริมสร้างขีด ความสามารถผ่านโครงการต่าง ๆ เช่น ข้อริเริม่ เพือ่ การรวมตัวของ อาเซียน (Initiative for ASEAN Integration - IAI) เป็นต้นเพื่อลด ช่องว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศสมาชิก (4) การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เน้นการปรับประสาน นโยบายเศรษฐกิจของอาเซียนกับประเทศภายนอกภูมิภาค เพื่อให้
ประเทศไทยกับอาเซียน
119
อาเซียนมีท่าทีร่วมกันอย่างชัดเจน เช่น การจัดท�ำเขตการค้าเสรี ของอาเซียนกับประเทศคู่เจรจาต่าง ๆ เป็นต้น รวมทั้งส่งเสริม การสร้างเครือข่ายในด้านการผลิต/จ�ำหน่ายภายในภูมภิ าคให้เชือ่ มโยง กับเศรษฐกิจโลก ไทยกับการสร้างประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • การเปิดเสรีการค้าสินค้า ได้แก่ สินค้าในบัญชีลดภาษี จ�ำนวน 8,287 รายการ ซึ่งได้ลดภาษีลงเหลือ 0% และสินค้าใน บัญชีอ่อนไหว ประกอบด้วย กาแฟ มันฝรั่ง มะพร้าวแห้ง และไม้ ตัดดอก จ�ำนวน 13 รายการย่อย ซึ่งลดภาษีลงเหลือ 5% ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2553 • การเปิดเสรีการค้าบริการ อาเซียนวางเป้าหมายจะท�ำการ เปิดเสรีการค้าบริการรวมทั้งสิ้น 12 สาขาใหญ่ ประกอบด้วย 128 สาขาย่อย ภายในปี 2558 โดยการยกเลิกอุปสรรคในการให้บริการ ทุกรูปแบบและเปิดให้นกั ลงทุนอาเซียนถือหุน้ ได้อย่างน้อยร้อยละ 70 โดยแผนงานการเปิดเสรีการค้าบริการมี ดังนี้ - สาขาบริการเร่งรัด (Priority Integration Sector : PIS) - สาขาโลจิสติกส์ • การเปิดเสรีการลงทุน อาเซียนได้ลงนามกรอบความตกลง ว่าด้วยเขตการลงทุนอาเซียน (Framework Agreement on the ASEAN Investment Area: AIA) ในปี 2541 มีวัตถุประสงค์เพื่อ ให้อาเซียนเป็นแหล่งดึงดูดการลงทุน ทั้งจากภายในและภายนอก อาเซียน และมีเป้าหมายในการเปิดเสรีการลงทุนในปี 2558 • การเคลือ่ นย้ายแรงงานฝีมอื อย่างเสรี อาเซียนมีเป้าหมาย ในการส่งเสริมการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี โดยอ�ำนวยความสะดวก การเดินทางบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกับการค้าสินค้า บริการ และการลงทุน
120
ประเทศไทยกับอาเซียน
ในด้านต่าง ๆ อาทิ การตรวจลงตรา การออกใบอนุญาตท�ำงาน ส�ำหรับผูป้ ระกอบวิชาชีพและแรงงานฝีมอื อาเซียนทีเ่ กีย่ วข้องกับการค้า ข้ามพรมแดน และกิจกรรมทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับการลงทุนการเคลือ่ นย้าย แรงงานฝีมือภายในภูมิภาค โดยด�ำเนินการ 2 แนวทาง คือ - การจัดตัง้ กรอบทักษะฝีมอื แรงงานระดับประเทศ เพือ่ ใช้ เป็นแนวทางในการน�ำไปสูก่ รอบการยอมรับฝีมอื แรงงานของอาเซียน - การจัดท�ำข้อตกลงยอมรับร่วม (MRA) ส�ำหรับผูป้ ระกอบ วิชาชีพบริการ 8 ฉบับ ได้แก่ วิศวกรรม พยาบาล สถาปัตยกรรม ช่างส�ำรวจ ท่องเที่ยว แพทย์ ทันตแพทย์ และการบัญชี • การด�ำเนินงานตามความร่วมมือสาขาอื่น ๆ เช่น ความ ร่วมมือด้านเกษตร อาหารและป่าไม้ ความร่วมมือด้านทรัพย์สิน ทางปัญญา การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน (การคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ พลังงาน) ความร่วมมือด้านเหมืองแร่ พาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ ความร่วมมือด้านการเงิน ความร่วมมือด้านวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) และการพัฒนาเพือ่ การรวมกลุม่ ของอาเซียน (IAI) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio Cultural Community) อาเซียนมุง่ หวังประโยชน์จากการรวมตัวกันเพือ่ ท�ำให้ประชาชน มีการอยูด่ กี นิ ดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ มีสงิ่ แวดล้อมทีด่ แี ละมีความ รูส้ กึ เป็นอันหนึง่ อันเดียว โดยมีความร่วมมือเฉพาะด้าน (Functional Cooperation) ภายใต้ประเด็นเชิงสังคมและวัฒนธรรมที่ครอบคลุม ในหลายด้าน ได้แก่ เยาวชน การศึกษาและการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์สทิ ธิมนุษยชน สาธารณสุข วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี สิง่ แวดล้อม สตรี แรงงาน การขจัดความยากจน สวัสดิการสังคมและการพัฒนา
ประเทศไทยกับอาเซียน
121
วัฒนธรรมและสารนิเทศ กิจการพลเรือน การตรวจคนเข้าเมืองและ กงสุล ยาเสพติด การจัดการภัยพิบัติ และสิทธิมนุษยชน โดยมีคณะ ท�ำงานอาเซียนรับผิดชอบการด�ำเนินความร่วมมือในแต่ละด้าน อาเซียนได้ตั้งเป้าการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียนในปี 2558 โดยมุ่งหวังในการเป็นประชาคมที่มีประชาชน เป็นศูนย์กลาง มีสังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน ประชากรอาเซียนมี สภาพความเป็นอยูท่ ดี่ แี ละมีการพัฒนาในทุกด้านเพือ่ ยกระดับคุณภาพ ชีวิตของประชาชน ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน รวมทั้งส่งเสริมอัตลักษณ์อาเซียน (ASEAN Identity) เพื่อรองรับการเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน อาเซียนได้จัดท�ำแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน (ASEAN Socio - Cultural Community Blueprint) ซึ่ง ประกอบด้วยความร่วมมือใน 6 ด้าน ได้แก่ (1) การพัฒนามนุษย์ (Human Development) (2) การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม (Social Welfare and Protection) (3) สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice and Rights) (4) ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Sustainability) (5) การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน (Building an ASEAN Identity) (6) การลดช่องว่างทางการพัฒนา (Narrowing the Development Gap) โดยมีกลไกการด�ำเนินงาน 3 ระดับได้แก่ 1. คณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio - Cultural Community Council) ประชุมปีละ 2 ครั้ง และ
122
ประเทศไทยกับอาเซียน
รายงานผลความคืบหน้าการด�ำเนินการตาม ASCC Blueprint ต่อ ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน 2. คณะกรรมการเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน (Socio-Cultural Committee of the Senior Officials SOCA) ประชุมประมาณปีละ 4 ครั้ง โดยจะสรุปรายงานผลการ ด�ำเนินการของ ASCC Blueprint ต่อ ASCC Council 3. Sectoral bodies ใน ASCC ขับเคลื่อนการด�ำเนินการ ตาม ASCC Blueprint โดยกรอบการประชุมระดับรัฐมนตรีและ เจ้าหน้าที่อาวุโส (ปลัดกระทรวงฯ) ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สารนิเทศ (กรมประชาสัมพันธ์ เป็น National Focal Point) วัฒนธรรมและ ศิลปะ (กระทรวงวัฒนธรรม) การศึกษา (กระทรวงศึกษาธิการ) ภัยพิบตั ิ (กระทรวงมหาดไทย – กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย – ระดับกรรมการ ACDM) สิ่งแวดล้อม และสมัชชารัฐภาคีความ ตกลงอาเซียนเรือ่ งมลพิษหมอกควัน (กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม) สาธารณสุข (กระทรวงสาธารณสุข) แรงงาน (กระทรวงแรงงาน) พัฒนาชนบทและขจัดความยากจน (กระทรวง มหาดไทย) สวัสดิการสังคมและการพัฒนา เยาวชน และสตรี (กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์) ข้าราชการ พลเรือน (ส�ำนักงานข้าราชการพลเรือน) กีฬา (กระทรวงการท่องเทีย่ ว และกีฬา)
ประเทศไทยกับอาเซียน
123
A.1 ความร่วมมือด้านการพัฒนา ทางการเมือง
มาตรการ
A.1.4 ส่งเสริมธรรมาภิบาล (ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และแนวทางปฏิบัติที่ดีระหว่างภาครัฐ และทุกภาคส่วนในสังคม)
- กระทรวงยุติธรรม
A.1.3 จัดทาแผนงานเพื่อสนับสนุนและให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันระหว่างรัฐสมาชิกในการพัฒนา ยุทธศาสตร์เพื่อส่งเสริมหลักนิติธรรม ระบบยุติธรรมและโครงสร้างพื้นฐานทางกฎหมาย
- สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
- สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
- กระทรวงการต่างประเทศ
- กรมประชาสัมพันธ์
- คณะกรรมการการเลือกตั้ง
- สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
- กระทรวงศึกษาธิการ
- กระทรวงการต่างประเทศ
หน่วยงานรับผิดชอบ
A.1.2 ปูทางสาหรับกรอบองค์กรเพื่ออานวยความสะดวกต่อการไหลเวียนของข้อมูลเสรี เพื่อการสนับสนุนและความช่วยเหลือซึ่งกันและกันระหว่างรัฐสมาชิกอาเซียน
A.1.1 ส่งเสริมความเข้าใจและการยอมรับในระบอบการเมืองต่าง ๆ วัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ ของรัฐสมาชิกอาเซียน
A. ประชาคมที่มีกฎเกณฑ์และบรรทัดฐานและค่านิยมร่วมกัน
เป้าหมาย
ประชาคมการเมืองและความมั่นคง
แผนงานแห่งชาติสาหรับการก้าวสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 (ตามมติ ครม. วันที่ 12 ตุลาคม 2553)
เป้าหมาย
A.1.8 ส่งเสริมหลักการประชาธิปไตย
- กระทรวงยุติธรรม
A.1.7 ปูองกันและปราบปรามการทุจริต
- กระทรวงการต่างประเทศ
- สานักงานคณะกรรมการข้าราชการ พลเรือน
- สานักงานคณะกรรมการปูองกัน และปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ
- สานักงานคณะกรรมการปูองกัน และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
- กระทรวงการต่างประเทศ
- กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
- กระทรวงยุติธรรม
- กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์
- กระทรวงการต่างประเทศ
- กระทรวงการต่างประเทศ
หน่วยงานรับผิดชอบ
A.1.6 เพิ่มการมีส่วนร่วมขององค์กรที่มีความสัมพันธ์กับอาเซียนที่เกี่ยวข้องต่อการขับเคลื่อน ความคิดริเริ่มเพื่อพัฒนาการทางการเมืองของอาเซียนให้ดาเนินไปข้างหน้า
A.1.5 ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
มาตรการ
A.2 การสร้างและแบ่งปัน กฎเกณฑ์ร่วม
เป้าหมาย
- กระทรวงการต่างประเทศ - กระทรวงการต่างประเทศ
A.2.3 ส่งเสริมให้มีการดาเนินการอย่างสมบูรณ์ตามปฏิญญาว่าด้วยทะเลจีนใต้เพื่อสันติภาพ และเสถียรภาพในทะเลจีนใต้
A.2.4 ส่งเสริมให้มั่นใจว่ามีการดาเนินการตามสนธิสัญญาว่าด้วยเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และแผนปฏิบัติการภายใต้สนธิสัญญาฯ
A.2.5 ส่งเสริมความร่วมมือทางทะเลอาเซียน
- กระทรวงการต่างประเทศ
A.2.2 เสริมสร้างความร่วมมือภายใต้สนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- สภาความมั่นคงแห่งชาติ
- ศูนย์ประสานการปฏิบัติในการรักษา ผลประโยชน์ของชาติทางทะเล (ศรชล.)
- กระทรวงการต่างประเทศ
- กระทรวงกลาโหม (กองทัพเรือ)
- สานักงานปรมาณูเพื่อสันติ
- กระทรวงการต่างประเทศ
- กระทรวงการต่างประเทศ
- กระทรวงวัฒนธรรม
- คณะกรรมการการเลือกตั้ง
หน่วยงานรับผิดชอบ
A.2.1 ปรับกรอบสถาบันของอาเซียนให้เป็นไปตามกฎบัตรอาเซียน
A.1.9 ส่งเสริมสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาค (เพื่อพัฒนาให้มีกิจกรรมเพื่อสนับสนุนวัฒนธรรม เพื่อสันติภาพและการหารือระหว่างศาสนาและภายในศาสนาในภูมิภาค)
มาตรการ
มาตรการ
หน่วยงานรับผิดชอบ
B.2 การแก้ไขความขัดแย้งและ การระงับข้อพิพาทโดยสันติ
B.1 ปูองกันความขัดแย้งและ มาตรการสร้างความ ไว้เนื้อเชื่อใจ
B.2.3 ส่งเสริมความร่วมมือในภูมิภาคเพื่อธารงไว้ซึ่งสันติภาพและเสถียรภาพ
- กระทรวงการต่างประเทศ
- สถาบันศึกษาความมั่นคงและนานาชาติ (ISIS Thailand)
- กระทรวงการต่างประเทศ
- กระทรวงกลาโหม
B.1.5 ส่งเสริมการพัฒนาบรรทัดฐานเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือด้านการปูองกันทางทหารและ ความมั่นคงอาเซียน
B.2.2 เสริมสร้างกิจกรรมการค้นคว้าวิจัยเรื่องสันติภาพ การจัดการความขัดแย้งและการแก้ไข ความขัดแย้ง
- กระทรวงการต่างประเทศ
B.1.4 เสริมสร้างความพยายามในการธารงความเคารพในบูรณภาพแห่งดินแดนอธิปไตย และเอกภาพของรัฐ สมาชิกตามที่กาหนดไว้ในปฏิญญาว่าด้วยหลักการแห่งกฎหมายระหว่างประเทศเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ฉันท์มิตรและความร่วมมือโดยเป็นไปตามหลักกฎบัตรสหประชาชาติ
- กระทรวงการต่างประเทศ
- กระทรวงการต่างประเทศ
B.1.3 สร้างกรอบการดาเนินการทางสถาบันที่จาเป็นเพื่อเสริมสร้างกระบวนการภายใต้กรอบ การประชุมเออาร์เอฟ เพื่อสนับสนุนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
B.2.1 พัฒนารูปแบบการระงับข้อพิพาทโดยสันติเพิ่มเติมจากรูปแบบที่มีอยู่และพิจารณาเสริมสร้าง รูปแบบดังกล่าวให้เข้มแข็งขึ้นด้วยกลไกเพิ่มเติมตามที่จาเป็น
- กระทรวงกลาโหม
- กระทรวงกลาโหม
- กระทรวงการต่างประเทศ
B.1.2 ส่งเสริมความโปร่งใสและความเข้าใจในนโยบายกลาโหมและมุมมองด้านความมั่นคง
B.1.1 เสริมสร้างมาตรการการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ
B. ภูมิภาคที่มีความเป็นเอกภาพ สงบสุข และมีความแข็งแกร่ง พร้อมทั้งมีความรับผิดชอบร่วมกันเพื่อแก้ไขปัญหาความมั่นคงที่ครอบคลุมในทุกมิติ
เป้าหมาย
B.4 ประเด็นความมั่นคง รูปแบบใหม่
B.3 การสร้างสันติภาพ หลังการขัดแย้ง
เป้าหมาย
B.4.1 เสริมสร้างความร่วมมือในการรับมือประเด็นปัญหาสาคัญความมั่นคงรูปแบบใหม่ โดยเฉพาะเรื่องการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติและความท้าทายข้ามแดนอื่นๆ (ส่งเสริมความร่วมมือในองค์ภาวะที่เกี่ยวข้องและภาคประชาสังคมเพื่อกาหนดนโยบาย และส่งเสริมความร่วมมือกับหน่วยงานเพื่อปูองกันภัยคุกคามรูปแบบใหม่)
B.3.3 เพิ่มความร่วมมือในด้านการไกล่เกลี่ยประนีประนอมและค่านิยมที่มีสันติภาพเป็นศูนย์กลาง
B.3.2 ดาเนินการตามโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และสร้างขีดความสามารถในพื้นที่ ภายหลังความขัดแย้ง
B.3.1 เสริมสร้างความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมของอาเซียน
มาตรการ
- กระทรวงสาธารณสุข
- สานักงานตารวจแห่งชาติ
- สภาความมั่นคงแห่งชาติ
- สานักงานคณะกรรมการปูองกัน และปราบปรามยาเสพติด
- กระทรวงการต่างประเทศ
- กระทรวงยุติธรรม
- กระทรวงมหาดไทย
- กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์
- กระทรวงกลาโหม
- ศูนย์ประสานการปฏิบัติในการรักษา ผลประโยชน์ของชาติทางทะเล
- กระทรวงกลาโหม (กองทัพเรือ)
- กระทรวงมหาดไทย
- กระทรวงกลาโหม
หน่วยงานรับผิดชอบ
B.4.2 เพิ่มความพยายามในการต่อต้านการก่อการร้ายโดยการให้สัตยาบันโดยเร็วและดาเนินการ อย่างเต็มที่ตามอนุสัญญาอาเซียนว่าด้วยการต่อต้านการก่อการร้าย
- ประเด็นการก่อการร้ายข้ามชาติและความท้าทายเรื่องพรมแดน
มาตรการ
C.1 การส่งเสริมความเป็นศูนย์กลาง ของอาเซียนในความร่วมมือ ระดับภูมิภาคและการสร้าง
C. ภูมิภาคทีม่ ีพลวัตและมองไปยังโลกภายนอก ในโลกที่มีการรวมตัวและพึง่ พาอาศัยกันยิ่งขึ้น
B.6 การตอบสนองอย่างมีประสิทธิภาพ และทันกาลต่อประเด็นเร่งด่วน หรือสถานการณ์วิกฤต ที่ส่งผลกระทบต่ออาเซียน
B.5 เสริมสร้างความร่วมมือ ของอาเซียนด้านการจัดการ ภัยพิบัติ และการตอบสนอง ต่อสถานการณ์ฉุกเฉิน
เป้าหมาย
- กระทรวงการต่างประเทศ
- กระทรวงยุติธรรม
- กระทรวงการต่างประเทศ
- กระทรวงกลาโหม
- กรมปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย
- กระทรวงการต่างประเทศ
- กระทรวงกลาโหม
- กระทรวงมหาดไทย
- กรมปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย
- สภาความมั่นคงแห่งชาติ
- กระทรวงการต่างประเทศ
- สานักข่าวกรองแห่งชาติ
- กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์
หน่วยงานรับผิดชอบ
เป้าหมาย
ไทยได้ยกเลิกภาษีนาเข้าสาหรับสินค้าทุกรายการ ยกเว้นสินค้าอ่อนไหว (4 ชนิด ได้แก่ ไม้ตัดดอก มันฝรั่ง กาแฟ และเนื้อมะพร้าวแห้ง) ตั้งแต่ปี 2010 (รวมทั้ง อาเซียนเดิมอีก 5 ประเทศ) ทั้งนี้ ไทยไม่มี บัญชีสินค้าอ่อนไหวสูงและต้องติดตามการดาเนินการตามพันธกรณีของประเทศสมาชิกอาเซียนอื่น
ส่งเสริมความโปร่งใสโดยยึดมั่นกับพิธีสารว่าด้วยกระบวนการแจ้งและการจัดตั้งกลไกการเฝูาระวังที่มี ประสิทธิภาพ
การขจัดมาตรการที่ไม่ใช่ภาษี
มาตรการ
การยกเลิกภาษี
หมวด ก. การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน
เป้าหมาย
- กรมการค้าต่างประเทศ
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
- กระทรวงการต่างประเทศ
C.3 เสริมสร้างการปรึกษาหารือ และความร่วมมือในประเด็น พหุภาคีที่เป็นความกังวลร่วมกัน
หน่วยงานรับผิดชอบ
- กระทรวงการต่างประเทศ
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
มาตรการ
C.2 การส่งเสริมความสัมพันธ์ที่ เพิ่มพูนกับประเทศภายนอก
ประชาคม
การอานวยความสะดวกทางการค้า
กฎว่าด้วยแหล่งกาเนิดสินค้า
เป้าหมาย
2. จัดทาและดาเนินการตามแผนงานด้านการอานวยความสะดวกทางการค้า ซึ่งมีจุดมุ่งหมาย ให้กฎระเบียบ ขั้นตอน วิธีการ และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับทางการค้าและศุลกากรที่เรียบง่าย
1. ประเมินสถานะการอานวยความสะดวกทางการค้าในอาเซียน
3. ทบทวนกฎว่าด้วยแหล่งกาเนิดสินค้าที่ใช้โดยประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งในภาพรวมและรายประเทศ และพิจารณาแนวทางการคานวณแหล่งกาเนิดสินค้าแบบสะสมที่เป็นไปได้
2. จัดทาพิธีการในการออกหนังสือรับรองให้เรียบง่ายสาหรับกฎว่าด้วยแหล่งกาเนิดสินค้าภายใต้ CEPT โดยให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งนาระบบอานวยความสะดวกมาใช้ เช่น การออกใบรับรอง แหล่งกาเนิดสินค้าโดยระบบอิเล็กทรอนิกส์ การปรับประสานและจัดระบบพิธีการ ภายในประเทศ ในขอบเขตที่สามารถดาเนินการได้
1. ปรับปรุงและส่งเสริมการพัฒนากฎว่าด้วยแหล่งกาเนิดสินค้าภายใต้ CEPT เพื่อให้ตอบสนองต่อ การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตในภูมิภาค รวมทั้งดาเนินงานปรับปรุงในส่วนที่จาเป็น เช่น การใช้ระบบประเมินอากรล่วงหน้า และการปรับปรุงกฎว่าด้วยแหล่งกาเนิดสินค้า
มาตรการ
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
- กรมศุลกากร
- กรมการค้าต่างประเทศ
