จำเป็นต่อผู้ที่รู้หลักฐานจะต้องปฏิบัติตามหลักฐาน

Page 1

1


‫‪2‬‬

‫‪การทิ้งรอญิฮโ์ ดยไม่มีเหตุจาเป็ น‬‬ ‫‪บรรดานักวิชาการต่างให้ความสาคัญในการยึดถือตัวบทศาสนาทีถ่ กู ต้องชัดเจน‬‬ ‫‪ดังนัน้ ปั ญหาการขัดแย้งในเรือ่ งใดก็ตามทีไ่ ด้รบั การ “ตัรญิฮ”์ คือได้รบั การ‬‬ ‫็‪ตรวจสอบและชีส้ ถานะของเรือ่ งนัน้ ว่า เป็ น “รอญิฮ”์ (ถูกต้องชัดเจน) แล้วก‬‬ ‫‪จาเป็ นต้องยึดถือปฏิบตั ติ าม และหากละทิง้ สิง่ ที่ “รอญิฮ”์ โดยไม่มเี หตุของความ‬‬ ‫‪จาเป็ น นัน้ อุลามาอ์ได้องิ ก๊าร (ตอบโต้-คัดค้าน) ผูน้ นั ้ ด้วยถ้อยคาทีร่ นุ แรง ดัง‬‬ ‫้ี‪ตัวอย่างต่อไปน‬‬ ‫سيُ َؤدِّي بالمرجوح العمل و الراجح ترك‬ ‫أهل مشابهة و الدين تبديل إلى َ‬ ‫‪:‬هللا دون من أرباباً والرهبان األحبار اتخاذ في الكتاب‬ ‫ح لو و ‪:‬هللا رحمه – تيمية ابن اإلسالم شيخ قال‬ ‫‪:‬يعني[ الباب هذا فُتِّ ًَ‬ ‫]اإلمام أو المذهب لقول مخالفاً كونه بحجة صحً إذا الحديث ترك‬ ‫ض أن لَ َو َج ًَ‬ ‫ب‬ ‫أتباعه في إمام كل يَبْقى و رسوله و هللا أمر عن يُ ْع َر ًَ‬ ‫به هللا عاب ما يُ ْش ِّب ًهُ و للدين تبديل وهذا أمته‪ ،‬في النبي بمنزلة‬ ‫ار ُه ًْم ات َّ َخذُوا( ‪:‬قوله في النصارى‬ ‫ُون ِّم ًْ‬ ‫ّللا د ًِّ‬ ‫ًَِّّ‬ ‫ن أ َ ْربَابا َو ُر ْهبَانَ ُه ًْم أ َ ْحبَ َ‬ ‫لَّ أ ُ ِّم ُروا َو َما َم ْريَ ًَم ابْنًَ َو ْال َم ِّسي ًَ‬ ‫ح‬ ‫احدا ِّإلَها ِّليَ ْعبُدُوا ِّإ ً‬ ‫ُه ًَو ِّإ ً‬ ‫لَّ ِّإلَ ًهَ ل َو ِّ‬ ‫س ْب َحانَ ًهُ‬ ‫ع ًَّما ُ‬ ‫)يُ ْش ِّر ُكونًَ َ‬ ‫‪ 31‬التوبة‬


3

‫(صـ القاسمي الدين لجمال التحديث قواعد‬351 ) การทิง้ รอญิฮ์ (ทีถ่ กู ต้องชัดเจน) และปฏิบตั ติ ามมัรญัวฮ์ (ทีอ่ ่อนกว่า) มันจะ นาไปสูก่ ารเปลีย่ นศาสนา และเหมือนกับพวกชาวคัมภีร์ ในการยึดเอานักปราชญ์ และบาทหลวงเป็ นพระเจ้านอกเหนือจากอัลลอฮ์

ชัยคุล้ อิสลาม อิบนุตยั มียะห์ (รอฮิมะฮุล้ ลอฮ์ กล่าวว่า หากบทนี้ถกู เปิ ด [หมายถึงบททีว่ า่ ด้วยเรือ่ งการทิง้ ฮะดีษ เมือ่ มันมีความถูกต้องในการนามาเป็ น หลักฐานแต่มนั ไปค้านกับคาพูดของมัซฮับหรือคาพูดของอิหม่าม] มันก็จาต้อง ผินหลังให้คาสังของอั ่ ลลอฮ์และรอซูลของพระองค์ และอิหม่ามแต่ละคนก็จะคงอยู่ ในสถานะของท่านนบีในประชาชาติในการปฏิบตั ติ าม และนี่มนั คือการเปลีย่ น ศาสนา และเหมือนกับทีอ่ ลั ลอฮ์ได้ทรงตาหินพวกนะศอรอ ในคากล่าวของ พระองค์ทว่ี า่ “ พวกเขาได้ยดึ เอาบรรดานักปราชญ์ของพกวเขา และบรรดา บาทหลวงของพวกเขาเป็ นพระเจ้าอื่นนอกจากอัลลอฮ์ และยึดเอามะเซียะห์ บุตร ของมัรยา เป็ นพระเจ้าด้วย ทัง้ ๆทีพ่ วกเขามิได้ถกู ใช้นอกจากเพือ่ สักการะต่อพระ เจ้าองค์เดียว ซึง่ ไม่มพี ระเจ้าอื่นใดทีส่ กั การะนอกจากพระองค์เท่านัน้ มหา บริสทุ ธิแด่ ์ พระองค์จากสิง่ พวกเขาได้ตงั ้ ภาคี (ซูเราะห์อตั เตาบะห์ อายะห์ท่ี 31)


4

ก่อวาอิดุลตะฮ์ดสี ของญะมาลุดดีน อัลกอซิมยี ์ หน้าที่ 351 ข้อความข้างต้นนี้ไม่ใช่คาพูดของเรา แต่เป็ นคาพูดของอุลามาอ์ตามทีแ่ สดงแล้ว หากท่านคิดว่ามันแรงเกินไป อยากจะตาหนิ หรือทักท้วงอุลามาอ์กต็ ามสะดวก ครับ

ทาไมต้องชี้แจง ปั ญหาวันอะรอฟะห์ และอีดล้ิ อัฏฮา ทีผ่ า่ นมานัน้ เราไม่ได้ตอบโต้ใครด้วยความ รุนแรง แต่เราพยายามทีจ่ ะตักเตือน,ชีแ้ นะ และบางครัง้ ก็ใช้คาว่า ขอให้แก้ไข หรือขอให้ทบทวนเถิด เราดีใจทีค่ นรุน่ ใหม่มคี วามกระตือรือร้น ต้องการทีจ่ ะปกป้ องศาสนา และตีแผ่ ข้อมูลทางวิชาการ ฉะนัน้ อะไรทีบ่ อกกล่าวกันได้ เราก็บอกกัน ถึงแม้คาแนะนา ของเราจะถูกมองข้าม หรือบางครัง้ มีการสวนกลับด้วยข้อความทีไ่ ม่ควรก็ตาม


5

ผูแ้ ก่ผเู้ ฒ่ามักจะพูดว่า วัยรุน่ เลือดร้อน ก็ตอ้ งบอกว่า เป็ นเรือ่ งปกติ..เราเองก็ ผ่านวัยนี้มาเหมือนกัน และก็เลือดร้อน บ้าระห่าไม่น้อยเลยทีเดียว ดังนัน้ เรา เข้าใจสภาพดี จึงไม่ถอื สาหาความใดๆ กับพวกเขา และขอความกรุณาผูร้ ,ู้ ผูอ้ วุโสของเราบางท่านว่า อย่าได้ถอื สากับข้อความใดๆ ของพวกเขาทีม่ นั อาจจะ เกินเลยไปบ้าง พวกเขาเป็ นลูกหลานของเราทัง้ นัน้ และทีส่ าคัญทัง้ เราและเขา มีอะกีดะห์เดียวกัน เมือ่ พูดถึงการชีแ้ จงเรือ่ งการเข้าเดือนออกเดือน และการกาหนดวันอีดทัง้ สอง นัน้ เราได้เห็นว่า มีการชีแ้ จงจากผูร้ ู้ ครู อาจารย์บางท่าน และมีการชีแ้ จงของ คนทัวไป ่ ซึง่ ภาพทีป่ รากฏให้เห็นคือ 1 –การชีแ้ จงของผูท้ ม่ี คี วามรู้ ในอีดล้ิ อัฏฮาทีผ่ า่ นมานี้ มีประเด็นแทรกทีน่ าเสนอต่อบรรดาผูค้ นคือ ให้ถอื ศีลอด วันวุกฟู ทีอ่ ะรอฟะห์คอื วันจันทร์ และให้เว้นว่างหนึ่งวันคือวันอังคาร แล้วไปออก อีดวันพุธ แนวคิดนี้ถกู นาเสนอและมีการรณรงค์ให้ปฏิบตั ิ ปั ญหาว่า วิธกี ารที่ นาเสนอกันนี้เป็ นประเด็นของการเห็นต่างด้วยหรือไม่ ?


6

หากจะนับว่าเป็ นประเด็นของการเห็นต่างของบรรดาอุลามาอ์ดว้ ย ก็ตอ้ งนาเสนอ ทัศนะของอุลามาอ์ทอ่ี า้ งอิงตัวบทหลักฐานในเรือ่ งนี้ ต้องยืนยันด้วยหลักฐานว่า ใครเห็นต่างกับใคร แล้วเขาใช้อะไรเป็ นหลักฐานหักล้างโต้ตอบกัน แต่เราและผูร้ ขู้ องเราบางท่านได้ชแ้ี จงทัง้ ข้อเขียนและคาบรรยายว่า ไม่ใช่เรือ่ งที่ เป็ นปั ญหาการเห็นต่าง แต่มนั เป็ นทัศนะทีแ่ หวกแนว ทีไ่ ม่มตี วั บทหลักฐาน อ้างอิง ไม่วา่ จะเป็ นตัวบทใช้หรือสนับสนุนให้กระทา แต่บางคนก็พยามยามอ้าง หลัก,ฐานสนับสนุ นแม้วา่ จะไม่ตรงเรือ่ งตรงประเด็นก็ตาม หรือจะยอมรับว่า ประเด็นนี้คอื การเห็นต่างด้วย เพราะบางคนถึงขนาดเถียงแทน และตาหนิผรู้ ขู้ องเราทีช่ แ้ี จงในประเด็นนี้กนั อย่างออกหน้าออกตา และถ้ายืนยัน เช่นนัน้ ก็ตอ้ งแสดงให้เห็นประจักษ์วา่ ทัศนะนี้เกิดขึน้ จริงในแวดวงของอุลามาอ์ และพวกเขาเคยเห็นต่างกันจริง 2 – การชีแ้ จงของคนโดยทัวไป ่ การชูประเด็นว่า เป็ นปั ญหาทีเ่ ห็นต่าง และชีน้ าผูค้ นเพือ่ ให้เรายอมรับเขา แต่ กลับไม่คานึงว่า เขาจะไม่ยอมรับเราหรือไม่, หรือเขาจะด่าเราอย่างไรก็ได้อย่าง นัน้ หรือ ?


7

บางคนถึงขนาดกล่าวว่า คนทีล่ ะหมาดวันอังคารเป็ นมุสลิมหรือเปล่า ? เชือดกุ รบ่านวันอังคารคือการเชือดบูชายันต์, และสารพัดถ้อยคาทีป่ รากฏต่อสาธารณะ ถามว่า เขาหรือเราทีไ่ ม่ยอมรับการเห็นต่าง !! และเมือ่ ผูค้ นได้ชแ้ี จงถ้อยคาด่าทอ เย้ยหยัน และเหยียดหยาม กลับถูกมองว่า “ไม่ยอมรับการเห็นต่าง,ไม่เอาอุลามาอ์หรือกระโดดข้ามหัวอุลามาอ์ พิลกึ ดี !!! อย่างทีเ่ ราพูดอยูบ่ อ่ ยครัง้ ว่า เราจะไม่พดู แค่เพียงว่ามันเป็ นประเด็นของการเห็น ต่างเท่านัน้ แต่เราเรียกร้องให้มกี ารแสดงผลของการเห็นต่าง คือการตีแผ่มุมมอง และหลักฐานของแต่ละฝ่ าย เพือ่ ว่าประชาชนจะได้รบั ทราบ และจะได้มคี าตอบ ให้กบั ตัวเองในการยึดถือปฏิบตั ิ ถามว่า บรรดาอุลามาอ์เขาพูดแค่เพียงว่า อย่าเอาเป็ นเอาตายกับปั ญหาการเห็น ต่าง..เขาพูดแค่น้หี รือ หรือเขาพูดว่า ปั ญหาการเห็นต่างจะนัน้ จะยึดอันไหนก็ได้..เขาพูดกันอย่างนี้หรือ เราเบาความเกินไปหรือเปล่า จึงทาให้เกิดผลพวงทีต่ ดิ ตามมา ณ.เวลานี้


8

ชัยคุล้ อิสลาม อิบนุ ตัยมียะห์ กล่าวว่า ْ ‫ًمثْ َلً َه ِّذ ِّه‬ َ ‫ًال ْج ِّت َها ِّديَّ ِّة‬ َّ "ً‫ًأل َ َحدًِّأَ ْنًيُ ْل ِّز َم‬ ً ِّ ‫ْس‬ ِّ ‫سا ِّئ ِّل‬ ِّ ‫إن‬ َ ‫ًال َم‬ َ ‫ًولَي‬،ًِّ َ ‫ًلًت ُ ْن َك ُرًبِّ ْاليَد‬ ْ ‫ج‬ ًُ‫ًفَ َم ْنًتَبَيَّنَ ًلَه‬،ً‫ًال ِّع ْل ِّميَّ ِّة‬ َ َّ‫الن‬ َ ‫اسً ِّباتِّبَا ِّع ِّهًفِّي َه‬ ِّ ‫اً؛ًولَ ِّك ْنًيَت َ َكلَّ ُمًفِّي َهاً ِّب ْال ُح َج‬ ْ ‫ًو َم ْنًقَلَّ َدًأ َ ْه َل‬،ًُ ْ ‫ص َّحةًُأ َ َحد‬ ْ ‫ًالقَ ْو ِّل‬ ‫علَيْه‬ َ ً‫ار‬ ِّ َ ‫ًفَ َالًإ ْن َك‬:ً‫ًاْلخ َِّر‬ َ ‫ًِّالقَ ْولَي ِّْنًت َ ِّبعَه‬ “ดังปั ่ ญหาทีเ่ กีย่ วกับการวินิจฉัยนี้ทจ่ี ะไม่ถกู ต่อต้านด้วยกาลัง และไม่ใช่วา่ คน หนึ่งคนใดจะบังคับผูค้ นให้ปฏิบตั ติ ามเขา ทว่าเขาจะต้องพูดคุยกันในเรือ่ งนัน้ ด้วยหลักฐานทางวิชาการ, ฉะนัน้ ผูใ้ ดทีช่ ดั เจนแก่เขาแล้วถึงความถูกต้องจาก หนึ่งในสองทัศนะก็ปฏิบตั ติ ามนัน้ แต่ผใู้ ดทีต่ กั ลีดอีกทัศนะหนึ่ง ก็ไม่มกี าร คัดค้านต่อเขา”มัจมัวอุล้ ฟะตาวา ญุซที่ 30 หน้าที่ 80 ท่านอิบนุ ตัยมียะห์ ได้กล่าวถึงปั ญหาทีเ่ กีย่ วกับการวินิจฉัย ทีจ่ ะต้องไม่เอาเป็ น เอาตายระหว่างกัน ซึง่ เราบางคนได้อา้ งอิงคาพูดของท่านในประเด็นนี้ แล้ว กล่าวว่า “เราไม่เอาเป็ นเอาตายกับปั ญหาการเห็นต่าง” ก็ตอ้ งบอกว่า ไม่ผดิ หรอกทีท่ า่ นจะเชือ่ ตาม อภิมหาปราชญ์อวุโส อย่าง อิบนุ ตัย มียะห์ ในกรณีน้ี (ขออัลลอฮ์ทรงเมตตาท่านด้วย)


9

แต่ถามว่า คาพูดและการชีแ้ นะของท่านในข้อความถัดมานัน้ ถูกเพิกเฉยด้วย เหตุใด ?

ท่านอิบนุ ตัยมียะห์ ชีแ้ นะให้มกี ารพูดคุย,ตีแผ่ ด้วยการแสดงหลักฐาน,ข้อ อ้างอิงต่างๆทางวิชาการ ซึง่ กันและกัน มิใช่หรือ แต่เราก็ไม่เห็นว่า จะมีการตีแผ่และการชีแ้ จงใดๆ ให้เป็ นทีป่ ระจักษ์อย่างทีท่ า่ น ได้แนะนาเลย เราได้แต่เพียงกล่าวว่า อย่าเอาเป็ นเอาตายกันเพราะ “มันเป็ น ปั ญหาการเห็นต่าง” จนผูค้ นเข้าใจผิดคิดว่า จะเลือกปฏิบตั อิ ย่างไรก็ได้ นอกจากนัน้ แล้ว ข้อความของท่านอิบนุ ตัยมียะห์ ข้างต้นนี้ ยังได้ชใ้ี ห้เห็นถึง คน 2 จาพวกคือ 1 – คนทีร่ วู้ า่ ทัศนะใดมีความถูกต้อง ก็ให้ยดึ ถือปฏิบตั ติ ามทัศนะนัน้ 2 – คนทีไ่ ม่รู้ ว่าทัศนะใดมีความถูกต้องชัดเจนกว่ากัน และเขาตักลี ๊ ด คือตาม แบบไม่รหู้ ลักฐานในทัศนะทีด่ อ้ ยกว่าก็ไม่เป็ นไร


10

ปั ญหาว่า เราได้ตแี ผ่หรือแสดงหลักฐานของปั ญหานี้ตามทีท่ า่ น อิบนุ ตัยมียะห์ ได้เสนอหรือยังและเราเป็ นใครในคนสองจาพวกทีท่ า่ นกล่าวถึง หากเราได้ศกึ ษา และรูข้ อ้ มูลทางวิชาการในการอ้างอิงตัวบทหลักฐานของของแต่ ละฝ่ าย และทราบถึงการให้น้าหนักของบรรดานักวิชาการ (ตัรญิฮ)์ ในปั ญหานี้ แล้ว เราก็สามารถตัดสินใจได้วา่ อันไหนมีความถูกต้องชัดเจนมากกว่า และควร จะถือปฏิบตั ติ ามอันไหน แต่ถา้ เราเป็ นคนทีไ่ ม่รอู้ ะไรเลย ไม่รวู้ า่ อันไหนถูกต้องชัดเจนกว่ากัน, เราเป็ นแค่ “มุกอ็ ลลิด” ถ้าเช่นนัน้ แล้วก็อย่าเสนอแนะอะไรลอยๆ ให้เกิดความวุน่ วายอีก เลย 25 สิงหาคม 61

เรียนและทบทวนกัน (1) เนื้อหาทีเ่ ราจะเขียนต่อไปนี้คอื การชีแ้ นะ และแนะนา คือแนะผูร้ แู้ ละผูท้ อ่ี ่านตาราได้ ให้ทบทวนตารากัน โดยเฉพาะผูเ้ รียนรูศ้ าสตร์ เฉพาะทางแต่ละสาขาแต่ละแขนงนัน้ สามารถรูศ้ พั ท์เฉพาะทางทีถ่ กู นามาใช้ และเข้าใจถึงขอบเขต,กฎเกณฑ์,เงือ่ นไข,วัตถุประสงค์และเป้ าหมายได้ดี และ สามารถทีจ่ ะต่อยอดข้อมูลทีร่ บั รูไ้ ด้ คือ สามารถนาหลักฐานทีแ่ ต่ละฝ่ ายอ้างอิง นัน้ ไปตรวจสอบความถูกต้องตามกระบวนการทางวิชาการ เพราะผูเ้ รียนรู้


11

เฉพาะทางนัน้ ทราบถึงหลักของการพิจารณา เช่น หลักฐานของฝ่ ายหนึ่งทีถ่ กู กล่าวว่าเป็ น ฏออีฟ หรือ ศอเฮียะห์ ก็สามารถตรวจสอบข้อเท็จจริงได้วา่ เป็ นฏอ อีฟเพราะอะไร และเป็ นศอเฮียะห์ ตามกฎเกณฑ์และเงือ่ นไขใด อย่างนี้เป็ นต้น แนะนา : คือชีแ้ นะผูค้ นทัวไปที ่ ไ่ ม่มโี อกาสเรียนรู้ และเข้าไม่ถงึ ข้อมูลทาง วิชาการ ให้ได้เข้าใจในปั ญหาทีเ่ กิดขึน้ เช่น มีผกู้ ล่าวว่า “ปั ญหาการเห็นต่าง” ก็ จะได้ทราบว่า 1 - อะไรคือการขัดแย้ง และอะไรคือ การเห็นต่าง 2 – การเห็นต่างที่ คิลาฟ และการเห็นต่างทีไ่ ม่คลิ าฟ 3 – คิลาฟอย่างไรทีถ่ กู รับไว้พจิ ารณา และคิลาฟอย่างไรทีไ่ ม่ถกู พิจารณา 4 – การเห็นต่างอย่างไรทีไ่ ด้รบั การสรรเสริญ และการเห็นต่างอย่างไรทีต่ อ้ งถูก ตาหนิ 5 – บทบาทของอุลามาอ์มุจตะฮิด (ผูว้ เิ คราะห์ปัญหา) กับบรรดานักวิชาการ โดยทัวไป ่ 6 – ท่าทีของนักวิชาการและบุคคลทัวไปต่ ่ อตัวของอุลามาอ์มุจตะฮิด 7 – ผลของการเห็นต่างในแต่ละประเภทเป็ นเช่นใด 8 – การให้น้าหนักของบรรดานักวิชาการต่อผลการเห็นต่างของแต่ละฝ่ าย 9 – บุคคลทัวไปจะท ่ าอย่างไรกับผลของการเห็นต่าง และจะนาผลของการเห็น ต่างมาปฏิบตั ไิ ด้อย่างไร การนาเสนอวิชาการเป็ นสิง่ ทีด่ ี แต่การขาดข้อมูลและรายละเอียดทางวิชาการ จะ ทาให้คนทัวไปเกิ ่ ดความสับสน หรือ อย่างน้อยทีส่ ุดก็ควรทาเป็ นบทสรุปของแต่ ละเรือ่ งแต่ละประเด็นก็ยงั ดี


12

ดังนัน้ จะเห็นได้วา่ ทีผ่ า่ นมาเราพยายามเรียกร้องและแนะนาให้มกี ารชีแ้ จงทาง วิชาการ เพราะการพูดแค่เพียงว่า “การเห็นต่าง” นัน้ ไม่เพียงพอทีจ่ ะทาให้สงั คม เกิดความกระจ่าง และมีผลทาให้บางคนฉวยโอกาส โดยขมวดรวมทุกเรือ่ งที่ ถกเถียงและขัดแย้งกันเป็ นปั ญหาการเห็นต่างไปเสียทัง้ หมด เช่นกรณี การถือศีล อดอะรอฟะห์วนั จันทร์ และเว้นวันอังคาร แล้วไปออกอีดวันพุธ อย่างนี้เป็ นต้น อย่างนี้คอื การแอบอ้างและการซุกปั ญหาตบตาผูค้ น ฉะนัน้ กระบวนการพิจารณาและการกรองปั ญหาจึงมีความสาคัญทีอ่ าจละเลย และปั ญหาทีเ่ กิดขึน้ แต่ละเรือ่ งนัน้ ย่อมมีเนื้อหาและรายละเอียดของปั ญหา, กฎเกณฑ์และเงือ่ นไขทีแ่ ตกต่างกันออกไป ดังนัน้ การวิเคราะห์ปัญหาใดๆ จึง ต้องพิจารณาทีล่ ะเรือ่ ง,ทีล่ ะประเด็น อย่างละเอียดรอบครอบ เพราะไม่สามารถ เหมารวม หรือนามาเปรียบเทียบกันได้ทุกเรือ่ ง บางคนกล่าวว่า เรือ่ งนี้เป็ นหน้าทีข่ องอุลามาอ์, ต้องให้อุลามาอ์เป็ นคนสรุป คาพูดนี้ถกู ต้อง สาหรับคนทีไ่ ม่ได้เรียน หรือไม่มขี อ้ มูล และไม่ทราบหลักเกณฑ์ ของการพิจารณา และหากมีผถู้ ามว่า จะตัง้ ตนเป็ นอุลามาอ์เองหรืออย่างไร ตอบว่า..ไม่ใช่ เราไม่บงั อาจทีจ่ ะอ้างตน หรือนาตัวเองไปเปรียบกับ อุลามาอ์ แต่ คนทีส่ อนชาวบ้านจะต้องละเอียดรอบคอบ เพราะอุลามาอ์เขาไม่ได้ให้ขอ้ สรุปใน ทุกเรือ่ ง,ทุกปั ญหาว่าอันไหนคือปั ญหาการเห็นต่าง และอันไหนไม่ใช่ปัญหาการ เห็นต่าง โดยเฉพาะปั ญหาทีเ่ กิดขึน้ ในบ้านเมืองเราที่ บรรดาอุลามาอ์เขาไม่รไู้ ม่ เห็นด้วย เช่นพิธกี รรมอีซกี ุโบร์, วิธกี ารกุนูตฉบับไทยๆ และอีกหลากหลาย ปั ญหา ทีอ่ ุลามาอ์เขาไม่รเู้ รือ่ งกับเราด้วย


13

ฉะนัน้ เรือ่ งทีอ่ ุลามาอ์เขาสรุปไว้วา่ เป็ นปั ญหาการเห็นต่าง เราก็น้อมรับ ส่วนการ พิจาณาหลักฐานของทัง้ สองฝ่ ายก็เป็ นอีกขัน้ หนึ่ง แต่เรือ่ งใดทีอ่ ุลามาอ์เขาไม่รเู้ รือ่ ง (คือเขาไม่รถู้ งึ ปั ญหาทีเ่ กิดขึน้ ) และไม่ม ี บทสรุปจากเขาว่า จะเป็ นปั ญหาการเห็นต่างหรือไม่ อย่างนี้ จะให้ใครเป็ นคน สรุป ถ้าบอกว่าต้องให้อุลามาอ์สรุปเท่านัน้ , ก็อุลามาอ์เขาก็ไม่ได้สรุปเพราะเขา ไม่รถู้ งึ ปั ญหานัน้ แล้วคนทีเ่ รียนรู้ และเข้าใจหลักเกณฑ์ทางวิชาการในการพิจารณา จะให้คาตอบ ได้ไหม ? หรือว่าเขาไม่อาจใช้ความรูท้ ร่ี ่าเรียนมาได้เลย ? ถ้าเช่นนัน้ ต่อไปนี้ คงไม่ตอ้ งให้ลกู หลานของเราเรียนรูห้ ลักเกณฑ์และ รายละเอียดทางวิชาการกันแล้ว เพราะไม่มคี วามจาเป็ นใดๆ แค่สอนให้พวกเขา อ่านได้แปลได้เท่านัน้ เพราะทุกเรือ่ งจะไปสุดอยูท่ อ่ี ุลามาอ์ และคาฟั ตวาของอุลา มาอ์เท่านัน้ , แค่สอนให้แปลฟั ตวาของอุลามาอ์ได้กพ็ อ อย่างนี้ เราคงต้องยุบ โรงเรียน,และสถาบันสอนวิชาการศาสนา แล้วแปรสภาพ ให้เป็ นโรงเรียนสอนภาษาอย่างเดียว !!! แต่อย่ากระนัน้ เลย..เรียนกันเถอะ ถ้าพีน่ ้องบางท่านไม่มโี อกาสเรียน เราก็จะ ทยอยเขียนให้อ่านกันไปเรือ่ ยๆ ทีล่ ะหัวข้อทีล่ ะประเด็น ตามแต่เวลาสะดวก เรียนและทบทวนกัน (2) #คิลาฟ กับ #อิคติลาฟ


14

คาว่า “คิลาฟ” แปลว่า การแย้งกัน, ขัดกัน, ค้านกัน หรือสิง่ ทีอ่ ยูต่ รงกันข้าม, ในเรือ่ งเดียวกัน, ประเด็นเดียวกัน, ประเภทเดียวกัน,ชนิดเดียวกัน, อย่าง เดียวกัน, คนเดียวกัน, วันเดียวกัน,เวลาเดียวกัน, สถานทีเ่ ดียวกัน โดย ขัดแย้งกันหรือค้านกัน เช่นคนหนึ่งบอกว่าถูก และอีกคนหนึ่งบอกว่าผิด, คน หนึ่งบอกว่า ฮะล้าล อีกคนหนึ่งบอกว่าฮะรอม, คนหนึ่งบอกว่าซุนนะห์ และอีก คนหนึ่งบอกว่า บิดอะห์ อย่างนี้เป็ นต้น แต่ถา้ เป็ นการพูดคนละเรือ่ ง, คนละประเด็น, คนละเหตุการณ์,คนละสถานที,่ คน ละคน,คนละชนิด, คนละประเภท,คนละวัน,คนละเวลา,คนละสถานที่ อย่างนี้ไม่ ถือเป็ นการคิลาฟ เช่นคนหนึ่งบอกว่า ละหมาดซุบฮิมสี องร๊อกอะห์ อีกคนหนึ่ง บอกว่า ละหมาดมัฆริบมีสามร๊อกอะห์ อย่างนี้ไม่คา้ นกันเพราะพูดคนละเวลา ตัวอย่างเช่น พระองค์อลั ลอฮ์ทรงกล่าวว่า ً‫ف بِّ َم ْقعَ ِّد ِّه ًْم ْال ُمخَلَّفُونًَ فَ ِّر َح‬ ًَ َ‫ل ِّخال‬ ًِّ ‫سو‬ ًَِّّ ‫بِّأ َ ْم َوا ِّل ِّه ًْم يُ َجا ِّهدُوا أَن َو َك ِّر ُهوا‬ ُ ‫ّللا َر‬ ‫ل فِّي َوأَنفُ ِّس ِّه ًْم‬ ًِّ ‫سبِّي‬ ًَّ َ ِّ‫ّللا‬ “บรรดาผูท้ ถ่ี กู ปล่อยให้อยูเ่ บือ้ งหลังนัน้ ดีใจต่อสถานะของพวกเขาทีต่ รงข้ามกับ ท่านรอซูลของอัลลอฮ์ และพวกเขารังเกียจในการต่อสูด้ ว้ ยทรัพย์ของพวกเขา และชีวติ ของพวกเขาในหนทางของอัลลอฮ์” ซูเราะห์ อัตเตาบะห์ อายะห์ท่ี 81


15

พระองค์อลั ลอฮ์ทรงกล่าวถึงบรรดามุนาฟี กนี ทีพ่ วกเขาไม่ได้ออกร่วมสงคราม ตะบู๊กกับท่านรอซูล ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม ซึง่ สถานะของพวกเขา –คิ ลาฟ- คือตรงข้ามกับท่านรอซูล ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม หรืออย่างทีพ่ ระองค์อลั ลอฮ์ ทรงกล่าวถึงคาประกาศของฟิ รอูนทีจ่ ะลงโทษคนที่ เชือ่ ตามนบีมซู าว่า ً‫ن َوأَ ْر ُجلَ ُكم أَ ْي ِّديَ ُك ًْم ألُقَ ِّطعَ َّن‬ ًْ ‫ص ِّلبَنَّ ُك ًْم ث ًَُّم ِّخ َالفً ِّم‬ َ ُ ‫أ َ ْج َم ِّعينًَ َأل‬ “ข้าขอสาบานว่า ข้าจะตัดมือและเท้าของพวกเจ้าสลับข้างกัน แล้วข้าจะตรึงพวก เจ้าทัง้ หมดไว้ (ทีต่ น้ อินทผลัม)” ซูเราะห์ อัลอะอ์รอฟ อายะห์ท่ี 124 ฟิ รอูนประกาศจะตัดมือและเท้าของข้าทาสบริพานสลับข้างกัน ตัดมือขวาและเท้า ซ้าย หรือตัดมือซ้ายและเท้าขวา คือตรงกันข้ามระหว่าง ซ้าย กับ ขวา พระองค์อลั ลอฮ์ ทรงกล่าวถึงถ้อยคาทีน่ บีซุอยั บ์ ได้กล่าวแก่กลุ่มชนของท่านว่า


16

‫ن أ ُ ِّري ًُد َو َما‬ ًْ َ ‫ع ْن ًهُ أَ ْن َها ُك ًْم َما ِّإلَى أُخَا ِّلفَ ُك ًْم أ‬ ًْ ‫لَّ أ ُ ِّري ًُد ِّإ‬ ً ِّ‫ح إ‬ ًَ َ‫صال‬ ْ ‫اإل‬ َ ‫ن‬ ِّ และฉันไม่ปรารถนาทีจ่ ะขัดแย้งกับพวกท่านในสิง่ ทีฉ่ นั ได้หา้ มพวกท่าน ฉันไม่ ต้องการสิง่ ใดนอกจากจะทาให้มนั ดีขน้ึ ” ซูเราะห์ฮดู อายะห์ท่ี 88 ฉะนัน้ คาว่า “คิลาฟ” จึงมีความหมายว่า ตรงกันข้าม และถ้าเป็ นทัศนะหรือ ความเห็น ก็จะมีความหมายว่า ทัศนะทีต่ รงกันข้าม หรือทัศนะทีข่ ดั แย้งกัน . #ส่วนคาว่า “อิคติลาฟ” ( ‫ ) اختالف‬คือการต่างกัน หรือ เหลื่อมล้ากัน ซึง่ การต่างกันนี้ บางครัง้ อาจจะค้านกันก็ได้ หรืออาจจะไม่คา้ นกันก็ได้ คือการ ต่างกันนัน้ ไม่จาเป็ นต้องค้านกันเสมอไป เช่น ผลไม้ทม่ี คี วามต่างกัน หลากหลายชนิด หรือผลไม่ชนิดเดียวกันแต่มรี สชาติทแ่ี ตกต่างกันออกไป พระองค์อลั ลอฮ์ทรงกล่าวว่า َّ ‫َو‬ َ ‫ل َم ْع ُروشَاتً َو‬ ً‫شًأ َ الَّذِّي َو ُه َو‬ ًَ ‫غي‬ ًَ ‫ع َوالنَّ ْخ‬ ًَ ‫الز ْر‬ َ ‫ْر َّم ْع ُروشَاتً َجنَّاتً أَن‬ ‫أ ُ ُكلُ ًهُ ُم ْختَ ِّلفا‬


17

“และพระองค์คอื ผูซ้ ง่ึ ทาให้มสี วนหลากหลายเกิดขึน้ มีทงั ้ ทีถ่ กู ทาให้มคี ้ายัน และ ไม่ถกู ทาให้มคี ้ายัน ทัง้ ต้นอินทผลัมและพืชพันธ์ทผ่ี ลของมันต่างกัน” ซูเราะห์ อัลอันอาม อายะห์ท่ี 141 หรือตัวอย่างของ อิคติลาฟทีแ่ สดงถึงการค้านกันหรือขัดแย้งกัน ดังที ่ พ่ ระองค์ อัลลอฮ์ ทรงกล่าวในอัลกุรอานว่า ْ ‫َكثِّيرا‬ َ ِّ‫ّللا‬ ‫ن َكانًَ َولَ ًْو ْالقُ ْرآنًَ يَتَ َدب َُّرونًَ أَفَال‬ ًْ ‫ْر ِّع ْن ًِّد ِّم‬ ًِّ ‫غي‬ ًَّ ‫اختِّالفا فِّي ًِّه لَ َو َجدُوا‬ “พวกเขาไม่ได้พจิ ารณาอัลกุรอานบ้างหรอกหรือ หากว่ามันมาจากผูอ้ ่นื ทีไ่ ม่ใช่ อัลลอฮ์ แน่นอน เขาก็จะพบว่า ในมันนัน้ มีความขัดแย้งกันกันมากมาย” ซูเราะห์ อันนิซาอ์ อายะห์ท่ี 82 เมือ่ คาว่า “อิคติลาฟ” สือ่ ความหมายถึง การต่างทีค่ า้ นกันก็ได้ และการต่างทีไ่ ม่ ค้านกันก็ได้ ดังนัน้ บรรดานักวิชาการได้จาแนกการเห็นต่างเป็ นสองประเภท หลักด้วยกันคือ” อิคติลาฟ ตะเนาวุอ”์ และ “อิคติลาฟ ตะดอฏ” ْ ً‫) تَن َُّوع‬ #ประเภททีห่ นึ่ง อิคติลาฟตะเนาวุอ์ ( ‫ف‬ ًُ ‫اختِّ َال‬


18

คือการต่างทีไ่ ม่คา้ นกัน แต่เป็ นการแจงรายละเอียด หรือประเภท/สกุล ( ‫ ) جنس‬เดียวกัน แต่ชนิด (‫ ) نوع‬ต่างกัน, หรือเป้ าหมายเดียวกันแต่ต่างกัน ในวิธกี ารทีม่ ตี วั บทรับรอง หรือการต่างกันทีศ่ าสนาอนุญาตให้เลือกปฏิบตั ิ ตัวอย่างของการต่างทีไ่ ม่คา้ นกันนี้มมี ากมาย เช่น การอ่านดุอาอ์ อิฟติตาฮ์ ทีม่ หี ลักฐานหลายบท ซึง่ ผูป้ ฏิบตั สิ ามารถเลือกอ่านบท หนึ่งบทใดก็ได้ คือจะอ่าน “อัลฮุอกั บัรกะบีรอ...” หรือจะอ่าน “วัจญะฮ์ตุ...” หรือจะอ่าน “อัลลอฮุมม่าบาอิดบัยนี...” ก็ได้ อย่างนี้เป็ นต้น หรือสานวนถ้อยคาอิกอมะห์ ว่าจะกล่าวซ้าสองครัง้ หรือจะกล่าวซ้าสีค่ รัง้ เหมือน สานวนการอะซาน หรือจานวนการตักบีรของการละหมาดอีดทัง้ สองว่า ในร๊อกอะห์แรกจะกล่าวกี่ ครัง้ และในร๊อกอะห์ทส่ี องจะกล่าวกีค่ รัง้ อย่างนี้เป็ นต้น ตัวอย่างของคิลาฟตะเนาวุอ์ นี้มอี ยูม่ ากมาย ซึง่ ความเห็นและวิธกี ารปฏิบตั ทิ ่ี แตกต่างกันนี้ ล้วนแต่อา้ งอิงอยูก่ บั การยึดถือตัวบทหลักฐาน เพียงแต่วา่ ทัศนะ


19

ไหนจะมีน้าหนักชัดเจนและแข็งแรงมากกว่ากัน และบางกรณีกส็ ามารถ ประสานทัศนะต่างๆ เข้าด้วยกันได้ ผลของการเห็นต่างกันในประเภทนี้ได้รบั การยอมรับทัง้ สองฝ่ าย และไม่สามารถ ตาหนิฝ่ายหนึ่งฝ่ ายใดได้ เนื่องจากเป็ นความพยายามของทุกฝ่ ายทีจ่ ะใกล้ชดิ คา สอนของศาสนาให้มากทีส่ ุด เช่นการทีพ่ ระองค์อลั ลอฮ์ได้กล่าวถึงการเห็นต่างกันในหมูศ่ อฮาบะห์เรือ่ งการตัด ต้นอินทผลัม เพือ่ ให้บรรดาพวกยะฮูดมีความคับแค้นใจและต่าต้อย โดยทีฝ่ ่ าย หนึ่ง เห็นควรให้ตดั และอีกฝ่ ายหนึ่งเห็นว่าควรปล่อยมันไว้ และเมือ่ เหล่าศอ ฮาบะห์ไปถามท่านรอซูลเกีย่ วกับเรือ่ งนี้ พระองค์อลั ลอฮ์กท็ รงประทานข้อความ กล่าวชืน่ ชมทัง้ สองฝ่ ายว่า َ َ‫ن ق‬ ‫ط ْعت ًُْم َما‬ ًْ ‫علَى قَائِّ َمةً ت َ َر ْكت ُ ُمو َها أَ ًْو ِّلينَةً ِّم‬ ًِّ ‫ّللا فَبِّإِّ ْذ‬ ًَِّّ ُ ُ‫ن أ‬ َ ‫صو ِّل َها‬ “การทีพ่ วกเจ้าโค่นต้นอินทผลัมหรือปล่อยมันยืนต้นบนรากของมันก็ดว้ ยอนุมตั ิ ของอัลลอฮ์” ซูเราะห์ อัลฮัชร์ อายะห์ท่ี 5


20

หรือในเหตุการณ์ทท่ี า่ นนบี ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม ยอมรับการเห็นต่างกัน ของเหล่าศอฮาบะห์ จากคาสังของท่ ่ านทีก่ ล่าวว่า ‫في العصر بعضهم فأدرك قريظة بني في إل العصر أحد يصلين ل‬ ‫لم نصلي بل بعضهم وقال نأتيها حتى نصلي ل بعضهم فقال الطريق‬ ‫منهم واحدا يعنف فلم وسلم عليه هللا صلى للنبي ذلك فذكر ذلك منا يرد‬ “คนใดก็ตามอย่าได้ละหมาดอัศร์ นอกจากทีบ่ นีกุรอยเซาะห์เท่านัน้ แต่เวลาอัศร์ ได้มาถึงพวกเขาระหว่างทาง ศอฮาบะห์กลุ่มหนึ่งกล่าวว่า พวกเราจะไม่ละหมาด จนกว่าไปถึงเสียก่อน และอีกกลุ่มกล่าวว่า พวกเราจะละหมาด แล้วก็ไม่มใี ครใน หมูพ่ วกเราทีค่ ดั ค้าน เรือ่ งนี้ถกู เล่าให้ทา่ นนบี ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม ได้รบั ทราบแต่ท่านก็ไม่ได้ตาหนิคนใดในหมูพ่ วกเขา” ศอเฮียะห์บุคอรี ฮะดีษ เลขที่ 894

ْ ً‫ضاد‬ .#ประเภททีส่ อง อิคติลาฟ ตะดอฏ ( ‫ف‬ ًُ ‫اختِّ َال‬ َ َ‫) ت‬ คาว่า “ตะดอฏ” ในทางภาษานัน้ มีความหมายว่าตรงกันข้าม หรือเป็ นปรปั กษ์ ต่อกัน เช่นพระองค์อลั ลอฮ์ทรงกล่าวว่า


21

‫سيَ ْكفُ ُرونًَ َكال‬ َ ‫ض ًّدا‬ ِّ َ ‫علَ ْي ِّه ًْم َويَ ُكونُونًَ بِّ ِّعبَا َدتِّ ِّه ًْم‬ “หาได้เป็ นเช่นนัน้ รูปปั น้ เหล่านัน้ จะปฏิเสธการศรัทธาของพวกเขา และพวกมัน จะเป็ นปรปั กษ์ต่อพวกเขา” ซูเราะห์ มัรยัม อายะห์ท่ี 82 ฉะนัน้ คาว่า “ตะดอฏ” จึงมีความหมายว่า ขัดกัน หรือเป็ นปรปั กษ์กนั ซึง่ การ เห็นต่างทีต่ รงกันข้าม, หรือทัศนะทีค่ า้ นกันสุดขัว้ เช่นฝ่ ายหนึ่งบอกว่าได้ อีก ฝ่ ายหนึ่งบอกว่าไม่ได้, ฝ่ ายหนึ่งบอกว่าถูกและอีกฝ่ ายหนึ่งบอกว่าผิด, ฝ่ ายหนึ่ง บอกว่าเป็ นซุนนะห์ และอีกฝ่ ายหนึ่งบอกว่าเป็ นบิดอะห์ จึงถูกเรียกว่า “คิลาฟ ตะดอฏ” การเห็นต่างประเภทนี้ไม่สามารถประสานทัศนะทัง้ สองฝ่ ายเข้าด้วยกันได้ และ ผลของการเห็นต่างประเภทนี้จะถูกทัง้ คูไ่ ม่ได้ แต่ทถ่ี กู ต้องมีอยูเ่ พียงหนึ่งเดียว เท่านัน้ อัลกอฏีย์ อบูตตอยยิบ๊ อัตฏอบะรีย์ กล่าวว่า


