2
“ บึงแก่นนคร ” เเหล่งรวมวัฒนธรรมเเละสถานที่ส�ำคัญชาวขอนแก่น
3
4
บึงแก่นนครตั้งอยู่ในเขตเทศบาล กลางเมืองขอนแก่น เป็นบึงขนาดใหญ่ มีเนือ้ ที่ 603 ไร่ นอกจากจะเป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐาน อนุสาวรีย์ “เจ้าเพียเมืองแพน” ผู้ก่อตั้งเมือง ขอนแก่นแล้ว ที่นี่ยังเป็นสถานที่ที่นิยมมาพัก ผ่อนหย่อนใจ และท�ำกิจกรรมนันทนาการของ ชาวเมืองเพราะมีบรรยากาศสบายๆ พืน้ ทีโ่ ดย รอบมีการปรับปรุงตกแต่งให้เป็นสวนสุขภาพ ประดับประดาด้วยประติมากรรมรูปต่างๆ ดู เพลินตาเพลินใจ ยิง่ ไปกว่านัน้ ทางเทศบาลยัง ปลูกต้นคูณ และไม้ดัดไว้โดยรอบเพิ่มความ ร่มรื่นสวยงามให้กับสถานที่ย่ิงขึ้น นอกจากนี้ ยังมีสนามเด็กเล่นและร้านอาหารเปิดบริการ หลายประเภทอีกด้วย การเดินทางมายังบึงแก่นนครมาได้ หลายทาง เส้นทางที่สะดวกที่สุดน่าจะเป็น ถนนกลางเมือง มุง่ หน้ามาทางหนองแวง เมือง เก่า สังเกตุพระมหาธาตุแก่นนคร (พระธาตุ 9 ชั้น) ที่สวยงามที่สุดของจังหวัดขอนแก่น ข้าง วัดหนองแวงมีซอยทะเลุถนนรอบบึงได้ บึง แก่นนครเป็นบึงที่มีขนาดใหญ่ มีการขุดลอก และปรับทัศนียภาพตั้งแต่สมัยเรายังเป็นเด็ก หลังจากนั้นการสร้างสวนสาธารณะรอบบึง และรั้วกั้นตลอดรอบบึงทั้งหมดเพื่อ ก�ำหนด เวลาเปิด-ปิด ทั้งนี้เพื่อป้องกันการมั่วสุมรอบ บริเวณบึงที่กว้างขวางแห่งนี้ ความร่มรื่นของ ต้นไม้นานาชนิดล้อมบึงน�ำ้ ขนาดใหญ่ จึงท�ำให้
5
บึงแก่นนครเป็นสถานที่ท่องเที่ยวพัก ผ่อนทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ของขอนแก่น แต่ละวัน มีคนมาพักผ่อนที่นี่จ�ำนวนมาก ไม่ว่า จะนั่ ง เล่ น ชมวิ ว กิ น ลม หรื อ จะออก ก�ำลังกายมีทั้งการวิ่งจ๊อกกิ้ง การเดิน เล่น รวมทั้งกีฬาทางน�้ำอย่างเรือทีบ ก็ มีเหมือนกัน บรรยากาศรอบบึงแก่น นครรายล้ อ มไปด้ ว ยร้ า นอาหาร มากมายหลายร้าน เลือกขับรถรอบบึง หาร้านที่ถูกใจนั่ง สั่งอาหารเข้ามากิน ริมบึงเป็นกิจกรรมที่นิยมกันมาก หลัง จากที่สวนสาธารณะบึงแก่นนครปิด แล้ ว ก็ ยั ง คงมี ค นมานั่ ง กิ น ตามร้ า น อาหารที่ เ ปิ ด ในเวลากลางคื น กั น ไม่ น้อย ทิวทัศน์วิวสวยๆ ของบึงแก่นนคร ส่วนใหญ่จะไปริมบึงด้านตะวันออก แล้ ว มองเข้ า มาในตั ว เมื อ งจะเห็ น อาคารต่างๆ รวมทั้งวัดมหาธาตุที่อยู่ ริ ม บึ ง หรื อ จะเลื อ กมุ ม ที่ เ ห็ น พระ มหาธาตุแก่นนครชัดๆ ก็มีเหมือนกัน รอบบึงมีที่จอดรถและประตูทางเข้า เป็นจุดๆ ขับวนๆ หาเดี๋ยวก็ได้มุมวิว สวยถูกใจ