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
- กรมศุลกากร
- กรมการค้าต่างประเทศ
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
- กรมศุลกากร
- กรมการค้าต่างประเทศ
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
- กรมศุลกากร
- กรมการค้าต่างประเทศ
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
- กรมศุลกากร
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
การรวมกลุ่มทางศุลกากร
เป้าหมาย
- กรมศุลกากร
- กรมศุลกากร - กรมศุลกากร
- กรมศุลกากร
2. จัดทาระบบสินค้าส่งผ่านแดนของอาเซียน เพื่ออานวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายสินค้าและการขนส่ง
3. จัดทาระบบศุลกากรของอาเซียนเพื่อจัดการกับกรอบงานด้านศุลกากรในกรณีพิเศษ เช่น การนาเข้าชั่วคราว การผลิตนอกเขตประเทศ การผลิตภายในเขตประเทศ เพื่ออานวยความสะดวกการรวมกลุ่ม ทางการผลิตและห่วงโซ่อุปทาน
4. นามาตรฐานและแนวปฏิบัติระหว่างประเทศมาใช้ เพื่อให้การจาแนกพิกัดศุลกากรมีรูปแบบเดียว ปรับประสานระบบการประเมินมูลค่าให้เป็นแนวเดียวกัน และการปรับประสานการตรวจสอบ แหล่งกาเนิดให้เป็นแนวเดียวกัน และการแลกเปลี่ยนข้อมูลในส่วนที่เป็นไปได้
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
- กรมศุลกากร
- กรมการค้าต่างประเทศ
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
- กรมศุลกากร
- กรมการค้าต่างประเทศ
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
1. ปรับปรุงเทคนิคด้านศุลกากรให้ทันสมัยขึ้น จากการปรับประสานกระบวนการและขั้นตอน ศุลกากรให้ง่ายและเป็นแนวเดียวกัน ให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากลและแนวปฏิบัติที่ดี โดยการปฏิบัติตามรูปแบบของกระบวนการขนส่งสินค้าระดับภูมิภาค (การตรวจปล่อยของอาเซียน และแบบฟอร์มใบขนสินค้าของอาเซียน ปี 2007)
4. จัดตั้งศูนย์รวมด้านการอานวยความสะดวกทางการค้าของอาเซียน
3. สนับสนุนการดาเนินการและการมีส่วนร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมการค้าระหว่างประเทศ ให้มีความโปร่งใสและชัดเจน
เป็นแนวเดียวกัน มีมาตรฐาน
มาตรการ
มาตรฐานและอุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า ระบบมาตรฐาน คุณภาพ การรับประกัน การรับรองระบบงาน และการวัดมีความ สาคัญต่อการส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพ และช่วยลดต้นทุนการผลิตเพื่อการนาเข้า/ ส่งออกภายในภูมิภาค มาตรฐาน กฎระเบียบ ทางเทคนิค และกระบวนการตรวจสอบ รับรองจะดาเนินการการปรับประสานให้ สอดคล้องกันโดยยึดตามแนวนโยบายด้าน มาตรฐานและการรับรองของอาเซียน อันจะทาให้เกิดความโปร่งใสมากขึ้น มีการพัฒนาคุณภาพของการตรวจสอบ
การอานวยความสะดวกด้านศุลกากร ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียว ของอาเซียน
เป้าหมาย
- กรมศุลกากร
6. ส่งเสริมการให้ความช่วยเหลือร่วมกันเพื่อให้ระบบศุลกากรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
4. ส่งเสริมให้เกิดความโปร่งใสในการกาหนดและการนามาตรฐาน กฎระเบียบทางเทคนิค และกระบวนการตรวจ ประเมินความสอดคล้องไปปฏิบัติ โดยให้สอดคล้องกับความตกลง WTO TBT และแนวนโยบายด้านมาตรฐาน และการรับรองของอาเซียน
3. เสริมสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางเทคนิค รวมถึงขีดความสามารถของห้องปฏิบัติการ ทดสอบ การสอบเทียบ การตรวจ การรับรอง และการรับรองระบบงาน โดยใช้หลักการและแนวทาง ที่ได้รับการยอมรับในระดับภูมิภาค/สากลเป็นพื้นฐาน
2. จัดทาและดาเนินการตามความตกลงการยอมรับร่วม (MRAs) รายสาขาตามแนวทางที่กาหนดไว้ใน กรอบความตกลงว่าด้วยการยอมรับร่วมของอาเซียน
1. ปรับมาตรฐาน กฎระเบียบทางเทคนิค และกระบวนการตรวจสอบรับรอง โดยปรับให้สอดคล้อง กับวิธีปฏิบัติที่เป็นสากลเท่าที่จะสามารถนาไปใช้ให้เหมาะสมได้ (โดยคานึงถึงผลกระทบทางการค้า ความซับซ้อนของระบบกฎระเบียบ โครงสร้างพื้นฐาน และความเห็นของผู้มีส่วนได้เสีย)
2. จัดทาองค์ประกอบข้อมูลให้เป็นมาตรฐานบนพื้นฐานรูปแบบข้อมูลของ WCO ชุดข้อมูลของ WCO และข้อมูลการค้าสหประชาชาติ (UNTDED) และเร่งนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาใช้ เพื่อให้กระบวนการและการแลกเปลี่ยนข้อมูลเป็นแบบดิจิทัล
- สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
- กระทรวงอุตสาหกรรม
- กรมศุลกากร
1. อาเซียน 6 (บรูไนดารุสซาลาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย) เริ่มดาเนินการบริการ - กรมศุลกากร แบบเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียวแห่งชาติ ภายในปี 2008 เป็นอย่างช้า (National Single Window: NSW) ซึ่งไทยได้ดาเนินการจัดตั้งแล้ว
- กรมศุลกากร
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
5. ดาเนินการระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์ของอาเซียน
มาตรการ
เป้าหมาย
การเปิดเสรีการค้าบริการ
รับรองและส่งเสริมการมีส่วนร่วม อย่างแข็งขันของภาคเอกชน
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ - กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ - กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
2. ขจัดข้อจากัดต่อการค้าบริการอย่างมีนัยสาคัญสาหรับสาขาบริการทุกสาขาที่เหลืออยู่ภายในปี 2015
3. ดาเนินการเปิดเสรีโดยการเจรจาอย่างต่อเนื่องเป็นรอบ รอบละ 2 ปี จนถึงปี 2015 ตัวอย่างเช่น 2008 2010 2012 2014 และ 2015
4. ตั้งเปูาหมายจัดทาข้อผูกพันสาขาใหม่ขั้นต่าในแต่ละรอบการเจรจา โดย 10 สาขา ในปี 2008, 15 สาขาในปี 2010, 20 สาขาในปี 2012, 20 สาขาในปี 2014 และ 7 สาขาในปี 2015 โดยใช้ GATS W/120 เป็นพื้นฐานในการจาแนกสาขาบริการต่าง ๆ
5. จัดทาตารางข้อผูกพันสาหรับทุกรอบการเจรจาตามเกณฑ์ที่กาหนด : - ไม่มีข้อจากัดสาหรับการค้าบริการรูปแบบที่ 1 และ 2 ยกเว้นกรณีมีเหตุผลอันสมควร (เช่น เพื่อความปลอดภัยของสาธารณชน) ซึ่งขึ้นอยู่กับเงื่อนไขการตกลงระหว่างประเทศสมาชิก เป็นกรณี ๆ ไป - อนุญาตการถือหุ้นของคนสัญชาติอาเซียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ในปี 2008 และร้อยละ 70 ในปี 2010 สาหรับสาขาบริการสาคัญ 4 สาขา และไม่น้อยกว่าร้อยละ 49 ในปี 2008 ร้อยละ 51 ในปี 2010 และร้อยละ 70 ในปี 2013 สาหรับสาขาโลจิสติกส์ และไม่น้อยกว่า
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
1. ขจัดข้อจากัดต่อการค้าบริการอย่างมีนัยสาคัญสาหรับ 4 สาขาบริการสาคัญ ได้แก่ การขนส่งทางอากาศ เทคโนโลยีสารสนเทศ สุขภาพ และการท่องเที่ยว ภายในปี 2011 และสาขาบริการสาคัญที่ 5 ได้แก่ โลจิสติกส์ ภายในปี 2013
6. จัดทาโครงการเสริมสร้างขีดความสามารถ เพื่อให้มั่นใจว่าการดาเนินการตามแผนงานเป็นไปอย่างราบรื่น
5. เสริมสร้างความแข็งแกร่งของระบบตรวจติดตามท้องตลาด เพื่อให้มั่นใจว่าการดาเนินงานตาม กฎระเบียบที่ได้ปรับให้สอดคล้องกันประสบผลสาเร็จ
มาตรการ
เป้าหมาย
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ - กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ - กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
สภาวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง
7. จัดทาข้อผูกพันให้สอดคล้องกับเกณฑ์ที่ตกลงกันสาหรับข้อจากัดในด้านการปฏิบัติเยี่ยงคนชาติ การค้าบริการรูปแบบที่ 4 และข้อจากัดในตารางผูกพันภาพรวมภายในปี 2009
8. รวบรวมมาตรการที่เป็นอุปสรรคต่อการค้าบริการให้เสร็จสิ้นภายในเดือนสิงหาคม 2008
9. อนุญาตให้มีความยืดหยุ่นในภาพรวมในการจัดทาตารางข้อผูกพันการเปิดเสรี ซึ่งครอบคลุมสาขาที่ จะยกเว้นจากการเปิดเสรี และสาขาที่ไม่สามารถเปิดเสรีได้ตามเกณฑ์ที่กาหนดสาหรับการค้าบริการ ในแต่ละรูปแบบ ตาราง ข้อผูกพันสาหรับการเปิดเสรีในแต่ละรอบการเจรจาจะมีความ ยืดหยุ่นได้ ดังนี้ - การจัดทาข้อผูกพันให้ได้ตามเปูาหมายที่กาหนดสาหรับการเจรจาในรอบถัดไป หากประเทศ สมาชิกไม่สามารถจัดทาข้อผูกพันได้ตามเกณฑ์ที่กาหนดในรอบก่อนหน้านี้ - อนุญาตให้มีการทดแทนสาขาที่ได้มีการตกลงกันในการเปิดเสรีในรอบนั้น แต่ประเทศสมาชิก ไม่สามารถจัดทาข้อผูกพันสาหรับสาขานั้นได้ ด้วยสาขาอื่นที่อยู่นอกเหนือจากที่ตกลงกัน - การเปิดเสรีโดยวิธีการ ASEAN-X
10. ดาเนินการจัดทาข้อตกลงการยอมรับคุณสมบัติวิชาชีพที่กาลังเจรจาอยู่ให้แล้วเสร็จ ซึ่งรวมบริการ สถาปัตยกรรม บริการด้านบัญชี คุณสมบัติผู้สารวจ บุคลากรด้านการแพทย์ ภายในปี 2008 และบุคลากรด้านทันตกรรมภายในปี 2009
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
6. ตั้งเปูาหมายสาหรับการเปิดเสรีสาหรับข้อจากัดในด้านการปฏิบัติเยี่ยงคนชาติสาหรับการค้าบริการ รูปแบบที่ 4 และข้อจากัดในข้อผูกพันในตารางผูกพันภาพรวม สาหรับการเจรจาแต่ละรอบภายใน ปี 2009
ร้อยละ 49 ในปี 2008 ร้อยละ 51 ในปี 2010 และร้อยละ 70 ในปี 2015 สาหรับสาขา บริการอื่น ๆ และ - ขจัดข้อจากัดอื่น ๆ ในการเข้าสู่ตลาดสาหรับการค้าบริการรูปแบบที่ 3 อย่างก้าวหน้าภายในปี 2015
มาตรการ
1. ปรับประสาน, หากเป็นได้, นโยบายการลงทุน เพื่อบรรลุเปูาหมายการส่งเสริมอุตสาหกรรมและ การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
ด้านการลงทุนภายใต้ความตกลง ACIA (ด้านการอานวยความสะดวกและ ความร่วมมือ)
2. ปรับปรุงขั้นตอนการขอรับการลงทุนและการขออนุญาต โดยการลดขั้นตอนและให้มีความเรียบง่าย
1. เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการลงทุน ดังนี้ - กลไกยุติข้อพิพาทระหว่างนักลงทุนกับรัฐ (investor-state dispute mechanism) - การโอน (transfer) และการส่งคืน (repatriation) ทุน กาไร และเงินปันผล ฯลฯ - ขอบเขตการยึดทรัพย์ (expropriation) และการชดเชย (compensation) ที่โปร่งใส - ให้ความคุ้มครองและความมั่นคงเต็มรูปแบบ และ - ให้การชดเชยจากการเกิดจลาจล (strife)
13. ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรและเสริมสร้างขีดความสามารถในด้านการค้าบริการ
12. ให้ระบุและจัดทาข้อตกลงยอมรับคุณสมบัติวิชาชีพสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพอื่น ๆ ภายในปี 2012 และดาเนินการให้แล้วเสร็จภายในปี 2015
11. ดาเนินการตามข้อตกลงยอมรับคุณสมบัติแรงงานฝีมือ อาทิ ด้านการท่องเที่ยว
มาตรการ
ด้านการลงทุนภายใต้ความตกลง ACIA (การคุ้มครอง)
เป้าหมาย
- BOI
- กระทรวงพาณิชย์
- BOI
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
- BOI
- กรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
- กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
- กระทรวงแรงงาน
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
- กระทรวงแรงงาน
- สภาวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
- กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
- กระทรวงแรงงาน
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
ด้านการลงทุนภายใต้ความตกลง ACIA (ส่งเสริมและการสร้างความรับรู้ในด้านการ ลงทุน)
เป้าหมาย
2. ส่งเสริมการลงทุนระหว่างกันในอาเซียน โดยเฉพาะจากอาเซียน 6 ไปยังกัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม
1. สร้างสภาพแวดล้อมที่จาเป็น เพื่อส่งเสริมการลงทุนทุกรูปแบบ และสาขาใหม่ที่มีการเติบโต ให้เข้ามายังอาเซียน
7. ระบุและดาเนินการเพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกันในกรอบกว้างของอาเซียน (ASEAN - Wide) และการรวมกลุ่มเศรษฐกิจทวิภาคี
6. หารือกับภาคธุรกิจของอาเซียนเพื่ออานวยความสะดวกการลงทุน
5. ส่งเสริมการประสานงานระหว่างหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้มากขึ้น
4. ปรับปรุงฐานข้อมูลด้านการลงทุนในไทย เพื่ออานวยความสะดวกในการกาหนดนโยบาย
3. ส่งเสริมการเผยแพร่ข้อมูลด้านการลงทุน : กฎระเบียบ กฎเกณฑ์ นโยบายและขั้นตอนด้านการ ลงทุน รวมถึงจุดบริการลงทุนเดียวหรือสานักงานส่งเสริมการลงทุน
มาตรการ
- กระทรวงพาณิชย์
- BOI
- กระทรวงพาณิชย์
- BOI
- BOI
- กระทรวงพาณิชย์
- BOI
- กระทรวงพาณิชย์
- BOI
- กระทรวงพาณิชย์
- BOI
- กระทรวงพาณิชย์
- BOI
- กระทรวงพาณิชย์
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
การเปิดเสรีด้านทุนที่มากขึ้น (ส่งเสริม
ด้านการลงทุนภายใต้ความตกลง ACIA (การเปิดเสรี)
เป้าหมาย
1. ปรับประสานมาตรฐานด้านตลาดทุนในอาเซียนในด้านที่เกี่ยวข้องกับกฎเกณฑ์ในการเสนอขาย
3. ลดและหากเป็นได้ ยกเลิกมาตรการจากัดและอุปสรรคด้านการลงทุน
2. ลดและหากเป็นไปได้ ยกเลิกข้อจากัดในการเข้ามาลงทุนในสาขาสาคัญ
- BOI
1. ขยายมาตรการไม่เลือกปฏิบัติรวมถึงการปฏิบัติเยี่ยงคนชาติและการปฏิบัติเยี่ยงชาติที่ได้รับความ อนุเคราะห์ยิ่งต่อนักลงทุนในอาเซียน
- สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
- BOI
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
- BOI
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
- กรมสรรพากร
- กระทรวงพาณิชย์
- กระทรวงอุตสาหกรรม
- กระทรวงพาณิชย์
- กระทรวงอุตสาหกรรม
- กระทรวงพาณิชย์
- สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
6. จัดตั้งเครือข่ายความตกลงทวิภาคีด้านการหลีกเลี่ยงภาษีซ้อนระหว่างอาเซียน
5. ส่งเสริมคณะผู้แทนร่วมด้านการลงทุนที่เน้นการรวมกลุ่มของภูมิภาคและเครือข่ายการผลิต
4. ส่งเสริมการเกื้อกูลด้านอุตสาหกรรมและเครือข่ายการผลิตระหว่างบรรษัทข้ามชาติที่อยู่ในอาเซียน
3. ส่งเสริมการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และกิจการข้ามชาติ
มาตรการ
เป้าหมาย
การเปิดเสรีด้านทุนที่มากขึ้น (อนุญาต การเคลื่อนย้ายเงินทุนที่เสรีมากขึ้น)
การพัฒนาและการรวมกลุ่มตลาดทุน ของอาเซียน)
มาตรการ
1. ยกเลิก หรือผ่อนคลายข้อกาหนด หากเป็นได้และเหมาะสม เพื่ออานวยความสะดวกในการจ่าย ชาระเงินและการโอนเงินสาหรับการทาธุรกรรมบัญชีกระแสรายวัน
5. ส่งเสริมให้ใช้การตลาดเป็นตัวขับเคลื่อนในการจัดตั้งความเชื่อมโยงระหว่างตลาดหลักทรัพย์และ ตลาดตราสารหนี้ รวมถึงกิจกรรมการเพิ่มทุนข้ามพรมแดน
4. ส่งเสริมโครงสร้างภาษี ณ ที่จ่าย เพื่อส่งเสริมฐานการลงทุนโดยการออกตราสารหนี้ในอาเซียน
3. ให้มีความยืดหยุ่นมากขึ้นในด้านภาษาและข้อกาหนดในด้านกฎหมายสาหรับการออกตราสาร
2. อานวยความสะดวกด้านข้อตกลงยอมรับร่วมหรือความตกลงสาหรับการยอมรับคุณสมบัติและ การศึกษาและประสบการณ์ของผู้ประกอบวิชาชีพด้านการตลาด
ตราสารหนี้ ข้อกาหนดในการเปิดเผยข้อมูล และกฎเกณฑ์การจัดจาหน่ายระหว่างกันให้มากขึ้น
- ธนาคารแห่งประเทศไทย
- สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
- สนง. คกก.กากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์
- สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
- สนง. คกก.กากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์
- สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
- สนง. คกก.กากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์
- สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
- สนง. คกก.กากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์
- สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
- สนง. คกก.กากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
สาขาสาคัญในการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี (เฉพาะประเด็นการอานวยความสะดวก และความร่วมมือในการพัฒนาและยกระดับ แรงงานฝีมือ)
เป้าหมาย
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
2. ระบุโครงการเฉพาะสาขา หรือความริเริ่ม ผ่านการหารืออย่างสม่าเสมอกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยเฉพาะภาคเอกชน
- กระทรวงแรงงาน
1. ดาเนินการทบทวนการดาเนินงานทุกๆ 2 ปี เพื่อตรวจสอบสถานะการดาเนินการ ความคืบหน้า และประสิทธิภาพของแผนงานการรวมกลุ่มสาขาสาคัญ เพื่อให้มั่นใจว่าการดาเนินงานเป็นไปตาม กาหนดเวลา
4. เสริมสร้างขีดความสามารถในการวิจัยของประเทศสมาชิกอาเซียนเพื่อสนับสนุนความชานาญ การเข้าทางาน และพัฒนาเครือข่ายข้อมูลด้านตลาดแรงงานระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน
- กระทรวงแรงงาน
3. พัฒนากรอบแผนงานมาตรฐานความสามารถและคุณสมบัติของงาน หรืออาชีพ และความชานาญ ของผู้ฝึกอบรมในสาขาบริการสาคัญ (ภายในปี 2009) และสาขาบริการอื่น ๆ (จากปี 2010 ถึงปี 2015)
- กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
- ASEAN University Network (AUN)
- สานักงานตารวจแห่งชาติ
- กระทรวงการต่างประเทศ
- กระทรวงแรงงาน
- ธนาคารแห่งประเทศไทย
- สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
2. ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างสมาชิกของเครือข่ายมหาวิทยาลัยของอาเซียน (AUN) เพื่อเพิ่มการ เคลื่อนย้ายทั้งนักเรียนและเจ้าหน้าที่ภายในภูมิภาค
1. อานวยความสะดวกในการตรวจลงตราและใบอนุญาตทางานสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพและ แรงงานฝีมืออาเซียน ที่เกี่ยวข้องกับการค้าข้ามพรมแดน และกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการลงทุน
2. ยกเลิก หรือผ่อนคลายข้อกาหนดในการเคลื่อนย้ายทุน หากเป็นได้และเหมาะสม เพื่อสนับสนุน การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศและข้อริเริ่มเพื่อสนับสนุนการพัฒนาตลาดทุน
มาตรการ
อาหาร เกษตร และปุาไม้
เป้าหมาย - กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- สนง.มาตรฐานสินค้าเกษตร และอาหารแห่งชาติ (มกอช.) - สนง.มาตรฐานสินค้าเกษตร และอาหารแห่งชาติ (มกอช.) - สนง.มาตรฐานสินค้าเกษตร และอาหารแห่งชาติ (มกอช.) - สนง.มาตรฐานสินค้าเกษตร และอาหารแห่งชาติ (มกอช.)
