Typeface

Page 1


เอกสารประกอบความรู้วิชาออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์

คานา เอกสารประกอบความรู้นี้ได้ศกึ ษาและหาความรู้อ้างอิงจากหนังสือหลายเล่มที่ไตัตีพิมพ์เกี่ยวกับ วิชา ออกแบบตัวอักษรหลายๆเล่ม ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ได้นามาคัดลอกและทาเป็นเอกสารความรู้เพิ่มใน วิชา ออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์ Artd 2304 ทั้งนี้ได้ทาขึ้นเพื่อเป็นการเรียนรู้เพิ่มเติมและเสนอเป็นบทความหลายบทรวมเป็นเล่มในเอกสารความรู้ นี้

ผู้จัดทา นางสาวพุทธรักษา พลขันธ์

1


เอกสารประกอบความรู้วิชาออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์

วิวฒ ั นาการตัวอักษรไทย วิวัฒนาการไทยในยุคแรกๆ สันนิษฐานว่าได้รับอิทธิพลจากตัวอักษรของอินเดีย แต่ไม่ปรากฏมี หลักฐานของอักษรที่ใช้ว่ามีรูปลักษณ์อย่างไร และใช้ตัวอักษรขอมหวัดยุคที่ขอมเรืองอานาจในระยะต่อมา จนกระทั่งเมื่อปี พ.ศ. 1826 พ่อขุนรามคาแหงมหาราชได้ทรงประดิษฐ์อักษรไทยขึ้น เรียกว่า “ลายสื่อไทย” ลาย สื่อไทยที่ทรงประดิษฐ์ขึ้นนั้น ได้ดัดแปลงจากตัวอักษรขอม โดยพยายามให้ลักษณะของตัวอักษรสามารถเขียน ได้ง่ายขึ้น ทรงกาหนดให้วางรูปสระไว้ให้อยู่ในบรรทัดรวมกับตัวพยัญชนะทั้งหมด เช่นเดียวกับแบบอย่าง ตัวอักษรโรมัน และทรงคิดให้มีวรรณยุกต์กากับเสียงขึ้นด้วยอันเป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่นของภาษาไทย จนทุก วันนี้ ลายสื่อไทยทีพ่ ระองค์ทรงประดิษฐ์ขึ้นนี้ ได้นามาใช้เป็นต้นแบบของการพัฒนารูปแบบตัวอักษรในยุค ต่อๆมา ที่เด่นชัดได้แก่ในยุคสมัยของพระฦาไทย เมื่อประมาณปี พ.ศ. 1900 ได้เปลี่ยนเอาสระ อิ อี อึ อื ขึ้นไป เป็นร่ม ละนาสระ อุ อู ลงไปเป็นรองเท้าของพยัญชนะ ส่วนรูปแบบของตัวอักษรจะมีการเปลี่ยนแปลงไปบ้าง เล็กน้อย ในปีพุทธศักราช 2223 รัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชได้พัฒนารูปแบบตัวอักษรอีกครั้ง โดย ได้เปลี่ยนแปลงจากลักษณะเส้นโค้งของตัวอักษรมาเป็นเส้นตรงและเป็นเหลี่ยมมากขึน้ ทาให้สามารถเขียนได้ สะดวกขึ้น การเปลี่ยนแปลงในระยะหลังที่พอจะพบได้เป็นการเปลี่ยนแปลงในลักษณะลีลาการเขียน เช่น แบบอย่างลักษณะตัวอักษรข้อความที่เรียกว่า “แบบย่อไทย” ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ที่มีลีลาการ เขียนเป็นแบของตัวเอน เส้นขนานกันเป็นส่วนใหญ่ และเน้นหางตัวอักษรให้มีลีลาอ่อนช้อย รูปแบบตัวอักษรไทยที่ดูแล้วมีรูปลักษณ์แปลกตาไปจากเดิม ยุคที่มกี ารนาตัวอักษรไทยเข้ามาใช้การ พิมพ์ ในปิ พ.ศ. 2371 ได้มีการพิมพ์อักษรไทยขึ้นเป็นครั้งแรก โดย เจมส์ โลว์ เอกสารที่จัดพิมพ์ขึ้นนั้นเป็น ตาราไวยากรณ์ไทย ชื่อ A GRAMMAR OF THE THAI ตัวอักษรเป็นลักษณะแบบคัดลายมือ รูปลักษณ์ที่ดู แปลกตาไปเนื่องจากเป็นการแกะตัวอักษรจากบล็อก และหล่อจากแม่พมิ พ์ทองแดง แทนการใช้วัสดุขีดเขียน หรือจารึกดังเช่นสมัยก่อน หารพัฒนาระบบการพิมพ์ดาเนินมาอย่างต่อเนื่อง ในปี พ.ศ. 2381 หมอบรัดเลย์ได้ทา การหล่อตัวพิมพ์เพื่อใช้เองในประเทศไทย รูปแบบตัวอักษรขณะนั้นก็ยังคงเป็นแบบอย่างตัวอักษรของ เจอส์ โลว์ แต่ได้แก้ไขให้สวยงามและมีความประณีตมากขึ้น มาจนถึงกระทั่งราวปี พ.ศ. 2385 ที่ได้มกี ารปรับปรุง รูปลักษณ์ของตัวอักษรอย่างชัดเจน โดยออกแบบให้ตัวอักษรมีลักษณะหัวกลม ตัวเหลี่ยม ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าการ สร้างรูปแบบตัวอักษรในครั้งนั้น ได้เป็นแบบอย่างในการพัฒนารูปแบบอักษรที่ใช้ในวงการพิมพ์จนทุกวันนี้ เอกสารอ้างอิง: วรพงศ์ วรชาติอุดมพงศ์.อักษรประดิษฐ์ Lettering design (หน้า 17-19)

