อิทธิพลของวัฒนธรรมอาหรับต่อสังคมม

Page 1

อิทธิพลของวัฒนธรรมอาหรับตอสังคมมลายูในจังหวัดปตตานี The Influences of Arab Culture on Malay Society in Pattani Province

มูหัมมัดมันซูร หมัดเราะ Muhammadmansour Madroh

วิทยานิพนธนี้สําหรับการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร A Thesis Submitted in Fulfillment of the Requirements for the Degree of Master of Arts in Islamic Studies Prince of Songkla University

2551 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร


ดวยพระนามของอัลลอฮฺ ผูทรงกรุณาปรานี ผูทรงเมตตาเสมอ มวลการสรรเสริญเปนสิทธิ์ของเอกองคอัลลอฮฺ (สุบหานะฮุวะตะอาลา) ผูทรง อภิบาลแหงสากลโลก ขอพระองคทรงประทานพร และความสันติสุขแดทาน นบีมุฮัมมัด ผูประเสริฐสุดแหงบรรดานบีและเราะสูล ขอความจําเริญและ ความสันติสุขจงประสบแดครอบครัวของทานนบี ตลอดจนวงศวาน เศาะหาบะฮฺ และผูเจริญรอยตามแนวทางของทาน


ชื่อวิทยานิพนธ ผูเขียน สาขาวิชา

อิทธิพลของวัฒนธรรมอาหรับตอสังคมมลายูในจังหวัดปตตานี นายมูหัมมัดมันซูร หมัดเราะ อิสลามศึกษา

อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก

คณะกรรมการสอบ

……………………………………… (รองศาสตราจารยดลมนรรจน บากา) อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม

………………………….ประธานกรรมการ (ดร.ซาฝอี อาดํา) ……………………………..กรรมการ (รองศาสตราจารยดลมนรรจน บากา)

……………………………………… (รองศาสตราจารยระวีวรรณ ชอุมพฤกษ)

……………………………..กรรมการ (รองศาสตราจารยระวีวรรณ ชอุมพฤกษ)

……………………………………… (ดร.อณัส อมาตยกุล)

…………………………….กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.อับดุลเลาะ การีนา) …………………………….กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.หะสัน หมัดหมาน)

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร อนุมัติใหนบั วิทยานิพนธฉบับนี้ สําหรับการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอิสลามศึกษา

…………….…………………………. (รองศาสตราจารย ดร.เกริกชัย ทองหนู) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

(2)


ชื่อวิทยานิพนธ ผูเขียน สาขาวิชา ปการศึกษา

อิทธิพลของวัฒนธรรมอาหรับตอสังคมมลายูในจังหวัดปตตานี นายมูหัมมัดมันซูร หมัดเราะ อิสลามศึกษา 2551

บทคัดยอ การศึ ก ษาวิ จั ย เรื่ อ งอิ ท ธิ พ ลของวั ฒ นธรรมอาหรั บ ต อ สั ง คมมลายู ใ นจั ง หวั ด ปตตานี มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาประวัติความเปนมา และอิทธิพลของวัฒนธรรมอาหรับที่มีตอ สังคมมลายูในจังหวัดปตตานี โดยศึกษาจากเอกสาร วรรณกรรมที่เกี่ยวของ และขอมูลจากการ สัมภาษณบุคคล เพื่ออธิบายสภาพการณตาง ๆ แนวคิดที่ใชในการศึกษาประกอบดวย แนวคิด เกี่ยวกับวัฒนธรรม แนวคิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม แนวคิดเกี่ยวกับคํา ยืม และแนวคิดเกี่ยวกับการแตงกาย เพื่อใชประกอบการศึกษาวัฒนธรรมดานภาษาและการแตง กาย จากการศึ กษาพบวา อิทธิพลของวัฒนธรรมอาหรับ ตอสังคมมลายู ในจังหวัด ปตตานีเริ่มขึ้นภายหลังจากสังคมมลายูในจังหวัดปตตานีเขารับนับถือศาสนาอิสลาม โดยเริ่มจาก วัฒนธรรมทางดานภาษา ประกอบดวย อักษรอาหรับ และคํายืม ตามดวยวัฒนธรรมดานการแตง กาย ประกอบดวย หมวกกป เ ยาะห ผา พั น ศี รษะ เสื้ อ โต บ และเสื้อคลุม นอกจากนี้ ยัง พบว า วัฒนธรรมดานการแตงกายแบบชาวอาหรับเปนเครื่องหมายของผูมีความรูทางศาสนาอิสลามหรือ อุละมาอ และปจจุบันยังมีความสําคัญทางดานเศรษฐกิจของชาวมลายูในจังหวัดปตตานีอีกดวย

(3)


Thesis Title Author Major Program Academic Year

The Influences of Arab Culture on Malay Society in Pattani Province Mr. Muhammadmansour Madroh Islamic Studies 2008 ABSTRACT

The objective of this research is to study the history and the influences of Arab culture on the Malay society in Pattani province. It is a documentary research which relies on relevant literatures, data based on interviews to reflect all different issues in question. The concepts adopted in the study are cultural and socio-cultural changes. The concepts related to loan words and dressing styles are also included in order to study the culture, language and dressing styles of Malay people in Pattani. The research found that the influences of the Arab culture on Pattani Malay society began to take root since the Malay people had converted to Islam. In the process they gradually started to learn and accept Arab culture such as Arabic orthography and some Arabic loan words. They later imitated Arab dressing culture for men such as head wear, Turban, robe, and cloak. In addition, the study found that in Pattani the Arab dressing style is mostly adopted by Muslim scholars and it plays an important role in the present time economic life of Pattani.

(4)


‫ﻣﻮﺿﻮﻉ ﺍﻟﺒﺤﺚ‬

‫ﺗﺄﺛﲑ ﺍﻟﺜﻘﺎﻓﺔ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﻋﻠﻰ ﺍ‪‬ﺘﻤﻊ ﺍﳌﻼﻳﻮﻱ ﰲ ﻭﻻﻳﺔ ﻓﻄﺎﱐ‬

‫ﺍﻟﺒﺎﺣﺚ‬

‫ﳏﻤﺪ ﻣﻨﺼﻮﺭ ﻣﺪﺭﺍﺀ‬

‫ﺍﻟﺘﺨﺼﺺ‬

‫ﺍﻟﺪﺭﺍﺳﺎﺕ ﺍﻹﺳﻼﻣﻴﺔ‬

‫ﺍﻟﻌﺎﻡ ﺍﻟﺪﺭﺍﺳﻲ‬

‫‪ 1428‬ﻫﺠﺮﻱ‬ ‫ﻣﺴﺘﺨﻠﺺ ﺍﻟﺒﺤﺚ‬ ‫ﻳﻬﺪﻑ ﻫﺬﺍ ﺍﻟﺒﺤﺚ ﺇﱃ ﺩﺭﺍﺳﺔ ﺗﺎﺭﻳﺦ ﻭﺍﻟﺜﻘﺎﻓﺔ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﻭﺗﺄﺛﲑﻫﺎ ﻋﻠﻰ ﺍ‪‬ﺘﻤﻊ ﺍﳌﻼﻳﻮﻱ‬

‫ﰲ ﻭﻻﻳﺔ ﻓﻄﺎﱐ‪ .‬ﻭﻳﻌﺘﻤﺪ ﺍﻟﺒﺤﺚ ﻋﻠﻰ ﲨﻊ ﺍﳌﻌﻠﻮﻣﺎﺕ ﻋﻦ ﻃﺮﻳﻖ ﺩﺭﺍﺳﺔ ﺍﳌﺴﺘﻨﺪﺍﺕ ﻭﺍﻟﻜﺘﺐ ﺍﻟﱵ ﳍﺎ‬ ‫ﻋﻼﻗﺔ ﺑﺎﳌﻮﺿﻮﻉ‪ .‬ﻭﻛﺬﺍﻟﻚ ﲟﺎ ﲢﺼ‪‬ﻞ ﻟﻠﺒﺎﺣﺚ ﻋﻦ ﻃﺮﻳﻖ ﻣﻘﺎﺑﻠﺔ ﺑﻌﺾ ﺍﻷﺷﺨﺎﺹ ﺫﻭﻯ ﺍﻟﻌﻠﻢ ﻭ ﺍﳌﻌﺮﻓﺔ‬ ‫ﰲ ﻫﺬﺍ ﺍ‪‬ﺎﻝ‪.‬‬ ‫ﻭﺍﳌﻔﺎﻫﻴﻢ ﺍﳌﻌﺘﻤﺪﺓ ﰲ ﻫﺬﻩ ﺍﻟﺪﺭﺍﺳﺔ ﻣﻔﺎﻫﻴﻢ ﺛﻘﺎﻓﻴﺔ ﻭﻣﺎ ﻃﺮﺃ ﻋﻠﻰ ﻫﺬﻩ ﺍﳌﻔﺎﻫﻴﻢ‬ ‫ﺍﳌﺬﻛﻮﺭﺓ ﻣﻦ ﺗﻐﲑﺍﺕ ﺛﻘﺎﻓﻴﺔ ﻭﺍﺟﺘﻤﺎﻋﻴ‪‬ﺔ‪ .‬ﻭﻛﺬﻟﻚ ﻳﺘﻀﻤ‪‬ﻦ ﺍﻟﺒﺤﺚ ﺍﻟﻜﻠﻤﺎﺕ ﺍﳌﺴﺘﻌﺎﺭﺓ ﻣﻦ ﺍﻟﻠﻐﺔ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ‬ ‫ﺇﱃ ﺍﻟﻠﻐﺔ ﺍﳌﻼﻳﻮﻳﺔ ﻭﳕﻂ ﺍﻟﺰﻱ ﺍﻟﻌﺮﰊ ﻭﺗﺄﺛﲑﻩ ﻋﻠﻰ ﺍﻟﺰﻱ ﺍﳌﻼﻳﻮﻱ‪ .‬ﻭﺍﻟﻐﺮﺽ ﻣﻦ ﻛﻞ ﺫﻟﻚ ﻫﻮ ﺩﺭﺍﺳﺔ‬ ‫ﺛﻘﺎﻓﺔ ﺍﳌﻼﻳﻮﻳﲔ ﻭﻟﻐﺘﻬﻢ ﻭﺯﻳﻬﻢ ﰲ ﻓﻄﺎﱐ‪ ،‬ﻭﻣﺪﻯ ﺗﺄﺛﲑﺍﺕ ﺍﻟﺜﻘﺎﻓﺔ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﻋﻠﻰ ﺫﻟﻚ‪.‬‬ ‫ﻭﺩﻟﱠﺖ ﺍﻟﻨﺘﺎﺋﺞ ﺍﻟﱵ ﺗﻮﺻ‪‬ﻞ ﺇﻟﻴﻬﺎ ﺍﻟﺒﺎﺣﺚ ﻋﻠﻰ ﺃ ﹼﻥ ﺗﺄﺛﲑ ﺍﻟﺜﻘﺎﻓﺔ ﺍﻟﻌﺮﺑﻴﺔ ﻋﻠﻰ ﺍ‪‬ﺘﻤﻊ‬ ‫ﺍﳌﻼﻳﻮﻱ ﺑﺪﺃ ﻣﻨﺬ ﺃﻥ ﺍﺳﺘﻮﻃﻦ ﺍﻹﺳﻼﻡ ﰲ ﺍﻟﺸﻌﻮﺏ ﺍﳌﻼﻳﻮﻳﺔ ﺧﺎﺻﺔ ﰲ ﻓﻄﺎﱐ‪ ،‬ﻓﻜﺎﻥ ﺍﻟﺘﺄﺛﲑ ﻭﺍﻟﺘﺄﺛﹼﺮ ﺃﻭ ﹰﻻ‬ ‫ﰲ ﺍﳉﺎﻧﺐ ﺍﻟﻠﻐﻮﻱ‪ ،‬ﻭﺫﻟﻚ ﻋﻨﺪ ﻣﺎ ﺍﺳﺘﺨﺪ ﻣﻮﺍ ﺍﳊﺮﻑ ﺍﻟﻌﺮﰊ ﰲ ﻛﺘﺎﺑﺔ ﺍﻟﻠﻐﺔ ﺍﳌﻼﻳﻮﻳﺔ‪ ،‬ﻳﻠﻴﻪ ﺍﳉﺎﻧﺐ‬ ‫ﺍﳌﺘﺼﻞ ﺑﻌﺎﺩﺍﺕ ﺍﻟﻠﺒﺎﺱ ﻭﺍﻟﺜﻘﺎﻓﺔ ﺍﳌﺮﺗﺒﻄﺔ ﺑﻪ‪ .‬ﻓﻴﻠﺒﺴﻮﻥ ﺍﻟﻄﺎﻗﻴﺔ ﻭﺍﻟﻌﻤﺎﻣﺔ ﻭﺍﻟﺜﻮﺏ ﺍﻟﻌﺮﰊ ﻭﺍﻟﻌﺒﺎﺀﺓ‪ ،‬ﻋﻠﻤﹰﺎ ﺑﺄ ﹼﻥ‬ ‫ﺍﻟﻠﺒﺎﺱ ﺍﻟﻌﺮﰊ ﺍﳌﺴﺘﺨﺪﻡ ﰲ ﻓﻄﺎﱐ ﳝﺜﹼﻞ ﻣﻈﻬﺮﹰﺍ ﻣﻦ ﺍﳌﻈﺎﻫﺮ ﺍﻹﺳﻼﻣﻴﺔ‪ ،‬ﻳﻠﺒﺴﻪ ﺫﻭﻭ ﺍﻟﻌﻠﻢ ﺍﻹﺳﻼﻣﻲ ﺃﻭ‬ ‫ﺍﻟﻌﻠﻤﺎﺀ ﺍﻹﺳﻼﻣﻴﻮﻥ‪ ،‬ﻭﻳﻠﻌﺐ ﺩﻭﺭﹰﺍ ﻛﺒﲑﹰﺍ ﰲ ﺍﻻﻗﺘﺼﺎﺩ ﺍﳌﻼﻳﻮﻱ ﺑﻔﻄﺎﱐ ﺇﱃ ﻳﻮﻣﻨﺎ ﻫﺬﺍ‪ .‬‬

‫‪ ‬‬ ‫‪ ‬‬

‫)‪(5‬‬


กิตติกรรมประกาศ อั ล ฮั ม ดุ ลิ ล ลาฮฺ ด ว ยความเมตตา และความโปรดปรานของพระองค ผู ท รง ทดสอบ ผูทรงประทานความสําเร็จแกบาวของพระองค ในการทําวิทยานิพนธฉบับนี้ใหสําเร็จ ลุลวงไปดวยดี ผู วิ จั ย ขอขอบคุ ณ รองศาสตราจารย ด ลมนรรจน บากา อาจารย ที่ ป รึ ก ษา วิท ยานิพ นธ หลั ก รองศาสตราจารย ร ะวีวรรณ ชอุม พฤกษ และอาจารย ดร.อณัส อมาตยกุ ล อาจารย ที่ ป รึ ก ษาวิ ท ยานิ พ นธ ร ว ม ที่ ใ ห ค วามกรุ ณ ากํ า กั บ ดู แ ล ให คํ า ปรึ ก ษาและคํ า แนะนํ า ตรวจสอบแก ไ ขข อ บกพร อ งให วิ ท ยานิ พ นธ ฉ บั บ นี้ ถู ก ต อ งและสมบู ร ณ พร อ มกั น นี้ ผู วิ จั ย ขอขอบคุ ณ อาจารย ดร.ซาฝ อี อาดํ า และคณะกรรมการสอบวิ ท ยานิ พ นธ ทุก ท า นที่ ก รุ ณ าให ขอเสนอแนะ และปรับปรุงแกไขเพื่อใหวิทยานิพนธฉบับนี้มีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ผูวิจัยขอขอบคุณคณาจารยแผนกวิชาภาษาอาหรับ แผนกวิชาภาษา มลายู และแผนกวิชามลายูศึกษาทุกทานที่ไดชวยเหลือ ชี้แนะใหวิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวง ดวยดี โดยเฉพาะ อาจารยอัสสมิง กาเซ็ง อาจารยนิอับดุลรากิบ บินนิฮัสซัน อาจารยซาวาวี ปะดา อามีน อาจารยชินทาโร ฮารา และอาจารยอัสมัน แตอาลี รวมถึงอาจารยทานอื่น ๆ ที่มิอาจเอย นามไดหมด ณ ที่นี้ พรอมกันนี้ผูวิจัยขอขอบคุณมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ที่ ใหทุนอุดหนุนการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ผูวิจัยจะลืมเสียมิไดขอขอบคุณบิดา มารดา และคุณปตมาวาตี เฮ็งปยา ที่คอย ดูแล และใหกําลังใจมาโดยตลอด ขอเอกองคอัลลอฮฺทรงประทานความเมตตา และความดีงามแด ผูมีสวนรวมทุกทานดวยเทอญ อามีน มูหัมมัดมันซูร หมัดเราะ

(6)


สารบัญ หนา บทคัดยอ...............................................................................................................(3) ABSTRACT ........................................................................................................(4) ‫ ﻣﺴﺘﺨﻠﺺ اﻟﺒﺤﺚ‬.......................................................................................................(5) กิตติกรรมประกาศ..................................................................................................(6) สารบัญ..................................................................................................................(7) รายการตารางประกอบ..........................................................................................(12) รายการภาพประกอบ.............................................................................................(14) ตารางปริวรรตอักษรอาหรับ-ไทย............................................................................(16) ตารางปริวรรตอักษรอาหรับ-อังกฤษ.......................................................................(18) บทที่ 1 บทนํา..........................................................................................................1 1.1 ความเปนมาของปญหาและปญหา...............................................................1 1.2 อัลกุรอาน อัลหะดีษ เอกสารงานวิจยั ที่เกี่ยวของ.............................................5 1.3 วัตถุประสงค..........................................................................................12 1.4 ความสําคัญและประโยชนของการวิจัย.........................................................12 1.5 ขอบเขตของการวิจัย...............................................................................13 1.6 ขอตกลงเบื้องตน....................................................................................13 1.7 นิยามศัพทเฉพาะ....................................................................................14 1.8 วิธีดาํ เนินการวิจัย....................................................................................14 บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ........................................................................17 2.1 แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรม........................................................................17 2.1.1 คําจํากัดความของวัฒนธรรม............................................................17 2.1.2 ประเภทของวัฒนธรรม....................................................................20 2.1.3 ลักษณะของวัฒนธรรม....................................................................23 2.1.4 แนวคิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม...................................24 2.1.5 แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมอิสลาม.....................................................25 2.2 การแพรขยายของศาสนาอิสลามในเอเชียตะวันออกเฉียงใต............................29

(7)


สารบัญ (ตอ) หนา 2.3 ทฤษฎีการเขามาของอิสลามสูภูมิภาคมลายู..................................................34 2.3.1 ทฤษฎีอิสลามมาจากอินเดีย..............................................................35 2.3.2 ทฤษฎีอิสลามมาจากจีน...................................................................35 2.3.3 ทฤษฎีอิสลามมาจากอาหรับ.............................................................36 2.4 องคประกอบของการเผยแผอิสลามในภูมภิ าคมลายู......................................37 2.4.1 องคประกอบดานการคา..................................................................37 2.4.2 องคประกอบการแตงงาน.................................................................38 2.4.3 องคประกอบการเผยแผอิสลาม.........................................................38 2.4.4 องคประกอบทางดานความพิเศษของคําสอนอิสลาม.............................39 2.5 แนวคิดเกี่ยวกับคํายืม..............................................................................41 2.5.1 ความหมายของการยืมภาษา.............................................................41 2.5.2 แนวคิดเรื่องการสัมผัสภาษา.............................................................41 2.6 ประเภทของคํายืม...................................................................................42 2.6.1 คํายืมทับศัพท (Loanwords)..........................................................42 2.6.2 คํายืมปน (Loanblends)................................................................42 2.6.3 คํายืมแปล (Loanshifts)................................................................43 2.7 ปจจัยที่กอใหเกิดการยืมคํา.......................................................................43 2.8 แนวคิดเกี่ยวกับการแตงกาย.....................................................................46 2.8.1 สภาพภูมิอากาศ.............................................................................46 2.8.2 ศัตรูทางธรรมชาติ..........................................................................47 2.8.3 หนาที่การงาน................................................................................47 2.8.4 วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณี.............................................48 2.8.5 ศาสนาและความเชื่อ.......................................................................49 2.8.6 ความดึงดูดใจในเพศตรงขาม...........................................................49 2.8.7 ฐานะทางเศรษฐกิจ.........................................................................49 บทที่ 3 ภูมิหลังชนชาติอาหรับและพื้นที่วิจัย................................................................51 3.1 สังเขปประวัติศาสตรชนชาติอาหรับ............................................................51

(8)


สารบัญ (ตอ)

หนา 3.1.1 ที่ตั้งทางภูมศิ าสตร..........................................................................53 3.1.2 ภูมิอากาศของคาบสมุทรอาหรับ........................................................59 3.1.3 ถิ่นฐานของชนเซมิติก......................................................................61 3.1.4 ชนชาติอาหรับ...............................................................................62 3.2 ความเชื่อและศาสนาของชาวอาหรับ...........................................................68 3.2.1 รูปเคารพของชาวอาหรับ.................................................................70 3.2.2 ลักษณะของเจว็ดและรูปปน ของชาวอาหรับ.........................................71 3.2.3 ลัทธิบูชาดวงดาว............................................................................73 3.2.4 ลัทธิบูชาไฟ...................................................................................74 3.2.5 คริสตและยูดาย.............................................................................74 3.3 วัฒนธรรมทองถิ่นอาหรับ.........................................................................75 3.3.1 ขนบธรรมเนียมอาหรับ....................................................................82 3.3.2 พฤติกรรมแบบอนุรักษนิยม.............................................................82 3.3.3 โครงสรางของครอบครัวอาหรับ........................................................83 3.3.4 หนาที่ทางสังคมของชาวอาหรับ.........................................................84 3.3.5 การตอนรับแขก.............................................................................85 3.3.6 หองรับแขก...................................................................................86 3.4 ภาษาอาหรับ..........................................................................................86 3.4.1 ตนกําเนิดอักษรโบราณ....................................................................89 3.4.2 อักษรอาหรับ.................................................................................90 3.5 ที่อยูอาศัยของชาวอาหรับ.......................................................................103 3.6 การใชชื่อ – สกุลของชาวอาหรับ..............................................................106 3.7 พัฒนาการดานการแตงกาย.....................................................................107 3.8 ขอมูลทั่วไปของจังหวัดปตตานี................................................................115 3.8.1 ที่ตั้งทางภูมศิ าสตร........................................................................115 3.8.2 ลักษณะภูมปิ ระเทศ......................................................................115 3.8.3 สภาพอากาศ...............................................................................117

(9)


สารบัญ (ตอ)

หนา 3.8.4 ประวัติความเปนมาของปตตานี.......................................................118 3.8.5 สังเขปประวัติชนชาติมลายู.............................................................125 3.8.6 ประวัติความเปนมาของชาวมลายู....................................................129 3.8.7 วัฒนธรรมมลายูปตตานี.................................................................132 3.8.8 สังคมมลายู.................................................................................134 3.8.8.1 บทบาทของครอบครัว.......................................................135 3.8.8.2 บทบาทของสมาชิกครอบครัว..............................................136 3.8.8.3 ความสัมพันธทางครอบครัว...............................................137 3.8.8.4 สังคมมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใต...................................137 3.8.8.5 การจัดชนชั้นทางสังคมของชาวมลายู....................................139 3.8.8.6 การจัดชนชั้นในสังคมมลายูในภาคใต...................................140 3.9 ภาษามลายู..........................................................................................141 3.9.1 พัฒนาการของภาษามลายู..............................................................143 3.9.2 ภาษามลายูถิ่นปตตานี...................................................................145 3.9.2.1 ตระกูลภาษามลายูถิ่นปตตานี.............................................146 3.9.2.2 ลักษณะทั่วไปของภาษามลายูถิ่นปตตานี...............................147 3.10 ความเชื่อดั้งเดิมและศาสนาของชาวมลายู................................................149 3.10.1 วิญญาณนิยม.............................................................................149 3.10.2 การบูชาบรรพบุรุษ.....................................................................151 3.10.3 ผี............................................................................................152 3.10.4 ขวัญ........................................................................................152 3.10.5 การติดตอกับโลกลี้ลับ.................................................................154 3.10.6 ความเชื่อเกี่ยวกับการงดของตองหาม.............................................155 3.10.7 การถือฤกษ (วัน เดือน เวลา).......................................................157 3.11 ศาสนาฮินดู – พุทธในโลกมลายู.............................................................159 3.11.1 อิทธิพลศาสนาฮินดูตอความคิดของคนมลายู...................................160 3.11.2 ประเพณีการฝากทอง..................................................................161

(10)


สารบัญ (ตอ) หนา 3.11.3 ประเพณีเขาสุนัต........................................................................162 3.11.4 ประเพณีการตาย........................................................................163 3.12 การใชชื่อ-สกุลของชาวมลายูในจังหวัดปตตานี..........................................164 3.13 ลักษณะที่อยูอาศัยของชาวมลายูปตตานี...................................................167 3.14 การแตงกาย........................................................................................170 บทที่ 4 อิทธิพลของวัฒนธรรมอาหรับตอสังคมมลายูในจังหวัดปตตานี........................174 4.1 วัฒนธรรมดานภาษา.............................................................................174 4.1.1 อักษรอาหรับ.............................................................................174 4.1.2 คํายืม.......................................................................................178 4.2 วัฒนธรรมดานการแตงกาย....................................................................190 4.2.1 หมวกกปเยาะห.........................................................................190 4.2.2 ผาโพกศีรษะ.............................................................................192 4.2.3 เสื้อโตบ....................................................................................193 4.2.4 เสื้อคลุม...................................................................................194 บทที่ 5 สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ.................................................................195 5.1 สรุปผลการวิจัย...................................................................................197 5.2 การอภิปรายผล...................................................................................201 5.3 ขอเสนอแนะ.......................................................................................204 บรรณานุกรม.........................................................................................................205 ภาคผนวก.............................................................................................................217 ประวัติผูเขียน........................................................................................................227

(11)


รายการตาราง ตาราง

หนา

1. การเพิ่มอักษร (‫ )ي‬....................................................................................93 2. การเพิ่มอักษร (‫ )ا‬......................................................................................93 3. การเพิ่มอักษร (‫ )و‬.....................................................................................93 4. การตัดอักษร (‫ )ا‬........................................................................................94 5. การแทนอักษร............................................................................................95 6. เปรียบเทียบอักษรอาหรับโบราณที่ใชในคาบสมุทรอาหรับ..................................102 7. ปริมาณน้ําฝนและจํานวนวันที่ฝนตก...............................................................117 8. อุณหภูมิระหวางป 2542-2547....................................................................118 9. เปรียบเทียบอักษรยาวีกบั อักษรอาหรับและเปอรเซีย..........................................175 10. ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับการกระทํา ความคิด และความรูสึก..................................178 11. ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับชื่อเฉพาะ และชือ่ สถานที่.................................................180 12. ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับศาสนาอิสลาม และขอบัญญัตติ าง ๆ .................................180 13. ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับการศึกษา.....................................................................182 14. ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับชื่อวันเดือนป เวลา และการคํานวณ...................................182 15. ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับสิ่งของ เครื่องมือเครื่องใช................................................184 16. ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับสังคม เครือญาติ และฐานะ..............................................184 17. ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับการเมือง การปกครองและการทหาร.................................185 18. ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับรางกาย และลักษณะนิสัย................................................186 19. ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับสํานวน คําพูด...............................................................186 20. ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับกฎหมายอิสลาม และศาลยุติธรรม....................................187 21. ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับเครื่องแตงกาย และเครื่องประดับ.....................................187 22. ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับสุขภาพ และการแพทย...................................................188 23. ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับอาหาร และผลไม..........................................................188 24. ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับประเพณี และการละเลน.................................................188 25. ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจ การคา...........................................................189

(12)


26. ตัวอยางคําอื่น ๆ ......................................................................................189

(13)


รายการภาพประกอบ ภาพประกอบ

หนา

1. โครงสรางของวัฒนธรรมอิสลาม.............................................................................28 2. ที่ตั้งของคาบสมุทรอาหรับ....................................................................................54 3. คาบสมุทรอาหรับ................................................................................................55 4. ปริมาณน้ําฝนบนคาบสมุทรอาหรับ.........................................................................60 5. การตั้งถิ่นฐานของเผาตาง ๆ ในคาบสมุทรอาหรับ......................................................68 6. ภาษาในตระกูลเซมิติก..........................................................................................89 7. อักษรคูฟค.........................................................................................................96 8. อักษรแบบนัสคฺ...................................................................................................97 9. อักษรแบบมุหักก็อก.............................................................................................97 10. อักษรแบบร็อยหานีย..........................................................................................98 11. อักษรแบบรุกอะฮฺ..............................................................................................98 12. อักษรแบบษุลูษ.................................................................................................99 13. อักษรแบบมัฆรีบีย และอันดะลูซีย........................................................................100 14. อักษรแบบฟาริซีย.............................................................................................100 15. อักษรแบบตุฆรออ............................................................................................101 16. อักษรแบบดีวานีย.............................................................................................101 17. ลักษณะกระโจมของชาวอาหรับ............................................................................103 18. ลักษณะกระทอมของชาวอาหรับ...........................................................................104 19. ลักษณะอาคารบานเรือนในเยเมน.........................................................................105 20. อิกอล และหมวกกัฟฟยะฮฺ..................................................................................110 21. การใชอุปกรณปดหนาของสตรีชาวโอมาน..............................................................111 22. ผาโพกศีรษะฆุตเราะฮฺ และชุมาฆ..........................................................................112 23. การแตงกายของชาวโอมาน.................................................................................113 24. การแตงกายของชาวอาหรับในกลุมประเทศแถบอาวเปอรเซีย....................................114 25. การแตงกายของชาวเยเมน..................................................................................114 26. แผนที่จังหวัดปตตานี.........................................................................................116

(14)


รายการภาพประกอบ (ตอ) หนา 27. เสนทางการอพยพของชนมลายู............................................................................131 28. โครงสรางวัฒนธรรมมลายูปตตานี........................................................................134 29. แผนผังตระกูลภาษามลายูถิ่นปตตานี....................................................................146 30. ตัวอยางบานทรงมลายู........................................................................................168 31. ตัวอยางบานทรงปจจุบัน.....................................................................................170 32. การแตงกายของชาวมลายูปตตานีชวงตนรัตนโกสินทร..............................................172

(15)


บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาของปญหาและปญหา สังคมแตละสังคมยอมมีเอกลักษณ หรือลักษณะเฉพาะ ที่เรียกวาวัฒนธรรมเปนของ ตนเอง ซึ่งบางครั้งอาจเปนสิ่งที่สังคมนั้นๆ สรางขึ้นมาเอง แตบางวัฒนธรรมอาจเปนสิ่งที่นํามาจาก สังคมอื่น แลวนํามาผสมผสานเขาเปนวัฒนธรรมเดียวกัน เกิดเปนวัฒนธรรมใหมขึ้นมาอยางที่ปรากฏ มากมายในปจจุบัน จังหวัดปตตานีเปนจังหวัดที่ตั้งอยูทางภาคใตของประเทศไทย ซึ่งมีทําเลที่ตั้งอยูบน เสนทางที่มีการติดตอดานการคาระหวางเอเชียตะวันออกเฉียงใตกับภูมิภาคแถบเอเชียตะวันตกและ ตะวันออก รวมถึงยุโรปตั้งแตอดีต ทําใหดินแดนบริเวณนี้มีโอกาสปฏิสัมพันธกับวัฒนธรรมตางๆ ที่ เขามาติดตอคาขาย แลกเปลี่ยนสินคาระหวางกันอยางตอเนื่อง เปนผลทําใหวัฒนธรรมตางถิ่นจํานวน ไมนอยที่เขามาฝงรากหยั่งลึกลงบนดินแดนแหงนี้ โดยบางวัฒนธรรมถูกยอมรับและยึดถือเปนแบบ แผน ประเพณี และการดําเนินชีวิตของผูคนในสังคม บางวัฒนธรรมถูกปรับเปลี่ยนผสมกลมกลืนให เขากับวัฒนธรรมของทองถิ่นจนในที่สุดก็ถูกหลอมรวมเปนวัฒนธรรมมลายู ในบรรดาวัฒนธรรมที่เขามาติดตอปฏิสัมพันธและผสมผสานกับวัฒนธรรมมลายู วัฒนธรรมอาหรับดูเหมือนเปนวัฒนธรรมหนึ่งที่มีบทบาทมาตั้งแตอดีต ถึงแมวาหลักฐานและขอ พิสูจนที่กลาวถึงการเริ่มเขามาของวัฒนธรรมอาหรับสูดินแดนแถบนี้เมื่อใดยังไมเปนที่แนชัด ทวา กุสตาฟ เลอ บอง (Gustave Le Bon, n.d. : 553) ไดกลาวถึงเสนทางการคาของพอคาชาวอาหรับวา “พอคาชาวอาหรับจากเอเชียตะวันตกไดเดินเรือมาติดตอคาขายตามเมืองตางๆ ในแถบคาบสมุทร มลายูกอนการประสูติของศาสนทูตมุฮัมมัด  โดยชาวอาหรับจะเดินเรือจากตอนใตของคาบสมุทร อาหรับ ผานอินเดีย มะละกา อาวไทย ไปจนถึงทะเลจีนใต” ในทางประวัติศาสตรยอนหลังไปในคริสตศตวรรษที่ 7 ระบบการเขียนภาษามลายู แตกตางจากที่ใชอยูในปจจุบัน หลักศิลาจารึกที่พบในเกาะสุมาตราและบังกาจารึกดวยตัวอักษรกวิของ อินเดีย ซึ่งแสดงถึงอิทธิพลของวัฒนธรรมฮินดู-พุทธสมัยนั้น หลังจากนั้นในคริสตศตวรรษที่ 13 เมื่อ ศาสนาอิสลามไดแผขยายเขามา ไดนําเอาหลักคําสอนในคัมภีรอัลกุรอานและภาษาอาหรับ ซึ่งใชเขียน พระคัมภีรเขามาดวย นับแตนั้นมาภาษาอินเดียโบราณในบริเวณนั้นก็ถูกแทนที่ดวยภาษาอาหรับ

1


2

ชาวมลายูจึงหันมาใชอักษรอาหรับเปนตัวเขียนโดยมีการปรับเปลี่ยนเพื่อใหสอดคลองกับโครงสราง ของภาษาทองถิ่น1 จุดเริ่มตนของการรับวัฒนธรรมอาหรับสูสังคมมลายู นาจะเปนผลมาจากการรับนับ ถือศาสนาอิสลามของชาวมลายู โดยชาวอาหรับที่เขามาทําการคาขายกับชาวเมืองก็เผยแผศาสนาไป ดวย ในขณะที่การแตงกายของชาวอาหรับก็แตกตางไปจากชาวมลายู อาจทําใหชาวมลายูคิดวานั่นคือ ชุดของมุสลิม กอปรกับชาวมลายูที่มีโอกาสเดินทางไปประกอบพิธีหัจญ2บางสวนก็ไดศึกษาหาความรู วิชาการทางดานศาสนาไปดวยพรอม ๆ กัน จากการที่ไดไปสัมผัส และใชชีวิตอยูทามกลางถิ่นกําเนิด ของศาสนาอิสลามและวัฒนธรรมอาหรับ เมื่อกลับมายังคาบสมุทรมลายูกลุมคนเหลานั้นก็นําเอา วัฒนธรรมอาหรับติดตัวกลับมาและเผยแพรตอ ๆ กันไป ดานการแตงกาย ของชาวมลายูในปจจุบันจะเห็นวามีลักษณะที่แตกตางกันไป บาง คนอาจสวมเสื้อเชิ้ต กางเกงขายาวแบบสมัยนิยม หรือบางคนอาจสวมเสื้อแบบมลายู หรือที่เรียกวา “ตื อโละบลางอ” ผาโสรง โดยมีการผสมผสานใหเขากับหมวก “กปเยาะห”3 เสื้อยาวสีขาว หรือ “ชุดโตบ” ผาซัรบั่น หรือ “อิมามะฮฺ4” เสมือนวาเปนเครื่องแตงกายที่ใชในการประกอบศาสนกิจ ทั้งๆที่ความเปน จริงชาวอาหรับสวมชุดโตบในฐานะชุดธรรมดาที่สามารถสวมใสไดทุกเวลา และสถานที่โดยไมได จําเพาะเพียงแคการประกอบศาสนกิจเหมือนในสังคมมลายู ดานสถาปตยกรรม จิตรกรรม ลวดลายตาง ๆ ก็เปนอีกอยางหนึ่งที่ไดรับการยอมรับ จากชาวมลายู โดยจะเห็นวาตั้งแตสมัยแรกๆแหงการรับนับถือศาสนาอิสลาม ศาสนสถานที่สรางขึ้นก็ จะใชสถาปตยกรรมอาหรับดังปรากฏอยูจวบจนปจจุบัน ดังเชนมัสยิดกรือเซะ และมัสยิดตันหยงดา โตะ ซึ่งเปนมัสยิดที่สรางดวยการกออิฐถือปูนตามรูปแบบสถาปตยกรรมอาหรับเปนครั้งแรกในเอเชีย อาคเนย (อารีฟน บินจิ และคณะ, 2543 : 12) รวมถึงงานศิลปกรรมลวดลายการแกะสลักตาง ๆ ที่ ใช ป ระดั บ ตกแต ง บ า นเรื อ น ซึ่ ง นิ ย มใช ศิ ล ปอั ก ษรอาหรั บ หรื อ ที่ เ รี ย กว า อั ก ษรประดิ ษ ฐ (Calligraphy)

เครื่องใชไมสอยภายในบาน จากการที่ปตตานีตั้งอยูในเขตที่มีอากาศรอนชื้น ทําให ในอดีตชาวบานสวนใหญจะใชเสื่อจักสานปูรองนั่ง นอน หรือรับแขก ซึ่งถือเปนวิถีชีวิตแบบดั้งเดิม ของชาวบาน ในปจจุบันบทบาทของเสื่อจักสานลดลงไมเหมือนกับในอดีต ทั้งนี้อาจจะเปนเพราะพรม สุเทพ สุนทรเภสัช, “ปอเนาะ มรดกสถาบันการศึกษากับบูรณาการทางศาสนาและสังคมของชาวมาเลยมุสลิมในจังหวัดภาคใตของ ประเทศไทย” , ศิลปวัฒนธรรม , 10 (สิงหาคม 2547) , 105 2 หัจญ หมายถึง การจาริกแสวงบุญ ณ นครมักกะฮฺ ประเทศซาอุดีอาระเบีย 3 กูปยะห (Kopiah) หรือ ปเยาะ หมายถึง หมวกที่ชายชาวมลายูนิยมใส โดยเฉพาะในชวงทําการละหมาด ซึ่งสวนใหญจะมีสีขาวและมี ลวดลายตามสมัยนิยม (“Ketayap” , Ensiklopedia Sejarah dan Kebudayaan Melayu. 2, 1233) 4 อิมามะฮฺ ( ‫ ) ﻋﻤﺎﻣﺔ‬หรือ ซัรบั่น ( ‫ ) ﺳﺮﺑﺎﻝ‬หมายถึง ผาที่ใชพันศีรษะ 1


3

ที่มีแหลงกําเนิดจากกลุมประเทศในแถบเอเชียตะวันตกและยุโรป เริ่มเขามามีบทบาทแทนที่เสื่อจัก สาน โดยเฉพาะสําหรับปูรองพื้นเวลาประกอบศาสนกิจ สวนใหญใช “สะญะดะฮฺ5” มาปูรองพื้น ซึ่งเดิม ทีหนาที่นี้เคยเปนของเสื่อจักสานผืนเล็ก ๆ ภาษาก็เปนอีกประการหนึ่งที่มีการผสมผสานกับวัฒนธรรมอื่นที่มาจากภายนอก ซึ่ง จะปรากฏอยูในรูปแบบของคํายืม ในภาษามลายูโดยเฉพาะภาษามลายูถิ่นปตตานีมีคํายืมที่มาจาก ภาษาอาหรับมากมายหลายรอยคํา จนสามารถแบงออกเปนหมวดตางๆ ดังเชน หมวดที่เกี่ยวกับ ศาสนา สังคม คําเรียกญาติ เครื่องแตงกาย และอื่นๆ แตที่นาสนใจยิ่งไปกวานั้นคําที่ยืมมานอกจากจะ ใชสื่อความหมายระหวางสมาชิกในสังคมแลว ภาษายังมีผลตอความคิดและทัศนคติของสมาชิกใน สังคมอีกดวย อิทธิพลของภาษาอาหรับไมเพียงแตจะมีบทบาทเฉพาะในดานการพูด และคํานับ ญาติ แตยังรวมไปถึงลักษณะของไวยากรณที่ใชในการเขียนตํารา กลาวคือ ถาหากสังเกตรูปแบบการ ใชภาษาในกีตาบยาวี6ตั้งแตอดีต จะพบวาผูแตงเขียนโดยใชไวยากรณอาหรับ สวนการใชเวลาในยามวางก็เชนเดียวกัน เดิมทีหลังจากการรับประทานอาหารบางคน อาจชอบที่จะนั่งดื่มชา หรือบางคนอาจใชวิธีการสูบบุหรี่ ใบจาก เพื่อเปนการพักผอนหยอนใจ ซึ่ง วัฒนธรรมดังกลาวอาจเหมือนกันในทุกๆสังคม แตหลังจากชาวมลายูไดมีการติดตอ ปฏิสัมพันธกับ ผูคนภายนอกโดยเฉพาะสังคมอาหรับ เราจะเห็นวาบางคนหันไปใชวิธีการสูบแบบชาวอาหรับ หรือใช อุปกรณที่เรียกวา “นารอญีละฮฺ”7 ซึ่งเปนอุปกรณที่ใชกันอยางแพรหลายในหมูชาวอาหรับ และใน ปจจุบันเราสามารถพบไดในสังคมมลายู ทวาเมื่อกลาวถึงวัฒนธรรมอาหรับ หลายคนกลับคิดวาหมายถึงวัฒนธรรมอิสลาม ทั้งๆ ที่ในความเปนจริงอาจเปนคนละสวนกัน เหตุผลอาจเนื่องมาจากวา ในเมื่อศาสนาอิสลามมีจุด กําเนิดบนคาบสมุทรอาหรับ เพราะฉะนั้นทุกสิ่งทุกอยางที่มาจากอาหรับก็ตองเปนอิสลาม แตในความ เปนจริงอาจไมใชอยางที่หลายคนเขาใจ เนื่องจากวาวัฒนธรรมอิสลามเกิดจากบทบัญญัติ และคําสอน ที่เกี่ยวของกับศาสนาเปนหลัก แตวัฒนธรรมอาหรับเปนวิถีชีวิตของชาวอาหรับซึ่งอาจจะสอดคลองกับ หลักการของศาสนาหรือไมก็ได ดังนั้นเราจึงไมอาจกลาวไดวา “ชุดโตบ” เปนชุดของผูที่นับถือศาสนา อิสลามและเปนวัฒนธรรมอิสลาม ในขณะเดียวกันเราก็สามารถที่จะกลาวไดวา การละหมาด การถือ ศีลอด และการประกอบพิธีหัจญ เปนวัฒนธรรมอิสลาม เนื่องจากศาสนกิจดังกลาวมาจากบทบัญญัติ ของศาสนาอิสลาม 5

พรมผืนเล็กสําหรับใชปูละหมาด ตําราศาสนาที่เปนภาษามลายูซึ่งใชอักษรอาหรับในการเขียน ซึ่งตอมาเรียกวา อักษรยาวี 7 นารอญีละฮฺ หรืออีกชื่อหนึ่งคือ มอระกู ซึ่งหมายถึง หมอสูบยาของชาวอาหรับ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2542 : 843) 6


4

วัฒนธรรมไมเพียงแตบงบอกลักษณะหรือเอกลักษณของกลุมชนในสังคม บางโอกาส วัฒนธรรมอาจบงบอกถึงฐานะทางเศรษฐกิจ อาชีพ สัญชาติ ศาสนา หรืออื่นๆ โดยเฉพาะวัฒนธรรม ทางดานการแตงกาย ดังจะเห็นไดจากผูที่เปนครูบาอาจารยจะแตงตัวสุภาพเรียบรอย นักธุรกิจจะแตง กายภูมิฐานดูนาเชื่อถือ ในบางครั้งเราสามารถทราบสัญชาติหรือศาสนาของผูคนไดโดยอาศัยการ สังเกตจากเครื่องแตงกาย ดังเชนสตรีชาวอินเดียมักจะสวมชุดสาหรี8 หรือหากเปนสตรีมุสลิมชาว มาเลยเซีย หรือบรูไนก็มักจะแตงกายดวยชุดกูรง9ที่มีลวดลายและสีสันฉูดฉาด เหลานี้ลวนแตเปน ปรากฏการณทางวัฒนธรรมทั้งสิ้น ปจจุบันเมื่อผูคนสามารถมองเห็น และสัมผัสกับสิ่งตางๆ ที่อยูทั่วทุกมุมโลกไดอยาง ไมมีขอจํากัด การหลั่งไหลของสินคาและผูคนจึงกลายเปนพลวัตหรือพลังขับเคลื่อนกระบวนการ เปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมจนกลายเปนรูปแบบของวัฒนธรรมสากล (เออรลา สวิงเกิล, 2547 : 110-127) ในที่สุดภาพของวัฒนธรรมตางแดนก็เขามาปรากฏอยูรอบๆ ตัวเราโดยเฉพาะสังคม มลายูในจังหวัดปตตานี จนทําใหบางครั้งอาจเขาใจวาวัฒนธรรมตางแดนเปนวัฒนธรรมดั้งเดิมของ ชาวมลายู ดังนั้นวัฒนธรรมอาหรับที่มีอยูในสังคมมลายูในจังหวัดปตตานี โดยเฉพาะวัฒนธรรม ทางดานภาษา และการแตงกาย ตลอดจนประวัติความเปนมาของวัฒนธรรมอาหรับในสังคมมลายู จังหวัดปตตานี อีกทั้งในปจจุบันไมมีใครปฏิเสธไดวาวัฒนธรรมอาหรับไมไดเกี่ยวของกับสังคมมลายู ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจากวั ฒ นธรรมอาหรั บ ได เ ข า มามี บ ทบาทในการสร า งงาน สร า งรายได ใ ห แ ก ช าวมลายู มากมายในแตละป และยังไดเขามาเปนสวนหนึ่งในวิถีชีวิตของชาวมลายู จากประเด็นดังกลาวผูวิจัย เห็นวาอิทธิพลของวัฒนธรรมอาหรับตอสังคมมลายูในจังหวัดปตตานีเปนเรื่องที่ตองทําการศึกษาวิจัย เปนอยางยิ่ง

8

สาหรี เปนเครื่องแตงกายสตรีอินเดียแบบหนึ่ง ประกอบดวยผาชิ้นยาวประมาณ 5-6 เมตร ใชเปนทั้งผานุงและผาหม สวนที่นุง ยาว กรอมสน พันรอบตัวและจีบขางหนาเหน็บไวที่เอว สวนผาหมใชชายผาที่เหลือพาดอกและสะพายบา โดยมากเปนบาซายหอยชายไปขาง หลัง ชายที่หอยดึงมาคลุมหัวก็ได (ราชบัณฑิตยสถาน, 2542 : 1186) 9 กูรง (Baju Kurong) เปนเครื่องแตงกายของของชาวมลายู สําหรับผูหญิงจะมีลักษณะเปนเสื้อแขนยาวคอกลมเล็ก และมีชายเสื้อยาว ถึงเขา (“Baju Kurong” , Ensiklopedia Sejarah dan Kebudayaan Melayu. 1, 392)


5

1.2 อัลกุรอาน อัลหะดีษ เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของ 1.2.1 อัลกุรอานที่เกี่ยวของ คัมภีรอัลกุรอานเปนธรรมนูญชีวิตของมุสลิม ซึ่งประกอบไปดวยแนวทาง คําสอน และบทบัญญัติตาง ๆ ที่สมบูรณ ดังที่อัลลอฮฺ  ไดตรัสไวในสวนหนึ่งของสูเราะฮฺอัลมาอิดะฮฺ อายะฮฺที่ 3 ความวา àMŠÅÊu‘uρ ©ÉLyϑ÷èÏΡ öΝä3ø‹n=tæ àMôϑoÿøCr&uρ öΝä3sΨƒÏŠ öΝä3s9 àMù=yϑø.r& tΠöθu‹ø9$# ® 〈 4 $YΨƒÏŠ zΝ≈n=ó™M}$# ãΝä3s9

(3 : ‫)ﺍﳌﺎﺋﺪﺓ‬ ความวา “วันนี้ขาไดใหสมบูรณแกพวกเจาแลวซึ่งศาสนาของพวกเจา และขาไดใหครบถวนแกพวกเจาแลวซึ่งความเมตตากรุณาของขา และขาไดเลือกอิสลามใหเปนศาสนาแกพวกเจา” (อัลมาอิดะฮฺ : 3) จากการศึกษาอัลกุรอานที่เกี่ยวของกับวัฒนธรรม พบวาในคัมภีรอัลกุรอาน อัลลอฮฺ  ไดตรัสถึงเรื่องความหลากหลายทางวัฒนธรรมไวในสวนหนึ่งของสูเราะฮฺ อัลหุุร็อต อายะฮฺที่ 13 และในสูเราะฮฺ อัรรูม อายะฮฺที่ 22 อัลลอฮฺ  ไดตรัสวา öΝä3≈sΨù=yèy_uρ 4©s\Ρé&uρ 9x.sŒ ⎯ÏiΒ /ä3≈sΨø)n=yz $¯ΡÎ) â¨$¨Ζ9$# $pκš‰r'¯≈tƒ ® 〈 4 (#ûθèùu‘$yètGÏ9 Ÿ≅Í←!$t7s%uρ $\/θãèä©

(13 : ‫)ﺍﳊﺠﺮﺍﺕ‬


6

ความวา “โอมนุษยชาติทั้งหลาย แทจริงเราไดสรางพวกเจาจากเพศ ชายและเพศหญิง และเราไดให พ วกเจาแยกเป น เผาและตระกูล เพื่อพวกเจาจะไดทําความรูจักกัน” (อัลหุุร็อต : 13) ß#≈n=ÏG÷z$#uρ ÇÚö‘F{$#uρ ÏN¨uθ≈yϑ¡¡9$# ß,ù=yz ⎯ϵÏG≈tƒ#u™ ô⎯ÏΒuρ ® 〈 t⎦⎫ÏϑÏ=≈yèù=Ïj9 ;M≈tƒUψ y7Ï9¨sŒ ’Îû ¨βÎ) 4 ö/ä3ÏΡ¨uθø9r&uρ öΝà6ÏGsΨÅ¡ø9r&

(22 : ‫)ﺍﻟﺮﻭﻡ‬ ความวา “และหนึ่งจากสัญญาณทั้งหลายของพระองค คือ การสราง ชั้นฟาทั้งหลายและแผนดิน และการแตกตางของภาษาของพวกเจา และผิ ว พรรณของพวกเจ า แท จ ริ ง ในการนี้ แน น อนย อ มเป น สัญญาณสําหรับบรรดาผูมีความรู” (อัรรูม : 22) จากอายะฮฺขางตนอัลลอฮฺ  ไดตรัสถึงลักษณะการสรางมนุษย ที่มีความแตกตาง ทางดานเชื้อชาติ เผาพันธุ ภาษาพูด ผิวพรรณ และขนบธรรมเนียมประเพณี โดยมีเปาประสงคเพื่อ มนุษยชาติจะไดเรียนรูทําความรูจัก และแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมซึ่งกันและกัน ซึ่งอัลลอฮฺ  และ ศาสนทูตมุฮัมมัด  ก็ไมไดทรงยกยองและถือวาวัฒนธรรมหนึ่งมีศักดิ์ศรีเหนือกวาอีกวัฒนธรรม หนึ่ง ดังที่ไดตรัสไวในสวนหนึ่งของสูเราะฮฺ อัลหุุร็อต อายะฮฺที่ 13 ความวา 〈 ÖÎ7yz îΛ⎧Ï=tã ©!$# ¨βÎ) 4 öΝä39s)ø?r& «!$# y‰ΨÏã ö/ä3tΒuò2r& ¨βÎ) ®

(13 : ‫)ﺍﳊﺠﺮﺍﺕ‬


7

ความวา “แทจริงผูมีเกียรติยิ่งในหมูพวกเจา ณ อัลลอฮฺนั้นคือ ผูที่มี ความเกรงกลัวยิ่งในหมูพวกเจา แทจริงอัลลอฮฺนั้นเปนผูทรงรอบรู อยางละเอียดถี่ถวน” (อัลหุุร็อต : 13) 1.2.2 อัลหะดีษที่เกี่ยวของ จากการศึกษาอัลหะดีษ ผูวิจัยพบว า ท านศาสนทู ตมุฮั ม มัด  ได ก ลาวถึ งความ แตกตางทางวัฒ นธรรมของแต ล ะเผ าพัน ธุ ดั งเห็ น ได จากหะดี ษที่ 22391 ซึ่ ง บั น ทึ ก โดยอะหฺ มั ด (1991) ระบุวา ทานศาสนทูตมุฮัมมัด  ไดกลาวในตอนหนึ่งของคุฏบะฮฺ10วันตัชรี๊ก11 ความวา

‫ﻀ ﹶﻞ‬  ‫ﺪ ﹶﺃﻟﹶﺎ ﻟﹶﺎ ﹶﻓ‬ ‫ﺣ‬ ‫ﺍ‬‫ﻢ ﻭ‬ ‫ﺎ ﹸﻛ‬‫ﻭﹺﺇﻥﱠ ﹶﺃﺑ‬ ‫ﺪ‬ ‫ﺣ‬ ‫ﺍ‬‫ﻢ ﻭ‬ ‫ﺑ ﹸﻜ‬‫ﺭ‬ ‫ﺱ ﹶﺃﻟﹶﺎ ﹺﺇﻥﱠ‬  ‫ﺎ‬‫ﺎ ﺍﻟﻨ‬‫ﻳﻬ‬‫ﺎ ﹶﺃ‬‫)) ﻳ‬ ‫ﺩ‬ ‫ﻮ‬ ‫ﺳ‬ ‫ﻋﻠﹶﻰ ﹶﺃ‬ ‫ﺮ‬ ‫ﻤ‬ ‫ﺣ‬ ‫ﻟﹶﺄ‬ ‫ﻭﻟﹶﺎ‬ ‫ﻲ‬ ‫ﺮﹺﺑ‬ ‫ﻋ‬ ‫ﻋﻠﹶﻰ‬ ‫ﻲ‬ ‫ﻤ‬ ‫ﺠ‬  ‫ﻌ‬ ‫ﻟ‬ ‫ﻭﻟﹶﺎ‬ ‫ﻲ‬ ‫ﻤ‬ ‫ﺠ‬  ‫ﻋ‬ ‫ﻋﻠﹶﻰ ﹶﺃ‬ ‫ﻲ‬ ‫ﺮﹺﺑ‬ ‫ﻌ‬ ‫ﻟ‬ (( ‫ﻯ‬‫ﺘ ﹾﻘﻮ‬‫ﺮ ﹺﺇﻟﱠﺎ ﺑﹺﺎﻟ‬ ‫ﻤ‬ ‫ﺣ‬ ‫ﻋﻠﹶﻰ ﹶﺃ‬ ‫ﺩ‬ ‫ﻮ‬ ‫ﺳ‬ ‫ﻭﻟﹶﺎ ﹶﺃ‬ ความวา “โอประชาชาติทั้งหลาย พึงทราบเถิดวาพระผูอภิบาลของ พวกทา นมี อ งค เ ดี ย ว และบิ ดาของพวกท านก็ มีค นเดี ยว และพึ ง ทราบเถิดวาชาวอาหรับนั้นไมไดประเสริฐไปกวาผูที่ไมใชชาวอาหรับ และผูที่ไมใชชาวอาหรับก็ไมไดประเสริฐไปกวาชาวอาหรับ คนผิว แดงไมไดประเสริฐกวาคนผิวดํา และคนผิวดําก็ไมไดประเสริฐไป กวาคนผิวแดง นอกเสียจากวาดวยความยําเกรง” (บันทึกโดย Ahmad, 1991 : 22391) นอกจากนี้ทานศาสนทูตมุฮัมมัด  วัฒนธรรมและชาติพันธุที่มีอยูในสังคมมนุษยวา

10 11

คุฏบะฮฺ หมายถึง การแสดงปาฐกถาธรรม วันที่ 11-13 ของเดือน ซุลฮิจญะฮฺ หรือเดือนที่ 12 ตามปฏิทินอิสลาม

