ชุมนุมนักปฏิบัติ คนหล่ อ (นายแบบ)
ชุมนุมนักปฏิบัติ คนหล่ อ (นายแบบ)
นายโสภณ กุณฑล ตาแหน่ ง : ช่ างไม้ ระดับ๓ มว.ไม้ แบบฯ
คุณอานวย ร.อ.วิรัช สั งข์ ทองงาม คุณลิขติ พ.จ.อ.เกียรติวงศ์ ราชรัตนารักษ์ คุณกิจ (สมาชิกทีร่ ่ วมแลกเปลีย่ นความรู้ ประกอบด้ วย) ๑. นายสายชล นภากุลทอง ๒. นายโสภณ กุณฑล ๓. นายอานาจ จิระมานิต ๔. นายทรงเกียรติ บุญยไทย ๕. นายกุศล สุ วรรณ์ ๖. นายอนุรักษ์ รัตนจันทร์ ผู้สังเกตการณ์ ๑. นายสุ วทิ ย์ ทองปาล ๒. นายสมนึก นิลจู ๓. นายณรงค์ ศักดิ์ สมมุติ
กล่ าวนา การทาแบบหล่ อต้ องใช้ ไม้ ในการทาแบบบางส่ วนของแบบ ต้ องใช้ การ กลึงขึน้ รูป เช่ น การขึน้ รูปโค้ ง รูปเว้ า ทั้งภายในภายนอกของแบบหล่ อ รวมทั้งงานรูปพรรณบางประเภท เช่ น หัวเสาธง หัวเม็ดเสาป้าย ร่ องลูกปื น เป็ นต้ น สาเหตุทที่ าใบมีดกลึงชนิดนีข้ นึ้ มา เพราะเนื่องจากใบมีด (ของเดิม) ไม่ สามารถจัดหานามาทดแทนได้ ทางหมวดไม้ แบบฯจึงเล็งเห็นวัสดุที่ ชารุด เช่ น ตะไบ ใบกบไสไม้ แต่ ไม่ นิยมตะไบมาใช้ งานแทน เพราะ ความคมของตะไบไม่ ทนทาน ต้ องลับคมบ่ อยครั้ง ทางหมวดไม้ แบบฯ จึงได้ นาใบมีดกบไสไม้ มาทดลองลับคมและนามาทดลองการใช้ งาน ลาดับถัดไป ผลที่ได้ จากการทดลองได้ ผลเป็ นที่น่าพอใจ ใช้ งานได้ สะดวก ความคมของใบมีดคงทน ไม่ ต้องนามาลับคมมีดบ่ อยครั้ง มีความคงทนสู ง อีกทั้งช่ วยประหยัดงปประมาณของทางราชการ
มีดกลึงไม้ แบบรุ่ นเก่ า มีดกลึงไม้ แบบรุ่นเก่า ทามาจากเหล็กเหนียว นามาเผา แล้ วตีขนึ้ รู ป ให้ เป็ นปากมีดกลึง ตามลักษณะของการใช้ งานและนามาชุบแข็ง เพือ่ ให้ มคี วามแข็งแรง ทนทาน แต่ การใช้ งานต้ องนามาลับคมบ่ อย
ภาพ ตัวอย่ าง
OLD
มีดกลึงไม้ ทใี่ ช้ ในปัจจุบัน เป็ นใบมีดที่ได้ มาจากการดัดแปลงใบมีดของเครื่องไสไม้ ชนิด ตั้งพืน้ ซึ่งใบมีดของเครื่องไสไม้ ดงั กล่ าวทามาจากวัสดุ TUNGSTEN CABIDE , STAINLESS STEEL ที่ใช้ กบั เครื่องไสไม้ ชนิดตั้งพืน้ ไม่ ได้ แล้ ว เช่ น มีการแตกหัก ความ กว้ างของใบมีดเล็กลงจากการลับคมมีด จนไม่ ได้ ขนาด จึงได้ นาใบมีดของเครื่องไสไม้ มาลบคมมีดออก แล้ วดัดแปลง ตกแต่ ง ปากของใบมีดกลึงให้ ได้ ตามความต้ องการสาหรับ งานกลึงไม้ ซึ่งมีผลดีมากกว่ ามีดกลึงแบบรุ่ นเก่ า มีความคม ของปากมีดกลึงดีกว่ ารุ่ นเก่ า มีความคงทนแข็งแรงกว่ ามีด กลึงรุ่ นเก่ า และไม่ ต้องลับปากมีดกลึงบ่ อยๆ
ใบมีดกบไสไม้ ที่แตกหักชารุด ใบมีดกบไสไม้ ที่ดดั แปลง นามาใช้ งาน
ขั้นตอนปฏิบัติงาน ไม้ ต้ องเตรียมขนาดของไม้ ให้ เหมาะสมกับงาน เช่ น ความโต ความยาว ให้ มีขนาดความโตและความยาว กว่ าเนือ้ งานที่จะทาเล็กน้ อย นาไม้ มากลึงบนครื่องกลึง แบบตั้งพืน้ ตามแบบที่กาหนดไว้ ปลอกกลึงไม้ โดยการ ใช้ มีดกลึงที่ได้ จากการดัดแปลงจากใบมีดกบไสไม้ ให้ ได้ สัดส่ วนตามแบบจนรายละเอียดจนครบถ้ วน แล้วขัดกระดาษทรายละเอียดจนชิ้นงานเรียบเนียน
ลักษณะการใช้ งานของมีดกลึง
ลักษณะการใช้ งานของมีดกลึง
ลักษณะการใช้ งานของมีดกลึง
สรุ ปเทคนิคทีไ่ ด้ 1. คมมีดของใบมีดกบไสไม้ มีความคงทนกว่ า ของเดิม 2. ประหยัดเวลา เพราะไม่ ต้องลบคม มีดบ่ อยครั้ง 3. สะดวกและรวดเร็ว 4. ประหยัดงบประมาณ 5. ผลงานที่ออกมามีความประณีต
ข้ อควรระวัง ๑.ตรวจสอบใบกบว่ ามีการแตกร้ าวหรือไม่ ๒.ควรลบคมใบกบเดิม ให้ หมดความคมก่ อนนามาใช้ งาน ๓.การนาใบกบมาทามีดกลึง ต้ องไม่ ส้ั นจนเกินไป ควรให้ มี ความยาวพอประมาณ เพือ่ ให้ มีด้ามจับที่ถนัดมือ
เอกสารอ้างอิง เอกสารวิชาการช่างครุ ภนั ฑ์เรื อ กรมอู่ทหารเรื อ จัดพิมพ์เมื่อ ตุลาคม ๒๕๔๙