3. จัดตั้งระบบโดยใช้ Good Agriculture/ Aquaculture Practice (GAP), Good Animal Husbandry Practices (GAHP), Good Hygiene Practice (GHP), Good Manufacturing Practice (GMP), และ Hazard Analysis Critical Control Point (HACCP) เป็นพืน้ ฐาน สาหรับผลิตภัณฑ์เกษตร และอาหารที่มีความสาคัญทางการค้า มีศักยภาพทางการค้า โดยให้สอดคล้องกับแนวทางหรือ มาตรฐานสากล ภายในปี 2012
4. ปรับประสานระบบการกักกันและวิธีการตรวจสอบหรือสุ่มตัวอย่าง ภายในปี 2010 และมาตรการ ด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชสาหรับผลิตภัณฑ์เกษตร อาหาร และปุาไม้ ที่มีความสาคัญ ทางการค้า มีศักยภาพทางการค้า
5. ปรับประสานระดับปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุดในอาหารที่ยอมรับให้มีได้ของยาฆ่าแมลงในผลิตภัณฑ์ทีมี การค้าอย่างแพร่หลาย ให้สอดคล้องกับแนวทางหรือมาตรฐานสากล ที่สามารถทาได้ภายในปี 2010
6. ปรับประสานกรอบกฎเกณฑ์สาหรับผลิตภัณฑ์เกษตรที่ได้จากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ ให้สอดคล้องกับแนวทางหรือมาตรฐานสากล ที่สามารถทาได้ ภายในปี 2015
7. ปรับประสานมาตรฐานด้านความปลอดภัยและคุณภาพสาหรับผลิตภัณฑ์พืชสวนและผลิตภัณฑ์ เกษตรที่มี
2. พัฒนาและใช้ระบบบริหารจัดการคุณภาพผลิตภัณฑ์ประมงที่จะช่วยสร้างความมั่นใจเกี่ยวกับความปลอดภัย - กรมประมง ของอาหารและสนับสนุนความสามารถในการแข่งขันของผลิตภัณฑ์ประมงอาเซียนในตลาดโลก โดยการ ดาเนินการตาม Hazard Analysis Critical Control Point (HACCP) และปรับปรุงห้องปฏิบัติการทดสอบ และปรับใช้ระบบบริหารจัดการด้านคุณภาพและความปลอดภัยเพื่อให้สามารถประยุกต์ใช้ได้กับธุรกิจ ขนาดเล็กในอาเซียน ภายในปี 2009
1. ตรวจสอบการดาเนินการตามพันธกรณี CEPT-AFTA ในผลิตภัณฑ์เกษตรและปุาไม้
มาตรการ
เป้าหมาย
มาตรการ
- สนง.มาตรฐานสินค้าเกษตร และอาหารแห่งชาติ (มกอช.) - สนง.มาตรฐานสินค้าเกษตร และอาหารแห่งชาติ (มกอช.) - กรมปุาไม้ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กรมปุาไม้ - กรมประมง
9. ปรับประสานแนวทางสาหรับการใช้สารเคมีในสัตว์น้าและมาตรการเพื่อขจัดการใช้สารเคมีอันตราย ให้สอดคล้องกับแนวทางหรือมาตรฐานสากล ที่สามารถทาได้ ภายในปี 2009
10. พัฒนากรอบอ้างอิงระดับภูมิภาคสาหรับ phased-approach การออกใบรับรองด้านปุาไม้ ภายในปี 2015
11. พัฒนากลยุทธ์/ ท่าทีร่วมในประเด็นที่อยู่ในความสนใจของอาเซียนกับองค์การระหว่างประเทศ เช่น องค์การการค้าโลก องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ องค์การโรคระบาดสัตว์ ระหว่างประเทศ อนุสัญญาอารักขาพืช ระหว่างประเทศ CODEX CITES และประเทศคู่เจรจา
12. ส่งเสริมความร่วมมือด้านการวิจัยและการถ่ายโอนเทคโนโลยีสาหรับผลิตภัณฑ์เกษตร อาหาร และปุาไม้
13. จัดตั้งพันธมิตรและแนวทางร่วมกับภาคเอกชนในการส่งเสริมความปลอดภัยทางอาหาร โอกาสการลงทุนและร่วมลงทุน สนับสนุนการค้าผลิตภัณฑ์เกษตรและการเข้าสู่ตลาด
14. เสริมสร้างความพยายามในการต่อต้านการค้าไม้ที่ผิดกฎหมาย และการค้าที่เกี่ยวเนื่อง การเกิดไฟปุา และผลตกค้างของไฟปุา
15. ส่งเสริมความพยายามในการต่อต้านการประมงผิดกฎหมาย
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
8. ปรับประสานการควบคุมสุขภาพสัตว์ (ทั้งสัตว์บกและสัตว์น้า) เพื่อความปลอดภัยของอาหาร โดยใช้กรอบมาตรฐานร่วมในการบริหารจัดการเกี่ยวกับความปลอดภัยทางชีวภาพ ให้สอดคล้อง กับแนวทางหรือมาตรฐานสากล ที่สามารถทาได้ ภายในปี 2015
ความสาคัญทางเศรษฐกิจในอาเซียน ให้สอดคล้องกับแนวทางหรือมาตรฐานสากลที่สามารถทาได้ ภายในปี 2015
- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
17. จัดตั้งการเชื่อมโยงระหว่างภาคธุรกิจกับสหกรณ์การเกษตรที่มีศักยภาพในอาเซียน
18. ส่งเสริมการลงทุนทางตรงและการเป็นหุ้นส่วนยุทธศาสตร์กับสหกรณ์การเกษตรอาเซียน ผูผ้ ลิต ผู้บริโภค และผู้ค้า
นโยบายการแข่งขัน
หน่วยงานที่รับผิดชอบ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
มาตรการ
16. เสริมสร้างพันธมิตรด้านยุทธศาสตร์ระหว่างสหกรณ์การเกษตรในอาเซียนผ่านความร่วมมือ ในระดับทวิภาคี ระดับภูมิภาค และระดับพหุภาคี
- กรมการค้าภายใน
- กรมการค้าภายใน
- กรมการค้าภายใน
- กรมการค้าภายใน
1. ส่งเสริมการพัฒนานโยบายด้านการแข่งขันทางการค้าภายในปี 2015 โดยส่งผู้แทนเข้าร่วม เป็นคณะทางานต่าง ๆ ของอาเซียนในการจัดทาคู่มือและแนวทางต่าง ๆ ด้านนโยบายการแข่งขัน การพัฒนายุทธศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนสนับสนุนการทางานต่าง ๆ ของคณะทางาน
2. จัดตั้งเครือข่ายหน่วยงานกากับดูแลที่เกี่ยวข้องดาเนินนโยบายการแข่งขัน โดยเข้าร่วมการประชุม ในเวทีของ ASEAN Expert Group on Competition (AEGC) ซึ่งกรมการค้าภายในเป็นสมาชิก อย่างสม่าเสมอ เพื่อผลักดันนโยบายและการดาเนินการด้านการแข่งขันในที่ประชุม
3. จัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนานโยบายการแข่งขันของประเทศ เช่น - การประชุมเชิงปฏิบัติการ Capacity Building Workshop for ASEAN Member States (AMSs) : Australia’s and New Zealand’s Experience in Implementing Competition Policy and Law through Enforcement, Advocacy Programmes and Institutional Development of Competition Authority” ในวันที่ 30 - 31 มกราคม 2554 - Concluding Workshop on Core Competencies ในเดือนพฤศจิกายน 2012
4. พัฒนาแนวนโยบายการแข่งขันของภูมิภาคโดยจัดทาคู่มือ Handbook on Competition Policy and
หมวด ข. การไปสู่ภูมิภาคที่มีความสามารถในการแข่งขัน
เป้าหมาย
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (ด้านทรัพย์สิน ทางปัญญาในระดับประเทศ)
การคุ้มครองผู้บริโภค
เป้าหมาย
มาตรการ
- กรมทรัพย์สินทางปัญญา - กรมทรัพย์สินทางปัญญา - กรมทรัพย์สินทางปัญญา - กรมทรัพย์สินทางปัญญา
2. เข้าเป็นภาคีพิธีสารกรุงมาดริด (Madrid Protocol) เพื่ออานวยความสะดวกการจดทะเบียน เครื่องหมายการค้าระหว่างประเทศ
3. การดาเนินการตามโครงการ ASEAN Patent Search Examination Cooperation หรือ ASPEC เพื่อพัฒนาระบบการแลกเปลี่ยนผลการตวจสิทธิบัตรของอาเซียน
4. เข้าเป็นภาคีความตกลงเฮก (Hague Agreement) เพื่ออานวยความสะดวกในการจดสิทธิบัตร การออกแบบผลิตภัณฑ์ระหว่างประเทศ
5. ส่งเสริมความร่วมมือและสร้างเครือข่ายในการแลกเปลี่ยนข้อมูลทรัพย์สิทางปัญญาระหว่างอาเซียน
- สนง.คกก.คุ้มครองผู้บริโภค
3. จัดหลักสูตรฝึกอบรมในภูมิภาคสาหรับเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานกากับดูแลและผู้นาภาคเอกชน ที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อเตรียมความพร้อมสาหรับการรวมกลุ่มด้านการตลาดของ
- กรมทรัพย์สินทางปัญญา
- สนง.คกก.คุ้มครองผู้บริโภค
2. จัดตั้งเครือข่ายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคเพื่ออานวยความสะดวกในการ แลกเปลี่ยนข้อมูล
1. ดาเนินการตามแผนปฏิบัติการด้านสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาอาเซียน 2011 - 2015 และแผนงานความร่วมมืออาเซียนด้านลิขสิทธิอย่างเต็มที่
- สนง.คกก.คุ้มครองผู้บริโภค
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
1. เสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการคุ้มครองผู้บริโภคในอาเซียนโดยการจัดตั้งคณะกรรมการ ประสานงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคในอาเซียน (ASEAN Coordinating Committee on Consumer Protection - ACCCP)
Law for Business in ASEAN และ Guidelines on Competition Policy and Law ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง ในการพัฒนา Competition Policy and Law in ASEAN Region เพื่อส่งเสริมการพัฒนาแนวโนยบาย การแข่งขันของภูมิภาคอาเซียน
โครงสร้างพื้นฐานด้านข้อมูล (พัฒนาการเชื่อมโยงความเร็วสูง)
การขนส่งทางอากาศ
การขนส่งทางน้า
การขนส่งทางบก
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (การอานวยความสะดวกด้านขนส่งและ การการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ)
เป้าหมาย
- กระทรวงคมนาคม
2. พัฒนาตลาดการบินร่วมอาเซียน (ASEAN Single Aviation Market)
1. อานวยความสะดวกให้เกิดการเชื่อมโยงความเร็วสูง (high-speed connection) ระหว่างโครงสร้าง - กระทรวง ICT พื้นฐานด้านข้อมูลแห่งชาติ (National Information Infrastructures: NII) ของทุกประเทศสมาชิกอาเซียน
- กระทรวงคมนาคม
- กระทรวงคมนาคม
2. ปฏิบัติตามแผนงานด้านการขนส่งทางน้าในอาเซียน
1. ดาเนินการนโยบายการเปิดน่านฟูาของอาเซียน (แผนงานการรวมกลุ่มสาขาการบิน)
- กระทรวงคมนาคม
- กระทรวงคมนาคม
2. เสริมสร้างความปลอดภัยทางถนนในอาเซียน
1. ปฏิบัติตามสนธิสัญญาที่เกี่ยวข้องขององค์การขนส่งทางน้าระหว่างประเทศ (IMO)
- กระทรวงคมนาคม
- กระทรวงคมนาคม
3. เร่งรัดการมีผลบังคับใช้ของกรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการขนส่งข้ามแดน
1. เชื่อมต่อเส้นทางช่วงที่ขาดภายใต้โครงการเชื่อมโยงเส้นทางรถไฟระหว่างสิงคโปร์ – คุนหมิง ให้เสร็จสมบูรณ์
- กระทรวงคมนาคม
- กรมศุลกากร
- กระทรวงคมนาคม
- กรมทรัพย์สินทางปัญญา
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
2. ดาเนินการตามกรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ
1. ดาเนินการตามกรอบความตกลงว่าด้วยการอานวยความสะดวกสินค้าผ่านแดน
6. ส่งเสริมความร่วมมือในระดับภูมิภาคด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น ทรัพยากรทางพันธุกรรม และการแสดงออกด้านวัฒนธรรมท้องถิ่น
มาตรการ
ความร่วมมือด้านพลังงาน
เป้าหมาย
มาตรการ
- กระทรวง ICT
- กระทรวง ICT - กระทรวง ICT
4. สนับสนุนให้สาขาที่เป็นกลุ่มเปูาหมายนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล (ในเบื้องต้นประกอบด้วยสาขาสาคัญ เช่น ศุลกากร โลจิสติกส์ ขนส่ง ธุรกิจเกี่ยวกับ ข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ)
5. เพิ่มจานวนประเทศสมาชิกในความตกลงยอมรับร่วม (ASEAN MRA) สาหรับอุปกรณ์ด้าน โทรคมนาคม
6. พัฒนานโยบายและกรอบการกากับดูแลในเชิงลึกเพื่อรองรับโอกาสและความท้าทายทางธุรกิจ ในส่วนที่เกี่ยวกับ Next Generation Network ซึ่งรวมถึงการทางานร่วมกันได้ของสินค้าและบริการ ระบบข้อมูล และเครือข่ายที่เชื่อมโยงกัน
- กระทรวงพลังงาน
- กระทรวง ICT
3. ส่งเสริมให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง (ประชาขน ชุมชน ธุรกิจ และหน่วยงานภาครัฐ) มีส่วนร่วมในการพัฒนา และนาเทคโนโลยีสารสนเทศและบริการด้านโครงสร้างพื้นฐานด้านข้อมูลในภูมิภาคมาใช้ในงาน ที่เกี่ยวข้อง
1. เร่งการดาเนินการโครงการเครือข่ายระบบสายส่งไฟฟูาของอาเซียน และโครงการเชื่อมโยงท่อส่งก๊าซ ธรรมชาติของอาเซียน
- กระทรวง ICT
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
2. เสริมสร้างขีดความสามารถ และจัดทาโปรแกรมการฝึกอบรมสาหรับองค์กรสร้างความปลอดภัย ระบบสารสนเทศแห่งชาติ (Computer Emergency Response Teams : CERTs) ของแต่ละ ประเทศ และเพิ่มศักยภาพให้กับเครือข่ายธุรกรรมอิเล็กทรอนิคส์ (cyber-security network) ของอาเซียนโดยการขยายเครือข่ายขององค์กรการเตือนภัยสารสนเทศของอาเซียน (ASEAN CERT Incident Drills) ให้ครอบคลุมประเทศคู่เจรจาของอาเซียนภายในปี 2007
ภายในปี 2010 และดาเนินมาตรการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ระบุไว้ในแผนปฏิบัติการเวียงจันทน์ (Vientiane Action Plan)
- กระทรวงอุตสาหกรรม - กระทรวงอุตสาหกรรม
3. ส่งเสริมการพัฒนาสาขาเหมืองแร่ให้มีพัฒนาการที่ยั่งยืนทั้งในแง่สิ่งแวดล้อมและสังคม
4. สนับสนุนให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสาขาเหมืองแร่
ดาเนินการให้มีการสร้างเครือข่ายของความตกลงว่าด้วยการหลีกเลี่ยงการจัดเก็บภาษีซ้อนระหว่าง ประเทศสมาชิกภายในปี 2010 เท่าที่จะสามารถดาเนินการได้
1. ดาเนินนโยบายการแข่งขันด้านโทรคมนาคมโดยใช้แนวทางการปฏิบัติที่ดี และสนับสนุน
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
2. ยกเลิก/ลดอุปสรรคต่อการลงทุนและ/หรือการสนับสนุนเงินทุนเพื่อพัฒนาโครงการด้านโครงสร้าง พื้นฐานของภูมิภาค
- กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
- กรมสรรพากร
- ธนาคารแห่งประเทศไทย
- กระทรวงการคลัง
- กระทรวงการคลัง
- กระทรวงพลังงาน
- กระทรวงคมนาคม
- กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและเหมืองแร่
2. เสริมสร้างขีดความสามารถขององค์กรและบุคลากรในสาขาธรณีวิทยาและการเหมืองแร่ในอาเซียน
1. ส่งเสริมให้ภาคเอกชนและองค์กรระหว่างประเทศเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้นในการสนับสนุนด้านการเงิน แก่การพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานของภูมิภาค อาทิ โครงการเชื่อมโยงท่อส่งก๊าซธรรมชาติของอาเซียน โครงการเครือข่ายระบบสายส่งไฟฟูาของอาเซียน โครงการเชื่อมโยงเส้นทางรถไฟสิงคโปร์ – คุนหมิง และโครงการทางหลวงอาเซียน
- กระทรวงอุตสาหกรรม
- กระทรวงพลังงาน
3. ดาเนินการร่าง ASEAN Petroleum Security Agreement ให้แล้วเสร็จเพื่อเสริมสร้างความมั่นคง ของแหล่งน้ามัน และก๊าซในภูมิภาค
1. สนับสนุนการค้าและการลงทุนในสาขาเหมืองแร่ให้มากขึ้น
- กระทรวงพลังงาน
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
2. ส่งเสริมการเข้ามามีส่วนร่วมของภาคเอกชนเกี่ยวกับโครงการเครือข่ายระบบสายส่งไฟฟูาของ อาเซียน และโครงการเชื่อมโยงท่อส่งก๊าซธรรมชาติของอาเซียนให้มากขึ้น
มาตรการ
ภาษีอากร
การสนับสนุนด้านการเงินแก่โครงการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ
ความร่วมมือด้านการทาเหมืองแร่
เป้าหมาย
ข้อริเริ่มเพื่อการรวมตัวอาเซียน
การพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม
มาตรการ
- กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
6) 6. จัดตั้งเครือข่ายระหว่างภาคธุรกิจในอาเซียนกับประเทศคู่ค้า เพื่อเป็นเวทีการส่งเสริมการค้า และการลงทุน
- กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
4. ดาเนินการให้การยอมรับร่วมลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ในอาเซียนเป็นไปด้วยความสะดวก
- กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
- กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
3. จัดทาและปฏิบัติตามแนวทางการปฏิบัติที่ดีสาหรับการทาสัญญาทางอิเล็กทรอนิกส์ หลักการสาหรับ การยุติข้อขัดแย้ง และกรอบการยอมรับร่วมสาหรับลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ในอาเซียน
5) 5. ศึกษาและสนับสนุนการนามาตรฐานและแนวทางการปฏิบัติด้านกฎหมายและ/ หรือมาตรฐานที่ กาหนดขึ้นจากพื้นฐานของกรอบกฎระเบียบร่วมกันมาใช้
- กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
2. ปรับประสานโครงสร้างพื้นฐานทางกฎหมายสาหรับการทาสัญญาทางอิเล็กทรอนิกส์และการยุติ ข้อขัดแย้งให้เป็นแนวเดียวกัน
การออกกฎหมายภายในประเทศด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
- สนง.ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (สสว.)
3. ส่งเสริมแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม รวมถึงแหล่งเงินทุน ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
- กรมอาเซียน
- สนง.ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (สสว.)
2. ส่งเสริมเครือข่ายวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและการมีส่วนร่วมในการสร้างเครือข่ายผลผลิต และการกระจายสินค้าของภูมิภาค
1. ส่งเสริมให้ความริเริ่มเพื่อการรวมตัวของอาเซียนเป็นเวที (platform) ในการกาหนดและดาเนินการตาม
- สนง.ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (สสว.)
1. ดาเนินการตามพิมพ์เขียวนโยบายของอาเซียนด้านการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (APBSD) 2004 - 2014
หมวด ค. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเท่าเทียมกัน
เป้าหมาย
แนวทางการสร้างความเป็นหนึ่งเดียวกัน
มาตรการ
- กรมอาเซียน
4. สร้าง/ พัฒนาขีดความสามารถของเจ้าหน้าที่รัฐในการพัฒนา/ดาเนินนโยบายสังคมและเศรษฐกิจ เพื่อช่วยบรรเทาผลกระทบจากการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
5. จัดทาการศึกษาด้านสังคมและเศรษฐกิจเป็นครั้งคราว เพื่อตรวจสอบและประเมินผลของการรวมกลุ่ม ทางเศรษฐกิจ
- กรมอาเซียน
3. รวบรวมการสนับสนุนจากคู่เจรจาและองค์กรระหว่างประเทศ เช่น ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย และธนาคารโลก เพื่อให้การดาเนินการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
1. ทบทวนพันธกรณีของ FTA/ CEP เทียบกับพันธกรณีของการร่วมกลุ่มภายในอาเซียน
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
- สนง.คกก.ข้าราชการพลเรือน
- กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์
- กรมอาเซียน
- สนง.คกก.ข้าราชการพลเรือน
- กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์
- กรมอาเซียน
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
2. ประเทศสมาชิกเดิม 6 ประเทศต้องให้การสนับสนุนโครงการความริเริ่มเพื่อการรวมตัวของอาเซียน อย่างต่อเนื่อง
โครงการความช่วยเหลือด้านเทคนิคและการเสริมสร้างขีดความสามารถ สาหรับทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ในอาเซียน โดยเฉพาะประเทศสมาชิกใหม่และตามความตกลงในกรอบอนุภูมิภาคอื่น ๆ เช่น IMT-GT และ BIMP - EAGA เพื่อยกระดับให้เท่าเทียมกันในการพัฒนาโครงข่ายด้านการผลิตและการจัดจาหน่ายใน ภูมิภาค
หมวด ง. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
เป้าหมาย
เป้าหมาย
1. กลไกการดาเนินงาน
หมวด 3. การดาเนินการ
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในเครือข่าย อุปทานของโลก
ต่อปฏิสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจกับภายนอก
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ - สานักเลขาธิการอาเซียน - สานักเลขาธิการอาเซียน
2. ดาเนินการปรึกษาหารืออย่างสม่าเสมอร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อแลกเปลี่ยนและ รับข้อคิดเห็นต่อการดาเนินงานตามแผนงานในพิมพ์เขียว
3. เลขาธิการอาเซียนจะเป็นผู้รายงานความคืบหน้าการดาเนินงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนให้รัฐมนตรีในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องและผู้นาอาเซียนรับทราบ
4. จัดทาตัวชี้วัดในเชิงสถิติ ซึ่งรวมถึงอัตราภาษี และระบบฐานข้อมูลด้านการค้า ข้อสังเกตเกี่ยวกับ ความสอดคล้องของข้อมูลสถิติและคุณภาพของข้อมูล และ AEC scorecards เพื่อติดตามและประเมิน ความคืบหน้าการดาเนินงานตามองค์ประกอบต่าง ๆ ของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
1. คณะทางานระดับสูงว่าด้วยการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียนจะเป็นผู้ให้ความเห็นในเชิงกลยุทธ์ - กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ต่อรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนในประเด็นที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามแผนงานในพิมพ์เขียวนี้ให้เป็นไป ตามกาหนดเวลา
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ 2. พัฒนาความช่วยเหลือทางวิชาการเพื่อยกระดับขีดความสามารถและผลิตภาพด้านอุตสาหกรรม และส่งเสริมการเข้ามามีส่วนร่วมในการรวมกลุ่มระดับภูมิภาคและระดับโลกให้กับประเทศสมาชิกที่มีระดับ การพัฒนาต่ากว่าของอาเซียน