22

ْ ‫علَى‬ ً‫ن ْال َح ُّق‬ ًْ ‫ل ِّم‬ ًِّ ‫احدً ْال ُم ْجتَ ِّهدِّينًَ قَ ْو‬ ًُ ‫اطلً َو ْاْلخ‬ ًْ ‫اختَلَفُوا َو ِّإ‬ ِّ ‫ َو‬، ‫َر‬ ِّ َ‫ ب‬، ‫ن‬ َ ‫ل ثَ َالثَ ًِّة‬ ًَ ‫فَأ َ ْكث َ ًَر أَقَا ِّوي‬ “ความถูกต้องจากคาพูดของบรรดามุจญตะฮิดนัน้ มีเพียงหนึ่งเดียว ส่วนทัศนะ อื่นนัน้ ผิดพลาด ถึงแม้พวกเขาจะขัดแย้งกันถึงสามทัศนะหรือมากกว่านัน้ ก็ตาม อัลบะฮ์รลุ้ มุฮดี หน้าที่ 283 และการเห็นต่างประเภทนี้ เมือ่ ถูกพิสจู น์หรือถูกยืนยันอย่างแน่ชดั ว่า ทัศนะไหน คือความถูกต้องก็จะต้องยึดถือปฏิบตั ติ ามนัน้ และจะต้องตาหนิสงิ่ ทีต่ รงกันข้าม ด้วย َّ ، ‫ت‬ ً‫ْن ِّإ ْح َدى فًِّي ًِّه ُح ِّم ًَد َما ُه َو‬ ًِّ ‫الطائِّفَتَي‬ ًِّ ‫ْاأل ُ ْخ َرى َوذُ َّم‬ “มันคือการเห็นต่างทีผ่ ลของฝ่ ายหนึ่งได้รบั การสรรเสริญและอีกฝ่ ายหนึ่งถูก ตาหนิ” .ซัรฮุล้ ฏออฮาวียะห์ หน้าที่ 781 คาว่าตาหนิทถ่ี กู กล่าวนี้คอื การตาหนิผลของการเห็นต่าง ไม่ใช่ตาหนิตวั ผู้ วินิจฉัย เพราะผูว้ นิ ิจฉัยได้รบั สิทธิ ์คุม้ ครอง ซึง่ จะได้กล่าวในครัง้ ต่อไป อิน ชาอัลลอฮ์


23

ฉะนัน้ ผลของการเห็นต่างในการขัดแย้งประเภทนี้จะไม่ถกู กล่าวว่า ทัศนะหนึ่งดี และทัศนะหนึ่งดีกว่า หรือทัศนะหนึ่ง ถูกต้องและอีกทัศนะหนึ่งถูกต้องกว่า แต่ความถูกต้องมีเพียงหนึ่งเดียวเท่านัน้ บรรดานักวิชาการได้แสดงหลักฐานการเห็นต่างทีถ่ กู ตาหนิในประเภทนี้เช่น พระองค์อลั ลอฮ์ทรงกล่าวว่า ً‫ّللاُ شَا ًَء َولَ ْو‬ ًَّ ‫ل َما‬ ًَ َ‫ن الَّذِّينًَ ا ْقتَت‬ ًْ ‫ن بَ ْع ِّد ِّه ًْم ِّم‬ ًْ ‫ن ْالبَيِّنَاتًُ َجا َءتْ ُه ًُم َما بَ ْع ًِّد ِّم‬ ًِّ ‫َولَ ِّك‬ ْ ‫ن فَ ِّم ْن ُه ًْم‬ ‫اختَلَفُوا‬ ًْ ‫ن َو ِّم ْن ُه ًْم آ َمنًَ َم‬ ًْ ‫َكفَ ًَر َم‬ “และหากอัลลอฮ์ทรงประสงค์แล้ว บรรดาผูท้ ม่ี าหลังจากพวกเขาก็คงไม่ฆา่ ฟั น กัน หลังจากทีไ่ ด้มหี ลักฐานอันชัดแจ้งมายังยังพวกเขา แต่ทว่าพวกเขาขัดแย้ง กัน และในหมูพ่ วกเขานัน้ มีผทู้ ศ่ี รัทธา และในหมูพ่ วกเขานัน้ มีผทู้ ป่ี ฏิเสธศรัทธา” ซูเราะห์อลั บะกอเราะห์ อายะห์ท่ี 253 ْ ‫ت َكفَ ُروا فَالَّذِّينًَ َربِّ ِّه ًْم فِّي‬ ً‫ان‬ ًِّ ‫ص َم‬ ًْ َ‫ن ثِّيَابً لَ ُه ًْم قُ ِّطع‬ ًْ ‫ِّم‬ ْ ‫ص ُموا َخ‬ َ َ‫اخت‬ ِّ ‫ان ًَه َذ‬ ً‫نَار‬


24

“ผูท้ โ่ี ต้เถียงทัง้ สองฝ่ ายนี้ต่างก็เถียงกันเกีย่ วกับองค์อภิลบาลของพวกเขา สาหรับบรรดาผูป้ ฏิเสธศรัทธานัน้ มีอาภรณ์จากไฟนรกทีถ่ กู ตัดไว้สารับพวกเขา” ซูเราะห์ อัลฮัจญ์ อายะห์ท่ี 19 ْ ‫ل فِّي ًِّه‬ ‫ف َو َما‬ ًَ َ‫اختَل‬ ًَّ ِّ‫ن أُوتُوًهُ الَّذِّينًَ إ‬ ًْ ‫بَ ْينَ ُه ًْم بَ ْغيا ْالبَ ِّينَاتًُ َجا َءتْ ُه ًُم َما بَ ْع ًِّد ِّم‬ “และไม่มใี ครขัดแย้งในคัมภีรน์ นั ้ นอกจากบรรดาผูท้ ไ่ี ด้รบั คัมภีรน์ นั ้ มา หลังจาก ทีบ่ รรดาหลักฐานอันชัดแจ้งได้มายังพวกเขา ทัง้ นี้เพราะความอิจฉาริษยาใน ระหว่างพวกเขา” ซูเราะห์อลั บะกอเราะห์ อายะห์ท่ี 213

เรียนและทบทวนกัน (3) มัสอะละห์อจิ ติฮาดียะห์ และ มัสอะละห์คลิ าฟี ยะห์


25

คาว่า “มัสอะละห์” ( ‫ ) مسألة‬มีความหมายว่า “ปั ญหา” เป็ นคาเอกพจน์ และถ้าอยูใ่ นรูปของพหูพจน์จะใช้คาว่า “มะซาอิล้ ” (‫ ) مسائل‬แปลว่า “ปั ญหา ต่างๆ” คาว่า “อิจติฮาด” ( ‫ ) اجتهاد‬แปลว่า “การวินิจฉัย” และเมือ่ อยูใ่ นรูปคาว่า “อิจติฮาดียะห์” ( ‫ ) اجتهادية‬มีความหมายว่า “เกีย่ วกับการวินิจฉัย” เมือ่ นาสองคานี้มาสมาสกันเป็ น “มัสอะละห์อจิ ติฮาดียะห์” หรือ “มะซาอิล้ อิจติ ฮาดียะห์” จึงมีความหมายว่า “ปั ญหาทีเ่ กีย่ วกับการวินิจฉัย” หรือ “ปั ญหาที่ ต้องอาศัยการวินิจฉัย” ส่วนคาว่า “มัสอะละห์คลิ าฟี ยะห์” คือปั ญหาทีม่ กี ารขัดแย้ง” ซึง่ เราได้อธิบาย คาว่า “คิลาฟ” ไว้ก่อนหน้านี้แล้ว หากมีผถู้ ามว่า “มัสอะละห์อจิ ติฮาดียะห์” กับ “มัสอะละห์คลิ าฟี ยะห์” ไม่ เหมือนกันหรอกหรือ ?


26

คาตอบคือ ไม่เหมือนกัน, เป็ นคนละประเภทกัน ซึง่ เราจะชีแ้ จงให้ เห็นดังนี้ #ประเภททีห่ นึ่ง มัสอะละห์ อิจติฮาดียะห์ มัสอะละห์อจิ ติฮาดียะห์ หรือปั ญหาทีต่ อ้ งอาศัยการวินิจฉัยนัน้ คือปั ญหาทีไ่ ม่ม ี ตัวบทหลักฐานมายืนยันในเรือ่ งนัน้ ๆ โดยบรรดาอุลามาอ์ต่างก็วนิ ิจฉัยตาม มุมมองทีต่ นเองเข้าใจ ซึง่ อาจจะถูกแลผิดก็ได้ และทัง้ สองฝ่ ายก็ไม่สามารถ ตาหนิฝ่ายหนึ่งฝ่ ายใด เพราะทัง้ สองนัน้ ต่างก็ไม่มหี ลักฐานมายืนยันทัง้ คู่ เชค อับดุรเราะห์มาน อาลิ เชค ได้อธิบายคาพูดข้างต้นนี้วา่ ‫كان من كائنا العلماء من أحد لقول الدليل ترك من على اإلنكار يجب‬ ‫الجتهاد مسائل في إل التقليد يسوغ ل وأنه هذا على األئمة ونصوص‬ ‫عناه الذي هو فهذا سنة ول كتاب من إليه يرجع فيها دليل ل التي‬ ‫ بقوله العلماء بعض‬: ‫خالف من وأما اإلجتهاد مسائل في إنكار ل‬ ‫ومالك والشافعي عباس ابن قال كما عليه الرد فيجب والسنة الكتاب‬ ‫وأحمد‬


27

“จาเป็ นต้องปฏิเสธต่อผูท้ ท่ี ง้ิ หลักฐานแล้วไปยึดเอาคาพูดของคนหนึ่งคนใดจาก บรรดาอุลามาอ์ ไม่วา่ จะเป็ นใครก็ตาม และตัวบทของบรรดาปวงปราชญ์ในเรือ่ ง นี้ เพราะมันไม่อนุ ญาตให้ตามแบบไม่รหู้ ลักฐาน นอกจากปั ญหาต่างๆทีต่ อ้ ง วินิจฉัย ซึง่ ไม่มหี ลักฐานบ่งชีใ้ นเรือ่ งนัน้ ไม่วา่ จากอัลกุรอานหรือจากซุนนะห์ นี่ แหละทีน่ กั วิชาการบางท่านได้กล่าวถึงด้วยคาพูดทีว่ า่ ไม่มกี ารปฏิเสธในปั ญหา ต่างๆทีต่ อ้ งวินิจฉัย ส่วนผูท้ แ่ี ย้งกับอัลกุรอานและซุนนะห์นนั ้ จาเป็ นต้องตอบโต้ เขา ดังที ่ ่ อิบนุ อับบาส, ชาฟี อ,ี มาลิก และ อะห์หมัด ได้กล่าวไว้” ฟั ตฮุล มะญีด หน้าที่ 556 คาอธิบายข้างต้นนี้ชใ้ี ห้เห็นว่า มัสอะละห์อจิ ติฮาดียะห์ หรือปั ญหาทีต่ อ้ งอาศัย การวินิจฉัย คือปั ญหาทีไ่ ม่มตี วั บทหลักฐานมายืนยันทัง้ สองฝ่ าย ดังนัน้ จึง จะต้องไม่เอาเป็ นเอาตายระหว่างกัน หรือปฏิเสธซึง่ กันและกันนัน้ เพราะเป็ น ปั ญหาทีค่ ขู่ ดั แย้งทัง้ สองฝ่ ายไม่มหี ลักฐานจากอัลกุรอานและฮะดีษมายืนยัน ด้วยกันทัง้ คู่ และไม่อาจชีไ้ ด้วา่ ฝ่ ายใดมีความถูกต้องมากกว่ากัน


28

ส่วนผลของการวินิจฉัยนัน้ อาจจะตรงกัน หรือต่างกัน หรือค้านกันก็ได้ 1 - ผลของการวินิจฉัยตรงกันหรือสอดคล้องกัน เรียกว่า “อิตติฟาก” ( ‫) اتفاق‬

2 – ผลของการวินิจฉัยต่างกัน เรียกว่า “อิคติลาฟ” ( ‫) اختالف‬ 3 – ผลของการวินิจฉัยค้านกันหรือขัดแย้งกัน เรียกว่า “คิลาฟ” ( ‫) خالف‬ และไม่วา่ ผลของการวินิจฉัยออกมาต่างกันหรือค้านกัน ก็ไม่อาจตัดสินได้วา่ ฝ่ าย หนึ่งฝ่ ายใดหลงผิด อันเนื่องมาจากเป็ นปั ญหาทีแ่ ต่ละฝ่ ายไม่มตี วั บทหลักฐานมา ยืนยันในเรือ่ งนัน้ ด้วยกันทัง้ คู่ ชัยคุล้ อิสลาม อิบนุ ตัยมียะห์ กล่าวว่า َّ ‫ل‬ "ً‫إن‬ ًَ ْ‫ل َه ِّذًِّه ِّمث‬ ًِّ ِّ‫سائ‬ ًَ ‫ بِّ ْاليَ ًِّد ت ُ ْن َك ًُر‬، ‫ْس‬ ًَ ‫ن ِّأل َ َح ًِّد َولَي‬ ًْ َ ‫يُ ْل ِّز ًَم أ‬ َ ‫ل ِّال ْجتِّ َها ِّديَّ ًِّة ْال َم‬ ًَ َّ‫ن ؛ فِّي َها ِّباتِّبَا ِّع ًِّه الن‬ ‫اس‬ ًْ ‫ج فِّي َها يَت َ َكلَّ ًُم َولَ ِّك‬ ًِّ ‫ ْال ِّع ْل ِّميَّ ًِّة ِّب ْال ُح َج‬، ‫ن‬ ًْ ‫لَ ًهُ تَبَيَّنًَ فَ َم‬ ُ‫ص َّح ًة‬ ًِّ ‫ ت َ ِّبعَ ًهُ ْالقَ ْولَي‬، ‫ن‬ ًْ ‫ل قَلَّ ًَد َو َم‬ ًَ ‫ل أ َ ْه‬ ًِّ ‫َر ْالقَ ْو‬ ًِّ ‫ ْاْلخ‬: ‫ال‬ ً َ َ‫ار ف‬ ًَ ‫علَيْه إ ْن َك‬ ِّ ‫ْن أَ َح ًِّد‬ َ " ‫( "الفتاوى مجموع " من انتهى‬30/80) “ดังปั ่ ญหาทีเ่ กีย่ วกับการวินิจฉัย (มัสอะละห์อจิ ติฮาดียะห์) นี้ทจ่ี ะไม่ถกู ต่อต้าน ด้วยกาลัง และไม่ใช่วา่ คนหนึ่งคนใดจะบังคับผูค้ นให้ปฏิบตั ติ ามเขา ทว่าเขา


29

จะต้องพูดคุยกันในเรือ่ งนัน้ ด้วยหลักฐานทางวิชาการ, ฉะนัน้ ผูใ้ ดทีช่ ดั เจนแก่เขา แล้วถึงความถูกต้องจากหนึ่งในสองทัศนะก็ปฏิบตั ติ ามนัน้ แต่ผใู้ ดทีต่ กั ลีดอีก ทัศนะหนึ่ง ก็ไม่มกี ารคัดค้านต่อเขา” .

#ประเภททีส่ อง มัสอะละห์ คิลาฟี ยะห์ คือปั ญหาทีน่ กั วิชาการมีความขัดแย้งกันโดยทีแ่ ต่ละฝ่ ายต่างก็มหี ลักฐานยืนยัน ทัศนะของตนเอง ไม่วา่ หลักฐานนัน้ จะถูกมากหรือถูกน้อย, จะ ศอเฮียะห์ หรือ ฏออีฟ ก็ตาม ‫والسنة الكتاب من نصوص أو نص فيها ثبت التي الخالفية المسائل‬ ‫ أحد صحة على تدل‬،‫على واإلنكار النص اتباع حينئذً فالواجب األقوال‬ ‫المخالف‬. ‫المجتهدين من فيها أخطأ من عذر مع‬

http://www.saaid.net/Warathah/Alkharashy/29.htm

“ปั ญหาคิลาฟี ยะห์นนั ้ คือปั ญหาทีม่ ตี วั บทหลักฐานยืนยันจากอัลกุรอานและซุน นะห์ทช่ี ถ้ี งึ ความถูกต้องเพียงหนึ่งในทัศนะทัง้ หลาย โดยจาเป็ นต้องปฏิบตั ติ ามตัว


30

บทและปฏิเสธ (อิงการ) ทัศนะทีข่ ดั แย้ง พร้อมกับต้องงดการตาหนิผทู้ ผ่ี ดิ พลาด จากบรรดาผูว้ นิ ิจฉัย” เมือ่ เราได้ทราบคาจากัดความของ “มัสอะละห์อจิ ติฮาดียะห์” และ “มัสอะละห์ค ิ ลาฟี ยะห์” แล้ว ทาให้เราได้เห็นความแตกต่างของปั ญหาทัง้ สองประเภทนี้คอื 1 – มัสอะละห์อจิ ติฮาดียะห์ คือปั ญหาทีไ่ ม่มตี วั บทหลักฐานมายืนยัน แต่ “มัสอะละห์คลิ าฟี ยะห์” คือปั ญหาทีม่ ตี วั บทมายืนยัน (ไม่วา่ หลักฐานทีน่ ามา อ้างอิงจะถูกหรือผิดก็ตาม ซึง่ ต้องพิจารณาในกระบวนการ “ตัรญิฮ”์ ) 2 – มัสอะละห์อจิ ติฮาดียะห์ ไม่อนุ ญาตให้ อิงการ (ต่อต้าน-คัดค้าน) แต่มสั อะละห์คลิ าฟี ยะห์นนั ้ ความถูกต้องมีหนึ่งเดียวและต้อง อิงการ (ต่อต้านคัดค้าน) ทัศนะทีข่ ดั แย้งกับความถูกต้อง คาว่า “อิงการ” ทีถ่ กู ระบุในคาจากัดความข้างต้นนี้ มีความหมายว่า การปฏิเสธ, ต่อต้าน,ว่ากล่าว,ตาหนิ,ทักท้วง หรือคัดค้าน ทัศนะทีไ่ ม่ถกู ต้อง ไม่ใช่การตัด ญาติขาดมิตร หรือตัดความสัมพันธ์ความเป็ นพีน่ ้องมุสลิมแต่อย่างใด อาจจะมีความเข้าใจทีค่ าดเคลื่อนในการจาแนกประเภทปั ญหาทัง้ สองตามทีก่ ล่าว ข้างต้นนี้ จึงทาให้มผี กู้ ล่าวว่า


31

‫الخالف مسائل في إنكار ل‬ “ไม่มกี ารอิงการ (ต่อต้าน-คัดค้าน) ในปั ญหาการขัดแย้ง” และคาพูดนี้กแ็ พร่กระจายในหมูป่ ระชาชน และกลายเป็ นประเด็นถกเถียงกันไม่รู้ จบสิน้ ซึง่ ท่านชัยคุล้ อิสลาม อิบนิ ตัยมียะห์ และลูกศิษย์ของท่านคือ อิบนุ ก็อยยิม ได้ให้คาตอบตรงกันว่า การพูดเช่นนี้ไม่ถกู ต้อง ‫بصحيح ليس فيها إنكار ل الخالف مسائل وقولهم‬ “และคาพูดของพวกเขาทีว่ า่ ปั ญหาการขัดแย้งนัน้ ไม่มกี ารอิงการ (ต่อต้านคัดค้าน) ซึง่ กันและกันนัน้ มันไม่ถกู ต้อง” ฟะตาวาอัลกุบรอ ญุชอ์ท่ี 6 หน้าที่ 96


32

แต่คาพูดทีถ่ กู ต้องคือ ‫الجتهاد مسائل في إنكار ل‬

“ไม่มกี ารอิงการ (คัดค้าน-ต่อต้าน) ในปั ญหาทีต่ อ้ งวินิจฉัย” คือปั ญหาทีไ่ ม่มตี วั บทหลักฐานยืนยันทัง้ สองฝ่ าย และไม่อาจกล่าวได้วา่ ฝ่ าย หนึ่งถูกและฝ่ ายหนึ่งผิด ดังทีก่ ล่าวแล้วข้างต้น

ส่วนปั ญหาคิลาฟี ยะห์ ทีม่ ตี วั บทหลักฐานมายืนยันทัง้ สองฝ่ าย ไม่วา่ หลักฐานทีน่ ามาแสดงนัน้ จะถูกหรือผิด,จะถูกมากหรือถูกน้อยก็ตาม แต่ เมือ่ ตรวจสอบแล้วพบว่าฝ่ ายไหนมีความถูกต้องชัดเจนมากกว่ากันก็ตอ้ ง ยึดความถูกต้องเป็ นหลัก


33

ดังนัน้ จึงควรพิจารณาให้รอบคอบว่า ปั ญหาทีก่ ล่าวถึงนัน้ เป็ นปั ญหา “อิจติฮาดี ยะห์” หรือปั ญหา “คิลาฟี ยะห์” เพือ่ ทีจ่ ะจาแนกได้วา่ ปั ญหาใดต้อง อิงการ และ ปั ญหาใดไม่ อิงการ และการ อิงการ (ต่อต้าน-คัดค้าน) ในปั ญหาคิลาฟี ยะห์นนั ้ มีอยูม่ ากตัง้ แต่ในยุค สะลัฟเรือ่ ยมาจนถึงปั จจุบนั และการอิงการทีก่ ล่าวถึงนี้ ไม่ใช่กระทาต่อตัวบุคคลคือ ไม่ใช่เป็ นการตาหนิ, ต่อต้าน,คัดค้านต่อตัวผูว้ นิ ิจฉัย หากแต่เป็ นการตาหนิ,ต่อต้านคัดค้าน เรือ่ งทีเ่ ขา วินิจฉัย... เพราะเหตุใด ?

เรียนและทบทวนกัน (4) #อิงก๊าร คาว่า อินก๊าร ( ‫ ) انكار‬หรือออกสาเนียงว่า “อิงก๊าร” มีความหมายโดยทัวไป ่ ว่า การปฏิเสธ, ขจัด, ขัดขวาง, ห้ามปราม, ต่อต้าน, คัดค้าน ไม่วา่ จะด้วย การกระทา,คาพูด และด้วยใจก็ตาม การ “อิงก๊าร” นี้ถอื เป็ นสิง่ ทีม่ คี วามสาคัญประการหนึ่งในคาสอนของศาสนา พระองค์อลั ลอฮ์ทรงกล่าว ถึงแนวทางของเหล่าศอฮาบะห์วา่


34

ً‫ْر ُك ْنت ُ ْم‬ ًَ ‫ت أ ُ َّمةً َخي‬ ًْ ‫اس أ ُ ْخ ِّر َج‬ ً ِّ َّ‫وف تَأ ْ ُم ُرونًَ ِّللن‬ ًِّ ‫ن َوت َ ْن َه ًْونًَ ِّب ْال َم ْع ُر‬ ًِّ ‫ع‬ َ ‫ْال ُم ْن َك ًِّر‬ ًَ‫اّلل َوتُؤْ ِّمنُون‬ ًَِّّ ‫ِّب‬ “พวกเจ้าเป็ นประชาชาติทด่ี เี ลิศ ทีถ่ กู นาออกมาแก่มนุ ษยชาติ พวกเจ้ากาชับใช้ กันในเรือ่ งคุณธรรม และห้ามปรามกันในเรือ่ งทีไ่ ม่ดงี าม โดยพวกเจ้าศรัทธา ต่ออัลลอฮ์” ซูเราะห์ อาลาอิมรอน อายะห์ท่ี 110 ท่านอับดุลลอฮ์ อิบนิ อุมรั ได้กาชับเตือนผูค้ นด้วยกับอายะห์ขา้ งต้นนี้วา่ กล่าว ว่า ‫ أيها يا‬،‫سره َمن الناس‬ ًِّ ُ‫ط فلي‬ ًَ ‫منها هللا شر‬ َّ ‫ تلك من يكون أن‬،‫ؤد األمة‬ “โอ้ประชาชนทัง้ หลาย, ผูใ้ ดปรารถนาทีจ่ ะเป็ นดังเช่ ่ นประชาชาติทก่ี ล่าวนี้ ก็จง ปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขของอัลลอฮ์ในเรือ่ งนี้ดว้ ย” ฟั ตฮุล้ กอดีร เชากานีย์ ญุชที่ 1 หน้าที่ 450 ท่านนบี ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า


35

ْ ‫ بِّيَ ِّدًِّه فَ ْليُغ َِّي ْرًهُ ُم ْن َكراً ِّم ْن ُك ًْم َرآى‬، ‫إن‬ ً‫من‬ ًْ َ‫سانِّ ًِّه يَ ْستَ ِّط ًْع لَ ًْم ف‬ ًْ َ‫لَ ًْم ف‬ َ ‫ فَ ِّب ِّل‬، ‫إن‬ ‫ فَ ِّبقَ ْل ِّب ًِّه يَ ْستَ ِّط ًْع‬، ‫ك‬ ًَ ‫ف َو َذ ِّل‬ ًُ َ‫ضع‬ ًِّ ‫اإل ْي َم‬ ْ ‫ان أ‬ “ผูใ้ ดในหมูพ่ วกเจ้าพบเห็นความไม่ดงี ามก็จงเปลีย่ นแปลงมันด้วยมือของเขา, หากเขาไม่สามารถก็จงด้วยคาพูด และหากไม่สามารถก็ดว้ ยใจ นันเป็ ่ นอีหม่านที่ อ่อนสุด” ศอเฮียะห์มุสลิม ฮะดีษเลขที่ 70 อัลอัยนีย์ กล่าวว่า ‫ أُقيمت إذا وهكذا‬،‫ وأ ُ ِّمر الحدود‬،‫ المنكر عن ونهي بالمعروف‬- ‫تحصل‬ ‫ النجاة‬،‫للكل‬ ِّ ‫ العاصي هلك وإل‬،‫اإلقامة بترك وغيرهم بالمعصية‬ “อย่างนี้แหละ เมือ่ กฎเกณฑ์ถกู ยึดถือปฏิบตั ,ิ การกาชับเรือ่ งความดีถกู สัง่ ใช้,และความไม่ถูกต้องถูกสังห้ ่ าม ความปลอดภัยก็จะได้รบั แก่ทุกคน ถ้า ไม่เช่นนัน้ แล้ว คนทีฝ่ ่ าฝืนด้วยการทาความผิดและคนอื่นๆก็จะหายนะ ด้วยการ ละทิง้ การดารงมัน” ่ อุมดะตุล้ กอริ ญุชที่ 19 หน้าที่ 403 .


36

ด้วยเหตุทก่ี ล่าวข้างต้นนี้ทาให้ทราบว่า การอิงก๊าร เป็ นสิง่ สาคัญในการปกป้ อง สัจธรรมและความดีงามตามบัญญัตศิ าสนา ไม่วา่ จะเป็ นในด้านสังคม, เศรษฐกิจ , การเมือง,การปกครอง หรือในด้านความเชือ่ และการปฏิบตั ศิ าสนกิจ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ความเชือ่ ทีเ่ ป็ นฐานหลัก กล่าวคือ ทัศนะหรือความเห็นใดที่ ค้านกับบทบัญญัตขิ องศาสนาโดยตรงนัน้ จาเป็ นต้อง อิงก๊าร เหมือนดังศอ ่ ฮาบะห์ของท่านนบี ทีช่ อ่ื อับดุลลอฮ์ อิบนิ อุมรั ได้ทาการ อิงก๊าร ต่อนาย มะอ์ บัด อัลญุฮะนีย์ กับพวกด้วยถ้อยคาทีร่ นุ แรง ในกรณีเสนอแนวคิดเรือ่ ง กอฏอกอดัร อย่างผิดเพีย้ น ด้วยคาว่า ‫ برآء وأنهم منهم بريء أني فأخبرهم أولئك لقيت فإذا‬،‫والذي مني‬ ‫عمر بن هللا عبد به يحلف‬: ‫قبل ما فأنفقه ذهباً أحد مثل ألحدهم أن لو‬ ‫بالقدر يؤمن حتى منه هللا‬ “เมือ่ เจ้ากลับไปยังเมืองบัศเราะห์และพบกับพวกเขา, ก็จงบอกพวกเขาด้วยว่า ฉันไม่เกีย่ วข้องใดๆกับพวกเขาและพวกเขาก็ไม่เกีย่ วข้องใดๆ กับฉัน ขอสาบาน ต่อ (อัลลอฮ์) ผูซ้ ง่ึ ทีอ่ บั ดุลลอฮ์ อิบนิ อุมรั ยืนกรานสาบานต่อพระองค์วา่ : ถึงแม้พวกเขาจะมีทองดังภู ่ เขาอุฮุดแล้วนามันไปบริจาค พระองค์อลั ลอฮ์กจ็ ะไม่ ทรงรับ จนกว่าเขาจะศัรทธาในเรือ่ งกะดัรเสียก่อน” ศอเฮียะห์มุสลิม ฮะดีษเลขที่ 1


37

เมือ่ คาว่า “อิงก๊าร” ถูกนามาใช้ในศาสตร์เฉพาะทางด้านฟิ กฮ์ สือ่ ความ หมายถึง การตาหนิ , ทักท้วง หรือ คัดต้าน (ไม่ได้หมายถึงการต่อสูด้ ว้ ยกาลัง/ ด้วยอาวุธ หรือการทาลายล้าง) โดยเฉพาะปั ญหาทีม่ กี ารขัดแย้งกัน ดังทีก่ ล่าวในครัง้ ทีแ่ ล้วว่า ปั ญหาต่างๆ ทางด้านฟิ กฮ์นนั ้ ถูกจาแนกเป็ นสอง ประเภทคือ ปั ญหา อิจติฮาดียะห์ (ปั ญหาทีต่ อ้ งอาศัยการวินิจฉัย) และ ปั ญหาคิลาฟี ยะห์ (ปั ญหาการขัดแย้ง) ปั ญหาอิจติฮาดียะห์ หรือปั ญหาทีต่ อ้ งอาศัยการวินิจฉัย คือปั ญหาทีไ่ ม่มตี วั บท หลักฐานมายืนยัน ดังนัน้ บรรดานักวิชาการจึงใช้ดุลยพินิจในการวิเคราะห์ปัญหา ต่างๆ และไม่วา่ ผลของการวินิจฉัยจะเป็ นเช่นใด จะเห็นตรงกัน หรือต่างกัน หรือ ค้านกัน ก็ไม่สามารถ “อิงการ” ได้ ดังค ่ าพูดทีร่ บั รูก้ นั อย่างแพร่หลายว่า ‫ل‬ ‫(( الجتهاد مسائل في إنكار‬ไม่มกี ารอิงการ (คัดค้าน-ต่อต้าน) ในปั ญหาที่ ต้องวินิจฉัย)) ท่านสามารถย้อนกลับไปอ่านรายละเอียดของประเด็นนี้ใน บทความตอนทีแ่ ล้วเรือ่ ง เรียนและทบทวนกัน (3) ส่วนปั ญหาคิลาฟี ยะห์ หรือ ปั ญหาการขัดแย้งทีบ่ รรดานักวิชาการต่างนาเสนอ ตัวบทหลักฐานยืนยันในทัศนะของตนเอง ซึง่ หลักฐานทีแ่ ต่ละฝ่ ายนามาแสดงนัน้


38

อาจจะถูกต้องหรือไม่ถกู ต้อง (ศอเฮียะห์ หรือ ฏออีฟ หรือซาซ) ก็ตอ้ ง พิจารณาในกระบวนการ “ตัรญิฮ”์ คือการให้น้าหนักทัศนะความขัดแย้ง ดังนัน้ ปั ญหาคิลาฟี ยะห์น้จี งึ มีการตีแผ่ความถูกผิดของแต่ละฝ่ าย และมีการ อิงการซึง่ กันและกัน ชัยคุล้ อิสลาม อิบนุ ตัยมียะห์ กล่าวว่า ‫بصحيح ليس فيها إنكار ل الخالف مسائل وقولهم‬ “และคาพูดของพวกเขาทีว่ า่ ปั ญหาการขัดแย้งนัน้ ไม่มกี าร อิงก๊าร ซึง่ กันและ กันนัน้ มันไม่ถกู ต้อง” ฟะตาวาอัลกุบรอ ญุชอ์ท่ี 6 หน้าที่ 96 ดังนัน้ การอิงก๊ารในปั ญหาทีเ่ ป็ นคิลาฟี ยะห์จงึ ยังคงมีอยู่ แต่ทไ่ี ม่มกี ารอิงก๊ารนัน้ คือปั ญหาทีเ่ ป็ นอิจติฮาดียะห์ ซึง่ กรณีน้ี บางคนอาจจะเกิดความสับสนแล้วทาให้ เข้าใจผิดไปว่า ไม่มกี าร อิงการ ในทุกเรือ่ งไม่วา่ จะเป็ นปั ญหา อิจติฮาดียะห์ หรือปั ญหาคิลาฟี ยะห์ เชคซอและห์ อิบนุ อุษยั มีน กล่าวว่า


39

‫ على فيها ينكر ل الخالفية المسائل قلنا أننا لو‬،‫كله الدين ذهب اإلطالق‬ “หากเราพูดกันว่าปั ญหาคิลาฟี ยะห์ไม่มกี าร อิงก๊ารทัง้ หมด ศาสนานี้กค็ งไม่ เหลือแล้ว”

การ อิงก๊าร ต่อปั ญหาคิลาฟี ยะห์นนั ้ มีอยูม่ ากมาย ตัง้ แต่ในยุคศอฮาบะห์, ตาบี อีน, ในระดับมัซฮับ จนถึงปั จจุบนั ซึง่ เราจะยกตัวอย่างให้เห็นพอสังเขปดังนี้

#การอิงก๊ารของเหล่าศอฮาบะห์ ตัวอย่างเช่น 1 ท่านอาลี อิงก๊าร การกระทาของท่านอุสมาน ในการละหมาดทีม่ นี าสีร่ ๊อกอะห์ ‫ عيينة بن سفيان روى‬، ‫ قال محمد بن جعفر عن‬: " ‫بمنى عثمان اعتل‬ ‫ علي فأتي‬، ‫ له فقيل‬: ‫ بالناس صل‬، ‫ علي فقال‬: ‫ شئتم إن‬، ‫أصلي ولكن‬ ‫ وآله عليه هللا صلى هللا رسول صالة بكم‬، ‫ ركعتين يعني‬. ‫ فقالوا‬: ‫ ل‬، ‫ أربعا عثمان المؤمنين أمير صالة إل‬. . ‫" بهم يصلي أن علي فأبى‬


40

ซุฟยาน อิบนุ อุยยั นะห์ รายงานจาก ญะอ์ฟัร บิน มูฮมั หมัดว่า “ท่านอุสมาน เกิดป่ วยทีม่ นี า เมือ่ ท่านอาลีมาถึงก็มคี นกล่าวแก่ทา่ นว่า โปรดนาผูค้ นละหมาด ด้วยเถิด ท่านอาลีตอบว่า ได้..หากพวกท่านต้องการ แต่ทว่าฉันจะนาละหมาด พวกท่านด้วยแบบการละหมาดของท่านรอซูลุล้ ลอฮ์ ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะอาลิฮี หมายถึงละหมาดสองร๊อกอะห์ พวกเขากล่าวว่า ไม่เอา..นอกจากการละหมาด ตามแบบของท่าน อุสมานคือ สีร่ อ๊ กอะห์...ดังนัน้ ท่านอาลีจงึ ปฏิเสธทีจ่ ะนา ละหมาดพวกเขา” (ศอเฮียะห์บุคอรี 2 : 154 ศอเฮียะห์มุสลิม 1 : 261)

2. ท่านอาลี อิงก๊าร คาสังของท่ ่ านอุสมาน ทีห่ า้ มทาฮัจญ์และอุมเราะห์รว่ มกัน (ตะมัตตัวอ์) ‫ الحكم بن مروان قال‬: ‫ عنهما هللا رضي وعليًّا عثمان شهدت‬، ‫وعثمان‬ ‫ المتعة عن ينهى‬، ‫ بينهما يُ ْجمع وأن‬، ‫ بهما أ َهلً عليً رأى فلما‬: ‫لبيك‬ ‫ وحجة بعمرة‬، ‫ قال‬: ‫ِّلقول وسلم عليه هللا صلى النبي سنة أل َدع كنت ما‬ ‫أ َحد‬ มัรวาน บิน ฮะกัม กล่าวว่า ฉันเคยอยูร่ ว่ มกับท่านอุสมานและท่านอาลี (ขออัลลอฮ์ทรงเมตตาต่อท่านทัง้ สอง) ขณะทีท่ า่ นอุสมานห้ามการทาฮัจญ์ตะมัต


41

ตัวอ์ คือการทาอุมเราะห์พร้อมฮัจญ์ เมือ่ ท่านอาลีทราบดังนัน้ ท่านจึงประกาศ เจตนาทาอุมเราะห์พร้อมฮัจญ์โดยกล่าวว่า ข้าตอบรับคาเรียกร้องของพระองค์ ท่านด้วยการทาอุมเราะห์และฮัจญ์ ท่านกล่าวว่า ฉันไม่เคยทิง้ ซุนนะห์ของท่านน บี ศ็อล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม เพราะคาใคร” ศอเฮียะห์บุคอรี ฮะดีษเลขที่ 1461 #การอิงการของตาบีอนี ตัวอย่างเช่น 1. ท่านนาเฟี ยะอ์ ได้องิ ก๊าร การทาของผูค้ นทีร่ วมตัวกันทีม่ สั ยิดช่วงบ่ายของ วันอะรอฟะห์ ً‫ع ْن‬ ً ِّ‫ ْال َم َدن‬, ‫ل‬ ًَ ‫ قَا‬: ‫اجت َ ًَم ًَع‬ ًُ َّ‫ع َرفَ ًةَ يَ ْو ًَم الن‬ ً ِّ‫النَّب‬ ْ ‫اس‬ َ ‫ي ِّ َح ْفصً أَبِّي‬ َ ‫ي ِّ َم ْس ِّج ًِّد فِّي‬ ‫صلَّى‬ ًَّ ‫علَ ْي ًِّه‬ ًَ ‫ْن َم ْولَى نَافِّعً فَخ َ​َر‬ ًِّ ‫ع َم ًَر اب‬ ُ ‫ص ًِّر بَ ْع ًَد يَ ْد‬ ُ ْ َ‫ ْالع‬, ‫ج‬ َ ‫سلَّ ًَم‬ َ ‫عونًَ َو‬ َ ُ‫ّللا‬ ًْ ‫ار ِّم‬ ‫ن‬ ًِّ ‫ل َد‬ ًِّ ‫ع َم ًَر آ‬ ًَ ‫ فَقَا‬: ‫اس أَيُّ َها‬ ًُ َّ‫ الن‬, " ‫ن‬ ًَّ ‫علَ ْي ًِّه أ َ ْنت ًُْم الَّذِّي ِّإ‬ ًْ ‫س‬ ُ ,‫ل‬ َ ً‫عة‬ َ ‫ت بِّ ْد‬ َ ‫َولًَْي‬ ً‫سنَّة‬ ًَ َّ‫صنَعُونًَ َول الن‬ ًَ ْ‫ " َه َذا ِّمث‬, ‫س فَلَ ًْم َر َج ًَع ث ًَُّم‬ ًْ ‫ يَ ْج ِّل‬, ْ َ‫ل ي‬ ُ ‫ ِّب‬, ‫اس أَ ْد َر ْكنَا ِّإنَّا‬ ‫ج ث ًَُّم‬ ًَ ‫ل الثَّا ِّنيَ ًةَ خ َ​َر‬ ًَ َ‫ ِّمثْلَ َها فَفَع‬, ‫َر َج ًَع ث ًَُّم‬ อบี ฮัฟศ์ อัลมะดะนีย์ กล่าวว่า : บรรดาผูค้ นได้รวมตัวกันขอดุอาอ์ทม่ี สั ยิดนบี ในช่วงเวลาหลังอัศริของวันอะรอฟะห์ ท่านนาเฟี ยะอ์ คนรับใช้ของท่าน อิบนิ


42

อุมรั ได้ออกมาจากบ้านญาติของท่านอุมรั เขากล่าวว่า โอ้ผคู้ นทัง้ หลายเอ๋ย สิง่ ที่ พวกเจ้าทากันอยูน่ ้มี นั เป็ นบิดอะห์ไม่ใช่ซุนนะห์ พวกเราทันคนยุคก่อน แต่พวก เขาก็ไม่เคยทากันอย่างนี้, แล้วท่านก็กลับไปโดยไม่ได้นงร่ ั ่ วมกับพวกเขา และ เมือ่ ท่านออกมาอีกครัง้ ก็พบว่ายังมีการทาอยูเ่ หมือนเดิม ท่านจึงกลับออกไป” อัล บิดะอ์ ฮะดีษเลขที่ 110

2. ท่านอิบรอฮีม อัลนัคอีย์ ได้องิ ก๊าร ต่ออิหม่ามทีอ่ ่านบิสมิลลาฮ์ เสียงดังว่า ‫ شعبة عن وكيع وروى‬، ‫ مغيرة عن‬، ‫ إبراهيم عن‬، ‫ قال‬: ‫ببسم الجهر‬ ‫بدعة الرحيم الرحمن هللا‬ “รายงานจากวะเกียะอ์ จากซัวอ์บะห์ จากมุฆเี ราะห์ จากอิบรอฮีม (อัลนัคอีย)์ กล่าวว่า การออกเสียงดังด้วยการอ่านบิสมินลลาฮิรเราะห์มานนิรรอฮีม เป็ น บิดอะห์” ซิยรุลอะลามมิลนุบะลาอ์ หน้า 529

#การอิงก๊ารในระดับมัซฮับ


43

การอิงการในระดับมัซฮับต่อปั ญญหาคิลาฟี ยะห์นนั ้ มีอยูม่ ากมายหลายปั ญหา ตัวอย่างเช่น 1.การอ่านกุนูตซุบฮิ : อิหม่ามมาลิก บอกว่าสมควรกระทา / อิหม่ามชาฟี อี บอกว่าเป็ นซุนนะห์ /อิหม่ามอะห์หมัดและอิหม่ามฮานาฟี บอกว่าไม่มใี นซุนนะห์ โดยเฉพาะอิหม่ามฮานาฟี บอกว่า มันเป็ นบิดอะห์ 2. การอ่านตัลกีนหลังจากฝั งมัยยิต ทีฝ่ ่ ายหนึ่งว่าควรทา อีกฝ่ ายหนึ่งว่า เป็ น บิดอะห์

3. การกระทบเพศตรงข้ามขณะมีน้ าละหมาด จะทาให้เสียน้าละหมาดหรือไม่ ซึง่ เราจะนาประเด็นการ อิงก๊าร ในระดับมัซฮับมาชีแ้ จงเป็ นกรณีตวั อย่างให้เห็น ในลาดับถัดไป แต่สงิ่ ทีอ่ ยากจะกล่าวย้า ณ.ทีน่ ้อี กี ครัง้ คือ การอิงก๊าร ของเหล่านัน้ วิชาการนัน้ คือการ อิงก๊ารทีก่ ารกระทา ไม่ใช่ผกู้ ระทา และลาดับขัน้ ของการ อิงก๊าร นัน้ ลดหลันกั ่ นไปตามแต่เรือ่ งทีค่ ลิ าฟกัน


44

#อนึ่ง : สิง่ ทีต่ อ้ งพึงระวังคือ ปั ญหานอกกรอบการขัดแย้งหรือการวินิจฉัยของ อุลามาอ์ คือปั ญหาทีอ่ ุลามาอ์เขาไม่ได้ อิจติฮาด หรือคิลาฟ เนื่องจากบรรดาอุ ลามาอ์เขาไม่รเู้ ห็นด้วยกับปั ญหาเหล่านี้ เช่นพิธกี รรมอีซกี ุโบร และพิธกี รรมอีก หลากหลายทีเ่ กิดขึน้ ในบ้านเรา ซึง่ ปั ญหาเหล่านี้จะพลอยถูกขมวดรวมและ ทึกทักเป็ นปั ญหา อิจติฮาดียะห์ หรือ คิลาฟี ยะห์ ไปด้วย ฉะนัน้ ผูท้ จ่ี ะนาเสนอปั ญหาเหล่านี้จงึ ต้องระวัง และละเอียดรอบคอบ เรียนและทบทวนกัน (5) #ผูว้ นิ ิจฉัย – #เรือ่ งทีว่ นิ ิจฉัย – #ผูป้ ฏิบตั ติ ามคาวินิจฉัย เราได้กล่าวมาก่อนหน้านี้แล้วว่า การอิงก๊าร ของเหล่านัน้ วิชาการต่อปั ญหาคิ ลาฟี ยะห์นนั ้ คือการ อิงก๊าร ทีก่ ารกระทา ไม่ใช่ผกู้ ระทา, และลาดับขัน้ ของการ อิงก๊าร นัน้ ก็ลดหลันกั ่ นไปตามแต่เรือ่ งทีค่ ลิ าฟกัน ด้วยเหตุน้เี ราจึงต้องจาแนก ระหว่าง ผูว้ นิ ิจฉัย และเนื้อหาทีเ่ ขาวินิจฉัย และผูป้ ฏิบตั ติ ามคาวินิจฉัย ออกจาก กันและแจกแจงในแต่ละประเด็น #ผูว้ นิ ิจฉัย ในกรณีของผูว้ นิ ิจฉัยปั ญหา หรือทีเ่ รียกว่า “มุจตะฮิดนัน้ ไม่วา่ เขาจะเป็ นผู้ วินิจฉัยปั ญหาประเภท อิจติฮาดียะห์ หรือคิลาฟี ยะห์ (ทีม่ วั อ์ตะบัร) ก็ตาม เรา ต้องขอดุอาอ์ให้แก่พวกเขา และเราไม่อาจตาหนิพวกเขาได้ โดยเฉพาะปั ญหาอิจ ติฮาดียะห์ คือปั ญหาทีไ่ ม่มตี วั บทหลักฐานศาสนามารองรับโดยตรง ซึง่ พวกเขา


