2011 - 2021
ARCHITECTURE PORTFOLIO
CHARNWOOT KUABOONSONG Bachelor in Architecture Rangsit University
CONTENT
PARTNERS in projects
MUSEUM FOR SUSTAINABILITY OF CORAL REEF SINAT PANTUNAKIN KAMOLWAN WAYLUWAN
SURASAK JIDAIED HARIT JUNPRAPAI BANGKOK MUSEUM OF DIGITAL ART SINAT PANTUNAKIN HUTTACHAI KUMPAN HATAITIP ORRAKUL
ACADEMIC WORKS
HIGH RISE BUILDING
TECO RENOVATION BED SHOWROOM AND BEAUTY CLINIC PRUDENTIAL OFFICE RENOVATION HOME NGAM WONG WANG 35
01
HIGH RISE BUILDING
05
BANGKOK MUSEUM OF DIGITAL ART
11
THESIS : MUSEUM OF SIAM’S CIVILIZATION
15
INTERNSHIP HAND DYED FABRIC PAVILION
23
HLONG KAO (RICE STORAGE)
27
BAMBOO WORKSHOP
29
WOOD WORK
31
VOLUNTEER
POST GRADUATE WORKS
SUPPALUK PINTHONG HUTTACHAI KUMPAN
COVER IMAGE RENDERED BY SINAT PANTUNAKIN
MUSEUM FOR SUSTAINABILITY OF CORAL REEF
ADOBE BRICK
33
TECO RENOVATION
36
THAI UNION OFFICE RENOVATION
39
PRUDENTIAL OFFICE RENOVATION
41
BED SHOWROOM AND BEAUTY CLINIC
43
HOME NGAM WONG WAN 35
45
ACADAMIC WORKS
2011-2016
MUSEUM
FOR SUSTAINABILITY OF CORAL REEF
01
โครงการพิพิธภัณฑ์นี้มีขึ้นด้วย ความคิดที่ต้องการให้ผู้คนคำ�นึง ถึงคุณค่าของสิ่งมีชีวิตอื่น เพราะ ความสมบูรณ์ของชีวิตคนนั้นขาด สิ่งมีชีวิตอื่นไปไม่ได้ เพราะคน ต้องการอาหารและสิ่งแวดล้อม ที่ดี แต่ปัจจุบันมันกลับตรงกัน ข้าม ธรรมชาติถูกทำ�ลายมากขึ้น หนึ่งในลางบอกเหตุที่สำ�คัญคือ ปะการัง ฉะนั้นแล้วจึงสมควรที่จะ ทำ�ให้ผู้คนจากทั่วโลกหันมาสนใจ และตระหนักรู้มากขึ้นว่าปะการัง สำ�คัญขนาดไหน โครงการน เกิดขึ้นเพื่อเปิดให้คนเข้ามาศึกษา เรียนรู้ เพราะการทำ�พิพิธภัณฑ์
เกี่ยวกับปะการังนั้นง่ายกว่าให้ คนล่องเรือออกไปดำ�น้ำ�ดูใน สถานที่จริงซึ่งอันตรายและมี ค่าใช้จ่ายมากกว่า นอกจากส่วนจัดแสดงแล้วยัง มีส่วนงานวิจัยเพื่อศึกษาความ เปลี่ยนแปลงของปะการังใน ทะเลและสนับสนุนองค์ความรู้ใน พิพิธภัณฑ์ด้วย
(หน้าตรงข้าม) ทัศนยภาพบริเวณโถงต้อนรับของอาคาร
เกาะบาหลี อินโดนีเซีย SITE
N
Bandar Udara International Ngurah Rai
02
*** ภาพทัศนียภาพทั้งหมด Render โดย สินารถ พันธุนาคิน
(ซ้าย) ภาพทัศนียภาพภายในอาคารเมื่อมอง จากข้างบนลงมา ซึ่งมีลักษณะเป็นเส้นโค้งเพื่อ สะท้อนถึงคลื่นน้ำ�ในทะเล อีกทั้งมีช่องให้แสง ส่องเข้าไปในตัวอาคาร เหมือนกับที่มันส่องลง ไปถึงปะการังใต้ท้องทะเล (ล่าง) ภาพทัศนียภาพด้านหน้าอาคาร
1 Food Court 2 Coffee Shop 3 Souvenir Shop 4 Auditorium 5,6 Exibition Zone 7 Research 8 Aquarium
03
4 5 1
23
6
8
04
7
แปลนพื้นชั้น 1
โครงสร้างพื้น แบบวาฟเฟิลช่วย รับน้ำ�หนักในส่วน ของ Aquarium
แปลนพื้นชั้น 2
เนื่องจาก โครงสร้างของ หลังคามีลักษณะ โค้งไม่มีรูปแบบ แน่นอน จึง จำ�เป็นต้องต่อชิ้น ส่วนโครงสร้าง ให้มีลักษณะเป็น สามเหลี่ยม จึง บิดไปมาได้ตาม ต้องการ
แปลนหลังคา
