แผนการสอน/แผนการเรียนรู้ ภาคทฤษฎี แผนการสอน/การเรี ยนรู้ภาคทฤษฎี ชื่อวิชา ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ ชื่อหน่วย ความรู้เกี่ยวกับอาชีพ ชื่อเรื่อง ความรู้เกี่ยวกับอาชีพ
หน่วยที่ 1 สอนสัปดาห์ที่ 12 คาบรวม 4 จำานวนคาบ 4
หัวข้ อเรื่อง ด้ านความรู้ 1. เข้าใจความหมายของอาชีพได้ 2. แบ่งอาชีพตามเนื้ อหาวิชาของอาชีพได้ 3. ความสำาคัญของอาชีพได้ ด้ านทักษะ 1. แบ่งอาชีพตามลักษณะของการ ประกอบอาชีพ ได้ ด้ านคุณธรรม จริยธรรม 1. ความรับผิดชอบ 2. ความสนใจใฝ่ รู้
สาระสำ าคัญ
อาชีพ เป็ นรู ปแบบการดำารงชีพ ในสังคมมนุษย์ปัจจุบนั อาชีพเป็ นหน้าที่ของ บุคคลในสังคม การที่ บุคคลประกอบอาชีพ จะได้มาซึ่งค่าตอบแทน หรื อ รายได้ เพื่อใช้จ่าย ในการดำารงชีวิต
สมรรถนะอาชีพประจำาหน่ วย 1.
ตระหนักถึงความสำาคัญของการอาชีพได้
จุดประสงค์การสอน/การเรียนรู้ •
จุดประสงค์ ทวั่ ไป / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง 1. เพือ่ ให้มคี วามรูเ้ กีย่ วกับ ความรู้เกี่ยวกับอาชีพ (ด้ านความรู้ ) 2. เพือให้ ่ มที ักษะในการใช้งาน ความรู้เกี่ยวกับอาชีพ (ด้านทักษะ) 3. เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่อการเตรี ยมความพร้อมด้าน วัสดุ อุปกรณ์ และการปฏิบตั ิงานอย่างถูกต้อง สำาเร็ จ ภายในเวลาที่กาำ หนด มีเหตุและผลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ด้ านคุณธรรม จริ ยธรรม)
•
จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง อธิ บายความหมายของอาชีพได้ (ด้ านความรู้ ) แยกแยะลักษณะและประเภทของอาชีพได้ (ด้านทักษะ) แบ่งอาชีพตามเนื้ อหาวิชาของอาชีพ (ด้านทักษะ) การเตรี ยมความพร้อมด้านการเตรี ยม วัสดุ อุปกรณ์นกั ศึกษาจะต้องกระจายงานได้ทวั่ ถึง และตรง ตามความสามารถของสมาชิกทุกคน มีการจัดเตรี ยมสถานที่ สื่ อ วัสดุ อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรี ยง (ด้ านคุณธรรม จริ ยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง) 5. ความมีเหตุมีผลในการปฏิบตั ิงาน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นักศึกษาจะต้องมีการใช้ เทคนิคที่แปลกใหม่ใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการนำาเสนอที่น่าสนใจนำาวัสดุในท้องถิ ่นมา ประยุกต์ใช้ อย่างคุม้ ค่าและประหยัด (ด้ านคุณธรรม จริ ยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง) 1. 2. 3. 4.