45

ต่างก็ใช้ความอุตสาหะวิรยิ ะกันเต็มกาลัง และไม่วา่ ผลของการวินิจฉัยจะออกมา เป็ นเช่นใด, ตัวของผูว้ นิ ิจฉัยก็ได้รบั สิทธิคุ์ ม้ ครอง คือไม่สามารถทีจ่ ะกล่าว ตาหนิ, ติตงิ ,ว่าร้ายต่อพวกเขาได้ เนื่องจากท่านรอซูลุล้ ลอฮ์ ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิ วะซัลลัม กล่าวว่า َ ‫اجت َ َه َدًفَأ َ ْخ‬ ًُ‫طأًَفَلَه‬ ْ َ‫ًو ِّإ َذاً َح َك َمًف‬، ْ َ‫ِّإ َذاً َح َك َمًال َحا ِّك ُمًف‬ َ ‫ص‬ َ َ ‫اجت َ َهدًُفَأ‬ ِّ ‫ابًفَلَهًُأ َ ْج َر‬ َ ‫ان‬ ً‫أَ ْجر‬ “เมือ่ ผูพ้ พิ ากษาได้ตดั สินโดยทาการวินิจฉัยแล้วมีความถูกต้อง เขาได้รางวัลสอง เท่า แต่เมือ่ เขาตัดสินโดยทาการวินิจฉัยแล้วผิดพลาดเขาได้ผลบุญหนึ่งเท่า” ศอ เฮียะห์บุคอรี ฮะดีษเลขที่ 6805 แต่การทีไ่ ม่ อิงก๊าร หรือไม่ตาหนิผวู้ นิ ิจฉัยนัน้ ไม่ใช่เป็ นการรับรองว่า ผูว้ นิ ิจฉัย มีความถูกต้องทุกคนในการวินิจฉัยนัน้ เพราะความถูกต้องมีเพียงหนึ่งเดียว ดัง่ ทีท่ า่ นอิหม่ามนะวาวี ได้กล่าวว่า ً‫هًأنًالمصيبًواحد‬ َ ِّ‫واألص ُّحًعندًالشافعيًِّوأصحاب‬ “ทีถ่ กู ต้อง ณ.ชาฟี อแี ละสหายของเขาว่า แท้จริงผูท้ ถ่ี ูกต้องมีเพียงหนึ่งเดียว เท่านัน้ ” อธิบายศอเฮียะห์มุสลิม ญุซอ์ท่ี 12 หน้าที่ 14 #ผูป้ ฏิบตั ติ ามคาวินิจฉัย ทีก่ ล่าวมาข้างต้นนัน้ คือสิทธิ ์ของมุจตะฮิด หรือผูว้ นิ ิจฉัยปั ญหา ซึง่ พวกเขาได้รบั ความคุม้ ครอง แต่ถามว่า แล้วผูต้ ามจะอ้างสิทธิใดในการตามทัง้ ถูกและผิดโดย ไม่พจิ ารณา หรือจะเข้าใจว่า เมือ่ เป็ นปั ญหาคิลาฟี ยะห์แล้วจะเลือกถือปฏิบตั ิ อย่างไรก็ได้ ในทางตรงกันข้าม ทีจ่ าเป็ นต่อบรรดาผูค้ นจะต้องเลือกยึดถือปฏิบตั ิ


46

ในสิง่ ทีม่ คี วามถูกต้องชัดเจนมากทีส่ ุด เชค มูฮมั หมัด บิน ซอและห์ อัลอุษยั มีน กล่าวว่า ً‫فالواجبًعلىً َمنًع ِّلمًبالدليلًأنًيتبعًالدليلًولوًخالفً َمنًخالفًمن‬ ‫ًإذاًلمًيخالفًإجماعًاألمة‬.‫األئمة‬ “จาเป็ นต่อผูท้ ร่ี หู้ ลักฐานจะต้องปฏิบตั ติ ามหลักฐาน ถึงแม้วา่ จะค้านกับผูอ้ ่นื จาก บรรดาอะอิมมะห์กต็ าม หากมันไม่ได้คา้ นกับมติเอกฉันท์ของปวงปราชญ์” ดังนัน้ ปั ญหาคิลาฟี ยะห์ ทีผ่ า่ นการ “ตัรญิฮ์ (การให้น้าหนัก) และถูกพิจารณาว่า เป็ นทัศนะที่ “รอญิฮ”์ (ทัศนะทีม่ นี ้าหนักในความถูกต้องน่าเชือ่ ถือ) ก็จาเป็ นที่ จะต้องปฏิบตั ติ ามนัน้ มิใช่จะเลือกถือปฏิบตั อิ ย่างไรก็ได้ อัชเชากานีย์ กล่าวว่า ً‫ومنًنظرًفيًأحوالًالصحابةًوالتابعينًوتابعهمًومنًبعدهمًوجدهم‬ ‫متفقينًعلىًالعلملًبالراجحًوتركًالمرجوح‬ “และผูใ้ ดทีไ่ ด้พจิ ารณาถึงสภาพของศอฮาบะห์, ตาบีอนี , ตาบิอติ ตาบีอนี และ คนหลังจากพวกเขาก็จะพบว่า พวกเขาเห็นพ้องต้องกันในการปฏิบตั ติ ามทีเ่ ป็ น รอญิฮ์ และทิง้ ทีเ่ ป็ นมัรญัวฮ์” อิรชาดุลฟุฮนู หน้าที่ 1125 #เรือ่ งทีว่ นิ ิจฉัย ตามทีไ่ ด้กล่าวมาก่อนหน้านี้แล้วว่า ปั ญหาคิลาฟี ยะห์นนั ้ มีการ “อิงการ” โดยเฉพาะในระดับมัซฮับ ทีม่ กี ารขัดแย้งปั ญหาข้อปลีกย่อยกันหลายเรือ่ ง ซึง่ แต่ ละฝ่ ายต่างก็ยนื ยันด้วยตัวบทหลักฐานทีฝ่ ่ ายตนยึดถือ และพวกเขาต่างก็ตติ งิ หลักฐานซึง่ กันและกัน และบางครัง้ ก็ชส้ี ถานะของเรือ่ งทีข่ ดั แย้งไปกันคนละทาง


47

เช่นฝ่ ายหนึ่งบอกว่าเป็ น ซุนนะห์ และอีกฝ่ ายหนึ่งบอกว่าเป็ นบิดอะห์ และ บางครัง้ ก็ใช้คาว่า ไม่มใี นซุนนะห์ และแม้พวกเขาจะชีส้ ถานะของเรือ่ งทีข่ ดั แย้ง ว่าเป็ น บิดอะห์ แต่เขาก็ไม่กล่าวว่าอีกฝ่ ายหนึ่งเป็ น มุบตะดิอ์ หรือ ผูท้ ท่ี า บิดอะห์ เพราะเขา อิงก๊ารเรือ่ งทีว่ นิ ิจฉัย แต่ไม่ได้ อิงก๊าร ผูว้ นิ ิจฉัย และเพือ่ ทีจ่ ะให้เห็นภาพทีช่ ดั เจน เราเอาเรือ่ ง การกุนูตในละหมาดซุบฮิ เป็ น ตัวอย่างให้เห็นดังนี้ สิง่ ทีต่ อ้ งรับทราบก่อนเป็ นประการแรกคือ การกุนูตละหมาดซุบฮิ เป็ นปั ญหา อิจ ติฮาดียะห์ หรือ ปั ญหาคิลาฟี ยะห์ ? หากถามว่า ทาไมต้องรูด้ ว้ ยเล่า ? คาตอบคือ เพราะหากเรือ่ งนี้เป็ นปั ญหาฮิจติฮาดียะห์ คือเป็ นปั ญหาทีท่ งั ้ สองฝ่ าย ไม่มหี ลักฐานมายืนยันทัง้ คู่ และต่างฝ่ ายต่างก็ใช้ดุลยพินิจของตนเองในการ วิเคราะห์ปัญหา ซึง่ ปั ญหาประเภทนี้ไม่สามารถ อิงก๊าร ซึง่ กันและกันได้ และก็ ไม่สามารถกล่าวว่า การกุนูตซุบฮิ เป็ นซุนนะห์หรือบิดอะห์ ในทางตรงกันข้าม หากเรือ่ งนี้เป็ นปั ญหา คิลาฟี ยะห์ ทีท่ งั ้ สองฝ่ ายต่างมีหลักฐาน ยืนยันด้วยกันทัง้ คู่ และต่างฝ่ ายต่างก็ยดึ มันในหลั ่ กฐานทีต่ นเองยึดถือ แล้วต่างก็ สรุปว่า มันเป็ นซุนนะห์หรือ บิดอะห์ อย่างนี้คอื การอิงก๊ารซึง่ กันและกัน การทีเ่ ราไม่ร,ู้ ไม่เข้าใจ และไม่แยกแยะว่ากุนูตซุบฮิ เป็ นปั ญหาประเภทใดนี่ แหละ ทาให้เกิดสับสนตัง้ แต่เริม่ แรก


48

แล้วเราจะรูไ้ ด้อย่างไรว่า การกูนูตซุบฮิ เป็ นปั ญหา อิจติฮาดียะห์ หรือ เป็ น ปั ญหา คิลาฟี ยะห์ ? คาตอบคือเรือ่ งนี้เป็ นปั ญหาคิลาฟี ยะห์ ทีม่ กี ารขัดแย้งกันมาเนิ่นนานจนเป็ นที่ รับทราบกันเป็ นอย่างดีในหมู่นกั วิชาการ และหากจะกล่าวถึงการคิลาฟใน ระดับมัซฮับก็จะพบว่า พวกเขามีบทสรุปทีต่ ่างกันคือ การอ่านกุนูตซุบฮิ : อิหม่ามมาลิก บอกว่าสมควรกระทา / อิหม่ามชาฟี อี บอก ว่าเป็ นซุนนะห์ /อิหม่ามอะห์หมัดและอิหม่ามฮานาฟี บอกว่าไม่มใี นซุนนะห์ โดยเฉพาะอิหม่ามฮานาฟี บอกว่า มันเป็ นบิดอะห์ (เราได้ชแ้ี จงประเด็นนี้ไว้แล้ว ท่านสามารารถย้อนกลับไปอ่านได้ หรือตามลิงค์ทเ่ี ราแนบมานี้ https://www.facebook.com/permalink.php?story_f bid=920408888160459&id=100005740689770&_ _tn__=K-R ประการต่อมาคือ การทีฝ่ ่ ายหนึ่งบอกว่า กุนูตซุบฮิเป็ นบิดอะห์ นัน้ ถ้อยคาอย่าง นี้ เป็ นการเป็ นการฮุก่มเรือ่ งทีเ่ ขาคิลาฟกัน, ไม่ได้เป็ นการฮุก่มผูว้ นิ ิจฉัยแต่อย่าง ใด กล่าวคือ ไม่ได้เป็ นการ “ตับดิอ”์ คือไม่ใช่เป็ นการให้ขอ้ หาว่าทาบิดอะห์แก่ผู้ วินิจฉัย เกีย่ วกับประเด็นนี้ ท่านเชค บิน บาซ เองก็เป็ นหนึ่งในผูก้ ล่าวว่า กุนูตซุบฮิ เป็ น บิดอะห์ แล้วท่านก็ถกู ถามว่า ให้ขอ้ หาแก่อหิ ม่ามชาฟี อวี า่ เป็ นผูท้ าบิดอะห์หรือ เปล่า ? ท่านตอบว่า


49

ً‫ًإذاًأنكرناًمثلًذلكًيتهمونناًبأنناًنبدعًالشافعيًماذاًنقول‬:‫أخوناًيقول‬ ‫لهم؟‬ ً‫ًيعلمونًأنًهذاًليسًتبديعاًللشافعيًولكنًمنًبابًتحري‬:‫الشيخ‬ ً‫ًإنهًبدعة‬:‫ًمنًبابًتحريًاألرجحًألنًمنًقال‬،‫األرجحًمنًاألقوال‬ ً‫احتجًبحديثًطارقًبنًأشيمًاألشجعيًومنًزعمًأنهًسنةًومستحب‬ ً‫احتجًبأحاديثًأخرىًفيهاًضعفًواألخذًبالشيءًالثابتًفيًالصحيح‬ ً‫أولىًوأحقًعندًأهلًالعلمًمعًعدمًالتشنيعًعلىًمنًقنتًفإنًهذه‬ ً‫المسألةًمسألةًخفيفةًلًينبغيًفيهاًالتشنيعًوالنزاعًوإنماًيتحرىًفيها‬ ‫اإلنسانًماًهوًاألفضلًواألقربًإلىًالسنة‬ https://binbaz.org.sa/…/%D8%AD%D9%83%D9 %85-%D8%A7%D9%84%D9%… มีพน่ี ้องของเรากล่าวว่า : เมือ่ เราได้ อิงก๊าร ในทานองนี้ พวกเขาก็กล่าวหาเรา ว่า เราให้ขอ้ หาอิหม่ามชาฟี อวี า่ เป็ นผูท้ ท่ี าบิดอะห์ แล้วเราจะตอบกับพวกเขา อย่างไร ? เชคบินบาซ ตอบว่า : พวกเขาก็รวู้ า่ นี่เป็ นใช่เป็ นการให้ขอ้ หาว่าเป็ นผูท้ าบิดอะห์ แก่อหิ ม่ามชาฟี อี ทว่ามันอยูใ่ นบททีว่ า่ ด้วยเรือ่ งของการพิจารณาทัศนะต่างๆว่า อันไหนมีน้าหนักน่าเชือ่ ถือทีส่ ุดเพราะผูท้ ก่ี ล่าวว่ามันเป็ นบิดอะห์นนั ้ ก็อา้ ง หลักฐานฮะดีษของ ตอริก บิน อัชยัม อัลอัชญะอีย์ และผูท้ อ่ี า้ งว่ามันเป็ นซุนนะห์ และผูท้ อ่ี า้ งว่ามันเป็ นสิง่ ทีส่ มควรทาก็อา้ งหลักฐานฮะดีษในบทอื่น แต่มนั เป็ นฏอ อีฟ และการยึดสิง่ ทีแ่ น่ชดั ในความถูกต้องนัน้ ดีกว่าและสมควรกว่าในทัศนะของ นักวิชาการ และจะต้องไม่กล่าวหาผูท้ ท่ี าการกุนูต เพราะปั ญหานี้มนั เป็ นปั ญหาที่ ละเอียดอ่อน จึงไม่สมควรทีจ่ ะกล่าวหาและขัดแย้งกัน แต่ผคู้ นจะต้องพิจารณา อย่างรอบคอบในเรือ่ งนี้วา่ อะไรทีม่ นั ดีเลิศและใกล้เคียงกับซุนนะห์มากทีส่ ุด”


50

คาตอบของเชค บินบาซ ข้างต้นนี้ ชีใ้ ห้เห็นว่า การ อิงก๊าร ทัศนะหนึ่งว่าไม่ ถูกต้องด้วยคาว่า บิดอะห์ นัน้ คือแง่มุมของการวิเคราะห์หลักฐาน และชีแ้ จง ถูกผิดของหลักฐานทีต่ ่างฝ่ ายต่างนาเสนอ แต่กไ็ ม่ได้หมายความว่าจะต้อง อิงก๊าร ต่อผูว้ นิ ิจฉัยด้วยข้อหาว่าทาบิดอะห์ อย่างนี้แหละทีบ่ รรดานักวิชาการเขา จาแนก ระหว่างการอิงก๊าร เรือ่ งทีว่ นิ ิจฉัยกับ กับผูว้ นิ ิจฉัยออกจากกัน #การละหมาดตามหลังอิหม่ามทีก่ นู ูตซุบฮิ เป็ นอีกกรณีหนึ่งทีเ่ ราจะยกตัวอย่างให้เห็น เพือ่ การจาแนกปั ญหาให้เข้าใจ ระหว่างฮุก่มของการกุนูตซุบฮิ กับ การละหมาดตามหลังอิหม่ามทีก่ ุนูต เพราะ ทัง้ สองนี้เป็ นคนละประเด็นกันคือ #ประเด็นทีห่ นึ่ง การกุนูตละหมาดซุบฮิ เป็ นปั ญหาคิลาฟี ยะห์ทน่ี กั วิชาการเขา แย้งในเรือ่ งฮุก่มของมัน (ตามทีท่ า่ นได้อ่านผ่านมาแล้ว) #ประเด็นทีส่ อง การละหมาดตามหลังอิหม่ามทีอ่ ่านกุนูต เป็ นปั ญหาอิจติฮาดี ยะห์ หากถามว่า ทาไมประเด็นการละหมาดตามหลังอิหม่ามทีอ่ ่านกุนูตจึงเป็ นปั ญหา อิจติฮาดียะห์ ? คาตอบคือ ประเด็นนี้ไม่มตี วั บทหลักฐานมาชีช้ ดั โดยตรง ดังนัน้ บรรดาอุลามาอ์ จึงพยายามวิเคราะห์ปัญหาด้วยดุลยพินิจตามกาลังความสามารถ โดยอาศัยการ อ้างอิงตัวบทอื่นๆ มาเทียบเคียง หากถามว่าใครทีบ่ อกว่า การละหมาดตามหลังอิหม่ามเป็ นปั ญหาอิจติฮาดียะห์


51

คาตอบคือ ชัยคุล้ อิสลาม อิบนุ ตัยมียะห์ เป็ นต้น ซึง่ จะได้กล่าวถัดจากนี้เล็กน้อย อินชาอัลลอฮ์ ท่านได้ทราบเรือ่ งของปั ญหาอิจติฮาดียะห์มาก่อนหน้านี้แล้วว่า ผลของการ วินิจฉัยนัน้ อาจจะตรงกัน (อิตติฟาก) หรืออาจจะต่างกัน (อิคติลาฟ) หรือ อาจจะค้านกัน (คิลาฟ) ก็ได้ และในประเด็นการละหมาดตามอิหม่ามทีอ่ ่านกูนูตนี้ ผลของการอิจติฮาดนัน้ แย้ง กันคือ บ้างก็วา่ ให้ตาม และบ้างก็วา่ ไม่ให้ตาม ดังนัน้ การอิจติฮาดในประเด็นนี้จงึ เป็ นคิลาฟ (คือผลของการวินิจฉัยมีความ ขัดแย้งกัน) และเมือ่ อ่านเจอคาว่า ‫ اجتهاديةًخالفية‬หรือ ‫ خالفيةًاجتهادية‬ก็อย่าเข้าใจผิด ว่า ประเด็นนี้ถกู จัดเป็ นปั ญหาประเภทคิลาฟี ยะห์ดว้ ย แต่ทเ่ี ขากล่าวเช่นนี้ หมายถึงผลของการอิจติฮาดนัน้ เป็ นคิลาฟ หรือมีคลิ าฟในการอิจติฅฮาดนันเอง ่ (ย้าว่า ควรทาความเข้าใจในประเด็นนี้ให้กระจ่าง เพือ่ จะได้ไม่สบั สนระหว่าง ปั ญหาคิลาฟี ยะห์ กับการคิลาฟในปั ญหาอิจติฮาดียะห์) เมือ่ การละหมาดตามอิหม่ามทีอ่ ่านกุนูตเป็ นปั ญหาอิจติฮาดียะห์ และผลของการ วินิจฉัยในประเด็นนี้ ต่างกันและค้านกัน บ้างก็วา่ ให้ตามอิหม่ามทีอ่ ่านกุนูต, และ บ้างก็วา่ ไม่ตอ้ งตาม และบ้างก็ให้พจิ ารณาความเชือ่ ของผูก้ ระทาเป็ นพืน้ ฐาน ดังนี้ 1 – ให้ละหมาดอิหม่ามทีอ่ ่านกุนูต ชัยคุล้ อิสลาม อิบนิ ตัยมียะห์ กล่าวว่า


52

ُ ‫سو‬ ً‫َت‬ ِّ ‫غًفِّي ِّه‬ َ ‫ًفَإِّ َذاًقَن‬،ُ‫ًال ْجتِّ َهاد‬ ُ َ‫ومًأ َ ْنًيَتْبَ َعًإ َما َم ًهًُفِّي َماًي‬ ِّ ‫َو ِّل َه َذاًيَ ْنبَ ِّغيً ِّل ْل َمأ ْ ُم‬ ْ ‫ًو ِّإ ْنًتَ َر َك‬،ُ ًْ ُ‫وتًلَ ْمًيَ ْقن‬ ‫ت‬ َ ُ‫ًالقُن‬ َ ‫قَن‬ َ ‫َتً َمعَه‬ “และดังทีก่ ล่าวนี้สมควรต่อมะอ์มมู ในการตามอิหม่ามของเขาในสิง่ ทีอ่ นุญาต ให้อจิ ติฮาด ดังนัน้ เมือ่ อิหม่ามกุนูต ก็ให้มะอ์มมู กุนูตตามเขา แต่หากอิหม่ามไม่กู นุตมะอ์มมู ก็ไม่ตอ้ งกุนูต” อัลฟะตาวาอัลกุบรอ ญุชอ์ท่ี 2 หน้าที่ 252 2 – ไม่ให้กุนูตตาม แต่ให้อ่านดุอาอ์เอียะอ์ตดิ าลแทน คณะกรรมการถาวรเพือ่ การค้นคว้าทางวิชาการและตอบปั ญหา แห่งราชอณา จักรซาอุดอิ าราเบีย โดยมีเชค อบูบกั ร์ เซด, เชคซอและห์ อัลเฟาซาน และเชค อับดุลอะซีซ บิน อับดุลลอฮ์ อาลิเชค เป็ นประธาน ได้ตอบคาถามในกรณีน้วี า่ ‫القنوتًفيًصالةًالفجرًلًيشرعًإلًفيًوقتًالنوازلً؛‬ ً‫ألنًالنبيًصلىًهللاًعليهًوسلمًلمًيكنًيفعلهًإلًفيًتلكًالحالًولمًيثبت‬ ً‫عنهًأنهًكانًيداومًعليهًوتصحًالصالةًخلفًمنًيداومًعليهًلكنًل‬ ً‫ً"ًربناًولكًالحمدًحمداًكثيراًطيباًمباركاًفيه‬:ً‫ًوإنماًيكرر‬،ً‫يتابعه‬ ‫" ملءًالسماءًوملءًاألرضًوملءًماًشئتًمنًشيءًبعد‬ http://alifta.gov.sa/…/Pag…/PermanentCommitte eSubjects.aspx… “การกุนูตในละหมาดซุบฮินนั ้ ไม่ถกู บัญญัตเิ ป็ นศาสนา นอกจากในยามประสบ เหตุรา้ ย เนื่องจากท่านนบี ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม ไม่เคยปฏิบตั ิ นอกจาก ในยามทีเ่ กิดสภาพดังกล่าว และไม่มคี ารายรายงานทีแ่ น่ชดั สืบไปถึงท่านว่า ท่าน ได้ทามันสม่าเสมอ, และการละหมาดตามหลังอิหม่ามทีอ่ ่านกุนูตเป็ นประจานัน้ ใช้ได้ โดยทีเ่ ขาไม่ตอ้ งกุนูตตาม แต่ให้อ่านข้อความต่อไปนี้ซ้าไปซ้ามาคือ


53

ً‫ربناًولكًالحمدًحمداًكثيراًطيباًمباركاًفيهًملءًالسماءًوملءًاألرض‬ ‫وملءًماًشئتًمنًشيءًبعد‬ 3 – ให้พจิ ารณาความเชือ่ ของผูป้ ฏิบตั เิ ป็ นพืน้ ฐาน คือผูท้ จ่ี ะละหมาดตามหลังอิหม่ามเขามีความเชือ่ เรือ่ งกุนูตอย่างไร คือ ถ้าเขามี ความเชือ่ ว่ากุนูตเป็ นซุนนะห์ ถ้าเช่นนัน้ การละหมาดตามอิหม่ามทีอ่ ่านกุนูตก็คง ไม่มปี ั ญหา เพราะทัง้ อิหม่ามและมะอ์มมู มีความเชือ่ เหมือนกัน แต่ถา้ มะอ์มมู เชือ่ ว่า กุนูตซุบฮิเป็ นบิดอะห์ แล้วอย่างไรเล่า ทีเ่ ขาจะยอมทาบิดอะห์ในขณะทีเ่ ขา ละหมาด เชค สุไลมาน อัรรุฮยั ลีย์ ให้คาตอบว่า “คนทีเ่ ชือ่ ว่ากุนูตซุบฮิเป็ นบิดอะห์ ไม่ถกู บัญญัตใิ นศาสนา ในสภาพเช่นนี้ เขาไม่ ต้องตามอิหม่ามในการกุนูต ทว่าให้เขารุกวั อ์พร้อมกับอิหม่าม และละหมาด พร้อมกับอิหม่าม โดยทาละหมาดให้ครบถ้วนพร้อมกับอิหม่าม แต่ไม่ตอ้ งตาม อิหม่ามในการกุนูต” https://www.youtube.com/watch?v=w2AaVYe4N wE&app=desktop เราเคยตัง้ คาถามว่า ทาไมผูท้ เ่ี ชือ่ ว่ากุนูตเป็ นบิดอะห์ จึงเสนอแนวทางทีอ่ นุญาต ให้ตามอิหม่ามทีก่ ุนูต ทาไมไม่เสนอแนวทางทีป่ ลอดภัยจากการทาบิดอะห์ (ใน เมือ่ ท่านก็เชือ่ ว่ากุนูตเป็ นบิดอะห์) และยิง่ ไปกว่านัน้ เราเห็นพวกเขา (บางคน) กล่าวโจมตีผทู้ ไ่ี ม่เลือกตามแนวทาง อุลามาอ์ทพ่ี วกเขานาเสนอ ด้วยคาว่า ไม่เอาอุลามาอ์, กระโดดข้ามหัวอุลามาอ์


54

หรือว่าทัง้ สามทัศนะทีก่ ล่าวมานี้มอี ุลามาอ์อยูเ่ พียงทัศนะเดียว อีกสองทัศนะคือ ตาสีตาสาเขาฟั ตวากัน ? พูดเองไม่ใช่หรือว่า ปั ญหาอิจติฮาดียะห์ตอ้ งไม่โจมตี ว่าร้าย เอาเป็ นเอาตายกัน แล้วทาไมถึงทาเสียเอง เรียนและทบทวนกัน (6) #ในอิจติฮาดมีคลิ าฟ และ #ในคิลาฟมีอจิ ติฮาด มีพน่ี ้องบางท่านสอบถามเข้ามาว่า อะไรคือปั ญหา “คิลาฟี ยะห์ อิจติฮาดียะห์” เพราะมีการใช้ศพั ท์ทบั ซ้อนกันอยู่ เรายกตัวอย่างเช่น คาฟั ตวาของ อัลลุจนะห์ อัลดาอิมะห์ ฯ ของซาอุด้ี ว่า ‫الجتهادية الخالفية المسائل من بالقنوت الصبح صالة فتخصيص‬ “ดังนัน้ การเจาะจงเฉพาะกุนูตซุบฮินนั ้ มันเป็ นปั ญหาคิลาฟี ยะห์ อิจติฮาดียะห์” (ฟั ตวาหมายเลข 2222) หรือคาฟั ตวา จากดารุล้ อิฟตาฮ์ ของลิเบีย ว่า


55

‫الجتهادية الخالفية المسائل من الفجر في القنوت فإن‬ “แท้จริงการกุนูตในละหมาดซุบฮินนั ้ เป็ นปั ญหาคิลาฟี ยะห์อจิ ติฮาดียะห์” https://ifta.ly/web/index.php/2012-09-04-09-5516/2012-10-16-13-10-43/1142-2013-03-20-1240-04 เพือ่ ไม่ให้เกิดความสับสน เราจะจาแนกให้เข้าใจง่ายๆดังนี้ 1 – มัสอะละห์อจิ ติฮาดียะห์ หรือปั ญหาทีต่ อ้ งอาศัยการวินิจฉัยนัน้ ไม่จาเป็ น จะต้องมีคลิ าฟเสมอไป เพราะผลของมันอาจจะตรงกัน, หรือ ต่างกัน, หรือค้าน กัน ก็ได้ และถ้าผลของมันต่างกัน อย่างนี้คอื อิจติฮาดทีม่ คี ลิ าฟ 2 – มัสอะละห์คลิ าฟี ยะห์ หรือปั ญหาการขัดแย้ง มีอยูส่ องลักษณะคือ 2.1 การคิลาฟทีอ่ นุญาตให้มกี ารอิจติฮาด ขอใช้ภาษาอธิบายให้เข้าใจง่ายๆว่า เป็ นการโต้แย้งคัดค้านทีม่ สี าระ ควรแก่การ พิจารณา และไม่อนุญาตให้ตาหนิ “มุจตะฮิด” หรือผูว้ นิ ิจฉัย อย่างนี้คอื ข้อความ


56

ทีเ่ รากล่าวว่า “ในคิลาฟมีอจิ ติฮาด” ซึง่ บรรดานักวิชาการจะเรียกปั ญหาใน ลักษณะนี้หลายชือ่ ด้วยกัน เช่น คิลาฟมัวอ์ตะบัร/ คิลาฟมักบู ๊ ล / คิลาฟซาอิค / คิลาฟก่อวีย์ / คิลาฟมะฮ์มดู อย่างนี้เป็ นต้น 2.2 การคิลาฟทีไ่ ม่อนุ ญาตให้มกี ารอิจติฮาด คือไม่ยอมรับในการคิลาฟและไม่อนุญาตให้อจิ ติฮาด หรือเรารียกง่ายๆว่า เป็ น การโต้แย้งคัดค้านทีไ่ ร้สาระ ไม่ควรค่าแก่การพิจาณา ซึง่ บรรดานักวิชาการเรียก ปั ญหาลักษณะนี้หลายชือ่ เช่นเดียวกัน คือ คิลาฟฆ็อยรุมวั อ์ตะบัร / คิลาฟมัรดู๊ด / คิลาฟฆ็อยรุซาอิค / คิลาฟฏออีฟ / คิลาฟมัซมูม อย่างนี้เป็ นต้น ดังนัน้ : “ไม่ใช่ทุกการอิจติฮาดเป็ นคิลาฟ และไม่ใช่ทุกการคิลาฟเป็ นอิจติฮาด”

เอกภาพของมุสลิมโลก วันอะรอฟะห์ เป็ นวันสาคัญสาหรับมุสลิมทัง้ โลกตามบัญญัตศิ าสนา คือวันทีผ่ ู้ ประกอบพิธฮี จั ญ์ทาการวุกฟู ทีท่ งุ่ อะรอฟะห์ และสาหรับมุสลิมทีไ่ ม่ได้ทาฮัจญ์กม็ ี ซุนนะห์ให้ถอื ศีลอดในวันนี้เช่นเดียวกัน


57

ดังนัน้ วันอะรอฟะห์จงึ เป็ นวันทีบ่ รรดามุสลิมทัง้ โลกเป็ นหนึ่งเดียวกัน ด้วยการ ยึดถือและปฏิบตั ติ ามคาสอนของศาสนากันอย่างพร้อมเพรียง ซึง่ ในปี น้ี วันอะ รอฟะห์ตรงกับวันจันทร์ท่ี 20 สิงหาคม 61 แต่แปลก !! สาหรับผูเ้ รียกร้องและถวิลหาความเป็ นเอกภาพ (บางคน) ทีท่ า ตัวแปลกแยก, ไม่ยอมร่วมในความเป็ นหนึ่งเดียวกับมุสลิมทัง้ โลกบนหลักการ แต่กลับไปแสวงหาเอกภาพบนความแปลกแยกทีไ่ ร้หลักการเสียเอง

ขอให้ทบทวน ซุนนะห์ได้ปรากฏชัดเจนในวันนี้ จากการยืนหยัดของคนรุน่ แรกไม่ใช่หรือ ด้วยการต่อสูแ้ ละบากบันของพวกเขาที ่ ไ่ ม่เคยย่อท้อ แม้ในอดีตจะมีผคู้ นทีเ่ ข้าใจซุนนะห์เพียงน้อยนิดก็ตาม


58

พวกเขาต้องกัดฟั นทน ฟั นฝ่ าอุปสรรค์ต่างๆ มากมาย ยอมทนถูกด่า, ถูก ประณามและเย้ยหยัน จนวันนี้..มีคนทีป่ ระกาศยึดซุนนะห์มากมาย ทุกหย่อมหญ้า แต่ผรู้ ขู้ องเราในวันนี้ (บางคน) กลับกลายเป็ นสนต้องลม ทีโ่ อนไปเอนมาตาม แรงลม บางท่านกล่าวว่า “ยึดทัศนะทีด่ อ้ ยกว่าเพือ่ สลายความขัดแย้ง” ถามว่า ผูท้ ก่ี ล่าวเช่นนี้ ไม่เคยยืนหยัดบนความถูกต้องและชัดเจนเลยหรือ ?

ถ้าตอบว่าเคย ก็ถามว่า...แล้วเพราะเหตุใด ทีใ่ นเวลานี้ทา่ นถึงถอยห่างความ ถูกต้องและชัดเจนแล้วไปยึดทัศนะทีด่ อ้ ยกว่า

เพือ่ สลายความขัดแย้งตามทีอ่ า้ งกระนัน้ หรือ ? ทาได้หรือ ? ท่านทราบมิใช่หรือว่า ความขัดแย้งในเรือ่ งนี้มมี าตัง้ แต่อดีต จนถึงปั จจุบนั ไม่เคย สิน้ สุดและไม่มวี แ่ี ววว่าจะสิน้ สุด


59

แล้วเมือ่ ไหร่ทท่ี า่ นจะได้กลับมายึดความถูกต้องชัดเจน หรือจะต้องยืนอย่างนี้ เรือ่ ยไปจนวาระสุดท้ายของชีวติ

แล้วผลของมันคืออะไร ? มิใช่แค่เพียงตัวท่านเองเท่านัน้ ทีห่ นั ห่างจากความถูกต้องและชัดเจน แต่ ประชาชนและคนรอบข้างท่าน ต้องถอยห่างไปด้วย แม้ทา่ นจะเจตนาดีทต่ี อ้ งการสลายความขัดแย้งในเวลานี้ #แต่มนั กลับเพิม่ ความขัดแย้งในกลุ่มซุนนะห์ดว้ ยกันเอง เพราะอย่างน้อย เราก็คนหนึ่งทีจ่ ะไม่ยอมถอยห่างจากความถูกต้องและชัดเจน เป็ นอันขาด ขอให้คดิ และทบทวนเถิด !!!

ลาดับขัน้ ของหลักฐาน ตอน : ซุนนะห์ของท่านนบีและซุนนะห์ของบรรดาคอลีฟะห์


60

#ซุนนะห์ของท่านนบี คือเรือ่ งราวทีถ่ กู รายงานมาจากคาพูด,การกระทา หรือการยอมรับของท่านนบี ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม ซึง่ จาแนกได้ดงั นี้ 1. ซุนนะห์เกาลียะห์ คือเรือ่ งราวทีไ่ ด้จากคาพูดของท่านนบี ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิ วะซัลลัม เฃ่นเหตุการณ์ทบ่ี รรดาศอฮาบะห์ถามเกีย่ วกับเรือ่ งน้าทะเล ท่านตอบ ว่า َّ ُ‫ل َماؤًه‬ ً‫الط ُه ْو ًُر ُه َو‬ ًُّ ‫الح‬ ِّ ُ‫َمًْيتَت ُ ًه‬ “น้าทะเลนัน้ สะอาด และสัตว์ทะเลทีต่ ายก็เป็ นทีอ่ นุมตั ”ิ อิบนิมาญะห์ ฮะดีษ เลขที่ 380 2. ซุนนะห์เฟี ยะอ์ลยี ะห์ คือเรือ่ งราวทีไ่ ด้จากการกระทาของท่านนบี ศ็อลล็อลล อฮุอลัยฮิวะซัลลัม ในด้านการอธิบายอัลกุรอาน หรืออธิบายข้อบัญญัตขิ อง ศาสนา เช่นวิธกี ารอาบน้าละหมาด,วีธกี ารละหมาด, วิธกี ารทาฮัจญ์ และในภาค สังคมเช่น ข้อบัญญัตเิ กีย่ วกับซือ้ ขาย เป็ นต้น ตัวอย่างในกรณีทกี ล่าวนี้ม ี มากมาย


61

ส่วนการกระทาของท่านทีเ่ ป็ นกิจวัตร เช่นการกิน,การดืม่ และการใช้ชวี ติ ทัวไป ่ ตามวิสยั ของปุถุชน ไม่ถอื เป็ นข้อบัญญัตขิ องศาสนา นอกจากกรณีทท่ี า่ นเจาะจง กล่าวถึงเป็ นการเฉพาะ

3. ซุนนะห์ตกรี ั ๊ รย่ี ะห์ คือเหตุการณ์หรือเรือ่ งราวทีเ่ กิดขึน้ กับบรรดาศอฮาบะห์ซง่ึ ท่านนบีเองก็รบั ทราบและไม่ได้กล่าวตาหนิแต่อย่างใด เช่นเหตการณ์ท่ี อบีสะอีด๊ อัลคุดรีย์ รายงานว่า ชายสองคนได้ออกเดินทางไปด้วยกัน เมือ่ เข้าเวลา ละหมาดปรากฏว่าไม่มนี ้าทีจ่ ะทาน้าละหมาด ทัง้ สองจึงได้ละหมาดด้วยการทาตะ ยามุม แต่หลังจากนัน้ ทัง้ สองได้พบน้าขณะทีเ่ วลาละหมาดยังคงมีอยู่ คนหนึ่ง ได้ทาการอาบน้าละหมาดแล้วละหมาดใหม่ แต่อกี คนหนึ่งไม่ได้ทาใหม่ เมือ่ เรือ่ ง นี้มาถึงท่านนบี ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม ท่านก็ยอมรับในการกระทาของ บุคคลทัง้ สองโดยกล่าวว่า ً‫ يُ ِّع ًْد لَ ًْم للَّذِّي فَقَا َل‬:ً‫ْت‬ ًَ ْ‫أجزَ أت‬ ًَ ُ ‫صالَت‬ ًَ ‫أ َعا ًَد للَّذِّي َوقَا‬: ‫ك‬ ًَ َ‫ل‬ ْ ‫ك َو‬ َ ‫صب‬ ُ ‫ك ال‬ َ َ‫سنَّ ًةَ أ‬ َ ‫ل‬ ‫األج ًُر‬ ًِّ ‫َم َّرتَي‬ ْ ‫ْن‬


62

ท่านนบีได้กล่าวแก่คนทีไ่ ม่ได้ทาละหมาดใหม่วา่ เจ้าทาถูกต้องตามซุนนะห์แล้ว และการละหมาดของเจ้าก็ใช้ได้ และท่านก็กล่าวแก่คนทีอ่ าบน้าละหมาดและทา ละหมาดใหม่วา่ สาหรับเจ้าได้รางวัลสองครัง้ ” สุนนั นะซาอีย์ ฮะดีษเลขที่ 430 ซุนนะห์ทงั ้ สามประเภทนี้เรียงลาดับก่อนหลังในการใช้อา้ งเป็ นหลักฐานได้ดงั นี้ 1 – ซุนนะห์ทางด้านคาพูดและการกระทาควบคูก่ นั มีน้าหนักในการใช้อา้ งเป็ น หลักฐานมากทีส่ ุด กรณีน้เี ช่น การละหมาดและการทาฮัจญ์ ทีท่ า่ นนบีทงั ้ สังสอน ่ ด้วยวาจาและทาให้ดู ‫ع ِّني ُخذُوا‬ َ ‫َمنَا ِّس َك ُك ًْم‬ “พวกเจ้าจงเอารูปแบบวิธกี ารทาฮัจญ์จากฉัน” สุนนั นะซาอีย์ ฮะดีษเลขที่ 3012 ‫صلُّوا‬ َ ‫ص ِّلي َرأ ْيت ُ ُم ْونِّي َك َما‬ َ ُ‫أ‬ “พวกเจ้าจงละหมาดเหมือนอย่างทีเ่ ห็นฉันละหมาด”ศอเฮียะห์บุคอรี ฮะดีษเลขที่ 595


63

2 – ให้ยดึ เอาซุนนะห์ทางด้านการกระทาก่อนคาพูดของท่านนบี ด้วยเหตุทก่ี าร กระทา โดยเฉพาะวิธกี ารปฏิบตั อิ บิ าดะห์มผี ลต่ออุมมะห์มากกว่า ขณะทีบ่ รรดา ฟุกอฮาอ์ (นักวิชาการด้านฟิ กฮ์) กลับเห็นต่างว่า ให้ยดึ เอาคาพูดก่อนการ กระทาของท่านนบี เนื่องจากซุนนะห์ทางด้านคาพูดนัน้ มีผลต่อประชาชาติ อิสลามมากทีส่ ุดใน ส่วนการกระทาของท่านนัน้ บางกรณีกเ็ ป็ นเรือ่ งเฉพาะนบี เท่านัน้ ไม่มผี ลบังคับใช้ต่อประชาชาติอสิ ลาม 3 – ให้ยดึ เอาซุนนะห์ทางด้านการยอมรับของท่านนบีเป็ นกรณีสุดท้ายในการใช้ อ้างเป็ นหลักฐาน

#ซุนนะห์ของบรรดาค่อลีฟะห์ คือคาพูดหรือการกระทาของคอลีฟะห์ทา่ นหนึ่งท่านใด ไม่วา่ จะเป็ นท่านอบูบกั ร์ อัศศิดดีก๊ ,ท่านอุมรั อิบนุ้ลค๊อตต๊อบ ,ท่านอุสมาน บินอัฟฟาน และท่านอาลี อิ บนิอบีตอลิบ ท่านนบี ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า ً‫سنَّتِّي فَعَلَ ْي ُك ْم‬ ًِّ َ‫الرا ِّش ِّديْنًَ ال ُخلَف‬ ُّ ‫ع‬ ُ ِّ‫سنَّ ًِّة ب‬ ُ ‫اء َو‬ ِّ ‫بِّالن َ​َو‬ َ ‫علَ ْي َها‬ َ ‫اج ًِّذ‬ َ ًَ‫ضوا ال َم ْه ِّد ْييِّن‬


64

“จาเป็ นต่อพวกท่านทัง้ หลายทีจ่ ะต้องปฏิบตั ติ ามซุนนะห์ของฉัน และซุนนะห์ของ บรรดาคอลีฟะห์ผปู้ ราชญ์เปรือ่ งผูไ้ ด้รบั ทางนา พวกเจ้าจงยึดให้มนดั ั ่ งกั ่ ดด้วยฟั น กราม” สุนนั อัตติรมีซยี ์ ฮะดีษเลขที่ 2600 ฮะดีษข้างต้นนี้ ท่านนบีไม่ได้กล่าวเจาะจงเป็ นการเฉพาะว่าจะต้องเป็ นคอลีฟะห์ ท่านหนึ่งท่านใด แต่ทา่ นได้กล่าวโดยรวมว่า “บรรดาคอลีฟะห์” นอกจากสอง ท่านแรกคือ ท่านอบูบกั ร์ และ อุมรั ทีถ่ กู ระบุไว้ในคารายงานอีกบทหนึ่งเป็ นการ เฉพาะคือ ً‫ع ْن‬ ًِّ ‫ َم ْسعُودً اب‬، ‫ل‬ ًَ ‫ قَا‬: ‫ل‬ ًَ ‫ل قَا‬ ًُ ‫سو‬ ًَِّّ ‫صلَّى‬ ًَّ ‫علَ ْي ًِّه‬ ُ ‫ّللا َر‬ َ ‫ْن‬ َ ‫سلَّ ًَم‬ َ ‫ َو‬: ‫ا ْقتَدُوا‬ َ ُ‫ّللا‬ ًِّ ‫ن ِّباللَّ َذي‬ ‫ْن‬ ًْ ‫ن بَ ْعدِّي ِّم‬ ًْ ‫ص َحا ِّبي ِّم‬ ُ ‫َو‬ ْ َ ‫ع َم ًَر بَ ْكرً أَبِّي أ‬ อับดุลลอฮ์ อิบนิ มัสอู๊ด รายงานว่า “พวกท่านจงปฏิบตั ติ ามบุคคลทัง้ สอง หลังจากฉันผูเ้ ป็ นศอฮาบะห์ของฉัน คือ อบูบกั ร์และอุมรั ” สุนนั อัตติรมีซยี ์ ฮะ ดีษเลขที่ 3741 ซุนนะห์ของบรรดาค่อลีฟะห์น้ใี ช้เป็ นหลักฐานทางศาสนาด้วย จากการรับรอง ของท่านนีบตามทีก่ ล่าวมาแล้วข้างต้น แต่จะใช้อย่างไร ?