ยังไดกลาวถึงลักษณะความแตกตางของ


8

‫ﺽ‬ ‫ﺭ ﹺ‬ ‫ﻴ ﹺﻊ ﺍﹾﻟﹶﺄ‬‫ﺟﻤ‬ ‫ﻦ‬ ‫ﻣ‬ ‫ﺎ‬‫ﻀﻬ‬  ‫ﺒ‬‫ﺔ ﹶﻗ‬ ‫ﻀ‬  ‫ﺒ‬‫ﻦ ﹶﻗ‬ ‫ﻣ‬ ‫ﻡ‬ ‫ﺩ‬ ‫ﻖ ﺁ‬ ‫ﺧﹶﻠ‬ [‫ﻪ ]ﺗﻌﺎﱃ‬ ‫)) ﹺﺇﻥﱠ ﺍﻟﻠﱠ‬ ‫ﻴﺾ‬‫ﺑ‬ ‫ﺍﹾﻟﹶﺄ‬‫ ﻭ‬‫ﻤﺮ‬ ‫ﺣ‬ ‫ ﺍﹾﻟﹶﺄ‬‫ﻢ‬‫ﻨﻬ‬‫ﻣ‬ ‫ﺎ َﺀ‬‫ ﹶﻓﺠ‬، ‫ﺽ‬ ‫ﺭ ﹺ‬ ‫ﺪ ﹺﺭ ﺍﹾﻟﹶﺄ‬ ‫ﻋﻠﹶﻰ ﹶﻗ‬ ‫ﻡ‬ ‫ﺩ‬ ‫ﻮ ﺁ‬‫ﺑﻨ‬ ‫ﺎ َﺀ‬‫ﹶﻓﺠ‬ ((‫ﺐ‬‫ﺍﻟ ﱠﻄﻴ‬‫ﺨﺒﹺﻴﺚﹸ ﻭ‬  ‫ﺍﹾﻟ‬‫ﺰﻥﹸ ﻭ‬ ‫ﺤ‬  ‫ﺍﹾﻟ‬‫ﻬ ﹸﻞ ﻭ‬ ‫ﺍﻟﺴ‬‫ ﻭ‬، ‫ﻚ‬  ‫ﻟ‬‫ﻦ ﹶﺫ‬ ‫ﻴ‬‫ﺑ‬‫ﻭ‬ ‫ﻮﺩ‬ ‫ﺳ‬ ‫ﺍﹾﻟﹶﺄ‬‫ﻭ‬ ความวา “แทจริงอัลลอฮฺ  ไดทรงสรางอาดัมจากดิน ซึ่งไดถูก รวบรวมมาจากสวนตาง ๆ ของโลก ฉะนั้นลั กษณะลู กหลานของ อาดัม (มนุษยทุกคน : ผูวิจัย) จึงขึ้นอยูกับลักษณะของแผนดิน ดวย เหตุดังกลาวบางคนในหมูพวกเขาจึงมีผิวแดง บางคนมีผิวขาว ผิว ดํา และระหวางทั้งสองนั้น (น้ําตาล : ผูวิจัย) และบางคนก็มีนิสัย เรียบงาย บางคนก็หยาบกระดาง บางคนก็เลว และบางคนก็ดี ” (บันทึกโดย al-Tirmīdhīy, 1983 : 2879) จากหะดีษขางตน แมวาจะเปนหะดีษที่กลาวถึงการสรางทานนบีอาดัม  และบง บอกถึงพลานุภาพของอัลลอฮฺ แตอีกแงหนึ่งจะสังเกตเห็นการวางแนวคิดเกี่ยวกับสังคมวิทยาและ มานุษวิทยาของศาสนทูตมุฮัมมัด  โดยทานไดระบุถึงความแตกตางของมนุษยทั้งดานชาติพันธุและ ลักษณะนิสัย ทั้งนี้เพื่อเปนแนวทางในการทําความเขาใจลักษณะอันซับซอนของสังคมและพฤติกรรม ของมนุ ษ ย ว า ทั้ ง สั ง คมและวั ฒ นธรรมของแต ล ะกลุ ม ชนนั้ น แตกต า งกั น โดยมี ป จ จั ย หลั ก คื อ สภาพแวดลอมทางภูมิศาสตร กลาวคือสังคมมนุษยที่ตั้งอยูในสภาพแวดลอมทางภูมิศาสตรแตกตาง กัน มีปญหาและความจําเปนในการดํารงชีวิตที่แตกตางกัน จึงทําใหวัฒนธรรม นิสัยใจคอ รวมถึง ลักษณะทางกายภาพของมนุษยในแตละสังคมแตกตางกันไปดวย 1.2.3 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของ จากการศึ ก ษาและค น คว า เอกสารที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ งานวิ จั ย ในประเด็ น ที่ เ กี่ ย วกั บ วัฒนธรรมมลายู และวัฒนธรรมอาหรับ รวมถึงการปฏิสัมพันธระหวางชาวอาหรับกับชาวมลายู สวน ใหญ พ บว า งานวิ จั ย และเอกสารที่ เ กี่ ย วข อ งจะมุ ง ประเด็ น อิ ท ธิ พ ลทางด า นภาษาเป น หลั ก ส ว น วั ฒ นธรรมด า นอื่ น ยั ง ไม ป รากฏชั ด เจน เอกสารและงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข อ งซึ่ ง ผู วิ จั ย ได ใ ช ป ระกอบ การศึกษาคนควา มีดังนี้


9

ครองชัย หัตถา (2548 : 3) เขียนในหนังสือ “ประวัติศาสตรปตตานีสมัยอาณาจักร โบราณถึงการปกครอง 7 หัวเมือง” วา ปตตานีมีบทบาททางการคาและการเมืองการปกครองมาเปน เวลานาน ปตตานีมีทําเลที่ตั้งที่เหมาะสมบนคาบสมุทรมลายู ซึ่งเปนศูนยกลางระหวางตะวันออกกับ ตะวันตก คือ จีนกับอินเดีย รวมทั้งอาหรับและเปอรเซีย ปตตานีเปนเมืองทาที่มีชื่อเสียงเปนที่รูจัก อยางกวางขวางมาตั้งแตสมัยลังกาสุกะ ชื่อ “ปะตานี” ปรากฎในเอกสารตางประเทศมากมาย ปตตานี ในระหว า งพุ ท ธศตวรรษที่ 21-23 ได รั บ การกล า วถึ ง ว า เป น ศู น ย ก ลางการค า และเป น เมื อ งท า นานาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต บันทึกของกัปตันชาวอังกฤษ ในป พ.ศ.2261ระบุวาทาเรือ ปตตานีเปนทาเรือที่ใหญที่สุดสําหรับการคาในยานทะเลแถบนี้ นอกจากนี้ยังเปนทาเรือคูคา (staple port) กับเมืองทาสุรัต มะละบาร กัว โคโรมันเดล และเปนทาเรือสองพี่นอง (sister port) กับทาเรือ ฮิราโดะของญี่ปุน ปตตานีในระยะนั้นมีการปกครองที่เขมแข็งมีการจัดเก็บภาษีที่เปนระบบและเปน ธรรมกับพอคาทุกชาติ มีการดําเนินการดานการทูตกับนานาประเทศ เมืองปตตานีในระหวางพุทธ ศตวรรษที่ 21-23 ไดชื่อวาเปนเมืองหลวง (Kota Raja) และเปนมหานคร (Metropolis) ของชาว มลายู นอกจากนั้นยังไดรับการกลาวถึงวาเปนระเบียงแหงเมกกะ(มักกะฮฺ : ผูวิจัย) และเปนศูนยกลาง การเผยแพรศาสนาอิสลามที่ดีที่สุดแหงหนึ่งในภูมิภาคมลายู (Nusantara) ดับเบิลยู เค เจะมาน (W. K. Che Man, 1989 : 114) เขียนใน “Islam in Contemporary Patani” วา ในชวงที่กษัตริยและขาราชการชั้นผูใหญในราชวังและพระบรมวงศานุ วงศเปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลาม เมืองปตตานีประกอบดวยคนเชื้อสายตาง ๆ อาศัยอยูเปนจํานวน มาก อาทิ จีน อาหรับ อินเดีย สยาม และเขมร เปนตน ซึ่งสวนหนึ่งก็เปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลาม ดวยเชนกัน ดวยเหตุนี้จึงพบวาผูที่นับถือศาสนาอิสลามในปตตานี นอกจากจะประกอบดวยชาวมลายู มุสลิมเปนสวนใหญแลว ยังมีมุสลิมเชื้อสายจีน อาหรับ และอื่น ๆ โดยเฉพาะที่กรือเซะ อันเปนชุมชน ที่ตั้งเมืองปตตานีดารุสลามในอดีตนั้นมีผูที่นับถือศาสนาอิสลาที่มีเชื้อสายจีนอยูเปนจํานวนมาก อุมัร ฟารูค บายูนิด (Omar Farouk Bajunid, 1996 : 102) ไดศึกษาเรื่อง “The Arabs in Southeast Asia : A Prelimitary Overview” พบวา ชาวอาหรับเขามาอาศัยอยูใน ดินแดนแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนระยะเวลานานแลว โดยสามารถแบงลักษณะของการเขามา ออกเปน 2 ลักษณะ คือ 1) เขามาในชวงกอนยุคลาอาณานิคมหลายศตวรรษ โดยจะมีการปรับตัวให เขากับวัฒนธรรมและสังคมทองถิ่น ในระยะนี้ภาพแหงความเปนอาหรับจะยังไมปรากฏ เนื่องจาก พื้นที่ใหมมีสภาพทางสังคม วัฒนธรรม แตกตางไปจากพื้นที่ที่ตัวเองเคยอาศัยอยู 2) เขามาในยุคลา อาณานิคม ซึ่งภาพแหงความเปนอาหรับจะปรากฏเพิ่มมากขึ้น โดยสังเกตไดจากชุมชนอาหรับที่จะอยู คูกับการคา


10

กุสตาฟ เลอ บอง (Gustave Le Bon, n.d. : 553) เขียนในหนังสือ “Hadārah al‘Arab” วา การติ ดตอ ระหว างพอ ค าชาวอาหรั บกั บชนชาติ ในแถบคาบสมุทรมลายู เ กิดขึ้ นกอนการ ประสูติของทานศาสนทูตมุฮัมมัด  โดยอาศัยเสนทางการเดินเรือจาก อินเดีย มะละกา อาวไทย ไป จนถึงทะเลจีนใต พี ร ยศ ราฮิ ม มู ล า (2543:11-12) ได เ ขี ย นใน “พั ฒ นาการประวั ติ ศ าสตร ราชอาณาจักรมลายูปตตานี ตั้งแต ค.ศ. 1350-1909 และการเขามาของศาสนาอิสลามในภูมิภาค ป ตตานี” ว า การติ ดตอระหว างประเทศอาหรั บกั บเอเชี ยตะวั น ออกเฉี ย งใตเ กิดขึ้ น อยางเร็ วที่ สุ ด ประมาณศตวรรษที่ 4 สว นการคาระหวางเปอรเ ซียและอาหรั บนั้น เกิดขึ้นอยางเร็วที่สุดประมาณ ศตวรรษที่ 9 และโดยทั่วไปแลวพอคาชาวเปอรเซียและอาหรับไมประสบผลสําเร็จในการปลูกฝง ประเพณีทางศาสนาของพวกเขา อิสมาอีล ฮามิด (2545 : 62) ไดเขียนไวในหนังสือ “การเผยแผอิสลามในเอเชียและ ภูมิภาคมลายู” ซึ่งแปลโดย อับดุลเลาะ อับรู วาความสัมพันธทางการคาระหวางประเทศอาหรับกับหมู เกาะมลายูปรากฏขึ้นกอนการเกิดขึ้นของศาสนาอิสลามในแผนดินอาหรับ แตความสัมพันธดังกลาว เกิดขึ้นผานการคาระหวางภูมิภาคมลายูกับประเทศอาหรับเทานั้น ในขณะเดียวกัน ชาวอาหรับไดตั้ง ชุมชนของตนเองขึ้นในภูมิภาคมลายูกอนที่ลมมรสุมจะพัดพาเรือพวกเขาลองกลับไปยังประเทศจีน หรือกลับไปยังประเทศอาหรับ อ. ลออแมน (2541 : 38) ไดเขียนใน “ลังกาสุกะ ปะตานีดารุสสลาม” โดยอางจาก “ตารีค ปะตานี" ของ ชัยคฺ ฟากิฮฺ อาลี ระบุวา ชาวอาหรับ และชาวเปอรเซียเขามาคาขายที่ปะตานี ตั้งแตพวกเขายังนับถือศาสนาดั้งเดิมอยู โดยมีทั้งศาสนาโซโรแอสเตอร ยูดาย และคริสต ฟลิป เค ฮิตติ (Philip K. Hitti, 1970 : 45-50) ไดเขียนใน “History of the Arabs” ว า ความสั ม พั น ธ ร ะหว า งชาวอาหรั บ กั บ ภู มิ ภ าคมลายู เ กิ ด ก อ นอิ ส ลามมานานแล ว ซึ่ ง ความสัมพันธนี้เกิดขึ้นกอนที่อิสลามจะมีขึ้นในโลกอาหรับดวยซ้ํา โดยชาวอาหรับทางตอนใตที่เรียกวา พวกซาเบียน (Sabean) ซึ่งเปนพวกที่มีวัฒนธรรมสูงสง พวกเขาไดสถาปนาการปกครองที่เขมแข็ง รัฐของพวกเขาก็เจริญรุงเรืองซึ่งเปนผลมาจากกิจกรรมทางการคาของคนภายในรัฐ คนอาหรับพวกซา เบียนมีความชํานาญพิเศษทางดานการเดินเรือ จนกระทั่งพวกเขาสามารถมีอิทธิพลทางการคาในแถบ มหาสมุทรอินเดีย จี อาร ทิบเบตต (G.R. Tibbetts, 1956 : 205-206) เขียนไวใน “Pre-Islamic Arabia and Southeast Asia” วา ชาวอาหรับไดมาถึงแหลมมลายูประมาณศตวรรษที่ 1-2 โดย อาศัยหลักฐานจากลูกปด ประมาณ 600 ชิ้นที่ถูกคนพบบนแหลมมลายู


11

อิบนุ คุรดาษฺบะฮฺ (’Ibn Khurdādhbah) ไดเขียนในหนังสือ “al-Masālik wa alMamālik” วา ระหวางเดินทางไปยังจีน พอคาชาวอาหรับแวะตามเมืองตาง ๆ ในคาบสมุทรมลายู อาทิ กาละฮฺ (เกดะห) ติยูมัน (ติโอมัน) ซาละฮัต ฟนซูร และรัมนี เปนตน นอกจากนั้นยังมีอาณาจักร ซาบิจญ (ศรีวิชัย) ซึ่งเปนอาณาจักรที่ยิ่งใหญและกษัตริยของอาณาจักรนี้มีชื่อวามหาราช12 มูฮัมมัด ตอยยิบ บิน อุสมาน (Mohd Taib Bin Osman, อางจาก อัสสมิง กาเซ็ง, 2544 : 20) ไดทําการวิจัยเกี่ยวกับคําศัพทภาษาตางประเทศในหนังสือพิมพภาษามลายูมาตรฐาน ในชวงป ค.ศ.1941 โดยในสวนของคําศัพทภาษาอาหรับนั้นเขาไดทําการวิจัยเฉพาะคําศัพทที่ไม เกี่ยวกับศาสนาอิสลาม จากการวิจัยพบวา คําศัพทภาษาอาหรับสวนใหญถูกนํามาใชอางถึงสิ่งใหม ๆ ที่เขา มาในวั ฒ นธรรมมลายู เช น สิ่ ง ประดิ ษฐ ใ หม ๆ ศั พ ท วิช าการและการเมื อ งการปกครอง ซึ่ งศั พ ท เหลานั้นสวนใหญถูกยืมมาจากตะวันตกเขามายังภูมิภาคมลายูโดยผานภาษาอาหรับ โดยเฉพาะอยาง ยิ่ ง ประเทศอี ยิ ป ต แ ละตุ ร กี ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจากในช ว งเวลาดั ง กล าวทั้ ง สองประเทศมี ก ารติ ด ต อ และมี ความสัมพันธอยางใกลชิดกับโลกตะวันตก มูฮัมมัด อับดุลญับบาร เบก (Muhammad Abdul Jabbar Beg, 1983, Quoted in Hasan Madmarn, 2002 : 46-47) ไดทําการศึกษาคํายืมภาษาอาหรับในภาษามลายูมาตรฐานในแง ของอิทธิพลทางดานภาษา พบวา ภาษาอาหรับเปนวัฒนธรรมทางภาษาที่ยิ่งใหญ ภาษาอาหรับเปน ภาษาพิธีกรรมของศาสนาอิสลาม แหลงที่มาของศาสนาอิสลามคือคัมภีรอัลกุรอานและอัลหะดีษ13ก็ เขียนดวยภาษาอาหรับ คัมภีรอันเปนที่มาของศาสนาอิสลามดังกลาว ไมวาจะเปนชาวอาหรับหรือไมใช ชาวอาหรับทั่วโลกจะตองอานจากตนฉบับที่เปนภาษาอาหรับ ภาษาอาหรับเปนสื่อของศาสนาอิสลาม หรือกลาวอีกนัยหนึ่งภาษาอาหรับและศาสนาอิสลามมีความเกี่ยวของสัมพันธกันยากที่จะแยกออกจาก กันได คําที่ยืมมาจากภาษาอาหรับจะพบไดในภาษาจํานวนมากของทวีปเอเชีย แอฟริกา และยุโรป ภาษาในทวีปเอเชีย ไดแก เปอรเซีย ตุรกี เคอรติส อูรดู ฮินดี ออริยา ทมิฬ เบงกาลี ทิเบต และมลายู ฯลฯ อัสสมิง กาเซ็ง (2544 : ง) ไดศึกษาเกี่ยวกับคํายืมภาษาอาหรับในภาษามลายูถิ่น ปตตานี พบวา คํายืมภาษาอาหรับในภาษามลายูถิ่นปตตานีสวนใหญเปนคํายืมทับศัพทมิใชคํายืมปน และคํายืมแปล สวนใหญเปนคํานาม รองลงมาเปนคํากริยา คําคุณศัพท คําสันธาน และคําที่เปนทั้งได ทั้งคํากริยาและคํานาม ความหมายของคํายืมสวนใหญจะเกี่ยวกับการกระทํา ความคิดและความเชื่อ 12

al-Maktabah al-’Islāmīyah. 2007. al-Masālik wa al-Mamālik. (Online) Search from www.al-eman.com/islamlib/viewchp.asp?BID=223&CID=3 [6 April 2007]

อัลหะดีษ ตามทัศนะของปวงปราชญดานหะดีษ (มุหัดดิษูน) หมายถึง วัจนะ จริยวัตร และบุคลิกลักษณะของศาสนทูตมูฮัมมัด  รวมถึงการกระทําอันเปนที่ยอมรับจากทาน (Abdullah Kārīnā al-Bandarīy, n.d. : 8-9) 13


12

ซึ่งคํายืมสวนใหญเกี่ยวกับศาสนาอิสลาม และคํายืมทั้งหมดที่มีอยูในภาษามลายูถิ่นปตตานีมีทั้งหมด 586 คํา ดลมนรรจน บากา และคณะ (2529 : 5) ไดทําการวิจัยเรื่องสํารวจจิตรกรรมไทย มุสลิมในจังหวัดปตตานี ยะลา และนราธิวาส ซึ่งรวมศิลปอักษรอาหรับในรูปของอักษรประดิษฐอยู ดวย พบวา งานจิตรกรรมไทยมุสลิมมีหลายประเภท เชน อักษรประดิษฐ (Calligraphy) ลวดลายผา ปาเตะ ลวดลายบนถวยชามและเครื่องใช ลวดลายตกแตงบาน เครื่องทองเหลือง ปกหนังสือ และอื่น ๆ โดยจิตรกรรมไทยมุสลิมบางอยางนั้นจะปรากฏในสถานที่ตาง ๆ กัน เชน อักษรประดิษฐปรากฏทั้ง บนถวยชาม บนหลุมศพ และมัสยิด เปนตน อารีฟน บินจิ และคณะ (2543 : 12) ไดเขียนในหนังสือ “ปะตานี ดารุสสลาม” วา 14 มัสญิด กรือเซะและมัสญิดตันหยงดาโตะเปนมัสญิดสองหลังแรกที่สรางดวยการกออิฐถือปูนตาม รูปแบบสถาปตยกรรมอาหรับ จากเอกสารและงานวิจัยที่กลาวมาขางตนพอจะสรุปไดวา การปฏิสัมพันธระหวางชาว อาหรับกับชาวมลายูในจังหวัดปตตานีนั้น เกิดขึ้นกอนที่ศาสนาอิสลามจะถูกเผยแผในคาบสมุทรมลายู แตบทบาทของชาวอาหรับจํากัดเพียงแคการคาขาย ดวยเหตุดังกลาวจึงไมปรากฏวาชาวมลายูปตตานี ในชวงกอนการรับนับถือศาสนาอิสลามรับเอาวัฒนธรรมของชาวอาหรับ ครั้นเมื่อศาสนาอิสลาม เกิดขึน้ และถูกนํามาเผยแผในดินแดนแถบคาบสมุทรมลายู รองรอยของการรับวัฒนธรรมอาหรับซึ่งมี ทั้งดานภาษา ศิลปกรรม การแตงกาย และอาหารการกิน ก็เริ่มปรากฏชัดขึ้นเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน 1.3 วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาประวัติความเปนมาของวัฒนธรรมอาหรับในสังคมมลายูในจังหวัด ปตตานี 2. เพื่อศึกษาอิทธิพลวัฒนธรรมอาหรับในสังคมมลายูในจังหวัดปตตานี 1.4 ความสําคัญและประโยชนของการวิจัย 1. ทราบประวัติความเปนมาของวัฒนธรรมอาหรับในจังหวัดปตตานี 2. ทราบวัฒนธรรมอาหรับในสังคมมลายูในจังหวัดปตตานี

14

มัสยิด คือ สถานที่ซึ่งมุสลิมใชประกอบศาสนกิจรวมกัน


13

3. ผลการวิจัยสามารถใชเปนองคความรูในการเรียนการสอนวัฒนธรรมอาหรับและ วัฒนธรรมมลายู 4.

ผลการวิจัยเปนประโยชนกับหนวยงานราชการในการพัฒนาจังหวัดชายแดน

ภาคใต 5. ผลการวิจัยสามารถใชเปนประโยชนในการศึกษาลูทางในการประกอบธุรกิจใน จังหวัดชายแดนภาคใตและจังหวัดใกลเคียง 1.5 ขอบเขตของการวิจยั 1. การศึกษาวัฒนธรรมอาหรับในการวิจัยนี้จะศึกษาเฉพาะวัฒนธรรมอาหรับในดาน ภาษา และการแตงกาย ที่มีอยูในจังหวัดปตตานีเทานั้น 2. การวิจัยครั้งนี้จะศึกษาเฉพาะวัฒนธรรมอาหรับที่ไมไดเปนบทบัญญัติของศาสนา อิสลาม 3. ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยจะทําการวิจัยอิทธิพลของวัฒนธรรมอาหรับดานภาษา และ การแตงกาย ที่มีอยูในปจจุบัน ณ ปที่ทําการศึกษาวิจัย คือ ป พ.ศ. 2547 4. วัฒนธรรมการแตงกายผูวิจัยไมรวมถึงการแตงกายของสตรี เนื่องจากรูปแบบ การแตงกายของสตรีนั้นเปนผลมาจากบทบัญญัติของศาสนาอิสลาม อาทิ การคลุมศีรษะ เปนตน 1.6 ขอตกลงเบื้องตน 1. ชื่อประเทศ รัฐ และเมืองตาง ๆ ผูวิจัยยึดตามรางประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี และประกาศราชบัณฑิตยสถาน เรื่อง กําหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง 2542 2. ผูวิจัยจะใชวลีอักษรประดิษฐ  ตอ ทายเมื่อกล าวถึง อัลลอฮฺ หมายถึง มหา บริสุทธิ์แดพระองคผูทรงสูงสง และ  เมื่อกลาวถึงศาสนทูตมุฮัมมัด หมายถึง ขออัลลอฮฺทรงอํานวย พรแกทาน และ  เมื่อกลาวถึงศาสนทูต หรือนบีทานอื่น หมายถึง ขอความสันติสขุ ประสบแดทาน 3. การแปลความหมายอายะฮฺ อั ลกุ ร อานเป น ภาษาไทย ผู วิ จั ย ยึ ดตามพระมหา คัมภีรอัลกุรอานพรอมความหมายภาษาไทยของสมาคมนักเรียนเกาอาหรับประเทศไทย จัดพิมพโดย ศูนยกษัตริยฟะฮัดเพื่อการพิมพอัลกุรอาน แหงนครมะดีนะฮฺ ฮ.ศ. 1419 โดยจะระบุชื่อสูเราะฮฺ และ ลําดับอายะฮฺไวในวงเล็บถัดจากความหมายของอายะฮฺนั้น ๆ


14

4. การเรี ย กชื่ อ ป ตตานี ผู วิ จั ย จะใช คํ าว า “ปะตานี ” หมายถึ ง ป ต ตานีก อนการ แบงเปน 7 หัวเมือง และคําวา “ปตตานี” หมายถึง ปตตานี หลังการแบงเปน 7 หัวเมือง 1.7 นิยามศัพทเฉพาะ เพื่อความเขาใจที่ตรงกัน ผูวิจัยไดกําหนดคํานิยาม ขอบเขต ความหมายของศัพท เฉพาะตาง ๆ ไวดังนี้ วัฒนธรรมอาหรับ หมายถึ ง วั ฒนธรรมทางด านภาษา และการแต งกายของชาว อาหรับที่ปรากฏในจังหวัดปตตานี สังคมมลายู หมายถึง สังคมชาวไทยเชื้อสายมลายูที่นับถือศาสนาอิสลาม พูดภาษา มลายู อาศัยอยูในจังหวัดปตตานี ยะลา และนราธิวาส รวมถึงพื้นที่อําเภอจะนะ เทพา นาทวี และ สะบายอย จังหวัดสงขลา ชาวมลายู หมายถึง ชาวไทยเชื้อสายมลายูที่นับถือศาสนาอิสลาม พูดภาษามลายู อาศัยอยูในจังหวัดปตตานี ยะลา และนราธิวาส รวมถึงพื้นที่อําเภอจะนะ เทพา นาทวี และสะบายอย จังหวัดสงขลาพูดภาษามลายูถิ่นปตตานีเปนภาษาแมในจังหวัดปตตานี อิทธิพล หมายถึง อิทธิพลทางดานภาษา และการแตงกาย 1.8 วิธีดําเนินการวิจัย การศึกษาวิจัยเรื่องอิทธิพลของวัฒนธรรมอาหรับตอสังคมมลายูในจังหวัดปตตานี เปนการวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary Research) โดยการศึกษาคนควา รวบรวมขอมูล จาก หนังสือ เอกสารตางๆ ที่เกี่ยวของมาประมวล วิเคราะห และสรุปใหเห็นถึงลักษณะและสภาพความ เปนอยูของสังคม เปนการสํารวจประวัติความเปนมา และลักษณะของวัฒนธรรม โดยใชแหลงขอมูล ดังนี้ 1. ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Sources) ไดแก 1.1 คัมภีรอัลกุรอาน และอัลหะดีษ 1.2 บันทึกประวัติศาสตรปตตานี จดหมายเหตุ เชน ตารีค ปะตานี ฉบับคัดลอก โดย ชัยคฺ ดาวูด บิน อับดุลเลาะฮฺ อัลฟะฏอนีย และ เซอญาเราะฮฺ ปะตานี ฉบับบันทึกบนหนังสัตว ไมระบุผูเขียน 1.3 ขอมูลจากการสัมภาษณบุคคลตางๆ ที่เกี่ยวของกับวัฒนธรรมอาหรับ เชน ประธานกลุมเย็บหมวกกปเยาะห โตะครู หรือ อุสตาส และบุคคลทั่วไป


15

1.4 รายการโทรทัศนเกี่ยวกับวัฒนธรรมอาหรับที่ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน ในกลุมประเทศอาหรับในชวงเดือนตุลาคม 2547 ถึง เดือนพฤษภาคม 2549 ไดแก 1.4.1 รายการอัลโอมานียาต (al-Omānīyāt) และรายการเทศกาลประจําป มัสกัต (Mahrajan Masqat) ซึ่งออกอากาศทางสถานีโทรทัศนชอง 1 ประเทศโอมาน 1.4.2 รายการนะวาฟษฺ (Nawāfidh) และรายการหะดีษ อัลบะรอรีย (Hadīth al-Barārīy) ซึ่งออกอากาศทางสถานีโทรทัศนอัชชาริเกาะห ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส 1.4.3 การถ า ยทอดสดรายการศิ ล ปวั ฒ นธรรมอั ล เญนาดรี ย ะห (alJinādrīyah) และรายการมุกัสสารอต (Mukassarāt) ซึ่งออกอากาศทางสถานีโทรทัศน ชอง 1 ประเทศซาอุดีอาระเบีย 1.4.4 รายการอัลบัยตฺ อัลอะรอบีย (al-Bait al-‘Arabīy) ซึ่งออกอากาศ ทางสถานีโทรทัศนประเทศเยเมน 2. ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Sources) ไดแก หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ ที่ เกี่ยวของกับวัฒนธรรม ประวัติความเปนมาของชนชาติอาหรับ เชน หนังสือของ Gustave Le Bon เรื่อง Hadārah al-‘Arab และ Philip K. Hitti เรื่อง History of The Arab สวนวัฒนธรรม ประวัติ ความเปนมาของชนชาติมลายู เชน หนังสือของ Ismail Hamid เรื่อง Masyarakat dan Budaya Melayu และ Slamet Muljana เรื่อง Runtuhnya Kerajaan Hindu-Jawa dan Timbulnya Negara-negara Islam di Nusantara 3. ขอมูลตติยภูมิ (Tertiary

Sources)

ไดแก หนังสือสารานุกรม หนังสือรายป

พจนานุกรม เชน สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดศึกษาคนควาจากแหลงขอมูล ดังนี้ 1. สํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี 2. หอจดหมายเหตุแหงชาติ ทาวาสุกรี กรุงเทพ ฯ 3. หองสมุดวิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี 4. หอสมุดแหงรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย 5. หอสมุดอิสลาม แหงรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย 6. หอสมุดมหาวิทยาลัยอิสลามนานาชาติ ประเทศมาเลเซีย โดยผูวิจัยมีวิธีการดําเนินการวิจัยดังนี้ 1. รวบรวม หนังสือ ตํารา บทสัมภาษณ สารคดี และเอกสารตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับ วัฒนธรรมอาหรับ และมลายูทั้งโดยตรงและโดยออม 2. ศึกษาทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวของกับวัฒนธรรม 3. ศึกษาเกี่ยวกับประวัติความเปนมาของชนชาติอาหรับ และมลายู


16

4. ศึกษาลักษณะและประเภทของวัฒนธรรมอาหรับ และมลายู 5. ศึกษาภูมิหลังดานภูมิศาสตร วัฒนธรรมของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยเฉพาะจังหวัดปตตานี 6. ศึกษาการเขามาของศาสนาอิสลามในภูมิภาคมลายูโดยเฉพาะจังหวัดปตตานี 7. ศึกษาวัฒนธรรมอาหรับในสังคมมลายูในจังหวัดปตตานี 8. ศึกษาคํายืมภาษาอาหรับในภาษามลายูถิ่นปตตานี 9. จัดแบงหมวดหมูของขอมูลโดยการจําแนกตามหัวขอใหญและหัวขอยอย 10. วิเคราะหขอมูลตามหัวขอที่กําหนด โดยใชวิธีการวิเคราะหเนื้อหา และนําเสนอ เนื้อหาสาระโดยวิธีการพรรณนาความ 11. สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 12. เขียนรายงาน


บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ ในการศึ ก ษาอิ ท ธิ พ ลของวั ฒ นธรรมอาหรั บต อ สั ง คมมลายู ใ นจั ง หวั ดป ต ตานี นั้ น จํ าเป น ที่ จ ะต อ งทํ าความเข า ใจกั บ แนวคิ ด ทฤษฎี ต าง ๆ ที่ เ กี่ ย วกั บ วั ฒ นธรรม ความสั ม พั น ธ ท าง วัฒนธรรม และแนวคิดที่เกี่ยวกับภาษา โดยเฉพาะในเรื่องของคํายืมเพื่อเปนพื้นฐาน แนวทางใน การศึกษา และเพื่อใหไดองคความรูที่จะนํามาประยุกตใชกับงานวิจัยนี้ ในบทนี้ผูศึกษาจะขอนําเสนอแนวคิดและทฤษฎี วรรณกรรมที่เกี่ยวของกับวัฒนธรรม และความสัมพันธทางวัฒนธรรม รวมถึงภูมิหลังทางดานประวัติศาสตรการปฏิสัมพันธระหวางชาว อาหรับและชาวมลายูในจังหวัดปตตานี โดยสังเขปดังนี้ 2.1 แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรม 2.1.1 คําจํากัดความของวัฒนธรรม พระยาอนุมานราชธน (2515 : 6) ไดกลาวถึงวัฒนธรรมวา วัฒนธรรมเปนเรื่อง เกี่ ย วกั บ พฤติ ก รรม วาจาท าทาง กิ จ กรรม และผลิ ต ผลของกิ จ กรรมที่ ม นุ ษย ใ นสั ง คมผลิ ต หรื อ ปรับปรุงขึ้นจากธรรมชาติ ในพระราชบัญญัติบํารุงวัฒนธรรมแหงชาติ พุทธศักราช 2483 หมายถึง ลักษณะที่แสดงความเจริญงอกงาม ความเปนระเบียบอันดีงาม ความกลมเกลียวกาวหนาของชาติ และศีลธรรมอันดีงามของประชาชน อารง สุทธาศาสน (2519 : 132-133) กลาววา วัฒนธรรมในความหมายโดยทั่วไป คือ แนวทางการดํารงชีวิตของสังคม หรือของกลุมแตละกลุมที่สืบทอดจากรุนหนึ่งไปอีกรุนหนึ่งอยาง ไมขาดสาย วัฒนธรรมเปนสิ่งที่แตละสังคมถือวาเปนสิ่งที่ดีงาม เปนแบบฉบับของชีวิตซึ่งคนสวนมาก หวงแหนและปกปองรักษา ดํารง ฐานดี (2520 : 30) ไดกลาวถึงความหมายของวัฒนธรรมวา ทุกสิ่งที่มนุษย สรางขึ้นมาเพื่อใชในการดํารงชีวิตรวมกันในสังคม เปนสิ่งที่คนสวนใหญในสังคมนั้นยอมรับนับถือ และปฏิบัติตาม รวมทั้งเก็บสะสมและถายทอดวิธีการประพฤติปฏิบัตินั้นตอไปยังลูกหลานดวย ระวีวรรณ ชอุมพฤกษ (2528 : 7) กลาววา วัฒนธรรม เปนชื่อรวมสําหรับแบบอยาง ของพฤติ ก รรมทั้ ง หลายที่ ไ ด ม าทางสั ง คม และที่ ถ า ยทอดกั น ไปทางสั ง คมโดยอาศั ย สั ญ ลั ก ษณ 17


18

วัฒนธรรมจึงเปนชื่อสําหรับสัมฤทธิ์ผลที่เดนชัดทั้งหมดของกลุมมนุษย รวมสิ่งทั้งหลายเหลานี้ เชน ภาษา การทําเครื่องมือ อุตสาหกรรม ศิลปะ วิทยาศาสตร กฎหมาย ศีลธรรมและศาสนา รวมถึง อุปกรณที่เปนวัตถุ หรือสิ่งประดิษฐ ซึ่งแสดงรูปแบบแหงสัมฤทธิผลทางวัฒนธรรม และทําใหลักษณะ วัฒนธรรมทางปญญาสามารถยังผลเปนประโยชนใชสอยได เชน อาคาร เครื่องมือ เครื่องจักรกล เครื่องมือสื่อสาร ศิลปวัตถุ ฯลฯ ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2546 : 1058) ไดนิยามคําวา วัฒนธรรม หมายถึง สิ่งที่ทําความเจริญงอกงามใหแกหมูคณะ นอกจากนี้งามพิศ สัตยสงวน (2543 : 21-22) ไดรวบรวมคํานิยามของวัฒนธรรม ที่สําคัญ ๆ ของนักมานุษยวิทยาที่มีชื่อเสียงไวดังนี้ เอ็ดเวิรด บี ไทเลอร (Edward B. Tylor) ไดนิยามคําวาวัฒนธรรมไวอยางชัดเจน เปนครั้งแรกวา “วัฒนธรรม คือสิ่งทั้งหมดที่มีลักษณะซับซอน ซึ่งรวมทั้งความรู ความเชื่อ ศิลปะ จริยธรรม ศีลธรรม กฎหมาย ประเพณีและความสามารถอื่น ๆ รวมทั้งอุปนิสัยตาง ๆ ที่มนุษยไดมา โดยการเรียนรูจากการเปนสมาชิกของสังคม” ไว ท ( White)ได ใ ห ค วามหมายไว ว า “วั ฒ นธรรม คื อ การจั ด ระเบี ย บของ ปรากฏการณตาง ๆ กลาวคือเปนการจัดระเบียบของการกระทําตางๆ หรือแบบแผนพฤติกรรมตางๆ การจัดระเบียบของความคิดตางๆ เชนความเชื่อความรูตางๆ และเปนการจัดระเบียบของความรูสึกที่ ผู ก พั น อยู กั บ สิ่ ง ต า งๆ เช น ทั ศ นคติ การจั ด ระเบี ย บดั ง กล า วขึ้ น อยู กั บ การใช ร ะบบสั ญ ลั ก ษณ วัฒนธรรมเริ่มมีขึ้นเมื่อมนุษยกลายเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่มีการแสดงออกโดยใชระบบสัญลักษณ เพราะสัญลักษณสําคัญอันนี้ ทําใหวัฒนธรรมถายทอดจากคนๆ หนึ่งไปยังอีกคนหนึ่งได” คูณ (Coon) นิยามวา “วัฒนธรรม คือ ผลรวมทั้งหมดของวิธีที่ทําใหมนุษยอยูได และมีการถายทอดจากชั่วชีวิตหนึ่งไปอีกชั่วชีวิตหนึ่งโดยการเรียนรู” เค็ลลี่ (Kelly) นิยามวัฒนธรรมวา คือ “ทุกสิ่งทุกอยางที่มนุษยสรางขึ้นมาเพื่อใชใน การดํารงชีวิตของมนุษย อาจเปนสิ่งมีเหตุผลหรือไมมีเหตุผลในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง เพื่อเปนแนว ทางการปฏิบัติ หรือพฤติกรรมของมนุษย” เฮอรสโกวิทส (Herskovits) ไดนิยามวัฒนธรรมไวอยางสั้นๆ วา “คือสิ่งแวดลอมที่ มนุษยสรางขึ้นมา” ลินตั้น (Linton) นิยามวัฒนธรรมวา คือ “กลุมคนที่จัดระเบียบแลว ที่มีแบบแผน พฤติกรรมตาง ๆ ที่เกิดจากการเรียนรูอันเปนลักษณะของสังคมที่เฉพาะของสังคมหนึ่ง” บิดนีย (Bidney) นิยามวัฒนธรรมวา “เปนสิ่งที่มนุษยไดมาโดยการเรียนรู หรือ เปนพฤติกรรมที่เกิดจากการอบรมสั่งสอน รวมทั้งความคิดของปจเจกชนตางๆ ภายในสังคมนั้น และ


19

ความเฉลียวฉลาด ศิลปะ ความคิดทางสังคมและสถาบันที่สมาชิกของสังคมมักยอมรับรวมกัน และที่ สมาชิกพยายามปฏิบัติตาม” คู เ บอร ( Cuber)ได นิ ย ามวั ฒ นธรรม ซึ่ ง เป น คํ า นิ ย ามที่ ใ ห ลั ก ษณะต า งๆ ของ วัฒนธรรมชัดเจนมากที่สุดวา “วัฒนธรรม คือ แบบแผนพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรูที่คอยๆ เปลี่ยนแปลงไปเรื่อย ๆ และยังรวมผลผลิตที่เกิดจากการเรียนรู เชน ทัศนคติ คานิยม สิ่งของตางๆ ที่ คนทําขึ้น และความรูที่มีอยูรวมกันในกลุมชนหนึ่ง ๆ และมีการถายทอดไปยังสมาชิกคนอื่นๆ ใน สังคม” โครเบอร (Kroeber) นิยามวัฒนธรรมวา “วัฒนธรรมประกอบไปดวยแบบแผน พฤติกรรมที่ไดมาโดยการเรียนรูและที่ถายทอดจากรุนหนึ่งไปยังอีกรุนหนึ่งโดยใชระบบสัญลักษณนั้น เปนผลสําเร็จที่แตกตางกันไปในกลุมชนตาง ๆ วัฒนธรรมยังรวมถึงเครื่องมือเครื่องใชที่มนุษยสราง ขึ้ น มา ส ว นประกอบสํ า คั ญ ของวั ฒ นธรรมยั ง ประกอบไปด ว ย ความคิ ด ตามประเพณี (ที่ มี ประวัติศาสตรและมีการเลือกมาจากหลายๆ อยาง) และคานิยมที่ติดตามมา ระบบวัฒนธรรมนั้นอาจ พิจารณาในแงหนึ่งวาเปนผลผลิตของการกระทํา และในอีกแงหนึ่ง มันเปนเงื่อนไขที่จะทําใหเกิดการ กระทําตอๆ ไป” สวนอมรา พงศาพิชญ (2547 : 25) นิยามวาวัฒนธรรม คือ สิ่งที่มนุษยสรางขึ้น กําหนดขึ้น มิใชสิ่งที่มนุษยทําตามสัญชาตญาณ อาจเปนการประดิษฐวัตถุสิ่งของขึ้นใช หรืออาจเปน การกําหนดพฤติกรรมหรือความคิด ตลอดจนวิธีการหรือระบบการทํางาน ฉะนั้นวัฒนธรรมก็คือ ระบบในสังคมมนุษยสรางขึ้นมิใชระบบที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติตามสัญชาตญาณ สําหรับวัฒนธรรมตามทรรศนะของอิสลามนั้น วัฒนธรรมเปนสวนหนึ่งของศาสนา ดังคํากลาวของริยาฎ นะอฺสาน อาฆอ (Riyād Na‘sān ’Āghā) ที่ไดใหนิยามของวัฒนธรรมวา วัฒนธรรมก็คือศาสนาที่ประกอบขึ้นดวยสวนประกอบสําคัญตางๆ1 ซึ่งเสาวนีย จิตตหมวด (2535 : 8-10) ไดอธิบายถึงสวนประกอบสําคัญนี้ก็คือ องคมิติ ซึ่งตั้งอยูบนพื้นฐานแหงความศรัทธา นั่นก็คือ การเชื่อวาอัลลอฮฺคือพระเจาองคเดียวเทานั้น และศาสดามูฮัมมัด  คือศาสนทูตจากพระองค จากนิยามและคําจํากัดความขางตนหากไมรวมวัฒนธรรมตามทรรศนะอิสลามแลว สรุ ป ได ว า วั ฒ นธรรม หมายถึ ง ผลงานทั้ ง หมดที่ ม นุ ษ ย ส ร า งขึ้ น นอกเหนื อ จากธรรมชาติ ดั ง นั้ น วัฒนธรรมอาจเปนไดทั้งแนวคิด ทัศนคติ มโนคติ ความรู คานิยม ประเพณี ความเชื่อ ตลอดจนการ กระทําตาง ๆ ที่เกิดจากทั้งการเรียนรูของมนุษยและการถายทอดตอๆ กันมาของสังคม วัฒนธรรมจึง ไมเปนเพียงวัตถุ ฉะนั้นสังคมที่ตางกันยอมมีวัฒนธรรมที่ตางกัน บุคคลอยูในวัฒนธรรมใดก็จะปฏิบัติ 1

“Halab Durrat al-Mudun” (Online) Search from http://www.aleppo-cic.sy/acic/magz/modules /news/

print.php?storyid=54 [20 April 2007]


20

ตามวั ฒ นธรรมนั้ น วั ฒ นธรรมเป น วิ ถี ชี วิ ต หรื อ แบบแผนในการดํ า เนิ น ชี วิ ต ของมนุ ษ ย สั ง คม วัฒนธรรมจึงไมจําเปนตองเหมือนกันทุกประเทศและไมถือวาวัฒนธรรมของใครดีกวาของใคร อย า งไรก็ ต ามวั ฒ นธรรมที่ ป รากฏในแต ล ะสั ง คมมี ลั ก ษณะที่ สํ า คั ญ คื อ ความ หลากหลายทางวัฒนธรรม และเมื่อมีวัฒนธรรมที่แปลกปลอมเขามาสูสังคมหนึ่ง เอกลักษณทาง วั ฒ นธรรมของสั ง คมนั้ น ก็ อ าจเสื่ อ มถอยลงได ทั้ ง นี้ คุ ณ ค า ที่ สํ า คั ญ ของวั ฒ นธรรม ก็ คื อ ความ หลากหลายดังนั้นเมื่อมีแนวคิดในเรื่องความหลากหลายของวัฒนธรรมแลว แตละสังคมจําเปนตอง รักษาเอกลักษณของตนใหดํารงไว ในขณะเดียวกันก็ตองปรับปรุงพัฒนาวัฒนธรรมของตนเองให เจริญงอกงาม ดวยเหตุนี้จึงทําใหแตละสังคมตองมีการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมซึ่งกันและกัน ดังนั้น การส ง เสริ ม ความเจริ ญ ทางด า นวั ฒ นธรรมจึ ง ต อ งพยายามดํ า เนิ น ไปพร อ มกั บ การดํ า รงรั ก ษา วัฒนธรรมอันเปนเอกลักษณของสังคมเอาไวดวย 2.1.2 ประเภทของวัฒนธรรม วัฒนธรรมที่ปรากฏอยูในสังคมสามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภทคือ 1. วัฒนธรรมทางวัตถุ (Material Culture) ซึ่งเกิดจากความคิดของมนุษย เชน อาคารบานเรือน สิ่งกอสรางตาง ๆ ศิลปกรรมประติมากรรม ตลอดจนสิ่งของเครื่องใชตาง ๆ ซึ่งใช เปนประจําทุกวัน 2. วัฒนธรรมทางจิตใจหรือที่ไมเกี่ยวกับวัตถุ (Non Material Culture) ไดแก วัฒนธรรมที่เปนสัญลักษณและจับตองไมได เชน ภาษาพูด ระบบความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี และกริยามารยาท ณรงค เส็งประชา (2524 : 23) ไดกลาววา วัฒนธรรมมี 2 ประเภท คือ ประการ แรก วัฒนธรรมที่เปนวัตถุ ไดแก สิ่งประดิษฐและเทคโนโลยีตาง ๆ เชน เครื่องใชในครัวเรือน อาคาร บานเรือน ยานพาหนะ ฯลฯ ประการที่สอง ไดแก วัฒนธรรมที่ไมใชวัตถุ หมายถึง แบบแผนในการ ดําเนินชีวิต ความคิด ความเชื่อ ภาษา ศีลธรรม วิถีการกระทํา ฯลฯ สวนประดิษฐ มัชฌิมา (2522 : 13) ไดแบงวัฒนธรรมออกเปน 3 ประเภท คือ วัฒนธรรมทางความคิด หรือความเชื่อถือ หมายถึง วัฒนธรรมที่เกี่ยวกับความคิดเห็น ความเชื่อถือ หรือความรูสึกนึกคิดของสังคม ซึ่งอาจจะถูกหรือผิดก็ได เชน ความจริงทางวิทยาศาสตร ความเชื่อ ทางศาสนา นิยายโบราณ วรรณคดี การเชื่อโชคลาง ภาษิต ฯลฯ วัฒนธรรมทางระเบียบประเพณี คือ ระเบียบแบบแผนหรือประเพณีที่บุคคลในสังคมยึดถือและปฏิบัติรวมกัน เชน ระเบียบประเพณี จารีต


21

กฎหมาย ฯลฯ วัฒนธรรมทางวัตถุ หมายถึง สิ่งของหรือเครื่องใชตาง ๆ ที่มนุษยคิดประดิษฐ มีหรือ ครอบครองเพื่อประโยชนของสังคม จุ ม พล หนิ ม พานิ ช (2526:140) ได อ ธิ บ ายเกี่ ย วกั บ วั ฒ นธรรมเพิ่ ม เติ ม ว า วัฒนธรรมทางวัตถุ หมายถึง สิ่งประดิษฐทั้งหลาย วัฒนธรรมทางสังคม เปนเรื่องที่เกี่ยวกับความ ประพฤติปฏิบัติตามมารยาททางสังคม วัฒนธรรมที่เกี่ยวกับกฎหมาย ซึ่งกอใหเกิดความเปนระเบียบ ในสังคม และวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับจิตใจและศีลธรรม ซึ่งเปนแนวทางในการดําเนินชีวิต วราคม ทีสุกะ (2524:33) ไดแบงวัฒนธรรมออกเปน 4 ประเภท คือ คติธรรมเปน วัฒนธรรมประเภทที่เกี่ยวกับหลักการดําเนินชีวิต ไดแก คติพจน คําสุภาษิต ตลอดจนศาสนสุภาษิต เนตติธรรม เปนวัฒนธรรมประเภทที่เกี่ยวกับกฎระเบียบปฏิบัติ ตัวบทกฎหมาย วัตถุธ รรม เปน วั ฒ นธรรมทางวั ต ถุ โบราณสถาน โบราณวั ต ถุ และสหธรรมเป น วั ฒ นธรรมประเภทที่ เ กี่ ย วกั บ หลักเกณฑ การปฏิบัติ การอยูรวมกัน เชน มารยาททางสังคม มารยาทในการรับประทานอาหาร มารยาทในการไปงานศพ มารยาทในการเขาฟงการปาฐกถา และการอภิปราย โดยในสวนของวัฒนธรรมที่ไมใชวัตถุหรือวัฒนธรรมทางจิตใจนั้น นักวิชาการอยาง งามพิศ สัตยสงวน (2543 : 53-54) ไดแบงวัฒนธรรมประเภทนี้ออกเปน 5 ประเภทยอย ไดแก 1. สถาบันสังคม อันไดแก สถาบันครอบครัว เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง การศึกษา ศาสนา การแพทยและสาธารณสุข เปนตน 2. วัฒนธรรมประเภทที่เกี่ยวกับการควบคุมทางสังคม คือวัฒนธรรมที่ชวยทําใหเกิด ระเบียบในสังคม ซึ่งบางอยางจะเปนการควบคุมอยางเปนทางการ และบางอยางไมเปนทางการ ซึ่ง สามารถแบงเปน 5 ประเภทยอย คือ 2.1 ศาสนา ซึ่งในหลักศาสนาจะมีขอหามตาง ๆ เชน การหามลักทรัพย หามดื่ม ของมึนเมา ศาสนาจึงชวยควบคุมทางสังคมได 2.2 ความเชื่อทางสังคม คือ ระบบความคิดเกี่ยวกับเรื่องตาง ๆ ที่เปนของคน จํานวนมากในสังคม เชนในสังคมไทยคนจํานวนมากเชื่อเรื่องนรก สวรรค บุญ บาป การทําบุญและ โลกหนา 2.3 คานิยม คือ มาตรฐานที่ใชวัดวาสิ่งใดมีคาในสังคมบาง เมื่อสิ่งใดมีคา คนก็ อยากมี อยากเปน อยากได ความเชื่อในคานิยมของสังคมทําใหสังคมเกิดความมีระเบียบขึ้นได 2.4 ประเพณีตาง ๆ แตละสังคมมีประเพณีตาง ๆ ที่ถือปฏิบัติสืบทอดกันมา เปนเวลาอันยาวนาน เมื่อคนทําตามประเพณี จะทําใหเกิดความเปนระเบียบในสังคมขึ้นได 2.5 กฎหมาย คือ การควบคุมสังคมโดยตรง และทําใหเกิดความมีระเบียบขึ้น ในสังคมไดเปนอยางดี


22

3. ศิลปะ มายถึง การสรางสรรคผลงานในดานตาง ๆ เชน จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปตยกรรม หัตถกรรม ดนตรี การละคร นาฏศิลปและวรรณกรรม เปนตน 4. ภาษา คือ ระบบสัญลักษณที่ใชสื่อสารติดตอกัน ทั้งภาษาพูด ภาษาเขียน รวมทั้ง กิริยาทาทางตาง ๆ 5. พิธีกรรม สวนอมรา พงศาพิชญ (2547 : 25-31) ไดแบงวัฒนธรรมออกเปน 2 ลักษณะ คือ 1. วัฒนธรรมในลักษณะขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี คือขอตกลงอยางไมเปนทางการรวมกันของสมาชิกในสังคม ซึ่งเปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไป เกี่ยวกับพฤติกรรมที่ควรปฏิบัติและไมควรปฏิบัติ ทั้งในระดับบุคคลและระดับสังคม ซึ่งเปนสิ่งที่คน รุนหลังเรียนรูและสืบทอดมาจากคนรุนกอน เชนการถอดรองเทากอนเขาบาน การแสดงความเคารพ ตอผูอาวุโสกวา สวนความเชื่อ หมายถึง ความเชื่อทางศาสนา หรือความเชื่อในสิ่งที่มีอํานาจเหนือ มนุ ษ ย เช น สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ต า ง ๆ ภู ต ผี ป ศ าจ เป น ต น ซึ่ ง ความเชื่ อ ดั ง กล า วมี ค วามสํ า คั ญ มากต อ วัฒนธรรม เพราะเปนสิ่งกําหนดขนบธรรมเนียมประเพณี และพฤติกรรมของสมาชิกในสังคม 2. วั ฒ นธรรมในลั ก ษณะสิ่ ง ประดิ ษ ฐ แ ละสถาป ต ยกรรม ทั้ ง วั ฒ นธรรมที่ ค น พบ สมัยกอนประวัติศาสตรและวัฒนธรรมที่เปนวัตถุตาง ๆ วัฒนธรรมเปนมรดกทางสังคมมนุษย ที่ไดจัดสรรขึ้นเพื่อใชในการดํารงอยู สามารถ จําแนกไดเปนวัฒนธรรมทางวัตถุ เปนวัฒนธรรมที่กอประโยชนในดานความสะดวกสบายทางกาย อัน ไดแก เครื่องมือ เครื่องใชตาง ๆ ที่อยูอาศัย เครื่องนุงหม เปนตน สวนวัฒนธรรมทางจิตใจ เปน เครื่องที่กอใหเกิด ความสุขทางใจ อันไดแก ความคิด ความเชื่อ ศาสนา คานิยม ศีลธรรม เปนตน ถึง อยางไรก็ตาม วัฒนธรรมทั้งสองประเภทนี้ตางก็เหลื่อมล้ํากันอยู แบงแยกไมขาดจากกัน และในสังคม หนึ่ง ๆ ก็จะมีวัฒนธรรมทั้งสองในลักษณะที่สมดุลกัน จากการแบงเนื้อหาของวัฒนธรรมดังที่กลาวมาขางตนนั้นไมวาจะอาศัยหลักการแบง ออกมาในรูปแบบใดก็ตามวัฒนธรรมที่ปรากฏอยูในสังคมสามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภทหลัก ก็ คือ วัฒนธรรมทางวัตถุ ซึ่งเกิดจากความคิดของมนุษย เชน อาคารบานเรือน สิ่งกอสรางตาง ๆ ศิลปกรรมประติมากรรม ตลอดจนสิ่งของเครื่องใชตาง ๆ ซึ่งใชเปนประจําทุกวัน และวัฒนธรรมทาง จิตใจหรือที่ไมเกี่ยวกับวัตถุ ไดแก วัฒนธรรมที่เปนสัญลักษณและจับตองไมได เชน ภาษาพูด ระบบ ความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี และกริยามารยาท