เนือ้ หาสาระการสอน/การเรียนรู้
• ด้านความรู้(ทฤษฎี) 1. อธิ บายความหมายของอาชีพ ได้ (จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อ 1) ความหมายของอาชีพ อาชีพ หมายถึง การทำากิจกรรม การทำางาน การประกอบการที่ไม่เป็ นโทษแก่สงั คม และมีรายได้ ตอบแทน โดยอาศัยแรงงาน ความรู้ ทักษะ อุปกรณ์ เครื่ องมือ วิธีการแตกต่างกันไป
2. แยกแยะลักษณะและประเภทของอาชีพได้ (จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อ 2) ลักษณะและประเภทของอาชีพ อาชีพที่จาำ เป็ นต้องมีความรู ้ความสามารถเฉพาะด้านเรี ยกว่า วิชาชีพ เช่น วิศวกร แพทย์ พยาบาล ทนายความ และอาชีพที่ถูกกฎหมายและศีลธรรม เรี ยกว่า สัมมาชีพ เช่น ค้าขาย ส่ วนบางอาชีพที่ผิดกฎหมาย เรี ยกว่า มิจฉาชีพ เช่น โจร อาชีพอาจมีรายได้ต่าง ๆ กันไป ลักษณะอาชีพที่เป็ นลูกจ้างจะได้ค่าตอบแทนในรู ปแบบ เงินเดือน อาชีพค้าขาย หรื อประกอบกิจการส่ วนตัว หรื อ การลงทุนจะได้ค่าตอบแทนในรู ปแบบกำาไร ประเภทของอาชีพ การแบ่งประเภทของอาชีพสามารถ จัดแบ่งตามลักษณะได้เป็ น 2 ลักษณะ คือ 1. แบ่งตามเนื้อหาวิชาของอาชีพ 2. แบ่งตามลักษณะของการประกอบอาชีพ
3. แบ่งอาชีพตามเนื้อหาวิชาของอาชีพได้ (จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อ 3)
การแบ่ งอาชีพตามเนือ้ หาวิชาของอาชีพ สามารถจัดกลุ่มอาชีพตามเนื้ อหาวิชาได้เป็ น 6 ประเภท ดังนี้ อาชีพเกษตรกรรม เป็ นอาชีพหลัก และ เป็ นอาชีพสำาคัญของประเทศ ปั จจุบนั ประชากรของไทยไม่นอ้ ยกว่าร้อย ละ 60 ยังประกอบอาชีพเกษตรกรรม อาชีพ เกษตรกรรมเป็ นอาชีพเกี่ยวเนื่องกับ การผลิต และการจัดจำาหน่าย สิ นค้าและ บริ การทางด้านการเกษตรซึ่งผลผลิต ทางการเกษตรนอกจากใช้ในการบริ โภค เป็ นส่ วนใหญ่แล้ว ยังใช้ เป็ นวัตถุดิบใน การผลิตทางอุตสาหกรรม อาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ การทำานา ทำาไร่ ทำาสวน เลี้ยงสัตว์ การประมง ำ ด และ ฯลฯ เนื่องจากประเทศไทย มีสภาพภูมิอากาศเหมาะสมต่อการเพาะ ปลูก เลี้ยงสัตว์และการทำาประมงน้าจื ำ ม เพื่อประโยชน์ต่อการบริ โภค และเป็ นงานอาชีพได้สมกับคำากล่าวที่วา่ เมืองไทยเป็ นอู่ขา้ วอู่นาของดิ น้าเค็ ้ำ นแดน แหลมทอง
อาชี พอุตสาหกรรม การทำาอุตสาหกรรม หมายถึง การผลิตสิ นค้าอันเนื่ องมาจากการนำาเอาวัสดุ หรื อสิ นค้าบาง ชนิดมาแปรสภาพให้เกิดประโยชน์ต่อผูใ้ ช้มากขึ้ น กระบวนการประกอบการอุตสาหกรรม ประกอบด้วย
ในขั้นตอนของกระบวนการผลิต มีปัจจัยมากมายนับตั้งแต่แรงงาน เครื่ องจักร เครื่ องมือ เครื่ อง ใช้ เงินทุน ที่ดิน อาคาร รวมทั้งการบริ หารจัดการ การประกอบอาชีพอุตสาหกรรมแบ่ งตามขนาด ได้ดงั นี้ อุตสาหกรรมในครอบครัว เป็ น อุตสาหกรรมที่ทาำ กันในครัวเรื อน หรื อภายในบ้าน ใช้ แรงงานคนในครอบครัว เป็ นหลัก อาจใช้เครื่ องจักรขนาด เล็กช่วยในการผลิต ใช้วตั ถุดิบ วัสดุที่หาได้ในท้องถิ่น เป็ นปั จจัยในการผลิต อุตสาหกรรมในครัวเรื อน ได้แก่ การจักสาน การทำาร่ ม การทอผ้า การทำาอิฐมอญ ฯลฯ ลักษณะการดำาเนินงานไม่ เป็ นระบบ การใช้เทคโนโลยี แบบง่าย ๆ ไม่ยงุ่ ยากซับซ้อน และมีการลงทุนไม่มากนัก