ส่วนหลังที่เว้น ไว้นี้จะใช้วัสดุใส เพื่อให้แสงส่อง ลงไปถึงพื้นชั้น ล่าง สื่อถึงแสงที่ ส่องลอดลงไปยัง ปะการังใต้ท้อง ทะเล
7
HIGH RISE BUILDING
05
ย่านสยามสแควร์นับว่าเป็นพื้นที่ที่มี ศักยภาพทางเศรษฐกิจสูงมาก ถือเป็นย่านการค้าที่มีผู้คนเข้ามาใช้ พื้นที่จำ�นวนมากเพราะมีทั้ง ห้างสรรพสินค้า แกลอรี่ สถานศึกษา รวมถึงโรงเเรม นี่จึงเป็นไปได้ที่จะเกิดโครงการ ขนาดใหญ่อย่างตึกสูงเพื่อมารอง รับกิจกรรมทั้งหมดในพื้นที่
ให้ร้านค้าเดิมมาเช่าพื้นที่อาคาร รอบๆ โครงการเเทน ผลที่ได้คือ จะมีพื้นที่ลานที่ทำ�ให้เกิดความ สะดวกกับคนเดินเท้ามากกว่าที่ เป็นอยู่ในปัจจุบัน นอกจากนั้นแล้ว ยังสร้างอาคารจอดรถไว้ตรง ทิศตะวันออกเฉียงใต้เพื่อเเก้ปัญหา ความแออัดในปัจจุบัน รูปทรงของส่วนทาวน์เวอร์นั้น ออกแบบให้มีส่วนเว้าบิดเป็นเกลียว เพื่อสื่อนัยยะของความเคลื่อนไหว ไม่หยุดนิ่ง (Dynamic) ของพื้นที่ที่มี ผู้คนเข้าออกตลอดเวลา ที่สำ�คัญ คือการเชื่อมต่อกับสถานี BTS เพื่อ เพิ่มความสะดวกให้กับผู้ใช้บริการ อีกด้วย
โดยโครงการนี้จะมีโปรแกรม หลักในส่วนโพเดียมคือ ช็อปปิ้ง เซ็นเตอร์ และทาวน์เวอร์นั้นเป็น พื้นที่สำ�นักงานและโรงเเรม ส่วนพื้นที่รอบนอกมีการรื้อและ วางแนวทางสัญจรใหม่โดยมีแผน
GON
SIAM
ง
ำโพ
นีรถ
ัวล ไฟห
สถา
เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ N
06
SITE
A PAR
Pedestrian Link
Transportation Road & Rail Solid & Void
Pedestrian Movement Facade Pattern
07
เส้น Curve สื่อความหมายถึงการ เคลื่อนไหวไม่หยุดนิ่งของย่านสยาม ที่ซึ่งผู้คนผ่านไปมา พร้อม กับเทคโนโลยี และวิถีชีวิตที่ เปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลา
08
1 2 3 4 5 6
สถานีรถไฟฟ้าสยาม ลานกิจกรรม ลานกิจกรรมชั้นใต้ดิน ร้านค้า โถง ส่วนต้อนรับของโรงเเรม
1
4 5 4
3
6
3 4
2
4 4
09
(หน้าตรงข้าม) Master Plan ของโครงการ (บนขวา) ลานกิจกรรมด้านหน้าอาคาร (ล่างขวา) ทัศนียภาพภายในส่วนห้างสรรพ สินค้า *** ภาพทัศนียภาพทั้งหมด Render โดย สุรศักดิ์ จิตรเอียด
N
10
BANGKOK
MUSEUM OF DIGITAL ART
11
พิพิธภัณฑ์แห่งนี้เป็นส่วนหนึ่งของ โครงการสวนสาธารณะเพื่อการ เรียนรู้ เป็นโครงการนำ�ร่องชุด แรกมีแผนที่จะจัดสร้างขึ้นที่สวน จตุรจักร โดยกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันพื้นที่ตรงนี้เป็นที่ลานจอด รถบนดิน แต่เมื่อโครงการนี้เกิด ขึ้นจะมีการปรับลานจอดให้กลาย เป็นอาคารจอดรถใต้ดิน ซึ่งแต่ละ อาคารสามารถรองรับรถได้จำ�นวน ประมาณ 300-600 คัน
เช่น การนำ�เทคโนโลยี VR มาใช้ใน การจำ�ลองสถานการณ์การนั่งรถ ตุ๊กตุ๊กอันน่าหวาดเสียว การต่อย มวยไทย หรือการใช้จอที่มีความ ละเอียดสูง (SUPER HIGH DEFINITION SCREEN) มานำ�เสนอเชื้อโรค ในคลองเเสนเเสบ ฯ
SITE
สวนจตุจักร กรุงเทพฯ
สถาน
ี BTS
หมอ
ชิต
ตลา
ดนัด จตุจ
ักรกร
ีน