23

2.1.3 ลักษณะของวัฒนธรรม พระยาอนุมานราชธน (2515:73) กลาวถึงลักษณะของวัฒนธรรมมี 4 ประการดังนี้ ประการแรก จะตองมีการสะสม หมายถึง จะตองมีทุนเดิมอยูกอนแลว จะสะสมทุนนั้นใหเพิ่มขึ้น เรื่อง ๆ และประการที่สอง วัฒนธรรมตองมีการปรับปรุงหมายถึง ตองรูจักดัดแปลงและปรับปรุงสวน ที่บกพรองอยูใหเหมาะสมและถูกตอง ประการที่สาม จะตองมีการถายทอด คือ ทําใหวัฒนธรรมนั้น ๆ แพรหลายในวงกวาง ประการที่สี่ มีการอบรมสั่งสอนใหผูอื่น หรือชนรุนหลังไดสืบทอดตอกันไป อานนท อาภาภิรม (2516 : 43) ไดเห็นความเห็นวาลักษณะที่สําคัญของวัฒนธรรม คือ วัฒนธรรมเปนแนวทางแหงพฤติกรรม อันเกิดจากการเรียนรู คือ สามารถเรียนรูกันได (Learned Way of Behavior) มิใชเกิดขึ้นเองโดยปราศจากการเรียนรูมากอน เพราะมนุษยมีสมองอันทรง คุณภาพ จึงทําใหสามารถรูจักคิด ถายทอด และเรียนรู ขบวนการดังกลาว เกิดขึ้นจากการที่มีบุคคลมี การติดตอกับบุคคลอื่น ในฐานะที่เปนสมาชิกของสังคม วัฒนธรรม มีลักษณะเปนมรดกแหงสังคม เปนผลของการถายทอดการเรียนรู และเปนเครื่องมือที่ใชในกระบวนการดังกลาวคือ การสื่อสารโดย ใชสัญลักษณ(Symbolic Communication) ไดแก การที่มนุษยมีการใชภาษาเปนเครื่องมือในการ ถายทอดวัฒนธรรม จากรุนกอนมายังคนรุนหลัง มีลักษณะเปนวิถีชีวิต (Way of Life) หรือแบบ แผนการดําเนินชีวิต (Design for Living) เปนสิ่งที่ไมคงที่ สามารถปรับเปลี่ยนไดตามสถานการณ ชุดา จิตพิทักษ (2528 : 145) ไดกลาวถึงลักษณะของวัฒนธรรมในลักษณะเดียวกัน วา วัฒนธรรมมีลักษณะเปนอนัตตา เนื่องจากไมอยูภายในกรอบของเอกัตบุคคล ไมพึงพาอาศัยบุคคล ใดโดยเฉพาะ ทั้ ง ไม คุ ม รู ป อยู ช นิ ด ตายตั ว ไม ว า จะรู ป แกนหรื อ รู ป เต็ ม ถ า เปรี ย บกั บ วั ต ถุ แ ล ว วัฒนธรรมไมใชธาตุแท แตเปนสารผสม ทรงตัวอยูไดดวยอาศัยเหตุปจจัยซึ่งหลั่งไหลถายเท และ เปลี่ยนแปลงได วัฒนธรรมเกาเสื่อมลง สูญไปสิ่งใหมก็เขามาแทนที่ ซึ่งยอมครอบคลุมไปถึงสิ่งเกาที่ เลาใหมดวย ทั้งนี้ทั้งนั้นเพราะมนุษยเราไมหยุดนิ่ง ยอมผลิตคิดคนทําสิ่งเกาใหแปลกใหมอยูเสมอ สิ่ง ใดที่สมอัธยาศัยของกลุมก็ยอมเปนที่ยอมรับ และถายทอดมรดกทางวัฒนธรรมตอไป ดังนั้นอาจกลาวไดวา วัฒนธรรมมีลักษณะที่ไดจากการเรียนรู และสั่งสมเปนเวลานาน ไมใชสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ พรอมกับมีการปรับปรุงใหดีขึ้นและถายทอดสูสังคมจนกลายเปน มรดกทางสังคม วัฒนธรรมเปนสิ่งที่มีอยูในสังคม และมีการถายทอดเปนแบบอยางในการดําเนินชีวิต ในขณะเดียวกันก็มีการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงเพื่อใหเหมาะสมกับสถานการณและความเปลี่ยนแปลง ของแตละสังคมไดอีกดวย


24

2.1.4 แนวคิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม เปนการเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิต หรือจารีต กฎหมาย ศาสนา สิ่งที่ประดิษฐ และวัตถุอื่น ๆ ในวิถีชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะอยางยิ่งคานิยม จึงอาจกลาว ไดวาพื้นฐานของการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม ขึ้นอยูกับการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ และพฤติกรรม ของปจเจกบุคคลซึ่งเปนสมาชิกของสังคมนั้น ๆ การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมสวนมาก เกิดจากการ ประดิษฐและการแพรกระจาย (ผองพันธุ มณีรัตน, 2521 : 14) การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม เปนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในดานตางๆ ที่มนุษย ประดิษฐและสรางขึ้น โดยการเปลี่ยนแปลงดังกลาวจะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางดานคานิยม บรรทัดฐานและระบบสัญลักษณตางๆ ในสังคมนั้นๆ ซึ่ง สุริชัย หวันแกว (2547 : 157-158) ได แยกการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมออกเปนสองรูปแบบ ไดแก 1. การเปลี่ยนแปลงจากภายใน (Endogenous Change) อยางเชน จากการ ประดิษฐคิดคนวิธีการผลิตใหมขึ้นในสังคมนั้นเอง จากการตอสูขัดแยงระหวางกลุมและกระบวนการ ในสังคม จากการริเริ่มการเปลี่ยนแปลงจากชนชั้นนํา เปนตน 2. การเปลี่ยนแปลงจากภายนอก (Exogenous Change) อยางเชน การรับเอา เทคโนโลยีหรือสิ่งประดิษฐมาจากภายนอก การลาอาณานิคม ซึ่งบางกรณีการเปลี่ยนแปลงที่มาจาก ภายนอกอาจเกิดขึ้นโดยความสมัครใจ ของผูคนในสังคม หรือบางครั้งอาจโดยการใชกําลังบีบบังคับ พระยาอนุมานราชธน (2515 : 65) กลาววา การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม ไมวาจะใน แง ใ ดลั ก ษณะใด จะเป น ไปอย า งเชื่ อ งช า หรื อ รวดเร็ ว ก็ ขึ้ น อยู กั บ การสั ง สรรค วั ฒ นธรรม (Acculturation) คื อ การที่ วัฒนธรรมตา งสังคมมากระทบกั น ว าจะมีมากหรื อ นอย และมี ความ รุนแรงเพียงใด นอกจากนั้นในสังคมมนุษยอาจมีการรับวัฒนธรรมบางสวนมาจากสังคมขางเคียงได แตทั้งนี้บางสวนของวัฒนธรรมที่รับมานั้นไมขัดกับคานิยมหลักของสังคม และมีความสอดคลองกับ วัฒนธรรมเดิมที่มีอยู จนในที่สุดวัฒนธรรมที่รับมาจากสังคมอื่นกลายเปนวัฒนธรรมของสังคมนั้น การรับเอาวัฒนธรรมของสังคมอื่นมาในระยะแรก อาจเรียกวาเปนการยืมวัฒนธรรม แตเมื่อนาน ๆ ไปการยืมก็จะกลายเปนการรับ การยืมวัฒนธรรมและการรับวัฒนธรรมนั้นเปนจุดเริ่มตนของการ เปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมยังมีความเกี่ยวพันกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เปรียบ เสมือนกับเชือกสองเสนที่ถูกนํามาฟนเปนเกลียวคูกัน หรือเหรียญสองดาน ซึ่งเปนคนละสวน คนละดานกันแตก็มีการเกี่ยวพันกันอยางแนบแนน ดังที่โครเบอร (Kroeber, อางจาก ผองพันธุ มณี


25

รัตน, 2521 : 19) ไดกลาวไววา สังคมและวัฒนธรรมเปนสวนประกอบซึ่งกันและกัน เชนเดียวกับ กระดาษสองหนาของกระดาษแผนเดียว วัฒนธรรมแตละแหงยอมเกี่ยวของกับสังคมของตนโดย อัตโนมัติ ดังนั้นในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมที่เกิดขึ้น ก็จําเปนตองศึกษาทั้ง ดานสั งคมและวัฒนธรรม เพราะไม ใ ชแต เ พียงว าทั้ง สองเรื่ องมีอิ ท ธิ พลต อกัน และกัน เท านั้ น แต ความสัมพันธระหวางระบบทั้งสองก็ซับซอน การรวมแนวความคิดทางสังคมและวัฒนธรรมทั้งสอง อยางเขาไวดวยกัน จึงเปนเรื่องจําเปน เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม รวมเอาการ เปลี่ยนแปลงในวิธีการที่มนุษยใชเพื่อใหบรรลุถึงความตองการของเขา การเปลี่ยนแปลงในดานหนึ่ง ยอมขึ้นอยูกับการเปลี่ยนแปลงในดานอื่น ๆ (ผองพันธุ มณีรัตน, 2521 : 20) 2.1.5 แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมอิสลาม วัฒนธรรมอิสลามมิไดจํากัดตัวเองอยูกับชนิดของอาหาร เสื้อผา เครื่องนุงหม อาคาร บานเรือน หรือวิธีการติดตอสื่อสาร แตวัฒนธรรมอิสลามหมายรวมถึงการประพฤติปฏิบัติ ความสํานึก ทางจิตใจ และคานิยมทางศีลธรรม นอกจากนี้วัฒนธรรมอิสลามยังหมายรวมถึงความยุติธรรม ขันติ ธรรม การแสดงออกทางจิตใจที่เจริญแลว ตลอดจนศิลปะและวรรณกรรม (สุรพล ทรงวีระ, 2519 : 9) โดยทั่วไปศาสนามักจะแยกกิจกรรมของศาสนาออกจากกิจกรรมทางโลก หรือแยก ศาสนาออกจากวัฒนธรรมถึงแมวากิจกรรมบางอยางจะมีตนกําเนิดมาจากศาสนาก็ตาม แตสําหรับ วั ฒนธรรมอิ ส ลามแล ว ศาสนาเป น รากฐาน เป น ตั วกํ าหนดวั ฒนธรรมของผู นั บถื อ โดยสิ้ น เชิ ง ดั ง ความเห็นของนักวิชาการอิสลาม ซึ่งเห็นวา ศาสนาและวัฒนธรรมเปนสิ่งเดียวกันอยางแบงแยกมิได สําหรับคนมุสลิม วัฒนธรรมอิสลามชวยนิยามขอบเขตทางสังคมใหแกคนมุสลิม ศาสนาอิสลามนั้นมี ฐานะเปนดีน (วิถีชีวิต) ดังนั้นศาสนาอิสลามจึงรวมกิจการทุกอยางของมนุษยไว การเมืองก็เปนสวน หนึ่งที่แยกไมออกจากศาสนาอิสลาม (สุรินทร พิศสุวรรณ และ ชัยวัฒน สถาอนันท, ม.ป.ป. : 163) สุรพล ทรงวีระ (2519 : 10) กลาววา วัฒนธรรมอิสลามมีมาแตดั้งเดิม และผูกติด กับเสาหลักของอิสลาม นั่นคือ หลักการศรัทธาของอิสลามเปนรากฐานที่วัฒนธรรมอิสลามตั้งอยู โดย มีรากฐานที่สําคัญคือ อัลกุรอาน ดวยเหตุนี้ศาสนาอิสลามจึงแตกตางจากความเชื่ออื่น ๆ หลายประการ ที่สําคัญก็คือ ลักษณะอันรอบดานของศาสนานี้ กระทั่งครอบคลุมกิจการตาง ๆ ของมนุษยไวทั้งสิ้น จริงอยูเปนไป ไดที่จะสรางวิถีชีวิตอยางรอบดานสําหรับชาวพุทธ ชาวคริสตและชาวฮินดู โดยอาศัยศาสนาของแตละ


26

คน แตสําหรับชาวมุสลิม คัมภีรอัลกุรอานและจริยวัตรของศาสดาดังที่ปรากฏอยูในอัลหะดีษ เปน แนวทางที่ชัดเจน (สุรินทร พิศสุวรรณ และ ชัยวัฒน สถาอนันท, ม.ป.ป. : 119) บรรจง บินกาซัน (2522 : 161) ไดกลาวถึงศาสนาอิสลามวา อิสลามเปนแนวทางใน การดําเนินชีวิตสําหรับมนุษยทุกยางกาว ตลอดจนเปนทั้งกฎระเบียบของการอยูรวมกันในสังคม ซึ่ง ครอบคลุมถึงเรื่องเศรษฐกิจ การปกครอง กฎหมาย วัฒนธรรม จริยธรรม วิทยาการตาง ๆ ตลอดจน พฤติกรรมของมนุษยในทุกสาขา โดยมีคัมภีรอัลกุรอานและแบบอยางคําสอนของศาสดามุฮมั มัดเปน ธรรมนูญสูงสุด เสาวนีย จิตตหมวด (2535 : 8)กลาวถึงวัฒนธรรมอิสลามวา หมายถึงวิถีในการ ดําเนินชีวิต หรือรูปแบบแหงพฤติกรรมของมุสลิมตลอดจนสิ่งที่สรางสรรคขึ้นมาซึ่งตั้งอยูบนพื้นฐาน แหงความศรัทธาวา อัลลอฮฺ  คือพระเจาเพียงองคเดียว และมุฮัมมัด  คือศาสนทูตของพระองค มอรแกน (Morgan, 1985, อางถึงใน อุษา จารุภา, 2541 : 33) กลาวถึงวิถีชีวิต มุสลิมวา วิถีชีวิตประจําวันของมุสลิมถูกกําหนดโดยคําสอนบทบัญญัติที่ละเอียดออนของพระคัมภีรอัล กุรอานที่บัญญัติไวนานนับศตวรรษ และโดยจริยปฏิบัติของศาสดามุฮัมมัด สวนอารง สุทธาศาสน (2519:133) มีความเห็นวา วัฒนธรรมกับเรื่องศาสนาก็คือ เรื่องเดียวกัน แยกกันไมออก เพราะสวนหนึ่งของศาสนาอิสลาม คือ แนวทางการดํารงชีวิตที่สังคม มุสลิมถือวาถูกตอง ซึ่งถามองอีกแงหนึ่งก็คือ วัฒนธรรมของสังคมนั่นเอง โดยสุธิวงศ พงศไพบูลย (2547: 186) ไดกลาวเพิ่มเติมวา ในตัวศาสนาอิสลามยอมไมมีวัฒนธรรมทองถิ่น แตในความเปน มุสลิมของศาสนิกชนอิสลาม ยอมตองมีการรับเอาประเพณีทองถิ่นไวมากบางนอยบาง ตามภาวะและ กลุมชน และวิถีชีวิตของมุสลิมยอมอาศัย (1) ศาสนบัญญัติ (2) ขนบประเพณีที่ไมขัดกับศาสน บัญญัติ (3) ระเบียบของบานเมือง และ (4) ความเปนสากลนิยม ซึ่งสอดคลองกับคํากลาวของ อักบาร เอส. อาเหม็ด (Akbar S. Ahmed) นักมานุษยวิทยาชาวปากีสถานที่ไดเสนอวา ศาสนา อิสลามนั้นมีเพียงหนึ่ง แตความเปนมุสลิมนั้นมีหลากหลาย (สุเทพ สุนทรเภสัช, 2548 : 99) นอกจากนี้อะหฺมัด บัดรฺ หะสูน (’Ahmad Badr hasūn) กลาววา วัฒนธรรมอิสลาม เป น วั ฒ นธรรมที่ ส มบู รณ ที่สุ ด ของมนุ ษ ย เนื่อ งจากการผสมผสานระหว างอารยธรรมเก าแก กั บ กฏเกณฑของพระเจา ซึ่งริยาฎ นะอฺสาน อาฆอ (Riyād Na‘sān ’Āghā) กลาววา มันเปนวัฒนธรรม ที่พิเศษ เนื่องจากมันไดผสมผสานอารยธรรมตาง ๆ เขาไวดวยกัน และลักษณะสําคัญอีกประการหนึ่ง ก็คือวัฒนธรรมอิสลามไมไดเปนเพียงวัฒนธรรมของชาวมุสลิม หากแตยังสามารถเปนวัฒนธรรมของ ชนตางศาสนิกอีกดวย ดังคํากลาวของโยฮานา อิบรอฮีม (Yūhanā ’Ibrāhīm) บาทหลวงใหญแหง ซีเรีย ความวา “เราชาวคริสตถือวาวัฒนธรรมอิสลามนั้นคือวัฒนธรรมของเรา เนื่องจากวัฒนธรรม


27

ดังกลาวไดชวยหลอหลอมวิถีชีวิตของชาวคริสตดวยเชนกัน”2 จากความเห็นดังกลาวจะเห็นถึงลักษณะ พิเศษของวัฒนธรรมอิสลามที่มีความหลากหลาย ซึ่งจะขึ้นอยูกับกลุมของผูนับถือเปนหลัก แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมอิสลามนั้นปรากฏในเนื้อหาหลักของอัลกุรอานที่เกี่ยวของ กับความสัมพันธระหวางอัลลอฮฺ  และมนุษย ซึ่งหลักการพื้นฐานของวัฒนธรรมอิสลามที่ อัลกุรอานไดนิยามไวมีใจความดังนี้ Ìx6Ζßϑø9$# Ç⎯tã šχöθyγ÷Ψs?uρ Å∃ρã÷èyϑø9$$Î/ tβρâß∆ù's?   3 «!$$Î/ tβθãΖÏΒ÷σè?uρ

(110 : ‫)ﺁﻝ ﻋﻤﺮﺍﻥ‬ ความวา “พวกเจาใชใหปฏิบัติสิ่งที่ชอบ และหามมิใหปฏิบัติ สิ่งที่มิชอบ และมีศรัทธามั่นในอัลลอฮฺ” (อาละอิมรอน : 110) อิสมาอีล อัลฟารูกี (’Ismā‘īl al-Fārūqīy) อางถึงใน อรุณ วิทยานนท (2536 : 268) ไดอธิบายถึงพื้นฐานของวิถีชีวิตแบบอิสลามวา “หลักศรัทธา” ซึ่งเปนการยอมรับอยางมั่นใจ วาอัลลอฮฺเปนหนึ่งสมบูรณเปนผูสรางที่อยูเหนือธรรมชาติเปนพระเจาและเปนนายของทุกสิ่งนั้นเปน แกนแทของวัฒนธรรมอิสลาม เนื่องจาก“หลักศรัทธา” คือหลักการปูทางใหกับพื้นฐานชีวิตอิสลาม ความคิด พฤติกรรม รวมถึงวัฒนธรรมอิสลามยังเปนผลิตผลของการปฏิสัมพันธระหวางเรื่องราว หลากหลายทางประวัติศาสตร ศาสนา สังคม และการเมืองอันจะนําไปสูการผลิดอกออกผลอยาง งดงามของวั ฒ นธรรมและอารยธรรมอิ ส ลามอยา งที่ ป รากฏในป จ จุบั น ตามส วนต า ง ๆ ของโลก อยางเชน ซาอุดีอาระเบีย อียิปต อินโดนีเซีย มาเลเซีย และแทนซาเนีย รวมถึงประเทศที่มีมุสลิมเปน ชนกลุมนอย อยางเชน ประเทศไทย และสหรัฐอเมริกา เปนตน ดังนั้นหากพิจารณาประวัติศาสตรอิสลามที่แพรขยายออกไปในอาหรับจะเห็นไดวา หลักศรัทธา และบทบัญญัติทําหนาที่เปนพื้นฐานสําหรับการพัฒนารูปแบบวัฒนธรรมอิสลามของโลก สิ่งนี้เห็นไดเมื่อเราพูดถึงรูปธรรมทางวัฒนธรรม อยางเชนวัฒนธรรมมุสลิมของยุโรป หรือแมแต วัฒนธรรมมุสลิมอเมริกัน ทั้งหมดนี้เปนสวนสําคัญของวัฒนธรรมอิสลาม ความงดงามหลายอยางใน 2

“Halab Durrat al-Mudun” (Online) Search from http://www.aleppocic.sy/acic/magz/modules/news/ print.php?storyid=54 [20 April 2007]


28

วั ฒ นธรรมอิ ส ลามเห็ น ได จ ากแนวโน ม ความหลากหลายในความคิ ด อิ ส ลามในด า นวรรณกรรม ประวัติศาสตร ศิลปะ สถาปตยกรรม ดนตรี วิทยาศาสตร เทคโนโลยี การคา และการพาณิชย ซึ่ง ปรากฏขึ้นมาในโลกมุสลิมตั้งแต 1400 กวาปมาแลว และในฐานะที่เปนปรากฏการณทางวัฒนธรรมก็ จะมีสวนอนุเคราะหตอไปถึงวัฒนธรรมในอนาคต ดังนั้นความหลากหลายในวัฒนธรรมทางศาสนาจึง เปนผลิตผลแหงการปฏิสัมพันธกันระหวางโลกทรรศนทางศาสนา และสังคมที่หลากหลายของมนุษย ซึ่งสามารถแสดงเปนโครงสรางไดดังนี้ ภาพที่ 1 แสดงโครงสรางของวัฒนธรรมอิสลาม

จากโครงสรางขางตนแสดงใหเห็นวาวัฒนธรรมอิสลามเกิดจากการผสมผสานระหวาง หลักศรัทธา บทบัญญัติ และวิถีชีวิตของผูนับถือ ดวยเหตุนี้วัฒนธรรมอิสลามของแตละกลุมชนจึงมี ความแตตางกันขึ้นอยูกับความหลากหลายของผูนับถือ ซึ่งแตละกลุมตางก็พยายามปรับแตงใหเขาวิถี ชีวิตดั้งเดิมของตนเองไปพรอมกับความพยายามที่จะรักษาแกนแทของอิสลามเอาไวในเวลาเดียวกัน จากขางตนสรุปไดวา วัฒนธรรมอิสลามเปนวิถีในการดําเนินชีวิตของชาวมุสลิมซึ่ง ตั้งอยูบนพื้นฐานของหลักศรัทธา บทบัญญัติหรือคําสอนที่มาจากคัมภีรอัลกุรอานและสุนนะฮฺของทาน ศาสนทูตมุฮัมมัด  ดังนั้นมุสลิมจึงไมสามารถแยกวิถีชีวิตของตนเองออกจากอิสลามได เนื่องจาก ศาสนาอิสลามมีลักษณะซึ่งครอบทุกดานของวิถีชีวิตมนุษย เปนทั้งตัวกําหนดและควบคุมสถาบัน สังคมและวัฒนธรรมที่เรียกวาวัฒนธรรมทางวัตถุและจิตใจใหเปนไปตามกรอบของอิสลาม ดังนั้นใน


29

ทุก ๆ แงมุมของวิถีชีวิตมุสลิมตั้งแต การเดิน การนั่ง การนอน ตลอดจนการเมื อง การปกครอง การศึกษา การแพทย เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม จะถูกกําหนดดวยคําวาอิสลามทั้งสิ้น 2.2 การแพรขยายของศาสนาอิสลามในเอเชียตะวันออกเฉียงใต หลักฐานประวัติศาสตรชี้วาศาสนาอิสลามแพรขยายเขามาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยอาศั ย เส น ทางการค าทางทะเลซึ่ ง ดํ าเนิ น มาตั้ง แตยุค โบราณ โดยนั ก เผยแผ ศาสนาอิ ส ลามได เดินทางรวมไปกับพวกพอคา จากเมืองทาชายฝงทะเลอาหรับ ไปสูรัฐคุชราตทางชายฝงตะวันตก และ เมืองชายฝงของรัฐเบงกอล ดานตะวันออกของอินเดีย และเมืองทาที่สําคัญอื่น ๆ ในเอเชียตะวันออก เฉียงใตโดยเริ่มจากเมือง เปอรลัก ปาไซและเมืองสมุทร จากนั้นตอไปยังเมืองตาง ๆ ตามบริเวณ ชายฝงของแหลมมลายู สภาพของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตในขณะที่ศาสนาอิสลามแพรขยายเขาไปใน ระยะแรก ๆ จากหลักฐานทางโบราณคดี ประวัติศาสตร บันทึกการเดินทาง และตํานานพื้นเมือง อาจจะประมวลภาพกวาง ๆ ไดวา เมืองทาบริเวณชายฝงทะเลที่เปนศูนยกลางการคามีลักษณะเปน นครรัฐ ซึ่งมีขนาด ความสําคัญ และขอบเขตของอํานาจเหนือรัฐอื่น ๆ โครงสรางและเผาพันธุ ภายใตการปกครองของหัวหนาเผา การที่รัฐหนึ่งจะมีอํานาจเหนือรัฐอื่น ๆ ในระบบจักรวรรดิคงจะ พัฒนาขึ้นภายหลัง (D.G.E. Hall, 1976 : 305) ศาสตราจารยเบนดาไดกลาวถึงโครงสรางของระบบการเมืองหรือรัฐประศาสนโยบาย ( Polity) ที่ มี อ ยู ใ นดิ น แดนของเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต ใ นยุ ค “คลาสสิ ก ” ซึ่ ง อยู ใ นระหว า ง คริ ส ต ศ ตวรรษที่ 4-14 ที่ มี ค วามแตกต า งที่ เ ห็ น ได ชั ด ว า มี อ ยู 2 ระบบ คื อ ระบบการเมื อ ง เกษตรกรรมที่อาศัยพลังน้ําบริเวณแผนดินที่อยูภายใน (Inland-Agrian Hydraulic Protype) และ ระบบการเมืองการคาพาณิชย บริเวณชายฝงทะเล (Riparian or Coastal Commercial Prototype) (สุเทพ สุนทรเภสัช, 2548 : 100) สวนพื้นฐานทางดานศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไมวาจะเปนในบริเวณหมู เกาะหรือแผนดินใหญ กอนที่ศาสนาอิสลามจะขยายเขามามีโครงสรางที่มีลักษณะงาย ๆ คือมีระบบ ความเชื่อในเรื่องคติเชื่อถือผีสางเทวดา (Animism) เกี่ยวกับธรรมชาตินิยม (Animatism) และ วิญญาณบรรพบุรุษ (Ancestor’s Spirit) องคกรทางศาสนายังไมแพรหลายในหมูประชากรสวนใหญ ในชนบท สําหรับชนชั้นปกครองที่อยูในบริเวณเมืองนั้น ตั้งแตในระยะตน ๆ ของคริสตศตวรรษ จะมี คติความเชื่อทางศาสนาและอุดุมการณที่มีความสัมพันธอยางลึกซึ้งกับชนชั้นปกครอง และมีโครงสราง ที่ซับซอน เนื่องจากการเผยแผศาสนาถูกจํากัดเพียงในราชวัง (สุเทพ สุนทรเภสัช, 2548 : 102)


30

ในดิน แดนที่ ไดรับอิทธิพ ลจากอินเดีย ระบบความเชื่อทางพุทธศาสนาจะปรับตั ว หรือไมก็เขาไปรวมกับความเชื่อของศาสนาพราหมณ อันเปนที่ยอมรับของชนชั้นนําที่อยูในราชสํานัก โดยรอบ กษั ต ริ ย ถื อ ว า เป น ตั ว แทนของเทพเจ า ตามคติ ค วามเชื่ อ ของฮิ น ดู หรื อ ไม ก็ ถื อ ว า เป น พระพุทธเจากลับชาติมาเกิดตามความเชื่อของพุทธศาสนา และที่สําคัญศาสนาพราหมณและพุทธ ศาสนาไดกลายเปนศาสนาของราชสํานัก ซึ่งตัวแทนของศาสนามักจะเขารวมกลุมกับผูมีอํานาจทาง การเมือง ดังนั้น ศาสนาที่เปนทางการอยางแทจริงก็คือศาสนาของราชสํานัก ซึ่งชาวบานถูกบีบ บังคับใหตองเขารวมพิธีกรรมทางศาสนาที่เกิดขึ้นรอบ ๆ ตัว กษัตริยผูมีฐานะเปนเทวราช (GodKing) ในขณะที่ชาวนาซึ่งเปนประชากรสวนใหญก็ยังคงดําเนินชีวิตอยูบนพื้นฐานของความเชื่อผีและ วิญญาณตอไปในอาณาบริเวณที่อยูโดยรอบเมือง การขยายตัวของศาสนาอิสลาม ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตนั้นเปนผลมาจากปจจัย ดานการคา และการปกครองเปนหลัก ดังจะเห็นไดในกรณีของรัฐสุลตานเปอรลักและรัฐสุลตาน สมุทราปาไซ ซึ่งเปนรัฐอิสลามสรางโดยพอคาตางชาติ จากอียิปต โมร็อกโก และคุชราต ซึ่งอาศัยอยู ในแถบนั้นและตอมาไดแตงงานกับหญิงชาวเมือง ซึ่งเปนบุตรีของมาราหเปอรลัก จากการแตงงาน ดังกลาว มีบุตรชายชื่อสัยยิด อับดุลอะซีซ เปนสุลตานองคแรกของเมืองเปอรลัก หลังจากถูกแตงตั้ง เปนสุลตานเปอรลัก ก็ทรงเปลี่ยนพระนามเปนอะลาอุดดีน ชาฮฺ พระองคเริ่มปกครองเมืองตั้งแตป ค.ศ. 1161 จนถึงป ค.ศ. 1186 ซึ่งกอนนั้นเมืองเปอรลักปกครองโดยราชาที่สมญานามวา มาราห3 ตอมาในภายหลังจากไดกอตั้งรัฐสุลตานเปอรลัก การมาเยือนของพอคาตางเมืองยังคงเปนไปอยาง ตอเนื่องนับตั้งแตป ค.ศ. 1028 เปนตนมา การแยงชิงอํานาจของราชวงศสัยยิด อับดุลอะซีซ และ ราชวงศมาราหเปนการแยงชิง อํานาจระหวางราชวงคตางเมืองกับราชวงศพื้นเมือง โดยมีจุดมุงหมายคือ ผลผลิตพริกที่สุลตานเปอร ลักครอบครองอยู และสงขายโดยผานเมืองเปอรลัก จากบันทึกของนักเดินทางชาวอาหรับและชาวจีน ระบุวา การปลูกพริกที่เมืองอาเจะหไดเปนที่รูจักมาตั้งแตศตวรรษที่ 9 เมืองนัมโปลี เปอรลัก ลามูลี และสมุทรา พริกเมืองอาเจะหนั้น เดิมทีนําเขาจากเมืองมาลากาสี ผลิตผลพริกจากเมืองมาลากาสีใช เปนสินคาสงออกโดยพอคาชาวอาหรับและเปอรเซียในตลอดริมชายฝงเอเชียและทวีปยุโรป ตอมา พอคาเปอรเซียและอาหรับไดนําสินคาพริกและทดลองปลูกในเมืองอาเจะห และเปอรลัก จากนั้นทั้ง สองเมืองดังกลาวจึงถูกใชสงออกพริกทําใหไดผลกําไรมหาศาล ทําใหบรรดาพอคาตางเมืองจากอียิปต เปอรเ ซียและคุชราต ที่มาจอดเทียบทาเมืองเปอรลัก ซึ่งกาลตอมาได ตั้งรกรากอยู ที่นั่น ตองการ ครอบครองผลผลิตพริกทั้งหมด 3

มาราห หมายถึง ราชา


31

นอกเหนือจากสุลตานเปอรลักที่ตั้งอยูชายฝงตะวันออกของสุมาตราเหนือแลว ยังมี รัฐสุลตานอื่น ๆ อีกซึ่งปกครองโดยแมทัพเรือจากราชวงศฟาฏิมิยะฮฺแหงเมืองอียิปต4 นั่นคือ รัฐ สุลตานปาไซ ซึ่งตั้งอยูบริเวณปากน้ําปาไซ ถูกสถาปนาขึ้นโดยราชวงศฟาฏิมียะฮฺแหงเมืองอียิปตในป ค.ศ. 1128 โดยการนําของแมทัพเรือ นาซีมุดดีน อัลกามิล สาเหตุที่ไดกอตั้งสุลตานปาไซแหงราชวงศ ฟาฏิมียะฮฺ นั่นก็คือ ราชวงศฟาฏิมียะฮฺ ตองการครอบครองเครื่องเทศที่อยูในแถบชายฝงสุมาตรา ตะวันออกทั้งหมด ราชวงศฟาฏิมียะฮฺจึงสงทหารมาตีเมืองทาเคมเบยที่แควนคุชราต เพื่อผานไปเปด เมืองทาปาไซ ในที่สุดสามารถเปดเมืองปาไซไดสําเร็จและไดยึดพื้นที่ปลูกพริก ในเมืองกัมปารกานัน กัมปากีรี และเมืองมีนังกาเบา เมืองทาปาไซนั้นถูกใชเปนเมืองทาสําคัญเพื่อสงออกพริก สวนเมือง คุชราตนั้นถูกใชเปนศูนยกลางการคาพริกที่สงมาจากแถบแมน้ํากัมปาร ซึ่งทํากําไรใหแกราชวงศฟาฏิ มียะฮฺอยางมากมายมหาศาล จนกระทั่งกลายเปนราชวงศที่ร่ํารวยในที่สุด ตอมาเมื่อราชวงศฟาฏิมียะฮฺลมสลาย ราชวงศมัมลูกเริ่มปกครองเมื่อป ค.ศ. 1285 ไปจนถึงป ค.ศ. 1522 อันที่จริงราชวงศมัมลูกเองก็ตองการครอบครองการคาเครื่องเทศเชนเดียวกับ ราชวงศฟาติมียะฮฺ ในป ค.ศ. 1284 ราชวงศมัมลูกไดสงชัยคฺอีสมาอีลมายังชายฝงตะวันออกเมือง สุมาตรา พรอมดวยฟากีร มุฮัมมัด ซึ่งเปนอุละมาอแถบชายฝงตะวันออกของอินเดีย เพื่อที่จะทําลาย อิทธิพลชีอะฮฺใหหมดไปพรอมทั้งถายโอนอํานาจจากเมืองทาปาไซ ในสมุทรปาไซ พวกเขาไดพบกับมา ราหซีลู ซึ่งไดแฝงตัวอยูกับกองทัพปาไซโดยใชชื่ออิสกันดารมาลิก ชัยคฺอิสมาอีล ประสบสําเร็จในการ เกลี้ยกลอมมาราหซีลพู รอมผูติดตามคือซิดดิกอาลี ชีอาตุดดีน และซิดดิก อาลี หะสะนุดดีน ใหนับถือ ศาสนาอิสลามมัซฮับชาฟอีย5 ในเวลานั้นมาราหซีลูเองสามารถอานคัมภีรอัลกรุอานไดแลวและไดเขา นับศาสนาอิสลามนิกายชีอะฮฺ ดังนั้นดวยความชวยเหลือจากราชวงศมัมลูกจากอียิปต ทําใหมาราหซีลู ถูก แต ง ตั้ ง เป น สุ ล ต านเมื อ งสมุ ท รา โดยชั ย คฺ อิ ส มาอี ล และมี ส มญานามใหม ว า มาลิ ก อั ศ ศอลิ หฺ นอกจากนั้นเมืองสมุทราซึ่งตั้งอยูบนปากแมน้ําปาไซแถบชายฝงตะวันออกของเมืองสุมาตรา หันสูชอง แคบมะละกายังเปนนครคูแขงสําคัญของอาณาจักรปาไซ และเปอรลัก ซึ่งนับถือศาสนาอิสลามนิกาย ชีอะฮฺอีกดวย (Slamet Mujana, 2006 : 134) สุลตานมาลิก อัศศอลิหฺ ถูกแตงตั้งโดยชัยคฺอิสมาอีล เปนสุลตานนครสมุทราปาไซ โดยใชชื่อชะรีฟ มักกะฮฺ ซึ่งถูกขับไล จากเมืองแบกแดด ไปยังอียิปต ตั้งแตป 1258 เนื่องจากการ โจมตีของกองทัพมองโกล การแตงตั้งมาราหซีลู โดยชัยคฺอิสมาอีลใหเปนสุลตานองคแรกแหงนคร 4

ราชวงศฟาฏิมียะฮฺถูกสถาปนาขึ้นโดยอุบัยดฺ บิน อับดิลลาฮฺ ในป ค.ศ. 976 ราชวงศนี้มีอํานาจปกครองไปจนถึงป ค.ศ. 1168 และ ภายหลังไดถูกพิชิตโดยกองทัพของเศาะลาหุดดีน อัลอัยยูบีย ซึ่งนับถือศาสนาอิสลามมัซฮับชาฟอีย จากการที่ราชวงศฟาฏิมียะฮฺแหง เมืองอียิปตลมสลาย ทําใหความสัมพันธระหวางสุลตานปาไซกับเมืองอียิปตสิ้นสุดลง ในปคริสตศักราชที่ 1168 ราชวงศปาไซถูก ปกครองโดยแมทัพเรือกัฟรอวี อัลกามิล 5 มัซฺฮับ หมายถึง สํานักคิดเกี่ยวกับขอบัญญัติทางศาสนาอิสลาม ซึ่งมีทั้งหมด 4 มัซฮับ ไดแก ชาฟอีย หะนาฟย มาลิกีย และฮันบาลีย


32

สมุทราปาไซ ที่นับถือศาสนาอิสลามสายชาฟอียนั้นตั้งอยูบนพื้นฐานสามประการคือ ประการแรก ราชวงศมัมลูกตองการผูที่เปนคนในพื้นที่ที่แข็งแกรงและนับถือศาสนาอิสลามสายชาฟอีย ประการที่ สอง ตามความเห็นของชัยคฺอิสมาอีลนั้น มาราหซีลู สามารถกําจัดอิทธิพลของนิกายชีอะฮฺใหหมดไป จากริ ม ฝ ง สุ ม าตราได ประการที่ ส าม ราชวงศ มั ม ลู ก หวั ง ว า มาราห ซี ลู สามารถคุ ม อํ านาจการค า เครื่องเทศโดยเฉพาะพริกซึ่งอยู ในอํานาจของพ อคาเปอร เซีย อาหรั บและคุชราตที่นั บถือศาสนา อิสลามนิกายชีอะฮฺได ตลอดเวลาที่สุลตานมาลิก อัศศอลิหฺ ครองอํานาจที่สมุทราปาไซนั้นชาวชีอะฮฺได ทยอยเขารับนับถือศาสนาอิสลามมัซฮับชาฟอียกันมากขึ้นเนื่องจากคํานึงถึงผลประโยชนเปนหลัก อนึ่งสมัยการปกครองของสุลตานมาลิก อัศศอลิหฺนั้น เมืองสมุทราปาไซไดรับการ เยือนจากมารโคโปโล เมื่อปคริสตศักราชที่ 1292 ในการเดินทางจากเมืองจีนสูเปอรเซีย ตอมาในสมัย การปกครองของสุลตานอะหฺมัด บาฮียัน ชาฮฺ มาลิก อัฏฏอฮิรฺ เมืองสมุทราปาไซไดรับการเยือนจาก อิบนุ บัฏฏเฏาะฮฺนักเดินทางชาวโมร็อกโก ในปคริสตศักราช 1345 ระหวางการเดินทางกลับจากจีน ครั้นในปคริสตศักราช 1339 ปลายสมัยปกครองของสุลตานอะหฺมัด บาฮียัน ชาฮฺ เมืองสมุทราปาไซถูกโจมตีโดยกองทัพมัชปาหิต ซึ่งนําโดยปาติห อามังกูบูมี ฆาญะฮฺ มาดา ถือเปนการ สิ้น สุ ดราชวงศ และสิ่ ง สํ า คั ญ อี ก ประการหนึ่ ง ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การแพร ข ยายของศาสนาอิ ส ลามบน คาบสมุทรมลายู คือ บุตรีของสุลตานซัยนุลอาบิดีน บาฮียัน ชาฮฺ ไดอภิเษกสมรสกับราชาปรเมศวร ซึ่งเปนผูสถาปณาอาณาจักรมะละกา ในป ค.ศ. 1404 ผลจากการอภิเษกครั้งนั้น ทําใหราชาปรเมศวร เขารับนับถือศาสนาอิสลามมัซฮับชาฟอีย ตอมาอาณาจักรมะละกาก็ไดกลายเปนศูนยกลางการเผยแผ ศาสนาอิสลามมัซฮับชาฟอียไปทั่วพื้นชายฝงทั้งตะวันตก และตะวันออกของคาบสมุทรมลายู นอกจากนี้เมื่อเขาสูคริสตศตวรรษที่ 14 และ 16 ศาสนาที่สําคัญของโลกสองศาสนา ไดแพรขยายเขามาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไดแกศาสนาคริสตนิกายคาทอลิก ซึ่งถูกนํามาโดยชาว สเปนในบริเวณหมูเกาะฟลิปปนส และศาสนาอิสลามที่พวกพอคาและนักเดินทางชาวมุสลิมนําเขา มายังเมืองทาบริเวณริมฝงทะเลที่อยูตามเสนทางการคาของอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต ความ จริงในเมืองทาชายฝงทะเลจะประกอบดวยชนหลายชาติหลายภาษา ซึ่งนอกจากจะมีผูนับถือศาสนา อิ ส ลามทั้ ง นิ ก ายสุ น นี แ ละชี อ ะฮฺ แ ล ว ก็ ยั ง มี ศ าสนาคริ ส ต ทั้ ง นิ ก ายคาทอลิ ก และเนสตอเรี ย น (Nestorian) ศาสนาขงจื้อ ศาสนาจูดาย ศาสนาฮินดู รวมทั้งพุทธศาสนานิกายตาง ๆ ซึ่งเปนคติความ เชื่ อที่ แ พร ก ระจายเข ามาในหมู พอ ค า นั ก เดิ นทาง และประชาชนทั่ ว ไปตั้ งแต ใ นช ว งแรก ๆ ของ คริสตศตวรรษแลว แตคติความเชื่อของศาสนาฮินดูและพุทธศาสนานิกายมหายานดูจะเปนเรื่องที่ ยอมรับอยูในราชสํานัก พวกที่นับถือศาสนาอิสลามและศาสนาคริสตเมื่อเขามาในระยะแรก ๆ ไดรับ การยอมรับในฐานะชนกลุมนอยทางการคา โดยที่ผูปกครองเองก็ไมไดคาดหวังวาคนเหลานี้จะทําการ เผยแผศาสนาหรือชักจูงใหเขาศาสนาแตอยางใด แตเมื่อเวลาผานไปผูที่มีความรูทางศาสนาอิสลามก็ คอย ๆ ไดรับการยอมรับ และมีโอกาสไดเขาไปเปนที่ปรึกษาทางการเมืองและทางจิตวิญญาณของเจา


33

เมือง ตลอดจนพอคาและประชาชนโดยทั่วไป โดยคลิฟฟอรด เกียรตซ (Clifford Geertz) ไดตั้ง ขอสังเกตถึงการเขามาของศาสนาอิสลามในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตวา มีลักษณะเชนเดียวกับ ในประเทศอินเดีย เปอรเซีย และโมร็อกโก กลาวคือ เนื่องจากศาสนาอิสลามเปนศาสนาที่เขามาทีหลัง สูดินแดนที่มิไดมีอารยธรรมแบบอาหรับแตเปนอาณาบริเวณที่ศาสนาฮินดูและพุทธศาสนาลงรากเปน ปกแผนมั่งคงอยูกอนแลว การแพรขยายของศาสนาอิสลามเขาไปในหมูคนพื้นเมืองจึงเปนไดดวย ความยากลําบากอยางชา ๆ และในที่สุดก็สามารถเขาแทนในความเชื่อดั้งเดิมไดเพียงบางสวนเทานั้น แม ว า ศาสนาอิ ส ลามจะแพร ข ยายเข า มาในเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต และเป น ที่ ย อมรั บ มาตั้ ง แต คริสตศตวรรษที่ 13 จนถึงคริสตศตวรรษที่ 16 แตความเชื่อดั้งเดิมที่มีอยูก็มิไดหมดไป หากยังคง หลงเหลืออยูโดยการเขาไปผสมผสานระบบความเชื่อที่เรียกรวม ๆ วา “อิสลาม” (สุเทพ สุนทรเภสัช, 2548 : 102-103) ความสําเร็จในการเผยแผศาสนาอิสลามบนแหลมมลายูเกิดขึ้นระหวางศตวรรษที่ 15-17 กลาวคือในศตวรรษที่ 15 มะละกาไดยอมรับนับถือศาสนาอิสลามและกลายเปนเมืองบน แหลมมลายูฝงตะวันออกของสุมาตรา ซึ่งเปนเสนทางการคาเครื่องเทศ จนถึงบริเวณตอนเหนือของ ชวาและมาลูกู และอีกเสนหนึ่งไปถึงแควนบรูไนและมะนิลา ในราว ค.ศ. 1527 แควนมัชปาหิตซึ่ง เปนแควนฮินดูในชวาไดตกอยูภายใตอิทธิพลของผูนับถือศาสนาอิสลาม รัฐอิสลามที่เปนปกแผนมี ความสําคัญของยุคนี้ไดแก อาเจะห ยะโฮร ปะตานี บานตัน และเตอรนาเต6 โดยศาสนาอิสลามได แพรขยายจากบริเวณชายฝงทะเลเขาไปสูบริเวณดินแดนภายใน นอกจากนี้ยังมีหลักฐานที่แสดงวา บรรดารัฐที่นับถือศาสนาอิสลามไดใชภาษามลายูมาตั้งแต ค.ศ. 1590 ในตอนตนคริสตศตวรรษที่ 16 ตามตํานานพื้นเมือง ผูปกครองของเมืองปะตานีได ยอมรับนับถือศาสนาอิสลาม ตํานานไดบันทึกไววา “ผูปกครองไดเลิกนับถือเทวรูปและการบริโภคเนื้อ สุกร แตนอกจากนั้นแลวก็มิไดเลิกนิสัยของผูที่ไมไดนับถือศาสนา (อิสลาม) อื่น ๆ (Teeuw and D.K. Wyatt, 1970 : 75) ซึ่งเทวรูปในที่นี้นาจะหมายถึงเทวรูปตามความเชื่อของศาสนาฮินดูที่ชาว พื้นเมื องได รับอิทธิพลมาจากภายนอก เมื่อครั้ งที่ระบบความเชื่อของอินเดียแพรข ยายเขามา ใน ตํานานยังกลาวอีกวา ผูสืบเชื้อสายจากผูปกครองคนเดิมซึ่งเปนสตรีไดสรางมัสยิดขึ้นเปนแหงแรก และประชาชนสวนใหญไดพากันเลิกการบริโภคเนื้อสุกรและการบูชารูปเคารพ นอกจากนั้นแลวยังคงมี การเซนสรวงตนไมและภูตผีตาง ๆ อยูอยางเดิม เกี่ยวกับสภาพของการยอมรับนับถือศาสนาอิสลาม ของคนพื้นเมืองในยุคตน ๆ นี้ อาบู มาญิด ผูบุกเบิกศาสนาอิสลามที่มีชื่อเสียง ไดบันทึกไวดวยความ ไมพึงพอใจนักวา “พวกเขาชางไมมีวัฒนธรรมเสียเลย คนนอกศาสนาแตงงานกับผูหญิงมุสลิม ขณะที่ ผูชายมุสลิมก็เอาคนไมมีศาสนามาเปนภรรยา คนพวกนี้คือโจรมีการลักขโมยในพวกเดียวกันโดยไมมี 6

เตอรนาเต (Ternate) ชื่อเมืองทางตอนเหนือบนเกาะมาลูกู


34

ผูใดสนใจไยดี ชาวมุสลิมบริโภคเนื้อสุนัข เพราะไมมีขอหามในการบริโภคอาหาร พวกเขาพากันดื่ม เหลาในตลาด และไมถือวาการหยารางเปนเรื่องของศาสนา” อยางไรก็ตามเมื่อมาถึงตอนปลายคริสตศตวรรษที่ 16 ปรากฏหลักฐานที่บงชัดวาคน จํานวนมากทั้งในเมืองและชนบท รวมไปถึงบริเวณชายฝงและหมูเกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใตได หันมายอมรับนับถือศาสนาอิสลาม ปฏิเสธที่จะมีชีวิตแบบดั้งเดิม เลิกบริโภคเนื้อสุกร ยอมรับเครื่อง แตงกายและแบบคารวะ ตลอดจนพิธีกรรมของศาสนาอิสลาม ที่สําคัญคนกลุมนี้ถือวาตนเปนสวน หนึ่งของประชาคมมุสลิม (’Ummah ’Islāmīyah) ฉะนั้นแนวคิดที่วา ศาสนาอิสลามมีความเปน ปกแผนมั่นคงเฉพาะในบริเวณเมืองทาชายทะเล และในบริเวณเมืองหลวงเทานั้นก็ไมเปนความจริงอีก ตอไป เพราะเมื่อมาถึงสมัยนี้ ตํานานพื้นเมืองของปตตานีเองก็ยังบันทึกไววา ในสมัยของสุลตานมุ ซอฟฟร ชาห ค.ศ. 1564 ศาสนาอิสลามไดแพรขยายเขาไปถึงบริเวณชนบทและเลยเขาไปถึงโกตา มะหลีฆัย ซึ่งอยูหางจากชายฝงทะเลออกไป 14 กิโลเมตร (Teeuw and D.K. Wyatt, 1970 : 7879) 2.3 ทฤษฎีการเขามาของอิสลามสูภูมิภาคมลายู7 สงครามระหว า งมั ช ปาหิ ต กั บศรี วิ ชั ย เป น สงครามที่ เ ต็ ม ไปด ว ยความทารุ ณ และ แมวามัชปาหิตจะเปนฝายชนะอยางสิ้นเชิง แตพืชแหงการรบราฆาฟนกันใหมก็ไดถูกเพาะหวานลงไป ดวย จากซากอันปรักหักพังแหงอํานาจของพวกไศเลนทร และรวมทั้งจากมูลเหตุอื่นดวย โดยเฉพาะก็ คือ เพราะพวกอาหรับและประชาชนที่หันไปนับถือศาสนาอิสลาม พวกมลายูไดมีอํานาจขึ้นในสุมาตรา และมะละกา อํานาจการควบคุมทะเลตะวันออก ซึ่งเคยอยูในกํามือของอินเดียใต หรือไมก็อยูในกํามือ ของอาณานิคมอินเดียมาเปนเวลาชานาน บัดนี้ไดตกอยูในมือของพวกอาหรับเสียแลวมะละกาไดมี ชื่อเสียงเดนขึ้นในฐานะเปนศูนยกลางการคาและเปนที่ตั้งของอํานาจทางการเมือง และโดยประการ ฉะนี้ ศาสนาอิสลามก็เริ่มแผไปตามแหลมมลายู และหมูเกาะใกลเคียง อํานาจใหมที่เกิดขึ้นนี้เอง ใน ที่สุดไดนําความสิ้นสุดมาสูมัชปาหิตในตอนปลายศตวรรษที่ 15 (ยวาหระลาล เนหรู, 2537 : 393394) การเขามาของอิสลามไดเปลี่ยนเข็มทิศของศูนยอารยธรรมมลายูไปยังเมืองตาง ๆ เชน มะละกา จัมบี อาเจะห และปะตานี บรรดานักวิชาการไดนําเสนอทฤษฎีตาง ๆ เพื่อเชื่อมโยงการ เขามาของอิสลามยังคาบสมุทร และหมูเกาะมลายู โดยมี 3 ทฤษฎีหลัก คือ ทฤษฎีที่มาจากอินเดีย จีน และอาหรับ 7

ภูมิภาคมลายู (Nusantara) ประกอบดวย แหลมมลายู และหมูเกาะมลายู


35

2.3.1 ทฤษฎีอิสลามมาจากอินเดีย ทฤษฎีการเขามาของอิสลามสูภูมิภาคมลายู โดยบรรดาพอคาชาวอินเดียไดเสนอโดย นักบูรพาคดีชาวตะวันตก เชน สนุก ฮอครอนเจ (Snouck Horgronje) และ เบรน แฮรริสัน (Brain Harrison) กลาววา สังคมในภูมิภาคมลายูเห็นวาอินเดียเปนแหลงที่สามารถจะใหความชวยเหลือและ ใหคําแนะนํา คําสั่งสอนชี้แนะปญหาทางศาสนาได จากที่ทั้งสองฝายมีการติดตอสัมพันธกันนั่นเอง ผูคนในภูมิภาคมลายูรูสึกสนใจและชอบศาสนาอิสลามที่พอคาชาวอินเดียนับถืออยู นักวิจัยบางทานอยางเชน แจสโซลิน เดน จอง (Jassolin Den Jong)นักบูรพาคดีได ระบุสถานที่เริ่มตนของการเผยแผอิสลามวา การเผยแผอิสลามเขาสูภูมิภาคมลายูกระทําโดยพอคาชาว คุชราต ทฤษฎีที่วาอิสลามมาจากคุชราตนี้ถูกนําเสนอขึ้นมาโดยอาศัยหลักฐานตาง ๆ ที่บงบอกถึง ความเหมือนกันของสังคม วัฒนธรรมของชาวมลายูกับสังคมวัฒนธรรมของชาวอินเดีย รวมถึงการ คนพบหินบนหลุมฝงศพ เชน หินบนหลุมฝงศพของสุลตานมาลิก อัซซอและห กษัตริยองคแรกแหง เมืองสมุทราปาไซ ซึ่งระบุป ค.ศ. 1297 หินบนหลุมฝงศพนี้ไดมีการอางวาเปนหินที่นํามาจากเมือง คุชราตเพราะหินทั้งสองแหงนี้มีรูปรางลักษณะเหมือนกัน (D.G.E. Hall, 1987 : 253) ซึ่งชวย สนับสนุนใหทฤษฎีนี้นาเชื่อถือมากยิ่งขึ้น โธมัส อารโนลด (Thomas Arnold) ไดกลาววาอิสลามที่ไดมาถึงเอเชียตะวันออก เฉียงใตเปนคําสอนในมัซฮับชาฟอีย เหมือนกับสังคมมุสลิมมาลาบารในอินเดีย และไดปฏิเสธแนวคิด ที่วาอิสลามมาจากเมืองคุชราต เพราะสังคมมุสลิมคุชราตเปนผูที่ปฎิบัติตามมัซฮับฮานาฟย อีกทั้ง ชวงเวลาที่คุชราตรับอิสลามชากวารัฐปาไซ กลาวคือ เอเชียตะวันออกเฉียงใตรับศาสนาอิสลามในป ค.ศ. 1042 สวนคุชราตรับอิสลามในยุคของสุลตานแหงเดลฮี ชวงป ค.ศ. 1302 (อิสมาอีล ฮามิด, 2545 : 69) อยางไรก็ตามทฤษฎีตาง ๆ เกี่ยวกับการเขามาของอิสลามในภูมิภาคมลายูจากอินเดีย นั้นปรากฏวามีขอ ขัดแยงกั บหลั กฐานที่ป รากฏตั้ งแต คริสตศตวรรษที่ 7 พิ สูจน ไดจากการค น พบ หลักฐานตาง ๆ ในระยะหลังทีแ่ สดงถึงความสัมพันธระหวางภูมิภาคมลายูกับโลกอาหรับไดมีมาตั้งแต กอนศาสนทูตมุฮัมมัด  จะเผยแผศาสนาอิสลามบนคาบสมุทรอาหรับ 2.3.2 ทฤษฎีอิสลามมาจากจีน นอกจากทฤษฎีอิสลามเขาสูภูมิภาคมลายูโดยผานมาทางอินเดียแลวยังมีทฤษฎีที่วา อิสลามมาจากจีน ตามประวัติศาสตรพบวาอิสลามมาสูเมืองจีนในสมัยการปกครองราชวงศถัง นั่นคือ


36

ในราวป ค.ศ. 650 และมีนักวิชาการหลายทานที่สนับสนุนทฤษฎีอิสลามมาจากเมืองจีน เอ็มมานูเอล โฆดิญโญ เด อีวีเดียร (Emanuel Godinho De Evedia) เลาวาอิสลามมาสูภูมิภาคมลายูจากเมืองจีน โดยผานทางกวางตุงและไหหนานในคริสตศตวรรษที่ 9 (Institut Tadbiran Awam Negara, 1991 : 64-66) ทัศนะนี้เปนที่แพรหลายมากขึ้นหลังจากคนพบศิลาจารึกที่กัวลาเบอรัง รัฐตรังกานู ทางฝง ทะเลตะวันออกของแหลมมลายู ทฤษฎีนี้ไดรับการสนับสนุนจากหลักฐานทางประวัติศาสตรที่แสดงถึงความสัมพันธ ทางดานการคาระหวางชาวจีนกับบรรดาพอคามุสลิมจากเอเชียตะวันตก (อาหรับ–เปอรเชีย) มาตั้งแต ฮิจเราะฮฺศักราชที่ 3 หรือ คริสตศตวรรษที่ 9 หรืออาจจะกอนหนานั้นดวยซ้ํา คือ ตั้งแตฮิจเราะฮฺ ศักราชที่ 1 หรือคริสตศตวรรษที่ 7 เสียอีก ตามบันทึกของมัสอูดีย (Mas‘ūdīy) นักประวัติศาสตรชาว อาหรับที่มีชื่อเสียงคนหนึ่ง กลาววา ที่กวางตุงมีพอคามุสลิมราว 200,000 คน ซึ่งสวนใหญเปนพอคา มุสลิมจากคาบสมุทรอาหรับ และเปอรเซีย เอส จี ฟาตีมี (S.G. Fatimi) อธิบายวาอิสลามไดถูกนํามาจากกวางตุงของจีนใน ปลายศตวรรษที่ 9 ในราวป ค.ศ. 876 การอพยพเคลื่อนยายนี้เกิดขึ้นจากผลของสงครามซึ่งเปนเหตุ ใหมีคนมุสลิมตองสังเวยชีวิตไปเปนจํานวนมากกวาหนึ่งแสนคน คนมุสลิมที่เหลือไดหลบหนีไปยัง ภูมิภาคมลายูซึ่ง หะสัน อิบรอฮีม หะสัน (Hasan ’Ibrāhīm Hasan, 1964 : 2/331) กลาววา หลังจาก นั้นชาวอาหรับไดยายสถานีการคาจากกวางตุงมาตั้งที่เมืองกาละฮฺ (เกดะห) บนแหลมมลายู อยางไรก็ตามหลักฐานตาง ๆ ที่สนับสนุนสมมุติฐานของทฤษฎีนี้ยังสามารถโตแยงได อีกมาก เพราะการเขามาตั้งถิ่นฐานของชาวมุสลิมยังภูมิภาคมลายูมีมากอนระยะเวลาที่ปรากฏ ตาม ทฤษฎีนี้ รวมทั้งการคนพบหลักฐานใหม ๆ เกี่ยวกับการเขามาของอิสลามสูภูมิภาคมลายูที่ดูเหมือนจะ ขัดแยงกับหลักฐานที่ไดนําเสนอโดยทฤษฎีขางตน และสมมุติฐานดูจะเปราะบางเพราะหากอิสลาม มาถึงเมืองจีนโดยคนอาหรับแลว แนนอนเหลือเกินวาบรรดานักเผยแผชาวอาหรับเหลานั้นจะตองแวะ ที่ภูมิภาคมลายูกอนไปจีน เพราะภูมิภาคมลายูอยูระหวางเสนทางการคาขายระหวางเอเชียตะวันตกกับ เอเชียตะวันออกอยูแลว ดังนั้นดวยเหตุผลนี้จึงไมนาที่อิสลามจะไปยังจีนกอนแลวยอนกลับมายัง ภูมิภาคมลายูในภายหลัง 2.3.3 ทฤษฎีอิสลามมาจากอาหรับ ทฤษฎีการเขามาของอิสลามสูภูมิภาคมลายูโดยนักเผยแผศาสนาอิสลามบรรดาพอคา เศรษฐีชาวอาหรับ เปนทฤษฎีที่สอดคลองกับหลักฐานทางประวัติศาสตรตาง ๆ ที่ไดคนพบรวมทั้งจาก บันทึกของนักเดินเรือทั้งหลาย ซึ่งหากเรามองอยางผิวเผิน จะพบวาความสัมพันธระหวางประชาชนใน


