สารบัญ ประวัติถนนเยาวราช ร้านอาหารคาว ร้านอาหารหวาน ร้านเครื่องดื่ม
ถ. แปลงน้ำ�
ข้าวต้ม 3/1
หมูสเต๊ะ
ถ. เยาวราช
Sweettime ขนมหวาน @chinatown เจ้าเก่าเยาราช ถ. เยาวราชพานิช
ก๋วยจั๊บอ้วนโภชนา
หมี่หนวาเจ๊หมวย
ถ. ผดุ้งด้าว
เจ๊อ้วนราดหน้ายอดผัก
ลอดช่องสิงคโปร์ สุกมี้ านพ
ถ. เยาวราช
เยาวราช 9
ขนมปังเจ้าอร่อยเด็ดเยาวราช
ร้านกลางวัน ร้านกลางคืน ร้านกลางวัน & กลางคืน
เยาวราช
เปิดตำ�นานถนนมังกร เยาวราช เป็นถนนทีต่ ดั ขึน้ มาใน สมัยพระบทาสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 ตามพระราชทานประสงค์ทจ่ ี ะพัฒนา บ้านเมืองให้มคี วามเจริญอำ�นวยความสะดวก เรืงิ ่ การคมน่คมระหว่าง ถ. เจริญกรุง กัย ย่านสำ�เพ็งซึง่ เป็นแหล่งการค้า่ และชุมชนชาวจีน ขนาดใหญ่ทเ่ ี ริม่ แออัด ใช้เวลาสร้างนานถึง 8 ปี คือตัง้ แต่ปี 2434-2443 แรกชือ่ “ถนน ยุพราช” ต่อมามีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชือ่ ใหม่วา ่ “ถนนเยาวราช”
ถนนเยาวราชเป็ น ถนนที่ ส ร้ า งขึ้ น ใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัว ตามโครงการถนนอำ�เภอสำ�เพ็งซึ่งเป็น นโยบายสร้ า งถนนในท้ อ งที่ ที่ เ จริ ญ แล้ ว เพื่ อ ส่ ง เสริมการค้าขาย สำ�เพ็งเป็นย่านการค้าที่เจริญ มากแห่งหนึ่งนอกเหนือจากบริเวณถนนเจริญกรุง แล้ว ประวิทย์ พันธุ์วิโรจน์ (2545) ศึกษาว่า ทำ�ให้มีพระราชดำ�ริที่จะสร้างถนนให้มากขึ้น ถนน เยาวราชเป็น 1 ใน 18 ถนนที่สมเด็จพระเจ้า บรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ (ขณะดำ�รงพระอิสริยยศพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้า ฟ้ากรมขุนนริศรานุวัดติวงศ์ เสนาบดีกระทรวง โยธาธิการ) เสนอให้สร้าง เช่น ถนนจักรวรรดิ ถนนราชวงศ์ ถนนอนุวงศ์
ถนนเยาวราชเริ่ ม ตั้ ง แต่ ค ลองรอบกรุ ง ตรง ข้ามกับป้อมมหาไชย ตัดลงไปทางทิศใต้บรรจบกับถนน ราชวงศ์ซึ่งสร้างแยกจากถนนเจริญกรุงตรงไปฝั่งแม่น้ำ� เจ้าพระยา (ท่าราชวงศ์) สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยา นริศรานุวัดติวงศ์กราบบังคมทูลว่าจะสร้างถนนใน พ.