65

นี่คอื ประเด็นทีเ่ ราจะชีแ้ จงให้ทราบดังนี้ คาพูดและการกระทาของบรรดาค่อลีฟะห์ บางครัง้ ก็มาขยายความซุนนะห์ของ ท่านนบี ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม หรือบางครัง้ ก็มาเจาะจง แจกแจง และ บางครัง้ ก็มาแจ้งฮุก่มในเรือ่ งนัน้ ๆให้ทราบ ตัวอย่างเช่น เราทราบว่าการสุญดู ติ ลาวะห์ อยูใ่ นฮุก่มซุนนะห์ ไม่ใช่วาญิบ (คือไม่มผี ลบังคับใช้ขนั ้ เด็ดขาด) เนื่องจากการกระทาของท่านอุมรั อิบนุ้ลค๊อตต๊อบ ในเหตุการณ์ทท่ี า่ นกาลังคุ ตบะห์ โดยบางครังท่ ้ านอ่านอายะห์ทเ่ี กีย่ วกับการสุญดู ท่านก็ลงจากมิมบัรมา สุญดู แล้วกลับขึน้ ไปคุตบะห์ต่อ และบางครัง้ ท่านก็อ่านผ่านเลยไปโดยไม่ได้ลงมา สุญดู แต่อย่างใด ส่วนซุนนะห์ของค่อลีฟะห์ทา่ นใดทีแ่ ย้งกับซุนนะห์ของท่านนบี อย่างนี้ให้ถอื เป็ น บทเฉพาะกาล หรือทีเ่ รียกในทางวิชาการว่า “ลิล้ มัสละฮะห์” คือถูกนามาใช้ เฉพาะกิจ เพือ่ แก้ไข,ป้ องกันหรือขจัดปั ญหาเป็ นการชัวคราวตามแต่ ่ กรณี และ เมือ่ ไม่มเี หตุจาเป็ นก็ให้กลับไปยึดเอาซุนนะห์ของท่านนบี ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิ วะซัลลัม เป็ นหลัก


66

เรายกตัวอย่างในเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ในยุคของคอลีฟะห์ อุสมาน อิบนิ อัฟฟาน สักสองสามตัวอย่างดังนี้ 1 – คุตบะห์ก่อนละหมาดอีด

เป็ นทีท่ ราบกันดีอยูแ่ ล้วว่าในวันอีดทัง้ สอง (อีดล้ิ ฟิ ตร์ กับอีดล้ิ อัฏฮา) นัน้ ท่านน บีจะทาการละหมาดอีดก่อนแล้วจึงทาการคุตบะห์ รวมถึงในยุคของท่านอบูบกั ร์, ท่านอุมรั และยุคต้นของท่านอุสมาน ตามการรายงานทีถ่ กู ระบุไว้ในศอเฮียะห์บุ คอรีและมุสลิม แต่มาในยุคปลายของท่านอุสมาน ได้มกี ารคุตบะห์อดี ก่อนแล้ว จึงละหมาดอีดตามหลัง (ดูฟัตฮ้ลบารี เล่มที่ 2 หน้าที่ 451) ซึง่ เหตุและปั จจัย ทีท่ าให้ทา่ นอุสมานทาเช่นนี้กเ็ พือ่ แก้ปัญหากรณีทผ่ี คู้ นละหมาดอีดไม่ทนั (ซึง่ ต่างจากยุคของมัรวานทีท่ าการคุตบะห์ก่อนเพือ่ ให้ผคู้ นได้ฟังคุตบะห์) แต่พอ มาถึงยุคของท่านอาลี อิบนิ อบีตอลิบ ก็กลับไปยืนตามซุนนะห์ของท่านนบีดงั ่ เดิมคือ ละหมาดอีดก่อนแล้วจึงคุตบะห์ 2 – ละหมาดสีร่ อ๊ กอะห์ทม่ี นี าระหว่างการทาฮัจญ์ ในยุคของท่านนบี, อบูบกั ร์, อุมรั และช่วงต้นของการปกครองในยุคของท่านอุ สมาน ได้มกี ารละหมาดย่อทีม่ นี าจานวน 2 ร๊อกอะห์ แต่ชว่ งครึง่ หลังการ


67

ปกครองของท่านอุสมาน ได้ทาการละหมาดเต็มทีม่ นี า คือจานวน 4 ร๊อกอะห์ ทาให้ศอฮาบะห์หลายท่านไม่เห็นด้วยกับการกระทาเช่นนี้ บางท่านก็ละหมาด ตาม, บางท่านก็ตามและกลับไปละหมาดย่อใหม่อกี ครัง้ จานวน 2 ร๊อกอะห์ เช่น ท่านอับดุลลอฮ์ อิบนิ อุมรั และบางท่านก็ไม่ตาม เช่นท่านอาลี อิบนิ อบีตอลิบ เป็ นต้น ‫ عيينة بن سفيان روى‬، ‫ قال محمد بن جعفر عن‬: " ‫بمنى عثمان اعتل‬ ‫ علي فأتي‬، ‫ له فقيل‬: ‫ بالناس صل‬، ‫ علي فقال‬: ‫ شئتم إن‬، ‫أصلي ولكن‬ ‫ وآله عليه هللا صلى هللا رسول صالة بكم‬، ‫ ركعتين يعني‬. ‫ فقالوا‬: ‫ ل‬، ‫ أربعا عثمان المؤمنين أمير صالة إل‬. . ‫" بهم يصلي أن علي فأبى‬ ซุฟยาน อิบนุ อุยยั นะห์ รายงานจาก ญะอ์ฟัร บิน มูฮมั หมัดว่า “ท่านอุสมาน เกิดป่ วยทีม่ นี า เมือ่ ท่านอาลีมาถึงก็มคี นกล่าวแก่ทา่ นว่า โปรดนาผูค้ นละหมาด ด้วยเถิด ท่านอาลีตอบว่า ได้..หากพวกท่านต้องการ แต่ทว่าฉันจะนาละหมาด พวกท่านด้วยแบบการละหมาดของท่านรอซูลุล้ ลอฮ์ ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะอาลิฮี หมายถึงละหมาดสองร๊อกอะห์ พวกเขากล่าวว่า ไม่เอา..นอกจากการละหมาด ตามแบบของท่าน อุสมานคือ สีร่ อ๊ กอะห์...ดังนัน้ ท่านอาลีจงึ ปฏิเสธทีจ่ ะนา ละหมาดพวกเขา” (ศอเฮียะห์บุคอรี 2 : 154 ศอเฮียะห์มุสลิม 1 : 261)


68

บรรดานักวิชาการพยายามทีจ่ ะชีเ้ หตุและปั จจัยของการกระทาทีต่ ่างจากซุนนะห์ ของท่านนบีหลายมุมมองด้วยกัน เช่น บางท่านกล่าวว่า เพราะท่านอุสมานมี ภรรยาหรือมีหลักทรัพย์อยูท่ ม่ี กั กะห์, บางท่านกล่าวว่า เพราะท่านอุสมาน ต้องการปั กหลักอยูท่ ม่ี กั กะห์ แต่โดยข้อเท็จจริงแล้ว หลังจากเสร็จสิน้ การทาฮัจญ์ ท่านก็เดินทางกลับนครมะดีนะห์ แต่เหตุและปั จจัยทีม่ นี ้าหนักมากทีส่ ุดคือ ป้ องกันไม่ให้เกิดความเข้าใจผิดเกีย่ วกับวิธกี ารละหมาดฟั รดูเนื่องจากช่วงเวลา นัน้ มีมุสลิมใหม่รว่ มเดินทางมาทาฮัจญ์เป็ นจานวนมาก และเมือ่ มาถึงยุคการปกครองของท่านอาลี อิบนิ อบีตอลิบ ท่านก็ได้กลับมานา ละหมาดย่อทีม่ นี า 2 ร๊อกอะห์เหมือนในยุคของท่านนบี,ท่านอบูบกั ร์ และท่าน อุมรั และในช่วงต้นการปกครองของท่านอุสมานดังเดิ ่ ม 3 – ประกาศห้ามทาอุมเราะห์พร้อมฮัจญ์ การทาอุมเราะห์พร้อมฮัจญ์หรือการทาฮัจย์แบบตะมัตตัวอ์น้ี มีมาตัง้ แต่ในยุคของ ท่านนบี ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม,ท่านอบูบกั ร์ ,ท่านอุมรั และท่านอุมรั เองก็ เคยประกาศให้ระงับการทาอุมเราะห์พร้อมฮัจญ์เป็ นการชัวคราวมาแล้ ่ ว เนื่องจากเกรงว่า บรรดาผูค้ นจะไม่มาทาอุมเราะห์นอกฤดูฮจั ญ์ และมาประกาศ ห้ามอีกครัง้ ในยุคของท่านอุสมาน บินอัฟฟาน ทาให้เกิดการเห็นต่างในหมูศ่ อ ฮาบะห์


69

‫ الحكم بن مروان قال‬: ‫ عنهما هللا رضي وعلًيًّا عثمان شهدت‬، ‫وعثمان‬ ‫ المتعة عن ينهى‬، ‫ بينهما يُ ْجمع وأن‬، ‫ بهما أ َهلً عليً رأى فلما‬: ‫لبيك‬ ‫ وحجة بعمرة‬، ‫ قال‬: ‫ِّلقول وسلم عليه هللا صلى النبي سنة أل َدع كنت ما‬ ‫أ َحد‬ มัรวาน บิน ฮะกัม กล่าวว่า ฉันเคยอยูร่ ว่ มกับท่านอุสมานและท่านอาลี (ขออัลลอฮ์ทรงเมตตาต่อท่านทัง้ สอง) ขณะทีท่ า่ นอุสมานห้ามการทาฮัจญ์ตะมัต ตัวอ์ คือการทาอุมเราะห์พร้อมฮัจญ์ เมือ่ ท่านอาลีทราบดังนัน้ ท่านจึงประกาศ เจตนาทาอุมเราะห์พร้อมฮัจญ์โดยกล่าวว่า ข้าตอบรับคาเรียกร้องของพระองค์ ท่านด้วยการทาอุมเราะห์และฮัจญ์ ท่านกล่าวว่า ฉันไม่เคยทิง้ ซุนนะห์ของท่านน บี ศ็อล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม เพราะคาใคร” ศอเฮียะห์บุคอรี ฮะดีษเลขที่ 1461 เราไม่ได้ปฏิเสธซุนนะห์ของค่อลีฟะห์ทา่ นใด เรายืนยันว่าซุนนะห์ของบรรดาค่อ ลีฟะห์ นัน้ ใช้อา้ งเป็ นหลักฐานในการอธิบายความอัลกุรอานและซุนนะห์ของ ท่านนบี ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม


70

ส่วนซุนนะห์ของค่อลีฟะห์ทแ่ี ย้งกับซุนนะห์ของท่านนบีนนั ้ จะถูกใช้เป็ นบทเฉพาะ กาล หรือทีเ่ รียกว่าในทางวิชาการว่า “ลิล้ มัสละฮะห์” ตามทีก่ ล่าวแล้วข้างต้น คือถูกนามาใช้เฉพาะกิจ เพือ่ แก้ไข,ป้ องกันหรือขจัดปั ญหาเป็ นการชัวคราว ่ ตามแต่กรณี และเมือ่ ไม่มเี หตุจาเป็ นก็ให้กลับไปยึดเอาซุนนะห์ของท่านนบี ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม เป็ นหลัก เราขอความคุม้ ครองต่ออัลลอฮ์ ขอพระองค์อย่าให้หวั ใจของเรามีอคติต่อบรรดา ค่อลีฟะห์,บรรดาศอฮาบะห์ และปวงผูศ้ รัทธา เรานาเรือ่ งราวเหล่านี้มาเป็ นกรณี ตัวอย่างเพือ่ ให้ทา่ นได้เข้าใจถึงลาดับขัน้ ของการใช้หลักฐานเท่านัน้

ซุนนะห์เรายืนชัดแล้ว เอามาใช้ให้เกิดปั ญหา ทีจ่ ะเอาของอิบนุตยั มียะห์มาใช้ เอามาใช้ให้ถกู สิ ว่าใช้แบบไหน ถูกทีถ่ กู เวลาไหม จาเป็ นต้องปฏิเสธต่อผูท้ ท่ี ง้ิ หลักฐานแล้วไปยึดเอาคาพูดของคนหนึ่งคนใดจาก บรรดาอุลามาอ์ ไม่วา่ จะเป็ นใครก็ตาม และตัวบทของบรรดาปวงปราชญ์ในเรือ่ ง นี้ เพราะมันไม่อนุ ญาตให้ตามแบบไม่รหู้ ลักฐาน นอกจากปั ญหาต่างๆทีต่ อ้ ง วินิจฉัย ซึง่ ไม่มหี ลักฐานบ่งชีใ้ นเรือ่ งนัน้ ไม่วา่ จากอัลกุรอานหรือจากซุนนะห์ นี่ แหละทีน่ กั วิชาการบางท่านได้กล่าวถึงด้วยคาพูดทีว่ า่ ไม่มกี ารปฏิเสธในปั ญหา ต่างๆทีต่ อ้ งวินิจฉัย ส่วนผูท้ แ่ี ย้งกับอัลกุรอานและซุนนะห์นนั ้ จาเป็ นต้องตอบโต้


71

เขา ดังที ่ ่ อิบนุ อับบาส, ชาฟี อ,ี มาลิก และ อะห์หมัด ได้กล่าวไว้” ฟั ตฮุล มะญีด หน้าที่ 556 เราอาศัยบรรดาอุลามาเพือ่ หากิตาบุลลอฮซุนนะห์ หาหะดีษ ไม่ได้หยุดไปอยูท่ อ่ี ุ ลามะห์คนใด อย่างเช่น ชีอะห์เขาหยุดอยูท่ อ่ี หิ ม่าม อีหม่ามซาฟี อใี ห้เราผูกขาดกับเขาไหม เขาไม่ได้เรียกร้องให้ยดึ ติดกับเขา

#การพิจารณาประเภทปั ญหา เราพยายามอยูห่ ลายครัง้ หลายหนในการชีแ้ นะ และแนะนา หรือบางครัง้ ก็ใช้คา ว่า ขอให้ทบทวน และแม้วา่ ถ้อยคาของเราจะไม่ถกู รับฟั ง แต่เราก็ยงั จาเป็ น จะต้องพูดต่อไป เพราะไม่ตอ้ งการเห็นความเข้าใจทีค่ าดเคลื่อนถูกนาเสนอแก่ บรรดาผูค้ น แม้บางครัง้ เราจะถูกตาหนิ หรือถูกดูแคลน ด้วยถ้อยคาถากถางก็ ตาม ด้วยเหตุทเ่ี รามองว่าแต่ละคนต่างก็เจตนาดีในการตีแผ่สจั ธรรม แต่การจะ นาเสนอเรือ่ งใดๆ แก่บรรดาผูค้ นนัน้ ผูน้ าเสนอเองต้องมีความรูค้ วามเข้าใจที่ ถูกต้อง ประการแรกต้องรูจ้ กั และทาความเข้าใจตัวปั ญหาให้ทอ่ งแท้ ประการ ต่อมา ต้องรูจ้ กั แยกแยะประเภทของปั ญหา และชนิดของปั ญหาให้ถกู ต้อง เพราะ ถ้าไม่เข้าใจพืน้ ฐานเช่นนี้แล้ว เวลาอ่านตาราด้านฟิ กฮ์ทอ่ี ุลามาอ์เขานาเสนอ ก็จะ เกิดความสับสนและไขว้เขวได้ ตัวอย่างเช่น ปั ญหาอิจติฮาดียะห์ และปั ญาหาคิลาฟี ยะห์ ทัง้ สองนี้ไม่เหมือนกัน และถ้าเราไม่ เข้าใจการแยกแยะประเด็นนี้กจ็ ะพารวน และเกิดความสับสนอลหม่าน เมือ่ เจอ


72

คาว่า “ปั ญหาอิจติฮาดียะห์ทม่ี กี ารคิลาฟ” และ “ปั ญหาคิลาฟี ยะห์ทม่ี กี ารอิจติ ฮาด” ซึง่ เรือ่ งนี้เราเคยกล่าวแล้ว, และเคยแนะนากันในเบือ้ งต้นแล้ว, แต่กย็ งั จะต้องแนะนากันต่อไปอีก และบางคนก็ยงั จาแนกชนิดของปั ญหาไม่ออกระหว่าง ปั ญหาเห็นต่าง กับการปั ญหาขัดแย้ง (ตะเนาวุอ์ - ตะดอฏ) และบางคนก็ไม่ เข้าใจว่าจุดไหนประเด็นใดทีต่ อ้ ง อิงก๊าร หรือไม่ อิงก๊าร และถ้าไม่ดอ้ื ดึงจนเกินไปก็ขอให้ทบทวนและพิจารณากันอีกครัง้ นอกจากจะ เชือ่ มันในความในความรู ่ ท้ ม่ี อี ยูว่ า่ ถูกต้องแล้ว และไม่ยอมรับฟั งคาทักท้วง ถ้า เช่นนัน้ เราก็ชว่ ยอะไรไม่ได้มากไปกว่านี้ และขอให้ขอ้ เขียนต่อไปนี้เป็ นการ แนะนาต่อผูอ้ ยากรูอ้ ยากเรียนด้วยใจบริสทุ ธิ ์ . ปั ญหานัน้ ถูกจาแนกออกเป็ นสองประเภทด้วยกันคือ #ประเภทที่ 1 ปั ญหาอิจติฮาดียะห์ ( ‫ ) اجتهادية‬คือปั ญหาทีไ่ ม่มตี วั บท หลักฐานโดยตรงระบุไว้ ซึง่ บรรดานักวิชาการจึงใช้ความพยายามในการวิเคราะห์ ปั ญหาประเภทนี้ และผลของการวินิจฉัยปั ญหาประเภทนี้อาจจะตรงกัน หรือ ต่างกัน หรือขัดแย้งกันก็ได้ ซึง่ เชค ซอและห์ อาลิ เชค ได้กล่าวว่า ً‫إذاًكانًالخالفًفيًمسألةًلمًيردًفيهاًالدليلًفهذهًتسمىًالمسائل‬ ‫ًهذاًالخالفًسائغ‬،‫الجتهادية‬ “ถ้าหากการขัดแย้งในปั ญหาทีไ่ ม่มหี ลักฐานระบุในเรือ่ งนัน้ อย่างนี้เรียกว่าปั ญหา อิจติฮาดียะห์ และการขัดแย้งประเภทนี้เป็ นทีอ่ นุญาต” ตามทีไ่ ด้กล่าวแล้วว่า ผลของการวินิจฉัยในปั ญหาประเภทนี้ อาจจะตรงกัน, หรือต่างกัน หรือขัดแย้งกันก็ได้ และในกรณีทผ่ี ลของการวินิจฉัยขัดแย้งกัน มัน คือ การอิจติฮาดทีม่ กี ารคิลาฟ


73

ً‫فإذنًالنوعًاألولًمنًالخالفًخالفًفيًالمسائلًالجتهاديةًالتيًل‬ ‫نصًفيها‬ “ดังนัน้ ในประเภทแรกของการขัดแย้งนี้คอื การขัดแย้ง (คิลาฟ) ในปั ญหา อิจติ ฮาดียะห์ ซึง่ เป็ นปั ญหาทีไ่ ม่มตี วั บทระบุไว้” อย่างนี้คอื ข้อความทีเ่ รากล่าวไว้วา่ “ปั ญหาอิจติฮาดียะห์ทม่ี คี ลิ าฟ” และปั ญหา อิจติฮาดียะห์น้ี จะไม่มกี าร “อิงก๊าร” กัน เพราะเป็ นปั ญหาทีต่ ่างฝ่ ายต่างก็ไม่ม ี หลักฐานโดยตรงมารองรับ ต้องอาศัยหลักฐานข้างเคียง หรือการกิยาส (การ อนุมาน) ในการวินิจฉัย และคาพูดของอุลามาอ์ทร่ี บั รูก้ นั อย่างแพร่หลายว่า ً‫لًإنكارًفيًمسائل‬ ‫(( الجتهاد‬ไม่มกี ารอิงการ (ตาหนิ-ต่อต้าน) ในปั ญหาทีต่ อ้ งวินิจฉัย)) เชค อับดุรเราะห์มาน อาลิ เชค ได้อธิบายว่า ً‫يجبًاإلنكارًعلىًمنًتركًالدليلًلقولًأحدًمنًالعلماءًكائناًمنًكان‬ ً‫ونصوصًاألئمةًعلىًهذاًوأنهًلًيسوغًالتقليدًإلًفيًمسائلًالجتهاد‬ ً‫التيًلًدليلًفيهاًيرجعًإليهًمنًكتابًولًسنةًفهذاًهوًالذيًعناه‬ ً‫ًلًإنكارًفيًمسائلًاإلجتهادًوأماًمنًخالف‬:ً‫بعضًالعلماءًبقوله‬ ً‫الكتابًوالسنةًفيجبًالردًعليهًكماًقالًابنًعباسًوالشافعيًومالك‬ ‫وأحمد‬ “จาเป็ นต้องปฏิเสธต่อผูท้ ท่ี ง้ิ หลักฐานแล้วไปยึดเอาคาพูดของคนหนึ่งคนใดจาก บรรดาอุลามาอ์ ไม่วา่ จะเป็ นใครก็ตาม และตัวบทของบรรดาปวงปราชญ์ในเรือ่ ง นี้ เพราะมันไม่อนุ ญาตให้ตามแบบไม่รหู้ ลักฐาน นอกจากปั ญหาต่างๆทีต่ อ้ ง วินิจฉัย ซึง่ ไม่มหี ลักฐานบ่งชีใ้ นเรือ่ งนัน้ ไม่วา่ จากอัลกุรอานหรือจากซุนนะห์ นี่ แหละทีน่ กั วิชาการบางท่านได้กล่าวถึงด้วยคาพูดทีว่ า่ ไม่มกี ารปฏิเสธในปั ญหา


74

ต่างๆทีต่ อ้ งวินิจฉัย ส่วนผูท้ แ่ี ย้งกับอัลกุรอานและซุนนะห์นนั ้ จาเป็ นต้องตอบโต้ เขา ดังที ่ ่ อิบนุ อับบาส, ชาฟี อ,ี มาลิก และ อะห์หมัด ได้กล่าวไว้” ฟั ตฮุล มะญีด หน้าที่ 556 เพราะฉะนัน้ คาว่า “ไม่มกี ารอิงก๊ารในปั ญหาอิจติฮาด” ก็คอื ไม่มกี ารอิงก๊ารใน ปั ญหาทีไ่ ม่มหี ลักฐานแม้วา่ ผลของการวินิจฉัยในปั ญหานัน้ จะมีการขัดแย้งกันก็ ตาม . #ประเภทที่ 2 ปั ญหาคิลาฟี ยะห์ ( ‫ ) خالفية‬คือปั ญหาการขัดแย้งทีม่ ตี วั บท หลักฐานมารองรับ ‫ًالخالفًفيًالمسائلًالتيًفيهاًدليل‬:‫النوعًالثاني‬ “ประเภททีส่ อง การขัดแย้งในปั ญหาทีม่ หี ลักฐานมาระบุ” ปั ญหาคิลาฟในประเภทนี้ แม้จะมีหลักฐานมาอ้างอิงในการขัดแย้ง แต่บางครัง้ หลักฐานทีน่ าเสนอก็ไม่ถกู ต้อง หรือบางครัง้ ก็ใช้วธิ กี ารโต้แย้งไม่ถกู ต้อง ดังนัน้ ปั ญหาประเภทนี้จงึ จาแนกเป็ นสองชนิดด้วยกัน ً‫القسمًالثانيًأنًيكونًالخالفًفيًمسائلًفيهاًالدليلًوهيًمنقسمةًإلى‬ ‫خالفًقويًوإلىًخالفًضعيف‬ “ประเภททีส่ องคือ การขัดแย้งในปั ญหาทีม่ หี ลักฐานมาระบุ ซึง่ จาแนกเป็ น คิ ลาฟก่อวีย์ และ คิลาฟฏออีฟ 2.1 คิลาฟฏออีฟ คือ การขัดแย้งทีไ่ ม่มนี ้าหนักพอทีจ่ ะถูกจัดให้เป็ นปั ญหาคิ ลาฟี ยะห์ เช่นการเอาทัศนะ หรือเหตุผลมาคัดค้าน โต้แย้งหลักฐาน หรือใช้ วิธกี ารกิยาส (อนุมาน) ทีไ่ ม่ถกู ต้องคามหลักเกณฑ์ทางวิชาการมาโต้แย้ง เป็ น ต้น ซึง่ บรรดานักวิชาการได้กล่าวถึงการคิลาฟชนิดนี้ดว้ ยหลายชือ่ ด้วยกัน เช่น


75

คิลาฟ มัรดู๊ด, ฆ็อยรุมวั อ์ตะบัร, ฆ็อยรุซาอิค, มัซมูม และการโต้แย้งคัดค้าน ชนิดนี้ ไม่อนุ ญาตให้ทาการ อิจติฮาด (ห้ามวินิจฉัย) และจาเป็ นต้อง อิงก๊าร (ต่อต้าน-คัดค้าน) 2.2 คิลาฟก่อวีย์ คือการคัดค้านหรือโต้แย้งทีม่ นี ้าหนักพอทีจ่ ะถูกจัดให้เป็ น ปั ญหาคิลาฟี ยะห์ ซึง่ การโต้แย้งหรือคัดค้านชนิดนี้ถกู เรียกด้วยหลายชือ่ เช่น คิ ลาฟมัวอ์ตะบัร, คิลาฟมักบู ๊ ล, คิลาฟซาอิค, คิลาฟมะฮ์มดู เป็ นต้น การคิลาฟชนิดนี้อนุญาตให้มกี าร อิจติฮาด ได้ และนี่คอื การอิจติฮาดในปั ญหาคิล ฟี ยะห์ ซึง่ หากจะเรียกเต็มๆ ก็คอื “มัสอะละห์ คิลาฟี ยะห์ อิจติฮาดียะห์” ยกตัวอย่างเช่น คาฟั ตวาของ อัลลุจนะห์ อัลดาอิมะห์ ฯ ของซาอุด้ี ว่า ‫فتخصيصًصالةًالصبحًبالقنوتًمنًالمسائلًالخالفيةًالجتهادية‬ “การเจาะจงเฉพาะกุนูตในละหมาดซุบฮินนั ้ มันเป็ นปั ญหาคิลาฟี ยะห์ อิจติฮาดี ยะห์” (ฟั ตวาหมายเลข 2222) อย่างนี้แหละทีบ่ างคนสับสน คือ เข้าใจคาดเคลื่อนระหว่าง การคิลาฟในปั ญหา อิจติฮาดียะห์ และการอิจติฮาดในปั ญหาคิลาฟี ยะห์ เพราะทัง้ สองนี้มคี าว่า อิจ ติฮาดและคาว่า คิลาฟ ทัง้ คู่ ซึง่ เราแยกให้เห็นดังนี้ 1. การคิลาฟในปั ญอิจติฮาดียะห์ (คือปั ญหาประเภทแรกทีก่ ล่าวข้างต้น) 2. การอิจติฮาดในปั ญหาคิลาฟี ยะห์ (คือปั ญหาประเภททีส่ องทีเ่ รากาลังกล่าว อยูน่ ้ี)


76

การขัดแย้งในปั ญหาชนิดนี้นนั ้ จะไม่ อิงก๊าร (ปฎิเสธ) เหมือนกับการ อิงก๊าร (ปฏิเสธ) ในข้อ 2.1 เนื่องจากเป็ นปั ญหาที่ ยอมรับให้มกี ารอิจติฮาดได้ ‫وإذاًكانًالخالفًقوياًفإنهًلًإنكارًفيًمسائلًالخالفًالقوي‬ “และหากว่าการขัดแย้งนัน้ มีน้าหนักแข็งแรงพอก็จะไม่มกี ารอิงก๊าร ในปั ญหาคิ ลาฟก่อวีย”์ ดังนัน้ คาพูดว่าไม่มกี ารอิงก๊ารในปั ญหาคิลาฟี ยะห์นนั ้ จึงมีความหมายว่า ไม่ปฎิ เสธแต่ยอมรับและถูกจัดให้ปัญหานัน้ เป็ นปั ญหาคิลาฟี ยะห์ ไม่ได้หมายถึง การ อิงก๊ารทีส่ อ่ื ความหมายว่า ตาหนิ, ติตงิ , ทักท้วง, ชีแ้ จงหรือคัดค้าน เพราะการ อิงก๊ารในความหมายนี้ต่อปั ญหาคิลาฟี ยะห์นนั ้ มีมาทุกยุคทุกสมัย เชคซอและห์ อาลิ เขค ได้กล่าวว่า ً.‫ًلًإنكارًفيًمسائلًالخالف‬:‫أطلقًبعضًأهلًالعلمًقاعدةًوهيًقولهم‬ ً‫وهذاًاإلطالقًغلط؛ًألنًالمسائلًالخالفيةًالصحابةًبعضهمًأنكرًعلى‬ ‫ًوالتابعونًأنكرًبعضهمًعلىًبعضًفيها‬،‫بعضًفيها‬ “นักวิชาการบางคนได้วางกฎ ด้วยคาพูดทีว่ า่ ไม่มกี ารอิงการในปั ญหาคิลาฟ ซึง่ การวางกฎนี้ผดิ พลาด เนื่องจากในปั ญหาคิลาฟี ยะห์นนั ้ บรรดาศอฮาบะห์ต่างก็ อิงก๊ารซึง่ กันและกัน และบรรดาตาบีอนี ต่างก็องิ ก๊ารซึง่ กันและกัน” เราหวังว่าคาชีแ้ จงของเราคงจะเป็ นประโยชน์กบั ผูเ้ รียนรูแ้ ละผูใ้ ฝ่ หาสัจธรรม 24 กันยายน 61

#ผลของความไม่เข้าใจ


77

เสียเวลาเปล่าทีจ่ ะให้คาชีแ้ นะใดๆ กับคนดือ้ เพราะนอกจากเขาจะไม่รบั ฟั งแล้ว ยังคงยอกย้อนซะอีก, อีกทัง้ ก่อความสับสนให้ผคู้ นเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ ดังนัน้ จึงไม่ม ี ประโยชน์อนั ใดทีจ่ ะไปโต้แย้งกับพวกเขา แต่เราก็จะต้องให้คาแนะนากับคน ต้องการความรู้ เพือ่ เป็ นภูมคิ มุ้ กันดีกว่า เหตุทเ่ี ราเรียกร้องให้ทาความเข้าใจและพิจารณาถึงประเภทปั ญหา และชนิดของ ปั ญหานัน้ เนื่องจากเรือ่ งนี้เป็ นความรูพ้ น้ื ฐานสาหรับคนทีจ่ ะชีน้ าสังคมในเรือ่ ง ใดๆ ทีเ่ กีย่ วกับความขัดแย้ง เพราะหากไม่มคี วามรูห้ รือไม่เข้าใจในเรือ่ งพืน้ ฐาน เหล่านี้ แล้ว ก็จะทาให้มองปั ญหาและเข้าใจปั ญหาผิดพลาด และผลของมันก็ ปรากฏดังที ่ เ่ ป็ นอยูใ่ นเวลานี้ บางคนไม่รจู้ กั ชนิดของปั ญหา เช่นถามว่าเรือ่ ง ตะเนาวุอ์ – ตะดอฏ ถูกระบุอยู่ ในหมวดไหน ตาราใด, บางคนก็ยงั งุนงงว่าเอาเรือ่ งนี้มาเกีย่ วข้องทาไม, และ บางคนก็ยงั ไม่รจู้ กั วิธจี าแนกชนิดของปั ญหาระหว่าง ตะเนาวุอ์ กับ ตะดอฏ โดย ไปพิจารณาทีป่ ลายเหตุวา่ เมือ่ ข้อฮุก่มของปั ญหาต่างกัน จึงเป็ นปั ญหาชนิด ตะดอฏ


78

แต่โดยความเป็ นจริงแล้ว วิธกี ารจาแนกชนิดของปั ญหานี้เขาพิจารณาทีต่ วั ของ ปั ญหาตัง้ แต่ตน้ เรือ่ ง โดยจาแนกระหว่าง ญินส์ (สกุล) กับ นัวอ์ (ชนิด) ของ เรือ่ งนัน้ ๆ ดังเช่ ่ น เชคซอและห์ อิบนุ อุษยั มีน กล่าวว่า ‫التضاد واختالف التنوع اختالف بين والفرق‬: ‫ل التضاد اختالف أن‬ ‫يجتمعان ل الضدين ألن القولين؛ بين فيه الجمع يمكن‬. “ความแตกต่างระหว่าง อิคติลาฟตะเนาวุอ์ และ อิคติลาฟตะดอฏ นัน้ คือ : อิตคิลาฟตะดอฏไม่สามามารถรวมกันได้ระหว่างสองคาพูด เพราะทัง้ สองมัน ตรงกันข้ามจึงรวมกันไม่ได้” ‫واحد كل ألن المختلفين؛ القولين بين فيه الجمع يمكن التنوع واختالف‬ ‫ ذكر منهما‬،‫ في داخل والنوع نوعا‬،‫فال الجنس في اتفقا وإذا الجنس‬ ‫اختالف‬. “แต่อคิ ติลาฟตะเนาวุอน์ นั ้ สามารถรวมกันได้ระหว่างสองคาพูดทีแ่ ตกต่างกัน เพราะแต่ละคาพูดของทัง้ สองนัน้ ต่างก็กล่าวถึงนัวอ์ และนัวอ์นนั ้ รวมอยู่ภายใต้


79

ญินส์ และเมือ่ มันตรงกันภายใต้ญนิ ส์เดียวกันมันจึงไม่คา้ นกัน”( ต้องอธิบาย ขอบเขตของ ญินส์, นัวอ์, ฟั ฏล์ ด้วยไหม ???? ) พีน่ ้องทีไ่ ม่มพี น้ื ฐานของอาจจะงวยงงกับสิง่ ทีเ่ รากล่าวมานี้ แต่ทน่ี ามาเสนอนี้ เพียงเพือ่ ต้องการให้เห็นถึงหลักเกณฑ์ของการจาแนกประเภทปั ญหาโดยคร่าวๆ เท่านัน้ เองว่า บรรดาอุลามาอ์นนั ้ เขาไม่ได้พจิ ารณาปลายทางของปั ญหาเป็ น หลัก แต่เขาพิจารณาตัง้ แต่ตน้ ทางของปั ญหา และเมือ่ บางคนไม่เข้าใจหลักเกณฑ์ของการจาแนกนี้กท็ าให้เกิดข้อผิดพลาดใน การระบุชนิดของปั ญหา และส่งผลต่อความเข้าใจผิดในฮุก่มของปั ญหานัน้ ด้วย เช่นบางคนกล่าวว่า “ปั ญหาตะรอวีฮฺ 11 หรือ 23 เป็ นคิลาฟตะดอดครับ เชคอัลบานียบ์ อกว่าใคร เกิน 11 เท่ากับทาบิดอะฮฺ เหมือนละหมาดซุบฮี 3 รอกะอัต ส่วนฝ่ ายเชคบิน บาซบอกเกินได้ 20 ทาได้”


80

เมือ่ ฟั นธงกันแล้วว่า จานวนละหมาดตะรอแวะห์เป็ นคิลาฟตะดอฏ ถ้าเช่นนัน้ ก็ จาเป็ นต้องชีด้ ว้ ยว่า อันไหนถูกอันไหนผิด เพราะอิคติลาฟตะดอฏนัน้ จะถูกทัง้ คูไ่ ม่ได้ แต่จะมีถกู อยูเ่ พียงหนึ่งเดียว ตามทีญ ่ มุ ฮุรลุ้ อุลามาอ์ระบุไว้ ดังนี้ ْ ‫اد‬ ‫ف َوأَ َّما‬ ًُ ‫اخ ِّت َال‬ ًِّ ‫ض‬ ًِّ ‫ان ْالقَ ْو َل‬ ًِّ َ‫ ْال ُمتَنَا ِّفي‬، ‫ل ِّفي ِّإ َّما‬ ًِّ ‫صو‬ ُ ُ ‫ ْاأل‬، ‫َو ِّإ َّما‬ َ َّ ‫ الت‬، ‫ن فَ ُه ًَو‬ ‫وعِّ ِّفي‬ ً ‫ور ِّع ْن ًَد ْالفُ ُر‬ ًِّ ‫ َيقُولُونًَ الَّذِّينًَ ْال ُج ْم ُه‬: ‫يب‬ ًُ ‫ص‬ ِّ ‫َو‬ ِّ ‫احدً ْال ُم‬ “ส่วนอิคติลาฟตะดอฏนัน้ คือ สองคาพูดค้านกัน บางครัง้ ในเรือ่ งของหลักและ บางครัง้ ก็ในเรือ่ งข้อปลีกย่อย ตามทัศนะของบรรดาปวงปราชญ์ ทีพ่ วกเขากล่าว ว่า ความถูกต้องมีหนึ่งเดียว (คือทัง้ ตัวผูพ้ ดู และเรือ่ งทีเ่ ขาพูด) “ ซัรฮุลตอฮาวี ยะห์ ฟี ลอะกีดะติส้ ซะลัฟ

เมือ่ เป็ นเช่นนี้แล้ว จะตัดสินได้ไหมว่า 11 ถูกและ 20 ผิด, หรือ 20 ถูกและ 11 ผิด เพราะหากชีว้ า่ เป็ นคิลาฟตะดอฏมันต้องมีถกู หนึ่งเดียวเท่านัน้ จะบอก ว่าถูกทัง้ คูไ่ ม่ได้ แล้วทาไม เชคอัลบานี กับ เชคบินบาซ ถึงแจงฮุก่มของเรือ่ งนี้คา้ นกันสุดขัว้ เช่นนี้


81

และคาพูดของเชคอัลบานียถ์ อื เป็ นการอิงก๊ารหรือเปล่า และถ้าใครจะพูดตามทีเ่ ชคอัลบานียพ์ ดู จะผิดไหมคือ “ละหมาดตะรอแวะห์เกิน 11 ร๊อกอะห์เป็ นบิดอะห์ เหมือนกับเพิม่ จานวนละหมาดซุบฮิเป็ นสามร๊อกอะห์” หรือว่าอุลามาอ์เขาเข้าใจประเภทปั ญหาและชนิดของปั ญหากันดี พวกเขาจึงวาง ท่าทีต่อกันได้อย่างเหมาะสม แต่เราไม่รเู้ รือ่ ง และเข้าใจประเภทของปั ญหาและ ชนิดของปั ญหาผิดเอง

#ย้ากับท่านผูอ้ ่านอีกครัง้ ว่า เห็นต่าง กับ ขัด แย้ง ไม่เหมือนกัน, คนละชนิด กัน เห็นต่างคือ “ตะเนววุอ”์ ให้เลือกปฏิบตั อิ ย่างหนึ่งอย่างใดตามทีม่ ตี วั บทระบุทงั ้ คู่ ขัดแย้งคือ “ตะดอฏ” ความถูกต้องมีหนึ่งเดียว ย้าไว้กนั ลืม ไปกันใหญ่แล้ว !!!