6
7
“ เลาะบึง
ตื่มบุญ
Khon Kaen City Tour
”
จากกิ จ กรรมมากมายเเละความสวยงาม ต่างๆเทศบาลนครขอนแก่น จึงได้เปิดตัวโครงการ Khon Kaen City Tour ไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ 9 แห่ง รอบ บึงแก่นนคร “เลาะบึงตื่มบุญ” ได้แก่ 1.อนุสาวรีย์ พระนครศรีบริรกั ษ์ (การเริม่ ต้นทีส่ ำ� เร็จ) 2.วัดธาตุ พระ อารามหลวง (ความเป็นสิริมงคล) 3.ศาลเจ้าพ่อมเหศั กดิ์ (ยศถาบรรดาศักดิ์ อ�ำนาจ บารมี) 4.วัดกลางเมือง เก่า (ชีวิตที่เดินทางสายกลาง การมีสติ การรู้ประมาณ การรูพ้ อเพียง) 5.วัดหนองแวง พระอารามหลวง (ความ ก้าวหน้ารุง่ เรือง เลือ่ นขัน้ เลือ่ นต�ำแหน่ง) 6.ศาลเจ้าแม่
โครงการ เปิดโครงการ “Khon Kaen City Tour เลาะบึงตืม่ บุญ” หรือ การเทีย่ วรอบบึงแก่นนครพร้อมท�ำบุญเพิม่ ความเป็นศิรมิ งคลด้วย การ นั่งรถไฟฟ้าไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ 9 แห่งรอบบึงแก่นนคร เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว และขับเคลื่อนให้คนขอนแก่นเกิดความรัก และผูกพัน หวงแหนและ ภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตนเอง
8
สองนาง (สุขภาพแข็งแรง ความส�ำเร็จ ความรัก) 7.วัด เสาเดียว (ความมั่นคงในชีวิต) 8.เจ้าแม่กวนอิม (ความ เมตตา ความเจริญรุง่ เรือง) 9.ศาลเจ้าปึงเถ่ากง-ม่าและ ศาลเจ้าปู่ญาครูเย็น (โชคลาภ เจริญรุ่งเรือง ค้าขาย ร่มเย็นเป็นสุข) โดยหวั ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า จะเป็ น การจุ ด ประกายให้ ค นขอนแก่ น เกิ ด ความรั ก ความผู ก พั น ความหวงแหน และมีความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของ ตนเอง ตลอดจนยังเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวของ จังหวัดขอนแก่นอีกช่องทางหนึ่งด้วย โดยในที่ประชุม ได้แสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการเต รียมความพร้อมในด้านต่างๆ เช่น การประชุมกลุ่มผู้ที่ เกี่ ย วข้ อ ง (กลุ ่ ม สมาคมธุ ร กิ จ การท่ อ งเที่ ย ว ,กลุ ่ ม จ�ำหน่ายดอกไม้ ธูป เทียน, กลุ่มผู้ดูแลสถานที่ทั้ง 9 แห่ง, กลุ่มมัคคุเทศก์ และกลุ่มพนักงานขับรถ) การ บริหารจัดการเกี่ยวกับสถานที่จอดรถ บริการที่พัก ห้องน�ำ ้ ฯลฯ การอบรมมัคคุเทศก์และเจ้าหน้าทีป่ ระจ�ำ รถ หรือ การประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