1. รับหลักปฏิบัติสากลที่ดีและมาตรฐานในการผลิตและจาหน่ายมาใช้ในภูมิภาคอย่างต่อเนื่อง
2. ดาเนินการให้มีระบบที่จะสนับสนุนการประสานงานมากขึ้นในการเจรจาการค้ากับประเทศคู่เจรจาภายนอก อาเซียน และในเวทีการเจรจาการค้าในระดับภูมิภาคและระดับพหุภาคี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อบรรลุกรอบ ท่าทีการเจรจาร่วมกัน
มาตรการ
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
4) 4. สนับสนุนการเข้ามามีส่วนร่วมของธนาคารพัฒนาแห่งเอเชีย ธนาคารโลก ประเทศคู่เจรจาและ ภาคเอกชนในโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในระดับภูมิภาค
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ - กระทรวงการคลัง
6. สร้างความแข็งแกร่งในด้านความสามารถในการวิจัยและการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของประเทศสมาชิก แต่ละประเทศ
7. จัดทาโครงการเสริมสร้างขีดความสามารถที่เหมาะสมเพื่อช่วยประเทศสมาชิกใหม่ในการส่งเสริม การพัฒนาตลาดการเงินและกรอบกลไกการกากับดูแลตลาดการเงินที่มีประสิทธิภาพ
- ธนาคารแห่งประเทศไทย
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
5. สร้างความแข็งแกร่งในด้านการวิจัยและการวางแผนของสานักงานเลขาธิการอาเซียนในประเด็นที่ เกี่ยวข้องกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
- ธนาคารแห่งประเทศไทย
- กระทรวงการคลัง
-กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
3. แปลงเปูาหมายและเปูาประสงค์ของแผนงานเพื่อเร่งรัดการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนไปสู่ เปูาหมายและเปูาประสงค์ในระดับชาติ และรวมไว้เป็นส่วนหนึ่งของแผนพัฒนาของแต่ละประเทศ
- กระทรวงการต่างประเทศ - กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
1. กองทุนเพื่อพัฒนาอาเซียน (ASEAN Development Fund) โดยการสมทบทุนจากประเทศสมาชิก จะเป็นเครื่องขับเคลื่อนในการใช้ทรัพยากรจากแหล่งอื่นทั้งภายในอาเซียนและภายนอกอาเซียน
2. ทรัพยากร
- กระทรวงการคลัง
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
2) 2. ระบุหัวข้อและดาเนินการศึกษาด้านวิชาการหรือโครงการอบรมในประเด็นหรือหัวข้อที่ต้องอาศัยการ วิเคราะห์และการสนับสนุนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ เพื่อสนับสนุนการดาเนินงานตามแผนงานเพื่อเร่งรัด การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
1. จัดตั้งกลไกการดาเนินงานที่เหมาะสมเพื่อให้มีการรายงานอย่างสม่าเสมอต่อผู้นาอาเซียน
มาตรการ
ในสาขาการเงิน
เป้าหมาย
เป้าหมาย
A.1 ให้ความสาคัญกับการศึกษา
A. การพัฒนามนุษย์
3. การสื่อสาร
เป้าหมาย
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ - กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
3. ประเทศสมาชิกจะต้องจัดตั้งกลไกระดับชาติเพื่อรายงานผลการดาเนินงานและประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจอย่างสม่าเสมอ
4. พัฒนาเว็บไซต์เพื่อสื่อสารเรื่องการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เพื่อเป็นอีกช่องทางหนึ่งในการ เข้าถึงประชาคมอย่างทั่วถึง และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในทุกภาคส่วนสามารถให้ข้อเสนอแนะและ ข้อคิดเห็นต่อความริเริ่มทางเศรษฐกิจด้านต่าง ๆ ของอาเซียน
เน้นการบูรณาการด้านการศึกษาให้เป็นวาระการพัฒนาของอาเซียน การสร้างสังคมความรู้ โดยส่งเสริมการเข้าถึงการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึง ส่งเสริมการเลี้ยงดูและพัฒนาเด็กปฐมวัย
มาตรการ
- กระทรวงศึกษาธิการ
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
2. พัฒนาเวทีระดับภูมิภาคเพื่อใช้ในการหารือและแลกเปลี่ยนข้อมูลในการดาเนินการจัดตั้งประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
- กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
1. ดาเนินการตามแผนงานการสื่อสารที่ครอบคลุมรอบด้านเพื่ออธิบายให้หน่วยราชการ ผู้มีส่วน เกี่ยวข้องที่สาคัญ และสาธารณชนได้ทราบวัตถุประสงค์ ประโยชน์ และโอกาสที่ท้าทายของ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
มาตรการ
ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ของอาเซียน โดยดาเนินกิจกรรมเชิงยุทธศาสตร์และพัฒนา คุณสมบัติ ความสามารถ การเตรียมความพร้อมที่ดีให้กับแรงงานอาเซียนเพื่อที่จะเอื้อต่อการรับมือกับ ประโยชน์และกับสิ่ง ท้าทายต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นจากการรวมตัวในภูมิภาคได้
เน้นส่งเสริมให้รวมหลักการการทางานอย่างถูกต้องและเหมาะสมไว้ในวัฒนธรรมการทางานของ อาเซียนรวมถึงสุขภาพและความปลอดภัยในที่ทางาน และทาให้เกิดความมั่นใจว่าการส่งเสริมการ บริหารกิจการจะเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายการจ้างงานของอาเซียนเพื่อให้บรรลุผลตามยุทธศาสตร์ การจ้างงาน
เน้นการดาเนินโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งเสริมการปฏิบัติตามข้อริเริ่มของภูมิภาคด้านไอซีที
A.2 การลงทุนในการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์
A.3 ส่งเสริมการจ้างงานที่เหมาะสม
A.4 ส่งเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศ (ไอซีที)
- กระทรวง ICT - กระทรวงศึกษาธิการ
- กระทรวงแรงงาน
- กระทรวงศึกษาธิการ
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
เน้นส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสตรี เยาวชน ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มชายชอบ ใช้กาลังแรงงานที่มีผลผลิต โดยการฝึกอบรมการฝีมือเพื่อปรับปรุงคุณภาพความเป็นอยู่ ซึ่งจะช่วย ส่งเสริมการพัฒนาชาติและการรวมตัวทางเศรษฐกิจของอาเซียน
- กระทรวงแรงงาน
- กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์
A.7 พัฒนาสมรรถภาพของระบบราชการ เน้นการจัดตั้งระบบราชการที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส มีความรับผิดชอบและมีความน่าเชื่อถือ โดยการ - สนง.คกก.ข้าราชการพลเรือน เพิ่มขีดความสามารถของทรัพยากรบุคคลในระบบราชการของอาเซียน และเพิ่มความร่วมมือระหว่างรัฐ - สนง.คกก.พัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) สมาชิกอาเซียน
A.6 เสริมสร้างทักษะในการประกอบการ สาหรับสตรี เยาวชน ผู้สูงอายุ และพิการ
A.5 การอานวยความสะดวกในการเข้าถึง พัฒนานโยบายและกลไกเพื่อสนับสนุนความร่วมมือในด้านการวิจัย การพัฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์และ - กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิง เทคโนโลยี การถ่ายทอดเทคโนโลยีรวมทั้งในเชิงพาณิชย์ การจัดตั้งเครือข่ายสถาบันวิทยาศาสตร์และ ประยุกต์ เทคโนโลยี โดยการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
มาตรการ และการสร้างความตระหนักรับรู้เรื่องอาเซียนในกลุ่มเยาวชน ผ่านทางการศึกษาและกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อสร้างอัตลักษณ์อาเซียนบนพื้นฐานของมิตรภาพและความร่วมมือซึ่งกันและกัน
เป้าหมาย
ให้ความมั่นใจว่าประชาชนอาเซียนทุกคนได้รับสวัสดิการสังคมและการคุ้มกันจากผลกระทบเชิงลบจาก โลกาภิวัตน์และการรวมตัว โดยพัฒนาคุณภาพ ความครอบคลุม และความยั่งยืนของการคุ้มครองทาง สังคม และเพิ่มความสามารถในการจัดการความเสี่ยงทางด้านสังคม
ให้ความมั่นใจว่าประชาชนอาเซียนทุกคนมีอาหารเพียงพอตลอดเวลาและให้ความมั่นใจในความปลอดภัย - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ด้านอาหารในรัฐสมาชิกอาเซียน - กระทรวงสาธารณสุข
เน้นการเข้าถึงการรักษาสุขภาพการบริการทางการแพทย์และยาที่เพียงพอและราคาถูก และส่งเสริมให้ ประชาชนอาเซียนดารงชีวิตที่มีสุขภาพสมบูรณ์
เสริมสร้างความพร้อมและประสิทธิภาพในระดับภูมิภาค โดยบูรณการแนวทางการปูองกันการเฝูาระวัง ควบคุม และการสนองตอบที่ทันเวลาเพื่อแก้ปัญหาโรคติดต่อและโรคติดเชื้ออุบัติใหม่
B.3 ส่งเสริมความมั่นคงและความ ปลอดภัยด้านอาหาร
B.4 การเข้าถึงการดูแลสุขภาพและ ส่งเสริมการดารงชีวิตที่มีสุขภาพ
B.5 การเพิ่มศักยภาพในการควบคุม โรคติดต่อ
- กระทรวงสาธารณสุข
- กระทรวงสาธารณสุข
- กระทรวงการคลัง
- กระทรวงสาธารณสุข
- กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์
- กระทรวงแรงงาน
- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- สนง.คกก.พัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ
B.2 เครือข่ายความปลอดภัยทางสังคม และความคุ้มกันจากผลกระทบด้านลบ จากการรวมตัวอาเซียนและโลกาภิวัตน์
- กระทรวงมหาดไทย
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
เน้นการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้าในด้านสังคมและเศรษฐกิจระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน รวมถึง การบรรลุเปูาหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (เอ็มดีจี) ของสหประชาชาติ ในด้านกาจัดความยากจน และความหิวโหย
มาตรการ
B.1 การขจัดความยากจน
B. การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม
เป้าหมาย
เสริมสร้างกลไกให้มีประสิทธิภาพและสามารถปูองกันและลดการสูญเสียชีวิต และทรัพย์สินทางสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของรัฐสมาชิกอาเซียนอันเกิดจากภัยพิบัติ และร่วมมือกันจัดการกับภัยพิบัติ ฉุกเฉินโดยใช้ความพยายามของรัฐบาลและความร่วมมือในระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศ
B.7 การสร้างรัฐที่พร้อมรับกับภัยพิบัติ และประชาคมที่ปลอดภัยยิ่งขึ้น
C.2 การคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิ แรงงานโยกย้ายถิ่นฐาน
C.1 การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิและ สวัสดิการสาหรับสตรี เด็ก ผู้สูงอายุ และผู้พิการ
- กระทรวงสาธารณสุข
- กระทรวงกลาโหม
- กรมปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย
- กระทรวงมหาดไทย
- กระทรวงสาธารณสุข
- กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์
- กระทรวงศึกษาธิการ
- สนง.คกก.ปูองกันและปราบปราม ยาเสพติด
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
ส่งเสริมให้นโยบายแรงงานโยกย้ายถิ่นฐานมีความครอบคลุมและมีการคุ้มครองที่เหมาะสมตามกฎหมาย - กระทรวงแรงงาน ระเบียบ และนโยบายของแต่ละประเทศสมาชิก และการดาเนินการให้สอดคล้องกับปฏิญญาอาเซียน ว่าด้วยการคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิของแรงงานโยกย้ายถิ่นฐาน
- กระทรวงยุติธรรม
ปกปูองผลประโยชน์ สิทธิ รวมทั้งส่งเสริมโอกาสอย่างเท่าเทียม และยกระดับคุณภาพชีวิตมาตรฐานการ - กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ดารงชีพสาหรับสตรี เด็ก ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ของมนุษย์
ลดการเสพยาเสพติดที่ผิดกฎหมายในหมู่ประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะในกลุ่มนักเรียน เยาวชน และกลุ่มที่ มีความเสี่ยงสูง โดยเน้นมาตรการปูองกันและส่งเสริมการเข้าถึงวิธีการรักษา การฟื้นฟูเพื่อกลับเข้าสู่ สังคมอีกครั้ง และการบริการหลังการบาบัดเพื่อให้กลับเข้าสู่สังคมอย่างเต็มที่โดยความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชนและองค์กรภาคประชาสังคม
B.6 รับประกันอาเซียนที่ปลอดยาเสพติด
C. ความยุตธิ รรมและสิทธิ
มาตรการ
เป้าหมาย
มาตรการ
ส่งเสริมให้เรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจรวมไว้ในเรื่องที่ภาคธุรกิจต้องดาเนินการ เพื่อให้มีส่วนในการสนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืนในรัฐสมาชิกอาเซียน
ดาเนินมาตรการและส่งเสริมความร่วมมือระดับท้องถิ่น ระดับภูมิภาค ระดับประเทศ และระดับระหว่าง - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ ประเทศ เพื่อปูองกันและแก้ไขปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมข้ามแดน เช่น ปัญหามลพิษหมอกควันข้ามแดน และสิ่งแวดล้อม และการเคลื่อนย้าย ของเสียอันตรายข้ามแดน โดยการเสริมสร้างขีดความสามารถ ส่งเสริมการตระหนัก - กระทรวงอุตสาหกรรม รับรู้ต่อสาธารณชน เพิ่มอานาจการบังคับใช้กฎหมาย และสนับสนุนปฏิบัติการด้านสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน และดาเนินการตามความตกลงอาเซียน ว่าด้วยมลพิษหมอกควันข้ามแดน
ส่งเสริมให้เกิดอาเซียนสีเขียวและสะอาด พร้อมทั้งสืบสานประเพณีและวัฒนธรรม เพื่อเสริมสร้าง ค่านิยมและธรรมเนียมปฏิบัติของชุมชนที่สอดคล้องกลมกลืน การส่งเสริมให้องค์กรปกครอง
D.2 การจัดการและการปูองกันปัญหา มลพิษทางสิ่งแวดล้อมข้ามแดน
D.3 ส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนโดย การศึกษา ด้านสิ่งแวดล้อมและการ
- กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลกโดยส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาเพื่อสร้างความสมดุลใน 3 เสาหลัก ระหว่าง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม อยู่บนพื้นฐานของหลักความเท่าเทียมกัน ยืดหยุ่น มีประสิทธิภาพ และ เป็นไปตามหลักความรับผิดชอบร่วมกันในระดับที่แตกต่างกัน เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของประเทศที่แตกต่างกัน
- กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
- สานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
- สานักนายกรัฐมนตรี
- กระทรวงการคลัง
- กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์
- กระทรวงพาณิชย์
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
D.1 การจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลก
D. ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม
C.3 ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม ขององค์กรธุรกิจ
เป้าหมาย
ส่งเสริมและผลักดันให้เกิดการใช้เทคโนโลยีการผลิตและบริโภคที่ยังยืน โดยพัฒนาให้เกิดสินค้าและ บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ผู้ผลิตและผู้บริโภค และนาไปสู่การบรรลุ เปูาหมายเรื่องการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อม
สนับสนุนการสร้างขีดความสามารถและความร่วมมือระดับท้องถิ่นในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน เพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพชีวิตและสุขภาพอนามัยของประชาชนในเมืองต่างๆ และสามารถรองรับ การขยายตัวและความต้องการของประชาชน เพื่อพัฒนาให้เกิดความสมดุลใน 3 เสาหลัก ระหว่าง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
D.5 ส่งเสริมมาตรฐานคุณภาพชีวิต ในเมืองต่าง ๆ ของอาเซียนและ เขตเมือง
3. พัฒนาศักยภาพและสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของเครือข่ายอาสาสมัครด้านสิ่งแวดล้อม เช่น เครือข่ายเยาวชน เครือข่ายผู้หญิง และเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม (ทสม.) เป็นต้น
2. สนับสนุนการดาเนินงานตามแผนสิ่งแวดล้อมศึกษาอาเซียน (ASEAN Environmental Education Action Plan 2008 – 2012)
1. ส่งเสริมกระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษา (Environmental Education – EE) ผ่านกิจกรรม/ โครงการต่าง ๆ เช่น โครงการพัฒนาโรงเรียนสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Eco – school), การจัดประชุม Environmental Education Forum, และการผลิตสื่อเผยแพร่ ด้านสิ่งแวดล้อมศึกษา เป็นต้น
มาตรการ ส่วนท้องถิ่น ร่วมบริหารจัดการน้าและน้าบาดาลโดยคานึงถึงสิทธิที่ประชาชนพึงได้รับ และประสาน กับธรรมชาติด้วยการที่ประชาชนมีองค์ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม ความตระหนัก ความตั้งใจ และ ความสามารถในการส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนในระดับท้องถิ่น ระดับภูมิภาค และระดับประเทศ โดยผ่านทางการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วมของประชาชน อาทิ
D.4 ส่งเสริมเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม (อีเอสที)
เป้าหมาย มีส่วนร่วมของประชาชน
- กรุงเทพมหานคร
- กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
- กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
- กระทรวงศึกษาธิการ
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
ให้ความมั่นใจว่าความหลากหลายทางชีวภาพที่สมบูรณ์ของอาเซียนจะได้รับการรักษาและจัดการอย่าง ยั่งยืนโดยการเสริมสร้างสภาวะที่ดีทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม
ส่งเสริมความยั่งยืนของทรัพยากรน้าจืด โดยให้ความเชื่อมั่นในเรื่องการเข้าถึงทรัพยากรน้าอย่าง เท่าเทียมกัน และคุณภาพที่ได้รับการยอมรับได้ในปริมาณที่เพียงพอ เพื่อรองรับความต้องการของ
D.8 ส่งเสริมการจัดการเกี่ยวกับการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ ความหลากหลายทางชีวภาพ อย่างยั่งยืน
D.9 ส่งเสริมความยั่งยืนของทรัพยากร น้าจืด
2. การจัดทาแผนหลักและแผนปฏิบัติการการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง โดยมีเปูาหมายให้มีแผน ปูองกันที่เหมาะสมและเป็นรูปธรรม เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมให้กับหน่วยงานในพื้นที่และชุมชน ในพื้นที่ ซึ่งสอดคล้องกับในร่างแผนงานแห่งชาติฯ
1. การจัดทาแผนการจัดการทรัพยากรที่ดินชายฝั่งระดับจังหวัด เพื่อกาหนดทิศทางการพัฒนา และฟื้นฟูทรัพยากรที่ดินชายฝั่ง โดยมุ่งเน้นการอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่งให้เกิดความสมดุล และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน
- กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
- กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
สร้างหลักประกันเรื่องสิ่งแวดล้อมทางทะเลและชายฝั่งว่าจะได้รับการพัฒนาอย่างยั่งยืน ระบบนิเวศตัวอย่าง พืชและพื้นที่ดั้งเดิมได้รับการคุ้มครอง การดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้รับการจัดการอย่างยั่งยืน และการตระหนักรับรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางทะเลและชายฝั่งได้รับการปลูกฝัง อาทิ
D.7 ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรชายฝั่งและ ทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน
หน่วยงานที่รับผิดชอบ - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
มาตรการ
D.6 การประสานนโยบายสิ่งแวดล้อมและ ส่งเสริมการบูรณาการประสานนโยบายสิ่งแวดล้อมและระบบฐานข้อมูลสิ่งแวดล้อม โดยคานึงถึงความ ระบบฐานข้อมูลสิ่งแวดล้อม สอดคล้องของนโยบายสิ่งแวดล้อมและระบบฐานข้อมูลสิ่งแวดล้อมในระดับท้องถิ่น ระดับภูมิภาค และ ระดับชาติของรัฐสมาชิกและการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ เพื่อพัฒนาให้เกิดความสมดุลใน 3 เสาหลัก ระหว่างเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
เป้าหมาย
มาตรการ หน่วยงานที่รับผิดชอบ ประชาชน รวมทั้งสร้างความเชื่อมั่น ในการปกปูองประชาชนจากภัยพิบัติด้านน้า ส่งเสริมความร่วมมือ ในการบริหารจัดการน้าพรมแดนในระดับภูมิภาค ระดับอนุภูมิภาค ระดับชาติ และส่งเสริมแนวทางการ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดการทรัพยากรน้าเชิงบูรณาการ (IWRM) โดยเฉพาะการสนับสนุนการสารวจและประเมินศักยภาพ น้าบาดาลเพื่อเป็นแหล่งน้าสาหรับความมั่นคงของประเทศต่อไป
ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรปุาไม้ในภูมิภาคอาเซียนอย่างยั่งยืนและขจัดกิจกรรมที่ไม่ยั่งยืน รวมถึงการดาเนินการปราบปรามการลักลอบตัดไม้ที่ผิดกฎหมายและการค้าที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ โดยการ เสริมสร้างขีดความสามารถ การถ่ายโอนเทคโนโลยีและส่งเสริมการตระหนักรับรู้และส่งเสริมการบังคับ ใช้กฎหมายและธรรมาภิบาล