ในเเง่การออกแบบมีแนวคิดหลักที่ ใช้คือ การให้พื้นที่โครงการเป็นจุด เปลี่ยนถ่ายระหว่างพื้นที่ชุมนุมคน ที่มีกิจกรรมต่างกันคือ ตลาดนัด Bangkok Museum of Digital Art และสวนสาธารณะ โดยการออก นำ�เสนอ “ความเป็นไทย” โดย ให้พื้นชั้นหนึ่งเป็นลานกิจกรรมเสีย เฉพาะวิถีชีวิตกรุงเทพฯ ในรูปแบบ ส่วนใหญ่ นั่นเพื่อดึงดูดให้คนเข้า ดิจิตอลให้ผู้สนใจได้รับความสนุก มาใช้พื้นที่โดยไม่รู้สึกถึงความเป็น เเละเพลิดเพลิน ตัวอย่างที่น่าสนใจ ทางการมากเกินไป ซึ่งในพื้นที่ลาน
12
N
1 2 3 4 5 6 7 8 9
ทางเข้าโครงการ ทางออกจากชั้นจอดรถใต้ดิน ห้อง Service ทางเข้าอาคาร ร้านอาหาร ลิฟต์ Service ลิฟต์โดยสาร ส่วนแสดง Print Out ส่วนแสดง Extreme Sport Park
(หน้านี้) แปลนพื้นชั้น 1 และรูปตัดของอาคาร (หน้าตรงข้าม) ภาพทัศนียภาพบริเวณลาน กิจกรรมของโครงการ
5
2
6 7
4 8
9
3
3 4 1
13
นี้จะมีสื่อที่ดึงดูดให้คนเข้าไปเดิน ชมพิพิธภัณฑ์อีกด้วย โดยกลุ่มเป้าหมายที่เน้นเป็นพิเศษ คือชาวต่างชาติที่มาเดินตลาดนัด จตุจักรทุกวันเสาร์-อาทิตย์ รวมถึง นักเรียนนักศึกษาที่เข้าใจและสนใจ เทคโนโลยีสมัยใหม่ด้วย
*** ภาพทัศนียภาพทั้งหมด Render โดย สินารถ พันธุนาคิน (ล่าง) กราฟฟิกแสดงทิศทางการ Flow ของผู้ ใช้พื้นที่ภายในและรอบๆ โครงการ
BTS หมอชิต สวนจตุจักร ตลาดนัดจตุจักรกรีน
14
MUSEUM OF SIAM’S CIVILIZATION
15
ที่มาของโครงการพิพิธภัณฑ์สยามศิวิไลซ์นั้น มาจาก ความสนใจประวัติศาสตร์ช่วงที่สยามได้รับอิทธิพล ทางความคิดจากตะวันตกของผมเอง ซึ่งมาพร้อม กับนวัตกรรมต่างๆ หนึ่งในนั้นคือแท่นพิมพ์ ซึ่งต่อมา ได้ส่งผลเกิดให้คนจำ�นวนมากการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร กันอย่างกว้างขวาง นำ�ไปสู่ความคิดที่ว่าหากจะทำ� พิพิธภัณฑ์ที่เล่าเรื่องประวัติศาสตร์ ณ ช่วงเวลานั้น ควรจะนำ�เสนอแนวทางที่จะช่วยให้คนหลากหลายกลุ่ม เข้ามาใช้พื้นที่โครงการได้ เหมือนกับที่สิ่งพิมพ์ที่กระ จายข่าวสารไปหาคนเป็นวงกว้าง โดยโครงการนั้นตั้งอยู่ในบริเวณใกล้ชุมชนและสวน สาธารณะ ซึ่งในอนาคตจะมีรถไฟฟ้าวิ่งผ่าน ทำ�ให้คน ทั่วไปที่อยู่ไกลพื้นที่มีโอกาสเข้าถึงโครงการได้เช่นกัน นอกจากพื้นที่พิพิธภัณฑ์ ห้องสมุด และส่วนเก็บหนัง สือพิมพ์สำ�หรับค้นคว้าแล้ว ยังมีพื้นที่ที่ออกแบบมา เป็นพิเศษคือ ลานกิจกรรมด้านนอกโครงการ พื้นที่ ตรงนี้มีการขุดลึกลงไปเป็นขึ้นบันไดเพื่อใช้เป็นลาน เเสดงดนตรีหรือแสดงมโหรสพต่างๆ ซึ่งคนเข้าถึงได้ ง่ายกว่าการสร้างห้องเฉพาะในอาคาร อีกทั้งการเปิด ช่องให้คนเดินทะลุผ่านระหว่างด้านหน้าและด้านหลัง อาคารจะเปิดโอกาสให้คนมีปฏิสัมพันธ์กันมากขึ้นอีก ด้วย (หน้าตรงข้าม) ทัศนียภาพด้านหน้าอาคาร (ขวาบน-ล่าง) ด้านหน้าอาคารจะเห็นช่องเดินทะลุระหว่าด้านหน้าและ หลังอาคาร 16
ถ.จัก รเพช ร ถ.จัก รวรร ดิ ถ.ประช าธิปก
SITE ถ.สมเด ็จเจ
าพระยา
เขตคลองสาน กรุงเทพฯ
วัดกัลยาณมิตร วรมหาวิหาร ศาลเจาเกียนอันเกง
สะพานพุทธฯ
N
1 km
สะพานพระปกเกลา
วัดซางตาครูส โรงเรียนแสงอรุณ โรงเรียนซางตาครูส คอนเเวนท
สวนปา
วัดประยุรวงศาวาส วรวิหาร
กทม.
