OPEN HOUSE BOOKLET ISSUE

Page 1

ม า ต ร ฐ า น วิ ช า ชี พ คืออะไร ? มี ใ บ รั บ ร อ ง วิ ช า ชี พ แล้วจะได้ประโยชน์

ม า ห า ค �ำ ต อ บ ไ ด้ ใ น ง า น

1

รู้จักมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพธุรกิจหนังสือและสิ่งพิมพ์ พูดคุยสอบถามผู้จัดทำ�มาตรฐานอาชีพฯ ทั้ง 6 อาชีพ

จัดโดย ศูนย์รับรองสมรรถนะบุคคลฯ วิชาชีพธุรกิจหนังสือและสิ่งพิมพ์ สมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จำ�หน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย


องค์กรรับรองสมรรถนะของบุคคลตามมาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพธุรกิจหนังสือและสิ่งพิมพ์ โดยสมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จำ�หน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย

องค์กรรับรองฯ ทำ�หน้าที่อะไร ? สมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จำ�หน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย จัดทำ�โครงการมาตรฐาน อาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพธุรกิจหนังสือและสิ่งพิมพ์ โดยมีงบประมาณสนับสนุน จากสถาบั น คุ ณ วุ ฒิ วิ ช าชี พ (องค์ ก ารมหาชน) มอบหมายให้ ม หาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เป็นผู้ดำ�เนินงานโครงการ ใน6 สาขาอาชีพ ของการผลิตหนังสือ ได้แก่ อาชีพนักเขียน อาชีพนักแปล อาชีพบรรณาธิการ อาชีพนักออกแบบภาพประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์ อาชีพนักพิสูจน์อักษร และ อาชีพนักออกแบบกราฟิกหนังสือและสิ่งพิมพ์ เสร็จสิ้นในปี 2558 เพื่อรองรับการจัดทำ�มาตรฐานอาชีพดังกล่าวฯ สมาคมผู้จัดพิมพ์ฯ จึงจัดตั้ง ศูนย์รับรองสมรรถนะของบุคคลตามมาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพธุรกิจหนังสือ และสิ่งพิมพ์ขึ้น ทำ�หน้าที่ให้บริการทดสอบมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ ใน ระดับชั้นต่าง ๆ ที่กำ�หนดไว้ และต่ออายุใบรับรอง เมื่อถึงกำ�หนดครบ 3 ปี ในเบื้อง ต้น ได้จัดทดสอบ 6 อาชีพ ในระดับตั้งแต่ ชั้น 3 – ชั้น 5 สถานที่ทดสอบในแต่ละอาชีพ มีดังนี้ 1. สมาคมผู้จัดพิมพ์ฯ จัดทดสอบอาชีพนักเขียน บรรณาธิการ นักพิสูจน์อักษร 2. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ จัดทดสอบอาชีพนักแปล นักออกแบบภาพประกอบหนังสือและสิง ่ พิมพ์ นักออกแบบกราฟิกหนังสือและสิง ่ พิมพ์


ขั้นตอนการรับสมัตรและทดสอบ

3


คุณสมบัติผู้ขอการรับรองและการเลื่อนระดับคุณวุฒิ


คุณสมบัติผู้ขอการรับรองและการเลื่อนระดับคุณวุฒิ

6 อาชีพสำ�คัญ…ผู้ผลักดันมาตรฐานการผลิตหนังสือ ปั จ จั ย สำ � คั ญ ของการส่ ง เสริ ม ธุ ร กิ จ หนังสือให้อยู่ยืนยงได้ คือต้องมีผู้อ่าน หนั ง สื อ การที่ ผู้ อ่ า นจะตั ด สิ น ใจซื้ อ หนั ง สื อ นอกจากความมุ่ ง หวั ง จะได้ ประโยชน์จากสาระความรู้ หรือได้ความ เพลิ ด เพลิ น จากอรรถรสของหนั ง สื อ เล่มนั้นแล้ว ยังมีปัจจัยอื่น ๆ อาทิ ภาพ ประกอบ รู ป เล่ ม รวมไปถึ ง ราคา ใน ปั จ จุ บั น หนั ง สื อ มี คู่ แ ข่ ง คื อ สื่ อ อื่ น ๆ โดยเฉพาะสื่อออนไลน์ การผลิตหนังสือ จึ ง ต้ อ งมี ม าตรฐานและความแม่ น ยำ � ทางการตลาดมากยิ่ ง ขึ้ น เริ่ ม ตั้ ง แต่ คุณภาพการผลิต ส ถ า บั น คุ ณ วุ ฒิ วิ ช า ชี พ ( อ ง ค์ ก า ร มหาชน) ได้มีการพัฒนากรอบคุณวุฒิ วิ ช าชี พ เพื่ อ เป็ น เกณฑ์ ใ นการกำ � หนด ร ะ ดั บ คุ ณ วุ ฒิ วิ ช า ชี พ โ ด ย ใ น แ ต่ ล ะ