อุตสาหกรรมขนาดย่อม เป็ นอุตสาหกรรมที่มีการจ้างคนงานมากกว่า 50 คน ใช้เงินทุนดำาเนินการไม่เกิน 10 ล้าน บาท อุตสาหกรรมขนาดย่อม ได้แก่ โรงกลึง อู่ซ่อมรถ โรงงานทำาขนมปั ง โรงสี ขา้ ว เป็ นต้น ในการดำาเนินงาน ของอุตสาหกรรมขนาดย่อมมีขบวนการ ผลิตไม่ซบั ซ้อน ใช้แรงงานที่มีฝีมือไม่มากนัก
อุตสาหกรรมขนาดกลาง เป็ นอุตสาหกรรมที่มีการจ้างคนงานมากกว่า 50 คน แต่ไม่เกิน 200 คน ใช้เงินทุนดำาเนิน การมากกว่า 10 ล้านบาท แต่ไม่เกิ น 100 ล้านบาท อุตสาหกรรมขนาดกลาง ได้แก่ อุตสาหกรรมทอกระสอบ อุตสาหกรรมเสื้ อผ้าสำาเร็ จรู ป เป็ นต้น การดำาเนินงานของอุตสาหกรรมขนาดกลางต้องมีการจัดการที่ดี แรงงานที่ ใช้ตอ้ งมีทกั ษะความรู้ ความสามารถในกระบวนการผลิตเป็ นอย่างดี เพื่อที่จะได้สินค้าที่มีคุณภาพระดับเดียวกัน
อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ เป็ นอุตสาหกรรมที่มีคนงานมากกว่า 200 คนขึ้นไป เงินทุนในการดำาเนิ นการ มากกว่า 200 ล้านบาท อุตสาหกรรม ขนาดใหญ่ ได้แก่ อุตสาหกรรมผลิ ต แบตเตอรี่ อุตสาหกรรมถลุงเหล็ก เป็ นต้น อุตสาหกรรมขนาดใหญ่มีระบบการจัดการ ที่ดี ใช้คนที่มีความรู ้ ทักษะ ความสามารถ เฉพาะด้านหลายสาขา เช่น วิศวกรรม อิเล็กทรอนิ กส์ ในการดำาเนิ นงานผลิตมี กรรมวิธีที่ยงุ่ ยาก ใช้เครื่ องจักร คนงาน เงินทุน จำานวนมากขึ้น มี กระบวนการผลิตที่ ทนั สมัยและ ผลิ ตสิ นค้าได้ทีละมาก ๆ มีการว่าจ้างบุ คคลระดับผูบ้ ริ หารที่ มีความสามารถ
อาชีพพาณิชยกรรมและอาชีพบริการ อาชี พพาณิชยกรรม เป็ นการประกอบอาชี พที่ เป็ นการแลกเปลี่ยนระหว่างสิ นค้า กับเงิ น ส่ วนใหญ่จะมี ลักษณะเป็ นการซื้ อมาและขายไป ผูป้ ระกอบอาชีพทางพาณิ ชยกรรมจัดเป็ น คนกลาง ซึ่งทำาหน้าที่ซ้ื อสิ นค้าจากผู ้ ผลิตและนำามาขายต่อให้แก่ผบู้ ริ โภค ประกอบด้วย การค้าส่ ง และการค้าปลีก โดยอาจจัดจำาหน่ ายในรู ปของการ ขายตรงหรื อขายอ้อม อาชีพบริการ หมายถึง อาชีพที่ทาำ ให้เกิดความพอใจแก่ผซู ้ ้ือ การบริ การ อาจเป็ นสิ นค้าที่มีตวั ตน หรื อไม่มีตวั ตน การบริ การที่มีตวั ตน ได้แก่ บริ การขนส่ ง บริ การทางการเงิน ส่ วนบริ การที่ไม่มีตวั ตน ได้แก่ บริ การท่องเที่ยว บ ริ ก า ร รั ก ษ า พ ย า บ า ล เ ป็ น ต้ น
อาชี พพาณิชยกรรม จึงเป็ นตัวกลางในการขายสิ นค้า หรื อบริ การต่าง ๆ นับตั้งแต่ การนำาวัตถุดิบจากผูผ้ ลิตทาง ด้านเกษตรกรรม ตลอดจนสิ นค้าสำาเร็ จรู ป จากโรงงานอุตสาหกรรม รวมทั้งคหกรรม ศิลปกรรม หัตถกรรม ไป ให้ผซู ้ ้ื อ หรื อผูบ้ ริ โภค อาชีพพาณิ ชยกรรมจึงเป็ น กิจกรรมที่สอดแทรกอยูท่ ุกอาชีพ ในการประกอบอาชีพพาณิ ช ยกรรม หรื อบริ การ ผูป้ ระกอบอาชีพ จะต้องมีความสามารถในการจัดหา มีความคิดริ เริ่ ม และมีคุณธรรม จึงจะ ทำา ใ ห้ ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ เ จ ริ ญ ก้ า ว ห น้ า
อาชีพคหกรรม การประกอบอาชีพคหกรรม ได้แก่ อาชีพที่เกี่ยวกับการประกอบอาหาร ขนม การตัดเย็บ การเสริ มสวย ตัดผม เ ป็ น ต้ น
