รอบบึง แก่น หนังสือภาพประกอบ ที่รวมเเก่น ของบึงเเก่นนคร
แก่ น ที่ 1 บึ ง เเก่ น นคร
4
5
บึ ง เเก่ น นคร 6
บึงแก่นนครตัง้ อยูใ่ นเขต เทศบาลกลางเมืองขอนแก่น เป็น บึ ง ขนาดใหญ่ มี เ นื้ อ ที่ 603 ไร่ นอกจากจะเป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐาน อนุสาวรีย์ “เจ้าเพียเมืองแพน” ผู้ ก่อตัง้ เมืองขอนแก่นแล้ว ทีน่ ยี่ งั เป็น สถานทีท่ นี่ ยิ มมาพักผ่อนหย่อนใจ และท�ำกิจกรรมนันทนาการของ ชาวเมื อ งเพราะมี บ รรยากาศ สบายๆ พื้ น ที่ โ ดยรอบมี ก าร
ปรั บ ปรุ ง ตกแต่ ง ให้ เ ป็ น สวน สุ ข ภาพ ประดั บ ประดาด้ ว ย ประติมากรรมรูปต่างๆ ดูเพลินตา เพลินใจ ยิง่ ไปกว่านัน้ ทางเทศบาล ยังปลูกต้นคูณ และไม้ดัดไว้โดย รอบเพิ่มความร่มรื่นสวยงามให้ กับสถานที่ยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมี สนามเด็กเล่นและร้านอาหารเปิด บริการหลายประเภทอีกด้วย การเดิ น ทางมายั ง บึ ง
แก่นนครมาได้หลายทาง เส้นทางที่ สะดวกที่สุดน่าจะเป็นถนนกลาง เมื อ ง มุ ่ ง หน้ า มาทางหนองแวง เมืองเก่า สังเกตุพระมหาธาตุแก่น นคร (พระธาตุ 9 ชั้น) ที่สวยงาม ที่สุดของจังหวัดขอนแก่น ข้างวัด หนองแวงมีซอยทะเลุถนนรอบบึง ได้ บึ ง แก่ น นครเป็ น บึ ง ที่ มี ข นาด ใหญ่ มี ก ารขุ ด ลอกและปรั บ ทัศนียภาพตั้งแต่สมัยเรายังเป็น
เด็ ก หลั ง จากนั้ น การสร้ า งสวน สาธารณะรอบบึงและรั้วกั้นตลอด รอบบึงทั้งหมดเพื่อ ก�ำหนดเวลา เปิ ด -ปิ ด ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ป้ อ งกั น การ มั่วสุมรอบบริเวณบึงที่กว้างขวาง แห่งนี้ ความร่มรื่นของต้นไม้นานา ชนิดล้อมบึงน�ำ้ ขนาดใหญ่ จึงท�ำให้ บึงแก่นนครเป็นสถานที่ท่องเที่ยว พักผ่อนที่ใหญ่ที่สุดของขอนแก่น
แต่ ล ะวั น มี ค นมาพั ก ผ่ อ นที่ นี่ จ�ำนวนมาก ไม่ว่าจะนั่งเล่นชมวิว กินลม หรือจะออกก�ำลังกายมีทั้ง การวิง่ จ๊อกกิง้ การเดินเล่น รวมทัง้ กี ฬ าทางน�้ ำ อย่ า งเรื อ ที บ ก็ มี เหมือนกัน บรรยากาศรอบบึงแก่น นครรายล้อมไปด้วยร้านอาหาร มากมายหลายร้ า น เลื อ กขั บ รถ รอบบึงหาร้านทีถ่ กู ใจนัง่ สัง่ อาหาร
เข้ามากินริมบึงเป็นกิจกรรมทีน่ ยิ ม กันมาก หลังจากที่สวนสาธารณะ บึงแก่นนครปิดแล้ว ก็ยงั คงมีคนมา นัง่ กินตามร้านอาหารทีเ่ ปิดในเวลา กลางคืนกันไม่น้อย
