21
41
วัดโลกโมฬี
เชียงใหม่ พระองค์ทรงเสื่อมในศรัทธาในพระพุทธศาสนา ปรารภได้พระภิกษุผู้ทรงพระไตรปิฎกพระพุทธพจน์สามารถ ทำ�สังฆกรรมใหญ่น้อยได้ทุกประการมาไว้ในอาณาจักร เมื่อ ได้ทรงทราบสุปฏิปันตาทิคุณแห่งพระอุทุมพรบุปผามหา สวามีเจ้า ซึ่งอยู่ที่เมืองพัน จึงให้ราชทูตไปอาราธนาพระ มหาสวามีเจ้า แต่พระสวามีเจ้ารับนิมนต์ไม่ได้ จึงให้ภิกษุ ลูกศิษย์ ๑๐ รูป มีพระอานนท์เถรเป็นประธานมาสู่เมือง เชียงใหม่แทนท่านพญากือนา ก็ให้พระเถระเจ้าทั้งหลาย พำ�นักอยู่ ณ วัดโลกโมฬี กำ�แพงเวียงชั้นนอก บ้านหัวเวียง จากหลักฐานที่ปรากฏนี้พอจะอนุมานได้ว่า วัดโลก โมฬี น่าจะสร้างขึ้นในสมัยพญากือนาประมาณปีพุทธศักราช ๑๙๑๐ หรือก่อนหน้านั้น
ยุคที่ ๒ ๑๖๐ ปีต่อมา หนังสือตำ�นานพื้นเมืองเชียงใหม่ หน้า ๘๗-๘๘ บันทึกไว้ว่า ปีพุทธศักราช ๒๐๗๐ ในสมัย ของพระเมืองเกศเกล้า กษัตริย์ราชวงศ์มังรายลำ�ดับที่ ๑๒ (พระเมืองเกศเกล้าเมืองครั้งที่ ๑ ปี พ.ศ ๒๐๖๘-๒๐๘๑ ) หลักฐานบันทึกไว้ว่า “พญาเกศได้ถวายบ้านหัวเวียงให้เป็น อารามวัดโลกโมฬี ) ปีพุทธศักราช ๒๐๗๑ พญาเกศ เมื่อ วัดโลกโมฬี ตั้งอยู่ถนนมณีนพรัตน์ ตำ�บลศรี ได้บูรณะฟื้นฟูวัดโลกโมฬีและได้ทำ�บุญฉลองถวายให้เป็น ภูมิ อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เดิมเป็นวัดร้างมีเนื้อที่ อารามวัดโลกโมฬีแล้ว ก็ได้ทรงสร้างพระเจดีย์ ขนาดองค์ ๔-๑-๓๗ ไร่ โบราณสถานที่ปรากฏอยู่คือ พระเจดีย์ที่ ใหญ่ (มหาเจดีย์) ขึ้น พร้อมกันนั้นก็ได้สร้าง พระวิหาร เพื่อ มีอายุประมาณ ๔๗๗ ปี (ปัจจุบัน พ.ศ ๒๕๔๘ ) ฐานพระ ใช้ประกอบพิธีบำ�เพ็ญศาสนกิจของพุทธศาสนิกชน พระ อุโบสถ ซึ่งทางกรมศิลปากรได้ข้นทะเบียนไว้ หลังจาก เมืองเกศเกล้า หรือพญาเกศ ครองราชย์ครั้งที่ ๒ เป็นลำ�ดับ ได้ยกขึ้นเป็นวัด ได้สร้างพระวิหาร และกำ�แพง ตามแบบ ที่ ๑๔ พ.ศ ๒๐๘๖-๒๐๘๘ พญาเกศฯ ทรงออกผนวช สถาปัตยกรรมล้านนา สร้างกุฏิสงฆ์พร้อมกันนั้นได้หล่อ มีพระสิริมังคลาจารย์เป็นพระอุปัชฌาจารย์ พระองค์ยัง พระพุทธรูปปฏิมาประธานประจำ�พระวิหาร ชื่อ “พระพุทธ ได้โปรดเกล้าแต่งตั้ง พระมหาสรภังค์เถระเป็นพระมหา สันติจิรบรมโลกนาถ” และได้บรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้ สังฆราชนครพิงค์เชียงใหม่พญาเกศเสด็จสวรรคตถูกขุนนาง บนพระเมาลี เมื่อวันที่ ๖ พฤศจิกายน พ.