อาชีพหัตถกรรม การประกอบอาชีพหัตถกรรม ได้แก่ อาชีพที่เกี่ยวกับงานช่าง โดยการใช้มือใน การผลิตชิ้นงานเป็ นส่ วน ใหญ่ ได้แก่ อาชีพ จักสาน แกะสลัก ทอผ้าด้วยมือ ทอเสื่ อ เป็ นต้น อาชี พศิ ลปกรรม การประกอบ อาชีพศิลปกรรม ได้แก่ อาชี พเกี่ยวข้องกับ การแสดงออกในลักษณะต่าง ๆ เช่น ก า ร ว า ด ภ า พ ก า ร ปั้ น ก า ร ด น ต รี ล ะ ค ร ก า ร โ ฆ ษ ณ า ถ่ า ย ภ า พ เ ป็ น ต้ น
ด้ า น ทั ก ษ ะ (ป ฏิ บั ติ )
(จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ เ ชิ ง พ ฤ ติ ก ร ร ม ข้ อ ที่
1-3)
1. (แบบฝึ กหัด หน่วยที่ 1)
• ด้านคุณธรรม/จริยธรรม/จรรยาบรรณ/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง (จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรมข้อที่ 4-5) 1. การเตรี ยมความพร้อมด้านการเตรี ยม วัสดุ อุปกรณ์นกั ศึกษาจะต้องกระจายงานได้ทวั่ ถึง และตรงตาม ความสามารถของสมาชิกทุกคน มีการจัดเตรี ยมสถานที่ สื่ อ วัสดุ อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรี ยง 2. ความมีเหตุมีผลในการปฏิบตั ิงาน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นักศึกษาจะต้องมีการใช้ เทคนิคที่แปลกใหม่ใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการนำาเสนอที่น่าสนใจนำาวัสดุในท้องถิ ่นมาประยุกต์ ใช้ อย่างคุม้ ค่าและประหยัด
กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้ ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู 1. ขั้นนำาเข้ าสู่ บทเรียน (15 นาที ) จัดให้นกั เรี ยนศึกษาคำาศัพท์ในบทเรี ยน 1. ผูส้ อนจัดเตรี ยมเอกสาร พร้อมกับแนะนำา รายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรี ยนเรื่ อง ความรู ้เกี่ยวกับอาชีพ 2. ผูส้ อนแจ้งจุดประสงค์การเรี ยนของหน่วย เรี ยนที่ 1 และขอให้ผเู้ รี ยนร่ วมกันทำากิจกรรมการ เรี ยนการสอน 3. ผูส้ อนให้ผเู้ รี ยนแสดงความรู้เกี่ยวกับความรู ้ เกี่ยวกับอาชีพ
ขั้นตอนการเรียนรู้ หรือกิจกรรมของนักเรียน
1. ขั้นนำาเข้ าสู่ บทเรียน (15 นาที ) นักเรี ยนศึกษาคำาศัพท์ในบทเรี ยน 1. ผูเ้ รี ยนเตรี ยมอุปกรณ์และ ฟังครู ผสู ้ อนแนะนำา รายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรี ยนเรื่ อง ความรู ้ เกี่ยวกับอาชีพ 2. ผูเ้ รี ยนทำาความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การ เรี ยนของหน่วยเรี ยนที่ 1 และการให้ความร่ วมมือใน การทำากิจกรรม 3. ผูเ้ รี ยนแสดงความรู ้ความรู ้เกี่ยวกับความรู ้เกี่ยว กับอาชีพ 2. ขั้นให้ ความรู้ (75 นาที ) 2. ขั้นให้ ความรู้ (75 นาที) 1. ผูส้ อนแนะนำาวิธีการใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วย 1. ผูส้ อนแนะนำาวิธีการใช้บทเรี ยน สอน หน่วยที่ 1 ความรู ้เกี่ยวกับอาชีพและให้ผเู ้ รี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน หน่วยที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับ ศึกษาเอกสารประกอบการสอน ความรู ้เกี่ยวกับ อาชีพ และให้ผเู้ รี ยนศึกษาเอกสารประกอบการสอน คอมพิวเตอร์ หน่วยที่ 1 หน้าที่ 1-18 ความรู ้เกี่ยวกับงานอาชีพ หน่วยที่ 1 หน้าที่ 1-18 2.