7
แก่ น ที่ 2 “ เลาะบึ ง ตื่ ม บุ ญ ”
8
9
“ เลาะบึ ง ตื่ ม บุ ญ ” จากกิจกรรมมากมายเเละความสวยงาม ต่างๆเทศบาลนครขอนแก่น จึงได้เปิดตัวโครงการ Khon Kaen City Tour ไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ 9 แห่ง รอบ บึงแก่นนคร “เลาะบึงตื่มบุญ” ได้แก่ 1.อนุสาวรีย์ พระนครศรีบริรักษ์ (การเริ่มต้นที่ส�ำเร็จ) 2.วัดธาตุ พระอารามหลวง (ความเป็นสิริมงคล) 3.ศาลเจ้าพ่อ มเหศั ก ดิ์ (ยศถาบรรดาศั ก ดิ์ อ� ำ นาจ บารมี ) 4.วัดกลางเมืองเก่า (ชีวิตที่เดินทางสายกลาง การมี สติ การรู้ประมาณ การรู้พอเพียง) 5.วัดหนองแวง พระอารามหลวง (ความก้าวหน้ารุ่งเรือง เลื่อนขั้น เลือ่ นต�ำแหน่ง) 6.ศาลเจ้าแม่สองนาง (สุขภาพแข็งแรง ความส�ำเร็จ ความรัก) 7.วัดเสาเดียว (ความมัน่ คงใน ชีวิต) 8.เจ้าแม่กวนอิม (ความเมตตา ความเจริญ รุ่งเรือง) 9.ศาลเจ้าปึงเถ่ากง-ม่าและศาลเจ้าปู่ญาครู
10
เย็น (โชคลาภ เจริญรุ่งเรือง ค้าขาย ร่มเย็นเป็นสุข) โดยหวั ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า จะเป็ น การจุ ด ประกายให้คนขอนแก่นเกิดความรัก ความผูกพัน ความหวงแหน และมีความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของ ตนเอง ตลอดจนยังเป็นการส่งเสริมการท่องเทีย่ วของ จังหวัดขอนแก่นอีกช่องทางหนึ่งด้วย โดยในที่ประชุม ได้แสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกีย่ วกับการเตรี ยมความพร้อมในด้านต่างๆ เช่น การประชุมกลุม่ ผูท้ ี่ เกี่ยวข้อง (กลุ่มสมาคมธุรกิจการท่องเที่ยว ,กลุ่ม จ�ำหน่ายดอกไม้ ธูป เทียน, กลุ่มผู้ดูแลสถานที่ทั้ง 9 แห่ง, กลุ่มมัคคุเทศก์ และกลุ่มพนักงานขับรถ) การ บริหารจัดการเกี่ยวกับสถานที่จอดรถ บริการที่พัก ห้องน�ำ ้ ฯลฯ การอบรมมัคคุเทศก์และเจ้าหน้าทีป่ ระจ�ำ รถ หรือ การประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
“Khon Kaen City Tour”
11
แก่ น ที่ 3
สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ 9 แห่ ง รอบบึ ง แก่ น นคร
12
13
14
อนุสาวรียท์ า้ วเพียเมืองแพน เป็นอนุสาวรีย์ ที่สร้างเมื่อปี พ.ศ.2545 เพื่อระลึกถึงผู้สร้างเมือง ขอนแก่นตั้งอยู่ที่บริเวณสนาม เจ ซี (เดิม) ริมบึงแก่น นคร ฝัง่ ตรงข้างด้านทิศตะวันออกสถานีโทรทัศน์ชอ่ ง 11 ขอนแก่น(เดิม) ในช่วงเทศกาลประเพณีสงกรานต์ ชาวขอนแก่นได้ประกอบพิธบี วงสรวงอนุสาวรีย์ “ท้าว เพี ย เมื อ งแพน” เป็ น ประจ� ำ ทุ ก ปี เ พื่ อ ความเป็ น ศิริมงคลแก่ตนเองและครอบครัว รวมทั้งปกป้องคุ้ม ประชาชนชาวเมืองขอนแก่นให้มคี วามสุขความเจริญ
อนุ ส าวรี ย ์ พระนครศรี บ ริ รั ก ษ์
(การเริ่ ม ต้ น ที่ ส� ำ เร็ จ ) 15
วัดธาตุ พระอารามหลวง ตัง้ อยู่เลขที่ 237 ถนนกลางเมือง (บ้าน เมืองเก่า) ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง ขอนแก่น จังหวัดขอนแก่นสังกัดคณะ สงฆ์ ม หานิ ก าย สร้ า งขึ้ น เมื่ อ พ.ศ. 2332 โดยพระนครศรี บ ริ รั ก ษ์ บ รม ราชภั ก ดี (เพี้ ย เมื อ งแพน) เจ้ า เมื อ ง ขอนแก่น เป็นผู้ก่อสร้างขึ้นพร้อมกับ การตั้งเมืองขอนแก่น และได้สร้างพระ ธาตุขนึ้ เป็นปูชนียสถานทีเ่ คารพสักกา ระของชาวเมืองขอนแก่น จึงเรียกชือ่ วัด นีว้ า่ “วัดธาตุ” ในปี พ.ศ. 2554 ทีผ่ า่ น มาคณะกรรมการบริหารวัดธาตุ พระ อารามหลวง ซึ่ ง มี เ จ้ า อาวาส เป็ น
ประธานและผู ้ ช ่ ว ยเจ้ า อาวาส เป็ น กรรมการได้ ท� ำ โครงการบู ร ณะและ ปฏิสงั ขรณ์วหิ ารคดเจดียพ ์ ระธาตุนคร เดิมขึ้นเพื่อเปิดโอกาสให้สาธุชนพุทธ บริษัทผู้ใจบุญทั้งหลาย ได้เข้าไปกราบ ไหว้สักการะ พระบรมสารีริกธาตุของ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า และหลวงพ่อ พระลับพระคู่เมืองชาวขอนแก่นเพื่อ ความเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต แก่หน้าที่ การงานของตนอันเป็นการช่วยท�ำท�ำนุ บ�ำรุงพุทธสถานซึ่งเป็นสิ่งอันประเสริฐ ให้อยู่คู่กับเมืองขอนแก่นตราบนานเท่า นาน
วั ด ธาตุ
พระอารามหลวง
(ความเป็ น สิ ริ ม งคล) 16
17
สร้ า งเมื่ อ พ.ศ. 2332โดย พระนครศรีบริรักษ์พร้อมกับการตั้ง เมืองขอนเเก่นและมีการปรับโฉมในปี 2537ซึ่งการตั้งบือบ้านเเละสร้างศาล เจ้าพ่อมเหศักดิ์นั้นเป็นไปตามความ เชือ่ ของชาวอีสานในฮีตสิบสอง คองสิบ สี่ ทีก่ ล่าวถึงสมบัตคิ นู เมือง ซิง่ เป็นคอง ของเจ้าเมือง 14 ข้อในนัน้ ระบุวา่ ต้องมีบื อบ้าน หรือ สะดือบ้าน หรือ ศูนย์กลาง ของบ้านของเมือง ตั้งอยู่เเละอีกข้อคือ ต้องมีเมฆเมือง โดยความเชือ่ นัน้ เจ้าพ่อ