9
10
“
อนุ ส าวรี ย ์ พ ระนครศรี บ ริ รั ก ษ์ (ท้ า วเพี ย เมื อ งแพน) (การเริ่ ม ต้ น ที่ ส� ำ เร็ จ )
”
11
12
อนุสาวรีย์ท้าวเพียเมืองแพน เป็นอนุสาวรีย์ที่สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2545 เพื่อระลึกถึงผู้สร้างเมืองขอนแก่นตั้งอยู่ที่บริเวณสนาม เจ ซี (เดิม) ริมบึงแก่นนคร ฝั่งตรงข้างด้านทิศตะวันออกสถานีโทรทัศน์ช่อง 11 ขอนแก่น (เดิม ) ในช่ ว งเทศกาลประเพณี ส งกรานต์ ชาวขอนแก่ น ได้ ประกอบพิธีบวงสรวงอนุสาวรีย์ “ท้าวเพียเมืองแพน” เป็นประจ�ำทุกปี เพื่ อ ความเป็ น ศิ ริ ม งคลแก่ ต นเองและครอบครั ว รวมทั้ ง ปกป้ อ งคุ ้ ม ประชาชนชาวเมืองขอนแก่นให้มีความสุขความเจริญ
13
14
“
วั ด ธาตุ พระอารามหลวง ” (ความเป็ น สิ ริ ม งคล)
15
16
วัดธาตุ พระอารามหลวง ตั้ง อยู่เลขที่ 237 ถนนกลางเมือง (บ้าน เมืองเก่า) ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง ขอนแก่น จังหวัดขอนแก่นสังกัดคณะ สงฆ์มหานิกาย สร้างขึน้ เมือ่ พ.ศ. 2332 โดยพระนครศรีบริรักษ์บรมราชภักดี (เพี้ยเมืองแพน) เจ้าเมืองขอนแก่น เป็น ผู ้ ก ่ อ สร้ า งขึ้ น พร้ อ มกั บ การตั้ ง เมื อ ง ขอนแก่น และได้สร้างพระธาตุขึ้นเป็น ปูชนียสถานที่เคารพสักการะของชาว เมืองขอนแก่น จึงเรียกชื่อวัดนี้ว่า “วัด ธาตุ” ในปี พ.ศ. 2554 ที่ผ่านมาคณะ กรรมการบริหารวัดธาตุ พระอาราม หลวง ซึ่งมีเจ้าอาวาส เป็นประธานและ
ผู้ช่วยเจ้าอาวาส เป็นกรรมการได้ท�ำ โครงการบูรณะและปฏิสงั ขรณ์วหิ ารคด เจดียพ์ ระธาตุนครเดิมขึน้ เพือ่ เปิดโอกาส ให้สาธุชนพุทธบริษัทผู้ใจบุญทั้งหลาย ได้เข้าไปกราบไหว้สักการะ พระบรม สารีริกธาตุของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และหลวงพ่อพระลับพระคู่เมืองชาว ขอนแก่นเพือ่ ความเป็นสิรมิ งคลแก่ชวี ติ แก่หน้าที่การงานของตนอันเป็นการ ช่วยท�ำท�ำนุบ�ำรุงพุทธสถานซึ่งเป็นสิ่ง อันประเสริฐ ให้อยู่คู่กับเมืองขอนแก่น ตราบนานเท่านาน
17
18
“
ศาลเจ้ า พ่ อ มเหศั ก ดิ์ ”
(ยศถาบรรดาศั ก ดิ์ อ� ำ นาจ บารมี )
19