37

ภูมิ ภาคมลายูกับชาวอาหรับนั้ น มีม านานแล ว คื อ ตั้ง แตก อนยุ คอิสลามเรื่อยมาจนถึงการเผยแผ อิสลามสูบริเวณนี้จนกระทั่งปจจุบัน จากเอกสารที่ไดมีการคนพบ มีการกลาวถึงชุมชนอาหรับมุสลิมในสุมาตราเหนือที่ เรียกวา “Tashih”8 ในป ค.ศ. 650 ชุมชนนี้มีชาวอาหรับที่เขามาในสุมาตราในคริสตศตวรรษที่ 7 อยู อาศัย นอกจากนี้ เอส เอ็ม นากิบ อัลอัตตัส (S.M. Naquib al- Attas) ไดยืนยันวาเนื้อหาของ วรรณกรรมมลายูอิสลามที่ประกอบดวยคําศัพทเฉพาะ และแนวคิดรวมทั้งระบบการเขียนอักษรยาวีที่ ใชกันอยูในภูมิภาคมลายู แสดงถึงแหลงที่มาของอาหรับหรือตะวันออกกลางเปนตนเหตุ (Hashim Musa, 2001 : 165) จากการวิเคราะหและการคนพบเหลานี้สามารถบอกไดวาการเขามาของอิสลาม ยังภูมิภาคมลายูไดเกิดขึ้นในคริสตศตวรรษที่ 7 โดยการนําเขามาของพอคาวาณิชและนักเผยแผ ศาสนาชาวอาหรับ โดยผานเสนทางการคาขายของเอเชียตะวันออกเฉียงใตเพื่อไปยังจีน นอกจากนี้ หลักฐานทางประวัติศาสตรระบุวาการรับศาสนาอิสลามของกษัตริยเปอรลัก และสมุทราปาไซเกิดจาก การชักชวนของนักเผยแผศาสนาชาวอาหรับ 2.4 องคประกอบของการเผยแผอิสลามในภูมิภาคมลายู การเผยแผอิสลามในสังคมมลายูดําเนินไปอยางสันติ ในประวัติศาสตรการขยายของ อิสลามสูภูมิภาคมลายู ไมปรากฏเอกสารหรือบันทึกใด ๆ ที่บงบอกถึงการบังคับใหสังคมมลายูทั้งใน คาบสมุทรมลายูและเอเชียตะวันออกเฉียงใตนับถือศาสนาอิสลามในขณะเดียวกันก็ไมไดเกิดจากการ สงครามเพื่อขยายดินแดน ซึ่งความสําเร็จของการเผยแผอิสลามในภูมิภาคมลายูมีพื้นฐานจากหลาย องคประกอบหลักดังนี้ 2.4.1 องคประกอบดานการคา การค า ขายเป น องค ป ระกอบที่ สํ า คั ญ ประการหนึ่ ง ในการเผยแผ ศ าสนาอิ ส ลาม นับตั้งแตกอนอิสลามจนถึงยุคการขยายของอิสลาม ชาวอาหรับเปนชนชาติที่ยึดครองกิจกรรมทางการ เดินเรือและการคาขายในละแวกนี้แตเพียงผูเดียว โดยเฉพาะหลังการลมสลายของอาณาจักรมัชปาหิต ในเวลาเดียวกันภูมิภาคมลายูก็เปนบริเวณที่อุดมไปดวยทรัพยากรที่สําคัญสําหรับการคาขายซึ่งเปนสิ่ง

8

Tashih เปนคําที่ชาวเปอรเซียใชเรียกชาวอาหรับ ในทํานองเหยียดหยาม


38

ดึงดูดพอคาชาวอาหรับใหเดินทางมาคาขายในภูมิภาคแหงนี้ โดยมีสินคาที่สําคัญ อาทิ พริกไทย ไม จันทน กํายาน การบูร ลูกจันทนเทศ ดีบุก และแกนกฤษณา เปนตน สิ่งของเหลานี้สวนใหญถูกใชเปนสวนผสมในการทําน้ําหอม ซึ่งใชอยางกวางขวาง ตั้งแตยุคของจักรพรรดิ์ยูเลียส ซีซาร และพระนางคลีโอพัตรา นั้นคือราว ๆ 2000 ป ก.ค.ศ. เมื่อ ดินแดนอาหรับรับอิสลามดังนั้นพอคาชาวอาหรับก็ไดนําอิสลามไปทั่วทุกแหงที่พวกเขาเดินทางไป คาขาย เพราะอิสลามเองเปนศาสนาแหงการเผยแผอยูแลวและการเผยแผศาสนาก็เปนหนาที่ของผูที่ นั บถือ อิ สลาม ดั งนั้ นจึง ไม ใ ช เ รื่ อ งแปลกหากสถานที่ แ รก ๆ ในภู มิภาคมลายู ที่ รับศาสนาอิส ลาม ประกอบดวยเมืองทาที่สําคัญ ๆ เชน เปอรลัก ปาไซ อาเจะห มะละกา รวมถึงปะตานี และเมืองอื่น ๆ 2.4.2 องคประกอบการแตงงาน การแต งงานของบรรดาพ อคาและนักเผยแผศาสนาอิสลามกับหญิ ง ชาวพื้ น เมื อ ง หลักฐานเรื่องนี้ไดจากการยืนยันของทอม ปเรส (Tom pires) ที่กลาววา การผสมผสานในหมูเกาะ มลายูเกิดขึ้นอยางสงบโดยบรรดาพอคาที่อยูในหลาย ๆ ที่ดวยการแตงงานกับหญิงทองถิ่น และสิ่งนี้ก็ ไดรับการเห็นดวย เอช เคิรน (H. Kern) ที่บอกวาพอคาที่รวยไดแตงงานกับธิดาของนครรัฐ ผูปกครองรัฐที่ตนเองอยูจนในที่สุดก็สามารถครอบงํารัฐตาง ๆ เหลานั้นไดดังการเกิดของรัฐสุลตาน เปอรลัก และกลายเปนอาณาจักรอิสลามของมะละกา ดังนั้นการแตงงานจึงถือเปนองคประกอบสําคัญ หนึ่งในการเผยแผอิสลามในภูมิภาคมลายู ผลจากการแตงงานก็ทําใหเกิดครอบครัวและสังคมที่นับถือ อิสลาม 2.4.3 องคประกอบการเผยแผอิสลาม โดยลักษณะของศาสนาอิสลามแลวดวยตัวของมันเองเปนศาสนาที่ตองเผยแผให มนุษยไดรับรูและเชิญชวนใหมาสูอิสลาม ดังเชนที่ทานศาสนทูตมุฮัมมัด  ไดดําเนินการเผยแผ ขึ้นมา ในประวัติศาสตรการแพรขยายของศาสนาอิสลามในภูมิภาคมลายูนั้น บรรดาปราชญอิสลาม (อุละมาอ) และนักเผยแผอิสลาม (ดุอาต) ไดทํางานเพื่อศาสนานี้อยางจริงจังจนเราไมอาจลืมผลงาน แห ง ความอุ ต สาหะของท า นเหล า นั้ น รวมทั้ ง การอุ ทิ ศ ตนเองเป น ศู น ย ที่ ทํ า หน า ที่ เ ปลี่ ย นแปลง (Change Agent) และทําใหภูมิภาคมลายูไดรูจักหลักแหงการยึดมั่นตออัลลอฮฺ  (อะกีดะฮฺ อิสลา มียะฮฺ) การยึดถือพระเจาเพียงองคเดียวคืออัลลอฮฺ  บรรดานักปราชญและผูรูอิสลามแหงภูมิภาค มลายูสามารถเผยแผอิสลามไปทั่วทั้งภูมิภาคมลายูไดอยางงายดาย ทั้งนี้เพราะบุคลิกภาพที่ดีของ


39

บุคคลเหลานี้ อีกทั้งการยึดมั่นศรัทธาตออิสลามอยางแทจริงไดกลายเปนสวนสําคัญในการสงเสริม และสนับสนุนการสอนอิสลามของพวกเขาดวย ปรากฏการขางตนไดเปนรูปธรรมขึ้นมาอยางชัดเจน เมื่อปรากฏปราชญชั้นนําของภูมิภาคมลายูมาทําการเผยแผคําสอนของอิสลามขึ้น ดังเชน ชัยคฺ อิสมา อีล (Sheikh Ismail) ชัยคฺ อับดุลอะซีซ (Sheikh Abdul Aziz) เมาลานา ยูซุฟ (Maulana Yusuf) และซิดิ อาหรับ (Sidi Arab) แหงมะละกา ในขณะที่อาเจะหมีฮัมซะฮฺ ฟนซูรี (Hamzah Fansūrī) นู รุดดีน อัลรานีรี (Nūrudīn al-Rānīrīy) อับดุลรออูฟ ซิงเกล (Abdul Ra’ūf Singkel) เปนตน อีกทั้ง ปรากฏวาที่อาเจะหนั้นมีปราชญผูรูอิสลามจํานวน 22 คนที่เปนสมาชิกสภาการประชุมแหงรัฐในชวง การปกครองของสุลตานอิสกันดาร มูดา มะฮฺโกตา อาลัม (Iskandar Muda Mahkota Alam) 2.4.4 องคประกอบทางดานความพิเศษของคําสอนอิสลาม องคประกอบที่ชัดเจนที่สุดเกี่ยวกับการขยายตัวของอิสลามในภูมิภาคมลายูนาจะ ไดแกความพิเศษของคําสอนของอิสลามเอง อิสลามเขามาดวยการ เชิดชูความเชื่อในพระเจาองค เดียว (หลักเตาฮีด9) และการทําใหจรรยามารยาทของบุคคลใหสมบูรณและสูงสง ดังเชนหะดีษของ ทานศาสนทูตมุฮัมมัด  ที่วา

(( ‫ﻕ‬ ‫ﻼﹺ‬ ‫ﺧ ﹶ‬ ‫ﺢ ﺍﹾﻟﹶﺄ‬ ‫ﻟ‬‫ﺎ‬‫ﻢ ﺻ‬ ‫ﻤ‬ ‫ﺗ‬‫ﻟﺄﹸ‬ ‫ﻌﹾﺜﺖ‬ ‫ﺎ ﺑ‬‫ﻧﻤ‬‫)) ﹺﺇ‬ ความวา “แทจริงฉันไดถูกสงมาเพื่อทําใหจรรยามารยาทสมบูรณ และสูงสง” (บันทึกโดย ’Ahmad, 1991:8595) นอกจากนี้ศาสนาอิสลามไมเคยบังคับใหปจเจกบุคคลหรือสังคมในภูมิภาคมลายูให เขารับนับถืออิสลาม อิสลามไมไดแพรกระจายในภูมิภาคมลายูดวยวิธีการสงครามและการลาอาณา นิคมตรงกันขามกลับมอบใหบุคคลหรือสังคม พิจารณาวาจะรับหรือไมรับศาสนาอิสลาม ดังตัวบท ของอัลกุรอานความวา

9

หลักการใหเอกภาพ 3 ประการคือ 1.ความเปนพระเจา 2. ความเปนพระผูอภิบาล 3. พระนามและคุณลักษณะอันสูงสงของพระองค


40

öàõ3tƒ ⎯yϑsù 4 Äc©xöø9$# z⎯ÏΒ ß‰ô©”9$# t⎦¨⎫t6¨? ‰s% ( È⎦⎪Ïe$!$# ’Îû oν#tø.Î) Iω ® 4’s+øOâθø9$# Íοuρóãèø9$$Î/ y7|¡ôϑtGó™$# ωs)sù «!$$Î/ -∅ÏΒ÷σãƒuρ ÏNθäó≈©Ü9$$Î/

〈 îΛ⎧Î=tæ ìì‹Ïÿxœ ª!$#uρ 3 $oλm; tΠ$|ÁÏΡ$# Ÿω (256 : ‫)ﺍﻟﺒﻘﺮﺓ‬ ความวา “ไมมีการบังคับใด ๆ (ใหนับถือ) ในศาสนาอิสลาม10 แนนอนความถู กตองนั้นไดเ ปนที่กระจางแจงแล วจากความผิ ด11 ดังนั้นผูใดปฏิเสธศรัทธาตออัฏฏอฆูต12 และศรัทธาตออัลลอฮฺแลว แนนอนเขาไดยึดหวงมั่นคงไวแลว โดยไมมีการขาดใด ๆ เกิดขึ้นแก มันและอัลลอฮฺนั้นเปนผูทรงไดยินและผูทรงรอบรู” (อัลบะเกาะเราะฮฺ : 256) อิสลามไดกําเนิดขึ้นดวยการนําเสนอการใหเอกภาพตอพระผูเปนเจา นั้นคือ การ ศรัทธาตออัลลอฮฺเพียงพระองคเดียว ซึ่งสิ่งนี้เปนการเปลี่ยนแปลงความเชื่อของชาวภูมิภาคมลายูซึ่ง กอนหนานี้ไดนับถือศาสนาฮินดู – พุทธ รวมทั้งเชื่อตอพระเจาที่หลากหลาย โดยผานหลักความเชื่อตอ อิสลามนี้เองชาวภูมิภาคมลายูไดรับการสั่งสอนใหมีชีวิตที่เปนอิสระและปราศจากความเกรงกลัวตอสิ่ง ใดเวนแตอัลลอฮฺ  เทานั้นดวยคุณลักษณะของอิสลามที่ยืดหยุนนี่เองจึงทําใหสามารถผสมผสานกับ วั ฒ นธรรมของสั ง คมมลายู ที่ ฝ ง อยู ใ นวิ ถี ชี วิ ต สั ง คมภู มิ ภ าคมลายู เ นิ่ น นานแล ว บรรดากฎหมาย กฎเกณฑ ขนบธรรมเนียมประเพณีและวิถีการดํารงชีวิตก็ไดถูกปรับใหสอดคลองกับทองที่ เวลา และ สถานที่และสถานการณความเหมาะสมเหลานี้สามารถดึงความสนใจของผูคนในภูมิภาคมลายูเพื่อให เขารับอิสลาม องคประกอบนี้ก็ไดรับการสนับสนุนจากลักษณะของอิสลามเองที่เปนสากลไมจํากัดกลุม ในภาษาอาหรับ คําวา “ดีน” หมายถึงทั้งความเชื่อและแนวทางแหงชีวิตที่วางอยูบนความเชื่อนั้น ในที่นี้หมายถึง ความเชื่อที่ไดกลาวไว ในอายะฮฺกอนหนานี้ อายะฮฺนี้หมายความวา ความเชื่อของอิสลามและแนวทางแหงชีวิตของอิสลามนั้นมิไดเปนสิ่งที่ถูกยัดเยียดใหแกใคร โดยใชกําลังความจริงแลวเรื่องนี้ไมสามารถที่จะบังคับผูใดได (เมาลานา ซัยยิด อบุล อะลา เมาดูดี, 2545 : 198) 11 ในอิสลามนั้นไดเปนที่กระจางแจงแลววา อะไรคือสิง่ ที่ถูกและอะไรคือสิง่ ที่ผิด ดวยเหตุนี้จึงไมมีการบังคับใหผูคนรับนับถือ (สมาคม นักเรียนเกาอาหรับ,1419 : 86) 12 หมายถึง ซาตาน, มารราย 10


41

ชน เชื้อชาติและพื้นที่ แตกลับมีลักษณะที่เปดและใจกวางตอศาสนาและวัฒนธรรมอื่นจึงทําใหเปน จุดเดนใหผูคนหันมายอมรับศาสนาอิสลามมากขึ้น ภายหลังการเขามาของอิสลามไดมีศูนยอารยธรรมมลายูอิสลามเกิดขึ้นหลายแหลง และเปนที่รูจักกันในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ศูนยตาง ๆ เหลานี้มีบทบาทสําคัญยิ่งตอการสนับสนุน การขยายตัวของศาสนาอิสลามในภูมิภาคมลายู ไดแก เมืองเปอรลัก ปาไซ และอาเจะห ที่สุมาตรา ปะ ตานี มะละกา บนคาบสมุทรมลายู ซูลู และมินดาเนา ที่ฟลิปนส ปนจาร มาตารัม ในเกาะชวา บันจาร ที่เกาะบอรเนียว จัมปา ที่อินโดจีน และอื่น ๆ 2.5 แนวคิดเกี่ยวกับคํายืม 2.5.1 ความหมายของการยืมภาษา การยืมภาษา คือการที่ภาษาหนึ่งรับเอาลักษณะใดก็ตามจากอีกภาษาหนึ่งเขามาใช จนกลายเป นลั กษณะของตนเอง ซึ่ง ลักษณะที่มีการยืม มีทั้ง ดานเสียง พยัญ ชนะ สระ วรรณยุก ต ทํา นองเสียง เสีย งเน นหนั ก คํ าทุ กประเภท โดยเฉพาะคํ าหลัก เช น นาม กริยา และลักษณะทาง ไวยากรณ เชน การแสดงพหูพจน การก และหนวยสรางตาง ๆ เชน ประโยค กรรมวาจก เปนตน (อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ, 2532 : 23) คริสตัล (Crystal) ใหคําจํากัดความของการยืมภาษาวาหมายถึง การที่หนวยทาง ภาษา (Linguistic Unit) โดยสวนใหญแลวเปนคําของภาษาหนึ่งถูกใชในอีกภาษาหนึ่งหรือในภาษา ถิ่นหนึ่ง ซึ่งกอนหนานั้นไมไดเปนสวนหนึ่งของภาษานั้น ๆ (อัสสมิง กาเซ็ง, 2544 : 7) จากคําจํากัดความขางตนอาจกลาวไดวา การยืมภาษา หมายถึง การที่ภาษาหนึ่งรับ เอาลักษณะใดก็ตามจากอีกภาษาหนึ่งเขามาใชในภาษาของตน ซึ่งสวนใหญปรากฏในรูปของคํายืม สวนคํายืม หมายถึง คําภาษาตางประเทศที่นําเขามาใชในภาษา ซึ่งอาจยืมมาโดยตรง โดยการแปล หรือโดยการเลียนแบบแนวคิดที่มาจากภาษาอื่น (Hartman & Stork, 1972 : 134) 2.5.2 แนวคิดเรื่องการสัมผัสภาษา การยืมคํานั้นเกิดขึ้นภายใตสภาพแวดลอมของการสัมผัสทางภาษา ซึ่งมีแนวคิดดังนี้ อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ, (2532 : 31-32) ไดนิยามการสัมผัสภาษาวาหมายถึง ปรากฏการณที่คนใดคนหนึ่งพูดไดหลายภาษาและสามารถใชภาษาเหลานั้นสลับกันไปมาได ทําให


42

ภาษาหลายภาษามี อิ ท ธิ พ ลซึ่ ง กั น และกั น และการยื ม ภาษาก็ เ ป น ปรากฏการณ ห นึ่ ง ในหลายๆ ปรากฏการณที่เกิดจากการสัมผัสภาษา คริ ส ตั ล (Crystal) ได อ ธิ บ ายเกี่ ย วกั บ การสั ม ผั ส ภาษาว า การสั ม ผั ส ภาษาเป น ปรากฏการณ ทางภาษาอยางหนึ่ งซึ่ งเปน สถานการณของความต อเนื่อ งทางภู มิศาสตร หรือความ ใกลชิดกันของกลุมสังคมระหวางภาษา หรือระหวางภาษาถิ่น สภาพที่ใกลชิดกันทั้งในแงภูมิศาสตร และในแงของสังคมทําใหภาษามีอิทธิพลตอกัน ผลของสถานการณการสัมผัสภาษาอาจปรากฏออกมา ในรู ป ของการเจริ ญ เติ บ โตของภาษา รู ป ของการยื ม รู ป แบบของการเปลี่ ย นแปลงทางเสี ย งและ วากยสัมพันธ เปนตน (อัสสมิง กาเซ็ง, 2544 : 8) จากแนวคิดขางตนจะเห็นไดวา การยืมคํานั้นเกิดขึ้นภายใตสภาวะของการสัมผัส ภาษา และการสัมผัสภาษา ซึ่งเกิดจากความตอเนื่องทางภูมิศาสตรหรือความใกลชิดของกลุมชนใน สังคมที่พูดภาษาตางกันและเริ่มตนในผูพูดทวิภาษา(Bilingual)หรือพหุภาษา (Multilingual) 2.6 ประเภทของคํายืม ฮิวเกน (Haugen, 1956 Quoted in Carmel Heah Lee Hsia, 1989 : 23-24) กลาววา คํายืมจะเปนชนิดใดก็ตามสามารถอธิบายไดในลักษณะของการปรับเปลี่ยนและการทดแทน ลักษณะเดิม คํายืมทุ กคําจะตกอยูในสองลักษณะ คือ ยังคงรู ปภาษาเดิม ทั้งเสียงและความหมาย (Complete Importation) และเกิดการเปลี่ยนแปลงและการทดแทนขึ้น (Complete Substitution) ซึ่งสามารถแบงออกเปน 3 ประเภทดังนี้ 2.6.1 คํายืมทับศัพท (Loanwords) คํายืมทับศัพท คือ คํายืมที่ยืมทั้งเสียงและความหมายพรอมกับมีการปรับเปลี่ยน ลักษณะทางเสียงของคํายืมใหเหมือนหรือคลายคลึงกับการออกเสียงคําทั่ว ๆ ไปในภาษา หรือไมมี การปรับเปลี่ยนลักษณะทางเสียงของคํายืมก็ได ซึ่งคํายืมสวนใหญจะเปนคํายืมลักษณะนี้ ดังพบไดใน ภาษามลายูซึ่งยืมคําจากภาษาอาหรับ เชน กุโบร อากา อาเรอนะ ดูนียอ เปนตน 2.6.2 คํายืมปน (Loanblends) คํายืมปน คือ คํายืมที่ยืมเขามาแลวใชผสมกับคําที่มีอยูในภาษาของผูรับ ดังพบไดใน ภาษามลายูซึ่งยืมคําจากภาษาอาหรับ เชน โตะอิแม โตะปาเก ตีแย มือนาฆอ กาเอ็งมาแน เปนตน ซึ่ง คําวา “โตะ” เปนคําภาษามลายูถิ่นปตตานี หมายถึง “ผูอาวุโส” สวนคําวา “อิแม” เปนคําภาษา


43

อาหรับ หมายถึง “ผูนําในการทําละหมาด” เมื่อคนมลายูปตตานียืมคํานี้มาใชก็ไดประกอบเขากับคํา วา “โตะ” เพื่อแสดงฐานะของผูนําละหมาดที่สูงสงกวาคนปกติทั่วไป 2.6.3 คํายืมแปล (Loanshifts) คํายืมแปล คือ คํายืมที่มีการยืมความหมายของคําในภาษาผูใหมาแปลและสรางคํา ใหมขึ้นในภาษาผูรับ ดังเชนคําวา มะฮ จือปุ ซึ่งคนมลายูปตตานีใชเรียกขนมทองหยอด เปนคํายืม จากภาษาไทย เปนตน 2.7 ปจจัยที่กอใหเกิดการยืมคํา คารเมล เฮียะ ลี เซียะ (Carmel Heah Lee Hsia, 1989 : 14-16) ไดแบงปจจัยที่ กอใหเกิดการยืมคําออกเปนปจจัยภายในและปจจัยภายนอกดังรายละเอียดตอไปนี้ 1. ปจจัยทางโครงสรางของตัวภาษา (Structural Factors) เปนปจจัยที่เกิดจากตัว ภาษาเอง ซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้ 1.1 ความลงรอยกันระหวางสองภาษา (Structural Congruence) เปนความคลายคลึงกันและความลงรอยกันดานโครงสรางของภาษาสองภาษาที่เกิด การสัมผัสภาษา 1.2 ระดับความเปนอิสระของหนวยคํา (Degree of Boundness or Independence of Linguistic Item) ซึ่งหนวยคําอิสระจะเกิดการยืมมากกวาหนวยคําไมอิสระและคําเนื้อหา เชน คํานาม คํากริยา คําคุณศัพท จะถูกยืมมากกวาคําไวยากรณ เชน คําบุพบท คําสันธาน เปนตน 1.3 ความถี่ในการปรากฏของคํา (Word Frequency) คําศัพทที่มีความถี่ในการปรากฏสูงและมีการใชบอย จะมีการยืมไดงายกวา คําศัพทที่มีความถี่ในการปรากฏต่ํา ไมวาคําศัพทนั้นๆ จะเปนคําศัพทในภาษาของผูพูดเองหรือเปน คําที่ถูกยืมเขามา สวนคําศัพทที่มีการใชนอยมักจะถูกลืมและถูกแทนที่ดวยคําใหม ทั้งจากภาษาตาง ถิ่นในภาษาเดียวกันหรือจากภาษาอื่นที่ยืม 1.4 การพองรูปของคํา (Homonymy) ปรากฏการณพองรูปของคําเปนปจจัยหนึ่งที่กอใหเกิดการยืมคําในภาษา ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดการพองรูปของคําศัพทนั้นเอง ตัวอยางเชน ชาวพื้นเมืองเผา Vosges


44

patois

ในประเทศฝรั่งเศสยืมคําวา voiture และ viande จากภาษาฝรั่งเศสเพื่อหลีกเลี่ยงการใชคํา พองเสียง carrum “เกวียน” และ carnem “เนื้อ” ในภาษาของตน 1.5 การเลิกใชคําศัพท (Word Obsolescence) คําศัพทที่เปนคําโบราณมักจะถูกเลี่ยงและไมนิยมใช และมักจะถูกแทนที่ดวย คําศัพทใหม ๆ ซึ่งก็เปนอีกปจจัยหนึ่งที่ทําใหเกิดการยืมคํา 1.6 ความไมพอเพียงของการแยกใหเห็นความแตกตางทางความหมายในภาษา (Insufficiency of Semantic Differentiation) ปรากฏการณ นี้ มั ก เกิ ด กั บ ผู พู ด ทวิ ภ าษา( Bilingual)หรื อ ผู พู ด พหุ ภ าษา (Multilingual) ผูที่พูดไดสองภาษาหรือหลายภาษาเปนอยางดีบางครั้งจะรูสึกวาความหมายบางอยาง ไมอาจสื่อไดดวยภาษาของตน จึงหันมาใชคํายืมหรือคําในอีกภาษาหนึ่งที่ผูพูดรูสึกวาสามารถสื่อ ความหมายไดดีกวา (Weinreich, 1953 : 59) 2. ปจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม (Socio-Cultural Factors) เปนปจจัยที่ นอกเหนือจากปจจัยของตัวภาษาเอง ซึ่งก็คือปจจัยทางดานสังคมและวัฒนธรรม ไดแก 2.1 สถานภาพของทั้งสองภาษาที่เกิดการสัมผัสกัน (The relative status of the two languages) นั้ น ก็ คื อ ศั ก ดิ์ ศ รี ข องทั้ ง สองภาษาที่ เ กิ ด การสั ม ผั ส กั น ซึ่ ง ประเด็ น นี้ นักภาษาศาสตรสวนใหญมี ความเห็น สอดคล อ งกั นว า ทิ ศทางของการยืมนั้นจะเกิ ดจากภาษาที่ มี ศักดิ์ศรีเหนือกวาไปยังภาษาที่มีศักดิ์ศรีดอยกวา อยางเชนในการศึกษาของบอลล (Ball) ระบุวา ใน อดีตนั้นภาษาอาหรับเคยเปนภาษาที่มีศักดิ์ศรีเหนือกวาภาษาสวาฮิลี ทําใหในภาษาสวาฮิลีมีคํายืม ภาษาอาหรับเปนจํานวนมาก แตในปจจุบันศักดิ์ศรีของภาษาอาหรับถูกแทนที่ดวยภาษาอังกฤษ ทําให ภาษาอาหรับเปนแหลงที่มาของคํายืมในภาษานี้เปนอันดับที่สองรองจากภาษาอังกฤษ (อัสสมิง กาเซ็ง , 2544 : 12) 2.2 การบัญญัติศัพทขึ้นใชที่ยังไมเพียงพอตอการใช (Designative Adequacy or Inadequacy of a Vocabulary) ในกรณีนี้ เวนรีช (Weinreich, 1953 : 56-57) ไดอธิบายวา ความตองการ ในการเรียกสิ่งใหม ๆ ไมวาจะเปนสิ่งประดิษฐ เทคนิค การคนพบ และมโนทัศนใหม ๆ เปนปจจัย หนึ่งที่ทําใหตองบัญญัติศัพทขึ้นมาใช และเปนปจจัยที่ทําใหเกิดการยืมคําเชนเดียวกัน 2.3 สภาพแวดลอมทางดานประวัติศาสตรของการสัมผัสภาษา (Historical Circumstances of Contact)

นั่นก็คือ ปจจัยทางการเมือง เชน สงคราม การลาอาณานิคม และการอพยพ ทําใหภาษาหนึ่งมีอํานาจเหนืออีกภาษาหนึ่ง และทําใหเกิดการยืมไดเชนเดียวกัน


45

2.4 ทัศนคติตอการยืมภาษา (Attitudes towards Borrowing) ทัศนคติที่มีตอภาษานับวาเปนอีกปจจัยหนึ่งที่ทําใหเกิด หรือไมทําใหเกิดการ ยืมคํา กลาวคือ ในกรณีแรกหากผูพูดมีความรูสึกหยิ่ง และภูมิใจในภาษาของตนก็จะไมทําใหเกิดการ ยืมคํา เนื่องจากมีความรูสึกไมยอมรับภาษาอื่น กรณีที่สอง หากผูพูดมีความรูสึกวาภาษาอื่นนาจะ ดี ก ว า สํ า หรั บ แทนความหมายบางความหมาย หรื อ เพื่ อ แสดงความรู ค วามสามารถในการใช ภาษาตางประเทศของตน ก็จะทําใหมีการยืมคําจากภาษาตางประเทศมาใช 2.5 ความไมลงรอยกันในทางวัฒนธรรม (Cultural Incompatibility) เมื่อเกิดการสัมผัสของวัฒนธรรมสองวัฒนธรรม ทําใหวัฒนธรรมหนึ่งเกิด การแพรกระจายไปสูอีกวัฒนธรรมหนึ่ง และมีการยืมเกิดขึ้น ซึ่งมีทั้งสิ่งที่เปนวัตถุและนามธรรมแตถึง กระนั้นก็ไมใชทั้งหมด ซึ่งอาจมีการยืมบางสิ่งและปฏิเสธบางสิ่ง โดยซอนกลิ่น และกิ่งแกว, (อางถึงใน สมทรง บุรุษพัฒน, 2543 : 5-6 ) กลาววา ชนชาติที่มีวัฒนธรรมสูงกวายอมถายทอดวัฒนธรรมของ ตนใหแกชาติที่มีวัฒนธรรมดอยกวา ทําใหเกิดการผสมทางวัฒนธรรม และกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ภาษา เชน ภาษาบาลีและสันสกฤต เขามาในภาษาไทยทางศาสนาและวรรณคดี ภาษาชวาเขามาทาง วรรณคดี ยิ่งบานเมืองมีความเจริญกาวหนา การติดตอกันระหวางประเทศตางๆ ก็มีมากขึ้นและ สะดวกขึ้น ทําใหมีการรับเอาความกาวหนา เทคโนโลยีของประเทศอื่นเขามา และมีความจําเปนตอง สรางคําใหมขึ้นใชในภาษา มีการยืมคําในภาษาตางประเทศมาใชมากขึ้น สวนสุทธิวงศ พงศไพบูลย (2516 : 14-79, อางถึงใน ปรานี กายอรุณสุทธ, 2526 : 17-18) ไดกลาวถึงปจจัยที่กอใหเกิดการยืมซึ่งสรุปไดดังนี้คือ 1. ทางดานเชื้ อชาติ สั ญ ชาติห รือจากการแตงงาน การสมาคมติดต อและการได เกื้อกูล อุปการะกัน 2. ทางดานภูมิศาสตร คือ มีดินแดนใกลชิดกัน ซึ่งปจจุบัน การคมนาคม การสื่อสาร และสื่อมวลชนที่เจริญกาวหนา ทําใหคนในดินแดนที่อยูหางเหินกันมีโอกาสมาเกี่ยวของสัมพันธกันได โดยสะดวก 3. ทางดานธุรกิจการคา การคาระหวางชนตางชาติ ตองพูดจาตกลงกัน การโฆษณา สินคาตองใชภาษาเปนสําคัญ จึงเกิดการยืมคํากันขึ้นทั้งที่จงใจและไมรูตัว 4. ทางดานศาสนา การรับเอาศาสนาเขามาในประเทศ ยอมตองรับเอาภาษาที่ใชใน การสอนเขามาไวในภาษาดวยไมมากก็นอย เพราะผูที่ทําหนาที่เผยแผศาสนาจําเปนตองใชภาษาเปน สื่อในการสอนศาสนา 5. ทางดานเทคโนโลยีสมัยใหมทางการศึกษา วิทยาการและเครื่องมือ เครื่องใช กรณีนี้ภาษาผูใชมักจะตองเปนชนชาติที่เจริญกวาภาษาผูรับ ตัวอยางเชน การศึกษาในชั้นสูง มักจะใช


46

ตําราภาษาอังกฤษ มีการเรียนวิชาการวิชาการปกครองของอังกฤษและฝรั่งเศส วิชาการแพทย และ เครื่องกลของเยอรมัน วิชาการเกษตรของนิวซีแลนด เปนตน ดังนั้นจะเห็นวา ปจจัยที่กอใหเกิดการยืมนั้นประกอบดวยหลายปจจัย ทั้งปจจัยทาง โครงสรางของภาษาซึ่งก็คือปจจัยที่มาจากตัวภาษาเอง และปจจัยทางดานสังคม วัฒนธรรม แตปจจัย ที่ถือวาเปนปจจัยหลักที่กอใหเกิดการยืมคําก็คือ การบัญญัติศัพทที่มีไมเพียงพอตอการใช ทั้งนี้ก็ เนื่องมาจากความตองการเรียกสิ่งใหมๆ ไมวาจะเปนสิ่งประดิษฐ การคนพบ และมโนทัศนใหมๆ จึง จําเปนตองมีการยืมคําจากภาษาอื่นมาใช 2.8 แนวคิดเกี่ยวกับการแตงกาย เครื่องแตงกายเปนสิ่งที่มนุษยนํามาใชเปนเครื่องหอหุมรางกาย ในอดีตมนุษยไดแตง กายโดยใชเครื่องหอหุมรางกายจากสิ่งที่ไดมาจากธรรมชาติ เชนใบไม ใบหญา หนังสัตว ขนนก ดิน สี ฯลฯ มนุษยบางเผาพันธุ รูจักการใชสีจากพืชนํามาเขียนหรือสัก เพื่อเปนเครื่องตกแตงแทนการหอหุม รางกาย ตอมามนุษยเรียนรูวิธีที่จะดัดแปลงการใชเครื่องหอหุมรางกายจากธรรมชาติใหเหมาะสม และสะดวกตอการแตงกายตามลําดับ เชน ผูก มัด สาน ถัก ทอ อัด ฯลฯ มาจนถึงรูจักการใชวิธีตัด และเย็บ จนกลายเปนเทคโนโลยีในที่สุด ในทางกายภาพมนุ ษ ย เ ป น สิ่ ง ถู ก สร า งที่ อ อ นแอที่ สุ ด เพราะมี ภู มิ ต า นทานทาง ธรรมชาตินอยกวาสัตวอื่น ๆ และผิวหนังของมนุษยก็บอบบาง จึงจําเปนตองมีสิ่งปกปดรางกายเพื่อ ดํ ารงชี วิต อยู ได จ ากความจํ าเปน อั นนี้ เ ป น แรงกระตุ นที่ สําคั ญ ในอั นที่ จ ะแต งกายเพื่ อ สนองความ ตองการของสังคม และอื่น ๆ ประกอบกัน จึงทําใหเครื่องแตงกายมีรูปแบบแตกตางกันออกไปตาม ปจจัย และสิ่งแวดลอม ดังนี้ 2.8.1 สภาพภูมิอากาศ ภูมิประเทศและดินฟาอากาศที่แตกตางกัน การใชเสื้อผาเครื่องแตงกายแตกตางกัน ไปดวย ผูคนที่อาศัยอยูในเขตที่มีอากาศหนาวก็จําเปนตองใชผาหนาหรือเสื้อผาหลาย ๆ ชิ้น ผูที่อยูใน เขตที่มีอากาศรอนก็ใชเสื้อผาบางและนอยชิ้น เปนผลใหมีลักษณะของเครื่องแตงกายของแตละถิ่นมี รูปแบบที่แตกตางกันไป ทั้งในเรื่องของสีสันและลักษณะของใยผาวัสดุที่นํามาทอ อาทิ ชาวอียิปตรูจัก นําปาน ลินินมาทอเปนผาเพื่อใชเปนเครื่องนุงหม สวนชาวบาบิโลเนียและซีเรียมีการเลี้ยงสัตว จึงนํา


47

ขนสัตวเหลานั้นมาทอเปนผาขนสัตวสีตาง ๆ และผูคนที่อาศัยอยูในเขตอบอุนก็ใสผาโปรง บาง มีสีสัน สวยงามเปนตน (สวาท เสนาณรงค, ม.ม.ป. : 144) ชนเผาทัวเร็ก (Tuareg) ซึ่งมักเรียกวาพวกบลูเมน (Blue men) จะสวมเชือกเปน เครื่องแตงกาย เชือกนี้ยอมดวยสีน้ําเงิน สีก็มักจะตกติดเนื้อตัวดวย เพราะมักจะยอมสีเขม เพื่อชวย ปองกันความรอนจากดวงอาทิตย สวนในแอฟริกาเสื้อผาไมจําเปนในการปองกันสภาพอากาศ เขา กลับใชพวกเครื่องประดับตาง ๆ ที่ทําจากหิน แกวสีตาง ๆ ที่มีอยูในธรรมชาติมาตกแตง เพื่อปองกัน และยังถือวาเปนเครื่องรางปองกันผีรายอีกดวย ในบางกรณีมนุษยบางพวก เชน คนปาที่อยูในแถบตอนกลางของทวีปออสเตรเลีย ซึ่งสภาพภูมิอากาศ 17-125 องศา และในบางครั้งอาจต่ํากวา 0 องศา พวกเขาก็สามารถมีชีวิตอยูได โดยอาศั ย ความสามารถของร า งกายที่ ป รั บ ตั ว ให เ ข า กั บ อุ ณ หภู มิ ข องสภาพแวดล อ ม และอาศั ย ธรรมชาติจากเงาของภูเ ขาใหญปองกันแสงอาทิตย และใชคบเพลิงปองกันความหนาว สวนพวก อินเดียนในอเมริกาใตรูจักใชหนังสัตวปองกันในหนาหนาว แตพอหิมะละลายพวกชนเผานี้ก็จะไมสวม อะไรเลย ชารลส ดารวิน นักธรรมชาติวิทยา จึงแนะนําใหผาสีแดงแกพวกเขา แตก็ไมสามารถจะใชได เปน จึงเพียงแตฉีกเปนแถบ นําไปพันคอ สะโพก และขอเทา 2.8.2 ศัตรูทางธรรมชาติ ประเทศในแถบรอน มักจะไดรับผลกระทบจากพวกสัตว และแมลงตาง ๆ ผูคนใน แถบนี้จึงหาวิธีปองกันโดยพอกรางกายไวดวยโคลน กระโปรงทําดวยหญา เชน พวกฮาไวเอียน ที่อยู แถวทะเลแปซิฟค และพวกโมชันนิก เผาโซบี ซึ่งปจจุบันยังคงนุงกันอยู แมวากระโปรงหญาที่พวกเขา คิดวาจะปองกันแมลงจะกลับกลายเปนที่เก็บแมลงมากกวา หรือในกรณีของอุนุ หรือ ไอนุ ซึ่งเปนชาว พื้นเมืองของญี่ปุน รูจักใชกางเกงขายาวเพื่อปองกันสัตวและแมลงตาง ๆ เปนตน 2.8.3 หนาที่การงาน ในอดีตมนุษยใชหนังสัตว และใบไมเพื่อปองกันอันตรายจากการถูกหนามเกี่ยว และ แมลงสัตวกัดตอยในเวลาที่เขาปาเพื่อหาอาหาร ตอมาเมื่อสังคมเจริญขึ้นมนุษยก็สามารถนําใยจากตน แฟลกซมาทอเปนผืนผาที่รูจักกันดีในนามของผาลินิน เมื่อความเจริญทางดานวิทยาการมากขึ้น ผาที่ ผลิตก็มีเพิ่มขึ้นมากมายหลายชนิด และมีการประดิษฐเสื้อผาชนิดพิเศษซึ่งตรงกับความตองการของผู


48

สวมใส โดยเฉพาะคนงานประเภทตาง ๆ เชน คนงานเหมืองแร เกษตรกร คนงานอุตสาหกรรม ทหาร ตํารวจ พนักงานดับเพลิง ฯลฯ จากอันตรายตาง ๆ ที่เกิดขึ้นขณะปฏิบัติงานนี้เอง ทําใหความตองการของมนุษยใน ดานเสื้อผาเพิ่มขึ้น จนปจจุบันเสื้อผาที่ผลิตขึ้นมานั้น ไดมีการปรับปรุงตกแตงเปนพิเศษ ในแตละ อาชีพการงาน เชน การตกแตงใหทนตอสารเคมีตาง ๆ ทนตอพิษ อุณหภูมิ นอกจากนี้ก็ยังมีการ ตกแตงอื่น ๆ อีกเชน ทนตอการซัก ไมเปนสื่อไฟฟา ไมดูดซึมน้ํา และทนตอความรอน อยางเชน เทคโนโลยีนาโนที่ใชในปจจุบัน 2.8.4 วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณี การที่มนุษยอยูรวมกันเปนกลุมชน จําเปนตองมีระเบียบ และกฎเกณฑเพื่อที่จะอยู ดวยกันไดอยางสงบสุข การปฏิบัติสืบตอกันมานี้เองจึงไดกลายเปนขนบธรรมเนียมประเพณี และ วัฒนธรรมในที่สุด ในสมัยโบราณ มนุษยตองการฉลองประเพณีสําคัญ เชน การเกิด เริ่มโต การตาย การเก็บเกี่ยว หรื อเริ่มเขาสังคมกับกลุมอื่ น ๆ ซึ่ง ในการงานนี้พ วกเขาก็ จะแต งตัวประดับประดา รางกายดวยเครื่องประดับตาง ๆ เชน ขนนก หนังสัตว และการทาสีตามรางกาย การสัก เจาะ บางครั้ง ก็ทําลวดลายสวนตาง ๆ ของรางกาย เพื่อแสดงยศหรือตําแหนง ปจจุบันก็ยังคงมีอยูในกลุมชนเผา พื้นเมืองตามพื้นที่ตาง ๆ นอกจากนี้ปจจุบันเรายังไดนําเอาความคิดเหลานี้มาประยุกตใหเขากับโลก ปจจุบัน โดยผลิตเปนเครื่องสําอางชนิดตาง ๆ ดังที่นิยมใชกันอยูทุกวันนี้ เชน ลิปสติก อายแชโดว เปนตน การสักเปนการทําใหเกิดรอยบนรางกายซึ่งจะอยูไดนาน และในปจจุบันก็ยังคงเปน แฟชั่นของการแตงกายอยางหนึ่ง สําหรับการสักตามธรรมเนียมของหญิงสาว “เผามาดอนด” จะตอง สรางลวดลายขึ้นบนแผนหลัง ดวยวิธีใหผูชํานาญในการกรีดผิวหนังใหเกิดเปนรอง แลวอัดดวยดินผง ใหนูนขึ้นมา ทําใหเกิดเปนลวดลายเหมือนผืนผาที่ปกดวยเสนไหม ถือกันวาหญิงสาวที่มีลวดลายเชนนี้ เปนคนสวย และเปนที่พึงปรารถนาของหนุมที่จะไดไวเปนภรรยา หญิงใดที่ไรลวดลายจะถูกกลาวหา วาขี้เหรที่สุด และหมดโอกาสที่มีคูครองตลอดชีวิต การสักใบหนาใหมีลวดลายแปลก ๆ เปนประเพณีอยางหนึ่งของสาว ๆ เผามาดอนด เริ่ ม จากการสั ก เพื่ อ ให ดู น า เกลี ย ด ป อ งกั น ไม ใ ห พ วกค า ทาสที่ ก ลั ด มั น สนใจจั บ ตั ว ไปข ม ขื น จึ ง กลายเปนประเพณีที่เห็นวาสวยงามสําหรับชายเผาเดียวกัน ในภายหลังเพิ่มการเจาะริมฝปากบนและ ติ่งหูใสเครื่องประดับขึ้นอีกดวย


49

ดวยเหตุที่การแตงกายของมนุษยเราผิดแผกกันออกไปแลวแตสภาพของสิ่งแวดลอม และความจําเปนนี้เอง จึงกลายเปนขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมในการแตงกายของแตละ ชนชาติในที่สุด 2.8.5 ศาสนาและความเชื่อ ศาสนาและความเชื่อมีบทบาทสําคัญในการแตงกายเชนกัน จะเห็นไดจากรูปแบบ ของการแตงกายของสตรีมุสลิมที่มี การปกปดรางกายมิดชิ ด ซึ่ งเปน ผลมาจากคําสอนของศาสนา อิสลามที่บัญญั ติใหสตรี ตองสวมเสื้ อผ าปกป ดร างกายใหมิ ดชิด เว นไวแ ตเ พียงใบหนาและฝามื อ นอกจากนี้เสื้อผาที่สวมก็จะตองไมรัดรูปจนเห็นทรวดทรง หรือในกรณีของสตรีชาวฮินดูซึ่งเมื่อนาง เปนหมายก็จะตองไมเติมจุดบนหนาผาก และไมสวมเสื้อผาสีสันฉูดฉาด มิฉะนั้นนางจะถูกดาทอจาก สมาชิกในสังคม นอกจากนี้วัฒนธรรมการนุงผาใตสะดือของสตรีชาวอินเดียสามารถถายทอดความ เชื่อที่วา “สตรีใดตะโพกกวาง มีเนื้อมากและแผนลิ้นยาว สะดือลึกและกวาง มีรอยสะดือเวียนขวา สตรี ใดมีลักษณะอยางนี้ สตรีนั้นมีความสุข” ไดเปนอยางดี (ส.พลายนอย, 2534 : 182) 2.8.6 ความดึงดูดใจในเพศตรงกันขาม ความดึงดูดใจในเพศตรงขามเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหมนุษยมีความตองการแตงตัว แตกตางกัน เชน เมื่อเริ่มเติบโตเขาวัยหนุมสาว มีความสมบูรณทางเพศ เปนธรรมชาติที่ตองทําตัวเอง ใหเปนที่ดึงดูดใจแกเพศตรงขามการแตงกายดีขึ้น รูจักรักสวยรักงาม มีการจับจายในเรื่องเสื้อผามาก ขึ้น ผูสนองความตองการเหลานี้ไดก็คือ นักออกแบบเสื้อผาที่มีชื่อเสียงตาง ๆ เกิดขึ้น ไดพยายาม ออกแบบเสื้อผาเครื่องแตงกายใหเหมาะกับลักษณะที่แตกตางกันออกไปตามระดับของสังคม 2.8.7 ฐานะทางเศรษฐกิจ ฐานะทางเศรษฐกิจของแตละบุคคลเปนอีกปจจัยในการกําหนดรูปแบบของการแตง กาย ดังจะเห็นไดจากสังคมทั่วไปที่ผูมีฐานะดีมักใชเสื้อผา เครื่องแตงกายที่ดีมีคุณภาพ และยี่หอดัง ซึ่งเสื้อผาประเภทนี้มักมีราคาสูง นอกจากเสื้อผาแลวเครื่องประดับตาง ๆ อาทิ เครื่องเพชร นาฬิกา สรอย แหวน เปนตน ก็เปนที่นิยมในคนกลุมนี้เฉกเชนเดียวกัน โดยมักสวมใสควบคูกับเสื้อผาที่


50

สวยงามและทันสมัย ซึ่งการแตงกายยังสามารถบงบอกชนชั้นของผูสวมใสไดอีกดวย เชน ชนชั้น เจานาย ชนชั้นผูใหญ ชาวบาน และชนชั้นกรรมกร เปนตน โดยรูปแบบของการแตงกายจะบงชัดวาผู แตงอยูในฐานะระดับอยางไร และยังบงถึงสภาพสังคมของคนเหลานี้อีกดวย


บทที่ 3 ภูมิหลังชนชาติอาหรับและพื้นที่วิจัย 3.1 สังเขปประวัติศาสตรชนชาติอาหรับ คํ า ว า อาหรั บ ในด า นภาษาศาสตร ห มายถึ ง “ทะเลทราย” และดิ น แดนที่ แ ห ง แล ง ปราศจากน้ําและพืชพันธุ คําวา “อาหรับ” เปนคําที่ใชเรียกคาบสมุทรอาหรับและผูคนที่อาศัยอยู ณ ดินแดนแหงนี้มาตั้งแตอดีตกาล (Hasan ’Ibrāhīm Hasan, 1964 : 1/1) ซึ่งเกี่ยวกับที่มาและ ความหมายของคําวา “อาหรับ” นักวิชาการหลายทานไดแสดงความเห็นที่แตกตางและสอดคลองกัน ดังนี้ อัลสัยยิด อับดุลอะซีซ สาเล็ม (al-Siayid Abd al-‘Azīz Sālim, n.d. : 43-44) ได กลาวถึงวิวัฒนาการดานความหมายของอาหรับ วา “คําวาอาหรับเริ่มมีปรากฏตั้งแตศตวรรษที่ 8 กอน คริสตกาลในรูปแบบตางๆ เชน Aribi, Urbi, Arbi ซึ่งหมายถึง พื้นที่ชนบท ที่ตั้งอยูทางทิศตะวันตก ของประเทศอิ รั ก หลั งจากนั้น ในป 530 ก อ นคริ ส ต ศัก ราชคํ า ๆ นี้ ห มายถึ ง พื้ น ที่ช นบทที่ ตั้ ง อยู ระหว า งประเทศอิ รั ก กั บ ซี เ รี ย และรวมไปถึ ง แหลมซี น าย ต อ มาในช ว งปลายศตวรรษที่ 5 ก อ น คริสตศักราช เฮโรโดตัส (Herodotus) ไดใชคําวาอาหรับในความหมายของประชาชนที่อาศัยอยูใน คาบสมุทรอาหรับทั้งหมด รวมถึงทะเลทรายทางตะวันออกของอียิปตซึ่งอยูระหวางแมน้ําไนลกับทะเล แดง แตในขณะเดียวกันชาวอาหรับเองก็ไมไดเรียกตัวเองวา “อาหรับ” โดยชาวอาหรับที่อาศัยอยูใน คาบสมุทรอาหรับจะเรียกตัวเองตามชื่อของเผา หรือสถานที่ซึ่งตัวเองอาศัยอยู อาทิเชน ชาวกุรอยช ชาวคอซร็อจ หรือชาวมักกะฮฺ ชาวมะดีนะฮฺ เปนตน โนลเดก (Noledeke) ไดใหความเห็นเกี่ยวกับความหมายของอาหรับ วา “คําวา อาหรับ หมายถึงทะเลทราย สวนคําวาอารเบีย หมายถึงดินแดนที่เปนทะเลทรายซึ่งตั้งอยูในประเทศ ซีเรีย คาบสมุทรอาหรับ และแหลมซีนาย” (Hasan ’Ibrāhīm Hasan, 1964 : 1/1) ฟลิป เค ฮิตติ (Philip K. Hitti, 1970 : 6) กลาววา “อาหรับ หมายถึงผูที่พูดภาษา อาหรับทั้งมวล และผูที่อาศัยอยูในคาบสมุทรอาหรับ” สวนแอลาสเดียร ดรายสเดล (Alasdair Drysdale) อางถึงใน จรัญ มะลูลีม (2541: 56) กลาววา “คําวาอาหรับนั้น ชาวอาหรับเองใชเรียกเฉพาะชาวเผาที่อาศัยอยูในคาบสมุทรอาหรับมา ตั้งแตแรก หรือผูที่มีความสัมพันธกับคนเผานั้นเทานั้น สําหรับผูที่ใชภาษาอาหรับนั้นไมจําเปนตอง

51


52

เปนชาวอาหรับเสมอไป แตทุกวันนี้คําวา “อาหรับ” กลับรวมเอาทุกคนที่พูดภาษาอาหรับ เปนผลให รวมเอาผูที่มีลักษณะรูปรางหนาตา และวัฒนธรรมในบางดานแตกตางไปจากชาวอาหรับดั้งเดิมใน คาบสมุทรอาหรับเปนอยางมากเขาไปดวย” เอช เอ อาร กิบบ (H. A. R. Gibb) ไดใหคํานิยามคําวาอาหรับที่รัดกุมมากกวา โดย ทานกลาววา "ชาวอาหรับคือบรรดาผูซึ่งเจริญรอยตามมุฮัมมัด และเปนผูที่เคยมีประวัติศาสตรแหง จักรวรรดิอันรุงโรจน นอกจากนี้พวกเขาทั้งหลายยังอนุรักษภาษาอาหรับ มรดกแหงวัฒนธรรมในฐานะ ที่เปนเจาของรวมกัน" ซึ่งเบอรนารด เลวิส (Bernard Lewis) ไดอธิบายเพิ่มเติมจากการสํารวจ วิวัฒนาการของคําวาอาหรับในมุมมองทางประวัติศาสตรและนิรุกติศาสตร ทานไดปรารภวา "ความ ภาคภูมิใจของชาวอาหรับทั้งหลายในความเปนอาหรับ และจิตสํานึกแหงสัมพันธภาพที่พันธนาการ พวกเขาทั้งหลายไวดวยกันทั้งในอดีตและปจจุบันนั้นมีความเขมขนอยางยิ่ง" และทานยังไดตั้ง ขอสังเกตจากการรวมตัวกันของบรรดาผูนําอาหรับเมื่อไมนานมานี้ ไดบงชี้ถึงความเปนอาหรับในมิติ ใหมดังนี้ "ผูใดก็ตามที่อาศัยอยูในแผนดินของเรา พูดภาษาของเรา เติบโตขึ้นในบรรยากาศแหง วัฒนธรรมของเรา และมีความภาคภูมิตอกิตติศักดิ์อันเกรียงไกรของเรา ถือวาเขาเปนบุคคลหนึ่งจาก ในหมูพวกเรา" (Omar Farouk Bajunid, 1996 : 24) สวน ปเตอร แมนสฟลด (Peter Mansfield) ซึ่งไมตางจากเบอรนารด เลวิส (Bernard Lewis) ในแงผลงานที่เกี่ยวกับอาหรับ ทานไดพยายามในลักษณะเดียวกันที่จะประเมิน ความเปนมา วิวัฒนาการ และพัฒนาการของคําวาอาหรับ ทานยอมรับวา ทุกวันนี้ชาวอาหรับคนหนึ่ง นั้น อาจจะมีผิวดําสนิท หรือสีแทน และมีตาสีฟา ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากการผสมกันระหวางเผาพันธุ เตอรก คอเคเซียน นิโกร เคอรด สเปน และเบอรเบอร ประชาชนเหลานี้อาศัยอยูในพรมแดนอันกวาง ใหญไพศาลภายในระบบการเมืองที่หลากหลาย สําหรับ ริชารด วี วีกส (Richard Wee Weeks) แลว คําจํากัดความของทานเกี่ยวกับอาหรับนั้น มีลักษณะคลายคลึงกับนิยามที่กลาวมาแลว โดยทานไดให ทัศนะที่แสดงใหเห็นถึงความเปนอาหรับนั่นก็คือ ลักษณะรวมตาง ๆ ซึ่งทําใหความหมายแคบและ ชัดเจนยิ่งขึ้นวาคน ๆ นั้นเปนอาหรับหรือไม กลาวคือ คนผูนั้นจะตองรูสึกวาเขาเปนอาหรับ พูดภาษา อาหรับ ไมวาจะสําเนียงใดก็ตาม ยิ่งไปกวานั้นเขามีความผูกพันธกับมรดกแหงประชาชาติอาหรับ คุณคาและความใฝฝนทางวัฒนธรรมอันเลิศล้ําของชาวอาหรับ ไมวาเขาจะเปนชาวโมร็อกโกหรือซีเรีย เปนคริสเตียนหรือมุสลิม เปนชาวนาหรือนักธุรกิจ (Omar Farouk Bajunid, 1996 : 25) จากนิยามความหมายของคํ าวาอาหรับข างตนจะพบว าความหมายของอาหรับจะ จํากัดขอบเขตเฉพาะผูที่อาศัยอยูในคาบสมุทรอาหรับ และพื้นที่ทางตะวันออกของประเทศอียิปต เท า นั้ น ซึ่ ง อั น ที่ จ ริ ง ในป จ จุ บั น ชาวอาหรั บ มี อ ยู ก ระจั ด กระจายตามพื้ น ที่ ต า ง ๆ นอกเหนื อ จาก คาบสมุทรอาหรับ อาทิเชน แอฟริกาเหนือ และหมูเกาะโคโมโรสในมหาสมุทรอินเดีย เปนตน ซึ่งเปน