E.2 การอนุรักษ์และส่งเสริมมรดกทาง วัฒนธรรมของอาเซียน
ส่งเสริมการสงวนและอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน เพื่อที่จะสานต่อการส่งเสริมความ ตระหนักรับรู้และความเข้าใจของประชาชนเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ที่เป็นเอกลักษณ์ของภูมิภาค และ
E.1 ส่งเสริมการตระหนักรู้เกี่ยวกับ สร้างความรู้สึกของความเป็นเจ้าของ และการรวมกันเป็นเอกภาพท่ามกลางความหลากหลายและ อาเซียนและความรู้สึกของความเป็น ส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนในเรื่องวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ ศาสนา ประชาคม และอารยธรรม
E. การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
D.11 ส่งเสริมการบริหารจัดการปุาไม้ ที่ยั่งยืน (เอสเอฟเอ็ม)
- กระทรวงวัฒนธรรม
- กระทรวงวัฒนธรรม
- กรมประชาสัมพันธ์
- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
D.10 การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง ดาเนินมาตรการและส่งเสริมความร่วมมือระดับท้องถิ่น ระดับภูมิภาค ระดับประเทศ และระดับระหว่าง - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ ทางสภาพภูมิอากาศและการ ประเทศ เพื่อปูองกันและแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยเน้นการแลกเปลี่ยนข้อมูล และสิ่งแวดล้อม จัดการต่อผลกระทบ ผลการวิจัย และวิชาการทางด้านทรัพยากรน้าบาดาลให้มากขึ้น รวมทั้งผลกระทบต่อการพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ในรัฐสมาชิกอาเซียน โดยดาเนินมาตรการในการบรรเทาและการ ปรับตัวบนพื้นฐานของหลักความเท่าเทียม ยืดหยุ่น มีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามหลักความรับผิดชอบ ร่วมกันในระดับที่แตกต่าง เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของ ประเทศที่แตกต่างกัน
เป้าหมาย
- สนง.คกก.พัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ
เสริมสร้างความร่วมมือเพื่อลดช่องว่างระดับการพัฒนาของการพัฒนา โดยเฉพาะมิติทางสังคม ระหว่างประเทศสมาชิกเก่า 6 ประเทศ และประเทศสมาชิกใหม่ (ซี แอล เอ็ม วี) และบางพื้นที่ ในอาเซียนที่โดดเดี่ยวและยังคงด้อยพัฒนา
F. การลดช่องว่างทางการพัฒนา
- กระทรวงแรงงาน
- กระทรวงการคลัง
- กระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์
เพื่อปลูกฝังอัตลักษณ์อาเซียนและสร้างอาเซียนที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลางในการก่อตั้งประชาคม โดยสนับสนุนทุกภาคส่วนให้มีส่วนร่วม
E.4 การมีส่วนเกี่ยวข้องกับชุมชน
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
- กระทรวงวัฒนธรรม
มาตรการ ความคล้ายคลึงกันทางวัฒนธรรมและความแตกต่างทางวัฒนธรรมของประเทศสมาชิก รวมทั้งอนุรักษ์ ความเป็นเอกลักษณ์ของมรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียนให้สมบูรณ์ด้วย
E.3 ส่งเสริมการสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรม ส่งเสริมอัตลักษณ์อาเซียนและการดารงอยู่ร่วมกันของอาเซียน โดยสนับสนุนความคิดสร้างสรรค์ทาง และอุตสาหกรรมทางวัฒนธรรม วัฒนธรรม และส่งเสริมและร่วมมือกันในอุตสาหกรรมด้านวัฒนธรรม
เป้าหมาย
4
การสร้างความเชื่อมโยงในอาเซียน
ประเทศไทยกับอาเซียน
161
การสร้างความเชือ ่ มโยงในอาเซียน ผู้น�ำอาเซียนได้ออกแถลงการณ์เรื่อง “การเชื่อมโยงระหว่าง กันในอาเซียน” ในการประชุมสุดยอดผู้น�ำอาเซียน ครั้งที่ 15 ที่ ชะอ�ำ หัวหิน ประเทศไทย เมื่อปี 2552 เพื่อเสริมสร้างขีดความ สามารถของอาเซียนในการแข่งขันในเวทีโลก โดยเล็งเห็นว่า การ เชือ่ มโยงทีก่ ว้างขวางขึน้ จะน�ำผลประโยชน์หลายด้านสูอ่ าเซียน และ มีมติให้จัดตั้งคณะท�ำงานระดับสูง (High level Task Force on ASEAN Connectivity : HLTF - AC) เพื่อจัดท�ำแผนแม่บทว่าด้วย ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน ให้ครอบคลุมด้านโครงสร้าง พื้นฐาน ด้านกฎระเบียบและด้านประชาชน ที่จะช่วยน�ำอาเซียนไปสู่ การเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 อย่างเป็นรูปธรรม นอกจากนี้ อาเซียนได้จดั ตัง้ คณะกรรมการประสานงานของอาเซียนว่าด้วยความ เชือ่ มโยงระหว่างกันในภูมภิ าค (ASEAN Connectivity Coordinating Committee : ACCC) ด้านโครงสร้างพื้นฐาน มีโครงการต่าง ๆ ได้แก่ การลงทุน การก่อสร้างถนน เส้นทางรถไฟ การขนส่งทางน�้ำ การขนส่งทาง อากาศ รวมทั้งการเชื่อมโยงด้านไอซีที และด้านพลังงานต่าง ๆ ด้านกฎระเบียบ ในด้านต่าง ๆ ได้แก่ พิธีการด้านศุลกากร ตรวจคนเข้าเมือง เป็นต้น เพือ่ ให้มคี วามสะดวกรวดเร็ว โปร่งใส รวมทัง้ การวางกฎระเบียบเพื่อรับมือกับผลกระทบด้านลบที่อาจเกิดขึ้นจาก ความเชื่อมโยงระหว่างกัน เช่น อาชญากรข้ามชาติ และแรงงาน ผิดกฎหมาย ด้านประชาชน จะช่วยเสริมสร้างการไปมาหาสู่ระหว่างกัน ของประชาชนให้สะดวกยิ่งขึ้น การเชื่อมโยงทางสังคม วัฒนธรรม
162
ประเทศไทยกับอาเซียน
และการสร้างความรูส้ กึ ของการเป็นประชาคมอาเซียน เรียนรูว้ ถิ ชี วี ติ ประวัติศาสตร์และสถานที่ส�ำคัญของกันและกันให้ดียิ่งขึ้น แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน วิสยั ทัศน์ เป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของความเชือ่ มโยงระหว่าง กันในอาเซียน การส่งเสริมความเชื่อมโยงภายในภูมิภาคมีเป้าหมายเพื่อ ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ลดช่องว่างการพัฒนาโดย การกระจายประโยชน์ของการเจริญเติบโตไปยังกลุ่มและชุมชนที่ พัฒนาน้อยกว่าทีม่ คี วามยากจน รวมทัง้ ส่งเสริมความสามารถในการ แข่งขันของอาเซียน และเชือ่ มต่อชาติสมาชิกอาเซียน ในภูมภิ าคให้เข้า กับประชาคมโลก แนวคิดเรื่องความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน จะส่งเสริมให้เกิดการต่อยอดการรวมตัวของอาเซียนและขยายกว้าง ขึ้นไปยังเอเชียตะวันออก และความเชื่อมโยงในภูมิภาคที่ลึกซึ้งและ กว้างขวางขึน้ นีจ้ ะสร้างความเข้มแข็งให้แก่จดุ ยืนของอาเซียนในฐานะ เป็นแกนกลางของภูมิภาคเอเชียตะวันออก และรักษาความเป็นแกน กลางของอาเซียน ซึ่งจะเกิดความเข้มแข็งเพิ่มมากขึ้นจากการบรรลุ ถึงศักยภาพของความเชื่อมโยงดังกล่าว วิสัยทัศน์ วิสัยทัศน์อาเซียนปี 2563 (ค.ศ. 2020) ได้ก�ำหนดให้ อาเซียนเป็นศูนย์รวมของชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อยู่ร่วมกัน อย่างมีสันติภาพ มั่นคง และเจริญรุ่งเรือง รวมตัวกันเป็นหุ้นส่วน ของการพัฒนาอย่างมีพลวัตร และเป็นประชาคมที่เอื้ออาทร ดังนั้น การสร้างและความส�ำเร็จของความเชือ่ มโยงระหว่างกันในอาเซียนนี้
ประเทศไทยกับอาเซียน
163
จึงจ�ำเป็นต้องมีวสิ ยั ทัศน์รว่ มกันของอาเซียน รวมถึงแนวทางสูค่ วาม เชือ่ มโยงทีย่ งั่ ยืนในระยะยาว โดยค�ำนึงถึงความจ�ำเป็นในการส่งเสริม การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของท้องถิน่ บรรเทาผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม และขับเคลื่อนความเชื่อมโยงภายในประเทศให้สอดรับกับ ความเชื่อมโยงของภูมิภาค วิสัยทัศน์ การเชื่อมโยงระหว่างกันใน อาเซียนที่เพิ่มพูนจะช่วยสร้างความเข้มแข็งให้กับหลักของอาเซียน “หนึง่ วิสยั ทัศน์ หนึง่ อัตลักษณ์ หนึง่ ประชาคม” และจะตอบสนองต่อ สภาพพื้นฐาน และข้อตกลงต่าง ๆ รวมทั้งค�ำนึงถึงความรับผิดชอบ และสมรรถนะที่แตกต่างกันของแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนด้วย เป้าหมาย แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนเล็ง เห็นว่าความเชื่อมโยงของอาเซียนผ่านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ทางกายภาพที่เพิ่มพูน (ความเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน) การจัดระบบทางสถาบันอย่างมีประสิทธิภาพ (ความเชื่อมโยงด้าน กฏระเบียบ) และการเพิ่มอ�ำนาจให้ประชาชน (ความเชื่อมโยงด้าน ประชาชน) จะต้องอาศัยทั้งการพัฒนายุทธศาสตร์และสถาบัน ใหม่ ๆ และการลงทุนในการด�ำเนินการตามโครงการต่าง ๆ ที่มีอยู่ แล้วและจะมีขึ้นอีกในอนาคตอย่างมีประสิทธิผล เป้าหมายของความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนที่เพิ่มพูน ได้แก่ (1) เพื่อเพิ่มพูนการรวมตัวและความร่วมมือของอาเซียน (2) เพื่อเพิ่มพูนความสามารถในการแข่งขันในระดับโลกของ อาเซียน โดยการมีเครือข่ายการผลิตของภูมิภาคที่เข้มแข็ง (3) เพื่อท�ำให้สภาพความเป็นอยู่และวิถีชีวิตของประชากร อาเซียนดีขึ้น
164
ประเทศไทยกับอาเซียน
(4) เพื่อปรับปรุงกฎระเบียบและธรรมาภิบาลของอาเซียน (5) เพื่อส่งเสริมการเชื่อมต่อกับศูนย์กลางทางเศรษฐกิจให้ มากขึ้นทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภายในชาติสมาชิก รวมถึงการลด ช่องว่างของการพัฒนา (6) เพื่อส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของท้องถิ่น (7) เพือ่ เพิม่ พูนความพยายามในการจัดการกับการเปลีย่ นแปลง สภาพภูมิอากาศและส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน (8) เพื่อจะสามารถจัดการกับผลกระทบในทางลบที่จะเกิดมา จากความเชื่อมโยง วัตถุประสงค์ เพื่อบรรลุเป้าหมายเหล่านี้ แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยง ระหว่างกันในอาเซียนก�ำหนดวัตถุประสงค์ตอ่ ไปนีส้ �ำหรับความเชือ่ ม โยงระหว่างกันในอาเซียนที่เพิ่มพูน (1) เพือ่ รวบรวมแผนงานเกีย่ วกับความเชือ่ มโยงทีม่ อี ยูแ่ ละจัด ล�ำดับความส�ำคัญโดยค�ำนึงถึงกรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคต่าง ๆ ที่มีอยู่แล้ว ความเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน (2) เพือ่ พัฒนาโครงข่ายการคมนาคมขนส่งเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร และพลังงานที่มีความหลากหลายในอาเซียนและ ภูมิภาคอื่น ๆ ให้มีบูรณาการและมีประสิทธิภาพ ความเชื่อมโยงด้านกฎระเบียบ (3) เพื่อให้มียุทธศาสตร์ ความตกลง กลไกทางกฎหมายและ สถาบันทีจ่ ะท�ำให้ความเชือ่ มโยงระหว่างกันในอาเซียนบังเกิดผล รวม ถึงการอ�ำนวยความสะดวกในการค้าสินค้าและบริการ ตลอดจน
ประเทศไทยกับอาเซียน
165
นโยบายการลงทุนและกรอบกฎหมายที่เหมาะสมเพื่อให้การลงทุน ได้รับการคุ้มครองและดึงดูดการลงทุนของภาคเอกชน ความเชื่อมโยงด้านประชาชน (4) เพือ่ จัดท�ำข้อริเริม่ ทีจ่ ะมีสว่ นส่งเสริมและก่อให้เกิดการลงทุน ในการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีพส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ กระตุ้นการสร้างนวัตกรรม ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนทาง วัฒนธรรมของอาเซียน รวมทัง้ ส่งเสริมการท่องเทีย่ วและการพัฒนา อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง การสร้างความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (5) เพือ่ สร้างหลักการในการระดมทุน ให้ค�ำแนะน�ำด้านกลไก ที่เหมาะสมส�ำหรับการระดมทุน และประเมินค่าใช้จ่ายที่จ�ำเป็นเพื่อ พัฒนาและ/หรือส่งเสริมความเชื่อมโยงตามที่แผนแม่บทก�ำหนด (6) เพือ่ สร้างความเป็นหุน้ ส่วนทีใ่ ห้ประโยชน์กบั ทุกฝ่ายระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชนอาเซียนและประชาคมระหว่างประเทศ (7) เพื่อส่งเสริมบทบาทของภาคเอกชนและชุมชนท้องถิ่นใน การด�ำเนินการตามข้อริเริ่มความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (8) เพื่อวางตารางเวลาส�ำหรับการบรรลุเป้าหมายความ เชือ่ มโยงระหว่างกันในอาเซียน ซึง่ สอดรับกับการด�ำเนินการเพือ่ สร้าง ประชาคมอาเซียนภายในปี 2558 โดยค�ำนึงถึงความแตกต่างของ ระดับการพัฒนาของชาติสมาชิกอาเซียน (9) เพื่อจัดเตรียมข้อตกลงและความร่วมมือต่าง ๆ ที่จะเสริม สร้างศักยภาพในอาเซียน เช่นความริเริม่ เพือ่ การรวมตัวของอาเซียน และเรื่องอื่น ๆ ที่เหมาะสมเพื่อลดความแตกต่างในการพัฒนา และ การส่งเสริมความพยายามระดับภูมิภาคให้บรรลุการเป็นประชาคม อาเซียนที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลางภายในปี 2558
166
ประเทศไทยกับอาเซียน
หลักการส�ำคัญส�ำหรับแผนแม่บท แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนตั้งอยู่ บนหลักการส�ำคัญดังต่อไปนี้ (1) ช่วยเร่งรัดและไม่เป็นอุปสรรคต่อข้อริเริ่มที่มีอยู่แล้วใน อาเซียน ตลอดจนส่งเสริมกระบวนการสร้างประชาคมอาเซียน (2) สร้างผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์กับทุกฝ่ายเพื่อสะท้อนผล ประโยชน์ของทุกชาติสมาชิกอาเซียน (3) สร้างความสอดประสานระหว่างยุทธศาสตร์หรือแผน งานขององค์กรรายสาขาต่าง ๆ ที่มีอยู่แล้วและก�ำลังด�ำเนินการอยู่ ภายใต้กรอบอาเซียนและอนุภูมิภาคต่าง ๆ (4) สร้างความสมดุลระหว่างผลประโยชน์ระดับภูมิภาคและ ระดับประเทศ (5) เสริมสร้างความเชือ่ มโยงระหว่างแผ่นดินใหญ่และหมูเ่ กาะ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (6) มองไปข้างนอก และช่วยส่งเสริมพลวัตรการแข่งขันของ ประเทศคู่เจรจาต่าง ๆ ต่อแผนแม่บทฯ ตลอดจนช่วยรักษาความ เป็นแกนกลางของอาเซียน (7) มีรูปแบบการระดมทุนที่ชัดเจนและครอบคลุมการมี ส่วนร่วมของภาคเอกชน ความส�ำเร็จ ความท้าทายและปัญหาอุปสรรคของความเชือ่ มโยง ระหว่างกันในอาเซียน อาเซียนมีความมุง่ มัน่ เพียรพยายามอย่างต่อเนือ่ งทีจ่ ะด�ำเนิน การตามกฎบัตรอาเซียนและแผนงานการด�ำเนินการไปสู่การเป็น ประชาคมอาเซียน การเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนเป็นแนวคิด
ประเทศไทยกับอาเซียน
167
ทีส่ ะท้อนถึง จุดแข็ง ศักยภาพ และความท้าทายของการสร้างประชาคม อาเซียน โดยต่อยอดจากพัฒนาการและความส�ำเร็จของกรอบความ ร่วมมือต่าง ๆ ภายในภูมิภาคอาเซียน รวมทั้งเสนอแนวทางในการ จัดการกับประเด็นท้าทายต่าง ๆ ตลอดจนแนวทางในการเสริมสร้าง ขีดความสามารถ การลดช่องว่างทางการพัฒนา และการขจัดความ แตกต่างระหว่างกันทางสังคมและวัฒนธรรมในอาเซียน ทั้ง 3 มิติ ได้แก่ ความเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน ความเชื่อมโยงด้าน กฎระเบียบ และความเชื่อมโยงด้านประชาชน ความเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน ความเชือ่ มโยงด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน ครอบคลุมถึง โครงสร้าง พื้นฐานด้านการขนส่ง ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมทั้งโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานที่จะให้บริการด้านต่าง ๆ และสาธารณูปโภคทีเ่ กีย่ วข้องส่งผลให้ภมู ภิ าคอาเซียนมีบรู ณาการทัง้ ทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม โดยการอ�ำนวยความสะดวกทาง การค้า การลงทุน การลดค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องทางการค้าและการ อ�ำนวยความสะดวกในการติดต่อระหว่างประชาชน 1. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางบกทางทะเลและ ทางอากาศ การขนส่งทางบก ความร่วมมือของอาเซียนในการสร้าง ถนนและทางรถไฟ มีเป้าหมายเพื่อสร้างเส้นทางขนส่งทางบกที่ เชือ่ มโยงประเทศสมาชิกอาเซียนและประเทศนอกภูมภิ าคเข้าด้วยกัน อย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย และอนุรักษ์ไว้ซึ่งสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน ภายใต้ความร่วมมือนี้ มีโครงการทีม่ คี วามส�ำคัญล�ำดับต้น (Flagship project) 2 โครงการ ได้แก่ โครงการทางหลวงอาเซียนและโครงการ ทางรถไฟสายสิงคโปร์ - คุนหมิง
168
ประเทศไทยกับอาเซียน
การขนส่งทางน�้ำในแผ่นดิน มีศักยภาพอย่างสูงในการ ช่วยลดค่าใช้จา่ ยในการขนส่งสินค้า แต่ในปัจจุบนั ยังมีการใช้ประโยชน์ จากการขนส่งประเภทนี้น้อยมากในอาเซียน ในภูมิภาคอาเซียนมี เส้นทางขนส่งทางนำ�้ ในแผ่นดินทีใ่ ช้เดินเรือได้ถงึ 51,000 กิโลเมตร ทีม่ บี ทบาทในการพัฒนาการขนส่งโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในกัมพูชา ลาว เมียนมาร์ เวียดนามและไทย ฉะนัน้ เมือ่ ค�ำนึงถึงประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ทีจ่ ะได้รบั จากการเชือ่ มโยง จึงควรมีการด�ำเนินการในเรือ่ งโครงสร้าง พืน้ ฐานพร้อมกับการปรับปรุงกฎระเบียบและการบริหารจัดการระบบ การเชื่อมโยงการขนส่งทางน�้ำในแผ่นดิน การขนส่งทางทะเล อาเซียนได้ก�ำหนดให้ทา่ เรือ 47 แห่ง เป็นท่าเรือหลักในโครงข่ายการขนส่งอาเซียน (Trans - ASEAN transport network) การทีท่ า่ เรือเหล่านีม้ รี ะดับการพัฒนาทีแ่ ตกต่าง กันท�ำให้มปี ระเด็นท้าทายหลายประการในการให้บริการขนส่งทางเรือ ที่มีประสิทธิภาพ อาทิ การจัดการด้านขนย้ายสินค้า สมรรถนะใน การรองรับการจอดเรือ ความสามารถในการบริหารการขนย้าย ซึง่ การขนส่งทางบกและระบบโลจิสติกส์ รวมทั้งพิธีการศุลกากร การ ขนส่งทางทะเล เป็นการขนส่งที่มีความส�ำคัญมากที่สุด ในการค้า ระหว่างประเทศในแง่ของปริมาณการขนส่ง อย่างไรก็ดี จากดัชนี ของ UNCTAD Liner Shipping Index แสดงให้เห็นว่า ความ สามารถในการขนส่งทางทะเลของประเทศอาเซียน ยกเว้นสิงคโปร์ และมาเลเซียอยูใ่ นอันดับทีต่ ำ�่ มาก เมือ่ เปรียบเทียบกับจีนและฮ่องกง การเชือ่ มโยงภูมภิ าคชายฝัง่ ทะเลของอาเซียนจ�ำเป็นต้องมีเส้นทางการ เดินเรือที่มีประสิทธิภาพและมีความเชื่อถือได้เพื่อส่งผลให้เกิดการ เพิ่มพูนความเชื่อมโยงในภูมิภาคอาเซียน การขนส่งทางอากาศ ประเด็นโครงสร้างพื้นฐานด้าน การขนส่งทางอากาศ ท่าอากาศยานหลักในเมืองหลวงของประเทศ
ประเทศไทยกับอาเซียน
169
สมาชิกอาเซียนควรมีทางวิง่ ของเครือ่ งบินทีเ่ พียงพอทีจ่ ะรองรับการ ใช้งานของเครื่องบินที่มีอยู่ในปัจจุบัน อย่างไรก็ดี ท่าอากาศยาน บางแห่งยังคงประสบปัญหาในการจัดหาสิง่ อ�ำนวยความสะดวกทีจ่ �ำเป็น โดยเฉพาะทางวิ่งของเครื่องบินและคลังสินค้า นอกจากการพัฒนา ท่าอากาศยานแล้วยังควรให้ความส�ำคัญต่อการบูรณาการระบบการ เดินอากาศและกระบวนการทีเ่ กีย่ วข้องต่าง ๆ รวมทัง้ เส้นทางการบิน 2. การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร โครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีและการสื่อสารเป็น ปัจจัยพื้นฐานที่จะช่วยสนับสนุนการค้า และอ�ำนวยความสะดวกใน การลงทุนและการขยายตลาด โดยจะเอื้ออ�ำนวยความสะดวกด้าน การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร การเชื่อมโยงประชาชนสู่ประชาชน การสนับสนุนการจัดส่งการบริการต่าง ๆ ตลอดจนลดต้นทุนใน การท�ำธุรกิจ และธุรกรรมทางการค้าต่าง ๆ โครงสร้างพืน้ ฐานด้าน เทคโนโลยีและการสื่อสาร หมายรวมถึงโครงข่ายการสื่อสารชนิด ติดตั้ง เคลื่อนที่ และดาวเทียม รวมทั้งอินเทอร์เน็ต และซอฟต์แวร์ สนับสนุนการพัฒนาและการปฏิบัติการของโครงข่ายการสื่อสาร เหล่านี้ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารต้องเผชิญกับความท้าทายหลายประการ ความท้าทาย ทีส่ �ำคัญทีส่ ดุ มาจากความแตกต่างทางระบบดิจทิ ัลระหว่างประเทศ สมาชิกอาเซียนด้วยกันเอง การขจัดความแตกต่างด้านดิจทิ ลั จ�ำเป็น ต้องมีพันธกรณีจากประเทศสมาชิกอาเซียนที่จะปรับปรุงขีดความ สามารถในการแข่งขันของภาคเทคโนโลยีและการสื่อสารของแต่ละ ประเทศ
170
ประเทศไทยกับอาเซียน
3. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงาน พลังงานมีบทบาทส�ำคัญในการพัฒนาทางเศรษฐกิจและการ เติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนือ่ งของภูมภิ าคอาเซียน ความร่วมมือ อาเซียนด้านพลังงานอยูบ่ นพืน้ ฐานของแผนปฏิบตั กิ ารความร่วมมือ ด้านพลังงานของอาเซียนปี 2542 - 2547 แผนปฏิบัติการฯ ปี 2548 - 2552 และแผนปฏิบัติการฯ ปี 2553 - 2558 ได้มุ่งเน้น การเร่งรัดการด�ำเนินการตามแผนปฏิบตั กิ ารฉบับต่าง ๆ เพือ่ เสริมสร้าง ความมั่นคงด้านพลังงาน การเข้าถึงและการใช้พลังงานอย่างยั่งยืน ส�ำหรับภูมภิ าค โดยพิจารณาถึงข้อกังวลด้านสุขภาพ ความปลอดภัย และรักษาสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่เกี่ยวกับเรื่อง โครงข่ายระบบส่งไฟฟ้าอาเซียน การสร้างแนวท่อก๊าซธรรมชาติ ในอาเซียน การใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดและพลังงานหมุนเวียน ความเชื่อมโยงด้านกฎระเบียบ ความเชื่อมโยงด้านกฎระเบียบ หมายถึงการเชื่อมโยงกฎ ระเบียบต่าง ๆ ผ่านการจัดท�ำความตกลงระหว่างประเทศและความ ตกลงระดับภูมภิ าค รวมทัง้ พิธสี ารต่าง ๆ ทีช่ ว่ ยอ�ำนวยความสะดวก ในการท�ำธุรกรรมทางการค้าสินค้าและสินค้าบริการตลอดจนการ เคลื่อนย้ายบุคคลข้ามพรมแดน 1. การอ�ำนวยความสะดวกในการขนส่ง อาเซียนได้มีข้อริเริ่มหลายประการในการอ�ำนวยความ สะดวกทางการขนส่ง เพื่อสร้างระบบ โลจิสติกส์และระบบการ ขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบที่มีประสิทธิภาพ เพื่อการเคลื่อนย้าย สินค้าและการเชื่อมโยงการขนส่งทางบก ทางทะเลและทางอากาศ
ประเทศไทยกับอาเซียน
171
ที่สะดวกราบรื่น ข้อริเริ่มเหล่านี้ได้แก่ ก) กรอบความตกลง อาเซียนว่าด้วยการอ�ำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดน ข) กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ ค) กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอ�ำนวยความสะดวกในการขนส่ง ข้ามแดน แผนงานการรวมกลุ่มสาขาการบิน ง) แผนปฏิบัติการ อาเซียนว่าด้วยการขนส่งทางน�้ำในภูมิภาคอาเซียน ความตกลงและแผนปฏิบตั กิ ารข้างต้นทัง้ หมดนีม้ วี ตั ถุประสงค์ เพื่อเอื้ออ�ำนวยความสะดวกต่อการสร้างระบบโลจิสติกส์และระบบ การขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบที่มีประสิทธิภาพ และท�ำให้การ เคลือ่ นย้ายสินค้าทีส่ ะดวกราบรืน่ เนือ่ งจากมีการเชือ่ มโยงการขนส่ง ทางบก ทางทะเลและทางอากาศเข้าด้วยกัน ข้อริเริ่มเพื่ออ�ำนวย ความสะดวกในการขนส่งส่วนใหญ่ที่มีอยู่ในปัจจุบันมุ่งที่จะอ�ำนวย ความสะดวกด้านการขนส่งสินค้า ดังนั้น จึงควรมีการพิจารณา จัดท�ำข้อริเริ่มใหม่ ๆ ส�ำหรับยานพาหนะเพื่อการโดยสารโดยเฉพาะ ทั้งนี้เพื่ออ�ำนวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยวในภูมิภาคและ การเชื่อมโยงระหว่างประชาชน แผนงานการรวมกลุ่มสาขาการบินเป็นแผนงานที่ก�ำหนด แนวทางส�ำหรับการเปิดเสรีการบริการเดินอากาศในอาเซียน โดยมี เป้าหมายการเปิดเสรีเป็นระยะ ๆ ส�ำหรับการขนส่งสินค้าทางอากาศ ระหว่างทุกเมืองในอาเซียน และการบริการขนส่งผู้โดยสารระหว่าง ทุกเมืองในอาเซียนภายในเดือนธันวาคม 2551 และเดือนธันวาคม 2553 ตามล�ำดับ แผนปฏิบัติการอาเซียนว่าด้วยการขนส่งทางน�้ำในภูมิภาค อาเซียนมุ่งจะขยายเป้าหมายที่ได้แถลงไว้ใน 2 เอกสาร คือ แผนปฏิบัติการเวียงจันทน์ ปี 2547 - 2553 และแผนปฏิบัติการ
172
ประเทศไทยกับอาเซียน
ด้านการขนส่งของอาเซียน 2548 - 2553 นอกจากนี้ยังตอบ สนองต่อข้อเรียกร้องจากผู้น�ำอาเซียนที่จะให้มีกลไกและมาตรการ เพือ่ ช่วยให้สามารถด�ำเนินการตามข้อริเริม่ ต่าง ๆ ด้านเศรษฐกิจทีม่ อี ยู่ ได้อย่างจริงจัง แผนปฏิบตั กิ ารนีเ้ ป็นแผนงานส�ำหรับการปฏิบตั ทิ เี่ ป็น รูปธรรมและมีก�ำหนดเวลา 2. การเคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี ในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา สมาชิกอาเซียนได้ขยาย การค้าระหว่างกันและกับภูมภิ าคอืน่ ๆ ของโลกรวมถึงเอเชียตะวันออก การค้าสินค้าภายในอาเซียนมีลกั ษณะของการมีสว่ นร่วมอย่างแข็งขัน ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการลดภาษีน�ำเข้าลงส่งผลให้อาเซียนมี ส่วนแบ่งของการค้าภายในภูมภิ าคจากการค้าทัง้ หมดสูงทีส่ ดุ (คิดเป็น ร้อยละ 26.3 ในปี 2551) ในบรรดาการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ระดับภูมิภาคในประเทศก�ำลังพัฒนา สะท้อนให้เห็นถึงการพึ่งพา ระหว่างกันในระดับสูงระหว่างเครือข่ายการผลิตในภูมภิ าคทีด่ �ำเนินการ โดยผูผ้ ลิตและผูป้ ระกอบการ นอกจากนี้ ขอบเขตของการท�ำธุรกรรม ต่างตอบแทนในสินค้าเครื่องจักรและชิ้นส่วนภายในประเทศสมาชิก อาเซียน 5 ประเทศมีสูงกว่าในประเทศอื่น ๆ สะท้อนให้เห็นการมี ส่วนร่วมอย่างแข็งขันของชาติสมาชิกอาเซียนในเครือข่ายการผลิต ระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออก อาเซียนอยู่ในระหว่างการขจัดภาษี น�ำเข้าต่างๆ ระหว่างกันภายในภูมภิ าคอาเซียน โดยระบบอัตราภาษี พิเศษร่วมส�ำหรับเขตการค้าเสรีอาเซียน ซึง่ ปัจจุบนั ได้บรรจุอยูใ่ นความ ตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน ทั้งนี้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 ประเทศสมาชิกอาเซียนเดิมทั้ง 6 จะมีอัตราภาษีน�ำเข้าเป็นศูนย์ ในสินค้า 53,457 รายการคิดเป็นร้อยละ 99.11 ของรายการ สินค้าทั้งหมดภายใต้เขตการค้าเสรี
ประเทศไทยกับอาเซียน
173
อาเซียนได้ให้การรับรองแผนงานในการลดมาตรการกีดกัน จากมาตรการทางการค้าที่มิใช่ภาษี แผนงานการจัดท�ำฐานข้อมูล มาตรการทางการค้าที่มิใช่ภาษีของชาติสมาชิก การก�ำหนดตาราง เวลาการก�ำจัดมาตรการทางการค้าที่มิใช่ภาษี การจัดท�ำแนวทาง และขั้นตอนการขออนุญาตน�ำเข้าที่สอดคล้องกับข้อก�ำหนดของ องค์การการค้าโลก ความปลอดภัยของอาเซียนเป็นมิติที่มีความ ส�ำคัญในความร่วมมืออาเซียน เป้าหมายหลักได้แก่ การรับรองความ ปลอดภัยและคุณภาพของสินค้าอาหารทีเ่ ข้าสูต่ ลาดภายในและตลาด ส่งออก ในบริบทของการรวมกลุ่มอาเซียน เป้าหมายหลักคือการ บรรลุความเคลื่อนไหวที่เสรียิ่งขึ้นภายในภูมิภาคของสินค้าอาหารที่ ปลอดภัยและเป็นประโยชน์ การบรรลุเป้าหมายเหล่านีจ้ ะช่วยส่งเสริม ความสามารถในการแข่งขันของสินค้าและการรวมกลุ่มของตลาด ภูมิภาค การรับรองความปลอดภัยของอาหาร การประกันคุณภาพ สินค้า และการก�ำหนดมาตรฐานของการรับรองทางการค้า ล้วนเป็น ประเด็นเร่งรัดจากพืน้ ฐานประสบการณ์ของชาติสมาชิกบางชาติ และ มาตรฐานระหว่างประเทศทีม่ อี ยู่ อาเซียนจะต้องร่วมมือกัน ให้ความ ช่วยเหลือทางวิชาการ มีการประสานงานและการแลกเปลี่ยนข้อมูล เกี่ยวกับมาตรการดังกล่าว ตามที่ได้ผูกพันไว้ในแผนงานการจัดตั้ง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภายใต้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาศุลกากรปี 2548 2553 การอ�ำนวยความสะดวกทางการค้าเป็นยุทธศาสตร์หลักเพื่อ ลดอุปสรรคในการเคลือ่ นย้ายสินค้าในภูมภิ าคได้มกี ารด�ำเนินการไป แล้วหลายขั้นเพื่อให้สามารถน�ำสินค้าออกจากด่านภายในเวลาเฉลี่ย ไม่เกิน 30 นาที
174
ประเทศไทยกับอาเซียน
3. การเคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี ภาคบริการมีบทบาทเพิ่มมากขึ้นในเศรษฐกิจของชาติ สมาชิกอาเซียน นับเป็นส่วนส�ำคัญของผลผลิตมวลรวมของประเทศ และการเพิม่ ขึน้ ของการจ้างงาน การค้าบริการเชิงพาณิชย์ในอาเซียน เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วภายในไม่ถึงหนึ่งทศวรรษนับตั้งแต่ปี 2543 มีมูลค่าเพิ่มขึ้นจาก 154.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2543 ไปเป็น 343.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2552 พัฒนาการที่ ส�ำคัญอีกอย่างหนึ่งได้แก่ การเติบโตอย่างรวดเร็วของการบริการ ขนส่งทางอากาศในอาเซียน ซึ่งเกิดจากการใช้นโยบายการเปิด น่านฟ้าเสรีตงั้ แต่ตน้ ปี 2543 โดยได้มกี ารขยายตัวอย่างรวดเร็วของ สายการบินต้นทุนต�่ำ ให้บริการในเส้นทางภายในภูมิภาคอาเซียน แผนงานส�ำหรับการรวมตัวในสาขาการบริการทางการ ขนส่งได้รับการรับรองเมื่อเดือนสิงหาคม 2551 เพื่อสร้างความ เข้มแข็งให้กับอาเซียนในการเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว และ ส่งเสริมความสามารถในการแข่งขันโดยการอ�ำนวยความสะดวก ทางการค้าและการขนส่ง ภายใต้แผนการเปิดเสรีบริการทางการ ขนส่งซึง่ เป็นองค์ประกอบส�ำคัญในการสร้างความเชือ่ มโยงระหว่างกัน นัน้ แผนงานดังกล่าวก�ำหนดให้มกี ารเปิดเสรีในด้านการบริการคลัง สินค้า โกดังเก็บสินค้า ระวางขนส่ง จัดส่งสินค้า หีบห่อ น�ำสินค้า ออกจากด่านศุลกากร บริการระวางขนส่งระหว่างประเทศ ยกเว้น การขนส่งภายในประเทศโดยบริษัทต่างชาติ ระวางขนส่งทางรถไฟ ระหว่างประเทศ และระวางขนส่งสินค้าทางบกบนเส้นทางระหว่าง ประเทศตามที่ก�ำหนดไว้ในแผนงาน
ประเทศไทยกับอาเซียน
175
4. การเคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี สมาชิกอาเซียนสามารถดึงดูดการลงทุนทางตรงจาก ต่างประเทศได้ดี ปัจจุบันการลงทุนทางตรงในชาติสมาชิกโดยรวม คิดเป็นประมาณร้อยละสิบของเงินลงทุนทางตรงในประเทศก�ำลัง พัฒนาทั้งหมด อาเซียนได้จัดท�ำความตกลงด้านการลงทุนฉบับ ใหม่เรียกว่า เอซีไอเอ ซึ่งประกอบด้วยข้อบทที่ครอบคลุมยิ่งขึ้น ทั้ง ในประเด็นการเปิดเสรีการลงทุน การคุ้มครอง การอ�ำนวยความ สะดวก และการส่งเสริมการลงทุน ความตกลงนีไ้ ด้รวบรวมข้อริเริม่ สองด้านไว้ด้วยกัน คือ ความตกลงส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุน อาเซียน และกรอบความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน ทีจ่ ะให้ประโยชน์ ต่อนักลงทุนอาเซียนและนักลงทุนต่างชาติในอาเซียนโดยการบรรลุ การลงทุนที่เปิดกว้างและมีเสรีภายในปี 2558 5. การเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือและการพัฒนามนุษย์ ภาคแรงงานของสมาชิกอาเซียนมีการตอบสนองที่ดีต่อ ความพยามยามในการก้าวไปสู่ตลาดแรงงานอาเซียนที่รวมตัว ใน การก้าวไปสู่วิสัยทัศน์นี้ โดยเห็นว่าเงื่อนไขที่จ�ำเป็นในการด�ำเนิน การเพื่อส่งเสริมการเคลื่อนย้ายแรงงาน คือการจัดตั้งกรอบทักษะ ฝีมือแรงงานระดับประเทศ เป้าหมายหลักของโครงการนี้ ได้แก่ (1) ประสานมาตรฐานฝีมอื ระดับประเทศและระบบการให้การรับรอง ภายในประเทศอาเซียนเข้าด้วยกัน (2) ด�ำเนินการที่เป็นรูปธรรม ในหมู่สมาชิกอาเซียนในการบรรลุมาตรฐานฝีมือและแนวปฏิบัติที่ สอดประสานกัน และ (3) บรรลุการเป็นตลาดแรงงานอาเซียนที่ มีคุณภาพ มีความสามารถ และได้รับการเตรียมการเป็นอย่างดี เพื่อก้าวไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 นอกจากนี้ ตามปฏิญญาชะอ�ำ - หัวหิน ว่าด้วยการเสริมสร้าง ความร่วมมือด้านการศึกษาเพื่อบรรลุประชาคมอาเซียนที่เอื้ออาทร
176
ประเทศไทยกับอาเซียน
และแบ่งปัน การส่งเสริมการเคลือ่ นย้ายแรงงานมีฝมี อื ในอาเซียนควร ด�ำเนินการควบคูไ่ ปกับการรักษาและพัฒนามาตรฐานทางการศึกษา และวิชาชีพให้สอดคล้องความต้องการของอุตสาหกรรม ในการนี้ อาเซียนได้จดั ท�ำความตกลงการยอมรับร่วมกัน เพือ่ อ�ำนวยความสะดวก ในการเคลื่อนย้ายผู้ประกอบวิชาชีพ/แรงงานมีฝีมือ/ความสามารถ เฉพาะภายในภูมิภาค จ�ำนวน 8 ฉบับ ส�ำหรับวิชาชีพดังต่อไปนี้ ด้านวิศวกรรม พยาบาล สถาปัตยกรรม ช่างส�ำรวจ ท่องเที่ยว แพทย์ ทันตแพทย์ และการบัญชี อย่างไรก็ตาม ยังมีความท้าทายหลายด้านซึ่งจะกระทบ ต่อการด�ำเนินการตามความตกลงที่ได้จัดท�ำไว้ เนื่องจากยังคงมี ความแตกต่างกันในระดับของความร่วมมือในการรับรองคุณวุฒิ ความท้าทายประการหนึ่ง ได้แก่ แนวโน้มของชาติสมาชิกอาเซียน ในการก�ำหนดเงือ่ นไขระดับประเทศก่อนการออกใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพ บนพืน้ ฐานแนวคิดว่าบุคคลทีม่ สี ญ ั ชาติใดย่อมมีความคุน้ เคย กับกฎระเบียบท้องถิ่นมากกว่าผู้ให้บริการต่างชาติ 6. ขั้นตอนการข้ามพรมแดน ความเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐานเพียงอย่างเดียว ไม่สามารถประกันการเคลือ่ นย้ายสินค้าและประชาชนระหว่างประเทศ อย่างราบรื่นได้ ขั้นตอนการข้ามพรมแดนที่ไม่มีประสิทธิภาพและ ใช้เวลานาน สร้างแรงเสียดทานทีไ่ ม่จ�ำเป็น เพิม่ ต้นทุนการขนส่ง ไม่มี มาตรการป้องกันการเอารัดเอาเปรียบเป็นความท้าทายหลักที่ต้อง ท�ำการแก้ไข ซึ่งอาจน�ำไปสู่อาชญากรรมข้ามชาติและความท้าทาย ในการข้ามพรมแดนอื่น ๆ เช่น มลพิษ และโรคระบาด เป็นต้น กรอบความตกลงอาเซียน อาทิ (1) กรอบความตกลง อาเซียนว่าด้วยการอ�ำนวยความสะดวกใน การขนส่งสินค้าผ่านแดน (2) กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอ�ำนวยความสะดวกในการ
ประเทศไทยกับอาเซียน
177
ขนส่งสินค้าข้ามแดน และ (3) กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการ ขนส่งต่อเนือ่ งหลายรูปแบบ มีเป้าหมายเพือ่ พัฒนาการอ�ำนวยความ สะดวกในการขนส่ง ข้อริเริม่ อนุภมู ภิ าคก็มสี ว่ นช่วยส่งเสริมความพยายามของ อาเซียนในการปรับปรุงการอ�ำนวยความสะดวกข้ามพรมแดนและ ความเชื่อมโยงด้านกฎระเบียบเช่นกัน อาทิ ความตกลงการขนส่ง ข้ามพรมแดนภายใต้ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภมู ภิ าคลุม่ น�ำ้ โขง ซึง่ เน้นประเด็นหลักในเรือ่ งการแลกเปลีย่ นสิทธิการขนส่งเชิงพาณิชย์ การตรวจสอบ ณ จุดเดียวและครั้งเดียวที่ด่านตรวจหลัก โครงการบริหารจัดการพรมแดนอาเซียน - สหภาพยุโรป เป็นมิตใิ หม่ของการปรับปรุงความร่วมมือระหว่างหน่วยงานตรวจคน เข้าเมือง ที่มีเป้าหมายเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายการบริหารจัดการ พรมแดนของชาติสมาชิกอาเซียน โดยกลุม่ เป้าหมายหลักคือ เจ้าหน้าที่ ทีท่ �ำหน้าทีด่ า้ นการตรวจคนเข้าเมือง การรักษากฎหมาย ความมัน่ คง ชายแดน และศุลกากร ความเชื่อมโยงด้านประชาชน ตั้งแต่การก่อตั้งอาเซียนในปี 2510 อาเซียนได้ด�ำเนินการ ตามปฏิญญากรุงเทพ ซึง่ มีเป้าหมายการสร้างประชาคมทีม่ สี นั ติภาพ และรุ่งเรือง โดยการด�ำเนินการร่วมกันเพื่อเร่งรัดความเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจ ส่งเสริมความก้าวหน้าทางสังคม และเสริมสร้างการ พัฒนาทางวัฒนธรรมเพือ่ ยกระดับมาตรฐานความเป็นอยูข่ องประชาชน เพื่อเป้าหมายนี้ อาเซียนได้จัดท�ำข้อริเริ่มในหลายสาขา อาทิ การ ศึกษาวัฒนธรรม สวัสดิการสังคม เยาวชน สตรี การพัฒนาชนบท และการขจัดความยากจน ภายหลังการจัดตั้งคณะมนตรีประชาคม
178
ประเทศไทยกับอาเซียน
สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในปี 2552 คณะมนตรีฯ ได้ท�ำหน้าที่ เป็นองค์กรหลักในการรักษามรดกทางวัฒนธรรมส�ำหรับชนรุน่ หลัง ตามแผนงานการจัดตัง้ ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนอย่างมี ประสิทธิผลและเป็นไปโดยเร็ว ทัง้ นี้ รวมถึงการส่งเสริมการตระหนัก รูเ้ กีย่ วกับอาเซียน การศึกษาและการเพิม่ พูนความเชือ่ มโยงประชาชน สูป่ ระชาชน การส่งเสริมการตระหนักรูถ้ งึ ความแตกต่างในมรดกทาง วัฒนธรรมภายในอาเซียน การศึกษาเกี่ยวกับศิลปะและวัฒนธรรม ของอาเซียน รวมถึงภาษาด้วย ในด้านการศึกษาและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ความร่วมมือ ใน 4 ด้านดังต่อไปนี้ได้รับการจัดล�ำดับให้มีความส�ำคัญสูง ได้แก่ 1) การส่งเสริมความตระหนักรับรู้เกี่ยวกับอาเซียนในหมู่พลเมือง โดยเฉพาะเยาวชน 2) การเสริมสร้างอัตลักษณ์อาเซียนผ่านการศึกษา 3) การสร้างทรัพยากรมนุษย์ของอาเซียนในสาขาการศึกษา และ 4) การเสริมสร้างการสร้างเครือข่ายของมหาวิทยาลัยอาเซียน ในการนี้ ความร่วมมือด้านการศึกษาตามปฏิญญาชะอ�ำ - หัวหิน ว่าด้วยการ เสริมสร้างความร่วมมือด้านการศึกษาเพื่อบรรลุประชาคมอาเซียน ที่เอื้ออาทรและแบ่งปันควรได้รับการสนับสนุนเพื่อส่งเสริมความ ร่วมมือระดับภูมิภาคด้านการศึกษาขั้นพื้นฐานและบรรลุการเข้าถึง การศึกษาขั้นพื้นฐานโดยทั่วถึงทั้งภูมิภาคภายในปี 2558 เครือข่าย มหาวิทยาลัยอาเซียน จัดตัง้ ขึน้ ในปี 2538 เพือ่ ส่งเสริมการประสาน การศึกษาและโครงการวิจยั ระหว่างนักวิจยั อาเซียน ปัจจุบนั ประกอบ ด้วยมหาวิทยาลัยชั้นน�ำ 22 แห่งในอาเซียน (ASEAN University Network : AUN) และให้การสนับสนุนการเคลื่อนย้ายของบุคลากร และนักศึกษาในภูมภิ าคผ่านแผนงานหลัก 2 แผน ได้แก่ การรับรอง คุณภาพทีแ่ ท้จริงของเอยูเอ็นและระบบการโอนหน่วยกิตของอาเซียน
ประเทศไทยกับอาเซียน
179
ความท้าทายหลักทีภ่ าคการศึกษาต้องเผชิญ ได้แก่ การขาดโครงสร้าง พืน้ ฐานทีเ่ ห็นพ้องร่วมกันในการศึกษาขัน้ สูง เพือ่ อ�ำนวยความสะดวก ในการเคลือ่ นย้ายบุคลากรและเพิม่ การปฏิสมั พันธ์ระหว่างนักวิชาการ นักเขียน ศิลปิน สื่อสารมวลชนและนักศึกษา ตารางการเรียนที่ไม่ สอดคล้องกัน ความจ�ำเป็นในการมีกระบวนการรับรองคุณภาพ การ รับรองคุณวุฒิ ข้อบทและกฎระเบียบภายในประเทศ รวมถึงการ ปรับปรุงคุณภาพของการศึกษาเพื่อฝึกอบรมแรงงาน คณะกรรมการอาเซียนด้านวัฒนธรรมและสนเทศ (ASEAN Committee on Culture and Information: ASEAN COCI) จัดตั้ง ขึ้นในปี 2521 เพื่อส่งเสริมความร่วมมือในสาขาวัฒนธรรมและ สนเทศเพือ่ ส่งเสริมความเข้าใจร่วมกันและความเป็นนำ�้ หนึง่ ใจเดียวกัน ในบรรดาประชาชนอาเซียนและขยายการพัฒนาไปสูร่ ะดับภูมภิ าค ใน แต่ละปีมกี ารด�ำเนินกิจกรรมทีห่ ลากหลาย เพือ่ ส่งเสริมความสามารถ พิเศษและเพิ่มการปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักวิชาการ นักเขียน ศิลปิน สื่อสารมวลชนและนักศึกษา อาทิ ค่ายเยาวชนอาเซียน รางวัลข่าว โทรทัศน์อาเซียนของเครือข่ายเอเชียวิชนั่ และโครงการสร้างนักข่าว อาเซียน เนือ่ งจากประเด็นทางด้านวัฒนธรรมมีความส�ำคัญและมีสว่ น เชือ่ มโยงกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจทีย่ งั่ ยืน ดังนัน้ ทุกประเทศ สมาชิกจึงควรสร้างความตระหนักรู้ในบทบาทและความส�ำคัญของ วัฒนธรรมและก�ำหนดเป็นยุทธศาสตร์ในระดับต้น ๆ ด้วย ข้อริเริม่ ต่าง ๆ ด้านการท่องเทีย่ วของประเทศสมาชิกอาเซียน ในช่วงหลายปีทผี่ า่ นมาตามทีป่ รากฏในแผนงานด้านการท่องเทีย่ วของ อาเซียนระหว่างปี 2547 - 2553 ได้พยายามส่งเสริมให้อาเซียน เป็นจุดหมายปลายทางด้านการท่องเที่ยว โดยการเปิดเสรีการค้า บริการด้านการท่องเทีย่ วและธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้องกับการท่องเทีย่ ว ดังนัน้
180
ประเทศไทยกับอาเซียน
การยกระดับโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยวจะส่งเสริมให้ภาค เอกชนมีส่วนร่วมในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว รวมทั้งการส่งเสริมการ พัฒนาทักษะบุคลากรด้านการท่องเที่ยวด้วย ความส�ำเร็จในการ ปฏิบตั ติ ามแผนงานด้านการท่องเทีย่ วส่งผลให้จ�ำนวนนักท่องเทีย่ วจาก ต่างประเทศเดินทางมาภูมิภาคอาเซียนเพิ่มมากขึ้น นอกเหนือจาก นักท่องเที่ยวของภูมิภาคอาเซียนที่เดินทางไปมาระหว่างกัน แม้อาเซียนจะประสบความส�ำเร็จในด้านการส่งเสริมการ ท่องเทีย่ ว แต่กย็ งั มีประเด็นท้าทายทีอ่ าเซียนจะต้องร่วมกันแก้ปญ ั หา กล่าวคือ การจัดท�ำข้อก�ำหนดการตรวจลงตราให้เป็นมาตรฐาน เดียวกัน การใช้ระบบประกันประเภทที่ 3 แก่นักท่องเที่ยวที่เป็น มาตรฐานสากล การจัดมาตรฐานบริการด้านการท่องเที่ยวของ อาเซียน และการปรับปรุงยกระดับโครงสร้างพื้นฐานด้านการ ท่องเทีย่ ว เพือ่ ให้มคี วามสอดคล้องกับวิสยั ทัศน์ของอาเซียนทีจ่ ะสร้าง ประชาคมที่แบ่งปันและเอื้ออาทร
ประเทศไทยกับอาเซียน
181
ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
การสร้างประชาคมอาเซียน เพิ่มพูนกฎระเบียบ และธรรมาภิบาล ในอาเซียน
เพิ่มพูนการรวมกลุ่ม และความสามารถในการ แข่งขันของอาเซียน
เพิ่มพูนความอยู่ดี กินดีและวิถีชีวิตของ ประชากรอาเซียน
ลดช่องว่างการพัฒนา ความเชื่อมโยงด้านประชาชน การท่องเที่ยว การศึกษา วัฒนธรรม
ความเชือ่ มโยงด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน
ความเชื่อมโยงด้านกฎระเบียบ
การขนส่ง : อากาศ ถนน รถไฟ ทะเล ท่าเรือ การบริการขนส่ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร : เครือข่ายใยแก้วน�ำแสงพลังงาน : การเชื่อมโยงระบบส่งไฟฟ้าอาเซียน การเชื่อมโยงส่งท่อก๊าซอาเซียน เขตเศรษฐกิจพิเศษ
การเปิดเสรีทางการค้า : ความตกลงการค้า สินค้าในอาเซียน มาตรฐาน การบริการ ศุลกากร ณ จุดเดียว การรวมศุลกากร การเปิดเสรีการลงทุน : ความตกลงด้านการ ลงทุนอาเซียน การเปิดเสรีบริการ ข้อตกลงยอมรับร่วม ความตกลงการขนส่งในภูมิภาค โครงการเสริมสร้างศักยภาพ