ระดั บ จะอธิ บ ายถึ ง กฎเกณฑ์ ความ รู้ ทั ก ษะ และคุ ณ สมบั ติ ที่ พึ ง ประสงค์ ข อ บ เ ข ต ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ทั้ ง นี้ เพื่ อ สร้ า งระบบคุ ณ วุ ฒิ วิ ช าชี พ และ มาตรฐานอาชี พ ให้ เ ป็ น บรรทั ด ฐานใน การกำ � หนดมาตรฐานความสามารถ ของบุคคล เพื่อให้ปฏิบัติงานได้อย่าง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ สากล มาตรฐานอาชี พ สาขาวิ ช าชี พ ธุ ร กิ จ หนังสือและสิ่งพิมพ์ เป็นส่วนสำ�คัญใน การพัฒนาวงการหนังสือประเทศไทย ให้ ก้ า วหน้ า ทั ด เที ย มกั บ นานาประเทศ เนื่ อ งจากเป็ น การพั ฒ นาบุ ค ลากรใน ธุรกิจหนังสือเพื่อเสริมสร้างศักยภาพ ด้ า นทั ก ษะอาชี พ และบริ ห ารจั ด การ ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เกิ ด ความ

5


คิ ด ส ร้ างส ร ร ค์ พั ฒน า รู ป แ บ บ แ ล ะ อาชีพนักแปล มีระดับคุณวุฒิวิชาชีพ 3 เนื้ อ หา ให้ ส ามารถตอบสนองต่ อ การ ระดับคือ ชั้น 4, 5, และ 6 เปลี่ยนแปลงของโลกในปัจจุบัน อาชี พ บรรณาธิ ก าร มี ร ะดั บ คุ ณ วุ ฒิ ส ม า ค ม ผู้ จั ด พิ ม พ์ แ ล ะ ผู้ จำ � ห น่ า ย วิชาชีพ 4 ระดับคือ ชั้น 3, 4, 5, และ 6 หนังสือแห่งประเทศไทย จัดทำ�โครงการ มาตรฐานอาชี พ และคุ ณ วุ ฒิ วิ ช าชี พ อ า ชี พ นั ก อ อ ก แ บ บ ภ า พ ป ร ะ ก อ บ ธุรกิจหนังสือและสิ่งพิมพ์ ใน 6 สาขา หนั ง สื อ และสิ่ ง พิ ม พ์ มี ร ะดั บ คุ ณ วุ ฒิ อ า ชี พ ข อ ง ก า ร ผ ลิ ต ห นั ง สื อ ไ ด้ แ ก่ วิชาชีพ 4 ระดับ คือ ชั้น 3, 4, 5, และ 6 อาชี พ นั ก เขี ย น อาชี พ นั ก แปล อาชี พ บรรณาธิการ อาชี พนั ก ออกแบบภาพ อาชีพนักออกแบบกราฟิก หนังสือและ ประกอบฯ อาชี พ นั ก พิ สู จ น์ อั ก ษร และ สิ่งพิมพ์ มีระดับคุณวุฒิวิชาชีพ 3 ระดับ อาชี พ นั ก ออกแบบกราฟิ ก ฯ โดยมี คือ ชั้น 3, 4 และ 5 กรอบมาตรฐานอาชีพและระดับคุณวุฒิ วิชาชีพดังนี้ อาชีพนักพิสูจน์อักษร มีระดับคุณวุฒิ วิชาชีพ 3 ระดับคือ ชั้น 3, 4 และ 5 อาชีพนักเขียน มีระดับคุณวุฒิวิชาชีพ 4 ระดับคือ ชั้น 4, 5, 6, และ 7

การมีมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ ธุรกิจหนังสือและสิ่งพิมพ์ดีอย่างไร ? ผู้ ป ระกอบการ - เจ้ า ของสำ � นั ก พิ ม พ์ 1. ได้ ค นทำ � งานที่ มี คุ ณ ภาพ ทำ � งาน ได้ ต รงตามหน้ า ที่ ที่ รั บ ผิ ด ชอบ รู้ ร ะบบ งานดี จึ ง ลดความเสี่ ย งของการรั บ บุ ค ลากรที่ อ าจจะทำ � งานไม่ ไ ด้ ต ามเป้ า หมาย ทำ�ให้งานเสียหายได้ 2. ช่ ว ยให้ ตั ด สิ น ใจง่ า ยขึ้ น ในการรั บ บุ ค คลเข้ า ทำ � งาน หากผู้ ส มั ค รงานมี ใบรับรองความสามารถ ที่ศูนย์รับรอง ออกให้ รวมถึ ง การใช้ ใ บรั บ รองเป็ น เกณฑ์ในการพิจารณาเงินเดือนได้ด้วย

3. ผู้ ที่ จ ะเข้ า รั บ การทดสอบส่ ว นใหญ่ เป็ น ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านในอาชี พ นั้ น มาแล้ ว จึงมีประสบการณ์และ ได้รับการอบรม ความรู้ในวิชาชีพนั้น ๆ เพิ่มเติม ก่อน การทดสอบเพื่อขอใบรับรอง ผู้ปฏิบัติงาน – ลูกจ้างประจำ� อาชีพอิสระ 1. โอกาสในการได้ รั บ ค่ า ตอบแทนที่ เหมาะสมกั บ ความสามารถและสมรรถ นะที่ผ่านการรับรอง


2. ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านมี โ อกาสพั ฒ นาทั ก ษะ 2. คนทำ�หนังสือมีจริยธรรม และสร้าง ประสบการณ์ และความรู้ความสามารถ หนังสือคุณภาพที่เหมาะสมกับผู้อ่าน เพื่อสอบเลื่อนระดับคุณวุฒิ ( มี ผ ล ง า น วิ จั ย ที่ ส รุ ป ว่ า สื่ อ ที่ ไ ม่ มี คุณภาพทำ�ให้เกิดวิกฤตชาติ) 3. มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิช่ชีพได้ รั บ ประกาศการรั บ รองภายใต้ พ ระราช 3. การรั บ รองอาชี พ ของบุ ค ลากรใน กฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ ธุรกิจหนังสือและสิ่งพิมพ์ ทำ�ให้มีเกณฑ์ (องค์ ก ารมหาชน) พ.ศ. 2554 และ เที ย บเคี ย งกั บ ประเทศอื่ น ได้ เป็ น การ ประกาศเผยแพร่ ใ นราชกิ จ จานุ เ บกษา เตรียมพร้อมเปิดเสรี AEC กรณีเคลื่อน ซึ่งสามารถยืนยันสถานะทั้ง 6 อาชีพได้ ย้ายแรงงานและกำ�ลังคน อย่างชัดเจน 4. มาตรฐานวิชาชีพจะเป็นแนวทางการ จั ด และพั ฒ นาหลั ก สู ต รในสถานศึ ก ษา ภาครัฐ - ประชาชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง วิชาที่เกี่ยวข้องกับ การทำ�หนังสือ ไปจนถึงวิชาที่ให้ความรู้ 1. ประเทศชาติ มี ผู้ ป ระกอบอาชี พ ทำ � และประสบการณ์ด้านการส่งเสริม การ หนังสือที่มีคุณภาพระดับสากล เป็นการ เผยแพร่และการใช้หนังสือดีมีคุณภาพ พั ฒ นาโดยรวมของธุ ร กิ จ หนั ง สื อ ใน เพื่ อ การพั ฒ นาประชาชน สั ง คม และ ประเทศชาติ ประเทศไทย