ผูส้ อนและผูเ้ รี ยนร่ วมกันอธิ บายเกี่ยวกับ ความรู ้ 2. ผูส้ อนและผูเ้ รี ยนร่ วมกันอธิบายเกี่ยวกับ เกี่ยวกับอาชีพ ตามที่ได้ศึกษาจากบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ความรู ้เกี่ยวกับอาชีพ ตามที่ได้ศึกษาจากบทเรี ยน ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน 3.อาจารย์ผสู ้ อนคอยให้คาำ แนะนำาแก่ผเู ้ รี ยน 3. อาจารย์ผสู้ อนคอยให้คาำ แนะนำาแก่ผเู้ รี ยน
กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้ ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู
ขั้นตอนการเรียนรู้ หรือกิจกรรมของนักเรียน
3. ขั้นประยุกต์ ใช้ ( 105 นาที ) 3. ขั้นประยุกต์ ใช้ ( 105 นาที ) 1. ผูส้ อนให้ผเู้ รี ยนทำาแบบฝึ กหัด หน่วยที่ 1 1. ผูเ้ รี ยนทำาแบบฝึ กหัด หน่วยที่ 1 หน้าที่ 16 หน้าที่ 16 เรื่ อง ความรู้เกี่ยวกับอาชีพ เรื่ อง ความรู ้เกี่ยวกับอาชีพ 2. ผูส้ อนให้ผเู้ รี ยนสื บค้นข้อมูลจากอินเทอร์ เน็ต 2. ผูเ้ รี ยนสื บค้นข้อมูลจากอินเทอร์ เน็ต
4. ขั้นสรุ ปและประเมินผล ( 30 นาที ) 1. ผูส้ อนและผูเ้ รี ยนร่ วมกันสรุ ปเนื้ อหาที่ได้ เรี ยนให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน 2. ผูส้ อนให้ผเู้ รี ยนศึกษาเพิม่ เติมนอกห้องเรี ยน ด้วยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่จดั ทำาขึ้น
(บรรลุจุดประสงค์ เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-3)
(รวม 240 นาที หรือ 4 คาบเรียน)
4. ขั้นสรุ ปและประเมินผล ( 30 นาที ) 1. ผูส้ อนและผูเ้ รี ยนร่ วมกันสรุ ปเนื้ อหาที่ได้เรี ยน เพื่อให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน 2. ผูเ้ รี ยนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรี ยน ด้วยบท เรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนที่จดั ทำาขึ้น
(บรรลุจุดประสงค์ เชิงพฤติกรรมข้ อที่ 1-3)
งานทีม่ อบหมายหรือกิจกรรมการวัดผลและประเมินผล ก่ อนเรียน 1. จัดเตรี ยมเอกสาร สื่ อการเรี ยนการสอนหน่วยที่ 1 2. ทำาความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การเรี ยนของหน่วยที่ 1 และให้ความร่ วมมือในการทำากิจกรรมใน หน่วยที่ 1
ขณะเรียน -
หลังเรียน 1. ทำาแบบประเมินการเรี ยนรู้ 2. ทำาแบบฝึ กหัด หน่วยที่ 1
คำาถาม -
ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสำ าเร็จของผู้เรียน
กิจกรรมที่ 1 เรื่ อง ความรู้เกี่ยวกับอาชีพ
สมรรถนะทีพ่ งึ ประสงค์
ผูเ้ รี ยนสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ ความรู ้เกี่ยวกับอาชีพ 1. วิเคราะห์และตีความหมาย 2. ตั้งคำาถาม 3. อภิปรายแสดงความคิดเห็นระดมสมอง 4. การประยุกต์ความรู้สู่งานอาชีพ
สมรรถนะการสร้ างค่ านิยม
ปลูกฝังคุณธรรม จริ ยธรรม
สมรรถนะการปฏิบัติงานอาชีพ 1. ตระหนักถึงความสำาคัญของอาชีพได้
สมรรถนะการขยายผล -