พิพิธภัณสวน ฑ สมเด็จยา
0.5 km โรงเรียนศึกษานารี
ที่ตั้ง
โครการ
สถานีรถไฟฟา วัดอนงคาราม ชุมชนพระเครื่องวรวิหาร
วัดพิชยญาติการาม วรวิหาร
(บน) ตำ�แหน่งที่ตั้งโครงการ (ซ้าย) กระบวนการวิเคราะห์ในการเลือกที่ตั้ง ของโครงการ (หน้าตรงข้าม) กระบวนการคิด Mass ของ อาคาร 17
ที่ตั้งโครงการ
Set Back อาคาร
เพิ่มพื้นที่หน้าและหลังอาคารเพื่อรองรับกิจกรรมกลางแจ้ง
แบ่งอาคารออกเป็น 2 ก้อนเพื่อให้พื้นที่ด้านหน้าและหลังมีความต่อเนื่องกัน
E
W
พื้นที่ด้านหลังอาคารใช้ทำ�กิจกรรมในตั้งแต่ 15.00 น.ได้ 18
พื้นที่ใช้สอยภายในและนอกอาคาร
4 3
2
0
2
4
10
5
N
1
N
1
0
2
4
10
19
(หน้าตรงข้าม) แปลนพื้นชั้น 1 และ 2, ทัศนยภาพบริเวณลานกิจกรรม ตามลำ�ดับ (ล่าง) รูปตัดขวางอาคาร *** ภาพทัศนียภาพทั้งหมด Render โดย สินารถ พันธุนาคิน 1 2 3 4 5 6
ส่วนนิทรรศการ ห้องสมุด คาเฟ่ ลานกิจกรรม ห้องเก็บหนังสือพิมพ์ ที่จอดรถชั้นใต้ดิน
1
2
1
1
6 20
Polycarbonate เหล็ก C โครง Truss Facade ทำ�หน้าที่กรองแสงก่อนจะผ่าน เข้าสู่ตัวอาคาร เสาเหล็กรับน้ำ�หนักโครงสร้าง Facade
(ซ้าย) ภาพแสดงส่วนประกอบของอาคาร (บน) โมเดลส่วนขยายตัวกรองแสงของส่วน ฝ้าเพดาน (หน้าตรงข้าม) โมเดลอาคารที่แสดงให้เห็น Facade ด้านข้าง ซึ่งทำ�หน้าที่หักเหแสงให้มี ความนุ่มนวลขึ้น 21
W
22
E
แบบขยายตัว กรองแสงส่วนฝ้า เพดาน แสดงให้ เห็นทิศทางแสง ทางทิศตะวัน ออกและตะวัน ตกที่ตกกระทบ ลงมา
แบบขยาย Facde ด้านข้างของ อาคารที่ทำ�หน้าที่ หักเหแสง ทำ�ให้ แสงที่ผ่านเข้ามา ในอาคารมีความ นุ่มนวลขึ้น
HAND DYED FABRIC PAVILION
23
เชียงใหม่เป็นจังหวัดที่เต็มไปด้วย เสน่ห์แห่งศิลปะไม่แพ้กรุงเทพฯ ซึ่งเราจะสังเกตเห็นได้ว่าเมื่อย่าง เข้าสู่ฤดูหนาว เชียงใหม่จะมีงาน อีเว้นท์เอาใจคนคอศิลปะไม่น้อย หนึ่งในนั้นคืองาน “สวัสดีคราฟท์ เชียงใหม่” ที่จัดในพื้นที่โครงการ “บ้านข้างวัด” เมื่อปลายปี พ.ศ. 2558 โดยในงานจะมีการออกบูธ ขายสินค้าทำ�มือร่วมสมัย รวมถึง ของกิน การแสดงดนตรี และฉาย หนังยามราตรี ด้วยงานนี้เองที่ผมได้รับมอบหมาย ให้ออกแบบบูธแสดงเสื้อผ้ามัดย้อม จากพี่ๆ ทีมยางนาสตูดิโอ โดย หยิบเอาลักษณะการบิดของผ้ามา แกะเส้นสายเพื่อออกแบบโครงไม้ ไผ่ตามความต้องการของลูกค้า การใช้งานไม้ไผ่ลักษณะนี้อาศัย การลองผิดลองถูกพอสมควร เพราะไม่เคยทำ�มาก่อน เริ่มตั้งแต่ (หน้าตรงข้าม) บูธขายผ้ามัดย้อมในงาน (บนขวา) กราฟฟิกแสดงการถอดลายเส้นการ บิดผ้าเป็นโครงไม้ไผ่ (ขวาล่าง) โมเดลจำ�ลอง และภาพระหว่าง การทำ�งาน 24
การทำ�โมเดลให้สอดคล้องกับแนวคิดเส้นสายลายบิด ผ้า การยึดเสาให้เอียงนิดๆ การยึดและมัดไม้ไผ่แต่ ส่วนเข้าด้วยกัน ซึ่งทุกอย่างเป็นไปโดยราบรื่น ติดตั้ง เสร็จใน 1 วัน แต่ก็มีบางอย่างที่ต้องแก้ปัญหาเฉพาะ หน้าบ้าง ด้วยสาเหตุที่ต้องคำ�นึงถึงความแข็งแรงเเละ
ปลอดภัยต่อผู้ใช้ตลอด 6 วันในการจัดงานครั้งนี้ แม้จะเป็นงานเล็ก แต่ผมกลับภูมิใจกับงานชิ้นนี้ไม่น้อย เพราะได้เรียนรู้ทุกกระบวนการ