2


เอกสารประกอบความรู้วิชาออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์

ทีมารูปภาพ http://www.info.ru.ac.th/province/Sukhotai/srjsd44.htm

3


เอกสารประกอบความรู้วิชาออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์

อักษรตัวพิมพ์ อักษรตัวพิมพ์มีบทบาทต่อการผลิตงานออกแบบกราฟฟิคเป็นอย่างยิ่ง รูปแบบและลักษณะของ ตัวอักษรที่มีความหลากหลายมากมาย การเลือกใช้ตัวอักษรรูปแบบใดต้องขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของงานั้น งานลักษณะหนึ่งอาจจะเหมาะสมแบบหนึ่ง ถ้ามีความเหมาะสมพอพอเหมาะพอดีในการนามาใช้ ก็จะส่งเสริมให้ งานออกแบบนั้นสามารถสื่อความหมายได้อย่างเต็มที่ ในปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมีการสร้าง ตัวอักษรสาเร็จรูปออกมาหลายรูปแบบ เช่น ตัวอักษรจากคอมพิวเตอร์ ตัวพิมพ์ดีด ตัวพิมพ์เรียง และแผ่นพิมพ์ อักษรพิมพ์คือ อักษรสาเร็จรูปได้รับการออกแบบและผลิตเป็นแม่แบบไว้สาหรับใช้ในการสิ่งพิมพ์ต่างๆ อักษรพิมพ์ที่มคี วามสาคัญต่อการออกแบบกราฟฟิคมาก อักษรอักษรตัวพิมพ์ลักษณะพิเศษคือ มีรูปแบบที่ แปลกน่าสนใจ และขนาดที่ใหญ่มาก การใช้สีสันให้สวยงาม อักษรตัวพิมพ์ใช้เสนอเนื้อหาสาระที่ต้องการ นาเสนอโดยเลือกใช้ตัวอักษรที่มีรูปแบบเรียบ ชัดเจน อ่านง่าย

ทีมารูปภาพ https://iruksthai.files.wordpress.com/2013/05/thaioldcards.jpg

4


เอกสารประกอบความรู้วิชาออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์

ตัวพิมพ์สามารถแยกเป็นรูปแบบต่างๆ ได้ดังนี้ 1. ตัวอักษรแบบมีหวั เป็นแบบตัวอักษรที่มหี ัวม้วนกลมโปร่ง เส้นแนวตั้งเรียบ อาจจะเป็นตัวเอนก็ได้ ลักษณะตัวอักษรหัวกลมเป็นมาตรฐานอักษรไทยและถือเป็นลักษณะเด่นรูปลักษณ์อักษรไทย ทา หน้าที่แยกแยะตัวอักษรการกันได้อย่างชัดเจน เมื่อนามาใช้เป็นตัวเนื้อความ (BODY TEXT) สามารถ อ่านข้อความยาวๆ ได้อย่างรวดเร็ว