ศ ๒๕๔๖ และ ลอบปลงพระชนม์ในปีพุทธศักราช ๒๐๘๘ ยังได้หล่อพระรูปของพระนางจิระประภา มหาเทวี ซึ่ง พระองค์ได้ทรงอุปถัมภ์วัดโลกโมฬีครั้งเสวยราชย์ครองเมือง หลังจากสวรรคตแล้ว ข้าราชการขุนนาง ได้ทำ�พิธี เชียงใหม่ไว้ให้คนรุ่นหลังได้ สักการะรำ�ลึกถึงคุณความดีของ ปลงศพที่วัดแสนพอก กำ�แพงเมืองชั้นในหลังจากได้ถวาย พระองค์ พระเพลิงแล้วก็ได้นำ�พระอัฐิของพระองค์มาบรรจุไว้ ณ วัด วัดโลกโมฬี สร้างขึ้นในสมัยของพระมหากษัตริย์ในรา โลกโมฬี เอากระดูกไปบรรจุไว้ยังวัดโลกโมฬี ฝ่ายแจ่งหน ชวงศ์มังราย พระองค์ใดนั้นยังไม่พบหลักฐานโดยแน่ชัด แต่ เหนือทางนอกนั้น” จากหลักฐานที่ค้นพบและได้กล่าวถึงวัดโลกโมฬีพอรวบรวม ปีพุทธศักราช ๒๐๘๘ หลังจากที่พญาเกศ ได้สวรรคตแล้ว ได้เป็นยุคดังนี้ พระนางจิระประภา ราชธิดาของพญาเกศ ก็ขึ้นครองราชย์ ต่อจากพระบิดาเป็นกษัตริย์ ในราชวงศ์มังรายลำ�ดับที่ ๑๕ ยุคที่ ๑ ตำ�นานวัดพระธาตุดอยสุเทพ บันทึกไว้ว่า ปี พุทธศักราช ๑๙๑๐ ในสมัยพญากือนาธรรมิกราช กษัตริย์ ประวัติศาสตร์ได้บันทึกไว้ว่า ครั้งนั้นเมืองเชียงใหม่ ในราชวงศ์มังราย ลำ�ดับที่ ๖ เสวยราชสมบัติในเมือง
ประวัติวัดโลกโมฬี
มีเหตุการณ์ไม่สงบ เนื่องจากขุนนางทั้งหลายไม่สามัคคี กัน สมเด็จพระไชยราชาธิราช กษัตริย์อยุธยาได้ยกทัพขึ้น มาหมายจะตีเมืองเชียงใหม่ พระนางจิระประภาทรงทราบว่า กำ�ลังทัพหลวงของพระไชยราชาธิราช และเมืองเชียงใหม่ไม่ พร้อมที่จะรับศึกได้ เมื่อกองทัพพระไชยราชาธิราช ยกทัพ มาถึงนอกเมือง พระนางจึงได้แต่งเครื่องราชบรรณาการออก ปถวายและทูลเชิญเสด็จพระไชยราชาธิราช ได้นำ�เสด็จมา ทำ�บุญที่กู่เฝ่า พระเมืองเกศเกล้า ที่วัดโลกโมฬี สมเด็จพระ ไชยราชาธิราชได้พระราชทานพระราชทรัพย์ทำ�บุญไว้กับกู่ พญาเกศเกล้าอีก ๕,๐๐๐ เงิน กับผ้าทรง ๑ ผืน นอกจาก นั้นยังได้รับพระราชทานรางวัลให้กับเจ้านาย ขุนนางที่รับ เสด็จด้วย ยุคที่ ๓ ๖๐ ปี ต่อมาหลังจากที่เมืองเชียงใหม่ตกอยู่ภาย ใต้การปกครองของพม่าหลักฐานพงศาวดารโยนกและตาม รอยโครงมังทรารบเชียงใหม่ ในปีพุทธศักราช ๒๑๔๙ กษัตริย์ที่ครองเชียงใหม่ชื่อ มังนราช่อ (สาวัตถีนรถามังคะ ยอ)ซึ่งเป็นราชบุตรของพระเจ้าบุเรงนอง (ครองราชย์ พ.