ศ. 2434 โดยให้ชื่อถนนว่า “ถนนยุพราช” ต่อมาโปรด เกล้าฯ พระราชทานชื่อว่า ถนนเยาวราช และในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2434 ได้มีพระบรมราชโองการให้ ออกประกาศกรมโยธาธิการแจ้งให้ราษฎรทราบว่า การ ตัดถนนเยาวราชเนื่องจากมีพระราชประสงค์จะให้บ้าน เมืองเจริญและเป็นประโยชน์แก่ประชาชนทั่วไปเพื่อมิให้ ราษฎรพากันตกใจขายที่ดินไปในราคาถูก เพราะเข้าใจ ว่าจะซื้อเป็นของหลวง หรือบางทีเข้าใจว่าการชิงขาย เสียก่อน ถึงจะได้ราคาน้อยก็ยังดีกว่าจะสูญเปล่า และ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชา อนุญาตให้ตึกที่ยื่นล้ำ�เข้ามาในแนวถนนไม่เกินกว่า 1 วา ไม่ต้องรื้อถอนด้วย
ปรากฏในเอกสารของกรมโยธาธิการว่าเมื่อเจ้าพนักงานไป วัดที่ตัดถนนบริเวณตำ�บลตรอกเต๊านั้น ราษฎรร้องเรียนว่าเจ้าพนักงาน ไม่ยุติธรรม เพราะถ้าวัดปักไม้ถูกบ้านของผู้มีบรรดาศักดิ์ก็จะเลี่ยงไป ปักที่ใหม่ ถูกแต่ที่ราษฎรทั้งสิ้น ทำ�ให้แนวถนนไม่ตรง ราษฎรที่ตรอก เต๊าจึงมีหนังสือกราบบังคมทูลพระกรุณา พระเจ้าน้องยาเธอ กรม หมื่นนเรศร์วรฤทธิ์จึงเสนอให้มีเงินค่าเวนคืนที่ดินหรือคำ�ทำ�ขวัญขึ้น เช่นเดียวกับที่คนในบังคับต่างประเทศได้รับ โดยได้นำ�ความขึ้นกราบ บังคมทูลเมื่อ พ.ศ. 2437 และได้มีการนำ�เรื่องดังกล่าวเข้าปรึกษา ในที่ประชุมรัฐมนตรีสภา ซึ่งมีพระราชดำ�รัสว่า "ถนนสายเดียวซึ่งผู้ที่ ไม่ได้ขัดขวางยอมให้ทำ�ล่วงไปแล้วจะไม่ได้รับรางวัล จะได้แต่ผู้ที่ร้อง ขัดขวางเช่นนี้ก็เป็นที่น่าสงสารอยู่" แต่อย่างไรก็ตาม พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำ�ริเห็นชอบในการจ่ายค่าที่ดินแก่ คนไทยเช่นเดียวกับคนในบังคับต่างประเทศ เพื่อคนไทยจะได้ไม่เสีย เปรียบคนต่างประเทศ การสร้างถนนเยาวราชประสบอุปสรรคหลายประการนับแต่ เริ่มกรุยทางในปี พ.ศ. 2435 จนถึงปี พ.ศ. 2438 ก็ยังไม่เสร็จ เพราะนอกจากราษฎรจะขัดขวางแล้วยังปรากฏว่า เจ้าของที่ดินหลาย รายขวนขวายที่จะขายที่ดินให้กับคนในบังคับต่างประเทศ ทำ�ให้การ ก่อสร้างค่อนข้างล่าช้า เพราะกระทรวงนครบาลไม่อาจจัดการเรื่อง ที่ดินที่ถนนจะต้องตัดผ่านให้กับกรมโยธาธิการได้ ปรากฏว่าพระเจ้า น้องยาเธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิธาดา เสนาบดีกระทรวงโยธาธิ การได้มีหนังสือกราบทูลพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นนเรศร์วรฤทธิ์ เสนาบดีกระทรวงนครบาลเกี่ยวกับการมอบที่ดินที่อยู่ในแนวถนนให้กระ ทรวงโยธาธิการ ขอให้กระทรวงนครบาลจัดการในกรณีที่คนในบังคับ ต่างประเทศจะมาทำ�หนังสือซื้อขายหรือจำ�นำ�ที่ดินที่ได้กรุยทางสร้าง ถนนเยาวราชไว้โดยสั่งให้เจ้าพนักงานหรืออำ�เภอกำ�นันให้ทราบว่า