มเหศักดิ์คือ พระอินทร์เทวาดาผู้ยิ่ง ใหญ่ มี อ� ำ นาจ บารมี คอยปกป้ อ ง คุ้มครองบ้านเมืองให้ร่มเย็นเป็นสุข ใน อดีตเป็นศาลไม้ ต่อมาชาวบ้านชุมชน วัดกลาง ชุมชนวัดหนองเเวงชุมชนวัด ธาตุเเละเทศบาลนครขอนเเก่นได้รว่ มใจ บู ร ณะสร้ า งศาลใหม่ โ ดยมี รู ป เเบบ สถาปัตยกรรมเลียนเเบบขอมส่วนศาล ไม้เดิมได้ตั้งไว้ด้านหลังของศาลใหม่
ศาลเจ้ า พ่ อ มเหศั ก ดิ์
(ยศถาบรรดาศั ก ดิ์ อ� ำ นาจ บารมี ) 18
19
สร้ า งขึ้ น เมื่ อ พ.ศ. 2333โดยพระนตรศรีบริรักษ์ ใน อดีตใช้ประกอบพิธีถือน�้ำพิพัฒน์ สัตยาของข้าราชการก่อนเข้ารับ ต�ำเเหน่งหน้าที่ ซึ่งมีปูชณียวัตถุที่ ส�ำคัญ คือ1.หลวงพ่อใหญ่ พระ ประธานประจ�ำวัดกลาง สร้างเมื่อ พ.ศ. 2333 เป็นพระพุทธรูปปาง มารวิชัย ก่อด้วยอิฐปูนลงรักปิด ทอง หน้าตัก 5 ศอก นั่งขัดสมาธิ มี พ ระหั ตถเบื้ อ งขวาคว�่ำที่เ พลา ปลายนิว้ พระหัตถ์ชลี้ งเเผ่นดินเเละ มี ก ารบู ร ณะใหม่ เมื่ อ พ.ศ. 2510ราชสักการะมหามงคลเฉิม พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้า
อยู ่ หั ว ฯ เนื่ อ งในวโรกาสทรง พระชนมพรรษา 84 พรรษา ต้ น โพธิ์ ตั้ ง อยู ่ ด ้ า นทิ ศ ตะวันตกของอุโบสถ เกิดก่อนการ สร้างวัดมีความเชือ่ ว่าหากใครตัด กิ่งโพธิ์จะเจ็บป่วยหรือไม่ก็เลือด ตกยางออก ต้องท�ำพิธีขอขมาจึง จะหายเป็นปกติ 3.พรมหา ธาตุราชมัชฌิมาเฉลิมพระเกียรติ เริ่ ม สร้ า งเมื่ อ พ.ศ. 2553 เพื่ อ ถวายเป็นพุทธบูชาเเละถวายเป็น ราชสั ก การะมหามงคลเฉิ ม พระ เกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ หัวฯ เนื่ อ งในวโรกาสทรง พระชนมพรรษา 84 พรรษาในปี
วั ด กลาง เมื อ งเก่ า
20
(ชี วิ ต ที่ เ ดิ น ทางสายกลาง การมี ส ติ การรู ้ ป ระมาณ การรู ้ พ อเพี ย ง)
พ.ศ. 2554 มีการ คลี่คลายจากรู ปเเบบพระมหาเจดีย์ที่วัดไทยกุสิ นาราเฉลิมราชย์ ประเทศอินเดีย ลั ก ษณะเก้ ายอดสื่ อ ถึ ง รั ช กาลที่ เก้า รูปเเบบเจดีย์ฐานพระเจดีย์ กว้าง 9.84 ม. ยาว 9.8ม.ความสูง ถึงเรือนยอดสูงสุด 24 ม.นอกจาก นั้ น ยั ง เป็ น ที่ ตั้ ง ของส� ำ นั ก ศาสน ศึกษาโรงเรียนปริยัติธรรม คณะ สงฆ์จังหวัดขอนเเก่นเเละเป็นที่ตั้ง โรงเรียนประชาบาลเเห่งเเรกในจัง หวัดขอนเเก่น (ปัจจุบนั คือโรงเรียน วัดกลาง)