สร้ า งเมื่ อ พ.ศ. 2332โดย พระนครศรี บ ริ รั ก ษ์ พ ร้ อ มกั บ การตั้ ง เมืองขอนเเก่นและมีการปรับโฉมในปี 2537ซึ่งการตั้งบือบ้านเเละสร้างศาล เจ้าพ่อมเหศักดิน์ นั้ เป็นไปตามความเชือ่ ของชาวอีสานในฮีตสิบสอง คองสิบสี่ ที่ กล่าวถึงสมบัติคูนเมือง ซิ่งเป็นคองของ เจ้าเมือง 14 ข้อในนั้นระบุว่าต้องมีบื อบ้าน หรือ สะดือบ้าน หรือ ศูนย์กลาง ของบ้านของเมือง ตั้งอยู่เเละอีกข้อคือ ต้องมีเมฆเมือง โดยความเชื่อนั้นเจ้าพ่อ
20
มเหศักดิค์ อื พระอินทร์เทวาดาผูย้ งิ่ ใหญ่ มีอ�ำนาจ บารมี คอยปกป้องคุ้มครอง บ้านเมืองให้ร่มเย็นเป็นสุข ในอดีตเป็น ศาลไม้ ต่อมาชาวบ้านชุมชนวัดกลาง ชุมชนวัดหนองเเวงชุมชนวัดธาตุเเละ เทศบาลนครขอนเเก่นได้ร่วมใจบูรณะ สร้างศาลใหม่โดยมีรปู เเบบสถาปัตยกรรม เลียนเเบบขอมส่วนศาลไม้เดิมได้ตั้งไว้ ด้านหลังของศาลใหม่
21
22
“
วั ด กลางเมื อ งเก่ า ” (ชี วิ ต ที่ เ ดิ น ทางสายกลาง การมี ส ติ การรู ้ ป ระมาณ การรู ้ พ อเพี ย ง)
23
ส ร ้ า ง ขึ้ น เ มื่ อ พ . ศ . 2333โดยพระนตรศรีบริรักษ์ ใน อดีตใช้ประกอบพิธถี อื น�ำ้ พิพฒ ั น์สตั ยาของข้ า ราชการก่ อ นเข้ า รั บ ต�ำเเหน่งหน้าที่ ซึ่งมีปูชณียวัตถุที่ ส� ำ คั ญ คื อ 1.หลวงพ่ อ ใหญ่ พระ ประธานประจ�ำวัดกลาง สร้างเมื่อ พ.ศ. 2333 เป็นพระพุทธรูปปาง มารวิ ชั ย ก่ อ ด้ ว ยอิ ฐ ปู น ลงรั ก ปิ ด ทอง หน้าตัก 5 ศอก นั่งขัดสมาธิ มี พระหั ต ถเบื้ อ งขวาคว�่ ำ ที่ เ พลา ปลายนิว้ พระหัตถ์ชลี้ งเเผ่นดินเเละ มี ก า ร บู ร ณ ะ ใ ห ม ่ เ มื่ อ พ . ศ . 2510ราชสักการะมหามงคลเฉิม
24
พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู ่ หั ว ฯ เนื่ อ งในวโรกาสทรง พระชนมพรรษา 84 พรรษา ต้ น โพธิ์ ตั้ ง อยู ่ ด ้ า นทิ ศ ตะวันตกของอุโบสถ เกิดก่อนการ สร้างวัดมีความเชือ่ ว่าหากใครตัดกิง่ โพธิ์จะเจ็บป่วยหรือไม่ก็เลือดตก ยางออก ต้องท�ำพิธีขอขมาจึงจะ หายเป็นปกติ 3.พรมหาธาตุ ราชมัชฌิมาเฉลิมพระเกียรติ เริ่ม สร้างเมือ่ พ.ศ. 2553 เพือ่ ถวายเป็น พุทธบูชาเเละถวายเป็นราชสักกา ระมหามงคลเฉิ ม พระเกี ย รติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
เนื่ อ งในวโรกาสทรง พระชนมพรรษา 84 พรรษาในปี พ.ศ. 2554 มีการ คลี่คลายจากรู ปเเบบพระมหาเจดีย์ที่วัดไทยกุสิ นาราเฉลิมราชย์ ประเทศอินเดีย ลักษณะเก้ายอดสื่อถึงรัชกาลที่เก้า รูปเเบบเจดีย์ฐานพระเจดีย์ กว้าง 9.84 ม. ยาว 9.8ม.ความสูงถึงเรือน ยอดสู ง สุ ด 24 ม.นอกจากนั้ น ยั ง เป็ น ที่ ตั้ ง ของส� ำ นั ก ศาสนศึ ก ษา โรงเรียนปริยัติธรรม คณะสงฆ์จัง หวัดขอนเเก่นเเละเป็นทีต่ งั้ โรงเรียน ประชาบาลเเห่งเเรกในจังหวัดขอน เเก่น (ปัจจุบนั คือโรงเรียนวัดกลาง)