เป็นที่ทำ�ถนนอย่าให้รับทำ�หนังสือซื้อขาย "ขอกระทรวงเมืองได้โปรด ประทานพระอนุ ญ าตให้ ร าชการของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ดำ�เนินไปโดยสดวกด้วย" แต่กรมหมื่นนเรศร์วรฤทธิ์ทรงอ้างว่าต้อง ทรงรอคำ�วินิจฉัยจากที่ประชุมเสนาบดีในเรื่องที่ราษฎรร้องเรียนกันขึ้น มาว่าการตัดถนนผ่านที่ดินเป็นไปอย่างไม่เป็นธรรม และปรากฏหนังสือ โต้ตอบกันระหว่างเสนาบดีทั้ง 2 กระทรวงนี้ เพราะกระทรวงโยธา ธิการก็ต้องการสร้างถนนให้เสร็จสิ้น ขณะที่กระทรวงนครบาลพยายาม ที่จะให้ราษฎรได้รับเงินค่าที่ดินจากรัฐบาล จึงรอพระบรมราชโองการ เกี่ยวกับเรื่องนี้ และยังไม่มอบที่ดินให้กระทรวงโยธาธิการ ถึงกับกรม หมื่นพิทยาลาภพฤฒิธาดาทรงระบุว่า กรมหมื่นนเรศร์วรฤทธิ์ทรงพระ เมตตากับราษฎรบริเวณถนนเยาวราชกว่าราษฎรในแนวถนนอื่น ๆ กรม โยธาธิการจึงต้องดำ�เนินการสร้างถนนส่วนที่ไม่มีปัญหาและที่ดินที่เป็น ของหลวงก่อน จนกระทั่งใน พ.ศ. 2441 ปัญหาเรื่องที่ดินซึ่งจะต้องตัดถนน ผ่านก็ยังไม่ยุติ ในวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2441 พระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงมีพระบรมราชโองการให้กระทรวงโยธาธิ การดำ�เนินการตัดถนนต่อไป เพราะมีพระราชดำ�ริว่าที่ดินซึ่งถูกตัดถนน ผ่านไปนั้น ย่อมทวีราคาขึ้นกว่าแต่ก่อนหลายสิบเท่าเป็นประโยชน์แก่ เจ้าของมาก ไม่ควรจะเสียดายที่ดินซึ่งเป็นท้องถนนแต่เพียงเล็กน้อย เพราะรัฐบาลที่ลงทุนทำ�ถนนก็ไม่ได้เก็บเงินค่าคนหรือรถม้าที่เดินบน ถนนเลย เพื่อบำ�รุงการค้าขายให้สะดวก เจ้าของจึงไม่ควรหวงแหน และโปรดเกล้าฯ ให้กรมหมื่นนเรศร์วรฤทธิ์และกรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิ ธาดาปรึกษากันต่อหน้าพระที่นั่งว่าจะทำ�อย่างไรให้การตัดถนนสายนี้ สำ�เร็จลงได้ กรมหมื่นนเรศร์วรฤทธิ์จึงทรงรับที่จะออกประกาศให้ เจ้าของที่ดินออกจากที่ดิน หากเจ้าของที่ดินไม่ยอมรื้อก็ให้กระทรวง โยธาธิการแจ้งไปที่กระทรวงนครบาล และให้กระทรวงนครบาลเป็นผู้ ให้กรมอัยการฟ้อง ทำ�ให้การตัดถนนเยาวราชดำ�เนินการต่อไปได้ เมื่อแรกตัดถนนเยาวราชใหม่ ๆ นั้น มีชาวจีนอยู่อาศัยกันหนาแน่น แม้ ต่อมาถนนเยาวราชก็ยังคงมีความสำ�คัญ เพราะเป็นย่านร้านอาหารชั้น นำ� ตึกที่สร้างสูงที่สุดตึกแรกในสมัยรัตนโกสินทร์ก็สร้างที่ถนนเยาวราช เป็นแห่งแรก ช่วงปี พ.