21
22
ตั้งอยู่ที่ถนนกลางเมือง ริมบึงแก่นนคร อ�ำเภอเมืองภายใน วัดหนองแวงเมืองเก่าซึ่งเป็นพระ อารามหลวงมีพระมหาธาตุแก่น นครหรื อ พระธาตุ เ ก้ า ชั้ น ฐาน สี่ เ หลี่ ย มกว้ า งด้ า นละ 50 เมตร เรื อ นยอดทรงเจดี ย ์ จ� ำลองแบบ จากพระธาตุขามแก่นจัดสร้างขึ้น เนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงครองสิ ริ ร าช สมบัติครบ 50 ปี และ มหามังคลา นุสรณ์ 200 ปี เมืองขอนแก่นความ สูงขององค์พระธาตุฯ 80 เมตร บ้านบึงบอนจึงกลายเป็นเมืองเก่า
ตั้งแต่นั้นมา ปัจจุบันตั้งอยู่ เลขที่ 593 ถนนกลางเมือง ต�ำบลในเมือง อ� ำ เภอเมื อ งขอนแก่ น จั ง หวั ด ขอนแก่ น ได้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมาครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2442โดยพระยานครศรีบริรักษ์ ( อู ๋ ) แ ล ะ ไ ด ้ รั บ พ ร ะ ร า ช ท า น วิสงุ คามสีมาครัง้ สุดท้าย เมือ่ วันที่ 27 สิ ง หาคม พ.ศ. 2527 เขต วิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร มีเนื้อที่ดินที่ตั้งวัด 26 ไร่ 65 ตารางวา โดยมีหนังสือแสดง กรรมสิทธิเ์ ป็นโฉนด 713 เลขที่ 28 หน้ า ส� ำ รวจ 794 เล่ ม ที่ 8 หน้ า
13ลักษณะพื้นที่ตั้งวัดและบริเวณ โดยรอบเป็ น ที่ ร าบเรี ย บ เป็ น ลักษณะ 6 เหลี่ยม มีหมู่บ้านล้อม รอบสามด้าน และมีบงึ แก่นนครอยู่ ทางทิศตะวันออกของวัด เคยได้รบั รางวัล เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง ปี พ.ศ. 2524 เป็นวัดพัฒนาดีเด่น ปี พ.ศ. 2526 และทรงพระกรุ ณ า โปรดเกล้าฯ ยกฐานะขึ้นเป็น พระ อารามหลวง ปี พ.ศ. 2527
วั ด หนองแวง
พระอารามหลวง
(ความก้ า วหน้ า รุ ่ ง เรื อ ง เลื่ อ นขั้ น เลื่ อ นต� ำ แหน่ ง ) 23
ศาลเจ้าแม่สองนางตั้งอยู่ ด้ า นทิ ศ ใต้ ข องบึ ง แก่ น นครในเขต เทศบาลนครขอนแก่น จากค�ำบอกเล่า ของชาวเมืองขอนแก่นทราบว่า เดิม เป็นศาลเรือนไม้สองหลัง ขนาดกว้าง 1 เมตร สูงประมาณ 150 เซนติเมตร มีลกั ษณะเหมือนศาลปูต่ า ภายในศาล ไม่มรี ปู เคารพแต่อย่างใด โดยเริม่ จาก พระราชธิดาสองนางซึ่งทราบต่อมา ภายหลังว่าผู้พี่ชื่อเจ้านางค�ำหมื่น ผู้ น้ อ งชื่ อ เจ้ า นางค� ำ แสนได้ พ าพวก พ้ อ งบริ ว ารอพยพโดยใช้ ช ้ า งเป็ น พาหนะเดินทางมาหาผู้เป็นน้าผู้เป็น เจ้าเมืองขอนแก่นก็คือท้าวเพียเมือง