ทีมารูปภาพ http://img.docstoccdn.com/thumb/orig/131319776.png 2. ตัวอักษรแบบไม่มมี หี วั เป็นแบบตัวอักษรทีดัดแปลงมาจากตัวอักษรภาษาอังกฤษ คือ ลักษณะ ตัวอักษรเป็นเส้นตรงไม่มีการขมวดม้วนของหัวกลม และไม่ได้ออกแบบไว้สาหรับใช้เป็นเป็นตัว เนื้อความ (NONBODY TEXT) สั้นๆ ตัวอักษรแบบไม่มหี ัวจะรวมไปถึงตัวอักษรที่เป็นลวดลายด้วย

ทีมารูปภาพ http://leavetoreturn.com/img_writing/09-09-24-ManopSrisomporn/manop02.jpg

5


เอกสารประกอบความรู้วิชาออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์

3. ตัวอักษรแบบตัวเขียน ตัวอักษรแบบนี้เป็นแบบที่แตกต่างไปจาก 2 แบบแรก การออกแบบจะเน้นให้ รูปแบบตัวอักษรมีลักษณะเป็นตัวลายมือเขียน ซึ่งไม่มีการคานึงถึงสัดส่วนตัวอักษรใช้กับงานพิมพ์ที่ไม่ เป็นทางการ

ทีมารูปภาพ http://t1.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcQlDpuIK0cmBSmmFVIUqWjEQ5qJCpAl2Q6EcyRflapNlHwPhZA0Q 4. ตัวอักษรแบบตัวอาลักษณ์ เป็นตัวอักษรตัวเขียนอีกลักษณะหนึ่ง ลักษณะเป็นตัวอักษรแบบประดิษฐ์ การขมวดหัวกมลโปร่ง เส้นอักษรหนาและบางคล้ายกับการเขียนด้วยพู่กันแบบหรือปากาปลายตัด นิยมใช้กบั งานประกาศนียบัตรและการ์ดต่างๆ

ทีมารูปภาพ http://3.bp.blogspot.com/-Rw-Iy3pMLgQ/TtLpvl_XikI/ เอกสารอ้างอิง: สมคิด หงษ์สุวรรณ.ออกแบบ ประดิษฐ์อักษรไทย-อังกฤษ (หน้า 206-208)

6


เอกสารประกอบความรู้วิชาออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์

การออกแบบตัวอักษร 3 มิติ การออกแบบตัวอักษรโดยทั่วไปจะเป็นแบบ 2 มิติ คือ ตัวอักษรจะมีลกั ษณะความสูงและความกว้าง ส่วนที่จะช่วยให้ตัวอักษรมีมติ ิที่ 3 คือ ความหนา ในส่วนของความหนาคือ การสร้าง เพื่อให้เกิดเงาของตัวอักษร ซึ่งจะช่วยให้ตัวอักษรมีความรูส้ ึก เป็นมิติที่ 3 ขึ้นเงาของตัวอักษรยังช่วยเน้นให้ตัวอักษรมีลักษณะเด่น ชัดเจน ละสวยงาม การออกแบบตัวอักษร 3 มิติ ทาได้หลายวิธี วิธีนี้เรียกว่าเป็นการออกแบบ ที่มีความลึกเพื่อการแสดง เงาของตัวอักษรโดยใช้มุม 45 องศา ก็จะได้ตัวอักษรที่มีเงา ซึ่งเป็นแบบ 3 มิติ แบบง่ายไม่ยุ่งยากซับซ้อน

เอกสารอ้างอิง: ผู้ช่วยศาศตราจารย์สมบูรณ์ ดรุศิลป์.ออกแบบอักษรไทย (หน้า 197-198)

