สอนวิธีการใช้งาน trello ง้ายง่าย

Page 1

คู่มือการใช้งาน Application


สอนวิธีการใช้งาน Trello ง้ายง่าย!! ลองนึกถึงตารางงานของทีมแบบเดิมๆ ที่ต้องแยกคิวงานต่างๆ งานที่ทาแล้ว หรืองานด่วน แปะด้วยกระดาษโพสอิท ตามคอลัมน์ของตารางงานจะง่ายกว่าไหม? หากได้ลองใช้การจัดการงาน ต่างๆด้วย Trello สามารถติดตามงาน ความคืบหน้าต่างๆ และมีการแจ้งเตือน รองรับการทางาน บนทุกอุปกรณ์ Trello มีความเกี่ยวข้องกับ Software Engineering คือ เป็นการนาเครื่องมือมาช่วย อานวยความสะดวก ที่ทาให้เพื่อนร่วมงานสามารถจัดการงานต่างๆ ร่วมกันได้ ทุกคนสามารถเข้า มาดูงานแต่ละส่วนช่วยให้การทางานเป็นทีมเป็นระบบมากขึ้น ใช้งานได้ฟรีไม่มีค่าใช้จ่าย Trello เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพและใช้งานง่ายมากสาหรับการควบคุมดูงาน เพราะ เมื่อพูดถึงเครื่องมือที่ใช้บริหารจัดการโครงการหรือ Project Management ประเภทนี้ มีให้ใช้ งานกันหลากหลายค่ายขึ้นอยู่กับผู้ใช้จะชอบค่ายไหน แต่จากเครื่องมือที่ฟรีและทีมงานใช้แล้วรู้สึก ว่ามันค่อนข้างดีคือ Trello การทางานที่ง่าย ไม่ซับซ้อน เหมาะสาหรับใช้ส่วนตัวและองค์กร ทีมงานหรือแม้แต่จะใช้กับลูกค้าเพื่อบริหารงานร่วมกันก็ได้ ลักษณะการใช้งานของ Trello จะเหมือนกับภาพตัวอย่างด้านล่างที่เป็นการแปะลาดับงาน ตามสถานะ ซึ่งเราอาจปรับประยุกต์ใช้ในลักษณะการจัดลาดับแบบอื่นได้ วิธีใช้ trello โปรแกรมบริหารจัดการงานของดีและฟรี trello คือ collaboration software ไว้สาหรับบริหารจัดการ การทางานร่วมกันระหว่าง ทีมพัฒนาและลูกค้า หรือทุก ๆ แผนกที่มีส่วนในการพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพของงานและ process การทางาน ที่สาคัญ trello เป็นโปรแกรมที่เราสามารถใช้งานได้แบบฟรี ๆ ไม่มีค่าใช้จ่าย ต้องบอกว่า อยู่ในหมวดหมู่ ของฟรีและดีอีกโปรแกรมหนึ่ง มีให้เราสามรถใช้งานได้ทั้งเวอร์ชั่น mobile หรือจะใช้บนเว็บไซต์ หลักก็ได้ครับ ข้อดีของโปรแกรมคือ ทาให้ทั้งฝั่ง production คือทีมงานผู้พัฒนา เช่น Project Manager, Designer, Programmer สามารถรู้ความคืบหน้าของโปรเจค และทางฝั่ง client หรือ ลูกค้าเจ้าของโปรเจคเอง สามารถเข้ามาตรวจสอบขั้นตอนการทางานและระยะเวลาในการพัฒนา ว่า ตัวโปรเจคมีความคืบหน้าไปถึงไหนแล้ว


Trello แอพวางแผนงานชื่อดัง (ปัจจุบันเป็นของบริษัท Atlassian) ประกาศออกแอพ เวอร์ชันเดสก์ท็อป ทั้งบนวินโดวส์และแมค Trello บอกว่าแอพเดสก์ท็อปเป็นสิ่งที่ผู้ใช้เรียกร้องมาโดยตลอด เพราะผู้ใช้จาเป็นต้องเปิด Trello ค้างไว้บนเบราว์เซอร์ ข้อดีของแอพเดสก์ท็อปเหนือกว่าเวอร์ชันเว็บคือ สามารถกาหนดปุ่ม ลัดบนคีย์บอร์ดได้ตามต้องการ และมีระบบแจ้งเตือนแบบเนทีฟตามระบบปฏิบัตกิ าร นอกจากนี้ มันยังซัพพอร์ต Touch Bar ของ MacBook Pro ด้วย