แพนผู้ก่อตั้ง เมืองขอนแก่นนั่นเอง เมื่อมาถึงเมืองขอนแก่น เพียเมือง แพนผูเ้ ป็นน้าจึงจัดให้พกั อาศัยอยู่ ที่บ้านบึงบอน หรือบ้านเมืองเก่า ริมบึงแก่นนครในปัจจุบนั ภายหลัง เมื่อทั้งสองพระองค์สิ้นพระชนม์ ชาวเมืองในสมัยนัน้ จึงได้สร้างศาล ของพระนางขึ้นเพื่อเคารพสักกา ระ บูชา ผู้คนทั่วไปเรียกขนานนาม ศาลแห่งนี้ว่า ศาลเจ้าแม่สองนาง ตั้งแต่ นั้นเป็นต้นมา ตราบเท่าทุก วันนี้
ศาลเจ้าแม่ สองนาง
(สุ ข ภาพแข็ ง แรง ความส� ำ เร็ จ ความรั ก )
24
25
26
สร้างเมื่อ พ.ศ. 2551เพื่อเเสดงถึงความสัมพันธ์อันเเน่นเเฟ้นระหว่าง ไทยกับเวียดนาม จากความร่วมมือระหว่างเทศบาลนครขอนเเก่น กงสุล ใหญ่สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามประจ�ำจังหวัดขอนเเก่นเเละชาว ไทยเชื่อสายเวียดนามในจังหวัดขอนเเก่น มีสถาปัตยกรรมที่สร้างจ�ำ ลองเเบบจากวัดเสาวัดเดียวในกรุงฮานอยภายในประดิษฐานองค์พระ โพธิสัตว์ กวนอิม ร้อยมือพันตา ซึ่งอัญเชิญมาจากกรุงฮานอน
วั ด เสาเดี ย ว
(ความมั่ น คงในชี วิ ต )
27
สร้างเมื่อ พ.ศ. 2545โดย สมาคมปีงเถ่ากง-ม่า ขอนเเก่นตั้งอยู่ ในสวนหนานหนิง(สวนมิตรภาพไทย จีน)องค์เจ้าเเม่กวนอิมเเกะสลักด้วย หินสีเหลืองทรายทอง เเกนในมาจาก ภูเขาพระงาม จ.ลพบุรี ตามความเชือ่ ว่า เจ้าเเม่กวนอิมเป็นพระโพธิสัตว์ ของพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน เเละเป็นองค์เดียวกันกับพระอวโลกิเต ศวรโพธิสตั ว์ในภาษา-สันสกฤต ซึง่ มี
ต้นก�ำเนิดจากพระสูตรมหายานใน อินเดีย เเละได้ผสมผสานกับความ เชื่ อ พื้ น ถิ่ น ดั้ ง เดิ ม ของจี น คื อ ต�ำนานเรือ่ งพระธิดาเมีย่ วซ่าน ก่อ ให้เกิดเป็นพระโพธิสัตว์กวนอิม ภาคสตรี ขึ้ น เพื่ อ เเสดงออกถึ ง ความอ่อนโยน เเละความเมตตา กรุณาดังเช่นความรักของมารดา ที่มีต่อบุตร
เจ้ า แม่ ก วนอิ ม (ความเมตตา ความเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ ง)
28
29
30