โครงสร้างพื้นฐานแบบแข็ง
โครงสร้างพื้นฐานแบบอ่อน
การระดมทรัพยากร ทรัพยากรของอาเซียน ธนาคารเพื่อการพัฒนาพหุภาคี ประเทศคู่เจรจา ภาคเอกชน
ความเชื่อมโยงระหว่างกันของอาเซียน 182
ประเทศไทยกับอาเซียน
การด�ำเนินการให้เป็นไปตามแผนแม่บท ว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน การประชุมสุดยอดอาเซียน
ส�ำนักเลขาธิการอาเซียน (หน่วยงานด้านการเชื่อมโยง ที่ส�ำนักเลขาธิการอาเซียน)
คณะมนตรี ประสานงานอาเซียน คณะมนตรีประชาคมอาเซียน
กรอบอนุภูมิภาค ที่เกี่ยวข้องกับการเชื่อมโยง ระหว่างกันในอาเซียน
คณะกรรมการประสานงาน การเชื่อมโยงในภูมิภาคอาเซียน (ประกอบด้วยผู้แทนถาวร อาเซียน ประจ�ำกรุงจาการ์ตา หรือผู้แทนพิเศษที่ได้รับ การแต่งตั้งจากประเทศ สมาชิกอาเซียน) คณะท�ำงาน อาเซียนที่เกี่ยวข้อง
ประสานงานของแต่ละ ประเทศสมาชิกอาเซียน
ประเทศไทยกับอาเซียน
183
Connectivity Beyond ASEAN ASEAN Plus One Connectivity Cooperation ส่งเสริมความเชื่อมโยงระหว่าง อาเซียนกับประเทศคู่เจรจา รายประเทศ เช่น จีน ญี่ปุ่น อินเดีย และสหรัฐฯ เป็นต้น
Intra-ASEAN
Connectivity ส่งเสริมความเชื่อมโยง ระหว่างประเทศสมาชิก อาเซียนกันเอง เพื่อช่วย สร้างประชาคมอาเซียน
Connectivity
in East Asia Summit (EAS) ส่งเสริมความเชื่อมโยง ในกรอบการประชุม เอเชียตะวันออก
184
ประเทศไทยกับอาเซียน
ASEAN Plus
Three Connectivity Partnership ส่งเสริมความเชื่อมโยงในกรอบ อาเซียนบวกสาม (จีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี)
ความเชื่อมโยงในมิติต่าง ๆ ความเชื่อมโยง ด้านโครงสร้าง พื้นฐาน
ความเชื่อมโยง ด้านกฎระเบียบ
ความเชื่อมโยง ด้านประชาชน
• โครงสร้างพื้นฐาน ด้านคมนาคม และการขนส่ง เช่น เส้นทางถนน รางรถไฟ เส้นทาง การเดินเรือและ ทางอากาศ • ระบบ logistics เพื่อรองรับการ ขนส่งสินค้า • ท่าเรือ ท่าอากาศยาน สถานีรถไฟ
• กฎหมายและ ความตกลงต่าง ๆ เพื่อสนับสนุน การขนส่งสินค้า ข้ามชายแดน • ระบบการบริหาร จัดการเพื่ออ�ำนวย ความสะดวก ในการขนส่งสินค้า • ระบบการป้องกัน ไม่ให้อาชญากรรม ข้ามชาติและภัย คุกคามต่าง ๆ ข้ามชายแดน
• โครงการ แลกเปลี่ยน ผู้เชี่ยวชาญ ระหว่างประเทศ • ส่งเสริม การท่องเที่ยว ระหว่างกัน • สร้างความ ตระหนักรู้ และความ เข้าใจที่ดี ระหว่าง ประชาชน ประเทศต่าง ๆ โดยการ แลกเปลี่ยน ทางการศึกษา
ประเทศไทยกับอาเซียน
185
การด�ำเนินการให้เป็นไปตามแผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยง ระหว่างกันในอาเซียน อาเซียนมีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะท�ำให้แผนแม่บทว่าด้วยความเชือ่ มโยง ระหว่างกันในอาเซียน สามารถด�ำเนินการให้เกิดผลอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลได้ ดังนั้น อาเซียนจึงต้องมีกลไกและทรัพยากรที่ จ�ำเป็นรองรับไว้ด้วย กลไกการด�ำเนินการในเรื่องนี้ จึงควรจัดตั้งคณะกรรมการ ประสานงานการเชื่อมโยงในภูมิภาคอาเซียน ซึ่งประกอบด้วยผู้แทน ถาวรอาเซียน ประจ�ำกรุงจาการ์ตา หรือผูแ้ ทนพิเศษทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ จากประเทศสมาชิกอาเซียน ท�ำหน้าที่ด�ำเนินการให้นโยบาย และ ยุทธศาสตร์ด้านการเชื่อมโยงในภูมิภาคให้บังเกิดผล ในการนี้ คณะกรรมการประสานงานการเชื่อมโยงในภูมิภาคอาเซียนจะต้อง ประสานงานกับผูป้ ระสานงานของแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน ซึง่ ได้รับการแต่งตั้งจากประเทศสมาชิกเช่นกัน และส�ำนักเลขาธิการ อาเซียนก็จะจัดตัง้ หน่วยงานด้านนีข้ นึ้ มาโดยเฉพาะ พร้อมกับบุคลากร และงบประมาณที่เพียงพอเพื่อสนับสนุนการท�ำงานในด้านนี้ด้วย คณะกรรมการด้านต่าง ๆ ของอาเซียนจะท�ำหน้าที่ประสาน งานเพื่อให้ยุทธศาสตร์และกิจกรรมหลักภายใต้แผนแม่บทฯ ด�ำเนิน ไปโดยราบรืน่ ขณะทีผ่ ปู้ ระสานงานของแต่ละประเทศและหน่วยงาน ทีเ่ กีย่ วข้องของประเทศสมาชิกทีร่ บั ผิดชอบในแต่ละเรือ่ งจะท�ำหน้าที่ ก�ำกับดูแลการด�ำเนินการเพือ่ ให้แผนงานและโครงการต่าง ๆ ในระดับ ชาติด�ำเนินไปอย่างราบรื่น นอกจากนี้ ยังจะต้องมีการประสานงาน กับทุกภาคส่วน ซึง่ ประกอบด้วยภาคเอกชน สมาคมอุตสาหกรรมและ ประชาคมอาเซียนโดยรวมเพือ่ ให้มสี ว่ นร่วมในการด�ำเนินการให้เป็น ไปตามแผนแม่บทฯ
186
ประเทศไทยกับอาเซียน
ยุทธศาสตร์ประชาสัมพันธ์ ยุทธศาสตร์การประชาสัมพันธ์ ประกอบด้วยข้อมูลและกิจกรรม ต่าง ๆ ทีจ่ ะสือ่ สารไปยังทุกภาคส่วนของอาเซียนเพือ่ ให้รบั ทราบและ สนับสนุนกิจกรรมเชือ่ มโยงในภูมภิ าค โดยสือ่ มวลชนแขนงต่าง ๆ ของ ภาครัฐและเอกชนจะต้องมีสว่ นเข้าร่วม ในการนีจ้ ะต้องมีการวิเคราะห์ ด้วยว่าแต่ละชุมชนมีขอ้ กังวล ความคาดหวัง และทัศนคติอย่างไรต่อ แผนแม่บทฯ และควรค�ำนึงถึงประสบการณ์ทมี่ อี ยูด่ ว้ ยว่าการสือ่ สาร การเผยแพร่ข้อมูลและความรู้แบบใดที่ประสบผลส�ำเร็จ การทบทวน ประเมินผล และการติดตามผล คณะกรรมการประสานงานการเชื่อมโยงในภูมิภาคอาเซียน จะท�ำหน้าที่ในการติดตามผลและก�ำกับดูแลการด�ำเนินการให้เป็น ไปตามแผนแม่บทฯ ระบบ Scorecard ซึ่งจะประกอบด้วยรายละเอียดเกี่ยวกับ ยุทธศาสตร์ กิจกรรมหลัก ก�ำหนดเวลา และหน่วยงานที่รับผิดชอบ จะเป็นกลไกที่จะประเมินและติดตามผลการปฏิบัติตามแผนแม่บทฯ อย่างสม�ำ่ เสมอ โดยจะมีการทบทวนแผนแม่บทฯ เป็นระยะ ๆ เพือ่ ให้ แน่ใจว่ากิจกรรมและโครงการต่าง ๆ จะสอดคล้องกับความต้องการ และผลประโยชน์ของประเทศสมาชิกอาเซียน แถลงการณ์ผนู้ ำ� อาเซียนว่าด้วยการเชือ่ มระหว่างกันในอาเซียน ณ ชะอ�ำ หัวหิน ประเทศไทย วันที่ 24 ตุลาคม 2552 ประมุขของรัฐและหัวหน้ารัฐบาลของรัฐสมาชิกสมาคม ประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) ได้หารือถึงแนวคิดเรือ่ ง การเพิ่มพูนความเชื่อมโยงในอาเซียนในการประชุมสุดยอดอาเซียน
ประเทศไทยกับอาเซียน
187
ครั้งที่ 15 ณ ชะอ�ำ หัวหิน ในวันที่ 24 ตุลาคม 2552 ผู้น�ำมี ข้อสังเกตว่าอาเซียนตัง้ อยูใ่ นใจกลางของภูมภิ าคทีม่ คี วามเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนือ่ ง โดยมีอนิ เดียทางทิศตะวันตก จีน ญีป่ นุ่ และเกาหลีใต้ ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และออสเตรเลีย/นิวซีแลนด์ ทางทิศใต้ ดังนั้น อาเซียนจึงมีศักยภาพในการเป็นศูนย์กลางด้าน การขนส่งเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และการท่องเที่ยว ของภูมิภาคนี้ การเสริมสร้างการเชื่อมโยงในอาเซียนและในอนุภูมิภาคจะ ท�ำให้ประเทศสมาชิกอาเซียนได้รบั ประโยชน์มากขึน้ จากการค้า การ ลงทุน การท่องเทีย่ วและการพัฒนา และโดยทีก่ ารเชือ่ มโยงโครงข่าย คมนาคมทางบกจะต้องผ่านพืน้ แผ่นดินใหญ่ของภูมภิ าคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ดังนั้น กัมพูชา ลาว เวียดนาม และเมียนมาร์ จะได้รับ ประโยชน์มากที่สุด เนื่องจากจะท�ำให้สามารถเข้าถึงพื้นที่ที่ห่างไกล และมีการพัฒนาน้อยกว่าพื้นที่อื่น ๆ ในภูมิภาคนี้ได้อย่างทั่วถึง อันจะเป็นการช่วยลดช่องว่างการพัฒนาในอาเซียนได้เป็นอย่างดี นอกเหนือจากประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นจากการเชื่อมโยง ภายในอาเซียนแล้วการเชื่อมโยงดังกล่าวจะช่วยเสริมสร้างความ พยายามในการสร้างประชาคมอาเซียน ไม่เพียงแต่ในเรื่องของการ รวมตัวในระดับภูมิภาค แต่รวมถึงการไปมาหาสู่ระหว่างประชาชน ในการนี้ แนวคิดของอาเซียนในเรือ่ งการเชือ่ มโยงโครงข่ายโครงสร้าง พืน้ ฐานจึงจะเป็นปัจจัยเกือ้ หนุนความพยายามในการจัดตัง้ ประชาคม อาเซียนที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง บนพื้นฐานของการเชื่อมโยง ทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ในปี 2558 ต่อไป ในการทีจ่ ะบรรลุซงึ่ เป้าหมายดังกล่าวข้างต้น บรรดาผูน้ �ำเห็นพ้อง กันว่าการด�ำเนินการเชือ่ มโยงโครงข่ายคมนาคมทางถนน รถไฟ ทาง อากาศ และทางทะเลเป็นสิ่งจ�ำเป็นที่ต้องเร่งด�ำเนินการให้แล้วเสร็จ ซึ่งรวมถึงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบการขนส่งต่อเนื่อง
188
ประเทศไทยกับอาเซียน
หลายรูปแบบ เช่น โครงการทางหลวงอาเซียนและเส้นทางรถไฟ สิงคโปร์-คุณหมิง และการปรับปรุงมาตรฐานของกฎระเบียบใต้กรอบ ความร่วมมือในอาเซียนที่มีอยู่ และโดยที่อินเทอร์เน็ตมีความส�ำคัญ เป็นอย่างยิ่งในภาคธุรกิจ การศึกษา และการพัฒนาประเทศ ดังนั้น จึงจ�ำเป็นต้องเร่งด�ำเนินการตามแผนแม่บทด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารให้แล้วเสร็จในปี 2553 ต่อไปด้วยการขยายโครง ข่ายการเชื่อมโยงในภูมิภาค จะเป็นปัจจัยช่วยเสริมสร้างสถานะ และการเป็นศูนย์กลางของอาเซียนในภูมิภาคเอเชียตะวันออก ซึ่ง จะมีความเข้มแข็งมากยิ่งขึ้นผ่านการขยายการเชื่อมโยงไปสู่มิตร ประเทศต่าง ๆ นอกภูมิภาคในระยะยาวต่อไป ในการนี้ ผู้น�ำจึง มั่นใจว่าแนวคิดการส่งเสริมการเชื่อมโยงของอาเซียน จะสามารถ เอือ้ อ�ำนวยและสนับสนุนการรวมตัวในกรอบอาเซียนและกรอบความ ร่วมมือต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกต่อไป อาเซียนควรระดมการสนับสนุนจากประเทศคูเ่ จรจา หน่วยงาน ระหว่างประเทศ รวมถึงหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา เพื่อให้บรรลุซึ่ง วิสัยทัศน์ของการเพิ่มพูนความเชื่อมโยงในอาเซียน ซึ่งรวมถึงการ ระดมความสนับสนุนในการจัดตั้งกองทุนเพื่อการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานส�ำหรับอาเซียน นอกจากนี้อาเซียนควรหาวิธีการที่จะใช้ ประโยชน์จากกองทุนความร่วมมือที่มีอยู่แล้วกับประเทศคู่เจรจาใน การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน และต้อนรับความร่วมมือกับภาคีอนื่ ๆ ที่มีความสนใจจะร่วมมือกับอาเซียนในเรื่องนี้ ผู้น�ำตกลงให้มีการจัด ตั้งคณะท�ำงานระดับสูงของอาเซียน ซึ่งจะประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญ ที่เกี่ยวข้อง ภายใต้การสนับสนุนจากส�ำนักเลขาธิการอาเซียนและ คณะท�ำงานที่เกี่ยวข้อง องค์การระหว่างประเทศ เช่น ธนาคาร เพื่อการพัฒนาเอเชีย คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชีย และแปซิฟกิ และสถาบันวิจยั ด้านเศรษฐกิจส�ำหรับอาเซียนและเอเชีย ตะวันออก เพือ่ ท�ำการศึกษาระดับการเชือ่ มโยงทัง้ ภายในอาเซียนและ
ประเทศไทยกับอาเซียน
189
ระหว่างอาเซียนกับภูมภิ าคอืน่ ๆ และจัดท�ำแผนแม่บทอาเซียนว่าด้วย เรือ่ งการเชือ่ มโยงในภูมภิ าค รวมถึงพิจารณารูปแบบกลไกสนับสนุน ทางการเงินด้วย ในการด�ำเนินการดังกล่าว คณะท�ำงานจะต้องค�ำนึง ถึงแผนงานและการด�ำเนินงานที่มีอยู่แล้วเพื่อมิให้เกิดการซ�้ำซ้อน นอกจากนี้ในการจัดท�ำแผนแม่บท คณะท�ำงานฯ ควรใช้ทรัพยากร ที่มีอยู่อย่างจ�ำกัดจากอาเซียน ประเทศคู่เจรจา และธนาคารเพื่อ การพัฒนาระหว่างประเทศให้มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้คณะท�ำงานระดับสูงของอาเซียนควรหารือและปรึกษา กับคณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คณะมนตรีประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียน และคณะมนตรีประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน ก่อนที่จะน�ำเสนอผลการด�ำเนินงานและ ข้อเสนอแนะต่อที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 17 ในปี 2553 ผ่านคณะมนตรีประสานงานอาเซียนต่อไป โครงการเร่งรัดส�ำหรับการสร้างความเชือ่ มโยงระหว่างกันในอาเซียน ความเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน 1. ก่อสร้างโครงข่ายทางหลวงอาเซียนช่วงที่ขาดหายให้ แล้วเสร็จและปรับปรุงเส้นทางขนส่งสินค้าผ่านแดน (การขนส่ง ทางบก) เครือข่ายทางหลวงอาเซียน (เอเอช) เป็นโครงการโครงสร้าง พื้นฐานส�ำหรับการขนส่งทางบกน�ำร่องซึ่งจะรวมกันเป็นเส้นทาง หลัก (ทางหลวงระหว่างประเทศ) ของเครือข่าย การขนส่งโดยรวม ของอาเซียน ทางหลวงอาเซียนจะช่วยในการเข้าถึงตลาดที่ใหญ่ขึ้น ลดต้นทุนการขนส่งและการค้า เชือ่ มต่อห่วงโซ่อปุ ทานระดับภูมภิ าค และโลก และส่งเสริมความร่วมมือและการรวมตัวในภูมิภาค
190
ประเทศไทยกับอาเซียน
การด�ำเนินการตามทางหลวงอาเซียน ในขณะนี้ยังคงมี เส้นทางเชื่อมต่อที่ขาดหายไปและถนนที่ต�่ำกว่าชั้นที่ 3 ในเส้นทาง ขนส่งสินค้าผ่านแดน โครงการต่อไปนี้จะเป็นการด�ำเนินการให้ ช่วงที่ขาดหายไปแล้วเสร็จ และยกระดับการปรับปรุงถนนที่ต�่ำกว่า ชั้นที่ 3 ในเส้นทางที่ก�ำหนดภายในปี 2558 2. ก่อสร้างเส้นทางรถไฟระหว่างสิงคโปร์กบั คุนหมิงช่วงที่ ขาดหายไปให้แล้วเสร็จ (การขนส่งทางบก) เส้นทางรถไฟระหว่างสิงคโปร์กบั คุนหมิง (เอสเคอาร์แอล) เป็นโครงการน�ำร่องส�ำหรับโครงสร้างพืน้ ฐานทางคมนาคมอีกโครงการ หนึง่ ซึง่ มีเป้าหมายในการเชือ่ มโยงประเทศสมาชิกอาเซียน 7 ประเทศ กับจีนผ่าน สิงคโปร์ - มาเลเซีย - ไทย - กัมพูชา - เวียดนาม - จีน (คุนหมิง) และเส้นเชื่อมระหว่างไทย - เมียนมาร์ และไทย - ลาว เพื่อด�ำเนินการก่อสร้างเส้นทางเอสเคอาร์แอลหลักให้แล้วเสร็จและ แสดงให้เห็นถึงความมุง่ มัน่ ของอาเซียนในการก่อสร้างเส้นทางรถไฟนี้ 3. สร้างแนวเส้นทางอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงในอาเซียน (ไอซีที) โครงการแนวเส้นทางอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง (เอบีซี) มีเป้าหมายสองประการได้แก่ (1) เป็นโครงสร้างพืน้ ฐานหลักในการ ให้บริการทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารแก่ชมุ ชนในอาเซียน และ (2) วางนโยบายและกฎระเบียบที่จ�ำเป็น ในการดึงดูดธุรกิจ และการลงทุนสูภ่ มู ภิ าค โดยทีโ่ ครงสร้างพืน้ ฐานด้านสารสนเทศเป็น ปัจจัยหลักในการพัฒนาประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจโดยการเพิ่มการ เข้าถึงข้อมูลและข่าวสาร จึงมีความจ�ำเป็นในการจัดตัง้ เอบีซี เพือ่ เร่ง การพัฒนาธุรกิจและสังคมทัว่ ทัง้ ภูมภิ าค รวมทัง้ สร้างความตระหนัก รับรู้เรื่องประชาคมอาเซียน
ประเทศไทยกับอาเซียน
191
4. โครงข่ายไฟฟ้าแรงสูงเชื่อมต่อมะละกา – เปกันบารู (IMT - GT : อินโดนีเซีย) (พลังงาน) โครงข่ายไฟฟ้าแรงสูงเชือ่ มกระแสสลับขนาด 600 เมกะวัตต์ เชื่อมต่อระหว่างคาบสมุทรมาเลเซียและสุมาตรา อินโดนีเซีย 5. โครงข่ายไฟฟ้าแรงสูงเชื่อมต่อกะลิมันตันตะวันตกกับ ซาราวัก (BIMP - EAGA : อินโดนีเซีย) โครงการประกอบด้วยโครงข่ายไฟฟ้าแรงสูงกระแสสลับ ขนาด 275 กิโลโวลต์ ยาว 120 กิโลเมตร เรียกว่าโครงข่ายไฟฟ้า แรงสูงกะลิมนั ตันตะวันตก - ซาราวัก และสถานีไฟฟ้าย่อยเบงกะยาง โครงข่ายนีจ้ ะเชือ่ มต่อสถานีไฟฟ้าย่อยเบงกะยางในกะลิมนั ตันตะวันตก เข้ากับสถานีไฟฟ้าย่อยแมมบองในซาราวัก 6. การศึกษาเกีย่ วกับเครือข่ายเรือบรรทุกยานพาหนะล้อเลือ่ น (การขนส่งทางทะเล) ท�ำการศึกษาความเป็นไปได้และรายละเอียดทางเทคนิค ในการสร้างเครือข่ายเรือบรรทุกยานพาหนะล้อเลือ่ นในอาเซียน และ ศึกษาทางเลือกของชาติสมาชิกอาเซียนในการส่งเสริมการพัฒนาการ ขนส่งทางเรือระยะสั้น การศึกษานี้จะเป็นก้าวแรกในการแสวงหา ทางเลือกในการด�ำเนินการตามหลักการในแผนแม่บทนี้ในเรื่อง การเชื่อมโยงแผ่นดินใหญ่กับหมู่เกาะในอาเซียน ความเชื่อมโยงด้านกฎระเบียบ 1. จัดท�ำและปฏิบัติตามความตกลงการยอมรับร่วมกัน ส�ำหรับอุตสาหกรรมเร่งรัด (การเคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี) โครงการนี้จะช่วยชาติสมาชิกอาเซียน (1) จัดท�ำความ ตกลงการยอมรับร่วมกันในสาขาเร่งรัดเพิ่มเติม และ (2) ปฏิบัติ ตามหลักการทั่วไปและเงื่อนไขที่ระบุไว้ในกรอบความตกลงอาเซียน ว่าด้วยความตกลงการยอมรับร่วมกัน และเพื่อส่งเสริมการยอมรับ
192
ประเทศไทยกับอาเซียน
ผลของการบังคับใช้การรับรองโดยชาติสมาชิก เมือ่ ใบรับรองได้ออก โดยหน่วยงานรับรองในเขตแดนของชาติสมาชิกอื่น โดยเฉพาะใน สาขาเร่งรัด ทั้งนี้ การด�ำเนินการจ�ำเป็นต้องใช้ความช่วยเหลือทาง วิชาการ ในปี 2553 อาเซียนได้จดั ท�ำความตกลงการยอมรับร่วมกัน ส�ำหรับสาขาเครือ่ งใช้ไฟฟ้าและเครือ่ งส�ำอางเท่านัน้ จึงมีความจ�ำเป็น ต้องจัดท�ำความตกลงเพิม่ เติมโดยเฉพาะในสาขาเร่งรัด เพือ่ ให้อาเซียน ก้าวไปสู่การสร้างตลาดและฐานการผลิตเดียวกันในปี 2558 2. ก�ำหนดกฎระเบียบร่วมส�ำหรับมาตรฐานและขั้นตอน การตรวจสอบรับรอง (การเคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี) โครงการนี้จะรวบรวมระบบการควบคุม และกรอบกฎ ระเบียบ ประเมินความเป็นไปได้ ในการจัดท�ำกฎระเบียบร่วม และ สร้างแผนงานในการน�ำกฎเหล่านี้ไปใช้งานทั่วภูมิภาคอาเซียน ในปี 2558 อาเซียนได้จดั ท�ำแนวนโยบายว่าด้วยมาตรฐานและการรับรอง ซึ่งได้วางหลักการในเรื่องมาตรฐาน การใช้งานระบบการตรวจสอบ รับรอง และการน�ำไปใช้ในการควบคุมทางเทคนิค ด้วยเหตุทอี่ าเซียน มุง่ ไปสูก่ ารเคลือ่ นย้ายอย่างเสรีของสินค้าภายในปี 2558 จึงมีความ จ�ำเป็นที่จะต้องท�ำการศึกษาเรื่องดังกล่าวนี้ 3. เริม่ การใช้ระบบการอ�ำนวยความสะดวกด้านศุลกากรด้วย ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียว ในระดับประเทศ ในปี 2555 (การเคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี/ระบบการอ�ำนวยความสะดวก ด้านศุลกากร ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียวของอาเซียน) โครงการนีค้ วรต้องให้ความช่วยเหลือทางวิชาการแก่ประเทศ สมาชิกอาเซียน โดยเฉพาะประเทศสมาชิกใหม่ (CLMV) เพื่อเร่งรัด การเตรียมการทางด้านเทคนิค กฎหมาย สถาบัน และโครงสร้าง พื้นฐาน เพื่อก้าวไปสู่การใช้งานระบบการอ�ำนวยความสะดวกด้าน ศุลกากรด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียว ในระดับประเทศ ส�ำหรับด่านศุลกากรที่ได้รับการคัดเลือกไว้ ทั้งนี้ ผู้น�ำได้ตกลงว่า
ประเทศไทยกับอาเซียน
193
ประเทศสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ และ CLMV ควรใช้งาน ระบบการอ�ำนวยความสะดวกด้านศุลกากรด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียวในระดับประเทศภายในปี 2551 และ ปี 2555 ตาม ล�ำดับ เพื่อลดระยะเวลาการท�ำงาน เร่งรัดกระบวนการน�ำสินค้า ออกจากด่านศุลกากร ลดต้นทุนการท�ำธุรกรรม และลดอุปสรรค ทางการค้าส�ำหรับธุรกิจใหม่ ปัจจุบันประเทศสมาชิกอาเซียนเดิมยัง ใช้งานระบบนี้ไม่ครบทั้ง 6 ประเทศ 4. ทางเลือกส�ำหรับกรอบ/รูปแบบการลดและเลิกตาราง ข้อจ�ำกัด/อุปสรรคทางการลงทุน เป็นระยะ (การเคลือ่ นย้ายการ ลงทุนอย่างเสรี) อาเซียนมีวัตถุประสงค์ในการดึงดูดและรักษาการลงทุน ไว้ในภูมิภาคและในช่วงที่ผ่านมาได้เดินหน้าการสร้างสภาพแวดล้อม ส�ำหรับการลงทุนทีเ่ ปิดกว้างและเอือ้ อ�ำนวยมากขึน้ ภายในภูมภิ าค โดย การลงนามความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน ซึง่ เป็นความตกลง ที่ได้รวบรวมขึ้นจากความตกลงด้านการลงทุน 2 ฉบับที่ลงนามไว้ ในปี 2530 และ 2541 และตั้งอยู่บนพื้นฐานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ และมองไปข้างหน้า ภายใต้ความตกลงนี้ อาเซียนได้ใช้แนวทางเปิด เสรีแบบบัญชีก้าวหน้า และได้ก�ำหนดตารางเวลาการเปิดเสรีการ ลงทุนในอาเซียนภายในปี 2558 เพื่อให้เป็นไปตามตารางเวลานี้ อาเซียนจ�ำเป็นต้องจัดท�ำกรอบ/รูปแบบส�ำหรับประเทศสมาชิกเพื่อ ใช้ในการลดมาตรการทางการลงทุนทีจ่ �ำกัดการเคลือ่ นย้ายการลงทุน ในภูมภิ าค และจ�ำเป็นต้องรับการให้ความช่วยเหลือทางวิชาการเพือ่ วางแผนและด�ำเนินการแผนงานการเปิดเสรี โดยค�ำนึงถึงความ จ�ำเป็นในการใช้กรอบ/รูปแบบ เช่น สูตรที่มีเงื่อนไขและตารางเวลา ชัดเจนส�ำหรับการวางกรอบระยะการลดและเลิกตารางข้อจ�ำกัดของ ประเทศสมาชิกเป็นระยะไปจนถึงปี 2558 การให้ความช่วยเหลือ
194
ประเทศไทยกับอาเซียน