ศ ๒๑๒๒-๒๑๕๐) ได้มีเมตตาธรรมให้พระมหาสมเด็จวัด โลกโมฬี ไว้กับวัดวิสุทธาราม ให้คนบ้านแปะและพวกยาง บนดอยเป็นข้าวัดดูแลห้ามฝ่ายบ้านเมืองนำ�ไปใช้แม้จะมีศึก สงคราม (วัดบ้านแปะ อำ�เภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ปัจจุบัน) ปีพุทธศักราช ๒๑๘๒ หลักฐานตำ�นานพื้นเมือง เชียงใหม่ บันทึกไว้ว่า พระเจ้าสุทโธธรรมราชา ได้มีพระ ราชศรัทธาในพระพุทธศาสนาและได้อาราธนาพระสวามี ถวายทานในพระบาทสมเด็จพระสังฆราชโมฬีเจ้า วัดทุกวัด เป็นราชฐาน ทำ�บุญเดือนยี่เป็ง บูชาพระพุทธรูป พระธาตุ เจ้าและพระภิกษุ สามเณร ตามพระราชประเพณีแห่งเมือง เชียงใหม่ ยุคที่ ๔ ยุคกาวิละวงศ์ หลักฐานรายชื่อวัดในเขตกำ�แพง เมืองเชียงใหม่ ในปีพุทธศักราช ๒๔๔๐ สมัยของพระเจ้าอินทวิชยานนท์ และสมัยของเจ้าอินทวโรรส เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ลำ�ดับ ที่ ๗ และ ๘ มีบันทึกไว้ว่า “ วัดโลกโมฬี ตั้งอยู่แขวงบ้าน ทับม่านขึ้นกับแคว้นเจ็ดยอด เจ้าอธิการชื่อ ตุ๊พวง นิกาย เชียงใหม่ ยังไม่ได้เป็นอุปัชฌาย์ รองอธิการชื่อ ตุ๊คำ� และ
ในปีพุทธศักราช ๒๔๕๒-๒๔๘๒ พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้า ครองนครเชียงใหม่ลำ�ดับที่ ๙ ได้ บูรณะวัดโลกโมฬี เหนือ เวียงและสร้างพระพุทธรูปพร้อมทั้งธรรมมาสน์ หลังจากนั้นก็ไม่ปรากฏหลักฐานใด ๆ ที่จะบอกถึง ความเป็นวัดที่มีพระสงฆ์อยู่จำ�พรรษาต่อเนื่องมาอีก นับแต่ เกิดสงครามโลกครั้งที่ ๒ ประมาณปีพุทธศักราช ๒๔๘๔ วัดโลกโมฬี ก็ตก อยู่ในสภาพเป็นวัดที่ว่างเว้นจากผู้ปกครองสงฆ์นาน ๖๐ ปี ที่ดินของวัดในอดีตก่อนหน้านั้นมีเนื้อที่กว้างขวางหลาย สิบไร่ ได้ถูกถือครองโดยเอกชนและต่อมามีการออกโฉนด เป็นกรรมสิทธิ์ของเอกชนหลายแปลง จึงเหลือเนื้อที่ตาม ที่ปรากฏในหลักฐานขึ้นทะเบียนเป็นวัดร้าง ในความดูแล ของกรมศาสนา จำ�นวนเนื้อที่ ๔-๑-๓๗ ไร่ พื้นที่ด้านหน้า ของพระเจดีย์ ซึ่งติดถนนมณีนพรัตน์ กองศาสนาสมบัติ กลางกรมการศาสนา ได้ให้กรมปศุสัตว์กระทรวง เกษตรและสหกรณ์เช่าเป็นที่ทำ�การของสำ�นักงานปศุสัตว์ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นระยะเวลากว่า ๓๐ ปี อีกส่วน