ศาลเจ้าปึงเถ่ากง-ม่า ขอน เเก่น สร้างเมือ่ พ.ศ. 2504โดยการน�ำ ของเถ้าเเก่กิมฮง เเละชาวเมืองขอน เเก่นเป็นศาลเจ้าที่คนไทยเชื้อสายจีน เคารพนั บ ถื อ เเละศรั ท ธาเปรี ย บ เสมือนศาลเจ้าพ่อหลัก เมือง ภายใน ศาลเจ้ า พ่ อ หลั ก เมื อ ง ภายในศาล ประดิษฐานองค์ปงึ เถ่ากงขม่า องค์เจ้า เเม่ทับทิม เเละองค์เทพเจ้าไฉ่ซิงเอี๊ย (เทพเจ้าเเห่งโชคลาภ) องค์เทพเจ้าฟ้า ดิ น เเละองค์ ตี่ จู ่ เ อี๊ ย โดยช่ ว งเดื อ น พฤศจิกายนของทุกปี จะมีการจัดงาน
สมโภชศาลเจ้าปึงเถ่ากง-มา ตาม ความเชื่อว่า ในรอบปีเมื่อท่านได้ ดูเเลปกป้องรักษา ให้ท�ำมาหากิน อยู่เย็นเป็นสุขครั้นถึงปลายปีก่อน ที่ จ ะเข้ า สู ่ เ ทศกาลสิ้ น ปี ในฐานะ เทพยดาอารักษ์ทคี่ มุ้ ครองเภทภัย อั น ตรายเเก่ ผู ้ ท� ำ ความดี มี ศี ล ธรรมจะเดิ น ทางสู ่ ส รรค์ เ พื่ อ รา ยงานเง็กเซียนฮ่องเต้ ได้ทราบว่า ประชาชนมีความเป็นอยูอ่ ย่างไรจึง เป็นที่มาของการจัดงานเพื่อขอให้ ท่านปกป้องรักษาให้ท�ำมาหากิน
อยูเ่ ย็นเป็นสุขตลอดปี ส�ำหรับศาล เจ้าปูค่ รูเย็นตามประวัตใิ นอดีตนัน้ ได้มีการเกณฑ์เเรงงานราษฎรมา ปัน้ คันดินจากศาลากลางเเละจวน เจ้าเมืองไปยังวัดโพธิสาร บ้านโนน ทั น ต่ อ มามี ก ารทรงเจ้ า จึ ง รู ้ ว ่ า เมื่อผู้ ใดสัญจรผ่านไปมาเเล้วไม่ เคารพย�ำเกรงท่านจึงลงโทษโดย การท� ำ ให้ เ จ็ บ ป่ ว ยหรื อ เกิ ด อุบัติเหตุชาวบ้านจึงได้เปลี่ยนชื่อ ว่า“ศาลเจ้าปู่ญาครูเย็น” เพื่อที่จะ ท�ำให้ท่านใจเย็นลง
ศาลเจ้ า ปึ ง เถ่ า กง-ม่ า
และศาลเจ้ า ปู ่ ญ าครู เ ย็ น (โชคลาภ เจริ ญ รุ ่ ง เรื อ ง ค้ า ขาย ร่ ม เย็ น เป็ น สุ ข ) 31
32
ซึ่งในเบื้องต้นนี้ทางเทศบาลนครขอนแก่นจะเปิดให้บริการ City Tour แก่ ประชาชนและนักท่องเที่ยวฟรี วันละ 1 รอบ เวลา 16.00 น. และมีจุดสถานีที่ลานคุ้ม วัฒนธรรม บึงแก่นนคร (ใช้เวลาในการเดินทางประมาณ 2 ชั่วโมง 30 นาที) เป็นเวลา 3 เดือน เริ่มตั้งแต่วันที่ 8 สิงหาคม 2557 เป็นต้นไป โดยสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่ม เติมได้ที่ ส�ำนักการศึกษา เทศบาลนครขอนแก่น หมายเลขโทรศัพท์ 0-4322-5166 ทัง้ นี้ เทศบาลนครขอนแก่น หวังเป็นอย่างยิง่ ว่า โครงการนีจ้ ะเป็นอีกหนึง่ พลังขับเคลือ่ นทีท่ ำ� ให้ คนขอนแก่นเกิดความรัก ความผูกพัน ความหวงแหน และมีความภาคภูมิใจในท้องถิ่น ของตนเอง ตลอดจนยังเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัดขอนแก่นอีกช่องทาง หนึ่งด้วย
33
34
35
36