25
26
“
วั ด หนองแวง
พระอารามหลวง ” (ความก้ า วหน้ า รุ ่ ง เรื อ ง เลื่ อ นขั้ น เลื่ อ นต� ำ แหน่ ง )
27
ตั้งอยู่ที่ถนนกลางเมือง ริมบึงแก่นนคร อ�ำเภอเมืองภายใน วัดหนองแวงเมืองเก่าซึ่งเป็นพระ อารามหลวงมี พ ระมหาธาตุ แ ก่ น นครหรื อ พระธาตุ เ ก้ า ชั้ น ฐาน สี่ เ หลี่ ย มกว้ า งด้ า นละ 50 เมตร เรือนยอดทรงเจดียจ์ ำ� ลองแบบจาก พระธาตุขามแก่นจัดสร้างขึน้ เนือ่ ง ในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงครองสิ ริ ร าช สมบัติครบ 50 ปี และ มหามังคลา นุสรณ์ 200 ปี เมืองขอนแก่นความ สู ง ขององค์ พ ระธาตุ ฯ 80 เมตร
28
บ้านบึงบอนจึงกลายเป็นเมืองเก่า ตั้งแต่นั้นมา ปัจจุบันตั้งอยู่ เลขที่ 593 ถนนกลางเมือง ต�ำบลในเมือง อ� ำ เภอเมื อ งขอนแก่ น จั ง หวั ด ขอนแก่ น ได้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมาครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2442โดยพระยานครศรีบริรกั ษ์(อู)๋ แ ล ะ ไ ด ้ รั บ พ ร ะ ร า ช ท า น วิสุงคามสีมาครั้งสุดท้าย เมื่อวันที่ 27 สิ ง หาคม พ.ศ. 2527 เขต วิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร มีเนื้อที่ดินที่ตั้งวัด 26 ไร่ 65 ตารางวา โดยมีหนังสือแสดง
กรรมสิทธิเ์ ป็นโฉนด 713 เลขที่ 28 หน้ า ส� ำ รวจ 794 เล่ ม ที่ 8 หน้ า 13ลักษณะพื้นที่ตั้งวัดและบริเวณ โดยรอบเป็ น ที่ ร าบเรี ย บ เป็ น ลักษณะ 6 เหลี่ยม มีหมู่บ้านล้อม รอบสามด้าน และมีบงึ แก่นนครอยู่ ทางทิศตะวันออกของวัด เคยได้รบั รางวัล เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง ปี พ.ศ. 2524 เป็นวัดพัฒนาดีเด่น ปี พ.ศ. 2526 และทรงพระกรุ ณ า โปรดเกล้าฯ ยกฐานะขึ้นเป็น พระ อารามหลวง ปี พ.ศ. 2527
29
30
“
ศาลเจ้ า แม่ ส องนาง
”
(สุ ข ภาพแข็ ง แรง ความส� ำ เร็ จ ความรั ก )
31
32