จุดเด่นของ Trello  เป็นซอฟต์แวร์ฟรี มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง  เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการบริหารจัดการงานแต่ละส่วนได้เป็นอย่างดี สามารถลด กระบวนการการทางานบางอย่างลงไปได้  มีความเป็น CRM สร้างความเชื่อมั่นให้กับลูกค้าได้ เพราะลูกค้าเองสามารถตรวจสอบ ขั้นตอนการทางานได้เอง  ไม่ซับซ้อน UX และ UI สามารถเรียนรู้ ทาความเข้าใจได้ง่าย ใช้งานง่าย ที่สาคัญเร็วมาก มีให้เราสามารถใช้งานได้ทั้ง Mobile Apps และบน Website การสร้าง Trello Board, List และ Card Board ในโปรแกรม Trello เปรียบได้กบั การสร้าง 1 โปรเจค และภายใน Board ก็จะมี List หรือ ส่วนการทางานหลัก ๆ ของโปรเจคว่า มีองค์ประกอบอะไรบ้าง ส่วน Card คือหัวข้อย่อยของานที่ อยู่ภายใน List


Trello นับเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพและใช้งานง่ายมากสาหรับตอนนี้ พูดถึงเครื่องมือ สาหรับบริหารจัดการโครงการหรือ Project Management ประเภทนี้ปัจจุบันมีใช้งานกันเยอะ หลากหลาย แต่ผมว่า เทลโล่ เกิดได้เพราะเน้นการทางานที่ง่าย ไม่ซับซ้อน เหมาะสาหรับใช้ ส่วนตัว หรือจะใช้กับองค์กร ทีมงานก็เยี่ยมหรือแม้แต่เป็น Freelance จะใช้กับลูกค้าเพื่อ บริหารงานร่วมกันก็ยิ่งดี

Trello it’s powerful project management ผมอยากให้คุณลองนึกถึงตารางหรือกระดานที่ทีมงานของคุณเคยใช้มา ซึ่งผมเชื่อว่าในชีวิต หนึ่งคุณคงต้องเคยเห็นมันซักครั้ง กระดานที่คุณจะเขียน Column แยกออกไปเป็น คิวงาน, งาน เร่ง, งานด่วน, งานด่วนที่สุด ประมาณนี้แล้วเราก็จะเขียนข้อคามเป็นข้อๆลงไปเพื่อบอกว่ามีงาน อะไรในช่วงสาคัญๆแบบไหนบ้าง หรืออาจจะเป็นกระดาษ Post It สีสันสวยงามแทนก็ดูเข้าท่าดี แต่ผมว่าช่องที่มีงานเยอะสุดคงเป็นช่อง “‘งานด่วนที่สุด” แน่ๆเลย หากคุณเป็นคนหนึ่งที่เคยพบ ภาพแบบนี้มาเวลาทางานร่วมกันกับทีมของคุณละก็ ชัดเลยผมว่าคุณกาลังมองหาระบบ Project Management อยู่แน่ๆ ระบบพวกนี้ปัจจุบนั มีหลายค่ายให้เราเลือกใช้งานกันครับ มีหลากหลาย รูปแบบทั้งเป็นเว็บไซต์อย่างเดียว ทั้งเป็น App บน Smart Phone อย่างเดียวหรือบางค่ายก็มี ครบทุกรูปแบบกันไปเลย


Trello เป็นระบบที่คล้ายกับกระดานนั้นมากที่สุด ให้คุณนึกภาพถึงกระดานตามรูปนี้ดูนะอยู่และทาได้ดีคือการออกแบบด้วย Card UI ซึ่งผม มองว่ามันทาให้ทุกอย่างดูลงตัว เพราะเมื่อเราคิดถึงกระดานแบบนี้ขึ้นมาทีไรภาพการ์ดแบบนี้ก็ โผล่ขึ้นมาในหัวเลยทุกที และมันก็เหมาะกับการทางานแบบนี้ดีครับ เวลาที่เราทางาน และแน่นอน ว่ามันไม่ได้มีความสวยงามเอาซะเลย แต่สิ่งหนึ่งที่ผมว่า เทลโล่มี


มาดูวิธีการใช้งาน Trello อย่างง่ายๆกันค่ะ 1. เข้าสู่เว็บไซต์ https://trello.com/ สร้าง Account เพื่อเข้าสู่ระบบหรือเข้าสู่ระบบผ่านบัญชี ของ Google

2. เลือกสร้างกระดานใหม่กดสร้างตารางใหม่ และตั้งชื่อหัวข้อของงาน


3. เพิ่มรายการที่ต้องทา ดังตัวอย่างแผนการทางาน จะบอกว่ารายการที่ต้อง สิ่งที่ทาเสร็จแล้ว อภิปรายผล