ภาพขณะที่ผมกำ�ลังนั่งเหลาเดือย ไม้ไผ่ ซึ่งเตรียมไว้สำ�หรับตอกเพื่อยึด ไม้ไผ่สองลำ�ให้อยู่ในตำ�แหน่งเดิม ซึ่งดู เหมือนกรรไกร
ภาพพี่ๆ กำ�ลังช่วยกันมัดเชือกหลังจาก ที่ตอกเดือยเข้าไปเเล้ว การทำ�แบบนี้ ทำ�ให้ไม้ไผ่ไม่เคลื่อนที่ไปจากตำ�แหน่งที่ กำ�หนดเอาไว้
25
ลักษณะเดือยไม้ และการมัดเชือกส่วนที่ จะทำ�หน้าที่เป็นเสาให้กับบูธ
26
ลักษณะการมัดไม้ไผ่สองลำ�เข้าด้วยกัน ในลักษณะกากบาทเหมือนกรรไกร จะ เห็นว่ามีไม้ไผ่ลำ�เล็กสั้นอีกลำ�ที่นำ�มา ช่วยขัดเชือกให้เเน่นยิ่งขึ้น แล้วตอก เดือยอีกทีเพื่อไม่ให้เชือกคลายตัวได้
HLONG KAO MODEL
27
“หลองข้าว” หรือ “ยุ้งข้าว” นับ เป็นสถาปัตยกรรมที่น่าสนใจอีก อย่างหนึ่ง ถึงแม้จะไม่ใช้ในการอยู่ อาศัยแต่วิธีการและเทคนิคในการ ก่อสร้างนั้นนับว่าน่าสนใจและควร ศึกษาเพื่อเก็บภูมิปัญญานี้เอาไว้ ยางนาสตูดิโอเล็งเห็นความสำ�คัญ เหล่านี้จึงคิดทำ�โมเดลจำ�ลองขึ้น เพื่อให้คนทุกเพศทุกวัยได้ลองเล่น และเรียนรู้การประกอบตัวอาคาร เข้าด้วยกัน ถึงเเม้ในความเป็นจริง จะผลิตออกมาได้น้อยชุด เพราะ ทุกกระบวนการล้วนทำ�ด้วยมือ จึง ใช้เวลามากในการทำ�ขึ้นมา 1 ชุด แต่เมื่อมองไปถึงประโยชน์เเล้วนับ เป็นสิ่งที่ดี เพราะชิ้นงานที่ทำ�ขึ้น มาให้ดูเป็นของเล่นนี้จะดึงดูให้คน ลองจับและเรียนรู้ “ข้างใน” ของ อาคาร 1 หลัง ซึ่งในปัจจุบันอาจ จะหาดูได้ยากเเล้วเพราะสังคม เปลี่ยนจากสังคมเกษตรเป็น
28
อุตสาหกรรมแทน “ยุ้งข้าว” จึง อาจไม่จำ�เป็นต้องมก็ได้ในเมื่อเรา หาซื้อข้าวสารในร้านสะดวกซื้อได้ สิ่งที่ผมเรียนรู้ได้มากกว่าการ จดจำ�ชิ้นส่วนของอาคารคือ การนำ�เสนอความรู้รูปแบบใหม่ท่ี เข้าถึงทุกคนได้ และนี่จะช่วยให้ พวกเราตระหนักและจดจำ� รากเหง้าของตัวเองได้เมื่อโลก เปลี่ยนไปมากกว่านี้
(หน้าตรงข้าม) ชิ้นงานสำ�เร็จ (ล่าง) ภาพการบรรจุชิ้นส่วนลงในบรรจุภัณฑ์ พร้อมทั้งคู่มือการประกอบ (ขวา) ภาพโครงสร้างหลัก, ครกตำ�ข้าว และ อาคารที่เกือบเสร็จสมบูรณ์
BAMBOO WORKSHOP
29
ระหว่างฝึกงานอยู่กับบริษัท “ยางนาสตูดิโอ” ที่จังหวัดเชียงใหม่ ผมมีโอกาสดีครั้งหนึ่งที่ได้ไป ร่วมกิจกรรมเวิร์คช็อปงานไม้ไผ่ กับคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ งานครั้งนี้ มีอาจารย์จุลพร นันทพานิชเป็น วิทยากรถ่ายทอดความรู้ และ แนะนำ�วิธีการก่อสร้างอาคารไม้ไผ่ กระบวนการเรียนรู้นั้นเริ่มตั้งแต่ การศึกษาวิธีการตัด สับ เจาะ และยึดไม้แต่ละส่วนเข้าด้วยกัน จากนั้นจะเป็นการทำ�โมเดลจำ�ลอง เพื่อหาเเนวทางการก่อสร้างที่เป็น ไปได้ วันถัดมาจึงลงมือก่อสร้าง จริง
30
การทำ�งานกับไม้ไผ่นั้นค่อนข้าง ยาก ต้องรู้จักใช้เครื่องมือและ มีแผนการจัดการที่ดี เพราะไม้ไผ่ เเต่ละลำ�นั้นบ้างตรงบ้างโค้ง อีกทั้ง ยังหนาบางไม่เท่ากันอีก ยิ่งเอามา ใช้กับเครื่องมือสมัยใหม่อย่างสว่าน ก็ยิ่งทำ�งานยากขึ้น แต่เวิร์คช็อปครั้งนี้ก็ผ่านไปด้วย ความสนุกและมีสิ่งต้องคิดต่อ หากจะนำ�มาใช้ในงานออกแบบ ในอนาคต ซึ่งไม่ง่ายแต่ท้าทายไม่ น้อยเลยทีเดียว (หน้าตรงข้าม-ขวา) ภาพระหว่างการก่อสร้าง เพิงไม้ไผ่รูปร่างแปลกตา (ล่าง) โมเดลจำ�ลองที่ใช้ดูระหว่างก่อสร้าง (ขวาล่าง) ฟากไม้ไผ่จากฝีมือของผมเอง