ศ. 2500 ถนนเยาวราชรถยังวิ่งสวนทางกัน มี รถเมล์สาย 23 หรือที่เรียกกันว่า "เมล์แดง" และรถเมล์สาย 24 ที่ เรียกกันว่า "ไทยประดิษฐ์" วิ่งสวนทางกัน และมีรถรางวิ่งอยู่อีกช่อง ทางหนึ่ง ถนนเยาวราชจะเป็นที่จัดงานประจำ�ปีอยู่เนือง ๆ โดยจะปิด การจราจรชั่วคราว เป็น "ถนนคนเดิน" มีการขายอาหารจีนที่มีชื่อ การแสดง และออกร้านมากมายจากร้านค้าที่อยู่สองข้างทาง มีชาวไทย เชื้อสายจีนอาศัยอยู่เป็นจำ�นวนมาก และเป็นย่านการค้า รวมถึงแหล่ง ท่องเที่ยวสำ�คัญแห่งหนึ่งของเมืองด้วย
เยาวราช เป็นศูนย์กลางธุรกิจการค้าของชาวไทยเชือ้ สายจีน ทีม่ ปี ระวัติ ความเป็นมายาวนานจนถึงปัจจุบนั และไม่เป็นเพียงแต่ยา่ นเศรษฐกิจทีโ่ ดดเด่น ยัง เป็นศูนย์รว่ มอาหารรสเลิศซึง่ มีหลากหลายชนิดตลอด 24 ชัว่ โมง และเป็นสถานที่ ท่องเทีย่ ว
อาหารคาว
ร้านเจ๊อ้วน ราดหน้ายอดผัก ตั้งอยู่ ถนนเยาวราช ปากซอยผดุงด้าว หน้าบริษัท สีทองพาณิชย์ 081 633 5102, 081 552 9882
เปิด 18.00 ปิด 01.00 น. ร้านปิดวันจันทร์, วันพุธ 50 - 100 บาท
ราดหน้าเส้นใหญ่-เส้นหมี่, ราดหน้าหมี่กรอบ, ราดหน้าใส่ไข่-ไข่ดาว, ผัดซีอิ๊ว, ผัดผักคะน้า
เปิดมาเกือบ 30 ปีแล้วไม่มีสาขา และได้รับรางวัลชนะเลิศ จากการแข่งขันในรายการสุดเดชประเทศไทย
ร้านหมูสะเต๊ะซอยแปลงนาม ร้านนี้ตั้งอยู่ที่ถนนเยาวราช ต้นๆซอยแปลงนาม พอเลี้ยวขวาเข้าซอยแปลงนาม ร้านจะอยู่ทางซ้ายมือ 17.00 น. – 23.00 น. ร้านปิดวันจันทร์ อังคาร พุธ
หมูสเต๊ะ, ขนมปังปิ้ง
หมูสเต๊ะไม้ละ 5 บาท ขนมปังแผ่นละ 5 บาท หมูสะเต๊ะ ที่ซอยแปลงนามย่านเยาวราชกันดีกว่า ร้านนี้เจ้าของร้านชื่อเฮียหมู กับเจ๊แต๋ว เปิดมาประมาณ 8 ปี แล้ว หมูสะเต๊ะมี 2 แบบคือ ติดมัน กับไม่ติดมัน สั่งได้เลยแล้ว แต่ชอบ หมูที่นำ�มาใช้ปิ้งเป็นสันนอกหมู (สันหลัง) หมักข้าม คืนให้รสชาติเข้าเนื้อและมีความนุ่มกำ�ลังดี ส่วนน้ำ�จิ้ม รสชาติ กลมกล่อมดี ไม่เผ็ดเกินไป ทำ�มาจากกะทิ เครื่องแกง ใส่ถั่ว และงา บดเอง ใช้วัตถุดิบอย่างดีทุกอย่าง
ขนมจีบโบราณ แป๊ะเซี้ยะ
ขนมจีบหมู ลูกละ 2.50 บาท
ตั้งอยู่ที่หน้าวัดมงคลสมมาคม (วัดญวน) ซอยแปลงนาม
11.30 น. – 18.30 น. ทุกวัน หยุดเฉพาะสงกรานต์ และเทศกาลกินเจ
ขนมจีบมีส่วนผสมจาก หมูสับ กุ้งแห้ง เห็ดหอม มันแกว ไข่ น้ำ�มันงา พริกไทย ใช้แผ่นเกี๊ยวห่อลงไป และนึ่งกับ หม้อทองเหลือง พอสุกร้อนได้ที่ก็จะเสิรฟ์ พร้อมกับการเหยาะจิ๊กโฉ่ว โรยกระเทียม เจียว ราดพริกน้ำ�ส้มนิดหน่อย รับรอง อร่อยแท้