4. เพิ่มการ์ด เป็นการใส่รายละเอียดของงาน จัดการสิ่งต่างๆได้ เช่น การมอบหมายงานให้คนใน ทีมรับผิดชอบ ต้องทาอะไรอย่างไร เช็คสถานะรายการต่างๆเป็นเปอร์เซ็นต์ได้เพื่อทาตาม กระบวนการที่วางไว้ มีส่วนแสดงความคิดเห็นให้เพื่อนๆสามารถเข้ามาตามงานและติดปัญหา อะไรในงานก็คอมเม้นไว้ได้


5. สามารถกาหนด label เป็นสีที่ต้องการได้เอาไว้บอกสถานะหรือจัดกลุ่มได้ทาให้มีความชัดเจน ขึ้น

6. สามารถระบุวัน เดือน ปี ทีจะต้องส่งมอบงานได้ จะมีการแจ้งเตือนเมื่อถึงวันครบกาหนด


7. หากทางานเสร็จแล้ว สามารถย้าย List รายการไปไว้ในคอลัมน์ถัดไปได้ Done โดย List รายการต่างๆสามารถสลับหน้าและจัดหน้าเรียงหน้าใหม่ได้ เพื่อความเหมาะสม

8. กาหนดสิทธิ์ได้ว่าจะให้ใครสามารถเข้าทีมได้บ้าง บุคคลที่เรากาหนดไว้จะสามารถมองเห็น รายการของงานได้

9. เพิ่มสมาชิกในทีม จะเป็นการส่ง Emailและตอบรับเราเป็นเพื่อนต้องตอบรับทั้งสองฝ่าย จึงจะ มองเห็นงานของกันและกันได้


ฟีเจอร์ที่น่าสนใจของ Asana Asana มีฟีเจอร์ที่น่าสนใจหลายอย่างที่ช่วยให้การจัดการและติดตามงานโครงการเป็นเรื่องง่าย ไม่ ซับซ้อนและต่อเนื่องและประหยัดเวลาในการทางาน ไปดูกันว่าเขามีฟีเจอร์อะไรบ้างครับ 1. Tasks – สร้างงานของตัวคุณเองหรือมอบหมายงานให้กับเพื่อนร่วมทีม 2. Projects – สร้างโครงการที่ต้องทา, การประชุม, หรือโครงการอื่นๆ ที่ต้องทาร่วมกับทีม 3. Section และ Columns – ช่วยให้คุณสามารถปรับแต่ง Asana เพื่อให้ตรงกับเวิร์กโฟลว์ของคุณ และเพิ่มโครงสร้างให้กับโครงการ 4. Project templates – เพิ่มเวิร์กโฟลว์ใหม่ให้ Asana อย่างรวดเร็วและง่ายดายโดยใช้แม่แบบทีท่ า ไว้ล่วงหน้าซึ่งเขามีให้ 5. Subtasks – แบ่งงานออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ หรือแบ่งงานระหว่างคนหลาย ๆ คน ภายในงานหลัก 6. Convert task to project – เมื่องานเดียวกลายเป็นโครงการใหญ่คุณสามารถจะเปลี่ยนเป็น โครงการได้อย่างรวดเร็ว 7. Start and due dates – ตั้งวันเริ่มต้นของงานและวันที่ครบกาหนดเพื่อคุณสามารถทางานให้ เสร็จทันเวลา 8. Attachments – แนบไฟล์จากคอมพิวเตอร์, Dropbox, Box, OneDrive หรือ Google Drive ใน งานหรือการสนทนา 9. Likes – กล่าวขอบคุณ, ไลค์ หรือโหวตให้กับงานที่ชื่นชอบ 10. Task conversations – แสดงความคิดเห็นโดยตรงกับงานเพื่อชี้แจงว่าต้องทาอะไรบ้าง 11. Project conversations – อภิปรายความคืบหน้าของโครงการเพื่อความคืบหน้าต่อไป 12. Team pages – สนทนาและดูโครงการทั้งหมดของทีมในที่เดียว