53

ผลมาจากการขยายดินแดนของราชวงศตาง ๆ ในอดีต ฉะนั้นในปจจุบันคําวาอาหรับ จึงหมายถึง ผูที่ ใชภาษาอาหรับเปนภาษาแม มีสํานึกในความเปนอาหรับ ไมวาจะอาศัยอยูที่ใดก็ตาม จากความหลากหลายของกลุมคนที่อาศัยอยูในภูมิภาคนี้ทําใหรูปรางลักษณะของคน กลุ ม นี้ แ ตกต า งกั น ไป แต รู ป ร า งและลั ก ษณะเด น ที่ ป รากฏอยู แ ละสามารถสั ง เกตได ซึ่ ง มาร เ ชล (Marcel) ไดแบงลักษณะของชาวอาหรับออกเปนสองกลุมดวยกัน คือ กลุมแรกจะมีรูปรางขนาดปาน กลาง กลามเนื้อกระชับ ขอเล็ก มีใบหนายาวเหลี่ยมตอนปลาย คางมีขนาดเล็กและยื่นออกเล็กนอย ปากเล็ก ฟนขาวและเรียบเสมอ ริมฝปากบาง จมูกเล็กโดง นัยนตาสีดํา ดวงตากวางสวยงาม คิ้วโกง บาง และศีรษะยาว สวนกลุมที่สองไดแกกลุมที่มีรูปรางสูงใหญ ใบหนากวาง กรามและคางใหญ ปาก จะกวางกวากลุมแรก ริมฝปากหนา จมูกโดงโต คิ้วตอกันและหนา ตาโตและมีสีดํา หนาผากแคบ (Gustave Le Bon, n.d. : 65)

โดยลักษณะแรกในขางตนจะพบไดในกลุมของชาวซีเรีย และชาวอียิปตทั้งในอดีต และปจจุบัน สวนลักษณะที่สองจะพบไดในกลุมของชาวอัสซีเรียน ชาวยิว ชาวอาหรับภาคใต และชาว อียิปตที่มีเชื้อสายแอฟริกา 3.1.1 ที่ตั้งทางภูมิศาสตร คาบสมุทรอาหรับตั้งอยูระหวางละติจูด 12 องศา 41 ลิปดา 35 ฟลิปดาเหนือ ถึง ละติ จู ด 32 องศา 22 ลิ ป ดา 07 ฟ ลิป ดาเหนื อ และลองจิจู ด 34 องศา 31 ลิ ป ดา 02 ฟ ลิ ป ดา ตะวันออก ถึงลองจิจูด 59 องศา 51 ลิปดา 37 ฟลิปดาตะวันออก อาณาเขตของคาบสมุทรอาหรับ ทางทิศตะวันตกติดกับทะเลแดงและแหลมซีนาย ทิศตะวันออกติดกับอาวเปอรเซียและพื้นที่ทางตอน ใตของประเทศอิรัก ทิศใตติดกับทะเลอาหรับซึ่งเปนทางออกสูมหาสมุทรอินเดีย สวนทางดานทิศ เหนือติดกับซีเรียและพื้นที่บางสวนของประเทศอิรัก โดยมีพื้นที่ทั้งหมด 1,000,000-1,300,000 ตารางไมล ซึ่งปจจุบันประกอบดวยประเทศตาง ๆ 9 ประเทศ ไดแก ซาอุดีอาระเบีย เยเมน โอมาน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส กาตาร บาหเรน คูเวต อิรัก และจอรแดน คาบสมุทรอาหรับตั้งอยูบนพื้นที่ที่มีความสําคัญและเหมาะสมเปนอยางยิ่งทั้งทางดาน ภูมิศาสตรและธรรมชาติแวดลอม กลาวคือ คาบสมุทรอาหรับถูกหอมลอมโดยทะเลทรายและภูเขาซึ่ง เปรียบเสมือนปอมปราการที่คอยปองกันการรุกรานของศัตรูจากภายนอก ทําใหเมื่อครั้งอดีตกาลชาว อาหรับใชชีวิตอยูอยางอิสระไมตกอยูภายใตอํานาจการปกครองของมหาอํานาจใด ทั้ง ๆ ที่มีดินแดน ติดกับจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ อีกดานหนึ่งคาบสมุทรอาหรับตั้งอยูบนรอยตอของทวีปตาง ๆ ซึ่งสามารถ ติ ด ต อ ได ทั้ ง ทางบกและทางน้ํ า ทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งเหนื อ เป น ประตู สู ท วี ป แอฟริ ก า ทิ ศ ตะวันออกเฉียงเหนือเปนประตูสูทวีปยุโรป สวนทิศตะวันออกก็เปนประตูสูเอเชียใต มุงสูประเทศ


54

อินเดีย จีน รวมถึงดินแดนในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต และจากการที่คาบสมุทรอาหรับมีพื้นที่ เกือบทุกดานติดกับทะเลจึงทําใหมีกองเรือจํานวนมาก ตางมุงสูทาเรืออาหรับ คาบสมุทรอาหรับจึง กลายเปนศูนยกลางของประชากรหลากหลายเชื้อชาติจนกอใหเกิดการผสมผสานระหวางเชื้อชาติอยาง หลีกเลี่ยงไมได ภาพที่ 2 แสดงที่ตั้งของคาบสมุทรอาหรับ

ที่มา: Muir, 1924 : 1


55

ภาพที่ 3 แสดงคาบสมุทรอาหรับซึ่งเปนที่ตั้งของประเทศตาง ๆ ในปจจุบัน

ที่มา: http://www.reisenett.no/map_collection/middle_east_and_asia/Arab_pennisula.GIF [5 February 2007]

สําหรับสภาพของคาบสมุทรอาหรับจะขึ้นอยูกับพื้นที่ในคาบสมุทรเองโดยพื้นที่สวน ใหญจะเปนทะเลทรายที่ปราศจากแหลงน้ํา สวนพื้นที่บริเวณชายขอบจะเปนพื้นที่อุดมสมบูรณ จาก


56

สภาพดังกลาวเปนผลทําใหผูคนที่อาศัยในพื้นที่นี้แบงออกเปน 2 กลุมคือ กลุมชาวเผาเรรอน กับ กลุมชาวเมือง ที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม คาขาย และหัตถกรรม นั ก วิ ช าการชาวกรี ก และโรมั น ได แ บ ง คาบสมุ ท รอาหรั บ ออกเป น 3 ส ว น (Hasan ’Ibrāhīm Hasan, 1964 : 1/4) ไดแก 1. เขตโขดเขา (Arabia Petraea) หรือ Arabia Petrix มีสภาพเปนเทือกเขา ที่ราบ สูง เปนพื้นที่ระหวางแควนฮิญาซกับทะเลสาบเดดซี ซึ่งเปนที่ตั้งนครเพทราเมืองหลวงของอาณาจักร นาบาเทียน รวมถึงพื้นที่บริเวณแหลมซีนาย 2. เขตอุดมสมบูรณ (Arabia Felix) เปนพื้นที่อุดมสมบูรณมีอาณาเขตตั้งแต ตอนกลางจนถึ งตอนใต ข องคาบสมุ ทรอาหรั บ รวมถึ ง ภู มิ ภ าคแถบทะเลแดง อ าวเปอร เ ซี ย และ มหาสมุ ทรอิน เดี ย คือรวมแคว น ฮิญ าซ ยะมามะฮฺ นั จด เยเมน หะเฎาะเราะเมาว ต โอมาน และ บาหเรนดวย (ดิเรก กุลสิริสวัสดิ์, 2521 : 7) 3. เขตทะเลทราย (Arabia Deserta) มีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่เปนทะเลทราย ทั้งหมด ซึ่งเปนที่อยูอาศัยของชาวชนบทและเนื่องจากเปนพื้นที่ ๆ ใหญ ยากูต (Yāqūt, 1955 : 245) จึงแบงเขตออกเปน 3 เขต คือ 3.1 เขตที่มีภูเขาสีดํา ซึ่งเกิดจากการกระทําของภูเขาไฟ ซึ่งเปนลักษณะทาง ภูมิศาสตรสวนใหญในคาบสมุทรอาหรับ โดยเริ่มจากเมืองเหารอนไปจนถึงมะดีนะฮฺ มีจํานวน 29 ลูก 3.2 เขตทะเลทราย อั ล อะฮฺ ก อฟ ทางตอนเหนือ ของเมื อ งสะมาวะฮฺ ไ ปจนถึ ง หะเฎาะเราะเมาวต ทางตอนใต และจากเยเมนถึงโอมาน รวมพื้นที่กวางกวา 50,000 ตารางไมล ในพื้นที่ดังกลาวนั้นมีลักษณะเปนภูเขาทราย ซึ่งพื้นที่ทางตอนใตจะเรียกวา รุบอุลคอลีย สวนทางทิศ ตะวันตกในเขต ดะฮฺนาอ เรียกวา อัลอะฮฺกอฟ 3.3 เขตทะเลทราย อัลนุฟูดทางตอนเหนือของคาบสมุทรอาหรับ มีพื้นที่เปน ภูเขาทรายละเอียดซึ่งยากลําบากตอการเดินทาง โดยภูเขาบางลูกอาจสูงถึง 150 เมตร รวมพื้นที่ ทั้งหมดของทะเลทรายอัลนุฟูด ยาว 450 กิโลเมตร กวาง 250 กิโลเมตร แมวาพื้นที่ของคาบสมุทรอาหรับสวนใหญเปนทะเลทรายดังที่ไดกลาวมาแลวขางตน แต ก็ ไ ม ไ ด ห มายความว า เป น ทะเลทรายที่ ป ราศจากน้ํ า หรื อ การเพาะปลู ก เพราะสิ่ ง ที่ ส ามารถ สังเกตเห็นก็คือจะมีพื้นที่ราบลุมสลับกับหุบเขาอยู ซึ่งเปนพื้นที่ ๆ เหมาะสําหรับการเกษตร เลี้ยงปศุ สัตว และการตั้งถิ่นฐาน นอกจากนี้ อัลฮะมะดานีย (al-Hamadānīy, 1953 : 47) ไดแบงคาบสมุทรอาหรับ โดยยึดตามลักษณะทางภูมิศาสตร ออกเปน 5 แควน คือ


57

1. ติฮามะฮฺ เปนพื้นที่กวางซึ่งทอดยาวไปตามชายฝงทะเลแดง โดยเริ่มจาก ยันบูอฺ ไปจนถึงนัจรอนในเยเมน สาเหตุ ที่ใชชื่อนี้เ นื่องมาจาก ดิ นแดนสวนนี้มีอากาศรอนจัดและไม มี กระแสลมพัดผาน โดยนํามาจากคําวา “al-Tahamu” ซึ่งหมายถึง “รอนจัดไมมีกระแสลม” หรือ บางทีก็เรียกวา “al-Ghawr” หมายถึง “ถ้ํา, ที่ลุม” เนื่องจากพื้นที่สวนนี้จะต่ํากวาพื้นที่ในแควนนัจด 2. อัลฮิญาซ เปนแควนที่ตั้งอยูทางทิศเหนือของเยเมนและทิศตะวันออกของติฮา มะฮฺ เปนดินแดนที่มีธารน้ําหลายสายและทิวเขาที่ทอดยาวจากซีเรียไปจนถึงแควนนัจรอนในเยเมน โดยกุสตาฟ เลอ บอง ไดเลาถึงลักษณะของแควนฮิญาซ วา “เปนแควนที่เต็มไปดวยภูเขาทราย ซึ่ง เปนที่ตั้งของเมืองสําคัญสองเมืองคือ มักกะฮฺและมะดีนะฮฺ” สาเหตุที่เรียกแควนนี้วาฮิญาซเนื่องจาก เปนแควนที่ขั้นกลางระหวางติฮามะฮฺกับนัจด (Hasan ’Ibrāhīm Hasan, 1964 : 1/4) 3. นัจด เปนแควนที่ตั้งอยูระหวางเยเมนตอนใตกับตอนเหนือของแถบทะเลทราย สะมาวะฮฺ แควนอุรูดและดินแดนบางสวนของอิรัก สาเหตุที่เรียกวานัจดเนื่องจากเขตดังกลาวนี้เปน พื้นที่ราบสูง โดยมีความสูงประมาณ 3,000-4,000 ฟุต 4. อั ล ยะมั น (เยเมน) เป น ดิ น แดนที่ ถั ด ไปจากแควน นั จ ด ตั้ ง อยู ท างทิ ศ ใต ข อง มหาสมุทรอินเดีย ทิศตะวันตกติดกับทะเลแดง ทิศตะวันออกติดกับหะเฎาะเราะเมาวต อัชชิหร และ โอมาน 5. อั ล อุ รู ด เป น ดิ น แดนกว า งมี อ าณาเขตครอบคลุ ม อั ล ยะมามะฮฺ โอมานและ บาหเรน สาเหตุที่ใชชื่อนี้เนื่องจากดินแดนดังกลาวเปนพื้นที่ที่ตั้งอยูระหวางเยเมน นัจดและอิรัก สวน โอมานและบาหเรนนั้นจะมีลักษณะที่แตกตางจากดินแดนสวนอื่น ๆ ของอาหรับ 2 ลักษณะคือ 5.1 ลั กษณะทางธรรมชาติ ในดิน แดนสวนนี้จะมีพื้นที่แหงแลง ที่มีความกวาง มากกวาดินแดนอื่นของอาหรับ 5.2 ลักษณะทางการเมือง ดินแดนสวนนี้ตกอยูภายใตการปกครองของเปอรเซีย หากจะแบงพื้นที่ราบของคาบสมุทรอาหรับโดยยึดตามความอุดมสมบูรณแลว พื้นที่ ทางทิศตะวันตกเฉียงใตของเยเมนนั้น ชาวโบราณไดขนานนามวา “พื้นที่สีเขียว” สวนทางตอนใตของ หะเฎาะเราะเมาวตเคยเปนดินแดนที่เต็มไปดวยกํายานซึ่งมีการใชกันอยางแพรหลายในสมัยโบราณ ทางทิ ศ ตะวั น ออกแถบอ า วเปอร เ ซี ย ก็ มี เ มื อ งอะฮฺ ซ าอ (อั ล ฮาซา ในป จ จุ บั น ) ที่ อุ ด มสมบู ร ณ อ ยู ดินแดนทั้งหมดเหลานี้ลวนแลวแตเปนดินแดนที่เหมาะสําหรับการเพาะปลูกเปนอยางยิ่ง จะมีก็สวน นอยที่ไมสามารถทําการเพาะปลูกได สวนพื้นที่ลาดทางทิศตะวันตกเปนดินแดนทุรกันดารอยางยิ่ง เต็มไปดวยภูเขาหิน และทราย แตเหมาะสําหรับการใชเปนทุงหญาเลี้ยงสัตว ในอดีตนั้นพื้นที่แถบนี้มีความอุดมสมบูรณ กวาปจจุบันมาก ดินแดนอาหรับตอนกลางนั้นจะเปนดินแดนที่ราบสูงซึ่งเปนที่ตั้งของแควนนัจด


58

ดินแดนแหงนี้เต็มไปดวยภูเขาสูงและธารน้ํายาวหลายสาย ซึ่งสามารถใชเปนสถานที่เลี้ยงมาอาหรับ พันธุดีได สวนแควนอัลยะมามะฮฺซึ่งตั้งอยูทางทิศตะวันออกเฉียงใตนั้น เปนแควนที่คอยหลอเลี้ยง ชีพของชาวอาหรับดวยการผลิตขาวสาลี ขาวฟางและพืชพันธุอื่น ๆ ซึ่งในความเปนจริงแลวเมื่อ คริสตศตวรรษที่ 6-7 ดินแดนทั้งสองนี้ไมไดมีความอุดมสมบูรณดอยไปกวาพื้นที่ของยุโรปในปจจุบัน นี้เลยบางทีมันอาจจะดีกวายุโรปดวยซ้ําไป ซึ่งเฮลล (Hell) ไดกลาวไววา “ความเชื่อที่วาดินแดน อาหรับนั้นเปนทะเลทรายที่แหงแลงปราศจากการเพาะปลูก และน้ําไดสูญสิ้นไป เมื่อเราไดพบวา ดินแดนอาหรับนั้นไมใชดินแดนที่เต็มไปดวยทะเลทรายที่แหงแลง หากแตเมื่อหลายพันปกอนเปน ดินแดนที่อุดมสมบูรณที่สุด มีการเพาะปลูก มีหมูบานและประชากรมากมาย” (Hasan ’Ibrāhīm Hasan, 1964 : 1/5)

ดินแดนสวนกลางของคาบสมุทรนั้นประกอบไปดวยพื้นที่ราบทะเลทรายที่แหงแลง ซึ่งตั้งอยูทางทิศใต สวนทางเหนือถึงแมจะเปนดินแดนที่เต็มไปดวยภูเขาหินแตก็ยังมีตาน้ําหลายสาย ที่ประชาชนในแถบนั้นสามารถนํามาใชประโยชนในการเพาะปลูกได ดินแดนแหงนี้มีหมูบานตั้งอยู มากมายเหมือนกับทะเลทรายในแถบแอฟริกา แมวาคาบสมุทรอาหรับจะเปนพื้นที่ที่เต็มไปดวยภูเขาที่ปกคลุมไปดวยหินที่เกิดจาก การกระทําของภูเขาไฟและทะเลทรายอันกวางใหญไพศาล แตกระนั้นก็ยังมีธารน้ําอยูตามหุบเขาใน บริเวณพื้นที่ที่อุดมสมบูรณจะมีชาวชนบทมาตั้งถิ่นฐานอยู โดยอาศัยความอุดมสมบูรณนี้ เลี้ยงชีพ และปศุสัตวของพวกเขา เพราะในพื้นที่ดังกลาวนี้มีน้ําซึ่งถือไดวาเปนปจจัยหลักในการเลี้ยงชีพ สวน พื้นที่ที่อยูหางออกไปจากธารนัจดจะเปนพื้นที่แหงแลงไมเหมาะแกการตั้งถิ่นฐานและการเพาะปลูก ธารน้ําสายใหญที่สุดของคาบสมุทรอาหรับคือ อัดดะฮฺนาอ ในยามที่ธ ารน้ําแหงนี้ สมบูรณจะนําเอาความเขียวขจีของพืชพันธุ แตเมื่อธารน้ําเหือดแหงไป ก็จะนําความแหงแลงมาแทนที่ ฉะนั้นวิธีที่จะเอาชนะความแหงแลงได ก็โดยใชวิธีการดานวิศวกรรม ซึ่งก็คือการสรางเขื่อน แตวิธีการ ดั ง กล า วไม มี ช าวอาหรั บกลุ ม ใดมี ค วามรู ใ นด า นนี้ ดี พ อนอกจากในเยเมน โดยในพื้ น ที่ ดั ง กล า ว ประชาชนสามารถที่จะรักษาน้ําในลําธารเอาไวไดโดยการสรางเขื่อนและจัดระบบชลประทานเพื่อจาย น้ําไปยังพื้นที่เพาะปลูก ทําใหพื้นที่ในบริเวณนั้นกลายเปนพื้นที่ ๆ มีความอุดมสมบูรณมากกวาพื้นที่ สวนอื่นของคาบสมุทรอาหรับ ซึ่งเปนพื้นที่ลุมมีหุบเขาลอมรอบ มีโอเอซิสที่อุดมสมบูรณ มีการทํา การเพาะปลูกอยางมากมายและสามารถตั้งเปนถิ่นที่อยูอาศัยได ลักษณะทางธรรมชาติเชนนี้ทําให ประชาชนในแถบนั้นมีความกระตือรือรน โดยเฉพาะอยางยิ่งชาวชนบทซึ่งสวนใหญจะไมยึดติดกับ การเกษตร พวกเขาจะหันไปยึดการเลี้ยงสัตว โดยเฉพาะอยางยิ่งอูฐ แพะ และแกะ ซึ่งพวกเขา สามารถที่ จะนํ า เนื้ อของมั น มารับประทาน นําน้ํานมมาดื่ ม นําขนมาใชป ระโยชน แ ละใช บรรทุก สัมภาระในยามที่พวกเขาโยกยายเพื่อเสาะแสวงหาแหลงน้ําแหงใหมหรือในยามที่ออกเดินทางไป คาขาย นอกจากนี้แลวภูมิอากาศและปริมาณน้ําฝนอันนอยนิด หรือไมมีเลยนั้นเปนตัวที่จะคอยหลอ


59

หลอมผูคนที่อาศัยอยูในแถบนี้ใหมีความแข็งแกรง อดทนตอความยากลําบากเพื่อใหสามารถใชชีวิต ในสภาพแวดลอมที่แหงแลง ทุรกันดารไดดี 3.1.2 ภูมิอากาศของคาบสมุทรอาหรับ พื้นที่สวนใหญของคาบสมุทรอาหรับเปนทะเลทราย ลักษณะของภูมิอากาศโดยทั่วไป จะมีอากาศแหง ฝนตกนาน ๆ ครั้ง ในยามที่ฝนตกจะทําใหเกิดธารน้ําหลายสาย ซึ่งธารน้ําทั้งหมดจะ ไหลลงทะเลแดง และทะเลอาหรับ สวนภูมิอากาศทางตอนเหนือจะมีฝนตกในชวงฤดูหนาวและฤดู ใบไมรวง สวนเยเมนจะมีฝนตกในฤดูรอน ในเขตทะเลทรายเมื่อฝนตกก็จะทําใหพืชพันธุออกดอก ขึ้นมาอยางรวดเร็วและตายไปภายในเวลาไมกี่เดือน ดวยเหตุนี้จึงทําใหวิถีชีวิตชาวอาหรับจึงตอง เรรอนไปตามเสนทางที่ ๆ มีความอุดมสมบูรณอยูตลอดเวลา คาบสมุทรอาหรับ มีลักษณะภูมิอากาศ แหงแลงมีฝนตกนอย ไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมบาง สวนใหญไดรับปริมาณน้ําฝนนอยกวา 250 มิ ล ลิ เ มตร และระหว า ง 350-760 มิ ล ลิ เ มตร ในตอนเหนื อ ของทะเลอาหรั บ จึ ง มี อ ากาศแบบ ทะเลทราย และทุงหญาเขตรอน สวนดินแดนตอนกลางสวนใหญของคาบสมุทรอาหรับ หรือประเทศ ซาอุดีอาระเบีย และชายฝงทะเลแดงดานตะวันออก มีลักษณะภูมิอากาศทะเลทรายเขตรอน (Desert Climate) ปริมาณน้ําฝนนอยกวา 250 มิลลิเมตร ฤดูรอนไดรับลมมรสุมบาง สวนใหญอากาศรอน และแหงแลง สํ า หรั บ ในคาบสมุ ท รอาหรั บ นั้ น พื้ น ที่ เ กื อ บทั้ ง หมดเป น ทะเลทรายไม มี น้ํ า เลย นอกจากธารน้ําที่มีน้ําไหลเพียงชั่วครั้งชั่วคราว ภูมิอากาศของคาบสมุทรอาหรับมี 3 ประเภท ดังนี้ 1. ภูมิ อากาศทะเลทรายแบบร อน มีลักษณะอากาศร อนและแหงแล งมาก ได แ ก บริเวณคาบสมุทรอาหรับเกือบทั้งหมด ซึ่งเปนอาณาเขตของซาอุดีอาระเบีย เยเมน และจอรแดน ทะเลทรายเหลานี้ ไดแก ทะเลทรายอัลนุฟูด ทะเลทรายซีเรีย ทะเลทรายรุบอุลคอลีย 2. ภูมิอากาศทุงหญากึ่งทะเลทรายทั้งแถบรอนและแถบอบอุน มีลักษณะไมแหงแลง มากเหมือนทะเลทราย มีฝนตกนอย เขตอากาศทุงหญากึ่งทะเลทรายแถบรอน ไดแกเขตที่อยูติดตอ กับทะเลทรายในคาบสมุทรอาหรับ 3. ภูมิอากาศแบบภูเขา ลักษณะอากาศเปนไดตั้งแตเย็นจัด จนถึงรอนเปนปาดงดิบ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความสูงของภูมิประเทศไดแก เยเมน


60

ภาพที่ 4 แสดงปริมาณน้ําฝนบนคาบสมุทรอาหรับ

ที่มา: ดนัย ไชยโยธา, 2548 : 128 นอกจากนี้ อัลมัสอูดีย (al-Mas‘ūdīy, 1958 : 2/233) ยังไดแบงลักษณะลมมรสุมที่ พัดผานบริเวณคาบสมุทรอาหรับออกเปน 4 ลักษณะดวยกัน คือ 1. อัลกอบูล (al-Qabūl) เปนกระแสลมจากตะวันออกของคาบสมุทรอาหรับ ซึ่งจะ นําพาเมฆฝนมาดวย สวนใหญจะตกในเขตแควนนัจด ถือเปนสายลมแหงความอุดมสมบูรณ 2. อัดดะบูร (al-Dabūr) เปนกระแสลมที่พัดมาจากทะเลแดงทางทิศตะวันตกของ คาบสมุทรอาหรับ ซึ่งจะพัดพาเมฆฝนมา ในบางครั้งชาวอาหรับอาจจะเรียกวาอัษฺษฺาริยาต และอัล มุ อฺ ศิ ร อต แต บ างช ว งจะเป น ลมร อ นซึ่ ง ก็ จ ะนํ า เอาความแห ง แล ง กลั บ มาสู ค าบสมุ ท รอาหรั บ อี ก เชนเดียวกัน และชาวอาหรับยังเรียกในชื่อตาง ๆ อาทิ อัสสะมูม อัลไฮฟ และอัสสะฮาม1 เปนตน 3. อัลญะนูบ (al-Janūb) เปนกระแสลมที่พัดมาจากมหาสมุทรอินเดียทางทิศใตของ คาบสมุทรอาหรับ 4. อัชชะมาล (al-Shamāl) เปนกระแสลมหนาวที่พัดมาจากที่ราบสูงอานาโตเลีย ผานซีเรีย หรือรูจักในอีกชื่อหนึ่ง คือ ชามียะฮฺ และอัลฮัดวาอ เปนกระแสลมที่จะนําความอุดมสมบูรณ ไปจากคาบสมุทรอาหรับ กลาวคือกระแสลมจะพัดพาเอาเมฆฝนหาย และกระแสลมนี้ยังมีสวนทําให 1

ชื่อทั้ง 3 นี้ หมายถึงลมรอนที่ทําใหสัตวอดอยาก


61

ชาวอาหรั บเกิ ด นิ สั ย เอื้ อ เฟ อ เผื่อ แผ ต อ ผู อื่ น โดยช ว งนี้ ช าวอาหรั บ จะเป ดบ า นต อ นรับ แขกที่ เ ดิ น ทางผานไปมา 3.1.3 ถิ่นฐานของชนเซมิติก2 เซมิติกเปนคําที่ใชเรียกกลุมชนที่อาศัยอยูในสวนตาง ๆ ของคาบสมุทรอาหรับ ซึ่งแต ละกลุมมีความสัมพันธทางดานภาษาที่เกิดจากการวิวัฒนาการมาจากภาษาเดียวกัน และมีถิ่นฐานเดิม เดียวกัน ซึ่งนักวิชาการทั้งทางดานภาษาศาสตรและประวัติศาสตรกลาวถึงถิ่นฐานเดิมของชนเซมิติก ไวแตกตางกันดังตอไปนี้ นักวิชาการบางทานมีความเห็นวาเดิมทีนั้นชนเซมิติกอยูในเอธิโ อเปย ตอมาก็ได อพยพมายังพื้นที่ทางตอนใตของคาบสมุทรอาหรับโดยผานทางชองแคบมันเดบ จากนั้นก็แยกยาย ออกไปตั้งถิ่นฐานตามพื้นที่ตาง ๆ ในคาบสมุทรอาหรับ แตบางทานก็กลาววาถิ่นฐานเดิมของชนเซ มิติกนั้นอยูทางตอนเหนือของแอฟริกา จากนั้นก็ไดอพยพไปยังเอเชียโดยผานคลองซุเอซ ถึงกระนั้นก็ ยังมีนักวิชาการบางกลุมกลับมีความเห็นวาเมืองคานาอานคือถิ่นฐานเดิมของชนเซมิติก เนื่องจากใน ยุคโบราณนั้นชนเซมิติกเคยตั้งถิ่นฐานกระจัดกระจายอยูในพื้นที่แถบซีเรียดังปรากฏหลักฐานทาง โบราณคดีมากมายในพื้นที่ดังกลาว (‘Alīy Abd al-Wāhid Wāfīy, n.d. : 10-11) นอกจากนี้ เรนาน (Renan) และโนลเดก (Noldeke) มีทัศนะที่ตรงกันวาถิ่นฐาน เดิมของชนเซมิติกอยูในอารเมเนียใกลกับเขตแดนเคอรดิสถานปจจุบัน ซึ่งเปนถิ่นฐานเดียวกับกลุม อินโด-ยูโรเปยน จากนั้นก็ไดอพยพไปยังที่ตาง ๆ โดยอาศัยหลักฐานจากเรื่องเลาของชาวยิวและ เรื่องราวที่ปรากฏอยูในพันธสัญญาเกาบทเยเนซิส (‘Abd al-Hamīd Muhammad ’Abū Sikkīn, 1977 : 58)

สวนคูอิดี (Guidi) มีความเห็นวาถิ่นกําเนิดของชนเซมิติกอยูทางตอนใตของอิรัก เนื่องจากมีคําที่ใชเรียกสิ่งกอสราง สัตว และพืชจํานวนมากในภาษาตระกูลเซมิติกที่มีความหมาย ใกลเคียงและสัมพันธอยางมากกับภาษาที่ใชอยูทางตอนใตของอิรัก (‘Alīy Abd al-Wāhid Wāfīy, n.d. : 11)

อย า งไรก็ ต าม แนวคิ ด ดั ง กล า วข า งต น ก็ ยั ง ถู ก ปฏิ เ สธโดยนั ก วิ ช าการอย า ง ไรท ( Wright) ชเรเดอร (Schrader) เซส ( Sayce) ชเปรนเจอร ( Sprenger) และเด โกเฌอร ( De Goeje) ซึ่งตางก็มีความเห็นสอดคลองกันวา ถิ่นฐานของชนเซมิติกนั้นอยูในคาบสมุทรอาหรับ แต 2

เซมิติก หรือ เซไมท เปนคําที่นักวิชาการนํามาใชกับคนหลายชนชาติและเผาพันธุที่อาศัยอยูในอาระเบีย โดยเชื่อวาคนเหลานี้เปน ลูกหลานของเชม หรือ ซาม บุตรของนบีนูห (โนอา) ดังปรากฏในพันธสัญญาเกา ซามเปนหนึ่งในบุตรเพียงไมกี่คนที่ศรัทธากับคํา เทศนาของนบีนูห (โนอา) และยอมโดยสารเรือไปดวย เมื่อรอดชีวิตจากน้ําทวมใหญลูกหลานที่สืบทอดมาจากซาม คือพวกซามียะฮฺ หรือเซมิติกนั่นเอง


62

เนื่องจากความแหงแลงจึงทําใหเกิดการอพยพไปยังสวนตาง ๆ ที่อยูรอบคาบสมุทรอาหรับอยางเชน อิรัก ซีเรีย และเยเมน (‘Abd al-Hamīd Muhammad ’Abū Sikkīn, 1977 : 60) โดยกลุมแรกที่ อพยพ ไดแก พวกอัคคาเดียน (บาบีโลเนียน- อัสสิเรียน) โดยอพยพจากคาบสมุทรอาหรับขึ้นไปยัง อิรักในชวง 4,000 ปกอนคริสตศักราช ไปอยูภายใตการปกครองของชาวสุเมเรียน และรับเอาภาษา ศาสนา ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวซูเมเรียน จนกระทั่งป 2,350 กอนคริสตศักราช พวกอัคคาเดียนก็ไดสถาปนาการปกครองของตัวเองขึ้นมาครอบคลุมพื้นที่อิรัก และซีเรีย จากนั้นเมื่อ อาณาจักรอัคคัดลมสลายลงก็เกิดรัฐเล็ก ๆ ขึ้นหลายรัฐที่สําคัญไดแก บาบิโลนในป 2,000 กอน คริ ส ต ศั ก ราช โดยมี ก ษั ต ริ ย อ งค สํ า คั ญ ได แ ก ฮั ม มู ร าบี ขึ้ น ครองราชย ใ นศตวรรษที่ 18 ก อ น คริสตศักราช กลุมที่ 2 พวกคานาอาน ซึ่งไดเริ่มอพยพในชวงตนป 2,000 กอนคริสตศักราช โดยอพยพไปยังแถบซีเรีย และพื้นที่ราบชายฝงทะเลเมดิเตอรเรเนียน และไดกอตั้งสถานีการคาขึ้นที่ เมือง ไซดา ไทร ุไบล และเบรุต ซึ่งชาวกรีกเรียกชนกลุมนี้วา ฟนีเชียน โดยกลุมดังกลาวมี เมืองขึ้นมากมายในแถบแอฟริกา เอเชียนอยและอันดาลูเซีย ที่สําคัญก็คือ ชนกลุมนี้เปนผูประดิษฐ อักษรลิ่มที่ใชกันอยูทั่วโลก นอกจากนี้ยังมีพวก โอจีริต ที่อพยพไปยังตอนเหนือของซีเรีย และพวก โมอาบ ทางตะวันออกของจอรแดน ซึ่งสถาปนารัฐของตัวเองขึ้นในศตวรรษที่ 10 กอนคริสตศักราช เชนเดียวกันกับพวกฮิบรู ซึ่งอพยพสูปาเลสไตน ตั้งแตศตวรรษที่ 13 กอนคริสตศักราช กลุมตอมาไดแกพวกอาราเมียน กลางป 2,000 กอนคริสตศักราช ซึ่งกลุมนี้นาจะ เปนชาวชนบทที่เรรอนไปสูตอนเหนือของทะเลทรายอัลนุฟูด แถบชนบทของซีเรียและอิรักไปจนถึง อาวอะเกาะบะฮฺ สวนกลุมสุดทาย คือ กลุมของอาหรับทางตอนใตซึ่งเริ่มขึ้นในชวงปลายป 2,000 กอนคริสตศักราช มุงหนาไปสูทางตอนใตและชายฝงมหาสมุทรอินเดีย และบางกลุมที่อาศัยอยูในติ ฮามะฮฺของเยเมนก็อพยพขามทะเลแดงโดยผานทางชองแคบมันเดบไปยังดินแดนแถบชายฝงของ แอฟริกาเพื่อตั้งสถานีการคา 3.1.4 ชนชาติอาหรับ นักประวัติศาสตรอาหรับไดแบงชนชาติอาหรับออกเปน 2 กลุมใหญ เชากีย อบูเคาะ ลีล (Shawqīy ’Abū Khalīl, 2003 : 43) ไดแก 1. อาหรับ อัลบาอิดะฮฺ ชนกลุมนี้เปนชนชาติที่สูญสิ้นไปแลว จะมีก็เพียงแตรองรอย ที่เกี่ยวกับชนกลุมนี้เทานั้นที่ยังคงหลงเหลืออยู สวนเรื่องราวของกลุมชนเหลานี้ไมมีผูใดสามารถที่จะรู ได จะมีก็เพียงแตเรื่องราวที่ปรากฏอยูในคัมภีรอัลกุรอาน และบทกวีของชาวอาหรับ ดังเชนเรื่องราว


63

ของชนเผาอาด ษะมูด ชนเผาที่มีชื่อเสียงของชนชาตินี้ไดแก อาด ษะมูด ฏอมส ยะดีซ และุรฮุมรุน แรก ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ อาด คือ กลุมของ นบีฮูด ซึ่งนักวิชาการถือวาเปนชนชาติอาหรับที่เกาแกที่สุดมีถิ่น ฐานอยู ในเขตอะฮฺ กอฟซึ่ง ตั้งอยู ระหว างประเทศเยเมน กับ โอมาน แถบหะเฎาะเราะเมาวตและ เมืองอัชชิหร เมื่อไมกี่ปที่ผานมา มีการขุดพบโครงกระดูกที่มีสภาพสมบูรณ วัดความยาวของขนาด สวนสูงได 10 เมตร นักวิชาการเชื่อวาเปนโครงกระดูกของพวกอาดที่ระบุไวในคัมภีรอัลกุรอาน ษะมูด คือกลุมชนของ นบีศอลิหฺ  มีถิ่นฐานอยูที่เมืองฮิจร และวาดีกุรอ ซึ่ง ตั้งอยูระหวางแควนฮิญาซ กับ ชาม โดยไพลนี (Pliny) อางถึงใน ฮารูน ยะหฺยา, (2548 : 124) ได บันทึกไววาโดมัทธา3และเฮ็กรา4 คือถิ่นฐานที่ชาวษะมูดอยูอาศัย สวน Ptolemy กลาววาใกลกับถิ่นที่ อยูของพวกอาด ในเขตที่ราบสูงฮิญาซ แตสิ่งที่นาสังเกตคือเมืองฮิจร เคยเปนศูนยกลางดานการคาที่ สําคัญระหวางเยเมน กับ ชาม และอียิปต กับ อิรัก ฉะนั้นถิ่นฐานของพวกษะมูด จึงนาจะอยูที่เมืองนี้ กอรปกับปจจุบันนักวิชาการไดขุดพบหลักฐานสําคัญซึ่งเปนศิลาจารึกของชนกลุมนี้ไดในเขต ตะบูก มะดาอินศอลิหฺ ไตมาอ ภูเขารอม และในฏออิฟไดหลายชิ้น ฏอมส และยะดีซ เปนชนเผาอาหรับโบราณซึ่งถูกกลาวถึงในประวัติศาสตรอาหรับมี ถิ่นที่อยูในบริเวณแควนยะมามะฮฺ และบาหเรน ซึ่งถือเปนเขตอุดมสมบูรณที่เต็มไปดวยพืชพันธุนานา ชนิด ในปจจุบันยังคงปรากฏปอมปราการอยูหลายแหงในเขตนัจรอน บาหเรน และยะมามะฮฺ อุไมม และอะบีล อาศัยอยูในบริเวณทะเลทรายระหวางยะมามะฮฺ กับ อัชชิหร แตมี นักประวัติศาสตรบางทานกลาววาอยูในเปอรเซีย ซึ่งชาวเปอรเซียถือวาชนกลุมนี้เปนกลุมแรกที่รูจัก การสรางบานแบบมีเพดาน สวนอะบีล อาศัยอยูที่เมืองยัษริบ5 ซึ่งเปนชื่อของ ยัษริบ บิน มาอิละฮฺ บิน มุอัลฮิล บิน อะบีล ชนกลุมนี้อาศัยอยูจนถึงยุคของอิมลีก สวนเมืองของกลุมชนนี้สูญหายไปเนื่องจาก เกิดน้ําทวมและกระแสน้ําไดพัดลงสูทะเลจนหมดสิ้น ุรฮุม อาศัยอยูในเยเมน ตอมาเกิดภาวะแหงแลง จึงยายไปยังฮิญาซ และไดอาศัย อยูที่เมืองมักกะฮฺ จนกระทั่งอิสมาอีล6มาถึงและไดแตงงานกับหญิงสาวในเผา ซึ่งตอมาไดรับหนาที่ ดูแลอัลกะอฺบะฮฺ จากนั้นเผาคุซาอะฮฺและกินานะฮฺเขามารุกราน จึงทําใหเผาุรฮุมตองหนีไปอาศัยอยู ระหวางมักกะฮฺ กับยัษริบ จนตอมาก็เกิดโรคระบาดอยางหนักทําใหชนกลุมนี้สูญหายในที่สุด 3

เดามะตุลญัลดัล เมืองฮิจร 5 เมืองมะดีนะฮฺในปจจุบัน 6 อิสมาอีล บุตรของอิบรอฮีม (ประมาณป 1781-1638 กอนคริสตศักราช) เปนศาสนทูตคนที่ 8 ในศาสนาอิสลาม และเปนตนตระกูล ของชาวอาหรับเหนือ (กลุมอัดนานียะฮฺ) ซึ่งเชื้อสายของศาสนทูตมุฮัมมัด  ก็มาจากศาสนทูตอิสมาอีล  เชนเดียวกัน (ดูเพิ่มเติม ใน Sīrah ’ibn Hishām, 1977 : 17-18) 4


64

นอกจากเผาตาง ๆ ที่กลาวมาแลว ยังมีเผาอับดุลฎ็อค บิน อิรอมซึ่งอาศัยอยูที่ฏออิฟ และถูกทําลายเนื่องจากความผิด โดยนักประวัติศาสตรเชื่อวาเปนกลุมแรกที่ประดิษฐอักษรอาหรับ และเผาบนูดาซิม กับฮุดูรอ 2. อาหรับ อัลบากียะฮฺ ซึ่งจะมีชนชาติแบงออกเปน 2 กลุม ไดแก 2.1 อาหรับอัลอาริบะฮฺ ชนกลุมนี้เปนชาวเกาะฮฺฏอนที่อาศัยอยูในเยเมน เผาที่มี ชื่อเสียงของชนชาตินี้ไดแก ุรฮุม และยะอฺรุบ จากเผายะอฺรุบไดกระจายออกเปนเผาใหญสองเผา คือ กะฮฺลาล และฮิมยัร จากเผาฮิมยัร ก็ไดแตกกระจายออกเปนเผาตาง ๆ มากมายที่มีชื่อเสียงไดแก เผา กุฎออะฮฺ จากกุฎออะฮฺ แตกสาขาออกเปนเผาบะลีย เผาุฮัยนะฮฺ เผากัลบ เผาบะฮฺเราะฮฺ เผาบนู นะฮด และเผาญะร็อม เผาที่มีชื่อเสียงของสาขากะฮฺลาลไดแก เผาอัลอัซด ซึ่งจากเผานี้ไดแตก ออกเป น เผาเอาซ เผ าคอซร็อจ และลู กหลานของญั ฟ นะฮฺ นั่ นก็ คื อเผ าฆอสาสี นะฮฺซึ่งได เ ขาไป ปกครองดินแดนชาม เผาฏอย ซึ่งแตกออกมาเปน ุดัยละฮฺ นับฮาน บุหตัร ซุบัยด และษะอฺละบะฮฺ ตอมาเมื่อชาวเยเมนเริ่มรูถึงอารยธรรมความเจริญพวกเขาก็ไดสถาปนาอาณาจักรตาง ๆ ขึ้นอยางเชน มะอีน7 สะบาอ8 ฮิมยัร9และกอตบาน10 กษัตริยสะบาอบางองคพยายามที่จะนําน้ําฝน จํานวนมากมาใชประโยชน ดังนั้นพวกเขาจึงไดสรางเขื่อนมาเพื่อกักเก็บน้ํา โดยใหชื่อวา “อัลอะริม” จากการจัดระบบน้ําดังกลาวทําใหดินแดนของพวกเขาไดเปลี่ยนไปเปนดินแดนที่อุดมสมบูรณซึ่ง เปรียบดังสวนสวรรค แตเมื่อกาลเวลาผานไปประชาชนก็เริ่มที่จะละเลยการดูแลเอาใจใสและซอมแซม ตัวเขื่อน ซึ่งชนรุนกอนไดสรางเอาไว ในที่สุดตัวเขื่อนก็ไดพังทลายลงมาทําใหน้ําไหลเขาทวมนครของ พวกเขาจนจมลงสูใตน้ํา จากนั้นพวกเขาไดอพยพออกไปสูดินแดนตางๆทั่วคาบสมุทรอาหรับ โดย กลุมษะอฺละบะฮฺ บิน อัมร ไดเดินทางไปสูแควนฮิญาซและเขาไปยังเมืองมะดีนะฮฺ และตอมาก็ สามารถเอาชนะชาวเมืองมะดีนะฮฺซึ่งสวนใหญเปนชาวยิวไดและตั้งถิ่นฐาน ณ ที่แหงนั้น สวนกลุมหาริษะฮฺ บิน อัมร (คุซาอะฮฺ) ไดเขาไปบุกยึดเมืองมักกะฮฺจนสามารถเขา ไปมีบทบาทในเมืองดังกลาวแทนที่พลเมืองเดิมคือ เผาุรฮุมรุนที่สอง ซึ่งเปนเผาเกาะฮฺฏอนโบรา 7

ชวงป 1300-650 กอนคริสตศักราช มีศูนยกลางอยูที่อัลเญาฟ ซึ่งตั้งอยูระหวางนัจรอนกับหะเฎาะเราะเมาวต ในศตวรรษที่ 12 กอน คริสตศักราชอาณาจักรนี้ไดขยายอํานาจเหนืออาณาจักรกอตบานและหะเฎาะเราะเมาวต เปนผลทําใหอาณาจักรมะอีนสามารถควบคุม เสนทางการคาทั้งทางเหนือและทางใตเอาไวได (Shawkīy Dayf, 1960 : 27) 8 ชวงป 800-115 กอนคริสตศักราช มีศูนยกลางอยูที่มะอริบในเยเมน เปนเมืองที่มีบทบาทสําคัญทางการคาในยุคโบราณระหวาง เอธิโอเปยกับอินเดีย และชามกับอียิปต โดยมีสินคาสําคัญไดแก เครื่องหอม เครื่องเทศ อัญมณี และแรทองคํา (เยเรมีย 6 : 20, พงศ กษัตริยฉบับที่หนึ่ง 10 : 1-2, เอเสเคียล 27 : 22) 9 ชวงป 115 กอนคริสตศักราช ถึง คริสตศักราช 525 มีศูนยกลางเดียวกับรัฐสะบาอ 10 เปนรัฐที่ตั้งอยูใกลชายฝงทางทิศเหนือของเอเดน และทางตะวันตกเฉียงใตของสะบาอ มีศูนยกลางอยูที่ติมนะอฺ คาดวาอยูรวมสมัยกับ รัฐสะบาอ แตเนื่องจากสงครามระหวางเผาจึงทําใหตองรวมกับเผาสะบาอ


65

ที่มาจากเยเมน ดานกลุมอิมรอน บิน อัมร นั้นก็ไดเดินทางสูโอมานและไดตั้งถิ่นฐานสถาปนารัฐขึ้น โดยมีชื่อเรียกวา “อัซดโอมาน” ญัฟนะฮฺ บิน อัมร ไดเดินทางสูซีเรียและไดตั้งถิ่นฐาน ณ ดินแดนที่มี แหลงน้ําแหงหนึ่งซึ่งมีชื่อวา “ฆอสสาน” จากนั้นก็ไดสถาปนาอาณาจักร “อัลฆอสสาสีนะฮฺ” ขึ้นโดยยึด ตามชื่อแหลงน้ําดังกลาว สวน ลัคม บิน อะดีย ไดเดินทางสูอัลฮีเราะฮฺและไดตั้งถิ่นฐาน ณ ดินแดน แหงนั้นโดยมี นะศ็อร บิน เราะบีอะฮฺ เปนผูสถาปนาอาณาจักรขึ้นมามีชื่อวา “อัลมะนาษิเราะฮฺ” หลัง จากอัซด ฏอยก็เดินทางไปสูดินแดนทางเหนือและไดตั้งถิ่นฐานในหุบเขา ซึ่งตั้งอยูทางทิศตะวันออก เฉียงใตของเมืองมะดีนะฮฺหลังจากที่พวกเขาพบวาดินแดนแหงนั้นเปนดินแดนที่อุดมสมบูรณมีลําธาร อัดดะฮฺนาอไหลผาน กัลบ บิน วับเราะฮฺ ซึ่งมาจากเผากุฎออะฮฺไดเดินทางยังแถบชนบทของอัสสะมาวะฮฺ ซึ่งเปนเขตดินแดนของอิรักติดกับชายแดนทางตอนเหนือของแควนนัจด และมีลําธารอัดดะฮฺนาอไหล ผานพวกเขาจึงไดตั้งถิ่นฐาน ณ ที่แหงนั้น 2.2 อาหรับ อัลมุสตะอฺเราะบะฮฺ หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวา อาหรับ อัลมุตะอัรริบะฮฺ สาเหตุ ที่ เ รี ย กชื่ อ นี้ ก็ เ พราะว า ท า นนบี อิ ส มาอี ล นั้ น เป น คนที่ พู ด ภาษาฮิ บ รู ห รื อ ภาษาอั ส ซี เ รี ย น (Shawqīy ’Abū Khalīl, 2003 : 44) ตอมาเมื่อทานพรอมกับมารดาไดอาศัยอยูกับเผาุรฮุมที่ เมืองมักกะฮฺ และไดแตงงานกับผูหญิงจากเผานี้ จึงทําใหทานและลูกหลานของทานไดเรียนรูภาษา อาหรั บ ด ว ยเหตุ นี้เ องจึ งเรี ย กชนกลุ มนี้ วา “อั ล อาหรั บ อั ลมุ สตะอฺเ ราะบะฮฺ ” หมายถึง กลุ มชนที่ กลายเปนชาวอาหรับ ซึ่งชนกลุมนี้เปนกลุมที่อาศัยอยูในพื้นที่ทางตอนกลางของคาบสมุทรอาหรับ จากแควนฮิญาซไปจนถึงดินแดนเขตทะเลทรายของซีเรีย ในขณะเดียวกันก็เขาไปอาศัยอยูรวมกับชาว เยเมนที่อพยพเขามาอาศัยหลังจากเกิดน้ําทวม โดยชาวอาหรับสวนใหญถือวากลุมชนดังกลาวเปน บรรพบุรุษของตน หะสัน อิบรอฮีม หะสัน (Hasan ’Ibrāhīm Hasan, 1964 : 1/11) ใหทัศนะวา เชื้อ สายรวมทั้งชื่อของหัวหนาเผาที่อยูระหวางอิสมาอีล กับ อัดนานของชนกลุมนี้นั้นยังเปนเรื่องที่มีการ ขัดแยงกัน สวนคํากลาวของศาสนทูตมุฮัมมัด  ที่วา “พวกเขาเปนบรรพบุรุษของทาน” นั้น หมายถึงเชื้อสายที่อยูระหวางอัดนานกับอับดุลมุฏเฏาะลิบเทานั้น สวนที่อยูเหนือจากอัดนานขึ้นไปนั้น ยังเปนเรื่องที่มีการขัดแยงกันอยางกวางขวางในหมูนักวิชาการดานประวัติศาสตร โดยเฉพาะในเรื่อง ของชื่อและจํานวนของบรรพบุรุษของพวกเขาซึ่งมันเปนเรื่องปกติ เพราะวาชนชาวอาหรับนั้นเปนกลุม ชนที่ไมมีความสามารถดานการอานและการเขียน ดวยเหตุนี้จึงทําใหชาวอาหรับไมไดบันทึกเชื้อสาย วงศตระกูลของพวกเขาไวตามหนังสือหรือแผนจารึกตาง ๆ แตพวกเขาจะใชวิธีการเลาสืบตอกันมา และคําพูดที่ถูกกลาวออกมาจากปากนั้นก็ยอมที่จะมีขอผิดพลาดและการเปลี่ยนแปลงอยางแนนอน


66

ทานอิบนุ กุฏอยบะฮฺ (’Ibn Qutaybah, 1934 : 29) ไดกลาวถึงความเห็นเกี่ยวกับ ความแตกตางในเรื่องของชื่อและจํานวนของเชื้อสายและวงศตระกูล โดยอางถึงคําพูดของนิกสัน (Nickson) ที่ไดไวกลาววา “ไมมีขอโตแยงเลย หากเราจะพูดวาเชื้อสายวงศตระกูลนั้นเปนเรื่องที่ไม ถูกตอง เพราะเชื้อสายของอัดนานที่สืบตอไปยังอิสมาอีลนั้นยังคงมีขอสงสัยอยูมากมาย ถึงแมวาชาว อาหรับเกือบทั้งหมดจะอางวาเปนผูสืบเชื้อสายมาจากลูกหลานของอิสมาอีล ดังที่จะเห็นไดจากความ นิยมในเผาหรือในเชื้อสายที่จะแฝงอยูในหมูชนเหลานี้ แตถึงกระนั้นมันก็เปนการดี สําหรับเราที่จะ กลาวถึงในสิ่งที่ชนชาวอาหรับยึดและนํามาเปนพื้นฐานสําหรับระบบสังคม รองรอยทางประวัติศาสตร และวรรณคดีของพวกเขาโดยไมคํานึงถึงการวิพากษวิจารณและอธิบายวามันเปนสิ่งที่ถูกหรือผิด” อยางไรก็ตามเรื่องราวทางประวัติศาสตรอาหรับที่ปรากฏอยูนั้นก็คือ อิบรอฮีม11ได อพยพมายังเมืองมักกะฮฺพรอมกับลูกและภรรยาของทานซึ่งก็คืออิสมาอีลและนางฮะญัร ตอมาอิสมา อีลและนางฮะญัรก็ไดอาศัยอยูกับเผาุรฮุม ซึ่งเปนกลุมที่สืบเชื้อสายมาจากเกาะฮฺฏอน และไดเติบโต ณ ที่แหงนั้น สวนภาษาที่ชาวุรฮุมไดใชก็เปนภาษาอาหรับ อิสมาอีลจึงไดเรียนรูภาษาอาหรับจาก ชนเผานี้ จากนั้นก็ไดแตงงานและมีลูก 12 คน จากลูก ๆ ทั้ง 12 คน ก็ไดแตกออกเปนเผาตาง ๆ มากมายและกระจัดกระจายอยูตามพื้นที่ในสวนตาง ๆ ของคาบสมุทรอาหรับ กอนการประสูตของศาสนทูตมุฮัมมัด (ค.ศ. 571) ชาวอารเบียแยกกันอยูเปนกลุม ตามเผาพันธุ บางกลุมอยูประจําที่ (เพาะปลูก) บางกลุมเรรอน (คาขาย เลี้ยงสัตว) ไปตามทะเลทราย ที่พอมีแหลงน้ํา การเดินทางไปทะเลทรายตองรวบรวมกันเปนกองคาราวานใหญเพื่อปองกันโจรปลน ระหวางทางโดยใชอูฐเปนพาหนะและบรรทุกสินคา อูฐเปนสัตวที่อดทนมีโครงสรางสามารถเก็บน้ําไว ในรางกายปริมาณมาก สามารถเดินทางหลายสิบวันโดยไมตองกินน้ํา จึงมีการตั้งชื่ออูฐเปน “นาวาแหง ทะเลทราย” อาจพูดวาทะเลทรายอารเบียยอมเหมาะสําหรับชาวอาหรับกับอูฐเทานั้น คนและสัตวพันธุ อื่น ๆ ยากที่จะมีชีวิตอยูในทะเลทรายได (สุรินทร หิรัญบูรณะ, 2550 : 139-140) ประชากรในอารเบีย (สถิติเมื่อ ค.ศ. 1937) ประมาณ 8 ลานคนอาศัยในพื้นที่ตาง ๆ หนึ่งลานคนอยูในแควนฮิญาซ (al-Hijāz) ซึ่งอยูทางภาคตะวันตกติดทะเลแดง ปจจุบันเปนสวน หนึ่งของประเทศซาอุดีอาระเบีย พื้นที่สวนใหญเปนทุงหญาสําหรับเลี้ยงสัตว 1.5 ลานคนอยูในแควน เยเมน ( Yaman) ทางตะวั น ตกเฉี ยงใต ติ ด อ าวเอเดน พื้ น ที่ ส ว นใหญ เ พาะปลู ก ได แ ละมี ทุ ง หญ า ปจจุบันเปนประเทศเยเมน 2.5 ลานคนอยูในแควนนัจด (Najd) และอัล ฮาซา (al-Hasa’) อยูทาง ตะวันออกติดอาวเปอรเซีย ปจจุบันปนประเทศบาหเรนและกาตารซึ่งเปนทุงหญา 1.5 ลานคนอยูใน แควนอะสีร (‘Asīr) ทางทะเลแดงใตเมืองมักกะฮฺ และ 7.5 แสนคนอยูในแควนอุมาน (‘Umān) ปจจุบันเปนประเทศโอมาน ปจจุบันจากการสํารวจของ United States Census Bureau เมื่อกลางป 11