82

เราย้ากันอยูห่ ลายครัง้ ว่า พูดอะไรได้มากกว่าคาว่า “เห็นต่าง” ไหม ? เพราะ คาพูดสัน้ ๆว่า “ เห็นต่าง” ทาให้คนทัวไปเข้ ่ าใจกันไปคนละทิศทาง บางคนเข้าใจว่า ปั ญหาทีเ่ ห็นต่างนัน้ จะเลือกปฏิบตั อิ ย่างไรก็ได้ บางคนก็วา่ เอาทัศนะทีอ่ ่อนกว่ามาถือปฏิบตั กิ ไ็ ด้ การพูดวิชาการแต่ไม่มรี ายละเอียดทางวิชาการ ทาให้ผคู้ นเกิดความสับสน เพราะคนทัวไปนั ่ น้ ไม่มหี ลักเกณฑ์ในการพิจารณา ฉะนัน้ ปั ญหามันจึงลุกลาม, จากเรือ่ งหนึ่งไปสูอ่ กี เรือ่ งหนึ่ง และจะขยายไปเรือ่ ยๆ ทีละเรือ่ งตามทีอ่ ุลามาอ์เขา ขัดแย้งกัน, แม้วา่ ผูน้ าเสนอจะคิดดีหรือเจตนาดีกต็ าม แต่การนาเสนอโดยไม่แจง รายละเอียดให้ผคู้ นเข้าใจนัน้ มันได้กลายเป็ นการสร้างปั ญหาความวุน่ วายให้ เกิดขึน้ ตามทีป่ รากฏอยู่ ณ.เวลานี้ บางคนก็วา่ เรือ่ งเห็นต่างอย่าเอาเป็ นเอาตายกัน โดยอ้างหลักว่า ‫لًإنكارًفيًمسائلًاإلجتهاد‬ “ไม่มกี ารปฏิเสธในปั ญหาต่างๆทีต่ อ้ งวินิจฉัย” คาพูดนี้เป็ นทีแ่ พร่หลายไปทัว่ และมีการนามาเผยแพร่ต่อโดยไม่ชแ้ี จงถึง จุดประสงค์และเป้ าหมายว่า คาพูดนี้สอ่ื ถึงอะไร จะใช้กบั ใคร, เมือ่ ไหร่,และใน สถานการณ์ใด บางคนอ้างว่ามันเป็ นกฎ...เราถามว่า.. กฎอะไร ใครเป็ นคนตัง้ กฎนี้ขน้ึ มา และ บรรดานักวิชาการทุกหมูเ่ หล่าเขายอมรับในกฎนี้ไหม นามาใช้ได้ทุกเรือ่ งทุกกรณี หรือไม่ คาตอบคือ..ไม่ ชัยคุล้ อิสลาม อิบนิ ตัยมียะห์ และลูกศิษย์ของท่านคือ อิบนุ ก็อยยิม ก็พดู ตรงกันว่า การพูดเช่นนี้ไม่ถกู ต้อง


83

‫وقولهمًمسائلًالخالفًلًإنكارًفيهاًليسًبصحيح‬ “และคาพูดของพวกเขาทีว่ า่ ปั ญหาการขัดแย้งนัน้ ไม่มกี ารปฏิเสธซึง่ กันและกัน นัน้ มันไม่ถกู ต้อง” ฟะตาวาอัลกุบรอ ญุชอ์ท่ี 6 หน้าที่ 96 แล้วท่านก็แจงรายละเอียดของปั ญหาว่า อย่างไรทีต่ อ้ งปฏิเสธและอย่างไรทีไ่ ม่ ปฏิเสธซึง่ กันและกัน คาพูดของคนนัน้ ย่อมมีถกู และผิด นอกจากคาพูดของท่านนบี ศ็อลล็อลลอฮุอิ ลัยฮิวะซัลลัม ดังที ่ อ่ หิ ม่ามอะห์หมัด ได้รายงานถึงคาพูดของท่าน อิบนิ อับ บาสว่า ً‫ًحدثناًأحمدًبنًعمرًالبزارًحدثناًزيادًبنًأيوب‬:ً‫وقالًاإلمامًأحمد‬ ً‫حدثناًأبوًعبيدةًالحدادًعنًمالكًبنًدينارًعنًعكرمةًعنًابنًعباس‬ ً‫ً((ًليسًمناًأحدًإلًيؤخذًمنًقولهًويدعًغيرًالنبيًصلىًهللاًعليه‬:ً‫قال‬ ))ً‫وسلم‬ “และอิหม่ามอะห์หมัด กล่าวว่า : อะห์หมัด อิบนุ อุมรั อัลบัซซาร เล่าให้เราฟั ง ว่า ซิดยาด อิบนุ อัยยู๊บ เล่าให้เราฟั งว่า อบูอุบยั ดะห์ อัลฮัดดาด เล่าเราให้เรา ฟั งจาก มาลิก บิน ดีนาร จาก อิกริมะห์ จาก อิบนิ อับบาส กล่าวว่า (( ไม่มคี น ใดในหมูพ่ วกเรา นอกจากคาพูดของเขาจะถูกรับหรือจะถูกทิง้ ก็ได้ นอกจาก ท่านนบี ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม)) ฟั ตฮุลมะญีดหน้าที่ 556 เชค อับดุรเราะห์มาน อาลิ เชค ได้อธิบายคาพูดข้างต้นนี้วา่ ً‫يجبًاإلنكارًعلىًمنًتركًالدليلًلقولًأحدًمنًالعلماءًكائناًمنًكان‬ ً‫ونصوصًاألئمةًعلىًهذاًوأنهًلًيسوغًالتقليدًإلًفيًمسائلًالجتهاد‬ ً‫التيًلًدليلًفيهاًيرجعًإليهًمنًكتابًولًسنةًفهذاًهوًالذيًعناه‬ ً‫ًلًإنكارًفيًمسائلًاإلجتهادًوأماًمنًخالف‬:ً‫بعضًالعلماءًبقوله‬


84

ً‫الكتابًوالسنةًفيجبًالردًعليهًكماًقالًابنًعباسًوالشافعيًومالك‬ ‫وأحمد‬ “จาเป็ นต้องปฏิเสธต่อผูท้ ท่ี ง้ิ หลักฐานแล้วไปยึดเอาคาพูดของคนหนึ่งคนใดจาก บรรดาอุลามาอ์ ไม่วา่ จะเป็ นใครก็ตาม และตัวบทของบรรดาปวงปราชญ์ในเรือ่ ง นี้ เพราะมันไม่อนุ ญาตให้ตามแบบไม่รหู้ ลักฐาน นอกจากปั ญหาต่างๆทีต่ อ้ ง วินิจฉัย ซึง่ ไม่มหี ลักฐานบ่งชีใ้ นเรือ่ งนัน้ ไม่วา่ จากอัลกุรอานหรือจากซุนนะห์ นี่ แหละทีน่ กั วิชาการบางท่านได้กล่าวถึงด้วยคาพูดทีว่ า่ ไม่มกี ารปฏิเสธในปั ญหา ต่างๆทีต่ อ้ งวินิจฉัย ส่วนผูท้ แ่ี ย้งกับอัลกุรอานและซุนนะห์นนั ้ จาเป็ นต้องตอบโต้ เขา ดังที ่ ่ อิบนุ อับบาส, ชาฟี อ,ี มาลิก และ อะห์หมัด ได้กล่าวไว้” ฟั ตฮุล มะญีด หน้าที่ 556 คาอธิบายข้างต้นนี้ชใ้ี ห้เห็นว่า ปั ญหาอิจติฮาดทีจ่ ะต้องไม่เอาเป็ นเอาตาย หรือ ปฏิเสธซึง่ กันและกันนัน้ คือปั ญหาทีค่ ขู่ ดั แย้งทัง้ สองฝ่ ายไม่มหี ลักฐานจากอัลกุ รอานและฮะดีษมายืนยันทัง้ คู่ ซึง่ ไม่อาจชีไ้ ด้วา่ ฝ่ ายใดมีความถูกต้องมากกว่ากัน ดังนัน้ การเอาถ้อยคาทีว่ า่ “ปั ญหาอิจติฮาดียะห์ ต้องไม่ปฏิเสธซึง่ กันและกัน” ไปครอบในทุกๆ เรือ่ งทุกปั ญหา จึงไม่ถกู ต้อง ส่วนปั ญหาฮิจติฮาดทีม่ กี ารอ้างตัวบทหลักฐานทัง้ สองฝ่ าย อย่างนี้ตอ้ งเข้าสู่ กระบวนการ “ตัรญิฮ”์ คือการพิจารณาตัวบทหลักฐานว่า ฝ่ ายใดมีหลักฐานที่ แข็งแรงชัดเจนกว่ากัน ซึง่ ฝ่ ายทีม่ นี ้าหนักแข็งแรงชัดเจนกว่านี้เรียกว่า “รอญิฮ”์ ส่วนฝ่ ายทีม่ นี ้าหนักด้อยกว่าเรียกว่า “มัรญัวฮ์” เมือ่ ปั ญหาใดทีถ่ กู พิจารณาว่า ทัศนะหนึ่ง “รอญิฮ”์ และอีกทัศนะหนึ่ง “มัรญัวฮ์” แล้ว ถามว่า.. บรรดาผูค้ นจะเลือกปฏิบตั อิ ย่างไรในระหว่างสองทัศนะนี้


85

ปั ญหาคือ ผูค้ นทีก่ ล่าวถึงนี้ เขาเป็ นใคร..เขาคือคนทีร่ หู้ ลักฐาน หรือเป็ นคนทีไ่ ม่ รูห้ ลักฐาน หากเขาเป็ นคนทีร่ หู้ ลักฐาน จาเป็ นทีเ่ ขาจะต้องยึดเอา “รอญิฮ”์ คือทัศนะที่ แข็งแรงชัดเจนกว่า เชค มูฮมั หมัด บิน ซอและห์ อัลอุษยั มีน กล่าวว่า ً‫فالواجبًعلىً َمنًع ِّلمًبالدليلًأنًيتبعًالدليلًولوًخالفً َمنًخالفًمن‬ ‫ًإذاًلمًيخالفًإجماعًاألمة‬.‫األئمة‬ “จาเป็ นต่อผูท้ ร่ี หู้ ลักฐานจะต้องปฏิบตั ติ ามหลักฐาน ถึงแม้วา่ จะค้านกับผูอ้ ่นื จาก บรรดาอะอิมมะห์กต็ าม หากมันไม่ได้คา้ นกับมติเอกฉันท์ของปวงปราชญ์” ชัยคุล้ อิสลาม อิบนุ ตัยมียะห์ กล่าวว่า ْ ‫ًمثْ َلً َه ِّذ ِّه‬ َ ‫ًال ْجتِّ َها ِّديَّ ِّة‬ َّ "ً‫ْس ًِّأل َ َحدًِّأَ ْنًيُ ْل ِّز َم‬ ِّ ‫سائِّ ِّل‬ ِّ ‫إن‬ َ ‫ًال َم‬ َ ‫ًولَي‬،ًِّ َ ‫ًلًت ُ ْن َك ُرًبِّ ْاليَد‬ ْ ‫ج‬ ًُ‫ًفَ َم ْنًتَبَيَّنَ ًلَه‬،ً‫ًال ِّع ْل ِّميَّ ِّة‬ َ َّ‫الن‬ َ ‫اسً ِّباتِّبَا ِّع ِّهًفِّي َه‬ ِّ ‫اً؛ًولَ ِّك ْنًيَت َ َكلَّ ُمًفِّي َهاً ِّب ْال ُح َج‬ ْ ‫ًو َم ْنًقَلَّ َدًأ َ ْه َل‬،ًُ ْ ‫ص َّحةًُأ َ َحد‬ ْ ‫ًالقَ ْو ِّل‬ ً"ً‫علَيْه‬ ًِّ َ ً‫ار‬ َ ‫ًفَ َالًإ ْن َك‬:ً‫ًاْلخ َِّر‬ َ ‫ًِّالقَ ْولَي ِّْنًتَبِّعَه‬ ‫( "انتهىًمنً"ًمجموعًالفتاوى‬30/80) “ดังปั ่ ญหาทีเ่ กีย่ วกับการวินิจฉัยนี้ทจ่ี ะไม่ถกู ต่อต้านด้วยกาลัง และไม่ใช่วา่ คน หนึ่งคนใดจะบังคับผูค้ นให้ปฏิบตั ติ ามเขา ทว่าเขาจะต้องพูดคุยกันในเรือ่ งนัน้ ด้วยหลักฐานทางวิชาการ, ฉะนัน้ ผูใ้ ดทีช่ ดั เจนแก่เขาแล้วถึงความถูกต้องจาก หนึ่งในสองทัศนะก็ปฏิบตั ติ ามนัน้ แต่ผใู้ ดทีต่ กั ลีดอีกทัศนะหนึ่ง ก็ไม่มกี าร คัดค้านต่อเขา” ท่านชัยคุล้ อิสลาม อิบนุ ตัยมียะห์ ได้ชใ้ี ห้เห็นสถานะของผูค้ นต่อปั ญหา อิจติฮา ดียะห์ ว่า มีทงั ้ คนทีร่ หู้ ลักฐานและมีทงั ้ คนทีไ่ ม่รอู้ ะไรเลย


86

สาหรับคนทีร่ วู้ า่ หลักฐานของฝ่ ายใดมีความถูกต้องชัดเจนกว่า ก็จะต้องยึดถือ ปฏิบตั ใิ นสิง่ ทีช่ ดั เจนแก่เขา ส่วนคนทีไ่ ม่รอู้ ะไรเลย แล้วตักลี ๊ ด คือยึดตามทัศนะหนึ่งทัศนะใดโดยไม่รวู้ า่ ทัศนะไหนมีน้าหนักมากกว่ากัน ก็อย่าไปผลักใสเขา เพราะเขาคือคนไม่รู้ ปั ญหาว่า เราจะเอาฮุก่มของคนทีไ่ ม่รมู้ าครอบคนอื่นๆให้พลอยหลับหูหลับตา ตามกันไปด้วยอย่างนัน้ หรือ ฉะนัน้ หากจะถามว่า ผูค้ นจะทาอย่างไรต่อปั ญหาอิจติฮาดียะห์ ก็ตอ้ งถามกลับ ว่า ท่านคือใคร ท่านเป็ นคนทีว่ า่ รูท้ ศั นะไหนมีน้าหนักมากกว่ากัน หรือว่า ท่านเป็ นคนทีไ่ ม่รเู้ รือ่ ง อะไรเลย สังคมซุนนะห์เป็ นสังคมทีต่ ่นื รูก้ นั แล้วไม่ใช่หรือ ? ผูร้ ขู้ องเราชีแ้ จงตัวบท หลักฐานกันแล้วไม่ใช่หรือ ? เพราะฉะนัน้ ในเรือ่ งการแจงฮุก่มของปั ญหา เราก็ตอ้ งชีแ้ จงและตีแผ่ให้ผคู้ นได้รบั ทราบตามข้อเท็จจริง ส่วนการยึดถือปฏิบตั เิ ฉพาะบุคคลในบางเรือ่ งบางกรณีก็ ขึน้ อยูก่ บั ศักยภาพของแต่ละคนว่าจะทาได้ใกล้ชดิ และมากน้อยขนาดไหน และหากเราย้อนกลับไปดูทา่ ทีของชาวสะลัฟก็จะพบว่า พวกเขาพยายามทีจ่ ะ ใกล้ชดิ กับคาสอนของศาสนาให้มากทีส่ ุด และในประเด็นปั ญหาทีด่ า้ นหนึ่งเป็ น “รอญิฮ”์ และอีกด้านหนึ่งเป็ น “มัรญัวฮ์ พวกเขาก็จะยึดในสิง่ ทีเ่ ป็ น “รอญิฮ”์ และทิง้ สิง่ ทีเ่ ป็ น “มัรญัวฮ์” อีกทัง้ ชีแ้ จงระหว่างกัน อัชเชากานีย์ กล่าวว่า


87

ً‫ومنًنظرًفيًأحوالًالصحابةًوالتابعينًوتابعهمًومنًبعدهمًوجدهم‬ ‫متفقينًعلىًالعلملًبالراجحًوتركًالمرجوح‬ “และผูใ้ ดทีไ่ ด้พจิ ารณาถึงสภาพของศอฮาบะห์, ตาบีอนี , ตาบิอติ ตาบีอนี และ คนหลังจากพวกเขาก็จะพบว่า พวกเขาเห็นพ้องต้องกันในการปฏิบตั ติ ามทีเ่ ป็ น รอญิฮ์ และทิง้ ทีเ่ ป็ นมัรญัวฮ์” อิรชาดุลฟุฮนู หน้าที่ 1125 การชีแ้ จงทาความเข้าใจต่อปั ญหา,การชีแ้ จงตัวบทหลักฐานระหว่างกัน และการ ชีส้ ถานะของปั ญหาในยุคสะลัฟนัน้ บางครัง้ ก็ฮุก่มเรือ่ งทีเ่ ขาถกกันนัน้ ว่าเป็ น... บิดอะห์ ก็ม ี (แต่เรากลับพูดว่าอย่าฮุก่มกัน) ยกตัวอย่างสักเรือ่ งหนึ่งเช่น การ กุนูตเฉพาะเวลาละหมาดซุบฮิ ทีฝ่ ่ ายหนึ่งบอกว่าเป็ นสิง่ ทีค่ วรทา อีกฝ่ ายหนึ่ง บอกว่า เป็ นบิดอะห์ นี่ไม่ใช่เรือ่ งเล่นๆ แต่เป็ นเรือ่ งเห็นต่างกันสุดขัว้ ระหว่าง การกระทาทีเ่ ป็ นซุนนะห์ กับ บิดอะห์ กุนูตเฉพาะซุบฮิ เป็ นของใหม่ในศาสนา กุนูตเฉพาะซุบฮิ เป็ นบิดอะห์ ข้างต้นนี้ไม่ใช่คาพูดของเราหรอก แต่เป็ นคาพูดของคนในยุคสะลัฟทีเ่ ขาถกกัน, เขาฮุก่มกัน (จะไม่ชแ้ี จงกันหรือ) แต่ ณ.เวลานี้ มีการนาเสนอต่อผูค้ นว่า สามารถยึดทัศนะทีอ่ ่อนกว่าได้ เพราะอุ ลามาอ์เขาแนะนา (แต่เขาคงไม่แนะนาให้ทาบิดอะห์กระมัง) ถามว่า เขาแนะนาให้ทาในกรณีใด ทาเป็ นกิจวัตร หรือผ่อนปรนเฉพาะกิจ , และ การผ่อนปรนนี้ดว้ ยเหตุอนั ใด จะใช้กบั ใคร, ทีใ่ ด, เวลาใด และในสถานการณ์ เช่นใด รายละเอียดของเรือ่ งนี้มนั มีอยูไ่ ม่ใช่หรือ แล้วเราจะไม่ตแี ผ่ให้ผคู้ นรับรูห้ รอกหรือ หรือจะพูดแค่คาว่า “เห็นต่าง”


88

ไม่เอาอุลามาอ์ ??? เมือ่ ก่อนกลุ่มตรงข้ามซุนนะห์ มักจะสร้างวาทะกรรมเพือ่ กล่าวหาโจมตี ผูท้ ย่ี ดึ แนวทางซุนนะห์วา่ “พวกวะฮาบีไม่ขอดุอาอ์” และเมือ่ ถ้อยคาเหล่านี้ได้รบั การ พิสจู น์กพ็ บว่า เป็ นวาทะกรรมเท็จทีพ่ วกเขาสร้างขึน้ เพือ่ มุง่ ให้รา้ ยกลุ่มซุนนะห์ ซึง่ ประชาชนได้ประจักษ์แก่ตนเองว่า ตอนทีไ่ ม่รซู้ ุนนะห์นนั ้ พวกเขาขอดุอาอ์ไม่ เป็ น, ต้องอาศัยอิหม่ามหรือผูร้ ชู้ ว่ ยขอดุอาอ์ให้, แต่เมือ่ ได้เรียนรูซ้ ุนนะห์แล้ว กลับพบว่า มีดุอาอ์เยอะแยะ, ตัง้ แต่ต่นื ยันนอน และประชาชนก็สามารถขอดุอาอ์ ได้ดว้ ยตัวเอง เช่นเดียวกับคาว่า “พวกวะฮาบีไม่เอามัสฮับ” แต่ความจริงได้ปรากฏว่า กลุ่มซุน นะห์ไม่ได้ปฏิเสธมัซฮับ แต่ไม่ผกู ขาด, เจาะจงยึดติดอยูก่ บั มัซฮับใดเป็ นการ เฉพาะ แต่พจิ ารณาว่า การวินิจฉัยของมัซฮับใดในเรือ่ งหนึ่งนัน้ ใครอ้างอิงตัวบท หลักฐานทีถ่ กู ต้องขัดเจนมากกว่ากัน ซึง่ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของเจ้าของ มัซฮับทีเ่ รียกร้องให้ผคู้ นกลับไปยึดอัลกุรอานและซุนนะห์ของท่านรอซูลเป็ น บรรทัดฐาน ตามทีไ่ ด้ชแ้ี จงก่อนหน้านี้แล้ว #เพราะฉะนัน้ การไม่เอามัซฮับ กับ การไม่ผกู ขาดมัซฮับจึงเป็ นคนละเรือ่ งกัน แต่วนั นี้ คาพูดทีใ่ กล้เคียงกับวาทะกรรมเท็จข้างต้นได้ยอ้ ยกลับมาอีกครัง้ ด้วย คาพูดทีว่ า่ “ไม่เอาปราชญ์” หรือ“ไม่เอาอุลามาอ์” หรือ “กระโดดข้ามหัวอุลา มาอ์” แต่ผพู้ ดู ถ้อยคาเหล่านี้กลับไม่ใช่ผทู้ อ่ี ยูต่ รงข้ามกลับกลุ่มซุนนะห์เหมือนดัง่ แต่ก่อน, แต่กลายเป็ นคนทีป่ ระกาศตนว่ายึดแนวทางซุนนะห์เสียเอง (บางคน)


89

ทัง้ ๆทีใ่ นแวดวงของปั ญหาการ เข้าบวช-ออกบวช หรือการกาหนดวันอีดทัง้ สอง นัน้ เป็ นปั ญหาข้อขัดแย้งทีเ่ คยมีมานานนับพันปี ซึง่ อุลาอ์แต่ละฝ่ ายต่างก็ นาเสนอตัวบทหลักฐานทีต่ นเองยึดถือ และตัวบทหลักฐานทีพ่ วกเขาอ้างอิงกัน นัน้ ก็ถกู ตีแผ่อยูใ่ นตาราอย่างแพร่หลาย และตกทอดเรือ่ งมาจนถึงยุคปั จจุบนั บรรดานักวิชาการร่วมสมัยก็สบื ทอดความขัดแย้งนี้ และต่างก็ชแ้ี จงกันตามทัศนะ ทีต่ นเองยึดถือ แต่กไ็ ม่ออกนอกกรอบจากประเด็นทีน่ กั วิชาการในอดีตได้เคย ชีแ้ จงกันไว้แล้ว รวมถึงบรรดาผูร้ ใู้ นบ้านเมืองเราก็เคยเอาเรือ่ งเหล่านี้มาชีแ้ จงกัน ไว้แล้วเนิ่นนานเช่นเดียวกัน , ซึง่ บางคนอาจจะเกิดไม่ทนั ,และบางคนอาจจะไม่ เคยติดตาม, และบางคนก็เพิง่ มาเรียนรูซ้ ุนนะห์เมือ่ ไม่นานนี้ ฉะนัน้ พอได้พบเจอคาฟั ตวาของปราญช์ทา่ นใดทีต่ รงใจ ก็เหมือนได้กาหลักฐาน ชิน้ สาคัญไว้ในมือ แล้วเทีย่ วประกาศว่าตนเองยึดปราญช์ แต่หารูไ้ ม่วา่ ในแวดวง ของปราญช์ตงั ้ แต่ในอดีตจนถึงปั จจุบนั เขาเคยถกเถียงและเคยชีแ้ จงในเรือ่ งนี้กนั ไว้แล้วทัง้ สิน้ และแม้กระทังการวิ ่ เคราะห์ตวั บทหลักฐานของแต่ละฝ่ ายก็ปรากฏ อยูใ่ นตาราทัง้ สิน้ แล้วใครละ ไม่เอาปราชญ์, ใครหรือทีก่ ระโดดข้ามหัวปราชญ์

เรายืนยันและประกาศชัดเจนตลอดมาว่า เราไม่ผกู ขาดอยูก่ บั ทัศนะของอุลามาอ์ กลุ่มใดหรือคนใดเป็ นการเฉพาะ เพราะการผูกขาด, เป็ นการปิ ดกัน้ สัจธรรม ไม่ใช่แนวทางของสะละฟุสซอและห์ แต่เป็ นแนวทางของกลุ่มอุตริและกลุ่มนอก


90

รีตทัง้ หลาย ชัยคุล้ อิสลาม อิบนุ ตัยมียะห์ กล่าวว่า ً‫ومنًتعصبًلواحدًبعينهًمنًاألئمةًدونًالباقينًفهوًبمنزلةًمنًتعصب‬ ً‫لواحدًبعينهًمنًالصحابةًدونًالباقينًكالرافضيًالذيًيتعصبًلعلي‬ ً‫ًوكالخارجيًالذيًيقدحًفي‬.ً‫دونًالخلفاءًالثالثةًوجمهورًالصحابة‬ ً‫ًفهذهًطرقًأهلًالبدعًواألهواءًالذين‬.ً‫عثمانًوعليًرضيًهللاًعنهما‬ ً‫ثبتًبالكتابًوالسنةًواإلجماعًأنهمًمذمومون‘ًخارجونًعنًالشريعة‬ ً‫ًفمنًتعصب‬.ً‫والمنهاجًالذيًبعثًهللاًبهًرسولهًصلىًهللاًعليهًوسلم‬ ً‫لواحدًمنًاألئمةًبعينهًففيهًشبهًمنًهؤلء‘ًسواءًتعصبًلمالكًأو‬ ‫الشافعيًأوًأبيًحنيفةًأوًأحمدًأوًغيرهم‬ “และผูใ้ ดทีย่ ดึ ติดอยูก่ บั ตัวตนของปราญช์เพียงคนเดียวโดยไม่พจิ ารณาปราญช์ คนอื่นๆ เขาก็อยูใ่ นสถานะเดียวกับผูย้ ดึ ติดอยูต่ วั ของศอฮาบะห์บางคน โดยไม่ น้อมรับบรรดาศอฮาบะห์คนอื่นๆ เช่นพวก รอฟิ เดาะห์ (ชีอะห์) ซึง่ คนพวกนี้ ผูกขาดแต่เพียงท่านอาลี โดยไม่น้อมรับค่อลลีฟะห์อกี สามท่านและบรรดาเหล่า ศอฮาบะห์คนอื่นๆด้วย, และเช่นเดียวกับพวกค่อวาริจญ์ทใ่ี ห้รา้ ยต่อท่านอุสมาน และอาลี ขออัลลอฮ์ทรงพอพระทัยต่อท่านทัง้ สองด้วยเถิด อย่างนี้คอื แนวทางของพวกอุตริ และพวกอารมณ์นิยม ซึง่ ยืนยันด้วยอัลกุรอาน, ซุนนะห์ และอิจมาอ์ ว่าพวกเขาเป็ นผูท้ ถ่ี กู ตาหนิ, เป็ นผูท้ อ่ี อกจากบทบัญญัติ และแนวทางซึง่ ทีอ่ ลั ลอฮ์ได้สง่ รอซูลของพระองค์มาบนแนวทางนี้ ฉะนัน้ ผูใ้ ดที่ ฝั กใฝ่ ต่อตัวของปราญช์ทา่ นใดเป็ นการเฉพาะก็ไม่แตกต่างจากคนพวกนี้เลย ไม่ ว่าเขาจะยึดติดผูกขาดอยูก่ บั อิหม่ามมาลิก, อิหม่ามชาฟี อ,ี อิหม่ามฮะนาฟี ,


91

และอิหม่ามอะห์หมัด หรือคนอื่นๆก็ตาม” มัจมัวอุลฟะตาวา ญุชอ์ท่ี 22 หน้าที่ 252 ในห้วงของความขัดแย้งทีผ่ า่ นมานัน้ เราพยามอย่างยิง่ ยวดและเรียกร้องให้แต่ละ ฝ่ ายนาเสนอตัวบทหลักฐานตามทีล่ ะฝ่ ายได้กล่าวอ้าง, แต่บางคนก็ยงั สาละวน ผูกขาดอยูก่ บั ปราชญ์ทต่ี นชืน่ ชอบโดยไม่คานึงว่า อะไรคือหลักฐานทีเ่ ขาใช้ อ้างอิง, และบางคนก็เอาฟั ตวาทีป่ ราศจากหลักฐานมานาเสนอแก่ผคู้ น ทัง้ ๆทีช่ าวซุนนะห์เรานัน้ เคยพร่าสอนกันให้กลับไปหากิตาบุล้ ลอฮ์และซุนนะห์ ของท่านรอซูลบนพืน้ ฐานความเข้าใจของบรรดาศอฮาบะห์ และแนวทางของสะ ละฟุสศอและห์ แต่เมือ่ เกิดปั ญหาอีดล้ิ อัฏฮาทีผ่ า่ นมา เรากลับลืมในสิง่ ทีเ่ ราเคย ยืนหยัดกัน ชาวซุนนะห์เราเคยมีความเข้มข้นในการยึดถือหลักฐาน และมีความละเอียดละออ ในการตรวจสอบหลักฐานว่า อันไหนศอเฮียะห์,อันไหนฏออีฟ อันไหนมีน้ าหนัก มากน้อยกว่ากัน แต่เมือ่ เกิดปั ญหาทีผ่ า่ นมา เราก็ลมื มาตรฐานทีเ่ ราเคยเข้มงวด และบางคนก็ไม่รเู้ ลยด้วยซ้าไปว่า หลักฐานของปราชญ์ทต่ี นยึดถืออยูน่ นั ้ คืออัลกุ รอานอายะห์ใด และหรือฮะดีษบทใด ท่านชัยคุล้ อิสลาม อิบนุ ตัยมียะห์ กล่าวว่า ً‫أماًوجوبًاتباعًالقائلًفيًكلًماًيقولهًمنًغيرًذكرًدليلًيدلًعلى‬ ً‫صحةًماًيقولًفليسًبصحيحً‘ًبلًهذهًالمرتبةًهيًمرتبةًالرسولًالتي‬ ‫لًتصلحًإلًله‬ “ส่วนความจาเป็ นในการตามผูก้ ล่าวในทุกๆเรือ่ งทีเ่ ขากล่าว โดยไม่อา้ งถึง หลักฐานทีแ่ สดงถึงความถูกต้องในสิง่ ทีเ่ ขากล่าวนัน้ ถือว่าไม่ถกู ต้อง ทว่าสถานะ


92

นี้คอื สถานะของท่านรอซูล ซึง่ ไม่มผี ใู้ ดคูค่ วรต่อสถานะนี้นอกจากท่านเท่านัน้ ” มัจมัวอุลฟะตาวา ญุชอ์ท่ี 35 หน้าที่ 121 คือคาพูดของคนอื่นมิอาจเทียบได้กบั คาพูดของท่านรอซูล และการตามทุกเรือ่ ง ในสิง่ ทีเ่ ขากล่าวโดยไม่พจิ ารณาหลักฐานทีเ่ ขานาเสนอว่าถูกผิดอย่างไร ก็เท่ากับ ยกสถานะของผูพ้ ดู เทียบเท่ากับท่านรอซูล ซึง่ คาพูดของอิบนุ ตัยมียะห์น้ี สอดคล้องกับถ้อยคาและจุดยืนของบรรดาปราชญ์ทุกยุคทุกสมัย ทีเ่ รียกร้องให้ พิจารณาหลักฐานในการนาเสนอของเขา แต่เราบางคนก็พลัง้ เผลอ ได้แต่กล่าว ว่า ให้ยดึ ปราชญ์ อย่ากระโดดข้ามหัวปราชญ์ แต่ไม่แสดงหลักฐานทีป่ ราชญ์ ยึดถือ เราให้เกียรติอุลามาอ์ แต่ไม่ใช่ยกอุลามาอ์ให้เป็ น มะอ์ศมู (ผูท้ ป่ี ราศจากมลทิน ใดๆ) เหมือนดังที ่ ก่ ลุ่มชีอะห์ได้ยกอิหม่ามของพวกเขาให้เป็ นมะอ์ศมู ชัยคุล้ อิสลาม อิบนุ ตัยมียะห์ กล่าวว่า ً‫قدًثبتًبالكتابًوالسنةًواإلجماعًأنًهللاًسبحانهًوتعالىًفرضًعلى‬ ً‫ًولمًيوجبًعلى‬،ً‫ًوطاعةًرسولهًصلىًهللاًعليهًوسلم‬،ً‫الخلقًطاعته‬ ً‫هذهًاألمةًطاعةًأحدًبعينهًفىًكلًماًيأمرًبهًوينهىًعنهًإلًرسولًهللا‬ ً‫ًواتفقواًكلهمًعلىًأنهًليسًأحدًمعصوماًفىًكل‬،ً‫صلىًهللاًعليهًوسلم‬ ً‫ًولهذاًقال‬،ً‫ماًيأمرًبهًوينهىًعنهًإلًرسولًهللاًصلىًهللاًعليهًوسلم‬ ً‫ًكلًأحدًمنًالناسًيؤخذًمنًقولهًويتركًإل‬:ً‫غيرًواحدًمنًاألئمة‬ ‫رسولًهللاًصلىًهللاًعليهًوسلم‬ “มีคายืนยันด้วยอัลกุรอาน,ซุนนะห์และ อิจมาอ์วา่ พระองค์อลั ลอฮ์ ซุบฮานะฮูวะ ตะอาลา ได้ทรงกาหนดให้บา่ วภักดีต่อพระองค์ และภักดีต่อรอซูลของพระองค์


93

ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม โดยไม่เป็ นความจาเป็ นใดๆต่อประชาชาติน้ที จ่ี ะต้อง ภักดีต่อตัวตนของคนหนึ่งคนใด ในสิง่ ทีใ่ ช้หรือห้ามในเรือ่ งนัน้ นอกจากท่าน รอซูลุล้ ลอฮ์ ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม พวกเขาทุกคนได้เห็นพ้องต้องกันว่า ไม่มผี ใู้ ดบริสทุ ธิ ์ปราศจากมลทินใดๆ ในทุกสิง่ ทีใ่ ช้และห้ามในเรือ่ งนัน้ นอกจาก ท่านรอซูลุล้ ลอฮ์ ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม และนี้ทบ่ี รรดาปราชญ์ต่างพูดถึง กันว่า : มนุษย์ทุกคนนัน้ คาพูดของเขาถูกยึดถือและถูกทิง้ ก็ได้ นอกจากท่าน รอซูลุล้ ลอฮ์ ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม” มัจมัวอุล้ ฟะตาวา ญุซอ์ท่ี 20 หน้าที่ 210 ดังนัน้ ทีผ่ า่ นมา เราจึงไม่เพียงแค่กล่าวว่า มันเป็ นปั ญหาการเห็นต่าง, หรือ แม้กระทังออกอี ่ ดอัฏฮากันไปแล้ว ก็ยงั วนอยูก่ บั คาถามว่า เห็นต่างได้หรือไม่ ทัง้ ๆมันเป็ นปั ญหาทีเ่ ห็นต่างกันมาแล้วนานนับพันปี จนถึงปั จจุบนั แต่เรา เรียกร้องให้แสดงถึงผลของการเห็นต่างให้ประชาชนรับรูว้ า่ มันเป็ นเช่นใด และจะ ยึดถืออันไหน เพือ่ ว่าประชาชนจะได้มคี าตอบในการยึดถือและในการปฏิบตั ขิ อง ตนเอง เพราะการพูดแค่เพียงว่า “มันเป็ นปั ญหาการเห็นต่าง” โดยไม่ชแ้ี จงผลของการ เห็นต่างให้ประชาชนได้รบั ทราบ, ทาให้บางคนเข้าใจผิดว่า จะยืดถือและปฏิบตั ิ อันไหนก็ได้เพราะมันคือความเห็นต่าง, แล้วมันก็ปรากฏให้เห็นเช่นนี้จริงๆจากอี ดิล้ อัฏฮาทีผ่ า่ นมา แล้วเราก็ละเลยหลักในการ “ตัรญิฮ”์ คือการพิจารณาตัวบทหลักฐานทีแ่ ต่ละฝ่ าย นาเสนอ เพือ่ จะได้ทราบว่าทัศนะใดมีน้าหนักมากกว่ากัน


94

แต่เรากลับไปอ้างกฎเกณฑ์ของการผ่อนปรน หรือหลักของการอนุโลม เพือ่ นามาใช้กบั ทัศนะหนึ่งทีต่ นต้องการ โดยไม่สาธยายถึงเงือ่ นไขของการใช้หลักนัน้ ว่า จะมีผลบังคับใช้ต่อผูใ้ ด,เมือ่ ไหร่,เวลาใด,และในสถานการณ์ใดบ้าง, ประหนึ่ง ว่า ประชาชนทัง้ มวลมีความจาเป็ นทีจ่ ะต้องใช้หลักแห่งการอนุโลมนี้รว่ มกัน ไม่ ว่าคนนัน้ จะมีความจาเป็ นหรือไม่กต็ าม และถ้าใครไม่ยดึ หลักนี้กก็ ล่าวประณาม เขาว่า พวกไม่เอาปราชญ์ หรือกระโดดข้ามหัวปราชญ์ การโอนอ่อนผ่อนตามเพือ่ สลายความขัดแย้ง แต่กลับเพิม่ ความขัดแย้งประเด็น ใหม่ขน้ึ อีก ไม่ได้เป็ นสิง่ ทีถ่ กู วิธเี ลย เรายังยืนยันในจุดเดิมว่า เราไม่ปฏิเสธอุลามอ์ แต่เราไม่ยดึ ติดผูกขาดอยูก่ บั อุลา มาอ์ทา่ นใดเป็ นการเฉพาะ แต่เราอาศัยพวกเขาไปสู่ กิตาบุล้ ลอฮ์และซุนนะห์ และในเรือ่ งทีม่ ขี อ้ ขัดแย้งนัน้ เราไม่ยดึ ทัศนะของอุลามาอ์ทป่ี ราศจากหลักฐาน เป็ นแม่บทหลักของศาสนา ข้อขัดแย้งในเรือ่ งใดทีบ่ รรดาอุลามาอ์เสนอหลักฐานทัง้ สองฝ่ ายนัน้ เราเลือกทีจ่ ะ ถือปฏิบตั ติ ามทีอ่ า้ งอิงตัวบทหลักฐานทีถ่ กู ต้องชัดเจนกว่า 23 สิงหาคม 61


95

จะถอยหรือ ? แวดวงของชาวซุนนะห์ในบ้านนี้เมืองนี้ เกีย่ วกับการเข้าบวชออกบวช และวันอีดล้ิ อัฏฮานัน้ เป็ นทีป่ รากฏชัดมาโดยตลอด จนทีเ่ ป็ นทีร่ บั รูแ้ ก่ทุกฝ่ าย แต่มาวันนี่..ผูท้ เ่ี คยยืนหยัดบางคนอาจจะเมือ่ ยล้าลงไปบ้าง, จนบางคนเกิด ความสับสนในการจัดลาดับความสาคัญของการยึดถือตัวบท ว่าจะยึดอันไหนมา ก่อนมาหลัง, บางคนก็หลงทางในการยึดหลักฐาน เลยไขว่คว้าทัศนะของอุ ละมาอ์มาเป็ นหลักฐานแทน, และบางคนก็หลงอยูก่ บั วาทะกรรมหรูทไ่ี ม่ใช่ หลักฐานทางศาสนา บางคนกล่าวว่า “เพือ่ ไม่ให้เกิดความแตกแยกในสังคม เพือ่ รักษาความเป็ น เอกภาพ อุละมาอฺให้เลือกทัศนะทีอ่ ่อนกว่าได้เพราะเป็ นปั ญหาคิลาฟี ยะห์” และบ้างก็พดู ว่า “ออกอีดเป็ นเรือ่ งสุนนะห์ แต่การแตกแยกเป็ นสิง่ ทีห่ ะรอม"

ปั ญหาทีเ่ กิดขึน้ ณ.เวลานี้ เกิดจากความเข้าใจทีค่ าดเคลื่อน หรือเกิดจากความ ไม่มนคงในการยื ั่ นหยัด ซึง่ เราพยามยามทีจ่ ะชีแ้ จงและแนะนากับพีน่ ้อง


96

เพือ่ ให้เข้าใจถึงทีม่ าทีไ่ ป และเพือ่ ให้หลุดพ้นจากวังวนของการขัดแย้ง โดย กลับไปยึดเอา กิตาบุล้ ลอฮ์และซุนนนะห์ บนพืน้ ฐานความเข้าใจของศอฮาบะห์ เป็ นทีต่ งั ้ ซึง่ เป็ นสิง่ ทีถ่ กู ต้อง ชัดเจน โดยปราศข้อขัดแย้งแต่อย่างใด และเป็ น สิง่ ทีท่ า่ นนบีได้กาชับแก่อุมมะห์ของท่านว่า “ผูท้ ม่ี ชี วี ติ หลังจากฉันจะได้เห็นการขัดแย้งเกิดขึน้ อย่างมากมาย ดังนัน้ จึงจาเป็ น ต่อพวกท่านจะต้องยึดซุนนะห์ของฉัน และซุนนะห์ของบรรดาค่อลีฟะห์ท่ี ปราดเปรือ่ ง ทีอ่ ยูใ่ นทางนา พวกเจ้าจงยึดให้มนประหนึ ั่ ่งว่ากัดด้วยฟั นกราม” สุนนั อบีดาวูด๊ ฮะดีษเลขที่ 3991 ขอให้ทุกท่านได้เข้าใจว่า หลักฐานทางศาสนานัน้ ได้ผา่ นความรูแ้ ละความเข้าใจ ของบรรดาศอฮาบะห์มาแล้วทัง้ สิน้ ไม่วา่ จะเป็ นอัลกุรอาน หรือฮะดีษบทใดๆ ก็ ตาม พวกเขาได้อยูใ่ นเหตุการณ์ทอ่ี ลั กุรอานถูกประทานลงมา และพวกเขาได้ยนิ ได้ฟังคาสอนของท่านนบีแล้วนาไปสูก่ ารปฏิบตั ิ โดยเฉพาะในเรือ่ งของการเข้า บวชออกบวช หรือการกาหนดวันอีดล้ิ อัฏฮา ซึง่ พวกเขาได้เรียนรูจ้ ากท่านนบี และได้ปฏิบตั จิ ริง จนพวกเขาได้จากไปแล้ว


97

เกีย่ วกับการเข้าบวชออกบวชและการกาหนดวันอีดล้ิ อัฏฮานัน้ บรรดาค่อลีฟะห์ ไม่วา่ จะเป็ นท่านอบูบกั ร์,ท่านอุมรั ,ท่านอุสมาน,ท่านอาลี และบรรดาศอฮาบะห์ คนอื่นๆ ไม่ได้ขดั แย้งกันแต่อย่างใด ดังนัน้ เราจึงไม่พบทัศนะของพวกเขาว่า คนนัน้ เห็นอย่างนี้ หรือคนนี้เข้าใจอย่าง นัน้ พวกเขาไม่มที ศั นะใดๆ ทีเ่ ห็นต่างกัน, ไม่มที ศั นะทีอ่ ่อนหรือแข็งจากพวกเขา นอกจากการยึดถือตามคาสังสอนของท่ ่ านนบี ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม แต่บางกลุ่มก็เอาเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ในยุคการปกครองของมุอาวียะห์ อิบนิ อบี ซุฟยาน จากการสนทนากันชอง อิบนิ อับบาส กับ กุรยั บ์ เอาไปตีความ ซึง่ ท่านอิบนิ อับบาสเองก็ไม่ได้แสดงทัศนะใดๆเลยว่า ต้องยึดประเทศใครประเทศ มัน หรือมัตละอ์ใครมัตละอ์มนั ตรงกันข้าม ท่านกลับยืนยันตามคาทีท่ า่ นนบีเคย สอนไว้ คือ เข้าบวชและออกบวชด้วยการเห็นเดือน และถ้าไม่เห็นก็นบั ให้ครบ สามสิบวัน ดังนัน้ ท่าน อิบนิ อับบาส และเหล่าศอฮาบะห์จงึ ไม่ได้อยูใ่ นวังวน ของการขัดแย้งในเรือ่ งนี้ นอกจากบางคนทีห่ ยิบเอาคาของท่านไปตีความและ เข้าใจกันเองคนละทิศคนละทาง


98

ด้วยเหตุน้ี เราจึงกล่าวว่า บรรดาค่อลีฟะห์ และบรรดาศอฮาบะห์ของท่านนบี ไม่ได้แยกขัวหรื ้ อแตกฝ่ ายกันเองในเรือ่ งทีก่ าลังเป็ นปั ญหาอยู่ ณ.เวลานี้ แต่คนรุน่ หลังพวกเขาต่างหากทีแ่ ยกขัว้ และแตกฝ่ าย กลายเป็ นฝ่ ายญุมฮูร (นักวิชาการโดยส่วนใหญ่) และฝ่ าย บะอ์ดุลอุลามาอ์ (นักวิชาการบางส่วน) และนักวิชาการบางส่วนก็แตกย่อยทัศนะออกไปอีกมมากมาย ซึง่ ต่างก็พยามหา หลักฐานมารองรับทัศนะทีต่ นยึดถือ ไม่วา่ จะเป็ นฝ่ ายทีย่ ดึ ว่า เมืองใครเมืองมัน หรือฝ่ ายทีถ่ อื มัตละอ์ ก็ตาม เมือ่ เป็ นเช่นนี้ จึงเกิดกระบวนการพิจารณาว่า ฝ่ ายใดจะมีทศั นะทีม่ นี ้าหนัก น่าเชือ่ ถือกว่ากัน แล้วบางคนก็ตดิ หล่ม จมอยูใ่ นวังวันของการขัดแย้งในทัศนะที่ พวกเขาได้นาเสนอ, บ้างก็เห็นด้วย และบ้างก็คดั ค้านกันอย่างเอาเป็ นเอาตาย แต่แทนทีผ่ รู้ ขู้ องเราบางคนจะชีน้ าให้บรรดาผูค้ นหลุดพ้นจากวังวนของการ ขัดแย้งนี้ ด้วยการดาเนินตามแนวทางของบรรดาค่อลีฟะห์และเหล่าศอฮาบะห์ แต่กลับลากผูค้ นให้เข้าสูว่ งั วนของการขัดแย้งเสียเอง


99

แต่ผยู้ นื หยัดไม่เคยอลเวง เพราะท่ามกลางความขัดแย้งนัน้ ท่านนบีสงให้ ั ่ ยดึ ซุน นะห์ของท่าน และซุนนะห์ของบรรดาค่อลีฟะห์ให้มนั ่ ประหนึ่งว่ากัดด้วยฟั น กราม เมือ่ พวกเขาติดหล่ม จมอยูใ่ นวังวนของความขัดแย้ง จึงเกิดการแยกขัว้ และแตก ฝ่ าย และบางคนก็พยายามสร้างวาทะกรรมหรูปลอบประโลมใจผูค้ น แล้วแต่จะ สรรหากัน และบางคนก็พยายามสรรหาทางออกแบบโลกสวย #บางคนก็วา่ “เพือ่ ไม่ให้เกิดความแตกแยกในสังคม เพือ่ รักษาความเป็ น เอกภาพ อุละมาอฺให้เลือกทัศนะทีอ่ อ่ นกว่าได้” คาพูดนี้แปลความได้วา่ “เพือ่ รักษามวลชน เพือ่ ความเป็ นเอกภาพในสังคม จึงเลือกทัศนะทีอ่ ่อนกว่า”

อะไรคือทัศนะทีอ่ ่อนกว่าตามมาตรฐานทางวิชาการ ? ฝ่ ายหนึ่งยึดตัวบทหลักฐานทีเ่ ป็ นคาสังของศาสนา,แนวทางการปฏิ ่ บตั ขิ องบรรดา ค่อลีฟะห์และบรรดาศอฮาบะห์


100

และอีกฝ่ ายยึดการตีความจากหลักฐาน ซึง่ มีทศั นะทีแ่ ตกต่างกันมากมายจาก การตีความนัน้ อย่างนี้ไช่ไหม ทีเ่ ป็ นมูลเหตุนาเข้าสูก่ ระบวนการ “ตัรญีฮ”์ หรือการให้นาหนัก ทางวิชาการ แล้วกล่าวว่า ทัศนะแรกแข็งแรงกว่า (รอญิฮ)์ และทัศนะทีส่ องนี้ ด้อยกว่า (มัรญูฮ)์ แล้วพวกเขาเอาแนวทางและจุดยืนของบรรดาค่อลีฟะห์และบรรดาศอฮาบะห์ไป ไว้ทไ่ี หน ? เมือ่ พวกเขายังติดหล่ม จมอยูใ่ นวังวนของการขัดแย้ง และยอมทิง้ หลักฐานและ แนวทางทีช่ ดั เจน โดยยึดเอาการตีความทีก่ ระจัดกระจายไปกันคนละทิศคนละ ทาง แต่กเ็ พือ่ ความสามัคคีและความเป็ นเอกภาพของสังคม เราถามว่าพวกเขาต้องการความสามัคคีปรองดองกับคนกลุ่มไหนเล่า ระหว่าง - คนทีย่ ดึ คาสังของศาสนาตามแนวทางของศอฮาบะห์ ่ - คนทีย่ ดึ ดาราศาสตร์เป็ นบรรทัดฐานในการเข้าเดือนออกเดือน - คนทีย่ ดึ ประเทศใครประเทศมัน


101

- คนทีย่ ดึ มัตละอ์ หรือตาแหน่งทีข่ น้ึ ของเดือน - คนทีเ่ ข้าเดือนออกเดือนโดยใช้วธิ นี บั ค่าตามปฏิทนิ โบราณ - หรือตามผูน้ าโดยไม่มเี งือ่ นไขว่า ผูน้ าจะดาเนินไปในทิศทางใดก็ตาม - หรือคนทีป่ ระกาศตามผูน้ า แต่มเี งือ่ นไข

ท่านต้องการสามัคคีกบั พวกเขา แล้วพวกเขาจะสามัคคีกบั ท่านไหม ? เพราะนับร้อยนับพันปี คนทีย่ ดึ ทัศนะเหล่านี้กย็ งั คงมีอยู่ ไม่ได้สญ ู หายไปแต่ อย่างใด ถามตรงๆว่า ท่านได้หรือเสียจากการต้องการสามัคคีกบั พวกเขา แต่ทแ่ี น่ๆ ท่านเสียจุดยืนอย่างทีเ่ คยยืน ด้วยการถอยไปยืนอย่างพวกเขา แล้วทาไมท่านไม่เรียกร้องผูค้ นให้สามัคคีและมีเอกภาพบนหลักการตามแนวทาง ของบรรดาศอฮาบะห์เล่า ?