ร้านข้าวต้ม 3/1
มีอาหารให้เลือกรับประทานมากกว่า 40 อย่าง หมูนึ่งไข่เค็ม, หอยกะพงผัด, หัวปลานึ่งขิง, ปลาดาบนึ่ง, ใบ ปอทอด, หัวปลานึ่งขิง, และอื่น ๆ อีกมากมาย เปิดบริการทุกวันตลอด 24 ชั่วโมง ข้าวต้ม ข้าวสวย ถ้วยละ 5 บาท กับข้าวถ้วยละ 20 - 70 บาท
ซ.แปลงนาม
089-200-2595
มีอาหารให้เลือกรับประทาน มากกว่า 40 อย่าง ทั้งปลาดาบนึ่ง ใบ ปอทอด หัวปลานึ่งขิง และอื่น ๆ อีก มากมาย และยังสามารถสั่งอาหารได้ ตามชอบอีกด้วย
เปาะเปี๊ยะสด สูตรดั้งเดิม คุณป้อม ตั้งอยู่ที่ซอยไพบูลย์สมบัติ (ตัดกับถนนมังกร) เปิดร้านตั้งแต่ 8.00 น. – 15.30 น. ทุกวัน
จานละ 40 บาท เปาะเปี๊ยะ เจ๊ป้อมเจ้าของร้าน บอกว่า ร้าน นี้น้ำ�ราดเปาะเปี๊ยะ กลมกล่อม ไม่เหมือน ใคร ใช้วัตถุดิบสดใหม่ ใช้น้ำ�พะโล้ต้มเต้าหู้ ทำ�ให้เต้าหู้ไม่แข็ง ไข่และปูก็ใช้สดๆ
ร้านเกี๊ยวซ่า คุณเล็ก ตั้งอยู่ที่ซอยเยาวราช 11 (ซอยอิศรานุภาพ)
40-60 บาท
ร้านเปิดตั้งแต่ 18.00 - 01.30 ทุกวัน
เกี๊ยวซ่า, หอยจ๊อ, เปาะเปี๊ยะเป็ดปักกิ่ง, อื่อก้อยทอด, หอยจือ-แฮกื้น ร้านนีเ้ ปิดมานานแล้ว ประมาณ 16 ปี เจ้าของร้าน ชือ่ เจ๊เล็ก จริงๆแล้วมีอกี หลายเมนูให้เลือกทานนอกจากเกีย๊ ว ซ่า ก็คอื หอยจ๊อ-แฮ่กน้ึ , ฮือ่ ก้วยทอด และ เปาะเปีย๊ ะเป็ด ปักกิง่ ราคาย่อมเยาว์ แต่รสชาตินส้ี ดุ ยอด โดยเฉพาะเกีย๊ วซ่า ทีท่ อดด้วยน้�ำ มันใหม่ๆ และจะไม่ทอดทิง้ ไว้ จะทอดก็ตอ่ เมือ่ ลูกค้ามาสัง่ ทำ�ให้คณ ุ จะได้ทานของทีร่ อ้ นๆ กรอบอร่อย อย่าง แน่นอน เนือ้ หมูขา้ งในก็รสชาติอร่อย เป็นเนือ้ แน่นๆ นุม่ มี กลิน่ พริกไทยนิดๆ
ร้านนี้ตั้งอยู่ด้านซ้ายมือของถนนเยาวราช เลยถนนผดุงด้าว มานิดเดียวก็จะเจอร้านเซี้ยหูฉลาม จะป้ายร้านสีเหลืองเป็นจุดเด่นของร้าน ตรงข้ามกับร้านยู้ลูก ชิ้นปลานะคะ
ร้านเซี้ย หูฉลาม หูฉลามน้ำ�แดง, หูฉลามน้ำ�แดง, ผัดแห้งโกย ซี่หมี่, ผัดหมี่ฮ่องกง, กระเพาะปลาน้ำ�แดง, กระดูกอ่อนหูฉลามน้ำ�แดง ร้านเปิด 19.00 น. – 01.30 น. หยุดวันจันทร์ 100-500 บาท
ร้านนี้ เปิดมา 20 กว่าปี แต่เดิม ขายอยู่ที่เวิ้งนครเขษม แล้วย้ายมาเยาวราช เปิดขายมาตั้งแต่รุ่นคุณพ่อ ปัจจุบันเป็นรุ่น ที่ 2 แล้ว ลูกชายชื่อ เฮียไก่ เฮียไก่เล่าให้ ฟังว่า เป็นบะหมี่ฮ่องกงเจ้าแรกในเมืองไทย และเป็นสูตรต้นตำ�รับมาจากฮ่องกง นำ�มา ดัดแปลงปรับเปลี่ยนให้เข้ากับคน ไทย