สื่อการเรียนการสอน/การเรียนรู้ สื่ อสิ่ งพิมพ์ 1. เอกสารประกอบการสอนวิชา ความรู ้เกี่ยวกับงานอาชีพ (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์ เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-3) 2. แบบฝึ กหัด หน่วยที่ 1 เรื่ อง ความรู ้เกี่ยวกับอาชีพ (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนขั้นให้ความรู ้ เพื่อให้บรรลุจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-3) 3. แบบประเมินผูเ้ รี ยนในชั้นเรี ยน ใช้ประกอบการสอนขั้นประยุกต์ใช้ ข้อ 1-3 สื่ อโสตทัศน์ (ถ้ ามี) 1. บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่ อง ความรู ้เกี่ยวกับอาชีพ
สื่ อของจริง 1. ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-3)
แหล่ งการเรียนรู้
ในสถานศึกษา 1. ห้องสมุดวิทยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร 2. ห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ศึกษาหาข้อมูลทางอินเทอร์ เน็ต นอกสถานศึกษา -
การบูรณาการ/ความสั มพันธ์ กบั วิชาอืน่ 1. บูรณาการกับวิชาชีวิตและวัฒนธรรมไทย ด้านการพูด การอ่าน การเขียน และการฝึ กปฏิบตั ิตนทาง สังคมด้านการเตรี ยมความพร้อม ความรับผิดชอบ และความสนใจใฝ่ รู ้ 2. บูรณาการกับวิชาการบริ หารการจัดซื้ อ ด้านการซื้อ การแสวงหาผลิตภัณฑ์ 3. บูรณาการกับวิชากีฬาเพื่อพัฒนาสุขภาพและบุคลิกภาพ ด้านบุคลิกภาพในการนำาเสนอหน้าชั้นเรี ยน 4. บูรณาการกับวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ ด้านการเลือกใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด
การประเมินผลการเรียนรู้
• หลักการประเมินผลการเรียนรู้ ก่ อนเรียน -
ขณะเรียน 1. ตรวจผลงานตาม แบบฝึ กหัด หน่วยที่ 1 2. สังเกตการทำางาน
หลังเรียน
-
ผลงาน/ชิ้นงาน/ผลสำ าเร็จของผู้เรียน
แบบฝึ กหัด หน่วยที่ 1 เรื่ อง ความรู ้เกี่ยวกับอาชีพ
แบบประเมินผลการนำาเสนอผลงาน ชื่อกลุ่ม……………………………………………ชั้น………………………ห้อง........................... รายชื่อสมาชิก
ที่ 1 2 3 4
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขที่……. 3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขที่……. คะแนน รายการประเมิน ข้อคิดเห็น 3
2
1
เนื้อหาสาระครอบคลุมชัดเจน (ความรู้เกี่ยวกับเนื้ อหา ความถูกต้อง ปฏิภาณในการตอบ และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า) รู ปแบบการนำาเสนอ การมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกลุ่ม ำ ยง ซึ่งทำาให้ผฟู้ ังมีความ บุคลิกลักษณะ กิริยา ท่าทางในการพูด น้าเสี สนใจ รวม ผูป้ ระเมิน………………………………………………… เกณฑ์ การให้ คะแนน 1. เนื้ อหาสาระครอบคลุมชัดเจนถูกต้อง 3 คะแนน = มีสาระสำาคัญครบถ้วนถูกต้อง ตรงตามจุดประสงค์ 2 คะแนน = สาระสำาคัญไม่ครบถ้วน แต่ตรงตามจุดประสงค์ 1 คะแนน = สาระสำาคัญไม่ถูกต้อง ไม่ตรงตามจุดประสงค์ 2. รู ปแบบการนำาเสนอ 3 คะแนน = มีรูปแบบการนำาเสนอที่เหมาะสม มีการใช้เทคนิคที่แปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยี ประกอบการ นำาเสนอที่น่าสนใจ นำาวัสดุในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้อย่างคุม้ ค่าและประหยัด คะแนน = มีเทคนิคการนำาเสนอที่แปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการนำาเสนอที่น่าสน ใจ แต่ขาด การประยุกต์ใช้ วัสดุในท้องถิ่น 1 คะแนน = เทคนิคการนำาเสนอไม่เหมาะสม และไม่น่าสนใจ 3. การมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกลุ่ม 3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม 2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญ่มีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม 1 คะแนน = สมาชิกส่วนน้อยมีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม 4. ความสนใจของผูฟ้ ัง 3 คะแนน = ผูฟ้ ังมากกว่าร้อยละ 90 สนใจ และให้ความร่ วมมือ 2 คะแนน = ผูฟ้ ังร้อยละ 70-90 สนใจ และให้ความร่ วมมือ 1 คะแนน = ผูฟ้ ังน้อยกว่าร้อยละ 70 สนใจ และให้ความร่ วมมือ
เฉลยแบบฝึ กหัด หน่ วยที่ 1 เรื่อง ความรู้ เกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ คำาสั่ ง ให้นกั เรี ยนนำาตัวอักษรทางด้านขวามือมาเติมให้สมั พันธ์กนั
แบบฝึ กหัดหน่ วยที่ 1 คำาสั่ ง จงทำาเครื่ องหมาย (x) ลงหน้าข้อที่ถูกที่สุด 1. ข้อใด ไม่ใช่ ความหมายของอาชีพ 1. การทำากิจกรรมต่างๆ ที่มีผลตอบแทน 2. การทำางานเพื่อหารายได้ 3. การประกอบการที่เป็ นโทษแก่สงั คม เพื่อสร้างรายได้ 4. การกระทำาทุกสิ่ งทุกอย่างเพื่อให้ผลตอบแทน และไม่เป็ นโทษต่อผูอ้ ื่น 2. แอนมีความรู ้ความสามารถเฉพาะด้าน ฉะนั้นแอนมีคุณลักษณะของอาชีพตรงตามข้อใด 1. วิชาชีพ 2. สัมมาชีพ 3. มิจฉาชีพ 4. อาชีพ 3. ข้อใด ต่างจากพวก 1. อาชีพเกษตรกรรม 2. อาชีพรับจ้าง 3. อาชีพอุตสาหกรรม 4. อาชีพหัตถกรรม 4. ข้อใด คือ อาชีพที่สาำ คัญของประเทศไทย 1. อาชีพเกษตรกรรม 2. อาชีพรับจ้าง 3. อาชีพอุตสาหกรรม 4. อาชีพหัตถกรรม 5. เพราะเหตุใด ประเทศไทยถึงได้รับคำากล่าวว่า “เมืองไทยเป็ นอูข ่ า้ วอูน่ าของดิ ้ำ นแดน แหลมทอง” 1. เพราะประชากรของไทยประกอบอาชีพเกษตรกรรมไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 60 2. เพราะส่งออกข้าวเป็ นอันดับ 1 3. เพราะเป็ นอาชีพหลักของประเทศ 4. เพราะมีสภาพภูมิอากาศที่เหมาะสม
6.
ข้อใด คือ อาชีพบริ การ 1. บริ การเสริ มสวย
การโฆษณา 3. บริ การตัดเย็บ 4. บริ การท่องเที่ยว เพราะเหตุใดอาชีพรับจ้าง ถึงไม่มีความเสี่ ยงกับการลงทุน 1. เพราะไม่มีค่าใช้จ่าย 2. เพราะไม่ใช่หน้าที่ของลูกจ้าง 3. เพราะลูกจ้างไม่มีเงิน 4. เพราะลูกจ้างจะใช้เครื่ องมือที่นายจ้างจัดมา ข้อใด คือ ข้อดีของการมีงานทำา 1. จะได้รับความน่าเชื่อถือ 2. ไม่ตอ้ งอดทนผูอ้ ื่น 3. เกิดการแย่งชิง 4. มีการพัฒนาประเทศน้อยลง ข้อใด คือ ความสำาคัญของอาชีพ 1. ทำาให้สงั คมยอมรับว่าเป็ นบุคคลชั้นสู ง 2. สร้างความเกรงกลัวให้บุคคลทัว่ ไป 3. ทำาให้กิจกรรมสังคมมีการเคลื่อนไหว 4. สังคมเปลี่ยนแปลงช้าลง ข้อใด ไม่ใช่ อาชีพที่จะทำางานได้อย่างเสรี ทวั่ ทั้งอาเซียน 1. ครู 2. แพทย์ 3. นักบัญชี 4. พยาบาล 2.