102

แต่ทา่ นกลับไปแสวงหาเอกภาพบนการตีความตัวบททีก่ ระจัดกระจาย และหากอ้างว่า มันมีเหตุของความจาเป็ นทีจ่ ะต้องยึดทัศนะทีอ่ ่อนกว่า เราถามว่า อะไรคือเหตุของความจาเป็ นตามทีก่ ล่าวอ้าง เมือ่ ย้อนกลับไปดูในอดีต ก็ตอ้ งบอกว่า กลุ่มซุนนะห์มจี านวนน้อยมาก และการ จะรวมตัวกันเพือ่ ละหมาดอีดเป็ นไปด้วยความยากลาบาก ทัง้ การนัดหมาย และ สถานทีจ่ ะใช้ละหมาด บางครัง้ ต้องใช้วธิ สี อ่ื กันแบบส่งสัญญาณว่า “เรามีนดั กันที่ นันหรื ่ อทีน่ ่เี วลาเท่านัน้ ” ในอดีตบางคนต้องออกอีดแบบอ้างว้าง และบางคนก็ ออกอีดทัง้ น้าตา ถ้าจะอ้างเหตุของความจาเป็ นในกรณีน้ี เราพบว่าคนในอดีตมี เหตุของความจาเป็ นมากกว่า แต่เราก็ยนื กันมาได้ จน ณ.เวลานี้ มีกลุ่มซุนนะห์ กระจายอยูท่ ุกหย่อมหญ้า และมีสถานทีล่ ะหมาดอีดมากมาย และการยืนหยัด ของชาวซุนนะห์ในเรือ่ งนี้กเ็ ป็ นทีป่ ระจักษ์และรับรูก้ นั โดยทัวไปในสั ่ งคม แล้วอะไรคือ เหตุของความจาเป็ นทีจ่ ะต้องถอยไปยึดทัศนะทีด่ อ้ ยกว่า ตามที่ กล่าวอ้าง ?


103

หรือหากเป็ นเหตุสุดวิสยั ของบุคคล เช่นในหมูบ่ า้ นทีต่ นอยูไ่ ม่มที ใ่ี ห้ละหมาด ก็ จาเป็ นต้องละหมาดตามเขา กรณีน้กี เ็ ป็ เหตุสดุ วิสยั ของแต่ละบุคคลเท่านัน้ และ ก็ไม่สามารถทีจ่ ะเอาไปเป็ นเหตุเพือ่ การเรียกร้องเชิญชวนคนอื่นให้ทาเช่นนัน้ ด้วย และถ้ายืนยันทีจ่ ะยึดทัศนะทีด่ อ้ ยว่าเพือ่ ความเป็ นเอกภาพ ดังนัน้ ทัศนะทีด่ อ้ ย กว่าในเรือ่ งอื่นๆ ก็คงจะถูกนามาปฏิบตั ดิ ว้ ยเช่นเดียวกัน

และหากเป็ นเช่นนี้, อีกไม่นานก็คง มีการอ่านอัลกุรอานอุทศิ ผลบุญให้คนตาย หรือ การอ่านตัลกีนปากหลุม เพราะมันเป็ นการคิลาฟในระดับมัสฮับ และต่าง ฝ่ ายต่างก็อา้ งหลักฐาน ถึงแม้วา่ จะเป็ นทัศนะทีด่ อ้ ยกว่าก็ตาม ช่างสอดคล้องกับแนวนโยบาย “อุมมะตันวาฮิดะห์” ของคนบางกลุ่มเสียนี่กระไร #อีกคาพูดหนึ่งทีก่ ล่าวว่า “ออกอีดเป็ นเรือ่ งสุนนะห์ แต่การแตกแยกเป็ นสิง่ ทีห่ ะ รอม” คาว่า “ออกอีดเป็ นเรือ่ งซุนนะห์” คือเป็ นซุนนะห์ในด้านฮุก่มของของการ ละหมาดอีด


104

และหากเป็ นซุนนะห์ทห่ี มายถึงแบบฉบับ ก็ถามว่า การละทิง้ ซุนนะห์ของท่านนบี และซุนนะห์ของบรรดาค่อลีฟะห์ เพือ่ ความสามัคคีโดยไม่มเี หตุสดุ วิสยั นี้เป็ น แบบอย่างของใคร การถือศีลอดวันอะรอฟะห์ทไ่ี ม่มกี ารวุกฟู จริงโดยไม่มเี หตุสุดวิสยั เป็ นซุนนะห์ ของใคร การถือศีลอดวันอะรอฟะห์ทม่ี กี ารวุกฟู จริง แล้วเว้นไว้หนึ่งวัน และข้ามไปออกอี ดอีกวันหนึ่งถัดไป เป็ นซุนนะห์ของใคร

ถามว่า การถือศีลอดวันอะรอฟะห์, การละหมาดอีด,การเชือดอุฏฮียะห์, และข้อ ปฏิบตั ศิ าสนาอื่นๆทีเ่ กีย่ วข้องนัน้ จะทาวันไหนก็ได้ และทาอย่างไรก็ได้หรือ เพือ่ ไม่ให้เกิดการแตกแยก แตกแยกกันเองเป็ นเรือ่ งฮะรอม แต่แยกจากซุนนะห์ของท่านนบีไม่เป็ นไรกระนัน้ หรือ ? หากจงใจละทิง้ และฝ่ าฝืนคาสังของท่ ่ านนบีโดยไม่มเี หตุสดุ วิสยั ก็จงระวังให้ดี พระองค์อลั ลอฮ์ทรงกล่าวว่า


105

ْ ‫ع ْنًأ َ ْم ِّر ِّه‬ ً‫ع َذابًأَ ِّليْم‬ َ ً‫ص ْيبَ ُه ْم‬ ِّ ُ‫ًأوًي‬ ْ ‫ص ْيبَ ُه ْمًفِّتْنَة‬ ِّ ُ ‫ًأنًت‬ َ ً َ‫فَ ْليَ ْح َذ ِّرًالَّ ِّذيْنَ ًيُخَا ِّلفُ ْون‬ “จงระวังไว้เถิด บรรดาผูท้ ฝ่ี ่ าฝืนคาสังของนบี ่ ว่าเคราะห์กรรมจะเกิดขึน้ แก่พวก เขาในโลกนี้ หรือการลงโทษอันเจ็บปวดจะประสบกับพวกเขาในโลกหน้า” ซู เราะห์อนั นูร อายะห์ท่ี 63 คาว่า “ฟิ ตนะห์” ในอายะห์น้คี อื “ชิรก์” หมายถึงการตัง้ ภาคีต่ออัลลอฮ์ ถือเป็ น บาปใหญ่และร้ายแรงทีส่ ุด ความสามัคคีคอื โลโก้ของพวกโลกสวย แต่สามัคคีโดยปราศจากจุดยืนและ หลักการทีถ่ กู ต้องนัน้ นาพาไปสูค่ วามหายนะ การเรียกร้องผูค้ นไปสูซ่ ุนนะห์นบีไม่ใช่การสร้างความแตกแยกในสังคม แต่เป็ น การเรียกร้องผูค้ นในสังคมให้มคี วามสามัคคีกนั บนคาสอนของศาสนา

ผูท้ ย่ี นื หยัดและเรียกร้องผูค้ นให้ยดึ ซุนนะห์ในอดีต ถูกยัดข้อหา, ถูกตราหน้า, ถูกก่นด่า ถูกลอบทาร้าย แต่พวกเขายอมทน ไม่เคยย่อท้อ ทัง้ นี้เพือ่ ให้ซุนนะห์


106

ได้ประจักษ์ แต่วนั นี้ซุนนะห์ได้ประจักษ์แล้วในบ้านนี้เมืองนี้ มีผยู้ ดึ แนวทางซุน นะห์กระจายไปทุกหย่อมหญ้า แต่เรากลับถอย ไม่กล้าทีจ่ ะยืนหยัดเหมือนกับ พวกเขา ช่างเปราะบางเสียเหลือเกิน ถ้าทนแรงเสียดทานไม่ไหวก็พกั ก่อน แต่อย่าถอนตัวและนาพาผูค้ นถอยจากการยืนหยัดบนความถูกต้องและชัดเจน เลย

#ถอยหลังลงเหว สองสามวันทีผ่ า่ นมานี้ เราพยายามอธิบายให้พน่ี ้องได้เข้าใจถึง “การเห็นต่าง” (ตะเนาวุอ)์ และ “การขัดแย้ง” (ตะดอฏ) ว่า ทัง้ สองนี้เป็ นคนละชนิดกัน เพราะหากไม่เข้าในการจาแนกประเด็นทัง้ สองนี้ ก็อาจก่อให้เกิดความเสียหาย และสร้างปั ญหาขึน้ ในสังคมได้


107

อาจจะเป็ นความหวังดีของบางคนทีต่ อ้ งการนามวลชนออกจากหลุม เพือ่ พา สังคมเดินต่อไปข้างหน้า ขณะเดียวกันก็กล่าวตาหนิผรู้ ู้ ครู อาจารย์ในยุคก่อน ว่า 20 -30 ปี ว่าทีผ่ า่ นมาพาคนไม่พน้ หลุม (ในคลิปคาบรรยายเขาว่าอย่าง นัน้ ) หากท่านมีความรู้ มีความสามารถ ทีจ่ ะนาพาสังคมไปสูส่ งิ่ ทีด่ กี ว่า ทีเ่ ราและ บรรดาคณาจารย์ของเราในอดีตเคยทากันมา ก็เป็ นเรือ่ งทีน่ ่ายินดี แต่ภาพทีป่ รากฏ ณ.เวลานี้มนั ตรงกันข้าม เพราะมันไม่ใช่เป็ นการพาสังคมเดิน ไปข้างหน้า แต่เป็ นการพาสังคมถอยหลังลงเหว !!!

ด้วยเหตุท่ี เรือ่ งทีน่ ามาพูดคุยกัน ณ.เวลานี้ ไม่วา่ จะเป็ นเรือ่ ง เดือนนอกเดือนใน , การกุนูตซุบฮิ, การอ่านอัลกุรอานส่งผลบุญ และ ฯลฯ นัน้ เป็ นปั ญหาที่ นักวิชาการของเราในอดีต ได้เคยชีแ้ จงกันมาแล้วทัง้ สิน้ และสังคมซุนนะห์ได้กา้ ว ผ่านเรือ่ งอย่างนี้มาแล้ว แต่วนั นี้เรากลับต้องย้อนมาพูดคุยในเรือ่ งอย่างนี้กนั อีก แล้วสังคมของเราเดินหน้าหรือถอยหลังกันแน่ หากผูน้ าพาสังคม ขาดความรู้ ความเข้าใจในหลักเกณฑ์และวิธกี ารทางวิชาการ แน่นอนว่า สังคมย่อมตกอยูใ่ นความสับสนและการขัดแย้ง เหมือนดังที ่ เ่ ป็ นอยูใ่ น เวลานี้ ตัวอย่างเช่น


108

การไม่เข้าใจ และไม่รจู้ กั แยกแยะในเรือ่ งการเห็นต่าง กับการขัดแย้ง (ตะเนาวุอ์ – ตะดอฏ) โดยเอา การขัดแย้งไปใส่รวมไว้ในเข่งการเห็นต่าง แล้วตะโกน บอกชาวบ้านว่า มันเป็ นปั ญหาการเห็นต่าง ๆ หรือบางคนก็ตะโกนถามว่า เห็น ต่างได้ไหม หรือยอมรับการเห็นต่างหรือเปล่า เมือ่ เป็ นเช่นนี้ ก็เป็ นเรือ่ งทีน่ ่าเศร้าว่า คนระดับแกนนาสังคมยังแยกไม่ออก ระหว่างการเห็นต่างกับการขัดแย้ง จึงทาให้เกิดความโกลาหล และทาให้เกิด ความเข้าใจผิดในจุดยืนและการแสดงท่าทีต่อกรณีทงั ้ สอง และแทนทีจ่ ะแก้ปัญหากลับกลายเป็ นการสร้างปั ญหาให้เพิม่ มากขึน้ และผูอ้ าสา แก้ปัญหาก็กลายเป็ นผูส้ ร้างปั ญหาเสียเอง และพาสังคมถอยหลังลงเหวโดยไม่ รูต้ วั ถ้าท่านสะดวกก็ลองฟั งคาชีแ้ จงของเรา เรือ่ งการเห็นต่างกับการขัดแย้ง ตามลิงค์ ด้านล่างนี้ มัสยิดอัลฟุรกอน คลอง 20 วันพฤหัสบดีท่ี 27 กันยายน 61

https://www.facebook.com/Iklas.Krabi/videos/271 702183470648/


109

กลุ่มมุมฮะล้าล วันศุกร์ท่ี 28 กันยายน 61

https://www.facebook.com/Iklas.Krabi/videos/317 292945486938/ และ อาพาร์เม้นประดับญาติ พัทยากลาง ชลบุร ี วันเสาร์ท่ี 29 กันยายน 61

บันทึกความทรงจา บันทึกไว้ให้คนทีเ่ กิดไม่ทนั หรือคนทีไ่ ม่ทนั เหตุการณ์ ได้ทราบข้อมูลว่า คนใน อดีตเขาทาอะไรกันบ้าง เรือ่ งการเข้าเดือนออกเดือนและการกาหนดวันอีดทัง้ สองนัน้ เป็ นเรือ่ งทีม่ กี ารเห็น ต่างกันมาตัง้ แต่ในยุคอดีตนับพันปี และนักวิชาการแต่ละฝ่ ายต่างก็แสดงตัวบท หลักฐานทีต่ นยึดถือเรือ่ ยมาจนถึงปั จจุบนั ในบ้านนี้เมืองนี้ บรรดาผูร้ ,ู้ ครู,อาจารย์ ของเราก็เคยถกกันกันมา นับครัง้ ไม่ถว้ น และผมเองก็เป็ นหนึ่งในนัน้ ด้วย


110

โดยเมือ่ ประมาณสัก 30 ปี ทผ่ี า่ นมา, ผมกับอาจารย์อสิ มาอีล วิสุทธิปราณี (ร่อฮิมะฮุล้ ลอฮ์) ก็ถกกันเรือ่ งนี้ทล่ี ามดตะนอย เขตหนองจอก โดยต่างฝ่ ายต่าง แสดงมุมมองของบรรดานักวิชาการและหลักฐานอ้างอิง พร้อมทัง้ หลักฐานโต้แย้ง ซึง่ กันและกัน

และเมือ่ สัก 10 กว่าปี ทผ่ี า่ นมา ผมกับอาจารย์ปราโมทย์ ศรีอุทยั และ นักวิชาการท่านอื่นๆ ก็ถกกันเรือ่ งนี้ ในทีป่ ระชุม ชมต (ชมรมมุสลิมภาคใต้) โดยเราได้แสดงมุมมองของนักวิขาการและหลักฐานทีพ่ วกเขายึดถือพร้อมทัง้ หลักฐานโต้แย้งซึง่ กันและกัน

#แต่เราก็ไม่ได้มปี ั ญหาทะเลาะเบาะแว้ง และยังคงเคารพนับถือกัน พูดจา ทักทายกัน ทีเ่ ป็ นเช่นนี้เพราะเราเข้าใจในปั ญหาว่า เป็ นเรือ่ งของการเห็นต่างทีม่ มี าตัง้ แต่ อดีต เพียงแต่..เราเอามุมมองของนักวิชาการและหลักฐานทีพ่ วกเขายึดถือมาตี แผ่ให้ประชาชนได้รบั ทราบ แล้วประชาชนก็สามารถตัดสินใจด้วยตัวเองว่าควรจะ เลือกยึดถือและปฏิบตั เิ ช่นไร


111

วันนี้ ปั ญหานี้ยอ้ นกลับมาอีกครัง้ เมือ่ อีดล้ิ อัฏฮาทีผ่ า่ นมา โดยมีผจู้ ุดประเด็นว่า” เป็ นปั ญหาทีม่ คี วามเห็นต่าง” แต่กไ็ ม่มกี ารตีแผ่หรือชีแ้ จงตัวบทหลักฐานที่ บรรดานักวิชาการเขาเคยชีแ้ จงกันไว้แล้ว ปล่อยให้ผคู้ นงุนงง, เลือกกันเอง, วิเคราะห์กนั เอง และบางคนก็เข้าใจว่า มันเป็ นแค่ปัญหาเห็นต่างจะเลือกปฏิบตั ิ อย่างไรก็ได้ ถามว่า เราและบรรดาผูร้ ขู้ องเราไม่เคยรูเ้ ลยหรือว่า เรือ่ งนี้มนั เป็ นปั ญหาเห็นต่าง หรือเราและผูร้ ขู้ องเราเป็ นผูไ้ ม่ยอมรับการเห็นต่างอย่างนัน้ หรือ ? ขออย่าได้เข้าใจเช่นนัน้ เลย เพราะเราและผูร้ ขู้ องเราเคยตีแผ่เรือ่ งนี้กนั มาแล้ว ด้วยตัวของเราเองทัง้ สิน้ และคนในระดับชาวบ้านทีเ่ ป็ นคนรุน่ เก่าทีต่ ดิ ตามและ อยูใ่ นวงการเรียนรูศ้ าสนาต่างก็ทราบถึงปั ญหานี้กนั ดี

และในทางปฏิบตั นิ นั ้ ปี ไหนทีอ่ อกอีดไม่ตรงกัน, เราก็ยงั ไปมาหาสูเ่ ยีย่ มเยียน กัน เพราะญาติพน่ี ้องของเราทีอ่ อกอีดคนละวันกับเราก็ม ี และเช่นเดียวกับอีดล้ิ อัฏฮาในปี น้ี ทีเ่ ราต้องต้อนรับแขกทัง้ สองวัน คือทัง้ วันอังคาร และวันพุธ เพราะ การออกอีดคนละวันนัน้ ไม่ได้ทาให้ความเป็ นญาติพน่ี ้องต้องหายไป นี่คอื ความ เป็ นจริงของสังคมมุสลิมเราทีม่ สี ภาพเช่นนี้มาเนิ่นนาน


112

#และจนถึงเดีย๋ วนี้ เราก็ยงั ไม่เคยได้ยนิ ใครปฏิเสธว่า เรือ่ งนี้ไม่มกี ารเห็นต่าง หรือ เห็นต่างไม่ได้

แต่สงิ่ ทีข่ าดหายไป ทีต่ ่างจากในอดีต ณ.เวลานี้กค็ อื การชีแ้ จงผลของการเห็น ต่างว่า เป็ นเช่นใด และการตีแผ่ตวั บทหลักฐานทีแ่ ต่ละฝ่ ายยึดถือ เพือ่ ให้ ประชาชนทีเ่ กิดไม่ทนั การชีแ้ จงในอดีต หรือไม่เคยรูเ้ รือ่ งนี้มาก่อนได้รบั ทราบว่า แต่ละฝ่ ายนัน้ ใช้อะไรเป็ นหลักฐานอ้างอิง เมือ่ ก่อนเขานาเสนอมุมมองของนักวิชาการและตัวบทหลักฐานทีแ่ ต่ละฝ่ ายยึดถือ เขาโต้แย้งหักล้างกันด้วยตัวบทหลักฐาน แต่คนยุคนี้ทาได้แค่เพียงพูดว่า “มันเป็ นปั ญหาการเห็นต่าง” แล้วปล่อยให้ ประชาชนไปเลือกกันเองว่าจะเอาอย่างไร แล้วมันก็เป็ นเช่นนัน้ จริงๆ เพราะ คนทีเ่ คยถือศีลอดวันวุกฟู อะรอฟะห์และออก อีดวันถัดมา ก็ยา้ ยจุดยืนไปลองถือศีลอดวันอะรอฟะห์ทไ่ี ม่มกี ารวุกฟู ดูบา้ งและ


113

ออกอีดอีกวันถัดไป และบางคนก็ถอื ศีลอดวันวุกฟู อะรอฟะห์ และเว้นว่างหนึ่ง วันแล้วไปออกอีดในอีกวันหนึ่ง ก็เพราะ “มันเป็ นปั ญหาความเห็นต่าง”

#ทีผ่ รู้ ู้ ครู อาจารย์ของเราบางคนต้องออกมาชีแ้ จง ณ.เวลานี้ ไม่ใช่เขาปฏิเสธ การเห็นต่าง หรือปฏิเสธว่าเห็นต่างไม่ได้ แต่เพราะเขารูแ้ ละไม่เชือ่ ว่าผลของการ เห็นต่างมันมีน้าหนักเท่ากัน ทีจ่ ะให้ประชาชนเลือกยึดถือและปฏิบตั อิ ย่างไรก็ได้ และบางกรณีกไ็ ม่มหี ลักฐานอ้างอิงเลย และถ้าคนรุน่ ใหม่ทาได้แค่เพียงพูดว่า “มันเป็ นปั ญหาการเห็นต่าง” ก็ไม่เป็ นไร แต่อย่ารีบร้อนไปตราหน้าใครว่า ไม่เอาอุลามาอ์ หรือกระโดดข้ามหัวอุลามาอ์ เดีย๋ วเราจะทยอยเขียนให้อ่านเอง


114

ทาไมผูค้ นถึงกล่าวกันว่า “มันเป็ นปั ญหาขัดแย้ง จะยึดทัศนะไหนก็ได้” ใครละ....เขาหรือเราทีพ่ ดู คานี้ เราไม่เคยได้ยนิ ว่าเขาพูด มีแต่เราชาวซุนนะห์ (บางคน) ทีพ่ ดู กันอยู่ ณ.เวลานี้ ถ้าเช่นนัน้ ต่อนี้ไปคงไม่ตอ้ งพิจารณากันละว่า ทัศนะใดทีช่ ดั เจนมีน้าหนักมาก ทีส่ ุด, ทัศใดทีป่ ราศจากหลักฐาน และหรือหลักฐานทีน่ าเสนอถูกต้อง และตรง ประเด็น

หากผูค้ นยึดเอาถ้อยคาข้างต้นนี้เป็ นมาตรฐานในทุกเรือ่ งละก็.. ซุนนะห์กค็ งถูก กลืนในทีส่ ุด ปั ญหาทีเ่ กิดขึน้ นี้ มันไม่ใช่เป็ นปั ญหาทีเ่ ห็นต่างในระดับศอฮาบะห์ทต่ี ่างฝ่ ายต่าง ก็เข้าใจในหลักฐานต่างกัน ทีผ่ คู้ นจะกล่าวว่าเลือกทัศนะไหนก็ได้

บรรดาค่อลีฟะห์ และบรรดาศอฮาบะห์กไ็ ม่เคยคิลาฟกันในเรือ่ งนี้ !! การกล่าวว่า ประเทศใครประเทศมัน หรือมัตละอ์ใครมัตละอ์มนั ไม่ได้เกิดจาก การขัดแย้งหรือการเห็นต่างในระดับศอฮาบะห


115

แต่เป็ นประเด็นทีค่ นรุน่ หลัง ตีความและเข้าใจคาของอิบนิ อับบาส ในฮะดีษกุ รัยบ์กนั ไปคนละทิศทาง ทัง้ ๆ ทีต่ วั อิบนิ อับบาส เอง ก็ไม่ได้เข้าใจและบอกเช่นนัน้ แต่ทา่ นยืนยันในตัว บททีท่ า่ นนบีเคยสอนไว้ แล้วไหนละ...ตัวบทหลักของศาสนาทีส่ งให้ ั ่ ยดึ ประเทศใครประเทศมัน ไหนคือตัวบทหลักของศาสนาทีส่ งให้ ั ่ ยดึ มัตละอ์

อัลกุรอานอายะห์ใด, ฮะดีษบทใด, คอลีฟะห์ทา่ นใด และหรือบรรดาศอฮาบะห์ คนใดกล่าวไว้บา้ ง

ท่านนบีเคยสัง,่ บรรดาค่อลีฟะห์เคยสอน และบรรดาศอฮาบะห๋เคยยึดถือกัน เช่นนี้หรือ ???

เปล่าเลย...นอกจากการตีความหลักฐานเอาเองทัง้ สิน้


116

ฝ่ ายหนึ่งยึดตัวบทหลักฐานทีเ่ ป็ นคาสังของศาสนา,แนวทางการปฏิ ่ บตั ขิ องบรรดา ค่อลีฟะห์และบรรดาศอฮาบะห์ อีกฝ่ ายยึดการตีความจากหลักฐาน

ทัง้ สองฝ่ ายนี้เท่ากันหรือ...ยึดอันไหนก็ได้หรือ ทาไมเราจึงสร้างมาตรฐานเพือ่ ถอยห่างออกจากความถูกต้องชัดเจน เพือ่ อะไร.. เพราะอะไร ???

#ปิ ดประเด็น ข้อความทีจ่ ะเขียนต่อไปนี้ไม่รวู้ า่ จะเป็ นการปิ ดประเด็นดังที ่ ต่ งั ้ หัวข้อหรือไม่ หรือ จะเป็ นการเปิ ดประเด็นใหม่ขน้ึ มาอีกก็ไม่ทราบได้ วัลลอฮุอะอ์ลมั แต่ผา่ นมา เราได้เขียนอธิบายติดต่อกันมาหลายตอนนัน้ คงเพียงพอทีจ่ ะเป็ น พืน้ ฐานเบือ้ งต้นแก่บุคคลทัวไป ่ และอย่างน้อยทีส่ ุดคือ เราก็ได้มโี อกาสทบทวน


117

ไปด้วย แต่จะเขียนต่อก็ไม่รวู้ า่ จะไปจบสิน้ ทีต่ รงไหน เพราะมีผเู้ ปิ ดประเด็น ใหม่ๆ โดยลากโยงเอาปั ญหาอื่นๆ มาสมทบอยูเ่ รือ่ ยๆ

บทสรุปของเราเพือ่ ปิ ดประเด็นคือ : สืบเนื่องจากการออกอีดอัฏฮาในบ้านเมือง เราทีผ่ า่ นมา, มีทงั ้ ผูร้ ู้ และผูเ้ รียนรู้ ต่างก็นาเสนอแนวทางการปฏิบตั หิ ลากหลาย อีกทัง้ ยังชีน้ าผูค้ นให้ถอื ปฏิบตั ติ ามทัศนะทีต่ นเองยึดถือ ซึง่ เราพอสรุปเป็ น ประเด็นหลักๆได้ดงั นี้คอื 1 – ถือศีลอดตรงกับวันวุกฟู ทีอ่ ะรอฟะห์ (วันจันทร์) และออกอีดวันรุง่ ขึน้ (วัน อังคาร) 2 – ถือศีลอดวันอังคาร (วันอะรอฟะห์ทไ่ี ม่มกี ารวุกูฟ) แล้วออกอีดวันพุธ 3 – ถือศีลอดตรงกับวันวุกฟู อะรอฟะห์ (วันจันทร์) แล้วเว้นวันอังคาร และไป ออกอีดวันพุธ


118

เราคงปฏิเสธไม่ได้วา่ ทัง้ สามแนวทางนี้มกี ารปฏิบตั จิ ริงในบ้านเมืองเราอย่าง แพร่หลาย แต่ถามว่า ทัง้ สามแนวทางนี้ อันไหนเป็ น ปั ญหาอิจติฮาดียะห์ หรือ อันไหนเป็ นปั ญหาคิลาฟี ยะห์ กล่าวคือ อันไหนเป็ นแนวทางทีบ่ รรดาอุลามาอ์เขาวินิจฉัยและขัดแย้งกัน และอัน ไหนเป็ นคิลาฟฏออีฟหรือคิลาฟมัรดู๊ด (ขอเรียกให้เข้าใจง่ายๆว่า เป็ นปั ญหายก เมฆ ทีบ่ รรดาอุลามาอ์เขาไม่ได้ขดั แย้งกัน)

#ในสองประเด็นแรกนัน้ บรรดาผูค้ นทัวไปต่ ่ างก็รบั รูก้ นั ดีวา่ เป็ นปั ญหาคิลาฟี ยะห์ ทีบ่ รรดาอุลามาอ์เขานาเสนอและถกเถียงกันมาตัง้ แต่อดีต อีกทัง้ เรือ่ งราว เหล่านี้ถกู ระบุอยูใ่ นตาราหลายเล่ม และคนรุน่ เก่าก็ ได้ยนิ ได้ฟังบรรดา คณาจารย์ของเราชีแ้ จงกันมาเนิ่นนาน (นานจนบางคนไม่ทนั ลืมตาดูโลก) และ ในทางปฏิบตั นิ นั ้ ต่างฝ่ ายต่างก็ถอื ปฏิบตั ติ ามความเชือ่ และความเข้าใจของ ตนเอง จนทีเ่ ป็ นรับรูซ้ ง่ึ กันและกันอย่างกว้างขวาง และก็ไม่ได้มปี ั ญหาแต่อย่าง ใด


119

และเมือ่ ความขัดแย้งของอุลามาอ์ในสองประเด็นนี้มมี าอย่างเนิ่นนาน และเรา ก็ ไม่สามารถทีจ่ ะทาให้มนั บรรจบกันได้ ดังนัน้ เราคงต้องปล่อยให้มนั เป็ นไปตาม สภาพทีม่ นั เคยมีมา

แต่การชีแ้ จง,การถกเถียง และการตอบโต้กนั ทางวิชาการว่าทัศนะไหน อ่อนแก่ กว่ากัน หลักฐานไหนถูกต้องมากน้อยกว่ากัน ก็ยงั คงต้องมีตามปกติ เพราะอุลา มาอ์เขาถกกันและชีแ้ จง ตอบโต้กนั เป็ นปกติ ตัง้ แต่อดีตจนถึงปั จจุบนั ดังนัน้ จึง ไม่สมควรทีเ่ ราจะปิ ดกัน้ วิชาการทีบ่ รรดาผูค้ นควรรับรู,้ ส่วนผูค้ นเขาจะปฏิบตั ิ อย่างไรก็เป็ นสิทธิ ์ทีเ่ ขาต้องรับผิดชอบตัวเขาเอง แต่ประเด็นแทรกเล็กๆ ทีถ่ กู นาเสนอแก่บรรดาผูค้ นเมือ่ อีดทีผ่ า่ นมา ซึง่ ดูจะเป็ น การสร้างความโกลาหลให้เกิดขึน้ แก่สงั คมไม่ใช่น้อย นันคื ่ อ การละทัศนะที่ แข็งแรง (รอญิฮ)์ แล้วไปยึดทัศนะทีด่ อ้ ยกว่า (มัรญัวฮ์) โดยพิจารณาในแง่ ของมัสลฮะห์ คือเพือ่ การปรองดอง และลามเลยไปถึงเรือ่ ง การละหมาด ตามหลังอิหม่ามทีอ่ ่านดุอาอ์กุนูตซุบฮิ, ละหมาดย่อ, และอื่นๆ อีก ขณะเดียวกัน เราได้เห็นแนวทางการโต้แย้งของคนทีผ่ กู ขาดอยูก่ บั อุลามาอ์บาง ท่าน แล้วในทีส่ ุดก็กลายเป็ นการนาเอาทัศนะของอุลามาอ์มาชนกัน


120

ปั ญหาก็คอื มันมีเหตุของความจาเป็ นตามบทบัญญัตศิ าสนาหรือไม่ทต่ี อ้ งทา เช่นนัน้ และทาแล้วได้ผลไหม หรือยิง่ เพิม่ ความขัดแย้งในสังคมมากยิง่ ขึน้ , อุ ลามาอ์เขาเสนอแนวทางเพือ่ แก้ปัญหา แต่ทาไมเรานาเสนอแล้วเกิดปั ญหา ตามมามากมาย ก็ลองพิจารณาแต่ละเหตุกนั เอาเอง แต่สาหรับเราไม่มคี วาม จาเป็ นใดๆทีต่ อ้ งทาเช่นนัน้ เลย

#และในประเด็นทีส่ าม ซึง่ เป็ นประเด็นร้อนแรงทีถ่ กู นาเสนอแก่บรรดาผูค้ น และ ดูเหมือนจะเป็ นทางเลือกใหม่ให้แก่คนในสังคมบ้านนี้เมืองนี้ นันคื ่ อ การถือศีล อดตรงกับวันวุกฟู อะรอฟะห์ (วันจันทร์) แล้วเว้นวันอังคาร และไปออกอีดวันพุธ แนวทางนี้ถกู นาเสนอแก่ผคู้ น และมีการปฏิบตั กิ นั อย่างแพร่หลายเช่นเดียวกัน แต่หลังจากนัน้ ก็ถกู กลืนหายเข้ากลีบเมฆ และถูกกลบเกลื่อนด้วยประเด็นอื่นๆ จนผูค้ นลืมไปแล้วว่า นี่คอื ประเด็นหลักทีเ่ ราและวิทยากรอาวุโสของเราบางท่าน เรียกร้องว่า มันไม่ใช่ปัญหาอิจติฮาดียะห์และไม่ใช่ปัญหาคิลาฟี ยะห์ แต่เป็ น ปั ญหายกเมฆ ดังที ่ ก่ ล่าวข้างต้น เพราะอุลามาอ์ เขาไม่ได้คลิ าฟกันเรือ่ งนี้เลย และเรากล่าวว่า มันเป็ นทัศนะทีไ่ ม่มหี ลักฐานอ้างอิง แต่เสียงของเราอาจจะแผ่ว เบาจนไม่มผี ใู้ ดได้ยนิ


121

ขณะทีม่ บี างคนพยายามชักลากหลักฐานอื่นๆ มาค้ายันทัศนะนี้ แต่มนั ก็ค้าให้ พ้นสภาพจากการเป็ นปั ญหายกเมฆไม่ได้ ทีซ่ ้าร้ายไปกว่านัน้ คือ มีผรู้ บู้ างคนออกมารับรองว่า “ถือศีลอดวันจันทร์ตรงกับ วันอะรอฟะห์กไ็ ด้ซุนนะห์ ออกบวชวันพุธก็ได้ซุนนะห์ในการดูเดือนและซุนนะห์ ในการตามผูน้ า” แล้ววันอังคารหายไปไหน เราก็ถามว่า การกระโดดข้ามวันเช่นนี้เป็ นซุนนะห์ ใคร แต่จนถึงเดีย๋ วนี้ เราก็ยงั ไม่เห็นหลักฐานยืนยันความถูกต้องแม้แต่บทเดียว เราจะปิ ดประเด็นเพียงเท่านี้

#โต๊ะครูแก่ๆ คนแก่มกั จะพูดเรือ่ งเก่าๆ ให้ลกู หลานได้ฟังไว้เป็ นแง่คดิ เสมอ หรือบางครัง้ เวลา นึกถึงเหตุการณ์ในอดีตก็แอบยิม้ หรือแอบเศร้ากับเรือ่ งราวทีผ่ า่ นมา ภาพของโต๊ะครูแก่ๆ ในวันนี้หลายคน ทีใ่ นอดีตเคยยืนหยัดต่อสูป้ ระกาศซุนนะห์ กาลังถูกลืมเลือนไปจากความทรงจาของผูค้ นว่า กว่าจะมาถึงวันนี้ ได้ผา่ น เหตุการณ์อะไรมาบ้าง


122

ขอพูดในนามของโต๊ะครูรนุ่ เก่า เนื่องจากบางท่านไม่มโี อกาสพูดเพราะเขา เสียชีวติ ไปแล้ว (ร่อฮิมะฮุ​ุมลุ้ ลลอฮ์) และบางท่านก็ไม่มโี อกาสพูดทีน่ ้เี พราะไม่ได้ เล่นเฟสบุ๊ค , บางท่านก็ไม่อยูใ่ นสถานะทีจ่ ะพูดจาบอกกล่าวอะไรได้แล้ว แต่บาง ท่านก็ยงั คงทาหน้าทีต่ ามศักยภาพของตนเอง เท่าทีย่ งั พอมีเรีย่ วแรงจะทาได้ เมือ่ ย้อนเวลาไปในอดีต ก็จะเห็นว่า การประกาศซุนนะห์เป็ นเรือ่ งทีย่ ากลาบาก มาก ต้องเผชิญกับปั ญหาและอุปสรรค์นานาประการ, ต้องเสีย่ งกับการถูกลอบ ทาร้ายทุกวิถที าง, ชีวติ ของพวกเรานัน้ ต้องอยูอ่ ย่างระแวดระวัง, จะไปไหนมา ไหนก็หวันการถู ่ กลอบทาร้าย, บางคนโดนใบสัง,่ บางคนโดนหมายหัว, และบาง คนก็ตอ้ งเลือดตกยางออก คาว่า “ซุนนะห์” เป็ นเรือ่ งแปลกใหม่ในสังคม ณ.เวลานัน้ , บางคนเข้าใจว่า เป็ น ลัทธิใหม่ หรือศาสนาใหม่ทถ่ี กู นามาเผยแพร่ในเมืองไทย, ผูค้ นส่วนใหญ่จงึ ต่อต้าน รวมถึงญาติพน่ี ้องของพวกเราด้วย บางคนถูกไล่ออกจากบ้าน, บางคน ถูกตัดญาติขาดมิตร ดังนัน้ พวกเราจึงไม่มมี วลชนทีค่ อยห้อมล้อมอารักขา การเดินทางไปประกาศซุนนะห์ในแต่ละที่ ก็เป็ นไปด้วยความยากลาบาก บาง สถานทีต่ อ้ งนังรถแล้ ่ วต่อเรือไปอีก, บางสถานทีต่ อ้ งเดินลัดทุง่ นาไป พาหนะถูก ทุบ ถูกทาลาย อุปกรณ์สอ่ื สาร เครือ่ งไม้เครือ่ งมือก็ยงั ไม่สะดวกเหมือนอย่างในเวลานี้, ไม่มอี นิ แตอร์เน็ท, ไม่มกี เู กิล เมือ่ เจอปั ญหาใดๆ ก็ตอ้ งอ่าน ต้องค้นกางตารากันเต็ม บ้าน ไม่มเี วปไซด์, ไม่มไี ลฟ์ สด, ไม่มโี ทรทัศน์ดาวเทียม แม้จะทารายการวิทยุก็ เป็ นไปได้ยาก ออกอากาศไม่นานก็ถกู สังปิ ่ ด แล้วก็เปื ดใหม่ แล้วก็ถกู สังปิ ่ ด


123

เป็ นอยูอ่ ย่างนี้ซ้าแล้วซ้าเล่า ผูร้ ,ู้ ครู อาจารย์ ทีป่ ระกาศซุนนะห์ในเวลานัน้ มีน้อยมาก ฉะนัน้ คราใดทีม่ คี นรุน่ ใหม่ประกาศยืนหยัดในแนวทางนี้ จึงเหมือนเป็ นไฟทีม่ าช่วยส่องสว่างในความ มืด เราจึงต่างสนับสนุนเกือ้ กูลซึง่ กันและกัน จุดยืนของเรานัน้ ได้ประกาศต่อสาธารณะหลายต่อหลายครัง้ ว่า เราให้โอกาสแก่ คนรุน่ ใหม่ ทีส่ ามารถช่วยงานศาสนาได้, เราไม่เคยเรียกสอบประกาศนียบัตร หรอกว่า จบไหม หรือจบอะไร เพียงขอให้มคี วามรูค้ วามเข้าใจ ทีส่ ามารถถ่าย ความถูกต้องให้แก่ผคู้ นได้เท่านัน้ ดังนัน้ เราจึงเปิ ดโอกาสและเปิ ดเวทีให้กบั คนรุน่ ใหม่ได้ใช้ความสามารถของตนเองอย่างเต็มที่ เราเคยต่อสูก้ บั กลุ่มแนวคิดนอกรีตหลากหลายมาโดยลาพัง และ คราใดทีม่ คี นรุน่ ใหม่มาร่วมต่อสูด้ ว้ ย เราก็ดใี จทีม่ ผี รู้ ว่ มแนวทางมาช่วยกันปกป้ องศาสนา และเรา ก็แอบกล่าวชืน่ ชมพวกเขากับคนใกล้ชดิ อยูบ่ อ่ ยครัง้ เคยมีผใู้ หญ่หลายท่านเสนอว่า อาจารย์น่าจะบรรยายพิเศษเพียงคนเดียวแล้ว กลับไปพักผ่อน เราก็บอกว่า ถ้าเราขึน้ เวทีคนเดียวแล้วใครจะฟั งเด็กใหม่ๆ เล่า ดังนัน้ เราจึงต้องขึน้ เวทีกบั คนรุน่ ใหม่ทเ่ี ป็ นรุน่ ลูก ทัง้ นี้ เพือ่ แนะนาพวกเขากับ ประชาชน,เพือ่ ประครองพวกเขาจนกว่าพวกเขาจะเป็ นทีย่ อมรับของคนฟั ง ณ.เวลานี้ สังคมของเราจึงมีโต๊ะครูหลายรุน่ ทีช่ ว่ ยกันเผยแพร่แนวทางซุนนะห์ และช่วยกันปกป้ องศาสนา จากแนวคิดบิดเบือนทีท่ ะลักเข้าสูส่ งั คมมุสลิมเป็ น ระยะๆ มันเป็ นสัจธรรมอย่างหนึ่งว่า ผูท้ ย่ี นื หยัดนัน้ ต้องโดนต่อต้าน และพวกเราก็ เหมือนกัน ทีโ่ ดนดูถกู เหยียดหยาม จากกลุ่มตรงข้ามกับผูย้ ดึ มันในแนวทางซุ ่ น นะห์สารพัดวิธ ี แต่เราก็ทาใจรับได้


124

แต่มาวันนี้รนุ่ ลูก รุน่ หลานเราบางคนกลับพูดว่า “สอนมาสามสิบกว่าปี ยงั ใช้วธิ ผี ดิ ๆ” หรือบางคนก็พดู ว่า “ถ้ารุน่ ใหม่มนั นาเข้าของถูกรุน่ เก่าก็ตอ้ งปรับตัวไม่ใช่ดอ้ื ด้าน” หรือโต๊ะครูแก่ๆบางคนก็ถกู ด่าว่า “โง่” หรือ “มึน” ไม่มคี าใดทีจ่ ะเจ็บปวดกว่านี้อกี แล้ว !! คนทีอ่ ยูต่ รงข้ามกับซุนนะห์จะด่าเราซักกีร่ อ้ ยกีพ่ นั คา ก็ยงั ไม่เจ็บปวดเท่า ลูกหลานเรามันด่าเรากับครูบาอาจารย์ทย่ี นื หยัดประกาศซุนนะห์มาชัวชี ่ วติ ทีผ่ า่ นมานัน้ เราไม่เคยมองพวกเขาเป็ นอื่นเลย นอกจากเห็นเป็ นลูกหลานทีต่ งั ้ ใจ ดี แต่อาจจะเข้าใจผิด ดังนัน้ เราจึงตักเตือน, ทัง้ ทักท้วง ขอให้ทบทวน, เขียน บทความชีแ้ นะและแนะนามาโดยตลอด อีกทัง้ มีผปู้ ระสานให้เข้ามาคุยกันก็แล้ว โต๊ะครูแก่ๆ อย่างพวกเรา ใช่วา่ จะดือ้ ด้าน,ถือตัว, แตะไม่ได้, ตาหนิ ไม่ได้ เรา ยอมรับคาทักท้วง หากว่าคาทักท้วงนัน้ อยูบ่ นพืน้ ฐานของความเข้าใจทีถ่ ูกต้อง ต่อไปนี้ เราจะสอนคนทีต่ อ้ งการความรู้ ส่วนคนทีร่ แู้ ล้วและรูด้ กี ว่าเราก็ไม่ ต้องการอ่านและไม่ตอ้ งฟั ง