อิบรอฮีม (อับราฮัม) บุตรอาซัร (ประมาณป 1861-1686 กอนคริสตศักราช) เปนศาสนทูตคนที่ 6 ในศาสนาอิสลาม


67

ค.ศ. 2007 ประชากรบนคาบสมุทรอาหรับมีจํานวน 93,307,765 คน โดยกระจายอยูตามประเทศ ตาง ๆ ไดแก ซาอุดีอาระเบีย 27,601,038 คน เยเมน 22,211,743 คน โอมาน 3,102,229 คน สหรั ฐ อาหรั บ เอมิ เ รตส 2,602,713 คน กาตาร 885,359 คน บาห เ รน 698,585 คน คู เ วต 2,800,000 คน อิรัก 27,499,638 คน และจอรแดน 5,906,760 คน12 สํา หรั บ ประชากรเบดูอิ น มี ป ระมาณ 13 ล า นคน โดยตั้ง ถิ่ น ฐานอยู ตามพื้ น ที่ ต าง ๆ ใน คาบสมุทรอาหรับ ไดแก ในซีเรีย 925,000 คน ในซาอุดีอาระเบีย 551,000 คน และในจอรแดน 256,000 คน สวนที่เหลือเปนกลุมที่อาศัยอยูตามประเทศตาง ๆ ในทวีปแอฟริกา ไดแก อียิปต แอลจีเรีย ลิเบีย มอริเตเนีย และโมร็อกโก13

12

Countries and Areas Ranked by Population : 2008. (Online). Search from http://www.census.gov/cgibin/ipc/idbrank.pl [9 May 2008] 13 Cooperative Baptist Fellowship. 2007. Bedouin. (Online). Search from http://www.thefellowship.info/Global%20Missions/UPG/Bedouin.icm [17 May 2007]


68

ภาพที่ 5 การตั้งถิ่นฐานของเผาตาง ๆ ในคาบสมุทรอาหรับศตวรรษที่ 7

ที่มา: D.S. Margoliouth, 1905 : 483 3.2 ความเชื่อและศาสนาของชาวอาหรับ ความเชื่อของชาวอาหรับเริ่มแรกกอนการนับถือศาสนาอิสลามนั้นเปนความเชื่อแบบ สัญลักษณนิยม (Totemism) คือการใชสัตว พืช หรือ วัตถุ เปนสัญลักษณประจําเผา พรอมกับเคารพ นับถือสิ่งเหลานั้น และเชื่อวามันจะปกปองคุมครองและใหความชวยเหลือพวกเขาไดในยามที่ประสบ ความทุกขยากหรือภัยพิบัติ ซึ่งหากสัญลักษณประจําเผาเปนสัตว พวกเขาจะปลอยและไมยุงเกี่ยวกับ มัน และหากเปนพืชพวกเขาก็จะไมตัดหรือนํามาเปนอาหาร นอกจากจะประสบภัยแลงอยางหนัก (Muhammad Abd al-Mu‘īd Khan, Quoted in al-Sayyid Abd al-‘Azīz Sālim, n.d. : 405)

จากความเชื่อขางตนสามารถสังเกตไดจากสังคมอาหรับไดหลายประการดังนี้


69

1. ชาวอาหรับมักตั้งชื่อเผาของตัวเองโดยใชชื่อของสัตวประเภทตางๆ เชน สัตวปา บนูอะสัด (สิงโต) บนูฟะฮด (เสือชีตาร เสือดาว) บนูเฎาะบีอะฮฺ (หมาไน) บนูกัลบ (สุนัข) สัตว บก เชน เซาร (วัว) กิรด (ลิง) ซิอบ (สุนัขปา) ซิบยาน (กวาง) กุนฟุซ (เมน) สัตวปก เชน อุกอบ นัสร (นกอินทรีย) สัตวน้ํา เชน กุรอยช (ปลาฉลาม) พืช เชน หัลเซฺาะละฮฺ (ขี้กาเทศ) นับต (พืช) วัตถุ เชน ซ็อคร ฟฮร (หิน) และสัตวเลื้อยคลาน เชน หัยยะฮฺ หะนัช (งู) เปนตน ซึ่งนอกจาก จะนําชื่อตาง ๆ ขางตนมาเปนชื่อเผาแลว ชาวอาหรับยังนิยมนําชื่อเหลานี้มาตั้งเปนชื่อลูก ๆ ดวย เชนกัน ซึ่งแสดงถึงความเชื่อในความศักดิ์สิทธิ์ของสัตวและพืช 2. ชาวอาหรับเชื่อในความศักดิ์สิทธิ์ของสัตวตาง ๆ โดยจะเคารพบูชาเหมือนลัทธิ สัญลักษณนิยม (Totemism) อื่น ๆ แตที่แตกตางก็คือชาวอาหรับจะเคารพเพื่อความเปนสิริมงคลใน ชีวิต 3. ชาวอาหรับเชื่อวารูปสลักสัญลักษณประจําเผาสามารถปกปองสมาชิกของเผาจาก ภยันตรายและจะนําโชคและชัยชนะในยามสงครามดวย ดังเชน ในสงครามอุหุด อบูซุฟยาน ไดนํารูป สลักอัลลาตและอุซซาไปทําสงครามดวย ในเรื่องของความเชื่อเกี่ยวกับลางดีและลางรายก็เชนเดียวกัน ชาวอาหรับเชื่อวาการปรากฏของนกบางชนิด เชน นกเขา นกพิราบ เปนลางดี สวนอีกาเปนลางราย เปนตน 4. การหามสัมผัสหรือเอยนามของสัตวสัญลักษณประจําเผาโดยตรงดวยเหตุนี้ทําให ชาวอาหรั บ ต อ งใช ชื่ อ อื่ น เรี ย กแทนชื่ อ จริ ง ของสั ต ว นั้ น ๆ เช น เรี ย ก มั จ ลั ม แทน นะอามะฮฺ (นกกระจอกเทศ) อบู อัลหาริษ แทน อัลอะสัด (สิงโต) อิบนุ อาวา แทน อัษษะอฺละบะฮฺ (หมาไน) และเรียกอุมมุอามิร แทน อัดเฎาะบุอฺ (สุนัขปา) เปนตน 5. เมื่อสัตวที่เปนสัญลักษณประจําเผาตายลง ชาวอาหรับเผานั้น ๆ จะจัดพิธีฝงศพ และไวอาลัยใหกับสัตวอันเปนสัญลักษณ ดังเชน เมื่อ บนู อัลหาริษ พบกวางตายพวกเขาจะนําผามา คลุมและหอซากของมันไวแลวนําไปฝง หลังจากนั้นก็จะไวอาลัยใหมันเปนเวลา 6 วัน หรือเมื่อพวก เขาพบงู พวกเขาก็จะไมทํารายหรือฆามัน เนื่องจากเชื่อวา เมื่อฆามันแลวจะมีปศาจมาลางแคน เปน ตน นอกจากความเชื่อขางตนแลว ชาวอาหรับชนบท และพวกเบดูอินยังมีความเชื่อใน พลังลี้ลับและวิญญาณที่ซอนอยูในสิ่งตาง ๆ เชน นก พืช และวัตถุตาง ๆ รวมถึงดวงดาว ซึ่งมีผลตอ ความเปนไปของโลกและมนุษย ตอมาไดพัฒนาไปสูการเคารพบูชาแผนหินที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะ เชน มีสีขาว อยางเชน รูปเคารพ ญัลซัด ที่หะเฎาะเราะเมาวต ซึ่งเปนแผนหินสีขาวมองดูเผิน ๆ คลาย ใบหนาคน หรือ รูปเคารพ ซุลคุละเซฺาะฮฺ ที่ตะบาละฮฺ มีลักษณะคลายมงกุฎ หรือ ษฺาติอันวาต ที่เปน ต น ไม ใ หญ เ ขี ยวขจี ซึ่ งทุ ก ๆ ป ช าวอาหรับจะไปทํ าพิ ธี บูช าโดยนํ าอาวุธ ไปแขวน นํ าสั ตว ไปเชื อ ด


70

นอกจากนี้ที่มักกะฮฺยังมีตนไมอีก 3 ตน ซึ่งชาวอาหรับใชเปนฐานสําหรับวางรูปเคารพอุซซา และของ เซนไหวตาง ๆ นอกจากนี้ยังมีการนําผามาพันรอบบอน้ํา ตนไม และวาดรูปตามจินตนาการของพวก เขาไวตามกอนหินที่ไดมาจากธารน้ํา รูปลักษณที่ปรากฏขึ้นทั้งหมดลวนมาจากจินตนาการของพวกเขา อยางเชน กอนหิน 2 กอน ที่ตั้งระหวางภูเขาเศาะฟา กับภูเขามัรวะฮฺที่พวกเขาจินตนาการวามันเปนคู ชายหญิงที่ถูกสาปใหเปนหิน เชนเดียวกับหิน 2 กอน ซึ่งตั้งอยูที่บอน้ําซัมซัม โดยใหชื่อวาอิสาฟ กับนาอิละฮฺ ถึงกระนั้นการบูชารูปสัญลักษณของชาวอาหรับก็ไมไดถือวาเปนการบูชารูปสัญลักษณ ในฐานะเทพเจาผูทรงสรางสรรพสิ่งและมวลมนุษยชาติ เนื่องจากในบางครั้งชาวอาหรับอาจสาบานกับ สิ่งที่ตัวเองนับถือ แตบางครั้งก็ดาทอ บางครั้งก็นํามาเปนอาหารในยามที่จําเปน ในชวงศตวรรษที่ 6 กอนคริสตศักราช ชาวอาหรับไดรับอิทธิพลเรื่องศาสนาจากอารย ธรรมใกลเคียง เชน บาบิโลน โรมัน และเยเมน โดยเฉพาะลัทธิบูชาเทพเจาของเยเมนมีอิทธิพลอยาง มากตอลัทธิบูชาเทพเจาของอารยธรรมเมโสโปเตเมีย และการนับถือดวงดาวซึ่งมีแหลงกําเนิดจาก พวกศอบีอะฮฺ และพวกกิลมาน ซึ่งชาวอาหรับเหนือก็ไดรับเอาความเชื่อนี้มาจากชาวเยเมน ความเชื่อ ดังกลาวมีตรีเทพเปนพื้นฐานหลักโดยตรีเทพนั้นประกอบดวย พระจันทร พระอาทิตย และพระศุกร ซึ่งจะเหมือนกับความเชื่อของชาวบาบิโลเนียน ที่นับถือพระจันทรเปนเทพซีน พระอาทิตยเปนเทพ ซัมซ และพระศุกรเปนอัชตัร โดยพวกเขาถือวา เทพซีน เปนเทพสุงสุดมีฐานะเปนบิดาของเทพซัมซ สัญลักษณของเทพซีนเปนจันทรเสี้ยว ในขณะที่เทพอัชตัร ซึ่งเปนเทพเจาลําดับสามใชสัญลักษณเปน ดาวศุกร ตามความเชื่อของชาวเยเมน ดวงจันทรจะเปนเทพสูงสุด ตอมาเปนพระอาทิตย ซึ่งก็ คื อ ลาต และถื อ ว า เป น ชายาของพระจั น ทร ส ว นพระศุ ก ร ก็ คื อ บุ ต รของทั้ ง สอง ชาวมาอี น เรี ย ก พระจันทรวา วัด สวนชาวสะบาอ เรียกวา วัรค ซีน ฮุบัส อัลมะเกาะฮฺชะฮฺ กะฮล และอะบิม โดยพวก เขาถือวาเป นเทพดั้งเดิ มและเกาแกมากกวาเทพอื่น เนื่องจากพระจันทรนั้นเปนเข็มทิศใหแกค น เดินทางและกองคาราวาน ดวยเหตุนี้ชื่อของดวงจันทรจะมีมากมาย เชน อัลอาดิล อัลกุดดูส อัลหะกีม อัลมุอีร อัลมุบาร็อก และอัลหามีย ตอมาเมื่อถึงยุคอิสลามชื่อตาง ๆ เหลานี้ก็ไดเปลี่ยนมาเปนพระ นามของอัลลอฮฺแตเพียงองคเดียว 3.2.1 รูปเคารพของชาวอาหรับ รูปเคารพของชาวอาหรับมี 2 ชนิดดวยกัน คือ อัสนามและเอาซาน อัสนาม หมายถึง ทุกสิ่งทุกอยางที่เปนที่เคารพนับถือนอกเหนือจากอัลลอฮฺ อาทิเชน ภูเขา ตนไม กอนหิน ฯลฯ และ


71

เอาษาน หมายถึง รูปแกะสลักเปนสัญลักษณแทนเทพเจา อาทิเชน อัลลาต มะนาต ฯลฯ ซึ่งฮิชาม บิน มุฮัมมัด อัลกัลบีย (Hishām bin Muhammad al-Kalbīy) อธิบายวา “เศาะนัมนั้นเปนรูปแกะสลักที่ มีลักษณะเหมือนมนุษยและทํามาจากไม ทองคํา และเงิน สวน วะษัน (เอาษาน) นั้นจะทํามาจากหิน” (al-Sayyid ’Abd al-‘Azīz Sālim, n.d. : 412)

โดยทั่วไปชาวอาหรับจะนํารูปเคารพของพวกเขามาประดิษฐานไวในวิหาร หรือ โบสถ เพื่อใชเปนสื่อกลางในการติดตอกับเทพเจาในการขอพร ในยามที่เจ็บไขไดปวย หรือ ในยามประสบ ปญหาตาง ๆ เพื่อใหเทพเจาชวยดลบันดาลใหแคลวคลาดจากปญหาหรือโรคภัยไขเจ็บ และยังไว สํ า หรั บ บนบานอี ก ด ว ย ส ว นเอาษานซึ่ ง เป น รู ป เคารพที่ ส ลั ก ในก อ นหิ น หรื อ ภู เ ขาหิ น เพื่ อ เป น สัญลักษณแทนเทพเจานั้นชาวอาหรับจะไวสําหรับบูชายัญ เพื่อแสดงความใกลชิดกับเทพเจา ซึ่งสัตวที่ ถูกนํามาเชือดก็จะวางไวบนแทนหินพิธีที่เรียกวา “นุศุบ” ทําจากแผนหิน ที่ตั้งเปนแทนสูงจากพื้นดิน เมื่อกาลเวลาผานไปแทนพิธีก็กลายสภาพเปนรูปเคารพที่ประชาชน บูชานับถือจนในที่สุดก็จะทําพิธี เปลือยกายและวนรอบแทนพิธีเหลานั้น สวนรูปแบบของพิธีเคารพบูชาเทวรูป หรือรูปแกะสลักของชาวอาหรับนั้น ศอฟย อัร เราะมาน อัลมะบาร กาฟูรีย (Safīy al-Rahmān al-Mabār Kafūrīy, 1988 : 27-29) ไดอธิบายวา พิธีกรรมสวนใหญนั้น อัมร บิน ลุไฮยเปนผูริเริ่ม ซึ่งชาวอาหรับเองก็มองวามันเปนความคิดนอกรีตที่ นากระทํา (บิดอะฮฺ หาสานะฮฺ) และไมถือวาเปนการเปลี่ยนแปลงแนวทางของศาสนทูตอิบรอฮีม  แตอยางใด ซึ่งมีพิธีการดังนี้ 1. พวกอาหรั บ จะอุ ทิ ศ ตั ว เอง และขอความช ว ยเหลื อ จากเทวรู ป โดยเชื่ อ ว า จะ สามารถตอบสนองสิ่งที่พวกเขาตองการได 2. พวกอาหรับจะไปชุมนุม เดินรอบเทวรูป กมกราบ และแสดงความถอมตัวตอหนา เทวรูป 3. พวกอาหรับจะแสดงความใกล ชิดต อเทวรู ป ดวยการเชื อดสั ตว พ ลี ใ นนามของ เทวรูปนั้น ๆ 3.2.2 ลักษณะของเจว็ดและรูปปนของชาวอาหรับ รูปเคารพของชาวอาหรับมีลักษณะที่แตกตางกันไป บางก็เปนรูปคน บางก็เปนรูป สัตว สวนวัสดุที่นํามาทําเปนรูปเคารพก็มีหลากหลาย เชน ไม หิน หรือสินแรอื่นๆ บางครั้งรูปเคารพ อาจเปนเพียงหินกอนเดียวที่ไดรับสืบทอดตอ ๆ กันมาจากบรรพบุรุษ บุคคลแรกที่ริเริ่มการบูชานับ ถือรูปเคารพ คือ ฮูซัยล บิน มุดเราะกะฮฺ บิน ฮัลยัซ บิน มุฎ็อร ซึ่งไดนําเทวรูป สุวาอฺ จากเมือง ยันบุอฺ


72

สวน กัลบ บิน วับเราะฮฺ จากเผา กุฎออะฮฺ ไดนําเทวรูป วุด มาประดิษฐานไวที่ตําบล เดามาตุลญัลดัล ในขณะที่ อัชอัม จากเผา กัยซ และชาวญะรอจ จากเผา มัซหัจ ไดนําเอาเทวรูป ยะฆูษ มาประดิษฐาน ไว ที่ ตํ า บล ญะรอจ และกลุ ม คั ย วาน ซึ่ ง เป น เผ า สาขาของฮามาดาน ได นํ า ยะอู ก จากเยเมนมา ประดิษฐานในที่ตั้งของเผาฮามาดาน และกลุมสุดทายไดแก ษุลกะลาอ จาก หิมยัร ไดนําเอา นัสร มา ประดิษฐานในที่ตั้งของเผาหิมยัร ยากูต (Yāqūt, 1955 : 367) เลาวา “เดิมทีนั้นเทวรูปทั้ง 5 องค เปนคนดี มีศีลธรรม เมื่อพวกเขาเสียชีวิตลง ญาติ ๆ ตางพากันโศกเศราเสียใจเปนอยางยิ่ง จนในที่สุดก็มีชายคนหนึ่งที่มา จากเผากอบีล มายื่นขอเสนอใหแกบรรดาญาติของผูเสียชีวิตวา “ฉันจะทํารูปเหมือน (รูปปน) ของ พวกเขาใหพวกทานจะเอาหรือไม ?” บรรดาญาติก็ตอบตกลง ชายคนดังกลาวก็ไดแกะสลักรูปเหมือน ของทั้ง 5 คนจนเปนที่เรียบรอย และเชิญบรรดาญาติ ๆ เคารพบูชา จากนั้นประเพณีนี้ก็ไดรับการ ปฏิบัติสืบตอกันมา” นอกจากนี้ยังมีเรื่องเลาอีกวา “ครั้งหนึ่ง อัมร บิน ลุหัย ปวยหนัก เขาจึงเดินทางไปยัง เมืองโมอาบเพื่อรักษาตัว เมื่อไปถึงก็พบวาพวกเขาเหลานั้นตางพากันกราบไหวรูปเคารพ อัมร ก็ถาม พวกเขาวา มันคืออะไร ? พวกเขาตอบวา พวกเราขอใหมันประทานฝน และขอใหพวกเราไดรับชัย ชนะในสมรภูมิรบ” (al-Sayyid ’Abd al-‘Azīz Sālim, n.d. : 414) รู ป เคารพที่ เ ก า แก ที่ สุ ด ของพวกอาหรั บ ได แ ก มะนาต ซึ่ ง ถู ก ประดิ ษ ฐานไว ณ หมูบานแหงหนึ่งแถบทะเลแดง ซึ่งตั้งอยูระหวางเมืองมะดีนะฮฺ กับ มักกะฮฺ รูปเคารพดังกลาวเปนที่ เคารพบูชาของชาวอาหรับสวนใหญ โดยเฉพาะเผาเอาซฺ กับเผาคอซรอจ ดังสังเกตไดจากชวงพิธีฮัจญ ซึ่งพวกเขาจะไมปลงผม จนกวาจะเดินทางกลับไปถึงที่ประดิษฐานของมะนาต มะนาต มีลักษณะเปนแทนหิน คําวา มะนาต หมายถึง ความตาย หรือ เคราะหกรรม ตามความเชื่อของชาวบาบิโลนนั้น มะนาต คือ เทพเจาแหงความตายและเคราะหกรรม ซึ่งพวกเขาจะ เรียกเทพเจาองคนี้วา “มา มานาโต” นอกจากนี้แลว มะนาต ยังเปนรูปเคารพหนึ่งของพวกนาบาเทียน ซึ่งปรากฏบนหลักศิลาจารึกโบราณ รูปเคารพองคตอมาไดแก อัลลาต ถือเปนเทพธิดาแหงฤดูรอน เชนเดียวกับความเชื่อ ของชาวบาบิโลน ในนามของเทพธิดา “ลาโต” สวนชาวนาบาเทียนเชื่อวาเปนเทพเจาแหงดวงอาทิตย โดยลักษณะของ อัลลาต เปนหินสี่เหลี่ยมสีขาว อัลลาต เปนรูปเคารพซึ่ง อัมร บิน ลุหัย ไดนํามาจากพวกนาบาเทียน เพื่อใหเปนรูป เคารพของชาวอาหรับ เดิมที ลาต นั้นเปนชายคนหนึ่งจากเผาษะกีฟ ซึ่งจะรับผิดชอบทําหนาที่โมแปง ใหกับผูที่มาประกอบพิธีฮัจญ ซึ่งเวลาโม ลาต จะโมบนแผนหิน โดยผูคนทั่วไปจะเรียกแผนหินนี้วา “แผนหินของลาต” ตอมาเมื่อชายคนนี้ไดตายลง อัมร บิน ลุหัย ก็ไดบอกกับผูคนวา “ลาต ยังไมตาย


73

แตเขาหายตัวเขาไปอยูในหินกอนนี้” จากนั้น อัมร ก็ไดสั่งใหผูคนเคารพหินกอนนั้น และพวกเขาก็ได สรางอาคารคลุมหินกอนนั้น เญาวาด อลี ใหทัศนะวา “เดิมที ลาต เปนแทนหินสําหรับวางสิ่งบูชายัญ แตเมื่อเวลา ผานไป ผูคนก็ตางพากันเขาใจวาเปนรูปเคารพ” อัลลาต เปนรูปเคารพประจําเผาษะกีฟ เรื่อยมาจวบ จนเผานี้รับนับถือศาสนาอิสลาม (al-Sayyid ’Abd al-‘Azīz Sālim, n.d. : 420) อุซซา เปนรูปเคารพอีกองคหนึ่งของชาวอาหรับ เดิมทีนั้น อุซซา เปนตนไมที่ขึ้นอยู ณ ตําบล นัคละฮฺ โดยตามความเชื่อของชาวอาหรับ เชื่อวา ตนไมดังกลาวไดลอยขึ้นสูทองฟาในรูป ของหญิงงามและกลายเปนดาวศุกร ซึ่งตอมาเผาฆอฏฟาน ใหการเคารพบูชา จากนั้นก็กลายมาเปนที่ แพรหลายในหมูชาวอาหรับ อุซซา เปนเทพธิดาแหงฤดูหนาว และความอุดมสมบูรณ เชนเดียวกับ ความเชื่อของชาวบาบิโลน อาหรับใต และกรีก นอกจากนี้ชาวอาหรับยังถือวา “อัชตาร” เปนเทพธิดา แหงความรักอีกดวย ซึ่งจะมีความเกี่ยวของกับการแตงงาน โดยหากหญิงสาวคนใดตองการแตงงาน ในตอนกลางคืนกอนที่ดาวรุงจะปรากฏ เธอจะตองปลอยผมขางหนึ่ง ทาขอบตาขางหนึ่ง และเดินเขยง เทา ซึ่งหมายถึงการขอพรใหพบเนื้อคู นอกจากนี้เผากุรอยช ยังนับถือ อุซซา เปนรูปเคารพที่สําคัญ และจะมีการมอบสิ่ง บูชามากมาย พรอมกันนี้ พวกเขาจะเอยนามของรูปเคารพตาง ๆ ขางตนในขณะวนรอบกะอฺบะฮฺ สวน ฮูบัล ก็เปนเทวรูปที่สําคัญอีกองคหนึ่งของเผากุรอยช โดยเทวรูปองคนี้แกะสลัก จากโกเมน มีรูปรางเปนมนุษย แขนขวาขาด ตอมาชาวกุรอยชไดนําทองคํามาหลอเปนแขน แลวนําไป ประกอบใหสมบูรณเหมือนเดิม ซึ่งเทวรูปองคนี้ถูกประดิษฐานไวใน กะอฺบะฮฺ และชาวอาหรับมักจะมา เสี่ยงทายการกระทําตาง ๆ ตอหนาเทวรูปองคนี้ ไมวาจะเรื่องแตงงาน คลอดบุตร การเดินทาง การทํา สงคราม ฯลฯ และชาวอาหรับจะถือเปนเทพแหงความอุดมสมบูรณ นอกจากนี้ยังมีรูปเคารพอื่น ๆ อีก เชน อีซาฟ กับ นาอิละฮฺ ซึ่งประดิษฐานอยูดานขาง กะอฺบะฮฺ และบอน้ําซัมซัม ษุลกาฟน อัลก็อย ศ็อร นะฮมุน อาอิม สะอีร ฯลฯ 3.2.3 ลัทธิบูชาดวงดาว ดังที่เคยกลาวมาแลวในตอนตน ชาวอาหรับหลายเผายึดถือลัทธิบูชาดวงดาว อาทิ เชน บูชาดวงอาทิตย ดวงจันทร และ ดาวพระศุกร ยังมีดวงดาวอื่นอีกหลายดวงที่ชาวอาหรับนับถือ เชน เผากินานะฮฺนับถือดวงจันทรและดาวตาวัว (Aldebaran) เผาุรฮุม นับถือดาวพฤหัส เผาฎอย นับถือดาวลูกไก และดาวคาโนปส (canopus) เผาตามีม นับถือดาวตาวัว (Aldebaran) เผาลัคมีย คูซาอะฮฺ และกุรอยชนับถือดาวซีรีอุส (ดิเรก กุลสิริสวัสดิ์, 2521 : 25)


74

นอกจากนี้ ยั ง มี ก ลุ ม อื่ น ที่ บู ช าดวงดาวเหมื อ นชาวอาหรั บ ได แ ก พ วกศอบี อ ะฮฺ ซึ่งอัลอลูซีย (al-’Alūsīy, 1924 : 2/225, quoted in al-Sayyid ’Abd al-‘Azīz Sālim, n.d. : 427) แบงออกเปน 2 กลุมไดแก 1. กลุมที่เชื่อในพระเจาองคเดียว 2. กลุมที่เชื่อในพระเจาหลายองค โดยกลุมที่เชื่อในพระเจาหลายองคจะเคารพนับถือดาวเคราะหทั้งเกาดวงและราศีทั้ง 12 ราศี ซึ่งพวกเขาจะสรางวิหารเฉพาะสําหรับบูชา อาทิเชน วิหารพระอาทิตย วิหารพระจันทร วิหารพระศุกร ฯลฯ โดยนําแนวคิดมาจากจุดเดนหรือขอดีของศาสนาตางๆ ดวยเหตุนี้พวกเขาจึง ไดรับสมญานามวา “ศอบีอี” หมายถึง พวกมิจฉาทิฐิหรือพวกนอกศาสนา ซึ่งลัทธิดังกลาวอาจไดรับ อิทธิพลจากอัสซีเรียนับถือพระเจาหลายองคและเชื่อในดวงดาวโหราศาสตร เวทมนตรคาถา พระเจา องคใหญที่นับถือศาสนาคือ ชิน (พระจันทร) และเรียงไปตามลําดับคือ คามัค (พระอาทิตย) นานี กาล (พระอังคาร-สิงโต) เนโบ (พระพุธ-เจาแหงศิลปะวิทยาการทั้งปวง) มัรดุก (พระศุกรไมมี มี แตอัชตารคือเทพเจาสงครามและความรัก รามันคือเทพเจาแหงทองฟา เทพเจาทุกองคมีกษัตริยซีเรีย เปนผูแทนพระองคทําการตาง ๆ 3.2.4 ลัทธิบูชาไฟ (Zoroaster) ชาวอาหรับบางกลุมยังมีความเชื่อในลัทธิบูชาไฟ ซึ่งไดรับอิทธิพลจากชาวเปอรเซียใน แควนฮีเราะฮฺ เยเมน และบาหเรน ไดแก ลูกเผาตะมีมบางคน เชน สะรอเราะฮฺ บิน อาดัส อัตตะมี มีย กับ ฮาญิบ บิน สะรอเราะฮฺ บุตร อัลอักเราะอฺ และ อบู อัลอัสวัด เปนตน ในขณะเดียวกันซันดาเกาะฮฺ ซึ่งเปนความเชื่อใหมก็เริ่มขยายจากแควนฮีเราะฮฺเขาสู ชาวอาหรับเผากุรอยชโดยผานเสนทางการคากับเปอรเซีย ซึ่งมีความเชื่อหลักสองรูปแบบไดแก แสง สวางกับความมืดและเชื่อในเรื่องของกาลเวลา ปฏิเสธพระเจาผูทรงสรางและการฟนคืนชีพหลังความ ตาย 3.2.5 คริสตและยูดาย คริสตศาสนาเริ่มขยายตัวบนคาบสมุทรอาหรับในชวงคริสตศตวรรษที่ 3 ทั้งนี้สืบ เนื่องจากศูนยกลางของคริสตศาสนาในซีเรีย อิรัก เอธิโอเปย และตอนใตของคาบสมุทรอาหรับ


75

สงผลใหชาวอาหรับที่อาศัยอยูในแถบดังกลาวนับถือศาสนาคริสต เชน เผาตัฆลุบ เผาบักร และ เผาฎอย ซึ่งไดสรางโบสถที่มีชื่อวา “ดิยาร บักร” ดังปรากฏมาจนถึงปจจุบันในเขตเดามาตุลญันดัล สวนศาสนายูดายไดขยายตัวในเขตทางตอนใต โดยเฉพาะที่เยเมนซึ่งเปนผลมาจาก การติดตอคาขายของกษัตริยฮิมยัร กับ ชาวยิว ในเมืองมะดีนะฮฺ ที่กระจายตัวอยูตามพื้นที่ตางๆ ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากเมื่อครั้งที่อาณาจักรโรมันไดบุกทําลายเมืองเยรูซาเล็มในปคริสตศักราชที่ 70 สงผลใหชาวยิวตองหนีเอาตัวรอดไปอาศัยอยูตามเมืองตาง ๆ ในตอนกลางของคาบสมุทรอาหรับ เชน ไคบัร มะดีนะฮฺ วาดียอัลกุรอ ฟะดักและไตมาอ ถึงแมวาชาวยิวจะดําเนินชีวิตอยูรวมกันกับชาวอาหรับ แตพวกเขาก็ไมอาจที่จะประสบความสําเร็จในการเผยแผศาสนาของตนเองไปสูชนชาวอาหรับได เนื่องจากอุปนิสัยบางอยางของชาวยิว เชน การผิดสัญญา และการคดโกง เปนตน นอกจากลัทธิความเชื่อ และศาสนาดังที่กลาวมาขางตนแลว ยังมีหลักธรรมหะนีฟยะฮฺ (Hanīfīyah) ซึ่งเปนหลักธรรมที่ยึดถือในพระเจาองคเดียวตามแนวทางของทานศาสนทูตอิบรอฮีม  และไมถือวาหลักธรรมดังกลาวเปนศาสนาใหมดังเชนศาสนาคริสต ยูดาย และอิสลาม (Jawwād ‘Alīy, 1959 : 5/370, quoted in al-Sayyid ‘Abd al-‘Azīz Sālim, n.d. : 435) โดยหลักธรรมนี้ ไดรับการยึดถือ และปฏิบัติในหมูชาวอาหรับกอนการเผยแผของศาสนาอิสลาม และมีสวนสําคัญใน การลบลางความเชื่อที่บูชาเทวรูป กลุมผูยึดถือหลักธรรมนี้ ไดแก ซัยด บิน อัมร บิน เนาฟล ซูวัยด บิน อามิร อัลมุศเฏาะลากีย ซุฮัยร บิน อบีสุลมา และอุษมาน บิน อัลหาริษ เปนตน 3.3 วัฒนธรรมทองถิ่นอาหรับ สภาพของคาบสมุทรอาหรับ มีพื้นที่สวนใหญเปนทะเลทราย ปราศจากแหลงน้ํา สวน พื้นที่บริเวณชายขอบจะเปนพื้นที่อุดมสมบูรณ จากสภาพดังกลาวเปนผลทําใหผูคนที่อาศัยอยูในพื้นที่ แบงออกเปน 2 กลุม คือ กลุม ชาวเผาเรรอนหรือพวกเบดูอิน และกลุมชาวเมืองที่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม คาขาย และหัตถกรรม โดยกลุมนี้จะมีที่อยูอาศัยและพื้นที่ทํากินที่มั่นคง ถาวร พวกเซมิติกที่ยังคงเหลืออยูในปจจุบันสองพวกคือพวกอาหรับและฮิบรู พวกยิวกระ จายออกไปทั่ว ตางกับพวกอาหรับในอารเบีย โดยเฉพาะพวกเบดูอิน ถือเปนทายาทตัวจริงของเซมิติก ยังคงรักษาสภาพทั้งทางชาติพันธุแลทางสังคมจิตวิทยา ภาษาพูด อยูไดจนถึงทุกวันนี้เพราะดินแดน อารเบียลอมรอบดวยทะเลและทะลทราย ทําใหคงความบริสุทธิ์ของเผาพันธุอาหรับ ดั่งที่ชาวอาหรับ กลาวถึงตนเองวา “เกาะของชาวอาหรับคือเกาะที่ลอมรอบดวยน้ําสามดาน และลอมดวยทะเลทราย เปนดานที่สี่” ดินแดนนี้จึงสามารถรักษาสภาพความสัมพันธระหวางมนุษยกับแผนดินไวไดโดยไมถูก รบกวนจากป จจัยภายนอก อาจจะมีค นเผาพั นธุ อื่ นผ านเขามาในดิ นแดนทะเลทรายบาง แตก็ไม


76

ปรากฏวาเอาชนะทะเลทรายสามารถตั้งถิ่นฐานบนดินแดนนี้ได มีเพียงชาวอาหรับเทานั้นที่เปนผูรักษา สถิติอาศัยอยูได (สุรินทร หิรัญบูรณะ, 2550 : 138-139) วัฒนธรรมอาหรับดั้งเดิมนั้นจะปรากฏอยูในวิถีชีวิตของชาวเบดูอิน ซึ่งมีลักษณะเรียบ งาย ไมซับซอน ทั้งในเรื่องของการแตงกาย อาหารการกิน และวิถีชีวิตความเปนอยู จะเห็นไดวาชาว เบดูอินยังคงรักษาวัฒนธรรมดังกลาวไวอยางเหนียวแนน แมวาวิถีชีวิตของชาวอาหรับ สวนใหญจะ เปลี่ยนแปลงไปก็ตาม สําหรับวัฒนธรรมของชาวเมืองนั้ น เนื่ องจากวิถี ชีวิตของชาวเมือ งเปลี่ ยนไปตาม สภาพของการเมือง โดยเริ่มจากชุมชนเล็ก ๆ และขยายไปเปนชุมชนใหญ พรอมกับมีการติดตอกับ วัฒนธรรมจากภายนอก จึงเปนผลใหวิถีชีวิตเปลี่ยนไป โดยเฉพาะเมื่อชาวอาหรับประสบความสําเร็จ ในดานการปกครอง ซึ่งสามารถพิชิตดินแดนตาง ๆ ไดที่สําคัญคือ เปอรเซีย และโรมัน ทําใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมขึ้น กลาวคือ เดิมทีชาวอาหรับมีวิถีชีวิตที่เรียบงาย ไมหรูหรา ก็หันไปใช ชีวิตที่หรูหรา เนนความสะดวกสบายอยางโรมัน และเปอรเซีย ดังจะพบไดจากวิถีชีวิตของเคาะลีฟะฮฺ และเจาขุนมูลนาย ทั้งมีการนําเอาระบบ “นางใน” หรือ ฮาเร็ม จากไบแซนไทน เขามาในดานการแตง กาย ชาวอาหรับไดนําการแตงกายจากเปอรเซีย ทั้งเสื้อคลุม หมวก และรองเทา โดยเฉพาะในสมัย ราชวงศอับบาสียะฮฺ จะปรากฏวัฒนธรรมของชาวเปอรเซียมากที่สุด ดังนั้นจึงกลาวไดวาวัฒนธรรม อาหรับนั้นไมไดเปนวัฒนธรรมที่หยุดนิ่ง หากแตมีการพัฒนาอยูตลอดเวลา โดยเปลี่ยนไปตามระบบ การเมือง การปกครองเปนหลัก โดยเฉพาะในชวงเวลาแหงการขยายดินแดน การปกครอง บรรดานักปราชญในศาสนาอิสลามมักจะเขาใจผิดคิดวา อดีตของชาวอาหรับกอนที่ ศาสนาอิสลามจะอุบัติขึ้น เปนระยะเวลาหนึ่ง “Jahiliyat” หรืออีกนัยหนึ่งคือเปนยุคมืด คือเปนยุคมืด แหงความโงเขลาและงมงาย อันที่จริงแลวอารยธรรมอาหรับก็เชนเดียวกันกับอารยธรรมแขนงอื่น กลาวคือมีอดีตความเปนมาอันยาวนาน อารยธรรมอาหรับสัมพันธอยางใกลชิดกับการวิวัฒนพัฒนา ของชนเผาเซไมต ฟนีเชียน ครีต คัลเดียน และฮิบรู ทั่ ว ราชอาณาจั ก รอั น เป น ของชนเผ า เซไมต นี้ ต า งก็ มี ก ารติ ด ต อ และแลกเปลี่ ย น วัฒนธรรมความคิดเห็นซึ่งกันและกัน อาจกลาวไดวา ชนเผาเหลานี้มีพื้นหลังเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน อยูไมนอยอารยธรรมของชาวอาหรับในสวนที่เกิดขึ้นกอนยุคอิสลามนั้น ไดเติบโตขึ้นในดินแดนเยเมน เปน สวนใหญ ชาวอาหรับไดข ามน้ํ าขามทะเลไปไกลเพื่อการค า แมในสมัยกอนศาสนาอิสลาม ก็ ปรากฏวามีนิคมของชาวอาหรับอยูสวนหนึ่งในประเทศจีนตอนใตใกลนครกวางตุง วัฒนธรรมที่ชาวอาหรับนําติดตัวไปดวยยังดินแดนไกลตาง ๆ ที่ตนบุกไปถึงนั้น อันที่ จริงแลวก็มีสภาพแปรเปลี่ยนและวิวัฒนพัฒนาอยูในตัวไปเรื่อย ๆ วัฒนธรรมนี้มีรอยประทับอยาง หนักแนนดวยมโนคติใหม ๆ แหงศาสนาอิสลาม แตออกจะเปนการผิดพลาดและสับสนอยูสักหนอย


77

หากเราจะขนานนามมันวาเปนอารยธรรมอิสลาม เมื่อไดปกหลักโดยตั้งเมืองหลวงที่นครดามัสกัส เรี ย บร อ ยแล ว ชาวอาหรั บก็ เ ลิ ก ละวิ ถี ชี วิ ต ง า ย ๆ อั น เป น ของเดิ ม ของตน แล ว หั น ไปมี ชี วิ ต และ วัฒนธรรมแบบหรูหราสํารวย ยุคนี้อาจจะเรียกไดวาเปนยุคอารยธรรมอาหรับ – ซีเรีย ชาวอาหรับ ไดรับอิทธิพลจากวัฒนธรรมไบเซนไทนดวย แตที่สําคัญที่สุด ในเมื่อไดเคลื่อนที่ไปถึงนครแบกแดด นั้น ชาวอาหรับไดรับไวซึ่งอิทธิพลแหงประเพณีนิยมของประเทศอิหรานโบราณ และไดพัฒนาอารย ธรรมอาหรับ – เปอรเซียขึ้น ซึ่งตอมาไดครอบคลุมไปทั่วดินแดนอันกวางไกลไพศาลที่ชาวอาหรับเขา ไปมีอํานาจครอบครอง (ยวาหระลาล เนหรู, 2537 : 437-438) วัฒนธรรมทองถิ่น จารีตประเพณีและคานิยมตาง ๆ จึงคงลักษณะดั้งเดิมโดยไมถูก ครอบงําหรื อรั บอิ ทธิ พลใด ๆ จากวัฒนธรรมต างชาติ คนพื้น เมื องของภู มิ ภาคนี้ แ บงออกเป น 3 ประเภทคือ ชาวเมือง และชนชั้นสูงที่อยูในเมือง ชาวนา ชาวบานที่อาศัยอยูในชนบทหรือตามโอเอซิส (Oasis) และชาวเบดูอินที่มีอาชีพเลี้ยงสัตว ไมมีที่อยูอาศัยเปนหลักแหลง แตเดินทางเรรอนไปใน ทะเลทรายเพื่อหาแหลงน้ําและทุงหญาใหแกฝูงสัตวของตน วิถีการดํารงชีวิตของประชาชนตั้งแตครั้ง โบราณจนถึงปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไมมากนัก ถึงแมประเทศมีการพัฒนาไปสูความทันสมัย วิถี ชีวิตของชนทั้ง สามประเภท มีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธกันอยางไมเหนียวแนนแตก็ตองอาศัยพึ่งพาซึ่ง กันและกัน วิถีชีวิตแบบดั้งเดิมของชนพื้นเมืองทองถิ่น สามารถอธิบายไดจากวิถีการดําเนินชีวิตและ การประกอบอาชีพที่สําคัญ ชาวเมือง คือ ผูที่อาศัยอยูในชุมชนเมืองที่ประกอบดวยผูมีอาชีพหลากหลาย เปนผูมี อํานาจในการปกครอง ขาราชการ พอคา นักธุรกิจ ชางฝมือ เจาหนาที่ทางกฎหมายเปนชนชั้นสูงที่มี วัฒนธรรมแตกตางจากชาวเรรอน และชาวบาน หรือชาวไร ชาวนา คนชั้นกลางที่เปนพอคา ชางฝมือ ผูชํานาญทางอาชีพดานใดดานหนึ่ง และเจาหนาที่ชั้นผูนอย ผูที่เปนชนชั้นลาง คือ พอคาเร กรรมกร และชาวเบดูอิน เมืองเปนศูนยกลางการคาขาย มีตลาดเปนที่แลกเปลี่ยนสินคาของเกษตรกร ชาวนาชาวไรประกอบอาชีพกสิกรรม อาศัยอยูในหมูบาน ตามโอเอซิส ซึ่งมีแหลงน้ํา ที่ ส ามารถทํ า การเพาะปลู ก ได ความสั ม พั น ธ กั บ ชาวเมื อ ง คื อ การเสี ย ภาษี ใ ห แ ก ผู ค รองในเมื อ ง ชาวบานชาวนาเปนเจาของที่ดินเล็ก ๆ แตละหมูบานเปนครอบครัวที่เปนญาติเกี่ยวโยงกัน แตละ ครอบครัวมีผูนําที่มีอาวุโสจากครอบครัวที่มีอิทธิพลสูงสุดในตระกูลที่แบงอํานาจในการปกครองของ หมูบานรวมกับหัวหนาตระกูลอื่น ๆ ชาวนาเหมือนชาวเรรอนที่มีชีวิตอยูอยางสงบ ชาวบานปฏิบัติตน เปนที่พอใจผูมีอํานาจ ไมเชื่อถือสิ่งตาง ๆ ที่มาจากสังคมภายนอกหมูบาน หรือแมแตเพื่อนบานของ ตนเอง และมีทัศนคติทางลบตอการเปลี่ยนแปลงสถานะในสังคมของชาวนาไมมีใครปรารถนา เปนที่ดู ถูกของชาวเมืองและชาวเรรอนวาเปนทาสของแผนดิน ในขณะที่ชาวนาชาวไรเปนผูผลิตอาหารเลี้ยงดู ประชากรทั้ง 2 กลุม


78

ชาวเรรอนเบดูอินเดินทางเรรอนไปในทะเลทรายในคาบสมุทรอาระเบีย เพื่อหาแหลง น้ําและทุงหญาใหแกฝูงสัตวของตนโดยไมมีที่พักพิงเปนหลักแหลง ชาวเบดูอินเลี้ยงสัตวเพื่อขายใหแก ชาวเมือง ชาวนา และแลกเปลี่ยนสินคาที่ตองการ เชน อาหาร เสื้อผา ชาวเบดูอิ นจะอาศัยอยูใ น กระโจมที่ทําดวยขนแกะหรือขนมา มีทรัพยสมบัติเทาที่สามารถบรรทุกไปบนหลังสัตวเทานั้น กระโจม แบงออกเปน 2 สวน สวนแรกเปนที่อยูของผูชาย อีกสวนหนึ่งเปนของผูหญิง เด็ก และขาวของที่ จําเปน ชาวเบดูอินจะอยูรวมกันเปนกลุม สวนที่เล็กที่สุดคือครอบครัว (Family) แตละครอบครัวจะ รวมกั น เป น ตระกู ล ( Clan) ซึ่ ง มี ค วามเกี่ ย วพั น กั น ทางสายเลื อ ด และรวมหลายตระกู ล เป น เผ า (Tribe) มีผูอาวุโสที่สุดเปนหัวหนาเผาเรียกวาชัยคฺ (Shaykh) และใชชื่อบรรพบุรุษไวหนาชื่อรวมกัน (Philip K. Hitti, 1970 : 26)

เต็นทที่พักและเครื่องไมเครื่องมือตาง ๆ ที่เรียบงายของครอบครัวนั้นเปนทรัพยสิน สวนตัว แตแหลงน้ํา ทุงหญาเลี้ยงสัตว และพื้นที่เพาะปลูกถือเปนทรัพยสินสวนรวมของเผานั้น ๆ หากสมาชิกคนใดกระทําผิดตอคนในตระกูลเดียวกัน จะไมมีใครชวยปกปองใหพนผิด ในกรณีที่เขาได หลบหนีก็ ก ลายเป น คนนอกกฎหมาย แต หากว าการฆาตกรรมเปนการกระทํ ากับตระกู ลอื่ น การ พยายามแกแคน ก็ยอมจะเกิดขึ้น ซึ่งถือวาเปนที่ยอมรับโดยทั่วไปหลีกเลี่ยงไมได และสมาชิกใน ตระกูลเดียวกันอาจจะตองจายคาชดเชยแทน แมกระทั่งดวยชีวิต ความกลาหาญเปนสิ่งสําคัญและจําเปน เบดูอินจําเปนตองปองกันตัวเองใหรอดชีวิต จากการโจมตีของศัตรู ทั้งหมดนี้จะตองไดรับความชวยเหลือสนับสนุนจากครอบครัว การมีชีวิตอยู รอดขึ้นอยูกับการเกาะกลุมกับครอบครัวเปนหนึ่งเดียว การจะไดรับความชวยเหลือสนับสนุนเบดูอิน ตองยอมรับกฎและคานิยมของครอบครัว โดยการรวมผลประโยชนของครอบครัว มีความซื่อสัตยและ จงรักภักดีตอครอบครัว ผูชายเปนหัวหนาครอบครัว และกลุมคนในครอบครัวที่เกี่ยวดองเปนญาติจะ ถูกปกครองโดยชายที่เปนหัวหนาของตระกูล ผูชายจะตอสู ลาสัตว เลี้ยงสัตว และมีสังคมกับผูชายของ ครอบครัวอื่น ๆ ผูหญิงอยูรวมกันอยางใกลชิด ขณะที่ผูชายออกไปหาเลี้ยงสัตว ผูหญิงจะซอมแซม กระโจม เก็บฟน เตรียมอาหาร และเลี้ยงดูเด็ก ทอผาดวยขนสัตว ทําพรม เด็กชายจะถูกเลี้ยงและ ไดรับการเอาใจใสอยางดีเพื่อสืบตระกูลของครอบครัว ถาครอบครัวมีลูกผูหญิงพอแลวทารกหญิงที่ เกิดใหมจะถูกฝงทั้งเปน ครอบครัวขยายเปนหลายครอบครัวและเปนตระกูลในหลายอายุคน เมื่อ หัวหนาตระกูลตายลูกชายแตละคนที่แตงงานแลวจะเปนผูนําของครอบครัวใหมและเริ่มตระกูลใหม แตละตระกูลจะตั้งชื่อจากบรรพบุรุษ ตระกูลหลายตระกูลรวมกันเปนเผา เมื่อมีการแยกเผาจะมีเผาที่ คงเหลืออยูเพื่อสืบเชื้อสายบรรพบุรุษโดยใชชื่อตระกูลเดิม เผาที่แยกออกไปจะตั้งชื่อใหม ดังนั้นทุก เผาจะประกอบดวยเชื้อสายตระกูลเปนเครือญาติกัน หัวหนาเผาหรือชัยคฺ (Shaykh) จะถูกคัดเลือกโดยตระกูลที่เปนเชื้อสายเดียวกันของ เผา จะเปนผูที่มีอายุมากที่สุด หรือเปนสมาชิกคนสําคัญที่ถูกเลือกมาจากญาติที่ใกลชิดและไดรับความ


79

เห็นชอบจากทุกตระกูลในเผา หัวหนาเผาปกครองดวยความยินยอมของตระกูลตาง ๆ ในเผา และ รักษาตําแหนงดวยบุคลิกลักษณะที่เขมแข็ง ตัดสินปญหาขอขัดแยงดวยความฉลาด ถาเมื่อใดสมาชิก ในเผาไมใหความยินยอม หัวหนาเผาก็ตองออกจากตําแหนง หัวหนาเผาใชอิทธิพลเหนือคนในเผา ทํา หนาที่เปนหัวหนาหรือผูนําในที่ประชุม (Majlis) จะเปดโอกาสใหมีการพูดคุยถกเถียงปญหาที่สําคัญ ทุกวัน และรับเรื่องราวรองทุกขหรือขอหารือจากสมาชิกของเผาในเรื่องสวนตัวหรือเรื่องของสาธารณะ เป น หน า ที่ ข องที่ ป ระชุ ม ที่ จ ะแก ป ญ หายุ ติ ข อ ขั ด แย ง และตั ด สิ น ใจเรื่ อ งเกี่ ย วกั บ เผ า ที่ ป ระชุ ม จะ ประกอบดวยผูชายจากทุกครอบครัว แตผูมีอาวุโสจะไดรับความนับถือและมีอิทธิพลมากกวา หัวหน จะตองไดรับความเห็นชอบโดยเอกฉันทจากสมาชิกในการตัดสินปญหา เมื่อขัดแยงไมสามารถหาขอ ยุติไดในตระกูล ตองนําเรื่องเขาสูที่ประชุมซึ่งจะประกอบดวยผูแทนจากทุกหนวยครอบครัว (Philip K. Hitti, 1970 : 28)

ความขั ดแย ง ภายในเผ าจะมี ก ารประนี ประนอมโดยบุ ค คลที่ มี ความเกี่ ยวพั น ทาง สายเลือดกับคูกรณี แตความขัดแยงระหวางเผาอาจไมสามารถยุติไดดวยการเจรจาตอรอง แตจะเปน ความอาฆาตระหวางตระกูล ที่จะตองตอสูแกแคนดวยสายเลือดโดยคณะ 5 บุคคล ซึ่งก็คือญาติที่มี ความเกี่ยวดองกัน 5 ระดับ รวมทั้งญาติที่หางออกไป เชน ลูกพี่ลูกนองชั้นที่ 2 ถาเปนผูชายถูกฆาตาย ญาติที่เกี่ยวดองกัน 5 ระดับ จะเปนผูกระทําตอบ หรือแกแคนสมาชิกในตระกูลของผูกระทําผิดที่อยู ในความเกี่ยวดองกันจะตองรวมรับผิดชอบในการกระทําผิดของสมาชิก และมีความชอบธรรมที่จะถูก ฆาในการแกแคนนั้นดวย โดยปกติผูกระทําผิดจะหนีไปหาที่หลบภัยอยูกับเผาที่หางไกลออกไป และ พยายามตอรองคาเสียหาย และกลับมาเจรจาหลังจากญาติผูเสียหายที่เปนสมาชิกทั้ง 5 ระดับ ลด ความโกรธแคนลง หากการเจรจาตอรองระหวางสองเผาไมเปนผลตองใชผูอาวุโส (ชัยคฺ) จากเผาที่ เป น กลางมาช วยเจรจา ซึ่ งจะจบลงด วยการจ ายค าทดแทนให แ ก เ ผ าที่สูญ เสี ย (บะชี ร มะฮดี อลี (สัมภาษณ), 20 พฤษภาคม 2550) แตละเผาจะตอสูเพื่อรักษาศักดิ์ศรีของเผา และแกแคนแกผูทํา รายสมาชิกของเผา อันถือเปนหนาที่ผูกพันที่จะแกแคนแกเผาที่เปนผูกระทํา ไมใชตอบุคคลคูกรณีซึ่ง จะลางแคนดวยความอาฆาตสืบตอหลายชั่วอายุคน จนบางครั้งสูญสลายไปทั้งเผา (Adams, 1991 : 492)

พวกเบดู อิ น จะอ างสิ ท ธิ ใ นอาณาเขตที่มี ทุ ง หญ า และบอ น้ํ าที่ ได ใ ช อ ยูเ ป น ประจํ า ครอบครัวที่สืบเชื้อสายของตระกูลแตละเผาจะเปนเจาของบอน้ํา หรือโอเอซิสที่สมาชิกของเชื้อสาย ปลูกตนอินทผลัมและพืชผัก พื้นที่อาณาเขตของเผาอาจใหแกเพื่อนของเผาและครอบครัว เผาตาง ๆ จึงพยายามรักษาความเปนเพื่อนระหวางครอบครัวหรือเผาใหกวางขวางออกไป เพื่อที่จะไดมีแหลง ทรัพยากรที่ตองการเมื่อตองอยูในภาวะจําเปน ชาวเบดูอินจะถือประโยชนของเผาเปนสําคัญ เมื่อ ผลประโยชนของเผาขัดกัน จึงมีการตอสูทําสงครามระหวางเผาอยูเสมอ การปลนสะดมก็เปนสวนหนึ่ง ของการดํารงชีพนอกเหนือจากการเลี้ยงสัตว กลอนโบราณของอาหรับกลาววา “เปนหนาที่ของเราใน