ข้าวแกงเจ็กปุ้ย(ข้าวแกงเก้าอี้ดนตรี) ต้นซอยมังกร ถนนเจริญกรุง วัดเล่งเน่ยยี่
ผัดปู, แกงกะหรี่เนื้อ-หมู, เขียวหวานไก่, ลูกชิ้นปลากราย, ซี่โครงหมูอบ, ปูอบผัด พริกสด, หมูหวาน, ไข่พะโล้, ไก่เหล้าแดง, แพนงหมู, กุนเชียง, ผัดหน่อไม้
เปิดบริการตั้งแต่ 16.00 น. 40 บาท ข้าวแกงร้านนี้เขาไม่มีโต๊ะค่ะ มีแต่เกาอี้วางๆ ให้นั่ง ที่มาของข้าวแกงเก้าอี้ดนตรีคือลูกค้าที่จะมาทาน ในร้านต้องรอเก้าอี้ว่าง ซึ่งคนที่นั่งทานนั้นขอบอกว่า เยอะมาก รวมกับคนที่มาต่อแถวซื้อไปอีกซึ่งแถวยาว มาก ขนาดเราไปถึงกว่าจะได้ทานนานมาก แต่พอทาน แล้วก็สมใจเลยล่ะค่ะ เพราะเป็นข้าวแกงที่อร่อยจริงๆ โดยเฉพาะแกงกะกรี่หมูที่เข้มข้น หมูนุ่ม เวลาเขาราด มาก็จะราดน้ำ�แกงมาท่วมข้าวสวยร้อนๆ เวลาตักกิน ตอนหิวๆ นี่จะฟินและอร่อยสุดๆ นอกจากนั้นยังมีกับ ข้าวอื่นๆ ที่น่ากินอีกมากมาย ข้าวราดสองอย่างคิด ราคา 40 บาท
ก๋วยจั๊บโรงหนังอ้วนโภชนา
ก๋วยจั๊บน้ำ�ใส
โรงหนังไชน่าทาวน์ราม่า ติดกับร้านชายทองเซ่งเฮงหลี ถนนเยาวราช
50 บาท
เปิดทุกวันเวลา 18.00-03.00 น.
เดินขึ้นไปทางถนนเยาวราช บริเวณโรงหนังไชน่าทาวน์ราม่าที่นี่เป็นที่ ตั้งของร้านก๋วยจั๊บชื่อดัง ร้านก๋วยจั๊บอ้วนโภชนา หรือก๋วยจั๊บโรงหนัง เพราะตั้ง อยู่ทางเข้าโรงหนัง ซึ่งโรงหนังแห่งนี้ยังเปิดบริการอยู๋ค่ะ เป็นโรงหนังเก่าๆ นั่งทาน ไปก็นั่งดูบรรยากาศแบบโรงหนังย้อนยุคไปได้บรรยากาศชะมัด ส่วนก๋วยจั๊บร้าน เฮียอ้วยนั้นถูกใจเรามาก เพราะเส้นเขาจะหนึบๆ ไม่เหมือนเส้นก๋วยจั๊บทั่วไป ตัว น้ำ�ซุปก็หอม เผ็ดร้อน พริกไทยเขาบอกว่าเวลาทานร้อนๆ จะช่วยขับลมได้ดีมากๆ ราคา 50 บาท/ถ้วย
มานพ สุกี้รถกระบะ
ซอยเจริญกรุง 27 ใกล้วงเวียนโอเดียน หรือจะเข้าทางถนนมิตรภาพไทย-จีน ซอยสุกร 2 (ซอยตรงข้ามทางเข้าวัดไตรมิตร) ประมาณ 200 เมตรแล้วเลี้ยว ขวาก่อนถึงวงเวียนโอเดียม เปิดบริการตั้งแต่ 18.00 น.
ปิดท้ายเราเดินกลับมาทางวงเวียนโอเดียนเพื่อเดินมาทาน สุกี้ ที่ร้านมานพสุกี้รถกระบะ จุดเด่นของร้านนี้คือเขาใช้รถ กระบะเก่าๆมาทำ�เป็นร้าน มีสุกี้ให้เลือกทั้งน้ำ�และแห้ง น้ำ�สุกี้ รสชาติกลมกล่อม หมูนุ่มๆ ใส่น้ำ�จิ้มสุกี้ ปิดท้ายยามดึกคืนนี้ แบบมีความสุข
สุกี้น้ำ�,สุกี้แห้ง,ก๋วยเตี๋ยวคั่วไก่,ข้าวราดเนื้อผัด น้ำ�มันหอย 50 บาท
หมี่หวานคุณหมวย สามแยกตลาดเก่าเยาวราช สัมพันธวงศ์
เต้าทึงบอกเกี้ย, หมี่หวาน, บัวลอยน้ำ�ขิง
เปิดบริการ 10.00-20.00 น.