125

- บางคนว่าจะถือศีลอดตรงกับวันทีม่ กี ารวุกฟู จริงทีท่ งุ่ อะรอฟะห์แล้วว่างเว้นไป 1 วัน และไปออกอีดอีกหนึ่งวันถัดไป เพราะท่านนบีกเ็ คยออกอีดข้ามวัน เหมือนกันคือ ً‫ع ْن‬ ًِّ ‫ع َمي‬ ًِّ ‫َس ب‬ ً ِّ ‫ْن أَن‬ ًِّ ‫ل َما ِّلكً ب‬ ًَ ‫ قَا‬: ‫ع ُم ْو َم ِّتي َح َّدث َ ِّني‬ ًِّ ‫ص‬ ًْ ‫ِّم‬ ُ ‫ْن‬ ُ ًَ‫ار ِّمن‬ َ ‫ْر أَ ِّبي‬ َ ‫ن األ ْن‬ ًِّ ‫ص َحا‬ ‫ب‬ ً ‫صلَّى النَّ ِّب‬ ً ‫علَ ْي ًِّه‬ ًَ ‫علَ ْيًنَا أ ُ ْغ ِّم‬ ًُ َ‫ش ََّوالً ِّهال‬ ْ ‫ي ِّ أ‬ َ ‫سلَّ ًَم‬ َ ‫ل‬ َ ‫ قَالُوا َو‬: ‫ي‬ َ ُ‫هللا‬ ‫صبَ ْحنَا‬ ًْ ‫آخ ًِّر ِّم‬ ًِّ ‫ش ِّهدُوا النَ َه‬ ً ‫صلَّى النَّ ِّب‬ َ َ‫ي ِّ ِّع ْن ًَد ف‬ ِّ ‫ار‬ ْ ‫صيَاماً فَأ‬ ِّ ‘ ‫ن َر ْكبً فَ َجا ًَء‬ َ ً ‫علَ ْي ًِّه‬ ًَ َ‫س ال ِّهال‬ ً ِّ ‫األم‬ ًُ ‫س ْو‬ ًِّ ‫صلَّى‬ ً ُ ‫هللا َر‬ ْ ‫ل فَأ َم َر ُه ًْم ِّب‬ َ ‫سلَّ ًَم‬ َ ‫ل َرأَ ْوا أنَّ ُه ًْم َو‬ َ ُ‫هللا‬ ُ‫هللا‬ ‫علَ ْي ًِّه‬ ًْ ‫أن يُ ْف ِّط ُروا‬ ًْ ‫الغَ ًِّد ِّمنًَ ِّع ْي ِّد ِّه ًْم اِّلَى يَ ْخ ُر ُجوا َو‬ َ ‫سلَّ ًَم‬ َ ‫أن َو‬ “อบีอุมยั ร์ บินอนัส บินมาลิก รายงานว่า : บรรดาลุงป้ าของฉันทีเ่ ป็ นชาวอัน ศอรซึง่ เป็ นศอฮาบะห์ของท่านนบี ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม เล่าให้ฉนั ฟั งว่า : จันทร์เสีย้ วของเดือนเชาวาลได้ถกู บดบังแก่พวกเรา ดังนัน้ พวกเราจึงตื่นขึน้ มาใน สภาพของผูถ้ อื ศีลอด หลังจากนัน้ ก็มผี ขู้ พ่ี าหนะเข้ามาในตอนปลายวัน และพวก เขาได้ยนื ยันต่อท่านนบี ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัมว่า พวกเขาได้เห็นจันทร์ เสีย้ วแล้วตัง้ แต่เมือ่ วาน ดังนัน้ ท่านรอซูลุล้ ลอฮ์ จึงใช้ให้พวกเขาละศีลอด แล้วให้ ออกไปอีดกันในวันรุง่ ขึน้ ” สุนนั อิบนิมาญะห์ ฮะดีษเลขที่ 1643


126

การนาเอาเหตุการณ์จากฮะดีษข้างต้นนี้มาอ้าง เป็ นการอ้างผิดเนื่องจาก เหตุการณ์น้คี อื การดูจนั ทร์เสีย้ วเพือ่ ออกอีดฟิ ตรี, คือเมือ่ มีการดูจนั ทร์เสีย้ วทีน่ ครมะดีนะห์ ตอนเย็นของวันที่ 29 รอมฏอน, ปรากฏไม่มผี ใู้ ดเห็น, ดังนัน้ ท่านนบีและเหล่าศอฮาบะห์จงึ ถือศีลอดของวันที่ 30 รอมฏอน จนกระทังตกเย็ ่ น จนมีผเู้ ดินทางมาจากนอกเมืองแล้วยืนยันการเห็น จันทร์เสีย้ วของพวกเขาในเย็นวันที่ 29 ในกรณีน้ี นบีรบั ข่าวทีเ่ ชือ่ ถือได้ แต่เราไม่รบั ข่าวใดๆ ไม่วา่ จะเชือ่ ได้หรือไม่ได้ ก็ตาม เมือ่ ท่านนบีทราบเรือ่ งการเห็นเดือน ท่านก็สงเปลี ั ่ ย่ นวัน แต่เราก็ทราบและเราก็ ไม่ยอมเปลีย่ นวัน ท่านนบีใช้ให้ละศีลอด เพราะวันทีท่ า่ นอยูค่ อื วันอีด แต่เรา (บางคน) ก็จะถือศีล อดวันอีดโดยอ้างว่าเป็ นวันอะรอฟะห์ ดังนัน้ การอ้างฮะดีษข้างต้นนี้ เพือ่ ถือศีลอดวันอะรอฟะห์วนั หนึ่ง แล้วเว้นว่างวัน หนึ่ง และไปออกอีดอีกวันหนึ่ง จึงเป็ นการอ้างหลักฐานผิดเรือ่ งผิดประเด็น


127

#ยิง่ หลบเลีย่ งยิง่ เสียหาย คาว่า “อิงก๊าร” เป็ นคาทีม่ คี วามหมายกว้าง แปลว่า การปฏิเสธ, การไม่ ยอมรับ,การต่อต้าน,การคัดค้าน, การตาหนิ, การทักท้วง,การชีแ้ จง ไม่วา่ จะ กระทาด้วยกาลัง,การพูด หรือด้วยใจ ก็ตาม ฉะนัน้ การให้ความหมายคานี้จงึ ขึน้ อยูก่ บั บริบทของเรือ่ งทีถ่ กู กล่าวถึง

การอิงก๊ารในเรือ่ งของ ซิรกิ ,บิดอะห์, และมัวอ์ซยี ะห์ นัน้ ต้องทาตามกาลังสุด ความสามารถ ดังที ่ ท่ า่ นนบี ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า ْ ‫ بِّيَ ِّدًِّه فَ ْليُغ َِّي ْرًهُ ُمًْن َكراً ِّم ْن ُك ًْم َرآى‬، ‫إن‬ ً‫من‬ ًْ َ‫سا ِّن ًِّه يَ ْستَ ِّط ًْع لَ ًْم ف‬ ًْ َ‫لَ ًْم ف‬ َ ‫ فَ ِّب ِّل‬، ‫إن‬ ‫ فَ ِّبقَ ْل ِّب ًِّه يَ ْستَ ِّط ًْع‬، ‫ك‬ ًَ ‫ف َو َذ ِّل‬ ًُ َ‫ضع‬ ًِّ ‫اإل ْي َم‬ ْ ‫ان أ‬ “ผูใ้ ดในหมูพ่ วกเจ้าพบเห็นความไม่ดงี ามก็จงเปลีย่ นแปลงมันด้วยมือของเขา, หากเขาไม่สามารถก็จงด้วยคาพูด และหากไม่สามารถก็ดว้ ยใจ นันเป็ ่ นอีหม่านที่ อ่อนสุด” ศอเฮียะห์มุสลิม ฮะดีษเลขที่ 70


128

#ส่วนการอิงก๊ารในปั ญหาฟิ กฮ์นนั ้ จะใช้กาลังบังคับ ขูเ่ ข็ญ เหมือนการอิงก๊าร ในเรือ่ ง ชิรกิ , บิดอะห์ และมัวซียะห์ ไม่ได้ และการให้ความหมาย อิงก๊ารในปั ญหาฟิ กฮ์นนั ้ จะผูกขาดด้วยคาว่า “ชีแ้ จง” ก็ไม่ได้ เพราะมันจะสือ่ ความหมายทีถ่ กู ต้องได้ดา้ นเดียว คือ เมือ่ กล่าวว่า 1 – บรรดาอุลามาอ์ เขาอิงก๊ารกัน แปลว่า “เขาชึแ้ จงกัน” อย่างนี้รบั ฟั งได้ 2 – แต่ถา้ บอกว่า อุลามาอ์เขาไม่องิ ก๊ารกัน และต้องแปลว่า “เขาไม่ชแ้ี จงกัน” อย่างนี้ฟังไม่ขน้ึ และค้านกับข้อเท็จจริง

เพราะโดยข้อเท็จจริงนัน้ บรรดาศอฮาบะห์, บรรดาตาบีอนี , บรรดาอะอิมมะห์ จนถึงบรรดาอุลามาอ์รว่ มสมัยต่างก็ชแ้ี จง คัดค้าน,ท้วงติง, ปฏิเสธ, ไม่ยอมรับ, ไม่เห็นด้วยต่อทัศนะของกันและกัน ส่วนจะให้ความหมายใดด้วยคาใด ก็ตอ้ งดู บริบทของเรือ่ งนัน้ ลองดูการอิงก๊าร ของศอฮาบะห์ ดังตัวอย่างต่อไปนี้


129

َّ َ‫ش ًة‬ ً‫أن‬ ًْ ‫س ْع ًِّد ِّب َجنَازَ ةًِّ يَ ُم ًَّر أن أَ َم َر‬ ًِّ ‫ال َم ْس ِّج ًِّد فِّي َوقَاصً أ َ ِّبي ب‬ َ ِّ‫عائ‬ َ ‫ت‬ َ ‫ْن‬ ًَ ‫ص ِّل‬ ‫ى‬ ًُ َّ‫الن‬ َ ‫اس فَأ ْن َك ًَر‬ َ ُ ‫علَ ْي ًِّه فَت‬ “แท้จริงท่านหญิงอาอิชะห์ได้ใช้ให้เอาศพของ ซะอด์ อิบนิ อบี วักกอศ เข้าไปใน มัสยิดเพือ่ ทีเ่ ธอจะได้ละหมาดให้แก่เขา แต่บรรดาศอฮาบะห์ก็ อิงก๊าร (ปฏิเสธ) “ ศอเฮียะห์มุสลิม ฮะดีษเลขที่ 1615 อิบนุรชุ ดิน กล่าวว่า ‫على الصالة بينهم المشتهر أن على يدل عائشة على الصحابة إنكار‬ ‫المسجد خارج الجنازة‬ “การ อิงก๊าร (ไม่เห็นด้วย) ของบรรดาศอฮาบะห์ต่อท่านหญิงอาอิชะห์นนั ้ บ่งชี้ ว่า เป็ นทีร่ บั รูก้ นั แพร่หลายในหมูพ่ วกเขาว่า การละหมาดญะนาซะห์นนั ้ กระทา ภายนอกมัสยิด” เราจะไม่กล่าวถึงบทสรุปเรือ่ งการละหมาดญะนาซะห์วา่ ข้างนอกหรือข้างใน มัสยิดดีกว่ากัน แต่ทน่ี าเอาฮะดีษมาแสดงให้เห็นนี้เพือ่ ให้รวู้ า่ ในหมูศ่ อฮาบะห์


130

ก็มกี ารอิงก๊าร กัน และอีกหลายเรือ่ งทีเ่ ขาโต้แย้ง คัดค้าน, ชีแ้ จง ซึง่ กันและกัน ดังนัน้ การกล่าวว่า ศอฮาบะห์เขาไม่องิ ก๊ารซึง่ กันและกันตามนัยยะนี้ จึงไม่ ถูกต้อง แล้วทีอ่ ุลามาอ์เขาว่า ‫الجتهاد مسائل في إنكار ل‬

“ไม่มกี ารอิงการใน

ปั ญหาของการวินิจฉัย” นัน้ มันหมายถึงอะไรเล่า เราไปดูอุลามาอ์ เขาให้อธิบาย ให้ฟังดีกว่า

ชัยคุล้ อิสลาม อิบนุ ตัยมียะห์ กล่าวว่า َّ ‫ل‬ "ً‫إن‬ ًَ ْ‫ل َه ِّذًِّه ِّمث‬ ًِّ ‫سا ِّئ‬ ًَ ‫ بِّ ْاليَ ًِّد ت ُ ْن َك ًُر‬، ‫ْس‬ ًَ ‫ن ِّأل َ َح ًِّد َولَي‬ ًْ َ ‫يُ ْل ِّز ًَم أ‬ َ ‫ل ِّال ْج ِّت َها ِّديَّ ًِّة ْال َم‬ ًَ َّ‫ن ؛ ِّفي َها ِّب ِّاتبَا ِّع ًِّه الن‬ ‫اس‬ ًْ ‫ج ِّفي َها يَت َ َكلَّ ًُم َولَ ِّك‬ ًِّ ‫ْال ِّع ْل ِّميَّ ًِّة ًِّب ْال ُح َج‬ “ดังปั ่ ญหาทีเ่ กีย่ วกับการวินิจฉัย นี้ทจ่ี ะไม่ถกู อิงก๊ารด้วยกาลัง และไม่ใช่วา่ คน หนึ่งคนใดจะบังคับผูค้ นให้ปฏิบตั ติ ามเขา ทว่าเขาจะต้องพูดคุยกันในเรือ่ งนัน้ ด้วยหลักฐานทางวิชาการ” มัจมัวอ์อุล้ ฟะตาวา 80/30


131

นี่คอื ถ้อยคาทีย่ นื ยันว่า การอิงก๊ารในปั ญหาฟิ กฮ์นนั ้ จะกระทาด้วยกาลัง หรือ ด้วยการบังคับเหมือนการ อิง๊ ก๊าร ในเรือ่ งซิรกิ ,บิดอะห์ และมัวอ์ซยี ตั ไม่ได้ แต่ การอิงก๊ารด้วยการ ชีแ้ จง,ทักท้วง,คัดค้าน,แสดงการไม่เห็นด้วยนัน้ ยังคงมีอยู่ ทุกยุคทุกสมัย เหมือนดังการ อิงก๊ารของศอฮาบะห์ทแ่ี สดงตัวอย่างให้เห็นในฮะ ดีษข้างต้น และไม่อาจปฏิเสธได้ ดังนัน้ ควรอ่านคาฟั ตวาของอุลามาอ์ให้เข้าใจวัตถุประสงค์และเป้ าหมายทีเ่ ขาพูด ให้รอบคอบ ไม่เช่นนัน้ แล้ว จะเกิดความสับสนและสร้างความเสียหาย ดังที ่ บ่ าง คนพูดว่า “ศอฮาบะห์เขาไม่องิ ก๊ารกัน” และจะนาพาไปสูก่ ารปฏิเสธฮะดีษใน ทีส่ ุด ขออัลลอฮ์ทรงคุม้ ครองเราให้ออกห่างจากความเข้าใจผิดด้วยเถิด

. 25-9-2561 · #บทสรุปของปั ญหา หลังจากทีเ่ ขียนแนะนามาหลายตอนแล้ว คงจะพอเป็ นพืน้ ฐานให้ทา่ นได้ทราบ และเห็นว่า จะเขียนชีแ้ นะไปมากกว่านี้กค็ งไม่เป็ นประโยชน์ จึงขอสรุปการ พิจารณาปั ญหาให้ทราบในแต่ละประเด็นดังนี้


132

ปั ญหาการออกอีดใหญ่ทผ่ี า่ นมา มีทศั นะทีน่ าเสนอแก่บรรดาผูค้ นหลายทัศนะ ด้วยกัน แต่ทเ่ี ป็ นหลักใหญ่คอื 3 ทัศนะนะดังนี้ 1. ถือศีลอดวันอะรอฟะห์ตรงกับวันวุกฟู (วันจันทร์) และออกอีดในวันรุง่ ขึน้ (วันอังคาร) 2. ถือศีลอดวันอะรอฟะห์ทไ่ี ม่มกี ารวุกฟู (วันอังคาร) และออกอีด วันพุธ 3. ถือศีลอดวันอะรอฟะห์ตรงกับวันวุกฟู (วันจันทร์) และเว้นว่างวันอังคาร และ ไปออกอีดวันพุธ ทัศนะทีส่ ามนี้เป็ นทัศนะทีแ่ หวกแนว ตามทีไ่ ด้ชแ้ี จงกันมามากแล้ว จึงตัดออกไป คงเหลือแต่ทศั นะที่ 1 และ 2 เท่านัน้ ทีย่ งั คงเป็ นปั ญหาข้อขัดแย้งทีแ่ ท้จริง ณ.ทีน่ ้เี ราจะไม่กล่าวในรายละเอียดหรือหลักฐานของแต่ละฝ่ าย เพราะได้ชแ้ี จงใน บทความกันมาหลายตอนแล้ว จึงจะขอสรุปปั ญหาให้ทา่ นได้ทราบดังนี้ 1.ประเภทปั ญหา : เป็ นปั ญหา คิลาฟี ยะห์ อิจติฮาดียะห์ ไม่ใช่ปัญหาฮิจติฮาดี ยะห์ทม่ี กี ารคิลาฟ 2.ชนิดปั ญหา : เป็ นปั ญหาขัดแย้งทีไ่ ม่องิ ก๊าร คืออนุญาตให้วนิ ิจฉัย หรือที่ เรียกว่า คิลาฟมัวอ์ตะบัร, คิลาฟมักบู ๊ ล, คิลาฟก่อวีย,์ คิลาฟซาอิค, คิลาฟมะฮ์ มูด 3.ลักษณะปั ญหา เป็ นปั ญหาขัดแย้ง (อิคติลาฟตะดอฏ) ไม่ใช่ปัญหาเห็นต่าง (อิคติลาฟตะเนาวุอ)์ 4.ผูว้ นิ ิจฉัย : คืออุลามาอ์มุจตะฮิด ได้รบั สิทธิคุ์ ม้ ครองทัง้ สองฝ่ ายไม่วา่ ผลของ


133

การวินิจฉัยจะถูกหรือผิดก็ตาม ซึง่ หากผลของการวินิจฉัยถูกต้องเขาได้รางวัล สองเท่า และหากผลของการวินิจฉัยผิดพลาดเขาได้รางวัลเท่าเดียว ดังนัน้ จึงไม่ม ี การ อิงก๊ารต่อตัว ผูว้ นิ ิจฉัย 5.เรือ่ งทีว่ นิ ิจฉัย : เนื้อหาของปั ญหานี้มกี ารอิงก๊ารกันในระหว่างอุลามาอ์ คือมี การชีแ้ จง, โต้แย้ง, ทักท้วง,คัดค้านต่อหลักฐานและเหตุผลของกันและกัน ฉะนัน้ การกล่าวว่า ไม่มกี ารอิงก๊ารในกรณีน้จี งึ ไม่ถกู ต้องและไม่ตรงกับข้อเท็จจริง 6.ขันตอนการวิ ้ นิจฉัย : เนื่องจากปั ญหานี้เป็ นปั ญหาขัดแย้ง ไม่ใช่เป็ นปั ญหา เห็นต่าง ดังนัน้ จึงมีการตัรญิฮ์ คือ ให้น้าหนักแก่ทศั นะทัง้ สองฝ่ าย โดยฝ่ ายหนึ่ง รอญิฮฺ และฝ่ ายหนึ่ง มัรญูฮ์ และความถูกต้องมีเพียงหนึ่งเดียว 7.ผลการวินิจฉัย : ทัศนะทีร่ อญิฮค์ อื ถือศีลอดตรงกับวันวุกฟู ทีอ่ ะรอฟะห์ และ ออกอีดวันรุง่ ขึน้ 8.ผูต้ าม : จาแนกได้เป็ นสองประเภทคือ คนรู้ และคนไม่รู้ 8.1 ประเภททีห่ นึ่ง คนรู้ 8.1.1คนรูท้ ป่ี ฏิตติ ามความถูกต้อง : คนทีร่ วู้ า่ ทัศนะไหน รอญิฮ์ (ถูกต้องชัด แจนทีส่ ุด) ก็ยดึ และปฏิบตั ติ ามทัศนะนัน้ 8.1.2คนรูท้ ไ่ี ม่ปฏิบตั ติ ามความถูกต้องโดยมีเหตุจาเป็ น (ด่อรูเราะห์) คน ประเภทนี้ไม่มกี ารอิงก๊ารต่อเขา เช่น ป่ วย หรือไม่มสี ถานทีล่ ะหมาด หรือเหตุ อื่นๆ ตามความจาเป็ น 8.1.3คนรูท้ ไ่ี ม่ปฏิบตั ติ ามความถูกต้องโดยไม่มเี หตุจาเป็ น (ไม่มเี หตุดอ่ รู เราะห์) คนประเภทนี้อุลามาอ์องิ ก๊ารด้วยถ้อยคาทีร่ นุ แรง


134

8.2 ประเภททีส่ อง คนไม่รู้ : คือคนทีไ่ ม่รวู้ า่ ทัศนะไหน รอญิฮ์ หรือ มัรญูฮ์ และเขาเลือกปฏิตามทัศนะทัศนะทีต่ นเองคิดว่าดีทส่ี ุด ก็ไม่มกี ารอิงก๊ารต่อเขา . อนึ่ง การละทิง้ รอญิฮ์ แล้วปฏิบตั มื รั ญูฮ์ โดยอ้างเหตุวา่ เพือ่ จูงใจในการดะอ์วะห์ เป็ นการอ้างและปฏิบตั ไิ ม่ถกู ต้องตามกฎและหลักวิชาการในเรือ่ งมัสละฮะห์ และ กฏทีว่ า่ ด้วยเรือ่ งการพิจาณาผลเสียก่อนผลได้ ดังนัน้ ผลทีไ่ ด้รบั จึงเกิดความ เสียหายอย่างใหญ่หลวงตามทีป่ รากฏ ณ.เวลานี้ .

ทบทวนกัน หากผูช้ น้ี าสังคมยังแยกไม่ออกระหว่าง การเห็นต่าง กับ การขัดแย้ง แล้วก็เอา ทัง้ สองนี้ไปปนกัน แน่นอนว่า สังคมย่อมเกิดความสับสนอลหม่าน เพราะเอา ปั ญหาการเห็นต่างไปเป็ นกรณีตวั อย่างของการการขัดแย้ง และเอาปั ญหาการ แย้งไปเป็ นตัวอย่างของปั ญหาการเห็นต่าง, ไขว้กนั ไปหมด การเห็นต่างชนิด (ตะเนาวุอ)์ ผลของมันของ ฟาฏิล้ -มัฟฏลู (ดี กับ ดีกว่า) ส่วนการขัดแย้งชนิด (ตะดอฏ) นัน้ ผลของมันคือ รอญิฮ์ – มัรญัวฮ์ และ ความถูกต้องมีหนึ่งเดียว คนทีไ่ ม่มหี ลัก หรือคนทีไ่ ม่เข้าใจพืน้ ฐานหลัก เวลาอ่านตาราในศาสตร์ฟิกฮ์ ก็จะ เกิดความเข้าใจคาดเคลื่อนได้ เช่นเรือ่ งปั ญหาบางเรือ่ งทีอ่ ุลามาอ์เขาเสนอไว้เป็ น


135

กรณี “มัสละฮห์” ก็ไม่เข้าใจว่า จะใช้กบั ใคร, ใช้อย่างไร, มีกฎเกณฑ์และ เงือ่ นไขอะไรบ้าง หรือบางครัง้ ก็แยกไม่ออกว่า “อิงก๊าร” หรือ “ไม่องิ ก๊าร” ใน ประเด็นใด และกรณีใด #สิง่ ทีต่ อ้ งพึงระวังคือ หลักเกณฑ์ทอ่ี ุลามาอ์เขาวางไว้วา่ “ต้องพิจาณาผลเสีย ก่อนการพิจารณาผลได้” อย่าละเลยหลักเกณฑ์ขอ้ ข้อนี้ , ไม่เช่นนัน้ แล้วความ เสียหายจะตามมามากมาย, ต้องยา้ เตือนกันไว้ แต่เราก็พยายามแล้วทีจ่ ะให้ขอ้ มูลพืน้ ฐานและชีป้ ระเด็นให้พน่ี ้องได้เห็นในบาง เรือ่ งบางกรณีทส่ี ามารถทาได้ เรือ่ งอย่างนี้เอามาคุยให้โต๊ะๆกีๆ ฟั ง ก็คงจะมึนไปหลายตลบ แต่กต็ อ้ งคุยไว้บา้ ง เพราะยุคนี้ อุลามาอ์มุจตะฮิตเยอะเหลือเกิน ลองทบทวนกันดูตามคลิปบรรยายต่อไปนี้ครับ มัสยิดนูรลุ้ ญันนะห์ ถนนบึงขวาง มินบุร ี กรุงเทพ https://www.facebook.com/Iklas.Krabi/videos/549 696755483975/ อาพาร์ทเม้น ประดับญาติ พัทยากลาง จ.ชลบุร ี https://www.facebook.com/krittin.p/videos/49283 3377849176/ มัสยิดคอยริสซุนนะห์ ลาดบัวขาว แขวง/เขตสะพานสูง กรุงเทพ https://www.facebook.com/257309264750164/vid eos/847696912107799/


136

https://www.facebook.com/257309264750164/vid eos/2104697763192777/ . กุนูตซุบฮิเป็ นบิดอะห์ ก่อนหน้านี้เราได้กล่าวว่า “การชีแ้ จงปั ญหาข้อขัดแย้งและมุมมองการเห็นต่างกันของบรรดาอุลามาอ์ ใน บางเรือ่ งนัน้ บางครัง้ ก็ฮุก่มเรือ่ งทีถ่ กกันว่าเป็ นบิดอะห์ ก็ม ี (แต่เรากลับพูดว่า อย่าฮุก่มกัน) ยกตัวอย่างเช่นเรือ่ ง การอ่านกุนูตในละหมาดซุบฮิ ทีฝ่ ่ ายหนึ่งบอก ว่าเป็ นสิง่ ทีค่ วรทา และอีกฝ่ ายหนึ่งบอกว่า..เป็ นบิดอะห์ นี่ไม่ใช่เรือ่ งเล่นๆ แต่ เป็ นการเห็นต่างกันสุดขัว้ ระหว่างการกระทาทีเ่ ป็ นซุนนะห์ และการกระทาทีเ่ ป็ น บิดอะห์” คาพูดของเราข้างต้นนี้ทาให้บางคนตกใจ ถึงกับถามว่า มีหลักฐานหรือทีบ่ อกว่า การอ่านกุนูตซุบฮิเป็ นบิดอะห์ ? เพราะปั ญหาการเห็นต่างกันนัน้ อุลามาอ์เขา ให้เกียรติกนั โดยเฉพาะอย่างยิง่ ชาวสะลัฟ ทีพ่ วกเขาจะไม่เอาเป็ นเอาตายกัน ในเรือ่ งเช่นนี้ (เขาว่าอย่างนัน้ )


137

ขอชีแ้ จงว่า มีหลายเรือ่ งทีเ่ ขาเห็นต่างกันสุดขัว้ และเรือ่ งกุนูตในละหมาดซุบฮิก็ เป็ นเพียงเรือ่ งหนึ่งทีเ่ รายกตัวอย่างมาให้เห็นเท่านัน้ หากถามว่า ใครหรือทีบ่ อกว่า กุนูตละหมาดซุบฮิ เป็ นบิดอะห์ ? ตอบว่า ชนชาวสะลัฟ หากถามว่า ชนชาวละลัฟทีว่ า่ นี้เป็ นใคร ? ตอบว่า ศอฮาบะห์ และ ตาบีอนี ดังนี้ ً‫ع ْن‬ ًَ ‫ قَا‬: ًُ‫ت يَا أل َ ِّبي قُ ْلت‬ ًِّ َ‫ك أب‬ ًَ َّ‫ْت قَ ًْد إن‬ ًَ ‫صلَّي‬ ًَ ‫خ َْل‬ َ ‫ل األ ْش َج ِّعي َما ِّلكً أ ِّبي‬ َ ‫ف‬ ًِّ ‫س ْو‬ ‫ل‬ ًِّ ‫صلَّى‬ ً ‫علَ ْي ًِّه‬ ًِّ ‫ع‬ ًِّ ‫أَ ِّبي ب‬ ُ ‫عثْ َمانًَ َو‬ ُ ‫لى َو‬ ُ ‫هللا َر‬ َ ‫سلَّ ًَم‬ َ ‫ْن َو‬ َ ‫ع َم ًَر بَ ْكرً َوأ ِّبي َو‬ َ ُ‫هللا‬ َ ‫ن ن َْحواً بِّ ْال ُك ْوفَ ًِّة ُهنَا َها‬ ً‫طا ِّلب‬ ًْ ‫س ِّم‬ ًَ ‫ل يَ ْقنُت ُ ْونًَ أَكاَنُوا ِّسنِّيْنًَ خ َْم‬ ًَ ‫ قَا‬: ‫ي أى‬ ًَّ َ‫بُن‬ ً‫ُم ْح َدث‬ “อบีมาลิก อัลอัชญะอีย์ รายงานว่า ฉันได้ถามพ่อของฉันว่า โอ้พอ่ เอ๋ย ท่านเคย ละหมาดข้างหลังท่านรอซูลุล้ ลอฮ์ ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม, ท่านอบูบกั ร์, ท่านอุมรั ,ท่านอุสมาน และท่านอาลี ณ.ทีก่ ฟู ะห์น้ปี ระมาณห้าปี พวกเขาเคย


138

กุนูตกันบ้างไหม เขาตอบว่า โอ้ลกู เอ๋ย มันเป็ นของใหม่ในศาสนา” สุนนั อัตติรมี ซีย์ ฮะดีษเลขที่ 368 ลูกชายทีถ่ ามพ่อรายนี้เป็ นคนระดับตาบีอนี มีชอ่ื ว่า ซะอด์ บิน ตอริก บิน อัซยัม เกิดทีเ่ มืองกูฟะห์ มีสร้อยว่า อบูมาลิก ส่วนพ่อนัน้ เป็ นคนระดับศอฮาบะห์ มีชอ่ื ว่า ตอริก บิน อัซยัม บิน มัสอู๊ด อัลอัชญะอีย์ ศอฮาบะห์ทา่ นนี้ได้ให้คาตอบกับลูกชายทีเ่ ป็ นคนรุน่ ตาบีอนี ว่า การกุนูตในละ หมาดซุบฮินนั ้ เป็ นสิง่ ใหม่ในศาสนา, เป็ นอุตริกรรมทีไ่ ม่มรี ปู แบบจากท่านนบีและ จากบรรดาค่อลีฟะห์ทงั ้ สี่ และถ้อยคาทีว่ า่ การอ่านกุนูตซุบฮิเป็ นบิดอะห์น้กี ต็ กทอดเรือ่ ยมาจนถึงปั จจุบนั หากถามว่านักวิชาการร่วมทีส่ มัยทีฮ่ ุก่มว่า การอ่านกุนูตซุบฮิ เป็ นบิดอะห์คอื ใคร ตอบว่า เชค บิน บาซ ดังนี้


‫‪139‬‬

‫مشروع غير هو بل الدوام‪ ،‬وجه على مشروع غير الصبح في القنوت‬ ‫ولهذا بدعة‪ ،‬أنه النصوص وظاهر مكروها‪ ،‬يكون أن األحول أقل فعلى‬ ‫يا ‪:‬قال أباه سأل أنه أبيه عن األشجعي طارق بن سهل حديث في ثبت‬ ‫بكر أبي وخلف ‪-‬وسلم عليه هللا صلى‪ -‬هللا رسول خلف صليت إنك أبت‬ ‫محدث‪ ،‬بني أي ‪:‬فقال الفجر؟ في يقنتون أكانوا وعلي وعثمان وعمر‬ ‫هللا صلى‪ -‬النبي أصحاب من وطارق محدث‪ ،‬بني أي ‪:‬لبنه طارق قال‬ ‫ماجه وابن والنسائي والترمذي ‪-‬هللا رحمه‪ -‬أحمد رواه ‪-،‬وسلم عليه‬ ‫هذا الصبح‪ ،‬في القنوت مشروع غير أنه على يدل فهل جيد‪ ،‬بإسنادً‬ ‫وسلم عليه هللا صلى‪ -‬هللا رسول يفعله لم محدث فهو الدائم‪ ،‬القنوت‬‫أنه إلى العلم أهل من قول وذهب المذكورون‪ ،‬خلفاؤه ول أصحابه‪ ،‬ول‬ ‫‪........‬عن بحديث احتجوا والجماعة ‪-‬هللا رحمه‪ -‬كالشافعي يستحب‪،‬‬ ‫حتى الصبح في يقنت كان ‪-‬وسلم عليه هللا صلى‪ -‬النبي أن أنس عن‬ ‫بثابت ليس العلم‪ ،‬أهل عند ضعيف حديث لكنه الدنيا‪ ،‬فارق‬ ‫‪https://binbaz.org.sa/old/28650‬‬ ‫‪“การกุนูตในละหมาดซุบฮิอย่างสม่าเสมอนัน้ ไม่ถกู บัญญัตใิ นศาสนา อย่างน้อย‬‬ ‫‪ทีส่ ุดมันก็เป็ นมักรูฮ์ แต่ทป่ี รากฏตามตัวบทนัน้ มันเป็ นบิดอะห์ ดังทีม่ ฮี ะดีษยืนยัน‬‬ ‫‪จาก ” ซะฮล์ (ซะอด์ตามบันทึกต้นฉบับ) บิน ตอริก อัลอัชญะอีย์ จากพ่อของ‬‬ ‫‪เขาว่า เขาได้ถามพ่อของเขาว่า โอ้พอ่ เอ๋ย ท่านเคยละหมาดตามหลังท่าน‬‬ ‫‪รอซูลุล้ ลอฮ์ ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม,ท่านอบูบกั ร์,ท่านอุมรั ,ท่านอุสมาน‬‬ ‫‪และท่านอาลี พวกเขาเคยกุนูตในละหมาดซุบฮิหรือไม่ ? เขาตอบว่า โอ้ลกู เอ๋ย‬‬ ‫”‪มันเป็ นของใหม่ในศาสนา‬‬


140

ตอริกได้ตอบกับลูกชายของเขาว่า โอ้ลกู เอ๋ย มันเป็ นของสิง่ ใหม่ในศาสนา และ ตอริกนัน้ เป็ นศอฮาบะห์ของท่านนบี ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม ฮะดีษนี้บนั ทึก โดย อะหมัด ร่อฮิมะฮุล้ ลอฮ์, อัตติรมีซยี ,์ นะซาอีย,์ และอิบนิมาญะห์ ด้วยสาย รายงานทีด่ เี ยีย่ ม มันบ่งชีว้ า่ การกุนูตในละหมาดซุบฮิไม่เคยถูกบัญญัตใิ นศาสนา คือการกุนูตสม่าเสมอ มันเป็ นสิง่ ใหม่ในศาสนา ทีท่ า่ นรอซูลุล้ ลอฮ์ ศ็อลล็อลลอฮุอ ลัยฮิวะซัลลัม ไม่เคยปฏิบตั ิ และแม้แต่บรรดาศอฮาบะห์ของท่าน และบรรดาค่อ ลีฟะห์ทถ่ี กู กล่าวแล้ว แต่กม็ นี กั วิชาการบางคนมีทศั นะว่า สมควรกระทา เช่น ซาฟี อี ร่อฮิมะฮุล้ ลอฮ์ และกลุ่มนักวิชาการโดยอ้างหลักฐานด้วยฮะดีษจากคารายงานของท่านอะนัสว่า ท่านนบี ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม ว่าท่านได้ทาการกุนูตในละหมาดซุบฮิ จนกระทังเสี ่ ยชีวติ แต่ทว่าฮะดีษนี้ฏออีฟ ณ.ทีบ่ รรดานักวิชาการ คือมันไม่ ถูกต้อง” นอกจากนี้แล้ว เชค บินบาซ ยังกล่าวต่ออีกว่า ‫ غير فهذا غيرها في أو الصبح في الدائم القنوت أما‬،‫هو بل مشروع‬ ‫الصحيحة األحاديث خالف ألنه مكروها؛ يكون أن األحوال وأقل بدعة‬ “ส่วนการกุนูตสม่าเสมอในละหมาดซุบฮิหรืออื่นๆจากนี้ มันไม่ได้ถกู บัญญัติ ทว่า มันเป็ นบิดบอะห์ (อุตริในศาสนา) และอย่างน้อยทีส่ ุดมันคือ มักรูฮ์ เนื่องจากมัน ค้านกับฮะดีษศอแฮะห์”


141

‫ مستحب القنوت أن‬،‫ غير في وأما للنوازل‬،‫في الدائم كالقنوت النوازل‬ ،‫بدعة أو مكروه فهذا الصبح‬ “แท้จริงกุนูตทีส่ มควรกระทาคือการกุนูตยามเกิดเหตุเพศภัย ส่วนที่ นอกเหนือจากนี้เช่นกุนูตสม่าเสมอในละหมาดซุบฮินนั ้ มันเป็ นมักรูฮห์ รือ บิดอะห์” สิง่ ทีเ่ ราแสดงให้เห็นนี้ เป็ นข้อยืนยันว่า การฮุก่มว่า กุนูตในละหมาดซุบฮิเป็ น บิดอะห์นนั ้ ไม่ใช่เป็ นคาทีเรามาพูดกันเอง หากแต่เป็ นคาพูดของศอฮาบะห์ และ คนยุคถัดมาจนกระทังถึ ่ งอุลามาอ์ยุคปั จจุบนั #ฉะนัน้ การทีจ่ ะตาหนิตติ งิ ในเรือ่ งใดก็ขอให้รอบคอบสักหน่อย เพราะเราไม่ เดือดร้อนกับคาพูดของใคร แต่มนั ไปโดนศออาบะห์ และอุลามาอ์ในยุคสะลัฟและ บรรดาอุลามาอ์รว่ มสมัยคนอื่นๆ ถามว่า มีหลักฐานทีถ่ กู ต้องสักบทไหม ทีย่ นื ยันว่า มีศอฮาบะห์บางท่านเข้าใจว่า กุนูตเฉพาะละหมาดซุบฮิเป็ นซุนนะห์ ?


142

ฉะนัน้ หากยึดถือตามศอฮาบะห์และบรรดาปวงปราชญ์ทเ่ี ข้าใจว่า กุนูตในละ หมาดซุบฮิเป็ นบิดอะห์ แล้วจะทาอย่างไรกับข้อเสนอแนะของปราชญ์บางท่าน เช่น อิบนุ ตัยมียะห์ ทีอ่ นุโลม ให้ละหมาดตามอิหม่ามทีท่ ากุนูตซุบฮิได้ จะเข้าใจว่า อิบนุ ตยั มียะห์ อนุโลม ให้ทาบิดอะห์ในละหมาดได้กระนัน้ หรือ ? ขออัลลอฮ์ทรงเมตตาท่านอิบนุ ตัยมียะห์, เราจะไม่กล่าวร้ายต่อท่านเช่นนัน้ นอกจากจะเข้าใจว่า มันไม่ใช่บดิ อะห์ แต่ผทู้ ย่ี ดึ ถือว่า กุนูตในละหมาดซุบฮิเป็ นบิดอะห์ แล้วจะน้อมรับข้อเสนอแนะ ของอิบนุตยั มียะห์วา่ อนุโลมให้ละหมาดตามหลังอิหม่ามทีอ่ ่านกุนูตได้นนั ้ จะทา อย่างไร จะยอมทาบิดอะห์กระนัน้ หรือ หากเราไม่ผกู ขาดอยูก่ บั ข้อเสนอแนะของอิบนุ ตัยมียะห์ ก็ลองดูหน่อยซิวา่ ยัง มีคาเสนอแนะของอุลามาอ์ทา่ นอื่นในกรณีน้ี ทีจ่ ะทาให้เราปลอดภัยจากบิดอะห์ ไหม ? คณะกรรมการถาวรเพือ่ การค้นคว้าทางวิชาการและตอบปั ญหา แห่งราชอณา จักรซาอุดอิ าราเบีย โดยมีเชค อบูบกั ร์ เซด, เชคซอและห์ อัลเฟาซาน และเชค อับดุลอะซีซ บิน อับดุลลอฮ์ อาลิเชค เป็ นประธาน ได้ตอบคาถามในกรณีน้วี า่


143

‫؛ النوازل وقت في إل يشرع ل الفجر صالة في القنوت‬ ‫يثبت ولم الحال تلك في إل يفعله يكن لم وسلم عليه هللا صلى النبي ألن‬ ‫ل لكن عليه يداوم من خلف الصالة وتصح عليه يداوم كان أنه عنه‬ ‫ يتابعه‬، ‫ يكرر وإنما‬: " ‫فيه مباركا طيبا كثيرا حمدا الحمد ولك ربنا‬ ‫" بعد شيء من شئت ما وملء األرض وملء السماء ملء‬ http://alifta.gov.sa/Ar/IftaContents/Pages/Perman entCommitteeSubjects.aspx?languagename=ar& View=Page&HajjEntryID=0&HajjEntryName=&Ra madanEntryID=0&RamadanEntryName=&NodeI D=788&PageID=12119&SectionID=3&SubjectPa geTitlesID=34018&MarkIndex=2&0

“การกุนูตในละหมาดซุบฮินัน้ ไม่ถกู บัญญัติเป็ นศาสนา นอกจากในยาม ประสบเหตุร้าย เนื อ่ งจากท่านนบี ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม ไม่เคยปฏิบตั ิ นอกจากในยามทีเ่ กิดสภาพดังกล่าว และไม่มคี ารายรายงานทีแ่ น่ชดั สืบไปถึงท่าน ว่า ท่านได้ทามันสม่าเสมอ, และการละหมาดตามหลังอิหม่ามทีอ่ ่านกุนูตเป็ น ประจานัน้ ใช้ได้ โดยทีเ่ ขาไม่ตอ้ งกุนูตตาม แต่ให้อ่านข้อความต่อไปนี้ซ้าไปซ้ามา คือ


144

‫األرض وملء السماء ملء فيه مباركا طيبا كثيرا حمدا الحمد ولك ربنا‬ ‫بعد شيء من شئت ما وملء‬ นี่คอื อีกคาตอบหนึ่ง จากสภาอุลามาอ์ ทีจ่ ะทาให้เราปลอดภัยจากการกระทาที่ เป็ นบิดอะห์ #ก็เมือ่ เรากับกับท่านเชือ่ เหมือนอย่างทีซ่ อฮาบะห์เชือ่ ว่าการกุนูตในละหมาด ซุบฮิเป็ นบิดอะห์ แล้วทาไมท่านถึงน้อมรับคาแนะนาของอุลามาอ์ทท่ี าให้ทา่ นต้องสมยอมทา บิดอะห์เล่า ทาไม่ไม่เลือกคาแนะนาของอุลามาอ์ทท่ี าให้ทา่ นปลอดภัยจากบิดอะห์ ไหนว่า..ไม่ตะอัศซุบ

ถาม ดุอาอฺ กนู ูตในละหมาดซุบฮฺ ทาไมถึงไม่มี


‫‪145‬‬

‫‪ตอบ‬‬ ‫ع ْنًأ َ ِّبيً َما ِّلك ْ‬ ‫سو ِّلً‬ ‫صلَّي َ‬ ‫ًر ُ‬ ‫َ‬ ‫ًاأل َ ْش َج ِّعيًِّقَا َلًقُ ْلتُ ًِّأل َ ِّبيًيَاًأَبَ ِّةً ِّإنَّ َكًقَ ْدً َ‬ ‫ف َ‬ ‫ْتًخ َْل َ‬ ‫ع ِّليًِّب ِّْنًأًَِّبيً َ‬ ‫َّ ِّ‬ ‫طا ِّلبً‬ ‫ًو ُ‬ ‫ًو ُ‬ ‫صلَّ َّ‬ ‫ًو َ‬ ‫ىًّللاًُ َ‬ ‫ًو َ‬ ‫ّللاً َ‬ ‫عثْ َمانَ َ‬ ‫ع َم َر َ‬ ‫ًوأ َ ِّبيًبَ ْكر َ‬ ‫سلَّ َم َ‬ ‫علَ ْي ِّه َ‬ ‫يً ُم ْح َدثً‬ ‫َهاً ُهنَاً ِّب ْال ُكوفَ ِّةًن َْحو ِّ‬ ‫اًم ْنًخ َْم ِّسً ِّسنِّينَ ًأ َ َكانُواًيَ ْقنُتُونَ ًقَا َلًأَ ْ‬ ‫يًبُنَ َّ‬ ‫علَ ْي ِّهً ِّع ْن َدًأَ ْكثَ ِّرًأَ ْه ِّلً‬ ‫ًو ْالعَ َم ُلً َ‬ ‫سىً َه َذاً َحدِّيثً َح َ‬ ‫قَا َلًأَبُوً ِّعي َ‬ ‫سنً َ‬ ‫ص ِّحيح َ‬ ‫َتًفِّ ْ‬ ‫ًو ِّإ ْنًلَ ْمًيَ ْقنُ ْ‬ ‫س ْفيَ ُ‬ ‫سنً‬ ‫يً ِّإ ْنًقَن ًَ‬ ‫ًوقَا َلً ُ‬ ‫تًفَ َح َ‬ ‫يًالفَ ْج ِّرًفَ َح َ‬ ‫انًالث َّ ْو ِّر ُّ‬ ‫سن َ‬ ‫ْال ِّع ْل ِّم َ‬ ‫وتًفِّ ْ‬ ‫ار ِّك ْ‬ ‫ًولَ ْمًيَ َرًاب ُْن ْ‬ ‫َو ْ‬ ‫ارًأ َ ْن َ‬ ‫يًالفَ ْج ًِّر‬ ‫ًالقُنُ َ‬ ‫ًلًيَ ْقنُ َ‬ ‫ًال ُمبَ َ‬ ‫اخت َ َ‬ ‫ت َ‬ ‫‪รายงานจากอบีมาลิก อัลอัชญะอีย ์ กล่าวว่า “ฉันได้กล่าวแก่บิดาของฉันว่า “โอ้บิดา‬‬ ‫‪ของฉัน ความจริ งท่านเคยละหมาดตามหลังรซูลุลลอฮ ศอ็ลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม‬‬ ‫ู‪,อบีบกั ร์ ,อุมรั ,อุษมานและอาลี ทีเมืองกุฟะฮ ประมาณ 5 ปี พวกเขาอ่านดุอากุน‬‬ ‫่‪ตไหม? เขา(บิดาของฉัน)กล่าวว่า “ โอ้ลูกเอ๋ ย มันเป็ นสิ่ งที่ถูกประดิษฐ์ข้ ึนใหม‬‬ ‫)‪(บิดอะฮ‬‬

‫่‪ยากหรือทีจ่ ะปฏิบตั ติ ามคาสังของท‬‬ ‫่‬ ‫ี‪านนบ‬‬


146

- ต้องเรียนรูด้ าราศาสตร์ก่อนไหม - ต้องรูเ้ รือ่ งมัตละอ์ให้เข้าใจก่อนหรือเปล่า - ต้องรูข้ อบเขตของการกาหนดประเทศก่อนหรือไม่ - เชคคนนัน้ ว่าอย่างนี้ อุลามาอ์คนนี้วา่ อย่างนัน้ ...ฉันเลยไม่รวู้ า่ จะเอาอย่างไร ท่านนบีกล่าวว่า “ผูท้ ม่ี ชี วี ติ หลังจากฉันจะได้เห็นการขัดแย้งเกิดขึน้ อย่างมากมาย ดังนัน้ จึงจาเป็ น ต่อพวกเจ้าจะต้องยึดซุนนะห์ของฉัน และซุนนะห์ของบรรดาค่อลีฟะห์ท่ี ปราดเปรือ่ ง ทีอ่ ยูใ่ นทางนา พวกเจ้าจงยึดให้มนประหนึ ั่ ่งว่ากัดด้วยฟั น กราม” สุนนั อบีดาวูด๊ ฮะดีษเลขที่ 3991 ไม่ยากหรอก.. แค่รวู้ า่ นบีสงเช่ ั ่ นนี้แล้วบรรดาค่อลีฟะห์และหรือบรรดาศอ ฮาบะห์เขาปฏิบตั กิ นั เช่นไร ก็ถอื ตามนัน้ แม้คนทีอ่ ่านไม่ออกเขียนไม่เป็ นก็ถอื ปฏิบตั ติ ามคาสอนของศาสนาได้ ท่ามกลางความขัดแย้งนี้ การกลับไปยึดคาสังของท่ ่ านนบี บนความเข้าใจของ เหล่าศอฮาบะห์นนั ้ อย่างนี้แหละ..คือแนวทางของสะลัฟ อัสศอและห์ เราศึกษาแนวทางของสะลัฟ อัสศอและห์ ก็เพือ่ ให้ยดึ ถือและปฏิบตั ใิ กล้ชดิ กับคา สอนของศาสนามิใช่หรือ ไม่ใช่เพือ่ ให้ถอยห่าง นอกจากจะมีเหตุของความจาเป็ น แต่บางคนยังหาทางออกของปั ญหาไม่ได้ และยังจมอยูก่ บั วังวนของความขัดแย้ง บางคนกล่าวว่า “เรือ่ งนี้ เปิ ดกว้างให้เห็นต่างได้” ใช่..เราไม่ปฏิเสธ และเราก็ไม่ได้กล่าวว่า เห็นต่างไม่ได้ เพราะการเห็นต่างนี้ม ี มานานนับพันปี แต่เราจะไม่ชแ้ี จงกันหรือว่า ผลของการเห็นต่างคืออะไร ?