80

การปลนสะดมศัตรู หรือเพื่อนบาน หรือพี่นองของเราเอง ถาไมมีผูใดใหเราปลนได” (ประจักษ ชวย ไล, 2521 : 4) การปลนสะดมหรือการรุกรานจะใชเวลาหลายเดือนและกินระยะทางไกลเพื่อมิใหผูถูก รุกรานตามแกแคนไดงาย ทรัพยสินที่ยึดมาไดจะถูกแบงปนในระหวางการเลี้ยงฉลองจะมีการรองรํา ทําเพลง ซึ่งกลายเปนตํานานในความกลาหาญของผูรุกราน การรุกรานหรือปลนสะดม หรือสงครามระ หวาเผามีกฎพื้นฐานวาตองมีความยุติธรรมจะทําไดหลังการประกาศสงคราม และกับผูเทาเทียมกันซึ่ง สามารถจะตอสูหรือโตตอบไดเทานั้น การรุกรานจะไมทําระหวางเที่ยงคืนถึงพระอาทิตยขึ้น เนื่องจาก เชื่อวาวิญญาณของมนุษยไดลองลอยออกจากรางกายขณะนอนหลับ เบดูอินจะหนีเมื่อศัตรูมีจํานวน มากกวา จะไมฆาผูที่ไดรับบาดเจ็บหรือนักโทษ (อุษา จารุภา, 2541 : 51-52) อะเศาะบียะฮฺ (‘Asabīyah) หรือจิตวิญญาณของตระกูลซึ่งเปนอัตลักษณที่สําคัญของ อาหรับ บงชี้ถึงความซื่อ สัตยอยางไรขอบเขต และปราศจากเงื่อนไขตอเพื่อนรวมตระกูล และใน ความหมายกวาง ๆ อาจจะสอดคลองกับลัทธิรักชาติที่มีรูปแบบคลั่งไคลและอคติ บทกาพยตอนหนึ่ง ไดรําพันไววา “จงซื่อสัตยตอเผาพันธุของสูเจา” ซึ่งเสียงเรียกรองดังกลาวนี้ มั่นคงพอที่จะโนมนาว เหลาสามีจนทอดทิ้งภรรยาอันเปนที่รักไดอยางงายดาย ลักษณะพิเศษเฉพาะซึ่งขจัดมิไดของตระกูล ซึ่งเปนบุคลิกภาพของปจเจกสมาชิกตระกูลที่ขยายใหญ เชื่อวาตระกูลหรือเผาพันธุ อยางใดอยางหนึ่ง นั้นเปนหนวยทางสังคมที่สมบูรณในตัวเอง พึ่งพาตนเองได และมีลักษณะตายตัวแนนอนและมองวา ตระกูลหรือเผาพันธุอื่น ๆ นั้น คือเหยื่อที่ชอบธรรมของตนเอง และเปนเปาหมายของการปลนสะดม และการฆาตกรรมได อิสลามในระยะแรก ไดใชประโยชนจากระบบเผาเพื่อวัตถุประสงคทางดานการทหาร อยางเต็มที่ กองทัพมุสลิมไดถูกจัดแบงหนวยรบตาง ๆ เหมือนกับการแบงเผา สามารถแกปญหา ใหแกประชาชนในดินแดนที่ถูกบุกเบิกใหมไปตามสภาพของแตละเผา และได ปฏิบัติตอ ผูเขารั บ อิสลามใหมจากเผาตาง ๆ ฉันทพี่นอง ลักษณะที่ไมเปนมิตรของลัทธิความคลั่งไคลในตัวเองนี้ ไมเคย ที่จะถูกครอบงําได โดยบุคลิกภาพอาหรับแบบใหมที่ไดเริ่มพัฒนาและเปดโฉมหนาขึ้นหลังจากการ กําเนิดของอิสลาม และความคลั่งไคลดังกลาวจึงกลายเปนปจจัยสําคัญอยางยิ่งยวดที่นําไปสูการขาด เสถียรภาพและการลมสลายในบั้นปลายของรัฐอิสลามในยุคตาง ๆ ในขณะเดียวกันชาวอาหรับก็มี คุณลักษณะที่ตรงขามกับที่กลาวมาขางตน คือ มีความมีมรรยาท มีไมตรี ความออนโยน และใจกวาง เมื่อเปนเจาภาพผูถูกรับเชิญจะถูกคาดหมายวาจะรับคําเชิญและรับของขวัญ การตอนรับแขกดวย อัธยาศัยไมตรีเปนหนาที่ที่ตองปฏิบัติ ตองแสดงความใจกวาง ทั้งที่อาจจะตองฆาอูฐตัวสุดทาย เพื่อ เปนอาหารเลี้ยงแขก ถาคนแปลกหนาหรือแมแตศัตรูตอบรับเชิญมางานกินเลี้ยง ชาวเบดูอินจะถือวา เปนหนาที่ที่จะตองปกปองชีวิตของผูมาเยือนไวดวยชีวิตของตัวเอง


81

ชาวเบดูอินจะเปนที่นับถือและหวาดกลัวของชาวไรชาวนา คานิยมของชาวเบดูอิน ไดรับการยอมรับวาเปนอุดมคติของคนทั่วไปทั้งคาบสมุทร คานิยมนี้แสดงผานสุภาษิตเชน “ยอมตาย อยางมีศักดิ์ศรีดีกวาอยูอยางต่ําตอย” หรือ “ไมมีสิ่งใดทําใหผูชายมีความต่ําตอยมากไปกวาการตกอยู ในอํานาจของผูอื่น” (Lindsay, 1991 : 49) เปนตนกําเนิดของความรูสึกที่มีอํานาจเหนือ ความรูสึก รุนแรงและซับซอน ความมีเกียรติยศ ศักดิ์ศรีคือการแสดงความจงรักภักดีตอครอบครัว มีความกลา หาญ เข ม แข็ ง การป อ งกั น ตนเองมี ม ารยาท มี อั ธ ยาศั ย ไมตรี ต อ นรั บ มี จิ ต ใจกว า งขวาง เอื้อเฟอเผื่อแผ ไมมีงานที่ต่ําตอย เชน ทํานา ทําฟารม หรืองานที่ทําใหมือสกปรก งานใชแรงงาน วิถี ชีวิตของประชาชนในทองถิ่นสะทอนใหเห็นถึงความนับถือเกียรติยศ ความภาคภูมิในสายเลือดบริสุทธิ์ ไมเชื่อถือไววางใจบุคคลที่มาจากภายนอกสังคมที่มิใชพี่นอง เพื่อน ชนเผาเดียวกัน ตอตานสิ่งแปลก ใหม ความทันสมัย ประเพณีที่แตกตาง คานิยมและวัฒนธรรมทองถิ่นโดยเฉพาะชาวเบดูอินเปน รากฐานสําคัญของสังคมอาหรับ สําหรับสถานภาพของสตรีชาวเบดูอิน เอส เอ็ม ซเวเมอร (S.M. Zwemer, 1900 : 268-269) ไดรวบรวมทรรศนะของนักวิชาการหลายทานไวดังนี้ เบอรคฮารด (Burckhardt) ซึ่งเปนนักเขียนเกี่ยวกับอาหรับที่ไดรับการยอมรับมาชา นาน บันทึกวา “ชาวเบดูอินนั้นจะรูสึกอิจฉาสตรีของพวกเขา แตก็ไมไดหามปรามนางทั้งหลายสนทนา พูดคุยกับคนแปลกหนา (ผูชาย) เหตุการณทุบตีหรือลงโทษภรรยาไมคอยปรากฏใหเห็นในวิถีชีวิต หรือสังคมทะเลทราย ถาหากเขาลงโทษภรรยาแลว เธอจะรองตะโกนขอความชวยเหลือจากญาติ อาวุโสผูซึ่งจะทําหนาที่ไกลเกลี่ยสามีและตักเตือนสามีใหรับฟงเหตุผล โดยทั่วไปแลวภรรยาและลูกสาวจะปฏิบัติกิจการตาง ๆ ภายในครัวเรือนพวกนางจะ บดขาวโพดดวยโมหินหรือตําดวยครก จัดเตรียมอาหารเชา และเย็นนวดแปง ปงขนมปง เตรียมเนย น้ํา จากนั้นนางยังตองทําหนาที่ปนดายและทอผา ซอมแซมกระโจม กลาวไดวาพวกนางมีชีวิตที่ตอง ตรากตรําเหน็ดเหนื่อย ในขณะที่สามีหรือญาติฝายชายนั่งสูบมอระกูอยางสบายอารมณอยูดานหนา กระโจม เลดี แอนน บลุนต (Lady Ann Blunt) นักวิชาการที่ทองเที่ยวและใชชีวิตอยู ทามกลางอาหรับเผาตาง ๆ แถบที่ราบลุมแมน้ํายูเ ฟรติสกับสามีของเธอ โดยเธอไดตั้งขอสังเกต เกี่ยวกับสตรีชาวเบดูอินวา “คําบรรยายสั้น ๆ ก็นาจะเพียงพอแลวในการบรรยายสภาพสตรีเผาเบดู อิน กลาวคือ ขณะที่เปนเด็กพวกเธอทั้งหลายจะดูนารักไรเดียงสา และมักจะมีใบหนาที่ยิ้มแยมแจมใส และราเริง นอกจากนี้พวกเธอยังมีรางกายที่แข็งแกรง และทํางานหนักตลอดเวลาอันเปนงานที่อยู ละแวกกระโจม พวกเธอจะอยูอาศัยแยกจากผูชายแตไมมีการปดกั้นหรือแยกตางหาก และมิไดตกอยู


82

ภายใตการบีบบังคับใด ๆ ในตอนเชาสตรีจะออกไปเก็บฟนเพื่อใชตลอดทั้งวัน อยางไรก็ตามการที่ พวกเธอไดรับมอบหมายใหปฏิบัติหนาที่เชนนั้น พวกเธอจะรูสึกเปนเกียรติอยางยิ่ง” ในแงของความรูสึก กลาวไดวา สตรีในสังคมทะเลทรายมีฐานะต่ํากวาบรรดาบุรุษ มาก วิสัยทัศนของสตรีนั้นไมเปดกวางมากนัก สตรีสวนนอยเทานั้นที่มีอิทธิพลเหนือสามี ในบางครั้ง สตรีสามารถใชอิทธิพลเหนือสามีในกิจการของเผาได ซึ่งมีครอบครัวไมนอยที่สตรีไดมีสวนในการชวย คลี่คลายปญหาการเมืองภายในเผา นอกจากนี้ทั้งกอนและหลังยุคอิสลามสตรีเบดูอินยังไดรับสิทธิ เสรีภาพซึ่งสตรีชาวเมืองอาจไมเคยไดรับ นั่นคือแมวาสตรีเบดูอินจะอาศัยอยูในครอบครัวที่นิยมการมี ภรรยาหลายคน และอยูภายใตระบบการแตงงานแบบบาอัล (Ba‘al) ซึ่งบุรุษเปนผูนําครอบครัว แต อยางไรก็ตามสตรีเบดูอินก็ยังมีเสรีภาพที่จะเลือกคูครอง และหยาราง หากวาสามีปฏิบัติตอเธออยาง โหดรายทารุณ (Philip K. Hitti, 1970 : 28) 3.3.1 ขนบธรรมเนียมอาหรับ สิ่งแวดลอมมักเปนปจจัยในการหลอหลอมพฤติกรรม ลักษณะ นิสัยตลอดจนวิถีการ ดําเนินชีวิต ความเปนอยูของชาวอาหรับก็เชนกัน สภาพแวดลอมที่เปนทะเลทรายกวางใหญไพศาล เวิ้งวาง และเต็มไปดวยภัยอันตรายนานับประการ ชวยหลอหลอมใหชาวอาหรับเปนคนใจกวาง ชอบ ช ว ยเหลื อ มี ค วามซื่ อ สั ต ย ยึ ด มั่ น ในคุ ณ ธรรมมากกว า วั ต ถุ และมั ก ให ค วามสํ า คั ญ กั บ เรื่ อ ง ความสัมพันธระหวางเพื่อนมนุษยเปนหลัก นอกจากนั้นทะเลทรายยังชวยใหภาษาอาหรับกลายเปน ภาษาที่ร่ํารวยคําศัพท และยังชวยสรางนักกวีที่เกงกาจมานานนับศตวรรษ อยางไรก็ตามกระแสความเปลี่ยนแปลงทางดานวัฒนธรรมที่กําลังแพรสะพัดอยูทั่ว โลกในขณะนี้ไมเวนแมแตสังคมแนวอนุรักษนิยมในกลุมประเทศอาหรับบางประเทศที่ตองปรับวิถีชีวิต ของตัวเองใหสอดคลองกับกระแสแหงความเปลี่ยนแปลงที่กําลังเผชิญ แตถึงกระนั้นขนบธรรมเนียม ประเพณีที่แสดงถึงความเปนอาหรับก็ยังสามารถแทรกซึมผานกระแสความเปลี่ยนแปลงไปไดอยางนา ทึ่ง ดังจะเห็นไดจากแงมุมตางๆ ดังนี้ 3.3.2 พฤติกรรมแบบอนุรกั ษนิยม โดยทั่วไปแลวการแสดงความรักระหวางสามีภรรยาในที่สาธารณะหรือตามสถานที่ เป ด เผยต างๆ เป น เรื่ องที่ ไมเ หมาะสมอย างยิ่ ง ในวั ฒนธรรมของชาวอาหรั บ การแสดงความรั ก ระหวางคูสามีภรรยาจะไมแสดงออกตอหนาสาธารณชน เนื่องจากการกระทําดังกลาวถือเปนเรื่อง


83

สวนตัวที่ผูอื่นจะไมสามารถรับรูได ดังนั้นภาพของหญิงชายเดินกอดคอ หรือจูงมือถือแขนตามสถานที่ สาธารณะจึงไมปรากฏในสังคมอาหรับ ไม เ พี ย งแต ก ารแสดงความรั ก การพู ด ตลกขบขั น สรวลเสเฮฮา หรื อ แม แ ต การ ถกเถียงกันในสถานที่สาธารณะก็เปนสิ่งที่พบไดนอยในสังคมอาหรับเชนกัน นั่นเปนเพราะชาวอาหรับ ชอบที่จะใชชีวิตแบบสวนตัวไมชอบเปดเผยใหใครรู และสิ่งดังกลาวอาจสังเกตไดจากบานเรือนของ ชาวอาหรับซึ่งจะมีกําแพงสูงลอมรอบอยางมิดชิด ทั้งนี้เพื่อปกปดจากสายตาที่มาจากภายนอกซึ่ง อาจจะเปนเพื่อนบานหรือแมแตผูที่สัญจรไปมาบนทองถนน หรือบางครั้งอาจสังเกตไดจากเวลาไป เยี่ยมบานของชาวอาหรับซึ่งแขกที่ไปเยี่ยมนั้นจะยืนรออยูหนาประตู ทั้งนี้เพื่อแขกจะไดไมมีโอกาสมอง เขาไปภายในบาน และเชนเดียวแขกก็ไมสามารถเขาไปในบานไดจนกวาเจาของบานจะยกมือขึ้นมา พรอมแบมือออกและพูดวา “ตะฟฎฎอล” ในความหมายที่วา “เชิญครับ” การทักทายก็เชนกันโดยเฉพาะกับผูหญิง หากเปนวัฒนธรรมตะวันตกรูปแบบของ การทักทายอาจอยูในรูปแบบของการจับมือหรือการจูบ แตสําหรับวัฒนธรรมอาหรับการทักทายใน แบบดังกลาวเปนสิ่งตองหาม เวนเสียแตวาผูหญิงจะยื่นมือมากอนจึงจะสามารถจับได แตโดยทั่วไปจะ ใชวิธีการทักทายดวยคําพูดมากกวา 3.3.3 โครงสรางของครอบครัวอาหรับ ในครอบครัวอาหรับเพศเเละวัยมีบทบาทในการกําหนดโครงสรางหลักของครอบครัว พอเปนหัวหนาครอบครัวที่มีหนาที่หลักในการดูเเลคาใชจายในครอบครัว แมก็มีหนาที่ดูเเลความ เรี ย บร อ ยภายในบ า นไปพร อ มกั บ อบรมดู เ เลลู ก ๆ ส ว นอํ า นาจตั ด สิ น ใจทั้ ง หมดจะเป น ของพ อ ในขณะที่ลูก ๆ ก็ถูกอบรมอบรบสั่งสอนใหสืบทอดขนบธรรมเนียมประเพณี เเละมอบหมายหนาที่ ๆ เหมาะกับเพศเเละวัย ลูกชายจะถูกสอนใหปกปองดูเเลพี่สาว หรือนองสาว เเละชวยพอทํางานตาง ๆ ทั้งใน เเละนอกบาน สวนลูกสาวก็จะถูกสอนใหสรางความสบายใจแกครอบครัว เเละชวยเหลือเเบงเบา ภาระหนาที่ของแมในการดูเเลบาน แตกระแสของความเปลี่ยนแปลงที่ ประสบกับสังคมอาหรั บซึ่งยัง คงดําเนิ นอยูใ น ปจจุบันไมไดเกิดจากสภาพเศรษฐกิจ หากแตเกิดจากปจจัยทางดานการศึกษา เนื่องจากกฎหมายของ แต ล ะประเทศบั ง คั บ ให มี ก ารศึ ก ษาตั้ ง แต ร ะดั บ อนุ บ าลไปจนถึ ง มหาวิ ท ยาลั ย โดยรั ฐ บาลเป น ผู รั บ ผิ ด ชอบค า ใช จ า ยทั้ ง หมด ฉะนั้ น ประชาชนทุ ก คนไม ว า จะหญิ ง หรื อ ชายจะต อ งปฏิ บั ติ ต าม


84

กฎระเบียบอันนี้ ยกเวนชนเผาเรรอนที่ไมเคยสนใจกับกฎระเบียบของทางการ ดังเชนชาวเบดูอินใน ประเทศซาอุดีอาระเบีย เเมวาอิสลามจะเนนบทบาทของสตรีในการดูเเลครอบครัวเปนหลัก แตสิ่งที่ปรากฏ ในสังคมอาหรับตั้งแตอดีตจนปจจุบันคือ ความสําเร็จของสตรีหลายตอหลายคน ทั้งในดานการเมือง การศึกษา เเละอื่น ๆ ดังจะเห็นไดจากประเทศอาหรับในแถบอาวเปอรเซียหลายประเทศมีสตรีดํารง ตําแหนงเปนรัฐมนตรี แมวาวัฒนธรรมจะบังคับใหสตรีอยูแตในบาน แตวัฒนธรรมก็ไมไดหามใหพวก นางทํางาน ซึ่งสามารถชวยเหลือ และแบงเบาภาระของสามีในการหารายไดมาสูครอบครัวไดอีกทาง หนึ่ง ดวยเหตุนี้สตรีจํานวนมากยึดบานของตัวเองตางสํานักงานเพื่อทํางานที่ตัวเองชอบ ซึ่งเปนสิ่งที่ไม เปดเผยเหมือนในอดีต ปจจุบันสภาพของชีวิตในเมืองและการทํางานนอกบานมีผลกระทบบางประการตอ ชีวิตครอบครัวและตําแหนงแหงที่ของสตรีในหมูบาน การอพยพของแรงงานชายหมายถึงวาภรรยา ตองรับผิดชอบตอครอบครัวมากขึ้น และอาจจะตองทําการตัดสินใจหลายอยางซึ่งแตเดิมตกอยูกับ สามี ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากความจําเปนทางเศรษฐกิจ การศึกษาและการทํางาน ในสังคมอาหรับปจจุบัน การแยกกันระหวางหญิงชายทั้งบนทองถนนและที่ทํางานไดถูกทําลายลงไปอยางไมอาจหลีกเลี่ยงได ไมเฉพาะแตวาการคลุมหนาจะมีนอยกวาที่เคยเปนเทานั้น แตรูปแบบอื่น ๆ ของการแยกบุรุษและ สตรีออกจากกันก็หมดไปดวยเชนกัน ในซาอุดิอาระเบียมีความพยายามที่จะปองกันสิ่งนี้ การคลุมหนา ยังมีทั่วไปอยูตามทองถนน การศึกษาไดแยกออกจากกันอยางชัดเจน และมีการกําหนดการแยกแวด วงของงาน พวกเธอสามารถทํางานเปนครูหรือในคลินิกของสตรี แตไมใชในที่ทํางานของรัฐบาลหรือที่ อื่น ๆ ที่พวกเธอตองปะปนกับพวกผูชาย (อัลเบิรต ฮูรานี, 2550 : 664-665) 3.3.4 หนาที่ทางสังคมของชาวอาหรับ การใชชีวิตอยูรวมกันในสังคมอาหรับทุกคนมีหนาที่ๆจะตองปฏิบัติตามธรรมเนียม แบบอาหรับวิถี กลาวคือ เมื่อมีใครกลับจากเดินทางก็เปนหนาที่สําหรับญาติพี่นอง เพื่อนบาน เเละ เพื่อนฝูงที่จะตองไปเยี่ยมพรอมกลาวอวยพรแกผูเดินทางคนนั้นและหากมีใครสักคนปวยไมวาจะอยูที่ บานหรือโรงพยาบาลทุกคนที่ทราบขาวก็จะตองไปเยี่ยมใหกําลังใจกับผูปวยพูดคุยสอบถามขาวคราว เพื่อใหผูปวยเกิดความสบายใจ โดยทั่ ว ไปแล ว เวลาไปเยี่ ยมผูป วย ผู ม าเยี่ ยมมั ก จะนํ าของติด ไมติ ดมื อ ไปด ว ยซึ่ ง บางครั้งอาจเปนอาหาร ช็อกโกเเลต ผลไม หรือดอกไม เมื่อไปถึงก็จะมีลูกหลาน ญาติสนิท เเละเพื่อน


85

ฝูงของผูปวยที่มากอนแลวคอยใหการตอนรับ เเละใหบริการเเขกผูมาเยี่ยมโดยการยกเครื่องดื่มซึ่ง อาจจะเปนกาเเฟอาหรับ ชา ช็อกโกเเลต หรืออื่น ๆ เมื่อมีการแตงงานบรรดาญาติพี่นองเเละเพื่อนฝูงก็จะนําของขวัญมาให ซึ่งสวนใหญ จะอยูในรูปของเงิน หรือสิ่งของอื่น ๆ ที่คูบาวสาวสามารถนําไปใชประโยชนในการสรางครอบครัวใหม ได ในโอกาสที่สมาชิกใหมเกิดขึ้นในครอบครัวก็เชนเดียวกัน จะมีบรรดาเพื่อนฝูง เพื่อน บาน รวมถึงญาติพี่นองมาเยี่ยม และเเสดงความยินดีพรอมของขวัญเล็ก ๆ นอย ๆ โดยเฉพาะกับเเม เเละพอของเด็ก ตามประเพณีอาหรับหลังคลอดบุตร ผูหญิงจะกลับไปอยูบานกับพอแมของนางเปน เวลา 40 วัน ซึ่งในระหวางนั้นก็จะมีแมเเละพี่นองชวยกันดูเเลเปนอยางดี 3.3.5 การตอนรับแเขก วัฒนธรรมอาหรับใหความสําคัญอยางมากในการตอนรับแขก เจาบานจะตองให ความพยายามอยางมากที่สุดเพื่อที่จะไดเกิดความสบายใจ เเละพวกเขาจะยกอาหารมากพอสําหรับ แขก เเละตองแนใจวาแขกจะรับประทานอยางเต็มที่เเละเพียงพอ ปรกติเจาบานกับลูกชายจะทานนั่งทานไปพรอมกับแขก ทั้งนี้เพื่อไมใหแขกเกิดความ เกรงใจที่จะรับประทาน เเละจะคอยเติมอาหารแกแขกตลอดเวลาเพื่อใหแนใจวาเเขกที่มาไดรับการ บริการอยางเต็มที่และสมบูรณ ในการเปนแขกของชาวอาหรับ แขกหรือผูที่ไดรับเชิญไมตองเตรียมอาหาร เครื่องดื่ม หรือของขวัญใด ๆ เมื่อไปถึงแขกก็ตองสังเกตที่หนาประตูวามีรองเทาวางอยูหรือไม หากไมมีก็แสดง วาสามารถสวมรองเทาเขาไปได เมื่อถึงหองรับแขกผูที่มาใหมก็จะตองทักทายผูที่อยูในหองโดยการ กลาวคําทักทายตามธรรมเนียมอาหรับ จากนั้นทุกคนก็จะมาจับมือโดยเเขกที่มาใหมจะตองเริ่มจาก ขวามือหรือคนที่ใกลที่สุดกอนเปนอันดับแรก ในกรณีที่เปนเเขกครั้งแรกหรือแขกอาวุโสเจาภาพจะจัดใหเเขกนั่งที่ ๆ ถือวาดีที่สุด โดยบานบางหลังอาจมีโตะ หรือโซฟาไวสําหรับรับแขก แตตามประเพณีดั้งเดิมแลวแขกจะนั่งบนพื้น ซึ่งจะมีการปูพรมเเละมีหมอนวางไวเพื่อเเขกพิง เเละเอนหลัง สวนรูปแบบของการจัดสถานที่ แขกทุกคนจะนั่งหันหนาเขาหากันเปนวง เเละจะไมมี การนั่งยืดขาไปหาผูที่นั่งอยูตรงกันขาม นอกจากนี้ ในการตอนรับแขกทุกครั้ง หลังเสร็จจากอาหารคาว เจาภาพจะยกกาเเฟอาหรับซึ่งปรกติจะไมมีนมเเละน้ําตาล เมื่อแขกดื่มจนเปนที่พอใจแลวตามธรรม เนียมจะตองเขยาถวยชาเบา ๆ ซึ่งเปนสัญลักษณที่สื่อถึง “อิ่มแลว ขอบคุณครับ” หรืออาจจะทําโดย


86

การใชมือปดบนแกวก็ได เเละที่สําคัญแขกจะตองดื่มอยางนอยที่สุดหนึ่งถวยเพื่อเเสดงความใหเกียรติ แกเจาภาพ เนื่องจากในวัฒนธรรมอาหรับนั้นถือวาผูที่ปฏิเสธคําเชิญเปนผูที่ไมใหเกียรติกับผูอื่น 3.3.6 หองรับแขก (Dīwānīyah) บานทุกหลังของชาวอาหรับจะมีหองโถงสําหรับแขกจํานวนมาก โดยหองโถงดังกลาว นิยมสรางเปนหองไวเฉพาะสําหรับแขกที่เปนชายซึ่งปรกติจะอยูติดกับประตูทางเขาและจะมีการแยก ออกจากสวนอื่น ๆ ของบาน สวนหองรับแขกผูหญิงจะอยูดานในของตัวบานและจะมีทางเขาเฉพาะ ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงจากการปะปนกับผูชาย ในกรณีที่จําเปนจะตองใชหองโถงสําหรับตอนรับแขกจํานวนมาก ๆ พรอมกันทั้ง หญิงและชายเจาภาพก็จะมีการจัดสัดสวนของหองเพื่อไมใหเกิดการปะปนกันระหวางหญิงชาย ยกเวน กรณีของคูสามีภรรยาและพี่นอง สําหรับบางบานจะมีการเปดตอนรับแขกทุกวัน แตบางบานก็จะเปดอาทิตยละครั้ง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปดโอกาสใหหมูเครือญาติ หรือเพื่อนฝูงไดมีการแลกเปลี่ยนขาวคราว ความรู ระหวางกันควบคูไปกับการจิบชา กาแฟ และอาหารวางนานาชนิดตามแบบฉบับของชาวอาหรับไป พรอม ๆ กัน ซึ่งถือเปนปรากฏการณทางดานสังคมอีกอยางหนึ่ง วัฒนธรรมอาหรับคอนขางที่จะใหรายละเอียด เเละความสําคัญกับจริยธรรม รวมถึง พฤติกรรมทางสังคม ซึ่งเปนที่คาดหวัง อยางเชน ความใจกวาง การใหเกียรติ เเละการดูเเลคนอื่น ซึ่ง สิ่งตาง ๆ เหลานี้คือหนาที่ทางสังคมที่ปรากฏอยูจริงในวัฒนธรรมของชาวอาหรับไมไดเปนเพียงนิยาม เหมือนอยางวัฒนธรรมอื่นบางวัฒนธรรม 3.4 ภาษาอาหรับ ภาษาอาหรับ เปนหนึ่งในหกภาษาแรกของโลกที่มีผูใชกันอยูทั่วไป ภาษาอาหรับมี ความสําคัญเปนพิเศษตอชาวมุสลิมทั้งหมดไมวาภาษาเดิมของพวกเขาจะเปนภาษาใด เพราะพระผู เปนเจาไดสงสาสนของพระองคตอศาสนทูตมุฮัมมัด  ซึ่งเปนชาวอาหรับ ดังนั้นภาษาอาหรับจึงเปน ภาษาที่วิวรณลงมาสําหรับชาวมุสลิม ดํารัสจากพระผูเปนเจานั้นมีความสมบูรณไมมีวันเปลี่ยนแปลง ดังนั้นการแปลคําภีรอัลกุรอาน จากภาษาอาหรับเปนภาษาอื่นเพื่อเขาแทนที่ภาษาอาหรับ จึงไมไดรับ การยอมรับยกเวนเพื่อสื่อความหมาย ชาวมุสลิมที่ไมไดเปนอาหรับจํานวนมากอานอัลกุรอานและ ละหมาดโดยใชภาษาอาหรับโดยไมรูความหมายของอัลกุรอานทั้งหมด คําในภาษาอาหรับไดเขาไปอยู


87

ในภาษาอื่ น ๆ จํ านวนมากโดยผ านศาสนาอิ สลาม อั น เป นผลมาจากการพานิ ช ย และปฏิ สัม พั นธ ทางการเมือง อักขระของภาษาอาหรับนั้นเปนพื้นฐานของภาษาเปอรเชี่ยน ปชหตู (Pastu) อุรดู และ อักขระในภาษาอื่น ๆ อีกเปนจํานวนมาก (จรัญ มะลูลีม, 2534 : 29) ภาษาอาหรับเปนภาษาในตระกูลภาษาเซเมติก (Semitic) หรื อแอฟโรเอเซียติก (Afroasiatic) เปนภาษาที่มีผูพูดมากที่สุดภาษาหนึ่งของโลก คือ ประมาณกวา 206 ลานคน ภาษา อาหรับเปนภาษาหนึ่งของชนกลุมใหญในโลกอาหรับ คือ ประเทศตาง ๆ ในตะวันออกกลาง นอกจาก จะเปนภาษาของคนสวนใหญของประเทศอาหรับแลวยังเปนภาษาของชนกลุมนอยในอีกหลาย ๆ ประเทศในแอฟริกา เชน ในประเทศไนจีเรีย ชาด หมูเกาะโคโมโรส และอีกหลายประเทศในเอเชีย เชน ประเทศอิหราน ประเทศตาง ๆ ในอดีต สหภาพโซเวียต นอกจากนี้แลวภาษาอาหรับยังเปนภาษา ของชาวมุสลิมทั่วโลกอีกดวย ทั้งนี้เนื่องจากมาจากภาษาอาหรับเปนภาษาคัมภีรอัลกุรอาน ซึ่งเปน คัมภีรของชาวมุสลิมที่ทุกคนตองอานและทําความเขาใจและยึดเปนหลักในการดําเนินชีวิต (อัสสมิง กาเซ็ง, 2544 : 32) ภาษาอาหรับมีทั้งภาษาที่ใชในการพูดและการเขียน ภาษาเขียน เปนภาษาที่ใชใน ศาสนาและในวรรณกรรมสมัยใหม ซึ่งใชโดยไมแตกตางกันในโลกอาหรับและถือวาเปนภาษาแหงการ สื่อประสานระหวางชาวอาหรับทั้งมวล หนังสือและหนังสือพิมพทั้งหมดเขียนโดยภาษาอาหรับตาม มาตรฐานนี้ ซึ่งเขาใจกันเปนอยางดีในหมูชาวอาหรับผูมีการศึกษา สวนภาษาพูดที่ไดมาตรฐานนั้นใช ในการกระจายขาว ใชในการพูดทางการเมือง ในโรงภาพยนตร และโรงละคร สวนภาษาที่ใชพูดโดย ทั่ว ๆ ไป นั้นตางกันไปตามแตละแหง ในระดับภูมิภาค ปจจุ บั นภาษาอาหรั บเป นสื่อกลางแสดงความรู สึกออกมาเป น คําพูดสํ าหรั บผู ค น ประมาณ 600 ลานคน เปนเวลาหลายศตวรรษนับแตสมัยกลาง ภาษาอาหรับถูกใชสําหรับเรียนรู วั ฒ นธรรมและความคิ ด ก า วหน า ในชาติ ที่ เ จริ ญ แล ว ระหว า งศตวรรษที่ 9-12 ตํ า ราแพทย ประวัติศาสตร ศาสนศาสตร ดาราศาสตร ภูมิศาสตร ผลิตขึ้นโดยใชภาษาอาหรับมากกวาภาษาอื่น ภาษาของชาติตะวันตกหลายภาษาไดขอยืมคําในภาษาอาหรับไปใช ดังเชนคําวา magazine, cotton, arsenal ในภาษาอังกฤษ นอกจากนี้อักษรอาหรับยังถูกใชทั่วโลกเปนที่สองรองจากภาษาละติน นอกจากภาษากลางที่ใชในการสื่อสารแลวยังมีภาษาถิ่นซึ่งแบงตามพื้นที่ของผูพูดอีก 5 กลุม โดย อลี อับดุลวาเฮด วาฟย (‘Alīy Abd al-Wāhid Wāfīy, n.d. : 149) ไดแบงออกเปน สําเนียงถิ่นตาง ๆ ดังนี้ 1. ภาษาอาหรับถิ่นฮิญาซและนัจด รวมถึงภาษาถิ่นยอยที่ใชพูดในฮิญาซ นัจดและ เยเมน


88

2. ภาษาอาหรับถิ่นซีเรีย รวมถึงภาษาถิ่นยอยที่ใชพูดในซีเรีย เลบานอน ปาเลสไตน และภาคตะวันออกของจอรแดน 3. ภาษาอาหรับถิ่นอิรัก รวมถึงภาษาถิ่นยอยตาง ๆ ที่ใชพูดในอิรัก 4. ภาษาอาหรับถิ่นอียิปต รวมถึงภาษาถิ่นยอยที่ใชพูดในอียิปตกับซูดาน 5. ภาษาอาหรับถิ่นโมร็อกโก รวมถึงภาษาถิ่นยอยที่ใชพูดในทางตอนเหนือของทวีป แอฟริกา โดยภาษาอาหรับถิ่นในแตละกลุมจะมีภาษาถิ่นยอยอีกหลายภาษา อยางเชน ภาษา ถิ่นอียิปตก็จะมีภาษาถิ่นยอยอีกหลายรอยภาษาซึ่งจะแตกตางกันตามพื้นที่ที่ผูพูดอาศัยอยู ซึ่งบางครั้ง อาจจะพบวา หมูบาน 2 แหงที่ตั้งอยูใกลเคียงกัน มีภาษาถิ่นยอยที่แตกตางกันทั้งในดานการออกเสียง คําศัพ ทและสํานวนการใช แตถึงแมวาภาษาถิ่นจะมีความแตกตางกันแต ผูพูดในแตละภาษาก็จะ สามารถสื่อสารเขาใจกันได ทั้งนี้เนื่องจากศัพทแตละคําลวนมาจากรากศัพทคําเดียวกันจึงทําใหผูพูด สามารถเดาความหมายของคํานั้น ๆ ได รวมถึงการแพรขยายดานการติดตอสื่อสารในปจจุบัน ก็ได กอใหเกิดการปฏิสัมพันธมากขึ้นในรูปของการทองเที่ยวและการอพยพของคนงาน การขยายตัวใน ด านการรู ห นัง สื อ ทํ าให ช าวอาหรั บคุ น เคยภาษาถิ่ น ย อ ยของกั นและกั น ฉะนั้ น แตเ ดิ มชาวอาหรั บ ตะวันออกอาจจะมีความยากลําบากในการที่จะเขาใจภาษาอาหรับถิ่นของชาวโมร็อกโก และแอลจีเรีย แตในปจจุบันคนทั้งสองสามารถสื่อสารเขาใจกันไดเปนอยางดี


89

ภาพที่ 6 แผนภูมิแสดงภาษาในตระกูลเซมิติก

ที่มา : Zwemer S.M., 1900 : 241 3.4.1 ตนกําเนิดอักษรโบราณ อักษรลิ่ม (Cunieform) ของพวกอัคคาเดียนถือเปนอักษรเกาแกที่สุด แตอักษร ดั ง กล า วเป น อั ก ษรภาพ (Ideography) ซึ่ ง เป น ลัก ษณะเดี ย วกั บ อั ก ษร Hieroglyphic ของอี ยิ ป ต โบราณที่ถูกประดิษฐขึ้นเพื่อใชภาพในการสื่อความหมาย เชน ภาพดวงดาว หมายถึง ทองฟา หรือ ดวงดาว เปนตน อักษรทั้งสองแบบมิไดถูกประดิษฐขึ้นมาเพื่อเปนสัญลักษณแทนเสียง ซึ่งถือเปน ลักษณะของอักษรในภาษาตาง ๆ ที่ใชกนั อยูในปจจุบัน อักษรแรกสุดของโลกที่ถูกประดิษฐเพื่อใชเปนสัญลักษณแทนเสียงพูดคืออักษรอูการิ ติก (Ugaritic) ของพวกโฟนีเชียน ซึ่งถือเปนกลุมแรกที่ประดิษฐอักษรเซเมติกเปนสัญลักษณแทน เสียง ซึ่งตางจากอักษรลิ่ม (Cunieform) หรื ออักษรภาพ (Hieroglyphic) ของอียิปตดังกลาวมา ขางตน จากนั้นอักษรอูการิติก หรือทั่วไปเรียกวา อักษรฟนีเชียน ไดกลายมาเปนอักษรตนแบบใหแก อักษรในภาษาตาง ๆ ที่ใชกันอยูทั่วโลกทั้งโดยตรงและโดยออม ซึ่งจะกลาวโดยสรุปดังนี้


90

อักษรฟนีเชียน ไดถูกพัฒนาไปเปนอักษรฮิบรูโบราณและพัฒนาตอมาเปนอักษรฮิบรู คลาสสิก ซึ่งใชอยูในปจจุบันและถูกพัฒนาตอเปนอักษรปาลไมราอิกและนาบาเทียน จากอักษรปาลไม ราอิ ก ได ถู ก พั ฒ นาต อ เป น อั ก ษรซี เ รอิ ก และจากอั ก ษรซี เ รอิ ก ก็ ถู ก ใช เ ป น อั ก ษรมองโกลและ แมนจูเรียน สวนอักษรนาบาเทียน-ซีเรอิกก็ถูกพัฒนาตอเปนอักษรอารบิก นอกจากนั้ น อั ก ษรฟ นี เ ชี ย น ยั ง เป น ต น แบบของอั ก ษรอาราเมอิ ก ซึ่ ง ต อ มาได กลายเปนตนแบบของอักษร อินโด-บัคเตอเรียน (Indo - bacteriens) หรืออักษรตาง ๆ ที่ใชในชมพู ททวีป และจากอักษรดังกลาวไดกลายมาเปนอักษรที่ใชกันในประเทศอินเดีย ไทย กัมพูชา และมลายู ในสวนของอักษรไทยนั้น ศาสตราจารย ยอรช เซเดส ไดกลาวถึงที่มาของอักษรไทยวา “อักษรเกาที่สุด คือ อักษรพราหมีของพระเจาอโศก เมื่อประมาณ พ.ศ. 300 โดยไดแบบอยางมาจากอักษรฟนีเชียน ที่อยูทะเลเมดิเตอรเรเนียน อันเปนตนเคาของอักษรกรีก ละติน รวมทั้งอินเดีย และตัวอักษรฟนีเชียน เปนตนสกุลของตัวอักษร ซึ่งใชในสยามประเทศกับทั้งประเทศใกลเคียงดวย (พจนานุกรม ฉบับมติ ชน, 2547 : 1003-1004) สําหรับแอฟริกาอักษรฟนีเชียน ถือเปนตนแบบของอักษรในตระกูล ฮาเมโต – เซเม ติก ซึ่งถูกพัฒนาผานอักษรซาเบียนหรือยามานิก สวนอักษรในยุโรปตางก็ถูกพัฒนามาจากอักษรฟนี เชียนเชนกัน โดยผานอักษรกรีก จากนั้นพัฒนาตอกลายเปนอักษรละติน และจากอักษรกรีก-ละติน ไดกลายเปนอักษรตาง ๆ ที่ใชกันในทวีปยุโรป 3.4.2 อักษรอาหรับ ประวั ติ แ ละการกํ า เนิ ด ตั ว เขี ย นในภาษาอาหรั บ พั ฒ นามาจากอั ก ษรรู ป ภาพ (Ideography) เพื่อสื่อความหมาย ลําดับตอมาเปนสัญลักษณแทนความหมายซึ่งเชื่อกันวาจุดเริ่มตน ของอักษรอาหรับในยุคแรกนั้นมาจากเครื่องหมายหรือสัญลักษณ (Wasms) ที่ถูกทําขึ้นโดยพวกเบดู อินเพื่อเปนสัญลักษณของเผาเบดูอิน14 นักวิชาการคาดวาภาษาเขียนของพวกเซไมตดั้งเดิมนั้นอยูที่โม อาบ15 จากการคนพบจารึกบริเวณคาบสมุทรซีนาย ในชวงป ค.ศ. 1900 ไดมีการคนพบจารึกที่เขียน ดวยอักษรที่มีลักษณะใกลเคียงกับอักษรฟนีเชียนอยางมาก ซึ่งอายุของอักษรนี้อยูระหวางศตวรรษที่ 20-15 กอนคริสตศักราช ตอมาในป ค.ศ. 1923 นักโบราณคดีไดคนพบจารึกที่เขียนดวยอักษรเซ มิติก มีอายุราว 1300 ป กอนคริสตศักราช โดยจารึกดังกลาว มีความเกี่ยวของกับสุสานของกษัตริย

14 15

ดูภาพแสดงเครื่องหมายประจําเผาอาหรับเบดูอิน ในภาคผนวก เปนเมืองโบราณตั้งอยูทางทิศตะวันออกเฉียงใต ของทะเลสาบเดดซี


91

อาฮีรอม (Ahiram) ของุไบล ซึ่งเปนเมืองสําคัญของชาวฟนีเชียนเมืองหนึ่ง จากหลักฐานที่คนพบ บงชี้วา อักษรเซมิติกนั้นถูกใชอยางแพรหลายมาตั้งแตกอนศตวรรษที่ 10 กอนคริสตศักราช อักษรอาหรับโบราณที่เกาแกสุดซึ่งถูกคนพบ ไดแกอักษรที่ใชกันในแถบตอนเหนือ ของฮิญาซในคาบสมุทรอาหรับ ที่ตําบลไตมาอ ฮิจร และอัลอุลา ซึ่งอักษรดังกลาวมีพัฒนาการมาจาก อักษรมุสนัดของพวกมะอีนในอาหรับตอนใตที่พัฒนามาจากอักษรอูการิติก (Ugaritic) ของพวกโฟนี เชียน อักษรลิหยาไนต (Lihyanite) มีรูปแบบใกลเคียงกันกับอักษรมุสนัด และจะเขียน จากขวาไปซาย อักษรษะมูดิก (Thamudic) เปนอักษรที่พัฒนามาจากอักษรมุสนัดเชนเดียวกันแต จะมีระบบการเขียนและความสวยงามนอยกวาอักษรลิหยาไนตโดยสังเกตไดจากรูปแบบการเขียนที่ไม แนนอน ซึ่งสวนมากจะเขียนจากบนลงลาง อักษรซาเฟยติก (Safaitic) มีรูปแบบใกลเคียงกันมากกับอักษรลิหยาไนต แตจะมี ระบบการเขียนที่แตกตางกัน คือ ในบางครั้งจะเขียนจากขวาไปซายและในบางครั้งจะเขียนจากซายไป ขวา โดยทั้ ง สามอั ก ษรจะมี รู ป แบบการเขี ย นอั ก ษรเหมื อ นกั น คื อ อั ก ษรตั ว เดี ย วจะมี รูปแบบการเขียนหลายแบบ มีรูปแบบใสเครื่องหมายของอักษรที่เปนตัวสะกดของคํา แตไมมีระบบ สระเสียงสั้น ยาว และไมมีการใสจุด เพื่อแยกอักษรที่เขียนเหมือนกันแตออกเสียงตางกัน ดังเชน อักษรอาหรับในปจจุบัน อาทิ ‫ ﻱ ﻥ ﺏ ﺙ ﺕ‬เปนตน ครั้ น ในยุ ค ที่ อ าณาจั ก รนาบาเที ย นเรื อ งอํ า นาจและมี อิ ท ธิ พ ลครอบคลุ ม พื้ น ที่ คาบสมุ ทรอาหรั บทั้ งหมดทางตอนเหนื อ ตัว อั กษรอาหรับก็ ได พั ฒนาไปใช รูป แบบการเขีย นของ ตัวอักษรนาบาเทียน ซึ่งพัฒนามาจากอักษรอาราเมอิก จากจารึกนัมมาเราะฮฺ (Nemer)16 จะพบ รูปแบบการเชื่อมตอของตัวอักษรในการเขียน ซึ่งจะตางจากยุคแรกที่เขียนอักษรแยกจากกัน ตอมาใน ค.ศ. 512 อักษรอาหรับไดพัฒนารูปแบบอักษรตอจากนาบาเทียนชวงแรก ซึ่งอาจเรียกอักษรดังกลาวไดวาอักษรนาบาเทียน ชวงที่สอง และจากจารึกซะบัด (Zabad)17

16

จารึก Nemer ถูกคนพบในปอมโบราณของโรมัน ตั้งอยูใกลกับเมืองดามัสกัต ทางทิศใตเขตอัศเศาะฟา ประเทศ ซีเรีย ซึ่งจากจารึก ทราบวาเปนสุสานของกษัตริยอิมรุอุลกอยซ บิน อัมร ของอาณาจักร อัลฮีเราะฮฺ ที่ตั้งอยูทางตอนเหนือของคาบสมุทรอาหรับ โดยจารึกนี้ ถูกเขียนดวยอักษรนาบาทิค ระบุป คริสตศักราช 328 17 จารึก Zabad ถูกคนพบบนเนินเขาอัลมิสมาตในเมืองซาบัด ซึ่งตั้งอยูทางทิศตะวันออกเฉียงใตของเมืองอาเลปโป ประเทศซีเรีย โดยจารึกนี้เขียนดวยอักษรที่พัฒนาจากอักษรนาบาทิค ซึ่งมีลักษณะอักษรคลายคลึงกับอักษรอาหรับในยุคแรก ๆ ระบุปคริสตศักราช 512 – 513


92

และเฮารอน (Hauran)18 จะพบวารูปแบบตัวอักษรที่ใชเขียนมีลักษณะใกลเคียงกับอักษรอาหรับ ปจจุบันในระดับหนึ่ง แตถึงกระนั้นทั้งอักษรนาบาเทียนชวงแรกและชวงที่สองก็ยังไมมีการพัฒนาดาน การใชตัวสะกดและการใสจุดแตอยางใด โดยนักวิชาการสวนใหญเห็นวาในชวงนี้มีพัฒนาการดาน รูปแบบตัวอักษรอยางกวางขวาง แตอยางไรก็ตามยังไมมีการคนพบหลักฐานยืนยันความเห็นดังกลาว หลังจากนั้นอักษรอาหรับก็ไดรับอิทธิพลจากอักษรซีเรอิก ตั้งแต คริสตศตวรรษที่ 7 เปนตนมา อักษรอาหรับก็ไดถูกพัฒนาเรื่อยมา โดยเริ่ม จากการเปลี่ยนรูปแบบอักษรจากเดิมที่ใชเฉพาะจารึกประวัติศาสตรหรือเรื่องราวตาง ๆ บนแผนหิน มาเปนอักษรหวัดที่ใชสื่อสารระหวางกันและไดเพิ่มเสียงที่ไมมีในภาษาเซมิติกเหนืออีก 5 เสียง คือ ‫ ﻍ ﻅ ﺽ ﺫ ﺙ‬ซึ่งไมเคยปรากฏในระบบของอักษรเซมิติกโบราณ และเริ่มใชระบบการเติมจุดเพื่อ แยกอักษรที่มีลักษณะเหมือนกัน แตอานออกเสียงตางกัน อาทิ ‫ ﻱ ﻥ ﺕ ﺏ ﺵ ﺱ ﺥ ﺡ ﺝ‬เปนตน แตกระนั้นก็ยังไมมีการใชสัญลักษณที่บงบอกตัวสะกด และการซ้ําอักษร จนกระทั่งปลายศตวรรษที่ 7 ไดเริ่มมีการใชอักษร ‫ ﻭ ﻱ ﺀ‬เปนสัญลักษณแทนสระเสียงยาว และเครื่องหมาย “จุด” แทนสระเสียง สั้น ซึ่งจะคลายคลึงกับระบบการเขียนของภาษาซีเรอิกตะวันออก แตอยางไรก็ตามระบบการเขียนใน แบบดังกลาวถูกใชเพียงระยะเวลาสั้น ๆ เทานั้น ตอมาประมาณศตวรรษที่ 8 อบู อัลอัสวัด อัดดุอะลีย (’Abū al-’Aswad alDu’alīy) ไดวางระบบการใชสัญลักษณแทนสระเสียงสั้นและการซ้ําเสียงในแตละอักษร (Tashdīd) ซึ่งระบบนี้ไดถูกใชเรื่อยมาจวบจนปจจุบัน กลาวคือ ทานไดกําหนดใหอักษรอลีฟ ( ‫ ) ﺍ‬แทนเสียง อะ โดยเขียนในแนวนอนบนตัวอักษร ( ‫ ) ﹷ‬กําหนดใหอักษรยาอ ( ‫ ) ﻱ‬แทนเสียง อิ โดยเขียนกลับ หลังลางตัวอักษร ( ‫ ) ﹻ‬กําหนดใหอักษรวาว ( ‫ ) ﻭ‬แทนเสียง อุ โดยเขียนไวบนตัวอักษร ( ‫ ) ﹹ‬และ กําหนดใหอักษรฮาอ ( ‫ ) ﻫـ‬เปนเครื่องหมายแทนตัวสะกด (ไมออกเสียง) โดยเขียนไวบนตัวอักษร ( ‫ ) ﹿ‬ส ว นสั ญ ลั ก ษณ แ ทนการซ้ํ า เสี ย ง ท า นได ใ ช ล ายหยั ก ตรงส ว นหั ว อั ก ษรสี น ( ℜ ) เป น เครื่องหมายบงบอกถึงอักษรที่เปนทั้งตัวสะกดและอานออกเสียง โดยจะเขียนไวบนตัวอักษร ( ‫) ﹽ‬ ซึ่งวิธีการดังกลาวคลายคลึงกับระบบการเขียนในภาษาซีเรอิกตะวันตก แมวาพัฒนาการดานอัขรวิธีจะอยูในรูปแบบที่สมบูรณ แตในความเปนจริงการเขียน ในแบบที่กลาวมาก็ยังไมใชกันอยางแพรหลายในยุคนั้น ดังจะเห็นไดจากการบันทึกอัลกุรอานของ เศาะหาบะฮฺหรืออัครสาวกของทานศาสนทูตมุฮัมมัด  ที่ไมไดใชวิธีการเขียนตามที่ไดพัฒนาขึ้นมา 18

จารึก Hauran ถูกคนพบที่จังหวัดเฮารอนทางตอนใตของเมืองดามัสกัต ประเทศซีเรีย โดยจารึกดังกลาวถุกเขียนไวบนแผนหินเหนือ ซุมประตูโบสถ มีเนื้อหาบอกถึงวัน เวลา และผูสรางโบสถ ระบุป คริสตศักราช 468


93

ในการบันทึกคัมภีรอัลกุรอาน ทั้งนี้เนื่องจากบรรดาเศาะฮาบะฮฺเห็นวาการเพิ่มเครื่องหมายตาง ๆ ลง ในตัวบทของอัลกุรอานเปนเรื่องไมเหมาะสม ดังนั้นจึงทําใหอัลกุรอานที่ถูกบันทึกในยุคแรก ๆ นั้น ปราศจากเครื่องหมายใด ๆ ที่บงบอกถึงวิธีการอาน นอกจากนี้ยังมีการเพิ่ม ตัด และเปลี่ยนอักษร รวมไปถึงการใชอักษรที่มีเสียงใกลเคียงมาเขียนแทนกัน ซึ่งแสดงถึงพัฒนาการดานอักขรวิธี โดยผูวิจัย ขอเสนอตัวอยางเปนกรณี พรอมเปรียบเทียบอักขรวิธีที่พัฒนาขึ้นโดยอบู อัลอัสวัด อัดดุอะลีย (’Abū al-’Aswad al-Du’alīy) กับอักขรวิธีในอัลกุรอานฉบับปจจุบัน ซึ่งยังคงรักษาอักขรวิธีในแบบดั้งเดิม เอาไว ดังตารางตอไปนี้ ตารางที่ 1 แสดงการเพิ่มอักษรยาอ (‫ )ي‬ในคําตอไปนี้ สูเราะฮฺอัซซาริยาต อายะฮฺที่ 47 และ สูเราะฮฺอัลเกาะลัม อายะฮฺที่ 6 อักขรวิธีของอบู อัลอัสวัด

อักขรวิธีในอัลกุรอาน

7‰'ƒr'Î/

7‰&‹÷ƒr'Î/

Νä3Íhƒr 'Î/

Νä3Íh‹ƒr'Î/

ตารางที่ 2 แสดงการเพิ่มอักษรอลีฟ ( ♣ ) ในคําตอไปนี้ สูเราะฮฺ อันนัมลฺ อายะฮฺที่ 21 อักขรวิธีของอบู อัลอัสวัด

อักขรวิธีในอัลกุรอาน

…絨Ψutr2øŒ{

…絨Ψutr2øŒ(#{

ตารางที่ 3 แสดงการเพิ่มอักษรวาว ( ™ ) ในคําตอไปนี้ สูเราะฮฺ อัลหัชรฺ อายะฮฺที่ 17 อักขรวิธีของอบู อัลอัสวัด

อักขรวิธีในอัลกุรอาน

⎦⎫ÏϑÏ9%©à9$#ß ™#y“y_

⎦⎫ÏϑÏ=≈©à9$# #äτ¨u“y_


94

ตารางที่ 4 แสดงการตัดอักษรอลีฟ ( ♣ ) ในหลายคํา ดังตัวอยางตอไปนี้ อักขรวิธีของอบู อัลอัสวัด

อักขรวิธีในอัลกุรอาน

Çβ$uΗ÷q§9$#

Ç⎯≈uΗ÷q§9$#

N#u™%yϑ¡¡9$#

N¨uθ≈yϑ¡¡9$#

Νà6tΡθè=Ï?%s)ãƒ

Νà6tΡθè=ÏG≈s)ãƒ

⎦⎪ÍÏù%s3ù=Ï9

⎦⎪ÍÏ≈s3ù=Ï9

/ä3s%%sV‹ÏΒ

/ä3s)≈sV‹ÏΒ

⎦⎫ÏϑÏ9%©à9$$Î/

⎦⎫ÏϑÏ=≈©à9$$Î/

#θãã%sÜtGó™$#

#θãè≈sÜtGó™$#

(#ρ߉yδ$y_uρ (#ρãy_$yδuρ

(#ρ߉yγ≈y_uρ #ρãy_$yδuρ

Ĩ$¨Ζ=Ï9 ßìÏù$oΨtΒuρ

Ĩ$¨Ζ=Ï9 ßìÏ≈oΨtΒuρ

’qΒ$tGuŠø9$#

’yϑ≈tGuŠø9$#

⎦⎫ÏFÏΡ$s%

⎦⎫ÏFÏΨ≈s%


95

ตารางที่ 5 แสดงการใชอักษรตาอมัฟตูหะฮฺ ( ∝ ) แทนอักษรตาอมัรบูเฏาะฮฺ ( ≥ ) ตัวอยางใน บรรทัดแรก และการใชอักษรที่มีเสียงใกลเคียงกันมาเขียนแทน ตัวอยางในบรรทัดที่ 2 แสดงการ ใชอักษรศอด ( ∩ ) เขียนแทนอักษรสีน ( ℘ ) อักขรวิธีของอบู อัลอัสวัด

อักขรวิธีในอัลกุรอาน

«!$# ÏΕyϑ÷èÏΖÎ/ uρ

«!$# ÏMyϑ÷èÏΖÎ/ uρ

äÝßΤö6tƒuρ âÙÎ6ø)tƒ ª!$#uρ

äÝ+Áö6tƒuρ âÙÎ6ø)tƒ ª!$#uρ

จากตัวอยางขางตนจะเห็นวามีคําในอายะฮฺอัลกุรอานหลายคําที่ไมไดถูกเขียนตาม อักขรวิธีในแบบที่พัฒนาขึ้นมา ดวยเหตุผลเพื่อใหเกียรติแกนักบันทึกรุนแรก(เศาะหาบะฮฺ) ในแง หนึ่ง แตอีกแงหนึ่งเปนหลักฐานแสดงวิวัฒนาการดานอักขรวิธีในภาษาอาหรับ การบันทึกอัลกุรอานนอกจากจะเปนหลักฐานที่แสดงถึงพัฒนาการดานอักขรวิธีแลว ยังมีสวนสําคัญในการพัฒนารูปแบบอักษรอาหรับ เดิมทีอายะฮฺตาง ๆ ของอัลกุรอานจะถูกบันทึกใน สองรู ป แบบด ว ยกั น คื อ การท อ งจํ า และการบั นทึ กตามวั สดุ ต าง ๆ เชน แผ น หนั ง กระดู ก ทาง อินทผลัม เศษภาชนะ แผนหิน และเศษไม ลักษณะหรือรูปแบบอักษรที่ใชเขียนจึงถูกจํากัด ตอมา สมัยอับบาสียะฮฺ ชาวอาหรับไดนําเขากระดาษจากดามัสกัสและไดใชกันอยางแพรหลายจนถึงยุคกลาง และเปลี่ยนมาใชกระดาษที่นําเขามาจากตะวันตก จึงไดเริ่มมีการบันทึกอัลกุรอานลงบนกระดาษ เมื่อเริ่มมีการรวบรวมและบันทึกอัลกุรอานลงบนกระดาษ อักษรอาหรับแบบแรกที่ใช เขียน คือ อักษรคูฟค (Kufic) ซึ่งมีลักษณะเปนเหลี่ยม โดยอักษรนี้ถูกกําหนดใหใชเปนอักษรเฉพาะ สําหรับบันทึกอายะฮฺอัลกุรอาน จนกระทั่งศตวรรษที่ 12 เมื่ออิสลามไดขยายตัวออกไปยังดินแดนตาง ๆ นักบันทึกอัลกุรอานจึงไดประดิษฐอักษรอาหรับขึ้นอีกหลายรูปแบบซึ่งแตละแบบจะมีลายเสนที่ ออนชอย สวยงาม แตกตางกันไปตามจินตนาการของศิลปนหรือนักเขียน จนบางครั้งอาจเปนรูปสัตว คน และภาชนะ