ศาลเจ้ า แม่ ส องนางตั้ ง อยู ่ ด้ า นทิ ศ ใต้ ข องบึ ง แก่ น นครในเขต เทศบาลนครขอนแก่น จากค�ำบอกเล่า ของชาวเมืองขอนแก่นทราบว่า เดิม เป็นศาลเรือนไม้สองหลัง ขนาดกว้าง 1 เมตร สูงประมาณ 150 เซนติเมตร มี ลักษณะเหมือนศาลปู่ตา ภายในศาล ไม่มีรูปเคารพแต่อย่างใด โดยเริ่มจาก พระราชธิดาสองนางซึ่งทราบต่อมา ภายหลังว่าผู้พี่ชื่อเจ้านางค�ำหมื่น ผู้ น้องชื่อ เจ้านางค�ำแสนได้พาพวกพ้อง บริวารอพยพโดยใช้ช้างเป็นพาหนะ เดินทางมาหาผู้เป็นน้าผู้เป็นเจ้าเมือง ขอนแก่นก็คือท้าวเพียเมืองแพนผู้ก่อ
ตัง้ เมืองขอนแก่นนัน่ เอง เมือ่ มาถึง เมืองขอนแก่น เพียเมืองแพนผูเ้ ป็น น้าจึงจัดให้พักอาศัยอยู่ที่บ้านบึง บอน หรือบ้านเมืองเก่า ริมบึงแก่น นครในปั จ จุ บั น ภายหลั ง เมื่ อ ทั้ ง สองพระองค์สิ้นพระชนม์ชาวเมือง ในสมั ย นั้ น จึ ง ได้ ส ร้ า งศาลของ พระนางขึ้ น เพื่ อ เคารพสั ก การะ บูชา ผูค้ นทัว่ ไปเรียกขนานนามศาล แห่งนีว้ า่ ศาลเจ้าแม่สองนาง ตัง้ แต่ นั้นเป็นต้นมา ตราบเท่าทุกวันนี้
33
34
“
วั ด เสาเดี ย ว ” (ความมั่ น คงในชี วิ ต )
35
36
สร้างเมือ่ พ.ศ. 2551เพือ่ เเสดงถึงความสัมพันธ์อนั เเน่นเเฟ้นระหว่างไทย กับเวียดนาม จากความร่วมมือระหว่างเทศบาลนครขอนเเก่น กงสุลใหญ่ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามประจ�ำจังหวัดขอนเเก่นเเละชาวไทยเชือ่ สายเวียดนามในจังหวัดขอนเเก่น มีสถาปัตยกรรมทีส่ ร้างจ�ำลองเเบบจาก วัดเสาวัดเดียวในกรุงฮานอยภายในประดิษฐานองค์พระโพธิสตั ว์ กวนอิม ร้อยมือพันตา ซึ่งอัญเชิญมาจากกรุงฮานอน
37
38
“
” (ความเมตตา ความเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ ง) เจ้ า แม่ ก วนอิ ม
39
40
สร้ า งเมื่ อ พ.ศ. 2545โดย สมาคมปีงเถ่ากง-ม่า ขอนเเก่นตัง้ อยูใ่ น สวนหนานหนิง(สวนมิตรภาพไทยจีน) องค์เจ้าเเม่กวนอิมเเกะสลักด้วยหินสี เหลืองทรายทอง เเกนในมาจากภูเขา พระงาม จ.ลพบุรี ตามความเชือ่ ว่า เจ้า เเม่ ก วนอิ ม เป็ น พระโพธิ สั ต ว์ ข อง พระพุทธศาสนาฝ่ายมหายานเเละเป็น องค์ เ ดี ย วกั น กั บ พระอวโลกิ เ ตศวร
โพธิสตั ว์ในภาษา-สันสกฤต ซึง่ มีตน้ ก� ำ เนิ ด จากพระสู ต รมหายานใน อินเดีย เเละได้ผสมผสานกับความ เชือ่ พืน้ ถิน่ ดัง้ เดิมของจีนคือต�ำนาน เรื่องพระธิดาเมี่ยวซ่าน ก่อให้เกิด เป็นพระโพธิสัตว์กวนอิมภาคสตรี ขึน้ เพือ่ เเสดงออกถึงความอ่อนโยน เเละความเมตตากรุณาดังเช่นความ รักของมารดาที่มีต่อบุตร
41
42
“
ศาลเจ้ า ปึ ง เถ่ า กง-ม่ า ขอนแก่ น และ ศาลเจ้ า ปู ่ ญ าครู เ ย็ น
”