13. My tasks – วางแผนแต่ละวันของคุณด้วยการจัดลาดับความสาคัญรายการสิ่งที่ต้องทา 14. Inbox – รับการอัปเดตอัตโนมัติเกี่ยวกับงานที่คุณเกี่ยวข้อง 15. Search – ช่วยคุณค้นหางานที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว 16. Dashboards – ตรวจสอบความคืบหน้าเกี่ยวกับโครงการทั้งหมดที่คุณสนใจในการวิวที่สามารถ กาหนดรูปแบบได้ 17. Calendars – ดูรายการงานต่างๆในปฏิทินเพื่อให้ได้ภาพที่ชัดเจนว่างานถึงกาหนดเมื่อไหร่ 18. Files view – ค้นหาไฟล์ที่คุณต้องการได้อย่างรวดเร็วหรือดูมุมมองแกลเลอรีของสิ่งที่แนบมากับ โครงการใด ๆ 19. Task assignees – กาหนดเจ้าของงานที่ชัดเจนเพื่อให้ทุกคนรู้ว่าใครเป็นผู้รับผิดชอบ 20. Followers – รับเฉพาะอัปเดตสาหรับงานที่คุณสนใจโดยติดตาม (หรือยกเลิกการติดตาม) งาน และโครงการต่างๆ 21. Guests – ทางานร่วมกับผู้จัดจาหน่าย, ผู้รับเหมา, และผู้ร่วมหุ้น หรือคนนอกองค์กร 22. Private projects – จากัดการเข้าถึงโครงการใดๆ, สร้างทีมที่ซ่อนไว้สาหรับงานที่ละเอียดอ่อน หรือทาให้ทีมงานเป็นแบบสาธารณะ 23. Admin controls – ผู้ดูแลระบบสามารถลบสมาชิกออก, ตั้งใช้งาน SSO หรือ SAML, และ ส่งออกข้อมูลได้ 24. Task dependencies – ทาเครื่องหมายงานว่ากาลังรอผู้อื่นและรับการแจ้งเตือนเมื่อคุณสามารถ เริ่มต้นได้ 25. Custom fields – เพิ่มฟิลด์ลงในโครงการใดๆ เพื่อให้คุณสามารถติดตามว่าสิ่งที่สาคัญที่สุด สาหรับองค์กรของคุณคืออะไร 26. Find the info you need – ปรับแต่งการค้นหาของคุณด้วยฟิลด์เพิ่มเติมโดยใช้การค้นหาขั้นสูง รวมทั้งสร้างและบันทึกมุมมองที่กาหนดเองในโครงการ, ผู้รับโอน, วันครบกาหนดและอื่น ๆ 27. Priority support – ให้ความช่วยเหลือเมื่อคุณต้องการ 28. Unlimited dashboards – เพิ่มโครงการในแดชบอร์ดได้ไม่จากัดและสามารถสร้างรายงานแดช บอร์ดใน Google Sheets 29. Comment-only projects – ล็อกโครงการเพื่อให้คุณสามารถแชร์ข้อมูลกับทีมของคุณโดยไม่ ต้องกังวลเกี่ยวกับการแก้ไขที่ไม่พึงประสงค์


มาเริ่มต้นการใช้งาน Asana กันดีกว่า หลังจากคุณลงทะเบียนใน Asana.com แล้วคุณจะสามารถเริ่มต้นเพิ่มรายการงานที่ต้องทา, มอบหมายงานให้ทีม, สร้างหรือเข้าร่วมโครงการ, หรือทางานร่วมกับทีม และอีกหลากหลายวิธีใน การทางานร่วมกับทีมเพื่อให้โครงการต่างๆ เดินต่อไปอย่างราบรื่น, ประหยัดเวลาในการทางาน และลดการทางานซ้าซ้อน มาดูวิธีเริ่มต้นการใช้งานเบื้องต้นกันครับ 1. เพิ่มงานแรกของคุณ (Add Tasks) เพิ่มงานแรกโดยคลิกที่ปุ่ม + สีส้มในแถบด้านบน คุณสามารถสร้างรายการงานให้กับงานที่คุณ ต้องการทาในวันนี้, สัปดาห์นี้, ภายหลังหรือเพื่อเก็บข้อมูล นอกจากนี้คุณยังสามารถทางานให้กับ คนอื่น ๆ ในทีมของคุณ, หรือใส่สตาร์งานที่สาคัญ, เลือกดูเฉพาะงานหรือให้จัดเรียงข้อมูลตาม โครงการหรือวันครบกาหนดหรืองานที่ชื่นชอบก็ได้เช่นกัน