WOOD WORK
31
งานทำ�เฟอร์นิเจอร์ และตกแต่ง ร้านขายแฮมเบอร์เกอร์ (หน้าตรง ข้าม-ล่าง) กับงานไม้ที่ทำ�ที่บ้านใน อ.เเม่ริม จ.เชียงใหม (ขวา) นี้ ถือ เป็นการเปิดโลกในการทำ�งานของ ผมพอสมควรเลย เพราะโดย ปกติเเล้วการเรียนวิชา สถาปัตยกรรมในมหาวิทยาลัยนั้น แทบจะไม่ได้จับหรือต้องใช้ เครือ่ งมือและอุปกรณ์ในการทำ�งาน ก่อสร้างเลย เนื่องจากเราได้รับการ สอนสั่งอยู่เสมอว่า
32
“เป็นงานของช่าง” เมื่อได้ทำ�แล้วผมพบว่าตัวเองชอบ งานแบบนี้ไม่น้อย แม้จะเป็นงาน เล็กๆ แต่ก็ทำ�ให้ระบบความคิดมี มิติมากขึ้น เพราะต้องทำ�งานตั้งแต่ การออกแบบจนไปถึงการสร้างชิ้น งานจริงขึ้นมา แม้มันไม่ง่ายนัก แต่ มันน่าสนใจสำ�หรับนักออกแบบใน อนาคต
ADOBE BRICK
33
สืบเนื่องจากมีประกาศรับอาสา สมัครไปร่วมสร้างที่พักอาศัยและ ศูนย์การเรียนให้กับเด็กกำ�พร้าที่ อ.แม่สลวย จ.เชียงรายเมื่อปลาย ปี พ.ศ. 2558 ที่ผ่านมา ผมเห็นว่า เป็นโอกาสที่ดีที่จะได้ไปเรียนรู้การ ก่อสร้างอาคารด้วยอิฐดินดิบจึง สมัครเข้าร่วมกับเพื่อนๆ ถือเป็นโชคดีที่พวกเราเดินทางไป ถึงในช่วงที่โครงการเพิ่งเริ่มต้น นั่น หมายความว่าพวกเราจะได้เรียน รู้ และเห็นตั้งแต่การวางระบบ น้ำ�และไฟฟ้า กระบวนการทำ�อิฐ ดินดิบที่ใช้ดินและเเกลบเป็นส่วน ประกอบหลัก รวมถึงการวางฐาน ของอาคารซึ่งใช้หินในลำ�ห้วยที่อยู่ ห่างไปไม่ไกลจากพื้นที่โครงการ เป็นส่วนประกอบเพื่อกันความชื้น ระหว่างพื้นดินและผนังอิฐดินดิบ
ถึงเเม้ว่าพวกเราจะอยู่ช่วยได้ เพียง 4 วัน และมีอุปสรรคในการ สื่อสารกันบ้าง แต่ผมกลับพบว่า ได้เรียนรู้อะไรหลายอย่าง ที่เห็น ได้ชัดเจนคือการนำ�วัสดุธรรมชาติ ที่มีอยู่ในท้องถิ่นอย่างแกลบและ หินในลำ�ห้วยมาใช้ด้วยภูมิปัญญา แบบชาวบ้าน ผสมกับการใช้ความ รู้และทักษะการใช้วัสดุสมัยใหม่ใน การก่อสร้าง รวมถึงการเรียนรู้ที่ จะทำ�งานร่วมกันของคนแต่ละฝ่าย ด้วยไมตรีจิตที่ดี
(หน้าตรงข้าม) ภาพระหว่างการผสมและนวด ดินกับแกลบและน้ำ�เพื่อนำ�ไปทำ�อิฐดิน (ซ้าย) ก้อนอิฐหลังจากเอาแบบไม้ออก (ขวา) ภาพระหว่างการทำ�งานร่วมกับวิทยากร 34
POST GRADUATION WORKS
2018-2021
35
TECO
RENOVATION
36
TECO RENOVATION เป็นโปรเจคปรับปรุงอาคาร 3 ชั้นเพื่อใช้เป็นสำ�นักงานของ สำ�นักงานเศรษฐกิจและวัฒนธรรม ไทเปประจำ�ประเทศไทย โดย เจ้าของโครงการได้เพิ่มอาคาร งานระบบ, ห้องน้ำ�สำ�หรับผู้มา ติดต่อ, ห้องสำ�หรับ รปภ. และ ห้องพักพนักงานขับรถเข้ามาด้วย อุปสรรคสำ�คัญในการทำ�งานนี้ ความชัดเจนของแบบ ซึ่งในฐานะ ผู้รับเหมาต้องทำ� Shop Drawing กันอย่างหนักเพื่อให้ก่อสร้างดำ�เนิน ไปได้ งานนี้ทำ�ให้เข้าใจ งาน Detail มากขึ้นจากการ ประสานงานกับช่างและ Supplier ที่เข้ามาติดตั้งงานต่างๆ ถือเป็น Project แรกของการทำ�งานที่ทำ�ให้ เข้าใจธรรมชาติของงาน Renovate เลยทีเดียว