(โชคลาภ เจริ ญ รุ ่ ง เรื อ ง ค้ า ขาย ร่ ม เย็ น เป็ น สุ ข )
43
ศาลเจ้าปึงเถ่ากง-ม่า ขอน เเก่น สร้างเมื่อ พ.ศ. 2504โดยการน�ำ ของเถ้าเเก่กิมฮง เเละชาวเมืองขอน เเก่นเป็นศาลเจ้าที่คนไทยเชื้อสายจีน เคารพนับถือเเละศรัทธาเปรียบเสมือน ศาลเจ้าพ่อหลัก เมือง ภายในศาลเจ้า พ่อหลักเมือง ภายในศาลประดิษฐาน องค์ปึงเถ่ากงขม่า องค์เจ้าเเม่ทับทิม เเละองค์เทพเจ้าไฉ่ซงิ เอีย๊ (เทพเจ้าเเห่ง โชคลาภ) องค์เทพเจ้าฟ้าดิน เเละองค์ ตี่จู่เอี๊ย โดยช่วงเดือนพฤศจิกายนของ ทุกปี จะมีการจัดงานสมโภชศาลเจ้าปึง
44
เถ่ากง-มา ตามความเชือ่ ว่า ในรอบ ปีเมื่อท่านได้ดูเเลปกป้องรักษา ให้ ท�ำมาหากินอยู่เย็นเป็นสุขครั้นถึง ปลายปีกอ่ นทีจ่ ะเข้าสูเ่ ทศกาลสิน้ ปี ในฐานะเทพยดาอารักษ์ที่คุ้มครอง เภทภัยอันตรายเเก่ผทู้ ำ� ความดีมศี ลี ธรรมจะเดิ น ทางสู ่ ส รรค์ เ พื่ อ รา ยงานเง็กเซียนฮ่องเต้ได้ทราบว่า ประชาชนมีความเป็นอยูอ่ ย่างไรจึง เป็นที่มาของการจัดงานเพื่อขอให้ ท่านปกป้องรักษาให้ท�ำมาหากิน อยู่เย็นเป็นสุขตลอดปี ส�ำหรับศาล
เจ้าปู่ครูเย็นตามประวัติในอดีตนั้น ได้มีการเกณฑ์เเรงงานราษฎรมา ปั้นคันดินจากศาลากลางเเละจวน เจ้าเมืองไปยังวัดโพธิสาร บ้านโนน ทัน ต่อมามีการทรงเจ้าจึงรูว้ า่ เมือ่ ผู้ใดสัญจรผ่านไปมาเเล้วไม่เคารพ ย�ำเกรงท่านจึงลงโทษโดยการท�ำให้ เจ็บป่วยหรือเกิดอุบัติเหตุชาวบ้าน จึงได้เปลีย่ นชือ่ ว่า“ศาลเจ้าปูญ ่ าครู เย็น” เพื่อที่จะท�ำให้ท่านใจเย็นลง
45
46
ซึ่งในเบื้องต้นนี้ทางเทศบาลนครขอนแก่นจะเปิดให้บริการ City Tour แก่ประชาชนและนักท่องเที่ยวฟรี วันละ 1 รอบ เวลา 16.00 น. และมีจุดสถานีที่ ลานคุม้ วัฒนธรรม บึงแก่นนคร (ใช้เวลาในการเดินทางประมาณ 2 ชัว่ โมง 30 นาที) เป็นเวลา 3 เดือน เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 8 สิงหาคม 2557 เป็นต้นไป โดยสามารถสอบถาม รายละเอียดเพิม่ เติมได้ที่ ส�ำนักการศึกษา เทศบาลนครขอนแก่น หมายเลขโทรศัพท์ 0-4322-5166 ทั้งนี้เทศบาลนครขอนแก่น หวังเป็นอย่างยิ่งว่า โครงการนี้จะเป็น อีกหนึง่ พลังขับเคลือ่ นทีท่ ำ� ให้คนขอนแก่นเกิดความรัก ความผูกพัน ความหวงแหน และมีความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตนเอง ตลอดจนยังเป็นการส่งเสริมการท่อง เที่ยวของจังหวัดขอนแก่นอีกช่องทางหนึ่งด้วย
47
48