ความน่าเชื่อถือของมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ การสร้างมาตรฐานวิชาชีพฯ ต้องผ่านกระบวนการหลายขั้นตอน ได้แก่ การถอด ประสบการณ์ ระดมสมอง พูดคุย หารือ โดยมีคณาจารย์ที่มีความรู้ความสามารถ ด้ า นมาตรฐานวิ ช าชี พ ฯ และ / หรื อ สอนวิ ช าที่ เ กี่ ย วข้ อ งทั้ ง โดยตรงและโดย อ้อม คณะกรรมการจัดทำ�มาตรฐานวิชาชีพฯ ได้ทำ�งานร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒิที่ มีประสบการณ์ตรงในวิชาชีพทั้ง 6 อาชีพ จำ�นวนกว่า 40 คน ที่เรียกกันว่า “คณะ วิจัย” ทุกคนมาร่วมกันเขียนเอกสารมาตรฐานฯ จากนั้น ได้จัดประชาพิเคราะห์ และเชิญบุคคลในวงการอาชีพละ 3 คน มาทดลองใช้แบบทดสอบมาตรฐาน เพื่อ ประเมินเครื่องมือที่ใช้ทดสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ต่ อ จากนั้ น มี ค ณะกรรมการรั บ รอง อี ก 12 คน ทำ � หน้ า ที่ เ หมื อ นคุ ณ ครู ต รวจ การบ้ า น มาตรวจโดยละเอี ย ดแล้ ว รั บ รองอี ก ครั้ ง การรั บ รองครั้ ง นี้ ต้ อ งเป็ น เอกฉันท์ จึงจะประกาศใช้เป็นมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพได้ เมื่อโลกปัจจุบันไร้พรมแดน การค้าเสรีเกิดขึ้น โดยเฉพาะการเปิด AEC การเคลื่อน ย้ า ยกำ � ลั ง คนในการทำ � งานจำ � เป็ น ต้ อ งมี ม าตรฐานกำ � หนดและชี้ วั ด ทั้ ง ในด้ า น

7


คุณภาพของผู้ปฏิบัติงานและค่าตอบแทน มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพคือ สิ่งที่ทุกประเทศเริ่มจัดทำ�ขึ้นเพื่อเป็นเกณฑ์เทียบเคียงและใช้ร่วมกัน ปัจจุบัน มีหลายประเทศได้จัดทำ�มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพที่เกี่ยวข้องใน ธุรกิจหนังสือและสิ่งพิมพ์แล้ว เช่น สหรัฐอเมริกา แคนาดา นิวซีแลนด์ และออสเตรเลีย อาชีพนักแปลและล่าม ออสเตรเลีย อเมริกา สิงคโปร์ อาชีพนักวาดภาพประกอบ แคนาดา และออสเตรเลีย อาชีพบรรณาธิการ มาเลเซีย แคนาดา และออสเตรเลีย อาชีพนักออกแบบกราฟิก อังกฤษ อาชีพนักพิสูจน์อักษร

รู้จักสมาคม และชมรมวิชาชีพในธุรกิจหนังสือและสิ่งพิมพ์

สมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย The Writers’ Association of Thailand นั ก เ ขี ย น คื อ ค น ที่ ทำ � ง า น เ ขี ย น ทุ ก ประเภท ไม่ว่าจะเป็นนวนิยาย เรื่องสั้น สารคดี บทกวี บทความ บทสัมภาษณ์ บทวิจารณ์ หรือตำ�ราวิชาการ ฯลฯ ใน ธุ ร กิ จ หนั ง สื อ และสิ่ ง พิ ม พ์ มี นั ก เขี ย น อยู่ ไ ม่ น้ อ ย แต่ ล ะคนสร้ า งผลงานแตก ต่างกันไป แต่ละคนมีแนวการเขียนและ

ความสามารถเฉพาะตั ว ทั้ ง นั ก เขี ย น และนั ก อ่ า นต่ า งก็ ป ระเมิ น กั น ไปตาม ความคิดเห็นของแต่ละคน ที่ผ่านมา ไม่ เคยมี เ ครื่ อ งมื อ วั ด ที่ เ ป็ น ระบบจริ ง จั ง โครงการจั ด ทำ � มาตรฐานอาชี พ และ คุ ณ วุ ฒิ วิ ช าชี พ สาขาวิ ช าชี พ ธุ ร กิ จ หนังสือและสิ่งพิมพ์ กำ�ลังสร้างเครื่อง มือที่ว่านี้ขึ้นมานั่นเอง สมาคมนักเขียนฯ ก่อตั้งเมื่อพ.ศ. 2511 ดำ�เนินกิจกรรมมาเป็นเวลากว่า 48 ปี นายกสมาคมคนปัจจุบัน คือ นายบูรพา อารัมภีร สอบถามรายละเอียดการสมัครสมาชิก และติ ด ตามข่ า วสารสมาคม ฯ ได้ ที่ facebook.com/thaiwriterassociation/


สมาคมนักแปลและล่ามแห่งประเทศไทย The Translators and Interpreters Association of Thailand