147

1 – ญุมฮุรรุล้ อุลามาอ์ (นักวิชาการส่วนใหญ่) ให้ถอื ปฏิบตั ติ ามกันได้ทวโลก ั่ 2 – บะอ์ดลุ้ อุลามาอ์ (นักวิชาการบางส่วน) ก็ไม่เป็ นเอกภาพและมีทศั นะที่ แตกต่างกันออกไปอีกหลายขัว้ เช่น 2.1. ให้ถอื ตามมัตละอ์ 2.2 ให้ถอื เอาบะลัด (คนรุน่ หลังให้ความหมายว่า ประเทศใครประเทศมัน) 2.3 ให้ถอื ปฏิบตั ติ ามกันเฉพาะพืน้ ที่ ทีอ่ ยูใ่ กล้เคียงกัน 2.4 ให้ยดึ เอาระยะทางละหมาดก่อศ็อรเป็ นหลัก อย่างนี้เป็ นต้น เมือ่ ผลของการเห็นต่าง มันหลากหลายเช่นนี้, สะลัฟสอนว่าให้ยดึ เอาทัศนะใดก็ ได้หรือ ? โดยไม่ตอ้ งพิจารณาตัวบทหลักฐานทีแ่ ต่ละฝ่ ายนาเสนอว่าเป็ นอย่างไร ? แต่หากต้องพิจารณาตัวบทหลักฐานการนาเสนอของแต่ละฝ่ ายแล้ว ท่านก็ทราบดี มิใช่หรือว่า ทัศนะใดที่ รอญิฮ์ – มัรญัวฮ์ คือมีน้าหนักมากกว่าหรือด้อยกว่า ถ้าเช่นนัน้ แล้ว จะเลือกปฏิบตั ติ ามทัศนะทีด่ อ้ ยกว่าโดยไม่มเี หตุของความจาเป็ น ก็ได้หรือ, เป็ นแนวทางทีส่ ะลัฟแนะนาไว้หรือ ? แต่หากกล่าวว่า เลือกทัศนะทีด่ อ้ ยกว่า เพราะมีเหตุของความจาเป็ น ถามว่า อะไรคือเหตุของความจาเป็ น, และความจาเป็ นนี้เกิดขึน้ เฉพาะบุคคล หรือหมูค่ ณะ หากเป็ นเหตุของความจาเป็ นเฉพาะบุคคล แล้วจะมีผลบังคับกับหมูค่ ณะด้วยหรือ #เพราะฉะนัน้ เราไม่ได้พดู กันเพียงว่า เห็นต่างได้หรือไม่ได้ แต่เราพิจารณาถึง ผลของการเห็นต่าง และวิธกี ารยึดถือปฏิบตั จิ ากผลของการเห็นต่างนัน้ ถามว่า ในกรณีน้สี ะลัฟเขาแนะนากันไว้อย่างไร


148

นักวิชาการชาวสะลัฟเขาแนะนาให้ถอยจาก รอญิฮ์ ไปยึดเอา มัจรัวฮ์ โดยไม่ม ี เหตุของความจาเป็ นก็ได้หรือ แต่หากกล่าวว่า ยอมยึดทัศนะทีด่ อ้ ยกว่าโดยมีเหตุวา่ เพือ่ โน้มน้าวจิตใจ เราก็ เห็นว่า ท่านโน้มไปหาเขาด้วยต้นทุนทีส่ งู มาก แต่เขาจะโน้มมาท่านหรือเปล่าไม่ ประจักษ์ หรือจะยึดเอามัศละฮะฮ์ (การพิจารณาผลเลิศ-ผลได้ผลเสีย) เป็ นหลัก ก็ขอให้ ฉุกคิดและไตร่ตรองให้รอบคอบก่อน ไม่เช่นนัน้ แล้วจะกลายเป็ น “ ผลได้กไ็ ม่ม ี ผลดีกไ็ ม่ปรากฏ” ขอให้ทบทวนเถิด ยังมีเวลาทีจ่ ะแก้ไข และแก้เสียแต่ตอนนี้ ยังดีกว่าการสร้างเงือ่ นไขผูกมัดตัวเอง และหมูค่ ณะไปอีกยาวนาน คาเตือนของเราอาจจะไม่มคี า่ แต่เราก็ถอื ว่า..ได้เตือนกันแล้ว เข้าสูว่ นั อะรอฟะห์แล้ว ขอดุอาอ์ต่ออัลลอฮ์ให้ทุกท่านมีจติ ใจทีเ่ ข้มแข็งในการ ยึดถือ,ปฏิบตั ศิ าสนา และขอพระองค์ทรงตอบรับอะมัลของพวกเราทุกคนด้วย เถิด ฟารีด เฟ็ นดี้ 20 สิงหาคม 61

วันอะรอฟะห์


149

วันนี้ (จันทร์ท่ี 20 สิงหาคม 61) เป็ นวันทีพ่ น่ี ้องทีป่ ระกอบพิธฮี จั ญ์ได้ทา การวุกฟู กันทีท่ งุ่ อะรอฟะห์ เป็ นข้อเท็จจริงทีย่ นื ยันด้วยตัวบทและการปฏิบตั จิ ริง ตัง้ แต่ในยุคของท่านนบี ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัมเรือ่ ยมาจนถึงปั จจุบนั วันนี้เป็ นวันอะรอฟะห์ คือความจริงทีค่ นทุกหมูเ่ หล่าต่างก็รบั รู,้ ไม่มผี ใู้ ดปฏิเสธ เพียงแต่บางคนอาจจะยังไม่สบายใจทีจ่ ะปฏิบตั ติ ามความจริงทีป่ รากฏ จึง แสวงหาคาฟั ตวาของกิบารท่านนัน้ หรือเชคท่านนี้เพือ่ ให้วนั อื่นเป็ นวันอะรอฟะห์ ด้วย แต่กไ็ ม่มกี ารวุกฟู ทับซ้อนในวันใดๆและทีใ่ ดๆ อีกบนโลกใบนี้ นอกจากปี ถัดไป อิบนุอบั บาสกล่าวว่า ً‫صلَّى‬ ًَِّّ ‫سو ُل‬ َّ ‫ًم ْنًال‬ ِّ ‫س َم‬ ِّ ‫ارة‬ ِّ ‫علَ ْي ُك ْم‬ ُ ‫ًر‬ َ ً‫يُو ِّش ُكًأ َ ْنًت َ ْن ِّز َل‬ َ ً‫ًّللا‬ َ ‫ًقَا َل‬:ً‫ًأَقُو ُل‬،''‫اء‬ َ ‫ًح َج‬ ‫ع َم ُرً؟‬ ُ ‫ًو‬ َّ َ ًُ‫ّللا‬ َ ‫ًو‬ َ ‫ًقَا َلًأَبُوًبَ ْكر‬:ً َ‫ًوتَقُولُون‬،ً َ ‫سلَّ َم‬ َ ‫علَ ْي ِّه‬ “เกือบแล้ว ทีห่ นิ จะหล่นลงมาจากฟากฟ้ า, ฉันบอกว่าท่านรอซูลุล้ ลอฮ์ ศ็อลล็อลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัมกล่าวว่า แต่พวกเจ้ายังจะพูดว่าอบูบกั ร์และอุมรั กล่าว ว่าอีกหรือ ? ฮะดีษนี้มหี ลายสานวนทีถ่ กู รายงานมา ทัง้ สายรายงานทีฏ่ ออีฟ,ฮะซัน และศอ เฮียะห์ ซึง่ ต่างเป็ นชะวาฮิด คือสนับสนุนซึง่ กันและกัน คนทาฮัจญ์เขาวุกูฟกันวันนี้ และเราก็ถอื ศีลอดกันวันนี้ เพียงพอแก่เราแล้วทีจ่ ะปฏิบตั ติ ามคาสอนของท่านนบี โดยไม่เอาเหตุผลและ ทัศนะของผูใ้ ดมาโต้แย้งหรือหักล้าง


150

.คาร้องขอ มีพน่ี ้องส่งคลิปคาบรรยายเกีย่ วกับเรือ่ ง การเห็นต่าง มาให้หลายวันแล้ว แต่ไม่ม ี โอกาสฟั ง แต่เมือ่ ถูกคะยัน้ คะยอหนักเข้าก็เลยต้องฟั งแบบผ่านๆ แต่กส็ ะดุดหู ในประเด็นการนาเสนอเนื้อหาเชิงลึกทีเ่ กีย่ วกับศาสตร์ฟิกฮ์ เมือ่ ฟั งจบแล้ว ทาให้เข้าใจได้วา่ ความวุน่ วายเรือ่ งเห็นต่าง และ ปั ญหาการเห็น ต่าง มันมีทม่ี าจากความเข้าใจไม่ถกู ต้องของผูถ้ ่ายทอดความรู้ โดยเฉพาะใน ศาสตร์ “อุศลู ลุ้ ฟิ กฮ์” ซึง่ ทัง้ เนื้อหาและตัวอย่างทีน่ าเสนอมันกลับตาลาปั ดไป หมด ก่อนหน้านี้เราก็เคยเขียนบทความแนะนา ทักท้วง ผูท้ น่ี าเสนอบทความทีข่ าด ความเข้าใจในเรือ่ งอย่างนี้มาแล้ว, และยังสงสัยว่าทาไมผูร้ ใู้ นกลุ่มจึงไม่ชแ้ี นะและ ตักเตือน แต่เมือ่ ฟั งคลิปคาบรรยายในครัง้ นี้แล้ว ทาให้ทราบว่า บุคลากรในกลุ่ม ก็มคี วามเข้าใจไปในทางเดียวกัน ซึง่ เป็ นความเข้าใจทีผ่ ดิ พลาดคือ การจาแนก ประเภทปั ญหา, ชนิดปั ญหา และศัพท์ภาษาฟิ กฮ์บางคา ตัวอย่างเช่น


151

1 – การจาแนกประเภทปั ญหา ระหว่าง ปั ญหาอิจติฮาดียะห์ทม่ี กี ารคิลาฟ และปั ญหาคิลาฟี ยะห์ ทีม่ กี ารอิจติฮาด หรือทีเ่ รียกว่า “มะซาอิล้ คิลาฟี ยะห์ อิจติ ฮาดียะห์” 2 – การจาแนกระหว่างปั ญหาการเห็นต่าง และปั ญหาการขัดแย้ง ซึง่ ทัง้ สองนี้ ไม่เหมือนกัน (ตะเนาวุอ์ – ตะดอฏ) และผลของทัง้ สองปั ญหานี้ต่างกัน 3 – คาว่า “คิลาฟก่อวีย”์ ไม่ได้หมายถึงการขัดแย้งทีห่ ลักฐานของทัง้ สองฝ่ าย มีน้าหนักเท่ากัน เพราะกรณีน้อี ยูช่ นิด “ตะเนาวุอ”์ ส่วน “คิลาฟก่อวีย”์ นัน้ อยู่ ในชนิด “คิลาฟตะดอฏ”

เมือ่ ความเข้าใจในการจัดเรียงประเภทปั ญหา,ชนิด ปั ญหา และความเข้าใจต่อ คาศัพท์ทใ่ี ช้เฉพาะด้าน เกิดความคาดเคลื่อน จึงทาให้เกิดการผิดพลาดในการชี้ ประเด็น และการนาเสนอตัวอย่างเช่น


152

ปั ญหาชนิด ตะเนาวุอ์ ถูกนาไปเป็ นตัวอย่าง ปั ญหาชนิด ตะดอฎ เช่นเรือ่ ง การ พิจารณาจานวนน้ ามากหรือน้อยกว่าสองกุลละห์ หรือตัวอย่างเช่นเรือ่ งละหมาด ตะรอเวียะห์เป็ นต้น หรือตัวอย่างฮะดีษทีท่ า่ นนบีกล่าวว่า “ละหมาดยามค่าคืนนัน้ ทีละสอง” ฮะดีษ บทนี้บอกจานวน หรือวิธกี ารละหมาด ขอให้ตรวจสอบความเข้าใจจากบรรดา นักวิชาการฮะดีษให้แน่ชดั เสียก่อน เราเข้าใจดีวา่ คาบรรยายของท่านบางช่วงบางตอนต้องการจะตอบโต้เรา ซึง่ เรา ก็มองเป็ นเรือ่ งปกติ หากเป็ นการชีแ้ จงข้อมูลทางวิชาการทีถ่ กู ต้อง แต่หากเอา ข้อมูลเท็จหรือเอาความเข้าใจไม่ถกู ต้องมาตอบโต้ ก็น่าเสียดายว่า ท่านกาลังจะ ทาให้ของถูกกลายเป็ นของผิด เช่น การกล่าวว่า “การบรรดาศอฮาบะห์ ได้องิ ก๊ารต่อท่านหญิงอาอิชะห์ ทีข่ อให้นา ศพของ ซะอด์ อิบนิ อบี วักกอช เช้ามมาในมัสยิด เพือ่ ทีท่ า่ นหญิงจะได้ทาการ ละหมาดให้ แล้วบรรดาศอฮาบะห์กอ็ งิ ก๊าร คือปฏิเสธไม่ยอมทาตามทีร่ อ้ งขอ” ท่านกล่าวว่า การอิงก๊ารนี้ เป็ น อิงก๊ารฏออีฟ แต่กไ็ ม่มรี ายละเอียดของคาชีแ้ จง ในเรือ่ งนี้แต่อย่างใด


153

แต่ขอ้ เท็จจริงแล้ว เรือ่ งนี้ เป็ น “อิคติลาฟตะเนาวุอ”์ ผลของมันคือ การ ละหมาดญะนาซะห์ในมัสยิดหรือนอกมัสยิดใช้ได้ทงั ้ คู่ แต่อุลามาอ์เขาถกกันใน กรณีทว่ี า่ อันไหนดีกว่า ( ฟาดิล้ - มัฟดูล้ ) ส่วนการอิงก๊ารของบรรดาศอฮาบะห์ต่อท่านหญิงอาอิชะห์นนั ้ บรรดาอุลามาอ์ให้ คาตอบว่า เนื่องจากบรรดาศอฮาบะห์ไม่รวู้ า่ มีหลักฐานอนุญาตในเวลานัน้ เมือ่ มีความเข้าใจทีผ่ ดิ พลาด และถ่ายทอดความเข้าใจทีผ่ ดิ พลาดนี้ สูม่ วลชน จึง ทาให้สงั คมเกิดปั ญหา เหมือนดังที ่ เ่ ป็ นอยู่ ณ.เวลานี้ จึงอยากขอร้องว่า หากท่านไม่มคี วามเข้าใจและไม่มคี วามชานาญในศาสตร์ของฟิ กฮ์ ก็ขอให้ยุตกิ าร นาเสนอเกีย่ วกับเรือ่ งเหล่านี้เป็ นการชัวคราว ่ ทัง้ การนาเสนอบทความและการ บรรยายในเรือ่ ง “เห็นต่าง” ไว้ก่อน เพราะท่าน ยังมีเวลาอีกมาก ไม่ตอ้ งรีบ ร้อน ขอให้อ่านทบทวนและทาความเข้าใจจากตารา “อุศุลุล้ ฟิ กฮ์” ให้กระจ่าง เสียก่อน


154

ทีเ่ ราพูดว่าให้ทบทวนจากตารานัน้ คือ ไม่ใช่จากคาฟั ตวา (คาฟั ตวาใช้ประกอบ ได้ ) เพราะคาฟั ตวานัน้ เป็ นการให้คาตอบเฉพาะ บางเรือ่ ง, บางประการ ซึง่ อาจทาให้ขาดองค์ความรูแ้ ละความเข้าใจในเรือ่ งนี้โดยรวม และท่านก็ควรแนะนาบรรดาลูกศิษย์ลกู หาว่า ควรหยุดโพ้ส หยุดแชร์ ในเรือ่ งที่ เกีย่ วกับการเห็นต่างไว้ก่อน เพือ่ ระงับความเข้าใจทีค่ าดเคลื่อนทีจ่ ะถูกเผยแพร่ ต่อสังคม ทีก่ ล่าวนี้ ก็เข้าใจว่า อาจจะมีบางท่านไม่พอใจ แต่ขอให้ระลึกอยูเ่ สมอว่า เราทา เพือ่ ศาสนา ไม่ใช่ทาเพือ่ ตัวเองและพวกพ้อง พวกเราเองก็เป็ นปุถุชน ย่อมมีความผิดพลาดได้เสมอ ดังนัน้ ขอร้องให้ทา่ นยุติ การนาเสนอในเรือ่ งเหล่านี้เป็ นการชัวคราว ่ แล้วทบทวนให้รอบคอบ ไม่เช่นนัน้ แล้ว ความเข้าใจผิดมันจะขยายวงกว้าง ลุกลาม บานปลาย ไม่สน้ิ สุด หากการร้องขอของเราไม่ถกู รับฟั งก็ไม่เป็ นไร แต่เราก็ยงั ต้องทาหน้าทีช่ แ้ี จงให้พ่ี น้องได้รบั ความเข้าใจทีถ่ กู ต้องต่อไป ขออัลลอฮ์ทรงเมตตา และตอบรับอะมัลของบรรดาผูย้ นื หยัดในศาสนาของ พระองค์


155

#ด้วยความห่วงใย ว่าจะไม่เขียนอะไรแล้ว แต่กย็ งั อดเป็ นห่วงไม่ได้ เนื่องจากบางคนยังสับสนในการ เข้าใจภาษาทางศาสตร์ฟิกฮ์คาดเคลื่อน ระหว่างคาว่า คิลาฟ กับ อิจติฮาด เนื่องจากทัง้ สองคานี้มกี ารใช้ทบั ซ้อนกันอยู่ ซึง่ ความสับสนทีเ่ กิดขึน้ นัน้ มีหลาย จุดด้วยกัน ซึง่ นอกจากความสับสนในการจาแนกชนิดของปั ญหาคือตะเนาวุอ์ (แตกต่าง) กับ ตะฏอด (ขัดแย้ง) แล้ว ยังมีความสับสนในการจาแนกประเภท ของปั ญหา ทีม่ ผี ลต่อความเข้าใจในเรือ่ งของการ อิงก๊าร หรือ ไม่องิ ก๊าร อีกด้วย ซึง่ เราจะชีใ้ ห้เห็นแต่ละจุดดังนี้

#ประการทีห่ นึ่ง คือ ความสับสนในการจาแนกประเภทปั ญหา ระหว่าง ปั ญหา อิจติฮาดียะห์ (ปั ญหาทีอ่ าศัยการวินิจฉัย) และ ปั ญหา คิลาฟี ยะห์ (ปั ญหาทีข่ ดั แย้ง) ซึง่ บางคนยังเข้าใจว่าเป็ นประเภทเดียวกัน ซึง่ เรือ่ งนี้บรรดาอุลามาอ์ได้ให้คาอธิบาย ว่า


156

‫هي الخالف مسائل أن يعتقد القائل أن جهة من اللبس هذا دخل وإنما‬ ‫ مسائل‬،‫الناس من طوائف ذلك اعتقد كما الجتهاد‬ “ความสับสนทีเ่ กิดขึน้ นี้ จากการทีม่ ผี เู้ ข้าใจว่า ปั ญหาคิลาฟก็คอื ปั ญหาอิจติฮาด ดังทีม่ คี นหลายกลุม่ ได้เชือ่ เช่นนัน้ ” (บะยานุ้ลดะลีล้ อะลาบุตลานิลตะห์ลล้ี หน้าที่ 211)

#ประการทีส่ อง บางคนเข้าใจว่า ในแวดวงของอุลามาอ์นนั ้ ไม่มใี ครจาแนกปั ญหาออกเป็ นสอง ประเภทนี้นอกจากท่าน เชค ซอและห์ อาลิ เชค เท่านัน้ เนื่องจากได้อ่าน บทความของอุลามาอ์บางช่วงบางตอนก็เข้าใจไปเองว่า เขาไม่ได้จาแนกกัน แต่ ความเป็ นจริงแล้ว บรรดานักวิชาการต่างก็รบั รูแ้ ละเข้าใจถึงการจาแนกปั ญหาทัง้ สองนี้เป็ นอย่างดี เพียงแต่เวลาทีเ่ ขานาเสนอนัน้ เขาพูดถึงเฉพาะด้านหรือ เฉพาะเรือ่ งทีเ่ ขาต้องการสือ่ เท่านัน้ หากจะถามว่า อุลามาอ์คนไหนจาแนกปั ญหาออกเป็ นสองประเภทนี้


157

คาตอบคือ บรรดา “อะอิมมะห์ตุล้ ฟุก่อฮาอ์” หรือบรรดาปวงปราชญ์ทางด้าน ฟิ กฮ์ และโดยเฉพาะอย่างยิง่ ท่าน ชัยคุล้ อิสลาม อิบนุ ตัยมียะห์ และลูกศิษย์ ของท่านคือ อิบนุ ก็อยยิม, และ อิหม่ามอัชเชากานีย์ อย่างนี้เป็ นต้น ‫دليل فيها يكن لم ما الجتهاد مسائل أن األئمة عليه الذي والصواب‬ ‫ظاهراً وجوباً به العمل يجب‬ “และทีถ่ กู ต้องตามทีบ่ รรดาปวงปราชญ์ได้ยดึ ถือนัน้ คือ ปั ญหาอิจติฮาด คือ ปั ญหาทีไ่ ม่มหี ลักฐานทีบ่ ง่ ถึงความจาเป็ นในการปฏิบตั อิ ย่างชัดเจน “ (บะยานุ้ล ดะลีล้ อะลาบุตลานิลตะห์ลล้ี หน้าที่ 211)

#ประการทีส่ าม ความสับสนในรายละเอียดของปั ญหาทัง้ สอง เนื่องจากใน ปั ญหาอิจติฮาดียะห์ก็ มีการคิลาฟ และในปั ญหาคิลาฟี ยะห์กม็ กี ารอิจติฮาด ดังนี้


158

1 – ปั ญหาอิจติฮาดียะห์ คือ ปั ญหาทีไ่ ม่มตี วั บทหลักฐานมาระบุถงึ โดยตรง บรรดาอุลามาอ์จงึ ใช้ความอุตสาหะวิรยิ ะ ในการวินิจฉัยเพือ่ ให้ได้ขอ้ สรุปของเรือ่ ง นัน้ และผลของการวินิจฉัย อาจมีสภาพดังนี้

1.1 ผลของการวินิจฉัยตรงกัน หรือต่างกัน แต่ไมขัดแย้งกัน

1.2 ผลของการวินิจฉัย ไม่ตรงกัน ขัดแย้งกัน (คิลาฟ) อย่างนี้ทอ่ี ุลามาอ์เขา กล่าวว่า ปั ญหาอิจติฮาดียะห์ทม่ี กี ารคิลาฟกัน หรือทีเ่ รียกว่า ‫الخالف مسائل‬ ‫ الجتهادية‬หรือ ‫فيها نص ل التى الجتهادية المسائل في الخالف‬ (การขัดแย้งในปั ญหาอิจติฮาดียะห์ ทีไ่ ม่มตี วั บทระบุในเรือ่ งนัน้ ) 2 – ปั ญหาคิลาฟี ยะห์ คือ ปั ญหาทีม่ หี ลักฐานระบุในเรือ่ งนัน้ ๆ ไว้ แต่ความ เข้าใจหลักฐานนัน้ ไม่ตรงกัน ซึง่ จาแนกเป็ นสองประเภทคือ

2.1. ปั ญหาคิลาฟี ยะห์ทไ่ี ม่รบั ไว้พจิ ารณา เป็ นปั ญหาทีอ่ ุลามาอ์เขา อิงก๊าร คือ ปฏิเสธทีจ่ ะรับไว้เป็ นปั ญหาคิลาฟี ยะห์ และไม่อนุญาตให้ อิจติฮาด ซึง่ ปั ญหานี้


159

ถูกเรียกด้วยหลายชือ่ เช่น คิลาฟฏออีฟ, ฆอยรุมวั อ์ตะบัร, ฆอยรุซาอิค, มัรดู๊ด, มัซมูม

2.2 ปั ญหาคิลาฟี ยะห์ ทีร่ บั ไว้พจิ าณา ไม่องิ ก๊าร ต่อปั ญหาชนิดนี้ และอนุญาต ให้ อิจติฮาดได้ ซึง่ ปั ญหานี้ถกู เรียกด้วยหลายชือ่ เช่น คิลาฟก่อวีย,์ ซาอิค๊ ,มัก บูล้ , มัมดัวฮ์, มัวอ์ตะบัร เป็ นต้น บรรดาอุลามาอ์เรียกประเภทของปั ญหานี้ในชือ่ เต็มๆว่า มะซาอิลุล้ คิลาฟี ยะห์ อัลอิจติฮาดียะห์ หรือ ปั ญหาคิลาฟี ยะห์ทอ่ี นุญาตให้มกี ารอิจติฮาด ‫المسائل‬ ‫( الجتهادية الخالفية‬ปั ญหาการขัดแย้งทีม่ กี ารอิจติฮาด)

จะเห็นได้วา่ ในข้อที่ 1.2 และข้อที่ 2.2 มีศพั ท์ภาษาทีซ่ อ้ นกันอยู่ คือ ปั ญหา อิจติฮาดียะห์ทม่ี กี ารคิลาฟ และปั ญหาคิลาฟทีม่ กี ารอิจติฮาด ฉะนัน้ เวลาอ่าน ข้อความทีอ่ ุลามาอ์เขากล่าวถึงเรือ่ งหนึ่งเรือ่ งใด ก็อาจทาให้เข้าใจผิดได้ โดยเอา กรณีทงั ้ สองนี้ไปปนกัน เช่น เอาคาชีแ้ จงเรือ่ ง อิจติฮาดในปั ญหาคิลาฟี ยะห์ ไป ใส่ในปั ญหา อิจติฮาดียะห์ หรือเอาการคิลาฟในปั ญหาอิจติฮาดียะห์ไปใส่ใน ปั ญหา คิลาฟี ยะห์ อย่างนี้เป็ นต้น


‫‪160‬‬

‫ี่ ่‪#ประการทีส‬‬ ‫‪เหตุจากความสับสนในการจาแนกประเภทปั ญหาแล้ว ยังส่งผลต่อความเข้าใจผิด‬‬ ‫์‪ในเรือ่ งการอิงก๊าร ด้วย ซึง่ เชค อบู อับดิรเราะห์มาน เฟาซีย์ บิน อับดิลลาฮ‬‬ ‫‪อัลอะษะรีย์ ได้กล่าวว่า‬‬ ‫‪ ] ،‬الجتهاد مسائل [ ومعنى ] الخالف مسائل [ معنى بين قوم خلط‬ ‫في اإلنكار موضوع في عليهم األمر فالتبس واحد معناهما أن وظنوا‬ ‫خالفية مسالة كل أن ظنهم إلى يعود اللبس هذا وسبب ‪ ،‬الخالف مسائل‬ ‫هي الجتهادية المسالة إن مميز(‪ ،‬كذلك ليس واألمر ‪ ،‬اجتهادية مسألة‬ ‫صحة على تدل صريحة نصوص أو نص فيها يثبت لم التي المسالة‬ ‫مسائل في إنكار ل ( بقولهم العلماء عناها التي وهي )‪ ،‬فيها اْلراء أحد‬ ‫علماء فيها اختلف التي المسألة هي الخالفية مميزوالمسألة( ‪) ،‬الجتهاد‬ ‫أحد صحة على تدل صريحة نصوص أو نص فيها ثبت لكن ‪ ،‬األمة‬ ‫وجود مع اجتهاد ل ( )حيث فيها لالجتهاد مجال ول ‪ ،‬فيها األقوال‬ ‫دالة نصوصاً أو نصاً خالف من على فيها ينكر أن يجب فهذه ‪ ) ،‬نص‬ ‫فيها المختلف المسالة في اْلراء أحد على‬

‫‪https://www.sahab.net/forums/index.php?app=for‬‬ ‫‪ums&module=forums&controller=topic&id=23279‬‬


161

“คนบางกลุ่มได้เอาความหมายของ ปั ญหาคืลาฟมาปนกับความหมายของปั ญหา อิจติฮาด โดยพวกเขาเข้าใจว่ามันมีความหมายเดียวกัน ดังนัน้ จึงเกิดความ สับสนในหมูพ่ วกเขาต่อการ “อิงก๊าร” ในปั ญหาคิลาฟ และสาเหตุของความ สับสนนี้มนั ย้อนกลับไปทีก่ ารเข้าใจของพวกเขาทีว่ า่ ทุกปั ญหาคิลาฟี ยะห์คอื ปั ญหาอิจติฮาดียะห์ แต่เรือ่ งนี้มนั ไม่ได้เป็ นเช่นนัน้ เพราะความแตกต่างคือ ปั ญหาอิจติฮาดียะห์คอื ปั ญหาทีไ่ ม่มตี วั บทใดทีช่ ดั เจนระบุถงึ ความถูกต้องใน ทัศนะใดๆของเรือ่ งนัน้ และนี่คอื ข้อความทีบ่ รรดาอุลามาอ์ได้กล่าวถึงด้วยคาว่า (ไม่มกี ารอิงก๊ารต่อปั ญหาอิจติฮาด) ซึง่ ต่างจากปั ญหาคิลาฟี ยะห์คอื ปั ญหาที่ บรรดาอุลามาอ์ได้ขดั แย้งกัน ทว่าในเรือ่ งนัน้ มีตวั บทต่างๆทีช่ ดั เจนระบุถงึ ความ ถูกต้องในทัศนะหนึ่งจากบรรดาทัศนะต่างๆของพวกเขา และไม่มชี อ่ งทางให้ทา การอิจติฮาดในเรือ่ งนัน้ เพราะจะไม่มกี ารอิจติฮาดใดๆในเรือ่ งทีม่ หี ลักฐาน อย่าง นี้จาเป็ นต้องอิงก๊ารต่อผูท้ ค่ี า้ นตัวบทใดก็ตามทีบ่ ง่ ถึงความถูกต้องในทัศนะหนึ่ง จากทัศนะต่างๆ ในปั ญหาทีข่ ดั แย้งกัน” #ประการทีห่ า้ การไม่เข้าใจการจาแนกประเภทปั ญหา และการเข้าใจในศัพท์ภาษาฟิ กฮ์คาด เคลื่อน จึงส่งผลให้เข้าใจฟั ตวาของอุลามาอ์อย่างผิดพลาด โดยนาคาฟั ตวาของ อุลามาอ์มาใช้ไม่ตรงกับเรือ่ งและไม่เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ทเ่ี ขากล่าว


162

เช่นกรณีทบ่ี างท่านจาแนกไม่ออกระหว่างปั ญหาอิจติฮาดียะห์ และปั ญหาคิลาฟี ยะห์ หรือเข้าใจสับสนในคาซ้อนกันตามทีก่ ล่าวในประการทีส่ าม ดังนัน้ เมือ่ อ่าน เจอคาฟั ตวาของอุลมาอ์วา่

‫( الجتهاد مسائل في انكار ل‬ไม่มกี ารอิงก๊า

รต่อปั ญหาอิจติฮาด) ก็เข้าใจผิดไปว่า ไม่มกี ารอิงก๊ารต่อปั ญหาคิลาฟี ยะห์ และเหมือนกับทีบ่ างคนเข้าใจผิดในคาฟั ตวาของชัยคุล้ อิสลาม อิบนุตยั มียะห์ ในปั ญหาอิจติฮาดียะห์ โดยเอาไปอ้างและยืนยันในปั ญหาคิลาฟี ยะห์ ดังตัวอย่าง ต่อไปนี้ َّ ‫ل‬ "ً‫إن‬ ًَ ْ‫ل َه ِّذًِّه ِّمث‬ ًِّ ‫سا ِّئ‬ ًَ ‫ بِّ ْاليَ ًِّد ت ُ ْن َك ًُر‬، ‫ْس‬ ًَ ‫ن ِّأل َ َح ًِّد َولَي‬ ًْ َ ‫يًُْل ِّز ًَم أ‬ َ ‫ل ِّال ْج ِّت َها ِّديَّ ًِّة ْال َم‬ ًَ َّ‫ن ؛ فِّي َها ِّباتِّبَا ِّع ًِّه الن‬ ‫اس‬ ًْ ‫ج فِّي َها يَت َ َكلَّ ًُم َولَ ِّك‬ ًِّ ‫ ْال ِّع ْل ِّميَّ ًِّة ِّب ْال ُح َج‬، ‫ن‬ ًْ ‫لَ ًهُ تَبَيَّنًَ فَ َم‬ ُ‫ص َّح ًة‬ ًِّ ‫ ت َ ِّبعَ ًهُ ْالقَ ْولَي‬، ‫ن‬ ًْ ‫ل قَلَّ ًَد َو َم‬ ًَ ‫ل أ َ ْه‬ ًِّ ‫َر ْالقَ ْو‬ ًِّ ‫ ْاْلخ‬: ‫ال‬ ً َ َ‫ار ف‬ ًَ ‫علَيْه إ ْن َك‬ ِّ ‫ْن أَ َح ًِّد‬ َ " ‫( "الفتاوى مجموع " من انتهى‬30/80) “ดังปั ่ ญหาทีเ่ กีย่ วกับการวินิจฉัย (มัสอะละห์อจิ ติฮาดียะห์) นี้ทจ่ี ะไม่ถกู ต่อต้าน ด้วยกาลัง และไม่ใช่วา่ คนหนึ่งคนใดจะบังคับผูค้ นให้ปฏิบตั ติ ามเขา ทว่าเขา จะต้องพูดคุยกันในเรือ่ งนัน้ ด้วยหลักฐานทางวิชาการ, ฉะนัน้ ผูใ้ ดทีช่ ดั เจนแก่เขา


163

แล้วถึงความถูกต้องจากหนึ่งในสองทัศนะก็ปฏิบตั ติ ามนัน้ แต่ผใู้ ดทีต่ กั ลีดอีก ทัศนะหนึ่ง ก็ไม่มกี ารคัดค้านต่อเขา” ข้อความนี้ ชัยคุล้ อิสลาม อิบนุ ตัยมียะห์กล่าวถึงปั ญหา ประเภท อิจติฮาดียะห์ ไม่ได้กล่าวถึงปั ญหาคิลาฟี ยะห์ และเช่นเดียวกับคาฟั ตวาของ อิบนุ ตัยมียะห์ ดังต่อไปนี้ ‫ولم عليه ينكر لم العلماء بعض بقول فيها عمل من الجتهاد مسائل‬ ‫قولن المسألة في كان وإذا عليه ينكر لم القولين بأحد عمل ومن يهجر‬ ‫بعض قلد وإل ‘ به عمل القولين أحد رجحان له يظهر اإلنسان كان فإن‬ ‫القولين أرجح بيان في عليهم يعتمد الذين العلماء‬ “ปั ญหาอิจติฮาดนัน้ ผูใ้ ดทีป่ ฏิบตั ติ ามทัศนะของอุลามาอ์บางท่าน เขาจะไม่ถกู อิงก๊ารและจะต้องไม่ถกู ตัดสัมพันธ์ และผูใ้ ดปฏิบตั ติ ามหนึ่งในทัศนะทัง้ สองก็จะ ไม่ถกู อิงก๊าร ในเมือ่ ปั ญหานัน้ มีสองทัศนะ แต่เมือ่ คนใดได้ประจักษ์แก่เขาถึง ทัศนะทีม่ นี ้าหนักจากทัศนะทัง้ สองก็ปฏิบตั ติ ามนัน้ หรือไม่กต็ กั ลีดตามอุลามาอ์ บางท่านทีเ่ ขามันใจในการชี ่ แ้ จงถึงทัศนะทีม่ นี ้าหนักมากกว่า” มัจมัวอุลฟะตาวา เล่มที่ 20 หน้าที่ 207


164

ข้อความนี้ อิบนุ ตัยมียะห์ ก็กล่าวถึงปั ญหาประเภท อิจติฮาดียะห์ เช่นเดียวกัน แต่มผี เู้ ข้าใจผิดโดยเอาไปเป็ นข้ออ้างและชีป้ ระเด็นในปั ญหาประเภท คิลาฟี ยะห์ บรรดาอุลามาอ์ทน่ี าคาของ อิบนุ ตัยมียะห์มาอ้างต่อ ก็ชป้ี ระเด็นในเรือ่ งปั ญหา อิจติฮาดียะห์เช่นเดียวกัน ตามลิงค์ทแ่ี นบท้ายนี้

#ส่วนปั ญหาคิลาฟี ยะห์นนั ้ อิบนุตยั มียะห์ กล่าวว่า ‫وفاقاً إنكاره وجب قديماً إجماعاً أو سنة يخالف القول كان فإذا‬. ‫لم وإن‬ ‫واحد المصيب يقول من عند ضعفه بيان بمعنى يُنكر فإنه كذلك يكن‬ ‫والفقهاء السلف عامة وهم‬ กรณีปัญหาคิลาฟี ยะห์นนั ้ หากไปค้านกับซุนนะห์หรืออิจมาอ์เดิม ก็จาเป็ นต้อง อิงก๊าร แต่หากไม่เป็ นเช่นนัน้ ก็จะต้องถูกอิงก๊ารในความหมายของการชีแ้ จง ความบกพร่อง ตามทีม่ ผี กู้ ล่าว่า ความถูกต้องมีหนึ่งเดียว พวกเขาคือปวง ปราชญ์สะลัฟ และบรรดานักนิตศิ าสตร์อสิ ลาม https://islamqa.info/ar/70491 .


165

หยุด แล้วคิด วิเคราะห์ แยกแยะ สักนิดก็ยงั ดี - อีหม่ามซาฟี อเี ขาไม่ได้เรียกร้องให้ยดึ ติดกับเขา แต่ให้ยดึ หลักฐานศาสนา - อีหม่ามฮานาฟี บอกว่า ไม่อนุญาตเอาคาพูดของเราไปพูด จนกว่าเขาจะรูว้ า่ สิง่ ทีเ่ ราเอาไปพูด ว่าเราเอามาจากไหนให้พจิ ารณาว่าถูกไหม ไม่ได้ให้หลับหู หลับตาม - อีหม่ามมาลิกี ี บอกว่า ฉันก็เป็ นปุถุชนเหมือนพวกเจ้าเนี่ยแหล่ะฉันอาจจะถูก หรือผิดก็ได้ ถ้าฉันทาตรงซุนนะห์กท็ าตาม ถ้าทาไม่ตรงกับซุนนะห์นบีให้เอา มันทิง้ ไป -อีหม่ามอะห์หมัดก็บอกว่า อย่าตัคลีก อย่ามาตามฉันนะ #เพราะฉะนัน้ การไม่เอามัซฮับ กับ การไม่ผกู ขาดมัซฮับจึงเป็ นคนละเรือ่ งกัน กลุ่มซุนนะห์ไม่ได้ปฏิเสธมัซฮับ แต่ไม่ผกู ขาด,เจาะจงยึดติดอยูก่ บั มัซฮับใดเป็ น การเฉพาะ แต่พจิ ารณาว่า การวินิจฉัยของมัซฮับใดในเรือ่ งหนึ่งนัน้ ใครอ้างอิง ตัวบทหลักฐานทีถ่ กู ต้องขัดเจนมากกว่ากัน ซึง่ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของ เจ้าของมัซฮับทีเ่ รียกร้องให้ผคู้ นกลับไปยึดอัลกุรอานและซุนนะห์ของท่านรอซูล เป็ นบรรทัดฐาน


166


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.