1 ห้องเจ้าหน้าที่รักษาความ ปลอดภัย 2 ห้องน้ำ�สำ�หรับผู้ใช้บริการ 3 ห้องปั้ม 4 ทางเข้าโครงการ 5 ห้องสำ�หรับขอ VISA 6 โถงต้อนรับ 7 ห้องน้ำ�สำ�หรับเจ้าหน้าที่ 8 ห้องพักคนขับรถ 9 ทางเดินเข้าออกสำ�หรับเจ้าหน้าที่ 10 ทางเดินเข้าออกสำ�หรับผู้ใช้บริการ
7
5 6
ที่ตั้ง : ซ.วิภาวดี 66
10
พื้นที่โครงการ : 5,180 ตร.ม. งานที่รับผิดชอบ : เขียนแบบ Shop Drawing คำ�นวณปริมาณวัสดุงาน เอกสาร และควบคุมงานก่อสร้าง
3
8
2
4 1
(หน้าตรงข้าม) ภาพด้านหน้าอาคาร ถ่ายโดย : หัตถชัย ขำ�ป่าน
N
1m
9
SITE PLAN 37
(บน) ภาพด้านหน้าอาคารก่อนรีโนเวท (ขวา) ภาพรวมบริเวณด้านหน้าอาคาร (ล่างซ้าย) ห้อง Conference (ล่างขวา) ห้อง Auditorium ถ่ายโดย : หัตถชัย ขำ�ป่าน
38
THAI UNION OFFICE RENOVATION
39
THAI UNION OFFICE RENOVATION เป็นงานแรกที่เข้าไปทำ�งานใน ก่อสร้างปรับปรุงพื้นที่สำ�นักงาน ภายในตึกสูง โดยหน้าหลักที่ รับผิดชอบคือการควบคุมงาน สถาปัตยกรรม และช่วยดูแลงาน ระบบไฟฟ้า และงานสุขาภิบาล หลังจากเสร็จ Project ทำ�ให้ได้ เรียนรู้ถึงการทำ�งานออกแบบที่ต้อง เข้าใจและมองไปถึงงานระบบที่ เกี่ยวข้องต่างๆ เพราะอาจมีความ ไม่ลงตัวบางอย่าง ทำ�ให้ต้องปรับ แบบกันขณะช่างกำ�ลังทำ�งาน ซึ่ง บางครั้งต้องรอการตัดสินใจ ทำ�ให้ งานล่าช้าได้ จึงได้เห็นความสำ�คัญ ของการ Combine แบบทุกระบบ เข้าด้วยกัน ซึ่งช่วยแก้ปัญหา ดังกล่าวได้มากทีเดียว ที่ตั้ง : อาคาร SM TOWER ชั้น 30 ถ.พหลโยธิน พื้นที่อาคาร : 1,100 ตร.ม. งานที่รับผิดชอบ : ออกแบบ เขียนแบบ คำ�นวณปริมาณวัสดุ และควบคุมงานก่อสร้าง
40
(หน้าตรงข้าม) ภาพบริเวณภายในสำ�นักงาน หลังจากก่อสร้างเสร็จแล้ว (ล่าง) ภาพระหว่างช่างกำ�ลังทำ�งานระบบ (ขวา) ภาพบริเวณโถงต้อนรับของสำ�นักงาน
PRUDENTIAL OFFICE RENOVATION
41
PRUDENTIAL OFFICE RENOVATION เป็นงานตกแต่งภายในอาคาร แอทสาทรชั้น 24 ของบริษัท พรูเด็นเชียล ประกันชีวิต (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) ที่ต้องการเปลี่ยนฟังก์ชั่นห้อง ประชุมเป็นพื้นที่นั่งทำ�งานของ พนักงาน ระยะเวลาสำ�หรับการ ทำ�งานมีเพียง 1 เดือนเท่านั้น ทำ�ให้ต้องวางแผนงานให้กระชับ ที่สุด โดยได้ออกแบบ ปรับแบบ และเลือกวัสดุสำ�หรับติดตั้งควบคู่ ไปกับการก่อสร้าง ซึ่งได้นำ�พรม พื้นของเดิมมาจัด Pattern ใหม่ เพื่อประหยัดงบประมาณใน การก่อสร้าง แม้จะเป็น Project สั้นๆ แต่ได้เห็นภาพรวมทั้ง งานสถาปัตยกรรมและงานระบบ ทั้งหมด รวมถึงได้นำ�ประสบการณ์ ทำ�งานในตึกสูงก่อนหน้ามาใช้ ทำ�ให้งานมีความคล่องตัวขึ้นมาก ที่ตั้ง : อาคารแอทสาทร ชั้น 24 พื้นที่อาคาร : 115 ตร.ม. งานที่รับผิดชอบ : งานเขียนแบบ คำ�นวณปริมาณวัสดุ งานเอกสาร และควบคุมงานก่อสร้าง
42