ด้านทิศตะวันออก ได้ให้สมาคมธรรมศาสตร์ภาคเหนือ เช่า เป็นที่ทำ�การของสมาคม ฯ เป็นระยะเวลาหลายสิบปีเช่น กัน และต่อมาสมาคมธรรมศาสตร์ภาคเหนือได้ให้บริษัทโค โนโก้เช่าต่อ ถือสัญญาเช่ามีระยะเวลา ๓๐ ปี (๒๕๓๕) มี การปรับปรุงเป็นสถานีบริการน้ำ�มันเชื้อเพลิง ดังที่ปรากฏ ในปัจจุบัน ยุคที่ ๕ ตั้งแต่ปี พุทธศักราช ๒๕๔๔ จนถึงปัจจุบัน พระญาณสมโพธิ “ปัจจุบันได้เลื่อนตำ�แหน่งเป็นพระ เทพวรสิทธาจารย์” เจ้าอาวาสวัดพระธาตุดอยสุเทพ ราชวรวิหาร เจ้าคณะอำ�เภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ ต่อมา ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะอำ�เภอ จังหวัดเชียงใหม่ และ ได้เลื่อนตำ�แหน่งขึ้นเป็นรองเจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ในปี ๒๕๔๗ และเป็นรองเจ้าคณะภาค 7 ในปัจจุบัน ได้พิจารณา สถานที่วัดร้างในเขตอำ�เภอเมืองเชียงใหม่ ที่มีเนื้อที่กว้าง พอประมาณหลายแห่ง ดังนี้ วัดเจ็ดลิน (ร้าง) ถนนพระปกเกล้า ตำ�บลพระสิงห์ อำ�เภอเมือง จังหวัด เชียงใหม่ (หลังตลาดประตูเชียงใหม่) ซึ่งเป็นวัดร้างมีเนื้อที่ ๗-๐-๙๖ ไร่ เพียงพอที่จะสร้าง สำ�นักงานได้ จึงทำ�หนังสือถึงผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่
81
101
ฉบับที่ ๑ ลงวันที่ ๒๒ กันยายน พ.ศ ๒๕๔๓ เพื่อเช่า พื้นที่ตามระเบียบของกรรมการศาสนา แต่มีปัญหาพื้นที่มีผู้ บุกรุกอยู่จำ�นวนมาก จึงได้ทำ�หนังขอยกเลิกไป วัดโลกโมฬี (ร้าง) พระญาณสมโพธิ (พระราชสิทธา
จารย์) ได้ทำ�หนังสือลงวันที่ ๒๖ มกราคม พ.ศ ๒๕๔๔ เพื่อขอเช่าวัดโลกโมฬี ตั้งอยู่ถนนมณีนพรัตน์ ตำ�บลศรีภูมิ อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเป็นวัดร้างเช่นกัน มีเนื้อที่ ๒-๓-๐๙ ไร่ แทนวัดเจ็ดลินที่ยกเลิกไป ขณะที่กำ�ลังรอคำ� ตอบจากกรรมการศาสนานั้น ก็ทราบว่ามีปัญหาคล้ายกัน ทั้ง ยังมีผู้ยื่นคำ�ร้องขอเช่าที่ดินวัดร้างเพื่อทำ�ประโยชน์ทางธุรกิจ สวนสาธารณะและอื่น ๆ ดังนั้นจึงได้มีหนังสือลงวันที่ ๕ มีนาคม พ.ศ ๒๕๔๔ ถึงผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่และ สำ�นักงานโบราณคดีและพิพิธภัณฑ์แห่งชาติที่ ๖ เชียงใหม่ เพื่อขออนุญาติให้เป็นสถานที่จัดกิจกรรมส่งเสริมประเพณี
121
141