สมาคมนักออกแบบเรขศิลป์ไทย Thai Graphic Designers Association

นักแปล คือผู้สร้างความเข้าใจระหว่าง คนต่างภาษา วัฒนธรรม และความเชื่อ มี ค วามสำ � คั ญ อย่ า งยิ่ ง ในทุ ก ยุ ค สมั ย มีหน้าที่แปลงานไม่เพียงจากภาษาหนึ่ง ไปสู่ อี ก ภาษาหนึ่ ง แต่ ต้ อ งแปลให้ ค รบ ถ้วน ทั้งความหมายตรง ความหมาย แฝง รวมทั้งบริบททางวัฒนธรรมและ ความเชื่อ งานนี้จึงท้าทายผู้เรียนภาษา ต่างประเทศ และผู้รู้ภาษาไทยที่แปลงาน จากภาษาอื่ น เป็ น ภาษาไทย การแปล เป็ น งานสร้ า งสรรค์ ทว่ า ไม่ เ สริ ม เติ ม แต่งจนผิดเพี้ยนจากต้นฉบับ นักแปลใช้ ทั้งศาสตร์และศิลป์หลายสาขา จึงเป็น อาชี พ ที่ ต้ อ งมี ม าตรฐาน เพื่ อ ให้ ผู้ รั บ สารได้ อ่ า นงานแปลเปี่ ย มคุ ณ ภาพและ คุณประโยชน์

ก า ร อ อ ก แ บ บ ก ร า ฟิ ก ห นั ง สื อ แ ล ะ สิ่ ง พิ ม พ์ เ ป็ น วิ ช า ชี พ ที่ จำ � เ ป็ น ต้ อ ง อาศั ย ทั ก ษะการสื่ อ สารขั้ น สู ง อาศั ย กระบวนการถ่ายทอดความคิด การนำ� เสนอ การวางแผนที่ เ ป็ น ระบบ อี ก ทั้ ง ยั ง ต้ อ งเข้ า ใจเรื่ อ งการบริ ห ารจั ด การ เนื้อหา รูปเล่ม การจัดวางรูปแบบ ภาพ ประกอบและตั ว อั ก ษร การจั ด ลำ � ดั บ ภาพ เพื่ อ สนั บ สนุ น การสื่ อ สารเนื้ อ หา ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และได้ ผ ลตรงตาม วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง ก า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์ หนังสือเล่มนั้นๆ รวมถึงการเตรียมงาน พิมพ์ได้โดยใช้ทักษะเฉพาะทางโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ตรวจสอบความถูกต้อง ในงานพิ ม พ์ รวมไปถึ ง การแก้ ปั ญ หา ทางเทคนิคทางการพิมพ์เบื้องต้นได้

สมาคมนักแปลและล่ามแห่งประเทศไทย ก่ อ ตั้ ง เมื่ อ พ.ศ. 2538 นายกสมาคม คนปัจจุบัน คือ ดร. ถนอมวงศ์ ล้ำ�ยอด มรรคผล

สมาคมนักออกแบบเรขศิลป์ไทย ก่อตั้ง เมื่ อ พ.ศ. 2547 ดำ � เนิ น กิ จ กรรมมา เป็ น เวลากว่ า 12 ปี นายกสมาคมคน ปัจจุบัน คือ นายโอภาส ลิมปิอังคนันต์

สมัครเป็นสมาชิกสมาคมฯ และติดตาม สมัครเป็นสมาชิกสมาคมฯ และติดตาม ข่าวสารได้ที่ thaitiat.org ข่าวสารได้ที่ เว็บไซต์ thaiga.or.th/

9


นักพิสจ ู น์อก ั ษร

ชมรมบรรณาธิการไทย Thailand Editors Association

งานพิสูจน์อักษรเป็นกระบวนการตรวจ สอบการใช้ภาษา อาทิ การสะกดคำ� ให้ ถูกต้องตามต้นฉบับ และตรงตามหลัก ไวยากรณ์ เพื่ อ ให้ ไ ด้ ง านที่ มี คุ ณ ภาพ น่ า เชื่ อ ถื อ และเพื่ อ ให้ ผู้ เ ขี ย นกั บ ผู้ อ่ า น สื่ อ สารกั น อย่ า งถู ก ต้ อ งชั ด เจน นั ก พิ สู จ น์ อั ก ษรจึ ง ต้ อ งยึ ด หลั ก ความถู ก ต้อง มีความรู้ด้านภาษา มีนิสัยช่าง สั ง เกต ละเอี ย ดรอบคอบ ตลอดจน มี ทั ก ษะการสื บ ค้ น แหล่ ง อ้ า งอิ ง เพื่ อ ตรวจสอบความถูกต้องได้