7.
8.
9.
10.
แบบประเมินกระบวนการทำางานกลุ่ม ชื่อกลุ่ม……………………………………………ชั้น………………………ห้อง...........................
รายชื่อสมาชิก
ที่ 1 2 3 4
1……………………………………เลขที่…….
2……………………………………เลขที่…….
3……………………………………เลขที่…….
4……………………………………เลขที่…….
รายการประเมิน การกำาหนดเป้ าหมายร่ วมกัน การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบและการเตรี ยมความพร้อม การปฏิบตั ิหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย การประเมินผลและปรับปรุ งงาน รวม
คะแนน 3
2
1
ข้อคิดเห็น
ผูป้ ระเมิน………………………………………………… วันที่…………เดือน……………………..พ.ศ…………...
เกณฑ์ การให้ คะแนน 1. การกำาหนดเป้ าหมายร่ วมกัน 3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมีส่วนร่ วมในการกำาหนดเป้ าหมายการทำางานอย่างชัดเจน 2 คะแนน = สมาชิกส่ วนใหญ่มีส่วนร่ วมในการกำาหนดเป้ าหมายในการทำางาน 1 คะแนน = สมาชิกส่ วนน้อยมีส่วนร่ วมในการกำาหนดเป้ าหมายในการทำางาน 2. การมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบและการเตรี ยมความพร้อม 3 คะแนน = กระจายงานได้ทวั่ ถึง และตรงตามความสามารถของสมาชิกทุกคน มีการจัดเตรี ยมสถานที่ สื่ อ / อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรี ยง 2 คะแนน = กระจายงานได้ทวั่ ถึง แต่ไม่ตรงตามความสามารถ และมีสื่อ / อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรี ยง แต่ขาด การจัดเตรี ยมสถานที่ 1 คะแนน = กระจายงานไม่ทวั่ ถึงและมีสื่อ / อุปกรณ์ไม่เพียงพอ 3. การปฏิบตั ิหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 3 คะแนน = ทำางานได้สาำ เร็ จตามเป้ าหมาย และตามเวลาที่กาำ หนด 2 คะแนน = ทำางานได้สาำ เร็ จตามเป้ าหมาย แต่ชา้ กว่าเวลาที่กาำ หนด 1 คะแนน = ทำางานไม่สาำ เร็ จตามเป้ าหมาย 4. การประเมินผลและปรับปรุ งงาน 3 คะแนน = สมาชิกทุกคนร่ วมปรึ กษาหารื อ ติดตาม ตรวจสอบ และปรับปรุ งงานเป็ นระยะ 2 คะแนน = สมาชิกบางส่ วนมีส่วนร่ วมปรึ กษาหารื อ แต่ไม่ปรับปรุ งงาน 1 คะแนน = สมาชิกบางส่ วนไม่มีส่วนร่ วมปรึ กษาหารื อ และปรับปรุ งงาน
บันทึกหลังการสอน
หน่ วยที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับอาชีพ ผลการใช้ แผนการเรียนรู้ 1. เนื้อหาสอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 2. สามารถนำาไปใช้ปฏิบตั ิการสอนได้ครบตามกระบวนการเรี ยนการสอน 3. สื่ อการสอนเหมาะสมดี
ผลการเรียนของนักเรียน 1. นักศึกษาส่วนใหญ่มีความสนใจใฝ่ รู ้ เข้าใจในบทเรี ยน อภิปรายตอบคำาถามในกลุ่ม และร่ วมกัน ปฏิบตั ิใบงานที่ได้รับมอบหมาย 2. นักศึกษากระตือรื อร้นและรับผิดชอบในการทำางานกลุ่มเพื่อให้งานสำาเร็ จทันเวลาที่กาำ หนด
ผลการสอนของครู 1. สอนเนื้อหาได้ครบตามหลักสูตร 2. แผนการสอนและวิธีการสอนครอบคลุมเนื้ อหาการสอนทำาให้ผสู ้ อนสอนได้อย่างมัน่ ใจ 3. สอนได้ทนั ตามเวลาที่กาำ หนด