ทางวิชาการควรต้องรวมถึงการก�ำหนดหลักการและเงื่อนไขที่จะน�ำ ไปสูแ่ ผนงานในการลดมาตรการต่าง ๆ ตามทีร่ ะบุไว้ขา้ งต้นด้วยเช่น กัน การด�ำเนินงานตามแผนแม่บทจ�ำเป็นต้องมีการลงทุนในโครงการ ความเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐานและโครงการความเชื่อมโยง อืน่ ๆ สภาพแวดล้อมส�ำหรับการลงทุนในประเทศสมาชิกอาเซียนควร ได้รบั การปรับปรุงเพือ่ ให้การเคลือ่ นไหวของการลงทุนทางตรงได้รบั การส่งเสริมให้เป็นส่วนเพิม่ ของแหล่งทุน โครงการนีจ้ ะสอดคล้องกับ ความพยายามของอาเซียน ภายใต้แผนงานจัดตัง้ ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนในการลด/เลิกข้อจ�ำกัดในการลงทุน 5. การด�ำเนินการตามความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอ�ำนวย ความสะดวกในการขนส่ง (การอ�ำนวยความสะดวกในการขนส่ง) โครงการนีเ้ ป็นการให้ความช่วยเหลือทางวิชาการและการ ศึกษาที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติตามพิธีสารต่าง ๆ ของกรอบความ ตกลงอาเซียนว่าด้วยการอ�ำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่าน แดน โครงการเร่งรัดจะเน้นหนึ่งในสามความตกลงด้านการอ�ำนวย ความสะดวกทางการขนส่ง ซึง่ อาเซียนได้ตกลงกันได้ตงั้ แต่ปี 2541 เพือ่ ให้องค์ประกอบส�ำคัญในการวางกรอบระบบการขนส่งผ่านแดน ภายในภูมิภาคอาเซียนที่มีประสิทธิผลและไม่ติดขัด ความตกลงทั้ง สามซึ่งครอบคลุมถึงการขนส่งสินค้าข้ามแดน การขนส่งต่อเนื่อง หลายรูปแบบ และการขนส่งสินค้าผ่านแดน มีความส�ำคัญต่อการ อ�ำนวยความสะดวกในการข้ามพรมแดน ขณะนี้ พิธสี ารจ�ำนวนมาก ของความตกลงเหล่านีย้ งั ไม่มขี อ้ สรุป โดยประเทศอาเซียนยังไม่ได้ให้ สัตยาบันหรือยังไม่ได้ด�ำเนินการ จึงท�ำให้ต้องชะลอการจัดตั้งระบบ การขนส่งสินค้าผ่านแดนและการอ�ำนวยความสะดวกในการข้าม พรมแดน รวมถึงการเคลื่อนย้ายผู้โดยสาร และสินค้าข้ามพรมแดน ภายใต้ขั้นตอนการพัฒนาเพื่อการบริหารจัดการชายแดน (ซีไอคิว)
ประเทศไทยกับอาเซียน
195
ความเชื่อมโยงด้านประชาชน 1. ลดขัน้ ตอนการตรวจลงตราเดียวส�ำหรับบุคคลสัญชาติ อาเซียน (การเคลื่อนย้ายประชาชน/การท่องเที่ยว) ข้อริเริม่ นีจ้ ะอ�ำนวยความสะดวกในการเดินทางของประชาชน และนักท่องเทีย่ ว และอาจเป็นการยกเว้นการตรวจลงตราส�ำหรับการ เดินทางภายในอาเซียนโดยบุคคลสัญชาติอาเซียนทั้งหมด รวมถึง ศึกษาความเป็นไปได้ในการลดเงื่อนไขการตรวจลงตราส�ำหรับ นักท่องเทีย่ วต่างชาติทเี่ ดินทางมาอาเซียนภายในปี 2558 โครงการนี้ เป็นประเด็นความเชือ่ มโยงด้านประชาชนและการอ�ำนวยความสะดวก ในการท่องเที่ยว เป็นการส่งสัญญาณถึงความมุ่งมั่นของอาเซียนใน การประสานขั้นตอนต่าง ๆ ในฐานะประชาคมเดียวกัน 2. การจัดตัง้ ศูนย์ทรัพยากรการเรียนรูเ้ สมือนจริงอาเซียน (วัฒนธรรม) โครงการนี้ประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วนแรกเป็นการศึกษา เพื่อก�ำหนดปัจจัยหลักที่เกี่ยวกับการจัดตั้งศูนย์ฯ ทั้งประเด็นด้าน เทคนิคและการบริหารจัดการเว็บไซต์ การศึกษานี้จะมีความส�ำคัญ ในระยะแรก เนือ่ งจากมีสาขาหลายด้านทีจ่ ะเกีย่ วข้องกับการบริหาร จัดการศูนย์ฯ อาทิ วัฒนธรรม การศึกษา และการท่องเทีย่ ว ผลลัพธ์ จากการศึกษานี้จะเป็นพื้นฐานของการจัดตั้งศูนย์ฯ ซึ่งจะเป็นส่วนที่ 2 ของโครงการ อาเซียนมีแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมที่หลากหลายที่สุด ในโลก ประกอบด้วยประชากรจ�ำนวนประมาณ 590 ล้านคน อาศัย อยู่ในพื้นที่กว้างกว่า 4.43 ล้านตารางกิโลเมตร ในยุคเทคโนโลยี สารสนเทศ การปฏิสัมพันธ์สามารถส่งเสริมให้เกิดมากขึ้นได้ใน กลุ่มประชาชนของอาเซียนโดยการแบ่งปันข้อมูลเกี่ยวกับประชาชน วัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร์ สถานทีน่ า่ สนใจ และเศรษฐกิจของแต่ละ
196
ประเทศไทยกับอาเซียน
ประเทศสมาชิก โดยการจัดตั้งศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้เสมือนจริง ที่เชื่อมโยงกัน 3. การพัฒนามาตรฐานทักษะไอซีที (ไอซีที) โครงการนี้เกี่ยวข้องกับการจัดท�ำความตกลงการยอมรับ ร่วมกัน (MRA) ส�ำหรับมาตรฐานทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร (ไอซีที) ภายในอาเซียน และประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ได้แก่ (1) จัดท�ำแผนงานการรับรองทักษะด้านไอซีที และการพัฒนา ทักษะ โดยเน้นการรับรองทักษะมาตรฐาน การส่งเสริมการเคลื่อน ย้ายผูเ้ ชีย่ วชาญด้านไอซีทที ไี่ ด้รบั การรับรอง และพัฒนาแรงงานด้าน ไอซีทีที่แข่งขันได้ โดยการพัฒนาทักษะเพื่อตอบสนองความต้องการ ในด้านทรัพยากรไอซีที (2) จัดท�ำความตกลงยอมรับร่วมกันส�ำหรับ การรับรองทักษะ โดยเน้นที่การพัฒนามาตรฐานทักษะทางไอซีที ส�ำหรับอาเซียน และการส่งเสริมการเคลื่อนย้ายทรัพยากรมนุษย์ใน ด้านไอซีทีภายในอาเซียน (ค.ศ. 2015) ความตกลงส�ำหรับการรับรองทักษะด้านไอซีทีร่วมกันจะ มีความจ�ำเป็นส�ำหรับการสร้างความสอดคล้องของมาตรฐานทักษะ ไอซีทีส�ำหรับการรับรองต่าง ๆ ในอาเซียน การด�ำเนินการเช่นนี้จะ ท�ำให้ธรุ กิจในทุกชาติอาเซียนมีความมั่นใจในคุณภาพของทรัพยากร มนุษย์ด้านไอซีที และผู้เชี่ยวชาญด้านไอซีทีได้รับการยอมรับจาก ทุกแห่งในอาเซียน 4. แผนงานการจัดตั้งประชาคมอาเซียน (วัฒนธรรม/ การศึกษา) หนึ่งในกิจกรรมหลักของแผนงานนี้ได้แก่การจัดให้ศิลปิน อาเซียนเดินทางไปจัดการแสดงในทุก ๆ ชาติอาเซียนในเดือนสิงหาคม ของทุกปี ซึ่งตรงกับเดือนแห่งการฉลองครบรอบการจัดตั้งอาเซียน โดยจะจัดแสดงทางวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมความเข้าใจในความ
ประเทศไทยกับอาเซียน
197
หลากหลายทางวัฒนธรรมของภูมิภาค (การจัดแสดงควรมีขึ้นที่ อ�ำเภอเมือง) สื่อมวลชนท้องถิ่นจะได้รับเชิญให้แพร่ภาพการแสดง กิจกรรมที่สอง จะเชิญผู้ที่มีบทบาทในการขับเคลื่อนอย่างส�ำคัญใน ระดับภูมิภาคจากภาคเอกชน สถาบันทางวิชาการ องค์กรที่มิใช่ รัฐบาล ชุมชนท้องถิ่นและกลุ่มเยาวชนมาร่วมโครงการแลกเปลี่ยน กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การขยายความร่วมมือกันในบรรดา สถาบันการศึกษาระดับสูง สถาบันวิจัยและศูนย์ความร่วมมือต่าง ๆ ของประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อร่วมกันท�ำการวิจัยเกี่ยวกับภูมิภาค อาเซียน และมาระดมสมองว่าภูมิภาคอาเซียนจะยังคงมีบทบาท ในโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วได้อย่างไร การส่งเสริมความรูส้ กึ ของอัตลักษณ์ในภูมภิ าคจ�ำเป็นต้อง อาศัยความตระหนักรับรู้พื้นฐานเกี่ยวกับมรดกทางวัฒนธรรมของ ภูมิภาค วัตถุประสงค์ของโครงการนี้ ได้แก่ การสาธิตการแสดง ทางศิลปะและวัฒนธรรมชั้นเลิศของอาเซียน เพื่อให้สาธารณชน ทัง้ ในอาเซียนและในประชาคมโลกได้รบั ทราบและเข้าใจประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรมของชาติสมาชิกอาเซียนมากขึ้น รวมทั้งผลงานของ อาเซียน ดังนัน้ เพือ่ บรรลุเป้าหมายนีอ้ ย่างเต็มที่ สือ่ มวลชนท้องถิน่ / นานาชาติควรจะท�ำการแพร่ภาพการแสดงไปยังชาติสมาชิกอาเซียน ทุกประเทศและน�ำขึ้นเว็บไซต์ของอาเซียน การมีส่วนร่วมอย่างกว้างขวางขององค์กรทางความคิด ในอาเซียนเพื่อประเมินและทบทวนผลงานของอาเซียนและวิธีการ ส่งเสริมและขยายกิจกรรมควรจัดขึน้ อย่างเป็นประจ�ำ ปีละหนึง่ หรือ สองครัง้ โดยทีเ่ ครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (เอยูเอ็น) ก�ำลังส่งเสริม ให้เกิดการเคลื่อนย้ายนักศึกษาและการแลกเปลี่ยนทางวิชาการ ดังนั้น กิจกรรมที่เกี่ยวข้องควรเป็นส่วนหนึ่งของแผนยุทธศาสตร์ ของส�ำนักงานเลขาธิการเอยูเอ็น
198
ประเทศไทยกับอาเซียน
บรรณานุกรม www.aseansec.org www.mfa.go.th/asean www.dtn.go.th www.depthai.go.th หนังสือ ASEAN Mini Book หนังสือ ASEAN Highlights 2001
ประเทศไทยกับอาเซียน
199
คณะผูจ้ ด ั ท�ำ ที่ปรึกษา นายธีระพงษ์ โสดาศรี อธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ นางลดาวัลย์ บัวเอี่ยม รองอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ นางเตือนใจ สินธุวณิก รองอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ นางวรรณา วุฒิอาภรณ์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักการประชาสัมพันธ์ต่างประเทศ กองบรรณาธิการ นางวันเพ็ญ อัพตัน นางสาวบุษบา บุษยะกนิษฐ นางพนิดา สายสอิด นางสาวสักการะ ศรีเริงหล้า นายปริญญา รัตนาคม
One Vision, One Identity, One Community
กรมประชาสัมพันธ สำนักนายกรัฐมนตรี ซอยอารียสัมพันธ ถนนพระรามที่ 6 เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0-2-618-2323-40 ตอ 1710-1711 โทรสาร 0-2618-2377 www.prd.go.th
จุดแข็งและข้อควรรู ้
ประชาคมอาเซียน
1.ประเทศบรูไน ดารุสซาลาม (Brunei Darussalam) จุดแข็ง – การเมืองค่อนข้างมั่นคง – รายได้เฉลี่ยต่อคนเป็นอันดับ 2 ในอาเซียน อันดับ 26 ของโลก – ผู้ส่งออกและมีปริมาณส้ารองน้ามันอันดับ 4 ในอาเซียน
ข้อควรรู้ – ประชาชนของประเทศในกลุ่มอาเซียนสามารถท้าวีซ่าที่ ตม.ที่ประเทศบรูไนฯ สามารถอยู่ได้นาน 2 สัปดาห์ – ควรหลีกเลี่ยงเสือผ้าสีเหลือง เพราะถือเป็นสีของพระมหากษัตริย์ – การทักทายจะจับมือกันเบาๆ และสตรีจะไม่ยื่นมือให้บุรุษจับ – การใช้นิวชีไปที่คนหรือสิ่งของถือว่าไม่สุภาพ แต่จะใช้หัวแม่มือชีแทน – จะไม่ใช้มือซ้ายในการส่งของให้ผู้อื่น – สตรีเวลานั่งจะไม่ให้เท้าชีไปทางผู้ชายและไม่ส่งเสียงหรือหัวเราะดัง – วันหยุดคือวันศุกร์และวันอาทิตย์, วันศุกร์ 12.00-14.00 น.ทุกร้านจะปิด – จัดงานเย็นต้องจัดหลัง 2 ทุ่ม
2.ประเทศกัมพูชา (Cambodia) จุดแข็ง – ค่าจ้างแรงงานต่้าที่สุดในอาเซียน – มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและสมบูรณ์
ข้อควรรู้ – ผู้ที่เดินทางเข้ากัมพูชา และประสงค์จะอยู่ท้าธุรกิจเป็นระยะเวลาเกิน 3 เดือน ควรฉีดยาป้องกัน โรคไทฟอยด์ และไวรัสเอและบี – เพื่อนผู้ชายจับมือกัน ถือเป็นเรื่องปกติ – ผู้หญิงห้ามแต่งตัวเซ็กซี่, ผู้ชายไว้ผมยาวจะมีภาพลักษณ์ นักเลง – ห้ามจับศีรษะ คนกัมพูชาถือว่าเป็นส่วนส้าคัญที่สุดของร่างกาย – สบตามากเกินไป ถือว่าไม่ให้เกียรติ
3.ประเทศอินโดนีเซีย (Indonesia) จุดแข็ง – มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ – มีจ้านวนประชากรมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ข้อควรรู้ – ไม่ควรใช้มือซ้ายในการรับ-ส่งของ คนมุสลิมอินโดนีเซียถือว่ามือซ้ายไม่สุภาพ – นิยมใช้มือกินข้าว – ไม่ควรชีนิวด้วยนิวชี แต่ใช้นิวโป้งแทน – ไม่จับศีรษะคนอินโดนีเซียรวมทังการลูบศีรษะเด็ก – การครอบครองยาเสพติด อาวุธ หนังสือรูปภาพอนาจาร มีบทลงโทษหนัก อาทิ การน้าเข้าและ ครอบครองยาเสพติดมีโทษถึงประหารชีวิต – บทลงโทษรุนแรงเกี่ยวกับการค้าและส่งออกพืชและสัตว์กว่า 200 ชนิด จึงควรตรวจสอบก่อนซือหรื อน้าพืชและสัตว์ออกนอกประเทศ – มอเตอร์ไซค์รับจ้างมีมิเตอร์ – งานศพใส่ชุดสีอะไรก็ได้
4.ประเทศลาว (Laos) จุดแข็ง – ค่าจ้างแรงงานต่้าอันดับ 2 ในอาเซียน – การเมืองมีเสถียรภาพ
ข้อควรรู้ – ลาว มีตัวอักษรคล้ายของไทย ท้าให้คนไทยอ่านหนังสือลาวได้ไม่ยากนัก ส่วนคนลาวอ่านหนังสือ ไทยได้คล่องมาก – ลาวขับรถทางขวา – ติดต่อราชการต้องนุ่งซิ่น – เดินผ่านผู้ใหญ่ ต้องก้มหัว – ถ้าเพื่อนคนลาวเชิญไปพักที่บ้านห้ามให้เงิน – อย่าซือน้าหอมให้กัน – ที่ถูกต้องคนลาวที่ให้พัก ต้องแจ้งผู้ใหญ่บ้าน – เข้าบ้านต้องถอดรองเท้า และถ้าเขาเสิร์ฟน้าต้องดื่ม
5.ประเทศมาเลเซีย (Malaysia) จุดแข็ง – มีปริมาณส้ารองน้ามันมากเป็นอันดับ 3 ในเอเชียแปซิฟิค – มีปริาณก๊าซธรรมชาติมากเป็นอันดับ 2 ในเอเชียแปซิฟิค
ข้อควรรู้ – ผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามจะได้รับสิทธิพิเศษ คือ เงินอุดหนุนทางด้านการศึกษา สาธารณสุข การคลอดบุตรงานแต่งงานและงานศพ – มาเลเซียมีปัญหาประชากรหลากหลายเชือชาติ ชาติพันธุ์ในมาเลเซียประกอบด้วยชาวมาเลย์ กว่าร้อยละ 40 ที่เหลืออีกกว่าร้อยละ 33 เป็นชาวจีนร้อยละ10 เป็นชาวอินเดีย และ อีกร้อยละ 10 เป็นชนพืนเมืองบนเกาะบอร์เนียว – ใช้มือขวาเพียงข้างเดียวในการรับประทานอาหาร และรับส่งของ – เครื่องดื่มแอลกฮอล์เป็นเรื่องต้องห้าม
6.ประเทศเมียนมาร์ หรือพม่า (Myanmar) จุดแข็ง – มีพรมแดนเชื่อมต่อกับจีน และอินเดีย – ค่าจ้างแรงงานต่้าเป็นอันดับ 3 ในอาเซียน – มีปริมาณก๊าซธรรมชาติเป็นจ้านวนมาก
ข้อควรรู้ – ไม่ควรพูดเรื่องการเมือง กับคนไม่คุ้นเคย – เข้าวัดต้องถอดรองเท้า ถุงเท้า – ห้ามเหยียบเงาพระสงฆ์ – ให้นามบัตรต้องยื่นให้สองมือ – ไม่ควรใส่กระโปรงสัน กางเกงขาสัน ในสถานที่สาธารณะและศาสนสถาน – ผู้หญิงชอบทาทะนาคา (ผู้ชายก็ทาด้วย) ผู้ชายชอบเคียวหมาก
7.ประเทศฟิลิปปินส์ (Philippines) จุดแข็ง – แรงงานทั่วไป ก็มีความรู้สื่อสารภาษาอังกฤษได้
ข้อควรรู้ – การเข้าไปประกอบธุรกิจในฟิลิปปินส์ในลักษณะต่างๆ เช่น การลงทุนร่วมกับฝ่ายฟิลิปปินส์ จ้าเป็นต้องมีการศึกษาข้อมูลให้ละเอียด โดยเฉพาะในด้านกฎหมาย การจดทะเบียนภาษี และปัญหา ทางด้านแรงงาน เป็นต้น – เท้าสะเอว หมายถึง ท้าทาย, เลิกคิว หมายถึง ทักทาย – ใช้ปากชีของ – กินข้าวบ้านเพื่อนสามารถห่อกลับได้ แต่ควรมีของฝากให้เขาด้วย – ตกแต่งบ้าน 2 เดือน ต้อนรับคริสต์มาส
8.ประเทศสิงคโปร์ (Singapore) จุดแข็ง ข้อควรรู้ – รายได้เฉลี่ยต่อคน เป็นอันดับ 1 ในอาเซียน และอันดับ 15 ของโลก – หน่วยราชการเปิดท้าการวันจันทร์ – ศุกร์ ระหว่างเวลา 08.30 น.-13.00 น. – แรงงานมีทักษะสูง และ 14.00 น. – 16.30 น. และวันเสาร์ เปิดท้าการระหว่างเวลา 08.00 น. – 13.00 น. – การหลบหนีเข้าสิงคโปร์และประกอบอาชีพเร่ขายบริการผิดกฎหมาย จะถูกลงโทษอย่างรุนแรง – การลักลอบน้ายาเสพติด อาวุธปืนและสิ่งผิดกฎหมายอื่นๆ จะได้รับโทษอย่างรุนแรงถึงขัน ประหารชีวิต – ขึนบันไดเลื่อนให้ชิดซ้าย – ห้ามทิงขยะเรี่ยราด, ห้ามเก็บผลไม้ในที่สาธารณะ – ผู้สูงอายุท้างาน ถือเป็นเรื่องปกติ
9.ประเทศเวียดนาม (Vietnam) จุดแข็ง – มีปริมาณส้ารองน้ามันดิบมากเป็นอันดับ 2 ในเอเชียแปซิฟิค
ข้อควรรู้ – หน่วยงานราชการ ส้านักงาน และองค์กรให้บริการสาธารณสุข เปิดท้าการระหว่างเวลา 08.00 น. – 16.30 น. ตังแต่วันจันทร์ – ศุกร์ – เวียดนามไม่อนุญาตให้ถ่ายภาพอาคารที่ท้าการต่างๆ ของรัฐ – คดียาเสพติดการฉ้อโกงหน่วยงานของรัฐมีโทษประหารชีวิต – ตีกลองแทนออดเข้าเรียน – ชุดนักเรียนหญิงเป็นชุดอ่าวหญ่าย – คนภาคเหนือไม่ทานน้าแข็ง – ไม่ถ่ายรูป 3 คนอย่างเด็ดขาด เพราะถือว่าจะท้าให้เบื่อกัน หรือแแยกกันหรือใครคนใดเสียชีวิต – ต้องเชิญผู้ใหญ่ก่อนทานข้าว
10.ประเทศไทย (Thailand) จุดแข็ง – เป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงคมนาคมด้านต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียน – มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่มีชื่อเสียง
ข้อควรรู้ – ไปศาสนสถานควรแต่งกายเรียบร้อย, ก่อนเข้าอุโบสถต้องถอดรองเท้า – ห้ามพระสงฆ์สัมผัสสตรี – สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นที่เคารพสัการะ การละเมิดใดๆ ถือเป็นความผิดตามรัฐธรรมนูญ – ทักทายกันด้วยการไหว้ – ถือว่าเท้าเป็นของต่้า ไม่ควรพาดบนโต๊ะ หรือเก้าอี หรือหันทิศทางไปที่ใคร – ธงชาติถือเป็นของสูง ไม่ควรน้ามากระท้าการใดๆที่เป็นการเหยียดหยาม – การแสดงออกทางเพศในที่สาธารณะ ยังไม่ได้รับการยอมรับในวัฒนธรรมไทย
เอกสารเผยแพร่ ความรู้ ก้าวไปสู่....อาเซยีน
เกร็ดความรู้อาเซียน ASEAN (อาเซียน) ย่อมาจาก Association of Southeast Asian Nations หรือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวูนออกเฉียงใต้ ประกอบด้วย 10 ประเทศ ดูงนี้ 1. กูมพูชา (ราชอาณาจูกรกูมพูชา) 2. ไทย (ราชอาณาจูกรไทย) 3. บรูไนดารุสซาลาม (เนการาบรูไนดารุสซาลาม) 4. พม่า (สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์) 5. ฟิลิปปินส์ (สาธารณรัฐฟิลิปปินส์) 6. มาเลเซีย (มาเลเซีย) 7. ลาว (สาธารณรัฐประชาธิปไทยประชาชนลาว) 8. สิงคโปร์ (สาธารณรัฐสิงคโปร์) 9. เวียดนาม (สาธารณรัฐสูงคมนิยมเวียดนาม) 10. อินโดนีเซีย (สาธารณอินโดนีเซีย)
อาเซียน + 3 และอาเซียน + 6 คืออะไร? อาเซียน + 3 คือ กล่มุ ประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ และ 3 ประเทศนอกอาเซียน ได้แก่ จีน ญี่ป่นุ เกาหลีใต้ อาเซียน + 6 คือ กล่มุ ประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ และ 6 ประเทศ นอกอาเซียน ได้แก่ จีน ญี่ป่นุ เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย
เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของอาเซียน 1) เพื่อส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ และการบริหาร 2) เพื่อส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค 3) เพื่อเสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและพัฒนาการทางวัฒนธรรมในภูมิภาค 4) เพื่อเสริมสร้างให้ประชาชนในอาเซียนมีความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดี 5) เพื่อให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในรูปแบบของการฝึกอบรมและการวิจัยและ ส่งเสริมการศึกษาด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
คา ขวญัของอาเซียน คอื หนึ่งวสิ ััยทศั น์ หนึ่งอตั ลกั ษณ์ หนึ่งประชาคม (One Vision One Identity One Community) เลขาธิการอาเซียนคนปั จจุบัน คอื นายสุ รินทร์ พศิสุวรรณ สั ญลกัษณ์ อาเซียน คอื รูปรวงข้ าวสี เหลอื บนพนื้ สีแดงล้ อมรอบด้ วยวงกลมสี ขาวและสี น าั้เงิน รวงข้ าง 10 ต้ น มดั รวมกนั ไว้ หมายถึง ประเทศสมาชิ กรวมกนั เพอื่ มติ รภาพและความเป็ นน าั้ หนึ่งใจเดียวกนั สี น าั้ เงิน หมายถึง สั นติภาพและความมนั่ คง สี แดง หมายถึง ความกล้ าหาญและความก้ าวหน้ า
สี ขาว หมายถึง ความบริสุทธ์ิ
สี เหลอื หมายถึง
ความเจริญร่ งเรื องุ ส านักงานเลขาธิการอาเซียน ( ASEAN Secretariat) ต้ั งอย่ ท ัีั่ัู กรุงจาการ์ ตา ประเทศ อนิ โดนีเซีย
อาเซียนต้ั งเป้ าหมายทบี่รรลประชาคมอาเซียนโดยสมบุ 2015) กฎบัตรอาเซียน เริ่มใช้ เมอื่ วนั ท ัีั่16 ธันวาคม 2551
ภาษาราชการของอาเซียน คอื ภาษาองั กฤษ เพลงอาเซียน มชี ัืั่อว่ า เพลง The ASEAN Way
ัูรณ์ ในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ.
การเปรียบเทียบข้อมูลของประชาคมอาเซียน จานวนประชากรในแต่ละประเทศในอาเซียน ประเทศ
จำนวนประชำกร
ประเทศบรูไน
401,890
คน
10%
ประเทศสิงคโปร์
5,469,700
คน
20%
ประเทศลาว
6,500,000
คน
30%
ประเทศกัมพูชา
14,700,000
คน
40%
ประเทศมาเลเซีย
30,018,242
คน
50%
ประเทศเมียนมาร์
56,400,000
คน
60%
ประเทศไทย
65,124,716
คน
70%
ประเทศเวียดนาม
89,693,000
คน
80%
ประเทศฟิลิปปินส์
103,000,000
คน
90%
ประเทศอินโดนีเซีย
241,000,000
คน
100%
รวมสมาชิกในอาเซียน
หน่วยนับ อัตราเปอร์เซ็น
502,405,658
คน
จำนวนประชำกรในแต่ละประเทศ ี น ในอำเซย 120% 100% 80% 60%
40% 20%
0%
10%
20%
30%
40%
50%
60%
70%
80%
90%
100%
การเปรียบเทียบข้อมูลของประชาคมอาเซียน จานวนพื้นที่ในแต่ละประเทศในอาเซียน ประเทศ ประเทศสิงคโปร์ ประเทศบรูไน ประเทศกัมพูชา ประเทศมาเลเซีย ประเทศเวียดนาม ประเทศลาว ประเทศเมียนมาร์ ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศไทย รวมสมาชิกในอาเซียน
จำนวนพื้นที่ 697.1 5,769 180,000 329,758 331,689 236,000 677,000 1,904,433 300,000 513,115.02 847,913
หน่วยนับ ตารางกิโลเมตร ตารางกิโลเมตร ตารางกิโลเมตร ตารางกิโลเมตร ตารางกิโลเมตร ตารางกิโลเมตร ตารางกิโลเมตร ตารางกิโลเมตร ตารางกิโลเมตร ตารางกิโลเมตร ตารางกิโลเมตร
อัตราเปอร์เซน 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%
้ ทีใ่ นแต่ละประเทศใน จำนวนพืน ี น อำเซย รวมสมาชิกในอาเซียน ประเทศไทย
100%
ประเทศฟิ ลป ิ ปิ นส์
90%
ประเทศอินโดนีเซีย
80%
ประเทศเมียนมาร์
70%
ประเทศลาว
60%
ประเทศเวียดนาม
50%
ประเทศมาเลเซีย
40%
ประเทศกัมพูชา
30%
ประเทศบรูไน
20%
ประเทศสิงคโปร์
10% 0%
20%
40%
60%
80%
100%
120%