(หน้าตรงข้าม) ภาพบริเวณภายในสำ�นักงาน หลังจากก่อสร้างเสร็จแล้ว (บนขวา) ภาพพื้นที่ก่อนทำ�การปรับปรุง (ล่าง) ภาพพื้นที่หลังจากปรับพื้นเสร็จ
BED SHOWROOM AND BEAUTY CLINIC
43
1 ทางเข้าพื้นที่ Showroom 2 โถงลิฟต์สำ�หรับผู้เข้าใช้บริการ คลินิกเสริมความงาม 3 พื้นที่ Showroom 4 พื้นที่สำ�หรับคลินิคในอนาคต
BED SHOWROOM AND BEAUTY CLINIC เป็นอาคารโครงเหล็กและ
คอนกรีต 2 ชั้น บริษัททำ�เฉพาะ งานโครงสร้างเหล็กและงาน สถาปัตยกรรมภายนอกเท่านั้น ความท้าทายที่ได้เจอเป็นครั้งแรก สำ�หรับการเหล็กผสมปูนคือ การ แก้ปัญหารอยร้าวผนังก่ออิฐ ซึ่ง ทางทีมเลือกใช้วิธีการใช้แนวร่อง ผนังสำ�เร็จรูปเพื่อไม่ให้รอยร้าว ลามเป็นผืนใหญ่ นอกจากนั้นยัง ได้ดูเเลงานห้องน้ำ�ตั้งแต่การหา แนวผนัง การหาฉากห้องน้ำ�เพื่อให้ (หน้าตรงข้าม) ภาพระหว่างก่อสร้างอาคาร (ล่าง) ภาพระหว่างตรวจสอบระดับท่อน้ำ�ของ ห้องน้ำ�อาคาร
ช่างปูกระเบื้องพื้นและผนังตรงกัน หมดทั้งสี่ด้าน ถือเป็น Project ที่ได้ คลุกคลีกับช่าง และได้รู้วิธีทำ�งาน ระหว่างการทำ�แบบและหน้างาน มากขึ้น ทำ�ให้รู้ว่าเมื่อออกแบบงาน ถัดไปต้องใส่ใจและระวังในจุดไหน
3
2
ที่ตั้ง : ถ.ประดิษฐ์มนูญธรรม (เยื้อง กับเซ็นทรัล เฟสติวัล อีสต์วิลล์) พื้นที่อาคาร : 880 ตร.ม.
1FL PLAN
1m
1
งานที่รับผิดชอบ : งานเขียนแบบ Shop Drawing คำ�นวณปริมาณ วัสดุ และควบคุมงานก่อสร้าง 4
N
2FL PLAN 44
HOME
NGAM WONG WAN 35
2
4 3
2
1 1 2 3 4 N
SITE PLAN
พื้นที่จอดรด โถงใต้ถุนบ้าน ประตูทางเข้า ห้องน้ำ�
1m
(หน้าตรงข้าม) ภาพบ้านหลังสร้างเสร็จ โดย เหลือเฉพาะสวนที่รอทีมจัดสวนเข้ามาดำ�เนิน การต่อ 45
HOME NGAM WONG WAN 35 เป็นงานบ้านพักอาศัยหลังแรกที่ได้ นำ�โปรแกรม AutoDesk Revit มา ใช้ตั้งแต่การเขียนแบบ, เคลียร์ Detail, Combine งานโครงสร้าง งานสถาปัตยกรรม งานสุขาภิบาล และคำ�นวณปริมาณเพื่อสั่งของ เข้ามาใช้งาน ถือเป็นงานที่ได้ดึง ศักยภาพของโปรแกรมมาใช้งาน จริงมากที่สุดเท่าที่เคยทำ�มา แต่ ก็พบปัญหา เช่น ช่างเดินท่อตาม ที่เขียนแบบมาไม่ได้ ทำ�ให้ต้อง เปลี่ยนแนวเดินท่อใหม่ แต่ก็แก้ ปัญหาได้รวดเร็ว เพราะได้นำ� ภาพจำ�ลองมาพูดคุยสื่อสารกันจน เข้าใจตรงกันทุกฝ่าย นอกจากนั้น ยังรับหน้าที่เป็นผู้คุมงาน ได้เข้าไป ดูแลงานคลุกคลีกับช่าง การหา แนวผนังและแนวประตูหน้าต่าง ทำ�ได้คล่องแคล่วมากขึ้นหลังจาก เรียนรู้จาก Project ก่อนหน้านี้ ที่ตั้ง : ซ.งามวงศ์วาน 35 ขนาดพื้นที่อาคาร : 275 ตร.ม. งานที่รับผิดชอบ : เขียนแบบ สถาปัตยกรรม สุขาภิบาล และ คำ�นวณปริมาณวัสดุด้วยโปรแกรม Revit รวมถึงควบคุมงานก่อสร้าง
46
(ล่าง) ภาพเรนเดอร์โมเดลอาคาร (หน้าตรงข้าม) ภาพแนวท่อภายในอาคาร ที่เขียน ด้วยโปรแกรม Revit แสดงเพื่อสื่อสาร และหาข้อ สรุปในที่ประชุม
2 1
3 4 5
2FL PLAN
1 2 3 4 5 6
ห้องครัว พื้นที่ซักล้าง ห้องน้ำ� พื้นที่โถง ห้องนั่งเล่น ห้องนอน
47
3 6
6
4 3FL PLAN 6
(บน-ล่าง) ภาพระหว่างการตรวจสอบแนว Sleeve ท่อ และตำ�แหน่งเข็มเจาะตามลำ�ดับ
48