2. สร้างหรือเข้าร่วมโครงการ (Create or join a project) โครงการช่วยให้คุณสามารถจัดระเบียบงานทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับความคิดริเริ่ม, เป้าหมายหรือ ชิ้นงานที่เฉพาะเจาะจงลงในรายการหรือบอร์ด อย่างเข่น ติดตามการเปิดตัวผลิตภัณฑ์, ติดตาม ผู้สมัคร, วาระการประชุมและอื่นๆ หากทีมงานของคุณใช้ Asana อยู่แล้วให้ดูที่แถบด้านข้างและคุณจะเห็นชื่อของทีมที่คุณเข้าร่วมใน Asana คลิกที่เมนูแบบเลื่อนลงทางด้านซ้ายของชื่อทีมเพื่อดูรายการโครงการสาธารณะทั้งหมดใน ทีม เริ่มต้นสารวจงานของพวกเขาและขอให้เพื่อนร่วมทีมของคุณแนะนาเกี่ยวกับโครงการที่คุณ ควรเข้าร่วม หากต้องการเข้าร่วมโครงการให้คลิกปุ่ม + ที่มุมขวาบนของโครงการ คุณสามารถ สร้างโครงการของคุณเองด้วย วิธีสร้างโครงการง่ายๆ : ใช้ Quick Add: เพียงกดปุ่มสีส้ม + ในแถบด้านบนและเลือก Project คุณสามารถเลือกว่าให้เป็น รายการหรือบอร์ดและเพิ่มคาอธิบาย จากนั้นสร้างโครงการ

เมื่อคุณสร้าง Project แล้วคุณสามารถเริ่มงานเพิ่มได้โดยคลิกปุ่มเพิ่มงานในรายการหรือปุ่ม + บน กระดานหรือโดยการกด Enter นอกจากนี้คุณยังสามารถย้ายงานที่คุณสร้างขึ้นในขั้นตอนที่หนึ่งลง ในโครงการใหม่ด้วยการลากและวางหรือโดยการเพิ่มโครงการลงในงาน สุดท้ายคุณสามารถเพิ่ม วันครบกาหนดและสมาชิกโครงการได้


3. ทางานร่วมกับทีมของคุณ (Work together with your team) การติดตามงานใน Asana ทุกคนในทีมจะรู้วา่ ใครกาลังทาอะไรเมื่อไหร่ดังนั้นคุณจึงมีความชัดเจน ในขอบเขตความรับผิดชอบในการทางาน คุณสามารถเชิญเพื่อนร่วมทีมให้เข้ามาร่วมงานกับทีมที่ สร้างไว้แล้ว เทคนิคที่ช่วยให้การเริ่มต้นทางานร่วมกันและติดตามผลงานของทีมง่ายขึ้น 1. มอบหมายงานการทางานร่วมกัน – การมอบหมายงานให้กับตัวเองและเพื่อนร่วมทีมของคุณ ลองใช้งานและมอบหมายงานให้กับคนในทีมของคุณ (แม้ว่าจะยังไม่ได้ใช้ Asana ก็ตาม) ให้ รายละเอียดและข้อมูลที่พวกเขาต้องการในการทางานให้เสร็จสมบูรณ์ 2. เพิ่มผู้ติดตาม – ตั้งให้ผู้ที่มีส่วนร่วมเป็นผู้ติดตามงานเพื่อให้พวกเขาสามารถเห็นการทางานใน Task,การสนทนาเกี่ยวกับงานนั้น, และรับแจ้งเกี่ยวกับความคืบหน้า คุณสามารถเพิ่ม / ลบ ผู้ติดตามที่ด้านล่างของบานหน้าต่างด้านขวา 3. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงาน – คุณสามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงานด้วยการถามคาถาม , ตอบเพื่อนร่วมทีม, หรือให้ข้อมูลเพิ่มเติมและข้อมูลเชิงลึก, แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงานที่คุณ สร้างขึ้นเพื่อให้เห็นการอัพเดทเกี่ยวกับงานนั้น 4. @ mention – พิมพ์ @ ในความคิดเห็นหรือคาอธิบายเพื่อพูดถึงเพื่อนร่วมทีมและสร้างการ เชื่อมโยงโดยตรงกับบทสนทนางานหรือโครงการต่างๆ 5. ตรวจสอบกล่องขาเข้าของฉัน – กล่องขาเข้าของฉันเป็นศูนย์แจ้งเตือนของคุณ ในขณะที่คุณและ เพื่อนร่วมทีมมีการอัพเดตและทางานเสร็จสมบูรณ์คุณจะเห็นการแจ้งเตือนปรากฏในกล่องขาเข้า ของฉันสาหรับงานที่คุณกาลังติดตาม จะเห็นจุดสีส้มปรากฏหมายความว่าคุณมีการแจ้งเตือนใหม่


วิธีการใช้งาน Trello และ Asana

Trello

Asana



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.