30 บาท
อากาศร้อนๆ ก็ต้องหาอะไรทานเย็นๆสัก หน่อยเนอะ วันนี้พวกเราขอนำ�เสนอของหวานอร่อยๆ สูตรโบราณที่หาทานได้ยากแล้วก็คือ "หมี่หวานเต้าทึง ทรงเครื่อง" คือว่าร้านอื่นก็จะมีแต่เต้าทึง โดยใส่เครื่อง ทั่วๆไปจำ�พวก ลูกชิด ทับทิมกรอบ ข้าวโพดฯ อะไร ประมาณนี้ แต่ร้านนี้จะใส่บะหมี่ด้วย บะหมี่ก็จะเป็น บะหมี่เจ ธรรมดาๆนี่แหล่ะค่ะ นำ�ไปลวกขึ้นมา แล้วก็นำ� ไปต้มกับน้ำ�เชื่อม(น้ำ�ตาลอ้อย) ใส่ปนกับเครื่องอื่นๆรวม มิตรกว่า 10 อย่าง ใส่น้ำ�แข็งเย็นๆแล้วหนีบทานแบบ ก๋วยเตี๋ยวนี่แหล่ะค่ะ หวานเย็นอร่อยชื่นใจ เข้ากันดีอย่าง ไม่น่าเชื่อ
ร้านขนมหวาน Sweet Time ถนนเยาวราช สัมพันธวงศ์
เต้าทึง, บัวลอยนมสด, แปะก๋วย, น้ำ�ลำ�ใยร้อน, ถังเต้าฮวย, รวมมิตร
ร้านเปิดตั้งแต่ 18.00 น.– 02.00 น. ทุกวัน
30-110 บาท
ทีเด็ดทีท่ �ำ ให้รา้ นนีข้ ายดี คือ ใช้ วัตถุดบิ อย่างดีในการทำ� และบริการทีเ่ อาใจ ใส่ตอ่ ลูกค้า
ร้านขนมปังเจ้าอร่อยเด็ดเยาวราช หน้าธนาคารออมสิน สาขาเยาวราช ถนน เยาวราช สัมพันธวงศ์
ขนมปังหน้าเนย-น้ำ�ตาล, เนย-นม, เนย-สังขยา, เนย-น้ำ�พริกเผา, เนย-ช็อกโกแลต
เปิดวันอังคาร-อาทิตย์ 18.30 24.00 น. หยุดทุกวันจันทร์
15-20 บาท 0875298088 , 0875980888 , 0813988111
มีขนมปังปิ้งให้เลือกทานถึง 3 แบบด้วยกัน คือ แบบกรอบ แบบนิ่ม และแบบกรอบนอกนุ่มใน และ มีหน้าให้เลือกสั่งถึง 9 ชนิด ได้แก่ เนย-น้ำ�ตาล เนยนม เนย-ช็อคโกแลต เนย-สตรอว์ เบอร์รี่ เนย-ส้ม เนยสับปะรด เนย-ถั่ว เนย-น้ำ�พริกเผา และเนย-สังขยา
คั้นกี่น้ำ�เต้าทอง น้ำ�ขม แก้ร้อนใน บำ�รุงสุขภาพ ปรับสมดุลพลังหยาง น้ำ�หวาน สูตรเก๊กฮวย แก้ร้อนใน เย็นสดชื่น เสริมพลังยิน น้ำ�จับเลี้ยง สูตรหล่อฮั้งก๊วย แก้ร้อนใน แก้ไอ ขับปัสสาวะ มะขามป้อม แก้ไอ แก้เจ็บคอ เย็นชุ่มคอ ใบบัวบก บำ�รุงสมอง ช่วยความจำ� รักษาโรคกระเพาะ
670 อาคาร บริเวณสามแยกเจริญกรุง ถนน เจริญกรุง เปิดบริการ : 08.00 - 22.00 น. ทุกวัน 0-2623-0718
10 บาท ร้านคัน้ กีน่ �ำ้ เต้าทอง ก่อตัง้ เมือ่ ปี พศ.2444 เปิดมากว่า 100 ปีแล้ว และรูจ้ กั กันในนามของ ร้าน ขายน้�ำ ขมและน้�ำ หวาน ตรายีห่ อ้ “น้�ำ เต้าทอง ซังโฮ่ว โล้วเลีย่ งเต๊” อันเป็นเครือ่ งดืม่ จากสมุนไพร สำ�หรับ รับประทานเพือ่ แก้อาการร้อนใน ปรับสมดุล บำ�รุงสุข ภาพ และช่วยให้เจริญอาหาร