บรรณาธิ ก าร คื อ ผู้ คั ด สรรและคั ด กรองต้นฉบับ เป็นผู้วางแนวคิดและขับ เคลื่ อ นกระบวนการทำ � หนั ง สื อ ร่ ว มกั บ นักเขียน นักแปล นักวาดภาพประกอบ นั ก ออกแบบ และนั ก พิ สู จ น์ อั ก ษร จน สำ � เร็ จ เป็ น รู ป เล่ ม อย่ า งมี คุ ณ ภาพตรง ตามความต้องการ ตลอดจนการวาง กลยุทธ์เพื่อให้หนังสือเข้าถึงกลุ่มผู้อ่าน เป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ชมรมนักออกแบบภาพประกอบไทย Thai Illustrator Club

นั ก ออกแบบภาพประกอบหนั ง สื อ และ สิ่งพิมพ์ เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ทั ก ษ ะ แ ล ะ เทคโนโลยี ในการออกแบบภาพประกอบ ห นั ง สื อ นิ ต ย ส า ร ว า ร ส า ร ห รื อ หนั ง สื อ พิ ม พ์ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ เนื้ อ หา ของหนังสือ กลุ่มเป้าหมาย สื่อสิ่งพิมพ์ แต่ ล ะประเภทจะใช้ ภ าพสื่ อ สารแนวคิ ด และเนื้อหาตามความต้องการของผู้ว่า สมั ค รเป็ น สมาชิ ก ชมรมฯ ได้ ที่ อี เ มล จ้ า ง โดยทำ � งานอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ตามมาตรฐานวิ ช าชี พ ซึ่ ง ได้ กำ � หนด thailandeditors@gmail.com อย่ า งรอบคอบโดยนั ก ออกแบบภาพ ติดตามข่าวสารได้ที่ facebook.com/ ประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์ ที่มีความ รู้ความสามารถ เป็นที่ยอมรับในวงการ editorsthai/ เ พื่ อ เ ป็ น ก า ร ย ก ร ะ ดั บ ม า ต ร ฐ า น วิ ช าชี พ บรรณาธิ ก ารสู่ ร ะดั บ สากล บรรณาธิการอาชีพจึงได้จัดตั้ง ชมรม บรรณาธิ ก ารไทย โดยมี ส มาชิ ก ผู้ ก่ อ ตั้งจากทั่วประเทศประมาณ 150 คน มี การประชุมสามัญครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2559 โดยมี นายวิทยา ร่ำ�รวย เป็นประธานชมรมฯ


เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพนี้ ให้มีมาตรฐานสากลต่อไป อาชีพนักออกแบบภาพประกอบหนังสือ และสิ่ ง พิ ม พ์ เป็ น หนึ่ ง ในวิ ช าชี พ ธุ ร กิ จ หนั ง สื อ และสิ่ ง พิ ม พ์ อยู่ ใ นโครงการ มาตรฐานอาชี พ และคุ ณ วุ ฒิ วิ ช าชี พ ธุรกิจหนังสือและสิ่งพิมพ์ และได้ดำ�เนิน การจั ด ตั้ ง ชมรมนั ก ออกแบบภาพ ประกอบไทย เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2558 โดยนางสาวชนิ ศ า ชงั ด เวช หั ว หน้ า ภาควิ ช าออกแบบนิ เ ทศศิ ล ป์ คณะ มัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ รับเลือกเป็นประธานชมรมฯ สมั ค รเป็ น สมาชิ ก ชมรมฯ และติ ด ตาม ข่าวสารได้ที่ เว็บไซต์ facebook.com/ ThaiIllustratorClub/ 11

สอบถามข้อมูลเพิม ่ เติมได้ท่ี ศูนย์รับรองสมรรถนะของบุคคลตาม มาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพธุรกิจ หนังสือและสิ่งพิมพ์ สมาคมผู้จัดพิมพ์ และผู้จำ�หน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย ที่อยู่ 83/159 ซอยงามวงศ์วาน 47 (ชินเขต 2) แขวงทุ่งสองห้อง เขต หลักสี่ กรุงเทพ ฯ 10210 โทรศัพท์ 0-2954-9560-4 โทรสาร 0-2954-9565-6 Email: info@pubat.or.th



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.