7


เอกสารประกอบความรู้วิชาออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์

and design of individual letters In considering the design and construction of letter, two questions should be asked: firstly, What is a letter ? and secondly , What is a good letter A letter can be described as a symbol consisting of a recognizable arrangement of straight line and curves. An I is vertical line an H two vertical lines vertical lines joined by a horizontal line an A two sloping lines meeting in a point at the top joined by horizontal cross bar an O is a circle a P a vertical line with a curved line starting from the top on the right of the vertical and rejoining the vertical at some point further down when this curved line meet the vertical at its base, the letter becomes a D and therefore no longe reads as a P เอกสารอ้างอิง: B.T Batsford Limited ,London.Lettering for Embroidery (หน้า 20-21)

ทีมารูปภาพ http://blog.pixellogo.com/wpcontent/themes/revolution/timthumb.php?src=http://blog.pixellogo.com/wpcontent/uploads/2011/01/faudimat-mono-sample.png&w=610&h=200&z=1&q=100 แปลโดย พุทธรักษา พลขันธ์

การออกแบบตัวอักษรพื้นฐานแต่การออกแบบตัวอักษรอย่างละตัว ในการพิจารณาการออกแบบและสร้างของตัวอักษร, สองคาถามที่ควรจะถาม คาถามแรกก็คือ อะไรคือ ตัวอักษร? และ อะไรคือการออกแบบตัวอักษรทีด่ ี ตัวอักษรที่สามารถอธิบายเป็นสัญลักษณ์ซึ่งประกอบด้วยการจัดของเส้นตรงและเส้นโค้ง I เป็นเส้นแนวตั้ง H สองเส้นแนวตั้งเส้นแนวตั้งเข้าร่วมด้วยเส้นแนวนอน A สองเส้นลาดในจุดที่ด้านบนเข้าร่วมโดยบาร์ข้ามแนวนอน

8


เอกสารประกอบความรู้วิชาออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์

O เป็นวงกลม P เส้นแนวตั้งที่มีเส้นโค้งที่เริ่มต้นจากด้านบนด้านขวาของแนวตั้ง และเข้าร่วมในแนวตั้งในบางจุด ลงไปอีกเมื่อนี้เส้นโค้งตอบสนองแนวตั้งที่ฐานของมันตัวอักษรกลายเป็น D และดังนั้นจึงไม่ได้อ่านเป็น P

EXECUTION of the BRUSH SCRIPS As a general rule, a beginner will find the free renderings of brush scripts more differicult than that of the formal styles. There are no standard rules to serve as a control, but ability will develop with patient practice until one learn what the brush can produce for him. The one rule that must be remember is that words must be easily and yet present a spontaneous effect. In beginning this study, the this student must constantly guard agint his own handwritten influencing the shapes of the brushscript letter. Most people have some individual characteristics in their hand written which can inhibit the execution of brush style, unless they keep on the alert to prevent these personal characteristics from setting up a standard and repetition way of brushing out any particular letters.

เอกสารอ้างอิง: B.T Mortimer Leach.Lettering for Asvertising (หน้า 143-144)

9


เอกสารประกอบความรู้วิชาออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์

การใช้แปรงในการทาตัวอักษร ในฐานะที่เป็นกฎทั่วไป เริ่มต้นด้วยการฟรีแฮนตัวหนังสือจากปากกาเพื่อออกแบบ ไม่มีกฎระเบียบมาตรฐานใน การเขียน แต่จะมีการพัฒนาความสามารถกฎหนึ่งที่ต้องจาไว้คือว่าคาพูดจะต้องได้อย่างง่ายดายและยังนาเสนอ ผลกระทบที่เกิดขึ้นเอง ในการเริ่มต้นการศึกษาครั้งนี้นักเรียนอย่างต่อเนื่องนี้จะต้องป้องกัน ที่เขียนด้วยลายมือของตัวเองที่มีอิทธิพลต่อ รูปทรงของตัวอักษร คนส่วนใหญ่มีบางลักษณะส่วนบุคคลที่อยู่ในมือของพวกเขาเขียนซึ่งสามารถยับยั้งการ ทางานของรูปแบบแปรงจนกว่าพวกเขาจะเก็บไว้ในการแจ้งเตือนเพื่อป้องกันไม่ให้ ลักษณะส่วนบุคคลเหล่านี้ จากการตั้งค่ามาตรฐานและวิธีการทาซ้าของแปรงออกใด ๆ

10



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.