ลอดช่องสิงคโปร์ ห้องแถวอาคารพาณิชย์ 680-682 อาคาร สามแยกเจริญกรุง (สามแยกหมอมี)
ลอดช่องสิงคโปร์
เปิดบริการ ทุกวันยกเว้นวันพฤหัสบดี เวลา 11.00-22.00 น. 02-221-5794
20 บาท/ถ้วย เริม่ จากถนนเจริญกรุง เราจะพาคุณมาพบกับร้าน ลอดช่องสิงคโปร์รา้ นแรกของเมืองไทย ทีข่ ายมากว่า 60 ปีเดิมทีชอ่ื ว่าร้านสิงคโปร์โภชนา เพราะในอดีตมี โรงหนังสิงคโปร์หรือโรงหนังเฉลิมบุรีอยุ่บนถนนเส้น นี้ แต่ตอ่ มาหลายคนมักเรียกสัน้ ๆ ว่า ร้านลอดช่อง สิงคโปร์ จึงเปลีย่ นชือ่ ให้จ�ำ ง่ายๆ ว่าร้านลอดช่อง สิงคโปร์แทน ความอร่อยของร้านนีค้ อื แป้งหนึบๆ น้�ำ กะทิหอมหวาน เวลาทานตอนอากาศร้อนๆ จะชือ่ น ใจมากๆ ราคา 20 บาท/ถ้วย เท่านัน้
ร้านน้ำ�เชงเลี้ยง เจ้าเก่าเยาวราช(ตลาดเก่า) ร้านนี้ตั้งอยู่ที่ถนนเยาวราช ระหว่างซอยเยาวพานิชย์และซอยเยาวราช 11 ติดกับร้านขายยาเซี่ยงเฮงฮั่วกี่ หน้าปากซอยตลาดเก่า ร้านนี้เปิดตั้งแต่ 13.00 น. - 24.00 น.ทุกวัน น้ำ�เชงเลี้ยง (คล้ายกับจับเลี้ยง เป็นยา สมุนไพรสดต้ม), น้ำ�รากบัว ใช้รากบัวอย่างดี น้ำ�เก๊กฮวย น้ำ�แห้ว และน้ำ�หล่อฮั้งก้วย
ตั้งอยู่หน้าปากซอยทางเข้าตลาดเก่า น้ำ�สมุนไพรอร่อยๆ วางเป็นแก้วๆ ต้มขายสด ๆ ขายวันต่อวันไม่มีค้าง ไม่ใส่สารกันบูด น้ำ�เชงเลี้ยงของที่นี่จะใช้สมุนไพรสดหลายอย่างมาต้ม กว่าจะใช้ได้ ต้องต้มเคี่ยวประมาณเกือบ 2 ชั่วโมง มีน้ำ�เชงเลี้ยง (คล้ายกับจับ เลี้ยง เป็นยาสมุนไพรสดต้ม), น้ำ�รากบัว ใช้รากบัวอย่างดี มาจาก คุนหมิง มีให้เลือกทั้งแบบร้อนและเย็น นอกจากนี้ยังมีน้ำ�เก๊กฮวย น้ำ� แห้ว และน้ำ�หล่อฮั้งก้วยจำ�หน่ายอีกด้วย แบบแก้ว แก้วละ 10 บาท ใส่ถุงกลับบ้าน 20 บาท เก็บได้ประมาณ 2 -3 วัน
10 บาท
น้ำ�ผลไม้ปั่น คุณฮุง ย่านเยาวราช (ตลาดเก่า) ร้านตั้งอยู่ที่ ซอยเยาวราช 11 (ซอยอิศรานุภาพ)
น้ำ�ส้มปั่น, มะนาวปั่น, มะพร้าวปั่น, แตงโมปั่น, และอื่นๆอีกมากมาย
เปิด 17.30 น. – 01.30 น. ทุกวัน
ราคาเริ่มต้น 25 - 50 บาท
ร้านนี้ขายมา30กว่าปีแล้ว เจ๊ฮุง เจ้าของร้านบอกว่า เมื่อก่อนขายอยู่หน้าถนน หน้าปากซอยเยาวราช 11 ตั้งแต่เป็นทาง ลูกรัง ปัจจุบันร้านเจ๊ฮุง มีน้ำ�ผลไม้ปั่นให้เลือก ประมาณ 100 กว่าอย่าง และเมนูแปลก ๆ ที่ คิดเอง น้ำ�หน้าใส น้ำ�สามสาว ที่ลูกค้านิยมสั่ง ได้แก่ น้ำ�ส้มปั่น มะนาวปั่น มะพร้าวปั่น