96

ภาพที่ 7 อักษรคูฟค

ที่มา:

D.S. Margoliouth, 1905 : 219

ตัวอักษรประดิษฐ (Calligraphy) ไดกลายเปนงานศิลปะที่สามารถใชไดทุกแห ง อยางรวดเร็วโดยเฉพาะบนตัวอาคาร และเครื่องตกแตง เพราะอิสลามหามใชภาพสิ่งที่มีชีวิต ภายใน แบบคูฟคก็มีแบบพื้นเมืองอยางที่เปนตัวเอียงอยางแบบเปอรเซีย หรือแบบที่ใชในสเปนและแอฟริกา ตะวันออกเฉียงเหนือ จึงเกิดตัวอักษรแบบมัฆรีบียขึ้น เมื่อชาวอาหรับรับเอาการผลิตกระดาษจากจีน ผานเอเชียกลางในศตวรรษที่ 8 มาใช พัฒนาการประดิษฐตัวอักษรก็มีเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งการใช กระดาษในงานเขียนประจําวัน โดยเฉพาะงานดานอักษรศาสตรในศตวรรษที่ 12 มีการใชกระดาษกัน มาก ในที่สุดตัวอักษรคูฟคซึ่งถือวามีไวสําหรับเขียนคัมภีรถูกเลิก และไดมีการนําเอาอักษรใหม 3 แบบที่อิบนุมุกละฮฺรวบรวมไวมาใชเขียนกุรอานแทน คือ ตัวอักษรแบบนัสคฺ มุหักก็อก และร็อยหานีย สวนอีก 3 แบบที่เหลือเก็บไวใชในงานสํานักงาน การเขียนจดหมายและอื่น ๆ สํ า หรั บ ตั ว อั ก ษร ที่ ใ ช เ ขี ย นในงานธุ ร กิ จ การบริ ห าร การค า วั ฒ นธรรม และ วิทยาศาสตร รวมทั้งการตอบโตจดหมาย เปนตัวอักษร หกแบบ ซึ่ง อิบนุมุกละฮฺ (’Ibn Muqlah) ได ประดิษฐขึ้นในตอนตนศตวรรษที่ 10 ใชเปนแบบสําหรับเขียนตัวอักษรประดิษฐของอิสลามมาจนทุก วันนี้ โดยอักษรแตละแบบก็ไดพัฒนาไปอีกมาก คือ มีตัวอักษรแบบ นัสคฺ มุหักก็อก ร็อยหานีย เตากี รุกอะฮฺ ษุลูษ และมัฆรีบีย ซึ่งแตละรูปแบบมีลักษณะโดยสรุปดังตอไปนี้ อักษรแบบนัสคฺ (Naskh) เปนอักษรที่มีความงดงามที่สุดในบรรดาอักษรที่ใชเขียน บัน ทึ กประจําวั นโดยเฉพาะอย างยิ่ ง เป นแบบที่ เหมาะกับการเขียนบนกระดาษมีลักษณะโค งแบบ


97

เรขาคณิต ไมมีโครงสรางที่ซับซอน และยังเขียนงายมีมาตรฐาน จังหวะชองไฟและแบบอักษรยัง สวยงามอีกดวย ดวยเหตุนี้นักคัดลอกจึงนิยมใชอักษรนี้คัดลอกคัมภีร อัลกุรอานและตําราอื่น ๆ ภาพที่ 8 อักษรแบบนัสคฺ

อักษรแบบมูหักก็อก (Muhaqqaq) เปนชื่อเรียกตัวอักษรในยุคแรกที่มีลักษณะเปน เหลี่ยมมุมนอยกวา แบบคูฟคมีจังหวะชองไฟงดงามและมีความประณีตในแบบเปนลักษณะการเขียน ที่มีรายละเอียดมากมายภายหลังจากการคนพบวิธี ผลิตกระดาษในป ค.ศ. 750 อักษรแบบมูหักก็อก จึงไดรับความนิยมสูงขึ้น เพราะสามารถเขียนรายละเอียดสะดวกขึ้นในระหวางสมัยเคาะลีฟะฮฺมะอมูน ไดมีการดัดแปลงรูปแบบมูหักก็อกใหมีสวนโคงมากขึ้น ซึ่งไดพัฒนาตามกฏเกณฑของอิบนิ มุกละฮฺ แตยังคงรักษารูปแบบของรายละเอียดเดิมอยู ลักษณะสําคัญอีกอยางคือ เปนอักษรที่มีสวนเสนตั้งยาว และแทบจะไมมีเสนล้ําใตบรรทัด อิบนุ อัลเบาวาบไดพัฒนาการเขียนอักษรมุหักก็อกไดแบบที่สมบูรณ ที่สุด ซึ่งมีลักษณะเสนโคงถางตื้นและเพิ่มความสูงของเสนแนวตั้งมากขึ้น และแบบอักษรที่ไดรับความ นิยมถึงสี่ศตวรรษที่ใชคัดลอกอัลกุรอาน โดยเฉพาะกลุมอิสลามซีกตะวันออกระหวางศตวรรษที่ 13 และ 14 อียิปตในสมัยราชวงศมัมลูก (Mamlūk) ในอิรักและเปอรเซีย ในราชวงศโมกุล

ภาพที่ 9 อักษรแบบมุหักก็อก

อั ก ษรแบบร็ อ ยหานี ย ( Rayhānīy) เป น รู ป แบบอั ก ษรที่ พั ฒ นาและผสมผสาน ระหว างแบบนัสคฺ (Naskh) และแบบษุลูษ (Thuluth) และมี ลักษณะใกลเ คียงกับแบบมุหักก็อ ก


98

( Muhaqqaq) แต มี ลั ก ษณะเส น เล็ ก ขอบบางกว า ซึ่ ง นิ ย มจารึ ก ด ว ยปากกา ปากตั ด ขนาดกว า ง

ครึ่งหนึ่งของแบบมุหักก็อก สันนิษฐานวาอาจมาจากชื่อของผูประดิษฐแบบอักษรคนแรก คือ อลี อิบนุ อุบัยดะฮฺ อัลร็อยหานีย (‘Alīy ’Ibn ‘Ubaydah al-Rayhānīy) แตอัลกุรอานที่คัดลอกดวยอักษร แบบร็อยหานีย ที่สวยงามที่สุด ซึ่งยังคงอยูในปจจุบันนั้น จารึกโดยลายมือของยากูต อัลมุสตะอฺศิมีย ภาพที่ 10 อักษรแบบร็อยหานีย

อักษรแบบเตากี (Tawqīy) เปนแบบอักษรที่พัฒนามาจากลายมือของสุลตานแหง ราชวงศอับบาสียะฮฺ มีลักษณะใกลเคียงกับอักษรในแบบษุลูษ (Thuluth) แตมีเสนหนาโคงมากกวา และใหความรูสึกหนักแนกวา บางครั้งจึงนิยมใชประดับสวนสําคัญของอัลกุรอาน อักษรแบบเตากีได พัฒนาสมบูรณแบบในปลายศตวรรษ 11 โดยอิบนุ อัลกอเส็ม (’Ibn al-Qāsim) ซึ่งเปนศิษยของ อิบนุ อัลเบาวาบ (’Ibn al-Bawwab) ระหวางปลายศตวรรษ 15 เตากีเปนแบบที่นิยมแพรหลายกัน มากในตุรกี และไดพัฒนาแบบเกิดความหลากหลายมากที่สุดในประเทศนี้ แตไมไดรับความนิยมใน หมูชาวอาหรับ อั ก ษรแบบรุ ก อะฮฺ ( Ruq‘ah) ซึ่ ง เป น แบบแยกย อ ยมาจากแบบนั ส คฺ แ ละษุ ลู ษ ลักษณะรูปทรงคอนไปทางเรขาคณิตและจะเลนตวัดหางสวนปลายของอักษรใกลเคียงกับแบบษุลูษ มาก เปนตัวหนังสือที่ใชเปนสื่อในชีวิตประจําวัน นิยมกันมากในกลุมนักประดิษฐอักษรชาวออตโต มาน (Ottoman) พัฒนาสมบูรณแบบโดย ชัยคฺ หะมะดุลลอฮฺ อัลอะมาสีย (Shaykh Hamadullah al-’Amāsīy) และไดรับความนิยมอยางแพรหลาย ป จจุบันกลายเปนแบบอักษรที่ชาวอาหรับนิยม เขียนในชีวิตประจําวันมากที่สุด ภาพที่ 11 อักษรแบบรุกอะฮฺ


99

อักษรแบบษุลูษ (Thuluth) มีลักษณะแข็ง นิ่ง ขาดลีลาการเคลื่อนไหว ใชสําหรับการ ประดับตกแตง ทั้งในตําราและจารึกบนวัสดุอื่น ๆ แบบษุลูษที่ในการประดับตกแตงไดรับการพัฒนา โดยอิบนุ อัลเบาวาบ และยากูต เปนรูปแบบอักษรที่นิยมใชตกแตงคัมภีรอัลกุรอาน และคัมภีรทาง ศาสนาโดยจะใชตกแตงหัวเรื่อง ชื่อบท และสวนประดับอื่น ๆ แตไมนิยมใชอักษรษุลูษลอกทั้งหมด เนื่องจากยากตอการเขียนและใชเวลานาน ภาพที่ 12 อักษรแบบษุลูษ

อักษรแบบมัฆรีบีย หรืออันดะลูซีย (Maghrībīy or ’Andalūsīy)19 ไดกลาวถึงแบบ ตัวอักษรแบบโคง แบบตาง ๆ มาแลว ทั้งหมดลวนแตเปนแบบที่พัฒนาในประเทศมุสลิมซีกตะวันตก ซึ่งในขณะนั้น จีนนิยมแบบอักษรคูฟคแบบตาง ๆ ซึ่งมีลักษณะเสนตรง ทั้งแนวตั้งและแนวนอนทําให เกิดเปนมุมสัน และใหความรูสึกสงบนิ่ง ขอเสียของคูฟค คือตองบรรจงเขียนไมคลองแคลวที่จะเขียน เพื่อเปนสื่อการเขียนประจําวัน ดังนั้นอักษรแบบคูฟค จึงมีผูพยายามดัดแปลง ปรับปรุงใหมีลักษรณะ โคง เพื่อสะดวกในการใหแพรหลายในประเทศมุสลิมซีกตะวันตก ดวยเหตุนี้เองจึงเกิดเปนแบบอักษร ที่มีลักษณะเสนโคง เรียกวา มัฆรีบีย (Maghrībīy) ซึ่งหมายถึงตะวันตก ภายหลังไดแพรหลายสู ประเทศตาง ๆ ทางตะวันออกเฉียงเหนือของแอฟริกา และสเปน ลักษณะที่สังเกตไดงายคือ มุมของ อักษรมีลักษณะมน สวนหางของตัวอักษรที่ลากลงลาง มีสวนโคงลึกจรดอักษรบรรทัดลางมีลักษณะ การลากเสนคอนขางอิสระ เสนอักษรแนวตั้งสวนปลายบนโคงไปทางซายเล็กนอย นับวาเปนแบบ อักษรโคงซีกตะวันตก ซึ่งมีลักษณะเปนเอกลักษณอีกแบบหนึ่ง ซึ่งแตกตางจากแบบตะวันออกดังที่ กลาวมาแลว (ดลมนรรจน บากา และคณะ, 2529 : 35)

19

พัฒนาจากอักษรคูฟค ประมาณศตวรรษที่ 10 ในเมืองก็อยเราะวาน (Qairawān) ประเทศตูนีเซีย ดวยเหตุนี้บางครั้งจึงเรียกวา แบบ ก็อยเราะวานีย (Qairawānīy)


100

ภาพที่ 13 อักษรแบบมัฆรีบีย (ภาพขวา) อักษรแบบอันดะลูซีย (ภาพซาย)

อักษรแบบฟาริซีย (Fārisīy) มีการพัฒนาตัวอักษรแบบนัสตะอฺลีกฺ เปนอักษรที่มี รูปแบบสวยที่สุด มีลายเสนออนชอย ดวยเหตุผลดังกลาวจึงไดรับความนิยมจากศิลปน เนื่องจาก สามารถทําใหศิลปนจินตนาการถายทอดอารมณ ความรูสึก ผานตัวอักษรออกมาเปนภาพตาง ๆ ได อยางเต็มที่ จนบางครั้งปรากฏเปนภาพคน สัตว และสิ่งของ โดยเปนแบบที่ใชกันมากในขอความที่ เปนภาษาเปอรเซีย ซึ่งเอาตัวอักษรอาหรับไปใชในภาษาของตน และไดสรางแบบอยางการเขียนของ ตนขึ้นและยังคงใชอยูจวบจนปจจุบัน ภาพที่ 14 อักษรแบบฟาริซีย

อักษรแบบตุฆรออ หรือ ตุฆรอ (Tughra) เปนอักษรที่มีรูปแบบเฉพาะมีลักษณะ ผสมระหวางแบบดีวานีย กับแบบษุลูษ ซึ่งรูปแบบในการเขียนไดพัฒนามาจากรอยกําปนของสุลตาน ตีมูริดแหงราชวงศมองโกลในสาสนประกาศสงครามที่สงถึงสุลตานบายะซีด แหงราชวงศออตโตมาน ตอมาถูกพัฒนาจนกลายมาเปนตราประจําราชสํานักของสุลตานใชประทับพระราชโองการ หรือเหรียญ กษาปณ สําหรับคําวาตุฆรอ มาจากภาษาตารตารที่ใชเรียกสุลตาน โดยผูที่นําคํานี้มาใชเปนคนแรก คือ สุลตานมุรอด ที่ 1 (Murād I) แหงราชวงศออตโตมาน


101

ภาพที่ 15 อักษรแบบตุฆรออ

นอกเหนือจากอักษรประดิษฐในแบบตาง ๆ ดังที่กลาวมาขางตนแลว ยังมีอักษรแบบ ดีวานีย (Dīwānīy) ซึ่งนักประดิษฐตัวอักษรในราชอาณาจักรออตโตมานประดิษฐขึ้นเพื่อใชเฉพาะใน ราชสํานัก ดวยเหตุนี้จึงเรียกอักษรในแบบนี้วาดีวานีย อันหมายถึง ราชสํานัก ตอมาก็ถูกใชกันอยาง แพรหลายจากการใชอักษรในแบบดังกลาวทําใหเอกสารที่เขียนขึ้นมีลักษณะเปนเอกลักษณแตกตาง จากเอกสารอื่น ๆ กลาวคือมีลักษณะการเขียนที่พอดีกับเสนบรรทัด และมีการใสเครื่องหมายจุด และ สระในทุกตัวอักษร นอกจากนี้ยังมีแบบอักษรในแบบอื่น ๆ อีก ซึ่งใชกันไมคอยแพรหลายนัก ไดแก ฆุบาร (Ghubar) แบบทุมาร (Tumar) แบบตะอฺลีกฺ (Ta‘līq) และแบบนัสตะอฺลีกฺ (Nasta‘līq) ภาพที่ 16 อักษรแบบดีวานีย

นอกจากอัลกุรอานแลวสาสนของทานศาสนทูตมูฮัมมัด  ที่สงถึงกษัตริยอัลมุเกฺา กิสแหงอียิปตในป ฮ.ศ. 6 ตรงกับ ค.ศ. 628 และจารึกในแผนหินบนหลุมศพที่ถูกพบในอียิปตระบุป ฮ.ศ. 31 ตรงกับ ค.ศ. 652 รวมถึงจารึกบนผนังปราสาท ปอมปราการ และหอคอย ซึ่งถูกคนพบตาม สถานที่สําคัญทางประวัติศาสตรบนคาบสมุทรอาหรับ ก็ถือเปนหลักฐานสําคัญที่บงบอกถึงพัฒนาการ ของอักษรอาหรับในชวงคริสตศตวรรษที่ 7 หรือยุคแหงอิสลาม (Islamic Period)


102

ในปจจุบันนอกจากอักษรอาหรับจะใชเปนภาษาเขียนของกลุมประเทศอาหรับแลวยัง เปนอักษรที่ใชเขียนในภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาไดแก ภาษาเปอรเซีย ภาษาตุรกีกอนที่จะมีการ ปริวรรตอักษรมาใชอักษรโรมาไนซ ภาษาซาวาฮีลี ภาษามาดากัสการ ภาษาซันซีบารและภาษาอุรดู เปนตน นอกจากนี้ ‘Alīy Abd al-Wāhid Wāfīy, (n.d. : 257) พบวาอักษรอาหรับยังถูกใชเปน ตัว เขี ยนในภาษาของชาวสเปนที่ สืบเชื้อสายมาจากชาวอาหรับโดยมีชื่ อ เรี ยกวา ภาษาอั ลฆาเนี ยร หรืออัลฆาเมียรโด ตารางที่ 6 เปรียบเทียบอักษรอาหรับโบราณที่ใชในคาบสมุทรอาหรับ

ที่มา : http://www.mnh.si.edu/epigraphy/e_pre-islamic/fig02_comparativechart.htm [4 June 2007]


103

3.5 ที่อยูอาศัยของชาวอาหรับ ความแตกตางทางภูมิศาสตรสิ่งแวดลอมและวิถีชีวิตรวมถึงอิทธิพลจากภายนอก เปน ตัวกําหนดลักษณะที่อยูอาศัยของชาวอาหรับ ดวยเหตุนี้จะเห็นวารูปแบบที่อยูอาศัยซึ่งปรากฏบน คาบสมุทรอาหรับนั้นมีสามลักษณะดวยกัน คือ กระโจมของชาวเบดูอิน กระทอมของชาวชนบท และ บานปูนของชาวเมือง กระโจมหรือเตนทเปนที่พักอาศัยของชาวเบดูอินหรือพวกเรรอนซึ่งจะประกอบดวย เสา 9 ตน แตละตนสูงประมาณ 5-7ฟุต และคลุมดวยหนังแกะที่ถูกนํามาเย็บติดกันเปนผืนขนาด ใหญ โดยกระโจมแตละหลังจะมีขนาดยาว 20-30 ฟุต และกวางไมเกิน 10 ฟุต พื้นที่ภายในจะถูก แบงออกเปน 2 สวน คือ ดานซายใชเปนที่พักสําหรับผูชาย สวนดานขวาเปนที่พักสําหรับผูหญิงและ เด็ก ซึ่งจะมีการแบงสัดสวนชัดเจนโดยใชพรมที่ทอจากขนสัตวขึงกั้นไว เนื่องจากชาวเบดูอินใชชีวิตแบบเรรอน ฉะนั้นเครื่องใชตาง ๆ ก็จะมีเพียงไมกี่ชิ้น ไดแก เครื่องใชในครัว หีบสําหรับใสของ พรม ถุงใสน้ํา ขาวสาลี และโมหิน ซึ่งเครื่องใชทั้งหมด สามารถเคลื่อนยาย หรือนําติดตัวไปไดในยามที่ยายที่อยูใหม ภาพที่ 17 แสดงลักษณะกระโจมของชาวอาหรับ

ที่มา : Zwemer S.M., 1900 : 267


104

กระทอมเปนที่อยูอาศัยของชาวชนบทโดยทั่วไปจะมีรูปแบบที่แตกตางกันไป ตาม ความแตกตางของพื้นที่ในฮีญาซและเยเมน กระทอมจะถูกสรางใหมีรูปแบบ 6 เหลี่ยม คลายรังผึ้ง ผนั งทํ าจากดิ น เหนี ยว มี ห ลั งคารู ปดอกเห็ ด มุงดวยใบอิ นทผลัมหรื อกก ส วนทางตะวั น ออกของ คาบสมุทรอาหรับ มีรูปทรงสี่เหลี่ยม หลังคาแหลมฝากระทอมทําจากตนกก ใบจาก หรือใบอินทผลัม นํามาสานเขาดวยกันอยางแนนหนา และสามารถตานทานแรงลมและพายุฝนได นอกจากนี้ ในบริเวณ ที่เปนหนองบึงทางภาคใตของประเทศอิรักจะมีลักษณะกระทอมอีกประเภทหนึ่งคือ จะนิยมปลูกบาน โดยใช พ งอ อ มั ด เป น รู ป โค ง ๆ ทํ า เป น บ า นพั ก อาศั ย ใช เ สื่ อ กกเป น หลั ง คาและกั้ น ฝาทุ ก ด า น (Nawāfidh : Madinah Kalbā’(รายการโทรทัศน), 2550) ภาพที่ 18 แสดงลักษณะกระทอมของชาวอาหรับ

ที่มา : Nawāfidh : Bayt ’Arabīy, 2007 บาน อาคารแบบกออิฐถือปูน เปนที่อยูอาศัยของชาวอาหรับในเมืองหรือเขตที่เจริญ ซึ่งจะมีรูปแบบที่แตกตางกัน ในดานสถาปตยกรรม วัสดุที่ใชกอสราง จะขึ้นอยูกับสภาพแวดลอม และ คานิยม ในเยเมนจะพบอาคารขนาดใหญลักษณะเหมือนปราสาท ถูกสรางอยูบนภูเขา โดยใชหินเปน สวนประกอบหลักในการกอสรางซึ่งเปนรูปแบบทางสถาปตยกรรมอันเกาแกที่ไดรับการสืบทอดมา จากบรรพบุรุษ คือ พวกฮิมยาไรต สวนในเมืองแบกแดด บัสเราะฮฺ และทางตะวันออกของคาบสมุทร อาหรับ มักใชสถาปตยกรรมแบบเปอรเซียในการกอสราง ซึ่งลักษณะของบานที่อยูอาศัยจะมีสวน เหมือนและสวนตางไปตามพื้นที่ดังนี้ บานของชาวอิรักจะสรางแบบหลังคาแบน ๆ เปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา โดยจะถูกใชเปน ที่สําหรับเจาของบานและสมาชิกในครอบครัวขึ้นมานอนเลนรับลม ในคืนที่มีอากาศรอน บานของชาว


105

อิรักโดยทั่วไปจะนิยมปลูกอยูรวมกันเปนกลุม สําหรับบานที่อยูในยานที่เจริญแลวของตัวเมือง มักจะ ปลูกเปนแบบตะวันตก บ า นของชาวโอมานจะมี ล านบ า นเป นศู น ย ก ลางสํ า หรั บ ใช ทํ ากิ จ กรรมต าง ๆ ใน ครอบครัว แบงออกเปนหองโดยรอบ สรางดวยอิฐหรือหินเปนกําแพงหนา ปดทึบ มีหนาตางนอยบาน ทั้งนี้เพื่อเปนการปองกันความรอนและความหนาวเย็นของอากาศ รวมทั้งกันลมที่จะพัดพาทรายเขามา ในตัวบานดวย และมีการแบงแยกระหวางบริเวณของสมาชิกในครอบครัวกับสวนที่ใชรับแขก ซึ่งเปน สวนที่ผูชายใชพบปะพูดคุยกัน (Wizārat al-‘Ilām Sultanat ‘Umān, 2001 : 376-377) ภาพที่ 19 แสดงลักษณะอาคารบานเรือนในเยเมน

ที่มา : Nawāfidh : Bayt ’Arabīy, 2007 ที่อยูอาศัยของชาวจอรแดนมักกอสรางดวยดิน อิฐ หรือ หิน เปนทรงสี่เหลี่ยมทึบ หลังคาเรียบ มีประตูและหนาตางนอย ประตูทําเปนซุมโคง กําแพงบานจะมีความหนาเพื่อปองกัน ความรอนและเก็บอากาศภายในบานใหมีความเย็นมักสรางรวมกลุมกันเปนชุมชนทําใหเพิ่มความ แข็งแรง ชาวสหรัฐอาหรับเอมิเรตสจะเลือกใชวัสดุไดเหมาะสมกับการดําเนินชีวิตของผูคน และสภาพแวดลอม ในฤดูหนาวพวกเรรอนอาศัยในเต็นทที่สะดวกในการเคลื่อนยาย และในฤดูรอน สรางที่พักดวยใบปาลมเพื่อใหมีอากาศถายเท ซึ่งเปนวัสดุที่คนอาศัยแถบชายฝงใชสรางเปนที่พัก


106

เชนกัน ในบริเวณตอนในของประเทศ สรางเปนบานถาวร โดยสรางดวยดิน อิฐ หรือดินตากแหง เชื่อมดวยปูนขาวที่ทําจากเปลือกหอยแลวผสมกับดิน มีชานบานเปนศูนยกลางไปสูหองตาง ๆ มีหอง สําหรับใชพบปะสังสรรคของผูชายซึ่งแยกจากสวนใชงานอื่น ๆ ของครอบครัว (Nawāfidh : al-Bait fī al-’Imārāt, 2007)

ชาวคูเวตจะปลูกสรางโดยใหมีลานบาน โดยมีหองอยูรอบ ๆ ตกแตงดวยการทาสี หรื อ ประดั บ โมเสกมี ห อ งพิ เ ศษหรื อ เต็ น ท สํ า หรั บ เป น ที่ พ บปะสั ง สรรค ใ นหมู ผู ช าย รู ป แบบ สถาปตยกรรมที่โดดเดนของคูเวตมีลักษณะเปนหอคอยที่มี 3 ยอดบนฐานเดียวกัน มีโดมบนสวนยอด กาตารมักกอสรางอาคารเปนตึกหลายชั้น กอดวยดินหรืออิฐ มีสวนปลูกตนไมเพื่อลด ความรอน บานจะแบงเปนสัดสวน โดยแบงสวนของครอบครัวออกจากบริเวณที่รับแขกที่เรียกวา มัจ ลิส (Majlis) เปนที่พบปะสังสรรคของผูชาย ซึ่งในการรับแขกมักนั่งกับพื้นหรือเบาะ สวนบานเรือนที่อาศัยของชาวบาหเรนมักสรางเปนทรงสี่เหลี่ยมหลังคาเรียบแบน กอ ผนังสูงและหนาดวยอิฐหรือหิน ฉาบดวยปูน มีหนาตางนอยเพื่อปองกันความรอนจากอากาศและลม พายุภายในแบงเปนสัดสวน มีลานบานเปนศูนยกลางรวมกันเปนชุมชนใหญ 3.6 การใชชื่อ – สกุลของชาวอาหรับ ธรรมเนียมการใชชื่อ นามสกุลเปนวัฒนธรรมที่สะทอนถึงการสืบสายเลือดและวงศ ตระกูล สําหรับชาวอาหรับมีจารีตการใชชื่อที่มีสวนประกอบ 2 – 4 สวน ซึ่งอยูกับพื้นที่หรือประเทศ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. ชื่อ-สกุลที่มี 2 สวน ประกอบดวย ชื่อตัว และบิดา เชน อะหมัด หุเซน, ตอฮา หุเซน, ญะมาล อับดุลนาซิร มักพบในประเทศอียิปต สวนในประเทศเยเมนพบวามักมีการใชชื่อสกุลมี 2 สวน เชนเดียวกัน แตชื่อแรกจะเปนชื่อตัว สวนนามสกุลจะเปนชื่อเผาหรือตระกูล เชน มุฮัมมัด อัลอะรีฟย, สุไลมาน อัซซิฮารีย, เตาฟก อัลฮาลาบีย, และหะสัน อัลกาฟ เปนตน ซึ่งการใชชื่อใน ลักษณะนี้ยังพบไดในกลุมประเทศอาหรับ ในทวีปแอฟริกาเหนือ เชน ลิเบีย ตูนีเซีย แอลจีเรียและ โมร็อกโก เปนตน 2. ชื่อ-สกุลที่มี 3 สวน ประกอบดวย สวนของชื่อตัว คําวา “บิน”20 หรือ “บินตี”21 และชื่อบิดา เชน หุเส็น บิน เฏาะลาล, อัลดุลเลาะ บิน อัลหุสัยนฺ และอีกธรรมเนียมหนึ่งที่พบไดใน ประเทศคูเวต คือการใชชื่อที่มี 3 สวน เชนเดียวกับกรณีแรก แตมีสวนประกอบที่แตกตางกันคือ สวน 20 21

บิน หมายถึง บุตรชาย บินตี หมายถึง บุตรสาว


107

แรกเปนชื่อตัว สวนที่ 2 เปนชื่อบิดา และสวนที่ 3 เปนชื่อปู โดยไมมีการใชคําวา “บิน” คั่นกลาง เชน อับดุลเลาะ อัสสาเล็ม อัศเศาะบาหฺ, อะหฺมัด ญาบิร อัศเศาะบาหฺ เปนตน 3. ชื่อ-สกุลที่มี 4 สวน ประกอบดวย ชื่อตัว คําวาบิน หรือ บินตี ชื่อบิดา และชื่อเผา หรือตระกูล เชน มุฮัมมัด บิน เคาะมีส อัลฟาริซีย, ฮามิด บิน ซุไฮล อัลมะอฺชานีย, ยะมาล บิน ซาเล็ม อัลไกลานีย, คอลิด บิน ซุอูด อัลยะกูบีย, รอชิด บิน หุไมด อัลนุไอมีย และเศาะก็อร บิน มุฮัมมัด อัลกอสิมีย เปนตน โดยการใชชื่อแบบดังกลาวนี้พบไดในประเทศโอมาน และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส สําหรับธรรมเนียมการตั้งชื่อแมวาชาวอาหรับเกือบทั้งหมดจะนับถือศาสนาอิสลาม อาจแตกตางกันดานนิกายที่นับถือ แตธรรมเนียมการตั้งชื่อยังยึดธรรมเนียมแบบดั้งเดิมโดยเฉพาะ ชาวอาหรับในชนบทและเผาเรรอนหรือเบดูอิน ซึ่ง เอส เอ็ม ซเวเมอร (S. M. Zwemer, 1900 : 265-266) กลาววา ชาวเบดูอินมักตั้งชื่อลูกโดยใชชื่อของกลุมดาว นก หรือสัตวที่อาศัยอยูใน ทะเลทราย เชน มะฮา (กวางอาหรับ) และในบางครั้งอาจใชสิ่งที่แมประทับใจ เหตุการณสําคัญ หรือ ลักษณะเดนที่มีอยูในตัวเด็กมาตั้ง ดวยเหตุนี้การตั้งชื่อโดยใชนามของศาสนทูตคนตาง ๆ หรือนาม ของเศาะหาบะฮฺผูใกลชิดจึงพบไดนอยมาก ซึ่งตางกับชาวเมืองที่มีการตั้งชื่อโดยใชธรรมเนียมแบบ อิสลามมากกวา จากการใชชื่อสกุลขางตน แสดงถึงการจัดระเบียบสังคมจากระบบเครือญาติ วงศ ตระกูล การใชชื่อ สกุลเดียวกัน หมายถึง ความเปนคนกลุมเดียวกันหรือเผาเดียวกัน ซึ่งชาวอาหรับยัง ยึดถืออยูอยางมั่นคงแมวาปจจุบันวิถีของชาวอาหรับกําลังเผชิญอยูกับกระแสของความเปลี่ยนแปลง เพื่อยกระดับความเปนอยูของประชาชนใหดียิ่งขึ้นก็ตาม 3.7 พัฒนาการดานการแตงกาย การแตงกายของชาวอาหรับมีพัฒนาการตามการเปลี่ยนแปลงของราชวงศตาง ๆ ที่ สําคัญไดแก ราชวงศอุมัยยะฮฺ และอับบาสียะฮฺ อาจกลาวไดวาเปนยุคแรกที่ชาวอาหรับไดรับเอา วัฒนธรรมจากภายนอก ซึ่งกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยางมากมายในสังคมอาหรับ ในยุคแรกแหงอิสลาม การแตงกายของชาวอาหรับ เปนไปอยางเรียบงาย ดังจะเห็น ไดจากการแตงกายของทานศาสนทูตมุฮัมมัด  รวมทั้งเคาะลีฟะฮฺทั้งสี่ทาน ตางก็ใชชีวิตอยางสมถะ และซื่อสัตย จนบางคนกลาววาทานเหมือนผูทรงศีล ที่อยูอาศัยของทานก็ไมไดเปนปราสาทราชวัง ใหญโต สถานที่ประชุมก็ไมไดสรางอยางวิจิตรพิสดาร ทานอยูในกระทอมอยางภาคภูมิใจและทํามา หาเลี้ยงชีพดวยตนเอง ทํางานดวยมือของตัวเอง ไมมีองครักษคอยพิทักษเพื่อความปลอดภัยสวนตัว ประตูบานของทานเปดอยูเสมอสําหรับคนจนและทานคอยสดับฟงคํารองทุกขของประชาชนดวยตัว


108

ทานเอง โดยแตละทานจะสวมเครื่องแตงกายประกอบดวย เสื้อยาวผาดานหนาโดยตลอด (Qabā’) และคาดดวยเข็มขัดหนัง เสื้อคลุมทําจากขนอูฐ (’Abā’ah) สําหรับสวมทับดานนอกสุด กางเกงขนาด พอดี ตั วยาวประมาณหน าแข ง ส ว นเครื่ อ งต างกายสํ า หรับศี รษะประกอบด วย หมวก ( Tāqīyah) สําหรับสวมกอนพันทับดวยผา และผาพันศีรษะ (‘Imāmah) โดยขนาดของผาจะขึ้นอยูกับคุณวุฒิและ วัยวุฒิ กลาวคือ ผูอาวุโสหรือนักการศาสนาจะสวมผาโพกศีรษะที่มีขนาดใหญ และหนากวาบุคคล ทั่วไป การแตงกายของสตรีอาหรับ ประกอบดวย กางเกงยาว เสื้อแขนยาวผาคอ แลวสวม ทับดวยเสื้อยาว (Ridā’) และเสื้อคลุมยาว (Hibrah) สําหรับสวมทับเวลาออกนอกบาน เพื่อปองกัน ฝุน ดิน ไมใหเปอนเสื้อผา และผาคลุมไวสําหรับพันศีรษะเหลือไวสวนของใบหนา และใชชายผาที่ เหลือพันรอบตนคอ จะไมใชผาคลุมศีรษะแบบสวมเหมือนอยางที่ปรากฏในสังคมมุสลิมไทย โดยการ แตงกายดังที่กลาวมายังคงมีการใชอยูจวบจนปจจุบัน ครั้นสมัยสุไลมาน บิน อับดุลมาลิก เคาะลีฟะฮฺทานที่ 7 ในราชวงศอุมัยยะฮฺ (ค.ศ. 715-717) ไดเริ่มมีการประดับเครื่องตางกาย ซึ่งเปนรูปแบบที่รับมาจากเมืองตาง ๆ เชน เยเมน กูฟะฮฺ และอเล็กซานเดรีย ประชาชนในยุคนั้นมีการประดับประดาเสื้อคลุม กางเกง ผาพันศีรษะและ หมวก (al-Mas‘ūdīy, 1346 : 2/162) นอกเหนือจากการประดับแลว รูปแบบของการแตงกายสวน ใหญยังคงลักษณะของวัฒนธรรมอาหรับแบบดั้งเดิม จนกระทั้ งในยุ คของราชวงศ อั บบาสีย ะฮฺ ช วงที่ 1 (ค.ศ.750-847) ซึ่ งเป นยุ ค ที่ กระแสของวัฒนธรรมเปอรเซีย เขามามีบทบาทเหนือวัฒนธรรมอาหรับ โดยเฉพาะในราชสํานัก ยุคนี้ เครื่องแตงกายแบบเปอรเซียไดกลายมาเปนชุดประจําราชสํานักของราชวงศอับบาสียะฮฺ ซึ่ง อัลเฟรด ฟอน เครเมอร (Alfred Von Kremer) กลาววา “อิทธิพลวัฒนธรรมเปอรเซียตอราชสํานักอับบาสี ยะฮฺ มีมากที่สุดในสมัยของเคาะลีฟะฮฺ อัลฮาดี ฮารูน อัรเราะชีด และอัลมะอมูน เนื่องจาก เคาะลีฟะฮฺ ทั้งสามทานมีที่ปรึกษา หรือคณะบริหารระดับสูงเปนชาวเปอรเซีย” (Hasan ’Ibrāhīm Hasan, 1965 : 3/427)

ในสมัยของอบูญะอฺฟร อัลมันซูร เคาะลีฟะฮฺทานที่ 2 แหงราชวงศอับบาสียะฮฺ (ค.ศ. 754-775) ไดมีการกําหนดใหใ ชหมวกเปอร เซี ย ( Qalansuwah) มีลักษณะยาว ส วนปลายเป น รูปทรงกรวย และมีสีดํา พรอมกับเริ่มมีการตกแตงประดับประดา เครื่องตางกายดวยดิ้นทอง ซึ่งการ แตงกายลักษณะนี้จะจํากัดเฉพาะเคาะลีฟะฮฺเทานั้น ดังภาพของเคาะลีฟะฮฺอัลมุตะวักกิลบนเหรียญ สําหรับเครื่องแตงกายของชนชั้นสูง ประกอบดวย กางเกงตัวใหญ เสื้อเชิรต เสื้อผายาวผาดานหนามัก ทําจากขนสัตว (Midra‘ah) เสื้อคลุมยาว (Sutrah) เข็มขัด และรองเทา ซึ่งทั้งหมดเปนรูปแบบการ แตงกายตามวัฒนธรรมเปอรเซีย สวนสีที่นิยมแตง คือ สีขาว ทั้งนี้เปนอิทธิพลจากคํากลาวของศาสน ทูตมุฮัมมัด  ที่มีใจความวา “อัลลอฮฺทรงสรางสวนสวรรคเปนสีขาว และเครื่องแตงกายที่ดีที่พวก


109

ทานจะสวมใสมันในขณะที่ยังมีชีวิต และเสียชีวิต22 คือสีขาว” ซึ่งคํากลาวนี้แมจะไมทราบที่มาชัดเจน แตผูวิจัยพบตัวบทที่มีเนื้อหาคลายคลึงกับคํากลาวขางตน ดังปรากฏในสุนัน อัตติรมีซีย (1983) กีตาบ อัลญะนาอิซ หะดีษที่ 915 และกีตาบ อัลอาดาบ หะดีษที่ 2734 โดยทานศาสนทูตมุฮัมมัด  ไดกลาววา

‫ﻢ‬ ‫ﻴﺎﹺﺑﻜﹸ‬‫ﻴ ﹺﺮ ﺛ‬‫ﺧ‬ ‫ﻬﺎ ﻣﻦ‬‫ﺽ ﻓﺈﻧ‬ ‫ﻴﺎ ﹺ‬‫ ﺍﻟﺒ‬‫ﻴﺎﹺﺑﻜﹸﻢ‬‫ﻮﺍ ﻣﻦ ﺛ‬‫ﺒﺴ‬‫)) ﺍﻟ‬ (( ‫ﻢ‬ ‫ﺗﺎ ﹸﻛ‬‫ﻣﻮ‬ ‫ﻮﺍ ﻓﻴﻬﺎ‬‫ﻭ ﹶﻛ ﱢﻔﻨ‬ ความวา “พวกทานจงสวมใสเครื่องแตงกายสีขาวเถิด เพราะสีขาว นั้นเปนเครื่องแตงกายที่ดีอยางหนึ่งของพวกทาน และพวกทานจง หอศพดวยผาสีขาวเถิด” (บันทึกโดย al-Tirmīdhīy, 1983 : 915)

(( ‫ﻢ‬ ‫ﺗﺎ ﹸﻛ‬‫ﻣﻮ‬ ‫ﻮﺍ ﻓﻴﻬﺎ‬‫ ﻭ ﹶﻛ ﱢﻔﻨ‬‫ﻴﺐ‬‫ ﻭﹶﺃ ﹾﻃ‬‫ﻬﺮ‬ ‫ﻬﺎ ﹶﺃ ﹾﻃ‬‫ﺽ ﻓﺈﻧ‬  ‫ﻴﺎ‬‫ﻮﺍ ﺍﻟﺒ‬‫ﺒﺴ‬‫)) ﺍﻟ‬ ความวา “พวกทานจงสวมใสสีขาวเถิด เพราะสีขาวนั้นเปนสีที่สะอาด เรียบรอยและบริสุทธิ์ที่สุด และพวกทานจงใชมันหอศพเถิด” (บันทึกโดย al-Tirmīdhīy, 1983 : 2734) วัฒนธรรมการพันศีรษะนั้น ชาวอาหรับไดถือปฏิบัติสืบทอดมาจากบรรพบุรุษตั้งแต ยุ ค ก อ นอิ ส ลาม ( Pre-Islamic Period) เพื่ อ รั ก ษาวั ฒ นธรรมดั ง กล า วในสั ง คมเมื อ ง ช ว ง คริสตศตวรรษที่ 11 สังคมอาหรับโดยเฉพาะในอิรักไดมีการประกาศหามไมใหถอดผาพันศีรษะหรืออิ มามะฮฺ นอกจากในชวงประกอบพิธีฮัจญ ซึ่งนโยบายนี้คลายกับการประกาศใชรัฐนิยมของไทยในสมัย จอมพล ป. พิบูลสงคราม และมีการกําหนดใหใชผาพันศีรษะสีดําในงานพิธีและงานฉลองตาง ๆ ที่มี เคาะลีฟะฮฺเขารวม เนื่องจากสีดําเปนสีประจําราชวงศอับบาสียะฮฺ ดังนั้นในการแตงกายเคาะลีฟะฮฺจะ สวมหมวก (Qalansuwah) และพันทับดวยผา (‘Imāmah) สีดํา

22

หอดวยผาสีขาว


110

ในสมัยเคาะลีฟะฮฺอัลมุสตะอีน (ค.ศ. 862-866) ไดมีคําสั่งใหปรับปรุงแบบเครื่อง แตงกายบางประเภท โดยเฉพาะหมวก (Qalansuwah) ซึ่งเดิมนั้นมีรูปทรงคลายกรวยยาว ใหเล็กลง และมีขนาดพอดีกับศีรษะ และยังสั่งใหมีการขยายแขนเสื้อใหกวางขึ้นอีกสามคืบ เพื่อใชเปนที่เก็บ สิ่งของแกผูสวมใส เชน เงิน หนังสือ หรือเอกสารอื่น ๆ ซึ่งอาดัม เม็ตซ อธิบายวา “วิศวกรใชกระเปา ที่แขนเสื้อสําหรับเก็บอุปกรณ ชางตัดเย็บใชเก็บอุปกรณสําหรับตัดเย็บ นักเขียนใชเก็บตนฉบับ สวน กอฎี23 ใชเก็บคําพิพากษาสําหรับประกาศหลังละหมาดวันศุกร” (Hasan ’Ibrāhīm Hasan, 1965 : 3/444)

ปจจุบันแมวาชาวอาหรับที่อยูตามประเทศตาง ๆ บนคาบสมุทรอาหรับ จะมีวิถีชีวิต ความเปนอยูที่ดีขึ้น แตสําหรับการแตงกายชาวอาหรับยังคงรักษารูปแบบดั้งเดิมไว แมจะมีความ แตกตางจากในอดีตบางตรงวัสดุที่ใชตัดเย็บและรูปแบบที่เปลี่ยนไปตามสมัยนิยม การแตงกายของ ชาวอาหรับมีความหลากหลาย ซึ่งเปนผลมาจากวัฒนธรรมตางถิ่น เราจะพบวัฒนธรรมแบบตุรกีใน พื้นที่ ๆ ที่เคยอยูภายใตการปกครองของอาณาจักรออตโตมาน วัฒนธรรมแบบเปอรเซียน-อินเดีย ในประเทศโอมาน และบาหเรน อยางเชน การสวมหมวกตุรกี (Fez) และผาโพกศีรษะ (Turban) ซึ่ง เปนวัฒนธรรมตุรกีและการนุงผาโสรงในหมูบานชาวประมง ตามชายฝงของประเทศเยเมน โอมาน และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส ซึ่งเปนวัฒนธรรมแบบอินเดีย สําหรับเครื่องแตงกายของชาวเบดูอินซึ่ง เปนการแตงกายแบบดั้งเดิม ประกอบดวย เสื้อเชิ้ตที่ทํามาจากผาฝายเนื้อหยาบ สวมทับดวยเสื้อคลุม ไมมีแขน (’Abba) สวนศีรษะจะคลุมดวยกูฟยะฮฺ (Kūfīyah)24 ซึ่งหมายถึงผาเหลี่ยมพับมุมดาน ตรงกันขามเขาหากันใหเปนรูปสามเหลี่ยมคลุมศีรษะ แลวรัดดวยเสวียนเชือก (‘Iqāl) สําหรับสีและ การประดับเครื่ องแต งกายมีความแตกตางกันไปตามพื้นที่ เชน เดียวกับการใชเ ข็มขัดและมีดพก (Khinjar) การใชรองเทาหุมสนและรองเทาบูทในพื้นที่แถบชายฝงก็เปนสิ่งที่แสดงถึงวัฒนธรรมตาง ถิ่น ภาพที่ 20 อิกอลสําหรับคาดศีรษะ (ภาพซาย) และหมวกกัฟฟยะฮฺ (ภาพขวา)

23 24

กอฎี หมายถึง ผูพิพากษา ในภาษาอาหรับสําเนียงถิ่นเรียกวากัฟฟยะฮฺ (Keffīyeh) หรือ กปเยาะห ในภาษามลายูถิ่น


111

การแตงกายของสตรีชาวเบดูอินประกอบดวย เสื้อคลุมใหญเปดดานขางทํามาจาก ฝาย และมักนิยมใชชุดสีนําเงินเขม หรือสีทึบ สวนผาคลุมที่ใชมีหลากหลายรูปแบบ ในประเทศโอมาน และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส มีประเพณีการใชผาปดเฉพาะหนาสวนบน (จมูก) ซึ่งมีลักษณะคลาย หนากากเหลือไวเฉพาะสวนดวงตาและปาก เรียกวา บุรกุอฺ (Burqu‘) สําหรับพื้นที่ทางตะวันออกของ คาบสมุทรอาหรับซึ่งเคยอยูภายใตการปกครองของตุรกี มีธรรมเนียมการใชผาบาง ๆ สีดําปดสวน ของใบหนาทั้งหมด สวนเครื่องประดับอื่น ๆ ที่นิยมใชไดแก ตางหู และมีการเพนท สวนตาง ๆ ของ รางกายดวยเฮนนา25 รวมถึงการใชแรพลวง (’Ithmid) ทาขอบตา และขนตา ซึ่งจะชวยถนอมสายตา และชวยใหสายตาดีขึ้น ภาพที่ 21 แสดงการใชอุปกรณสําหรับปดหนาของสตรีโอมาน

ที่มา : http://www.omanet.om/english/culture/women_dress.asp?cat=cult [28 July 2007] สําหรับการแตงกายของชาวเมืองไมมีความแตกตางกับชาวเบดูอินมากนัก ผูชายแตง กายดวยเสื้อคลุมยาว (Thōb or Thāwb) สวนใหญนิยมสีขาว ในประเทศโอมานมักนิยมคอกลมแบบ ปดมีพูหอยดานขาง สวนในประเทศเยเมน ซาอุดีอาระเบีย คูเวต และสหรับอาหรับเอมิเรตส มักนิยม คอปก และสวมหมวกแนบศีรษะแลวคลุมทับดวยผาตาหมากรุกที่พับมุมเขาหากันเปนรูปสามเหลี่ยม 25

เฮนนา ไทยเรียก ตนเทียน เปนพืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง นิยมใชใบบดเปนผงผสมกับน้ําอุน หรือน้ํามะนาว ยอมผม เครา และเล็บ หรือ เพนท มือ เทา บางแหงนํามาทาบนศีรษะเด็กออนหลังโกนผมไฟ


112

และคาดดวยเสวียนสีดําที่ทําจากไหม (‘Iqāl) เพื่อตรึงผาใหอยูกับที่ ซึ่งในประเทศสหรัฐอาหรับเอ มิเรตสนิยมแบบมีพูหอยยาวลงมาดานหลัง อนึ่งผาที่ใชคลุมศีรษะมีสองสี คือลายแดงสลับขาวเรียกวา ชุมาฆ (Shumāgh) และสีขาวลวนเรียกวา ฆุตเราะฮฺ (Ghutrah) ในเอมิเรตสมักนิยมสีขาวมากกวาสี แดง สวนในประเทศโอมานและเยเมน ไมนิยมใชหวงคาดบนผาแตจะใชพันศีรษะแทน เรียกวาตุรบัน (Turban) และคาดเข็มขัดหนัง หรือเงินกะทัดรัดและมีกริชรูปโคง (Khinjar) เหน็บที่เอวตามแบบ ประเพณีนิยม ซึ่งมักพบในรูปแบบการแตงกายของผูอาวุโส และในการแตงกายแบบเปนทางการตาม ธรรมเนี ย มดั้ ง เดิ ม ของชาวอาหรั บ และการแต ง กายลั ก ษณะนี้ ยัง พบได ใ นบางพื้ น ที่ ข องประเทศ ซาอุดีอาระเบีย สวนเด็ก ๆ มักสวมหมวกซึ่งมีลักษณะที่แตกตางกัน โดยขึ้นอยูกับพื้นที่และความนิยม แทนการใชผาพันศีรษะ ทั้งนี้เด็กผูชายอาหรับจะเปลี่ยนจากการสวมหมวกไปใชผาคลุม และเสวียน พันรอบศีรษะก็ตอเมื่อเขาสูวัยแตงงาน สําหรับชาวอาหรับในเมืองใหญ ๆ จะสามารถพบเห็นการแตง กายตามแบบสากลนิยมไดทั่วไป โดยเฉพาะการแตงกายของสตรีเวลาอยูกับบาน หรือสถานที่ ๆ ไมมี ผูชายปะปน ภาพที่ 22 ผาโพกศีรษะฆุตเราะฮฺ (ภาพขวา) และชุมาฆ (ภาพซาย)

ที่มา: http://www.saudiembassy.or.jp/DiscoverSA/traditionalcostumes.htm# Mens_Costumes [6 April 2007]


113

ภาพที่ 23 การแตงกายของชาวโอมาน

ที่มา: http://www.7is7.com/otto/travel/photos/20051019/oman_traditional_dress.html [28 July 2007]


114

ภาพที่ 24 การแตงกายของชาวอาหรับในกลุมประเทศแถบอาวเปอรเซียยกเวนประเทศโอมาน

ที่มา: ประเสริฐ บินรัตแกว, 15 เมษายน 2550 ภาพที่ 25 การแตงกายของชาวเยเมน

ที่มา: http://www.traveladventures.org/continents/asia/yemenipeople02.shtml [28 July 2007]


115

3.8 ขอมูลทั่วไปของจังหวัดปตตานี 3.8.1 ที่ตั้งทางภูมิศาสตร จังหวัดปตตานีเปนหนึ่งในกลุมจังหวัดชายแดนภาคใต อันประกอบดวย ปตตานี ยะลาและนราธิวาส โดยเปนจังหวัดเดียวที่ไมมีอาณาเขตติดตอกับประเทศเพื่อนบานทางบก มีพื้นที่ ประมาณ 1.2 ลานไร หรือ 1,940 ตารางกิโลเมตร ประชากร 6 แสนกวาคน รอยละ 85.47 นับถือ ศาสนาอิสลาม มีผลิตภัณฑมวลรวมในป 2548 มูลคา 35,361 ลานบาท ประชากรมีรายไดเฉลี่ยตอ หัวตอคนตอป 62,860 บาท สูงเปนอันดับ 11 ของภาค และอันดับที่ 35 ของประเทศ (สํานักงาน จังหวัดปตตานี, 2550 : 25) จังหวัดปตตานี ตั้งอยูริมฝงทะเลดานตะวันออกของภาคใตติดตอกับอาวไทย มีพื้นที่ อยูระหวางละติจูด 06 องศา 32 ลิปดา 48 ฟลิปดาเหนือ ถึงละติจูด 06 องศา 56 ลิปดา 48 ฟลิปดา เหนือ และลองจิจูด 101 องศา 01 ลิปดา 18 ฟลิปดาตะวันออก ถึงลองจิจูด 101 องศา 45 ลิปดา 15 ฟลิปดาตะวันออก มีเนื้อที่ 1,940,356 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 1,212,723 ไร คิดเปน รอยละ 2.7 ของพื้นที่ภาคใต และรอยละ 0.37 ของพื้นที่ประเทศไทย (ครองชัย หัตถา, 2542:3) โดยอยูหางจากกรุงเทพฯ 1,055 กิโลเมตร มีอาณาเขตดานเหนือ และทิศตะวันออกติดกับอาวไทย ทิศใตติดกับอําเภอเมือง อําเภอรามัน จังหวัดยะลา และอําเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส สวนทิศ ตะวันตกติดกับอําเภอเทพา และอําเภอสะบายอย จังหวัดสงขลา 3.8.2 ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดปตตานีแบงเปน 3 ลักษณะ ประกอบดวย พื้นราบ ชายฝงทะเล ซึ่งเปนพื้นที่สวนใหญ ประมาณ 1 ใน 3 ของพื้นที่จังหวัด ไดแก ทางตอนเหนือและทาง ตะวันออกของจังหวัด มีหาดทรายยาว และเปนที่ราบชายฝงกวางประมาณ 10-30 กิโลเมตร พื้นที่ ราบลุมในบริเวณตอนกลาง และตอนใตของจังหวัด มีแมน้ําปตตานี และสายบุรีไหลผาน ที่ดินมีความ เหมาะสมในการเกษตรกรรม และพื้นที่ภูเขา ซึ่งเปนพื้นที่สวนนอยอยูทางตอนใตของอําเภอโคกโพธิ์ อําเภอกะพอ และทางตะวันออกของอําเภอสายบุรี


ภาพที่ 26 แผนที่จังหวัดปตตานี

ที่มา : สํานักสถิติแหงชาติ, 2543 : 230


117

3.8.3 สภาพอากาศ ปริมาณน้ําฝนของจังหวัดปตตานี ระหวางป 2542 ถึง 2547 จะอยูในชวง 1,281.1 มม. ถึง 2,568.3 มม. ฝนตกมากที่สุดในป 2543 วัดไดถึง 2568.3 มม. จํานวนวันฝนตก 164 วัน สวนฝนตกนอยที่สุดในป 2547 วัดได 1,281.1 มม. จํานวนวันฝนตก 140 วัน ตารางที่ 7 แสดงปริมาณน้ําฝนและจํานวนวันที่ฝนตก ระหวางป 2541-2547 มิลลิลติ ร 3000

2526.8 2568.3

2500

2161.7 1885.1

2000

1528.2

1281.1

1500

" ! # ! ้ง"$ป ! ปริมาณน้ํา ฝนรวมทั จํานวนวัน!ที#!่มีฝ"! !นตก#

1000 500

170

164

125

172

149

140

0

ป พ.ศ.

2542

2543

2544

2545

2546

2547

ที่มา : สํานักงานจังหวัดปตตานี, 2548 : 15 ในชวงระหวางป 2542 ถึง 2547 จังหวัดปตตานีมีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปอยูในชวง 27.11 ถึง 28.17 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ําสุดอยูในชวง 20.06-21.98 องศาเซลเซียส และ อุณหภูมิต่ําสุดวัดได 20.06 องศาเซลเซียส เมื่อป 2544 อุณหภูมิสูงสุดอยูในชวง 33.67 ถึง 34.70 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิสูงสุดวัดได 34.70 องศาเซลเซียส ในป 2545 ป 2547 มี อุ ณ หภู มิ สู ง สุ ด 34.50 องศาเซลเซี ย ส อุ ณ หภู มิ ต่ํ า สุ ด 21.90 องศา เซลเซียส และมีอุณหภูมิเฉลี่ย 27.30 องศาเซลเซียส


118

ตารางที่ 8 แสดงอุณหภูมิระหวางป 2542-2547

20

34.5 27.3

21.9

34.18 27.27

21.98

27.51

21.83

27.3

34.7

34.18 20.06

25

33.67 27.11

30

22.19

35

21.9

40

33.76 28.17

องศาเซลเซียส

อุณหภูมิต ่ําสุด อุณหภูมิสูงสุด อุณหภูมิเฉลี่ย

15 10 5 0

ป พ.ศ. 2542

2543

2544

2545

2546

2547

ที่มา : สํานักงานจังหวัดปตตานี, 2548 : 16 3.8.4 ประวัติความเปนมาของปตตานี ชื่อของเมืองปตตานี นั้นเดิมชื่อ “ตานี” ซึ่งมีชื่อปรากฏมายาวนานแลวเมื่อครั้งสมัย มารโคโปโล ออกเดินทางสํารวจดินแดนทางแถบมหาสมุทรอินเดียและทะเลจีนไปอิตาลีเมื่อ พ.ศ. 1833เมื่อถึงที่แหงใดก็เขียนชื่อสถานที่นั้นไว ปตตานีหรือตานี จึงถูกเขียนไว สวนจะมีพื้นฐานที่มา ของการเรียกชื่อนี้มาจากชื่อใดนั้น รัตติยา สาและ, (2544 : 25-27) ไดสรุปไวดังนี้ 1. ทราบวา “ปตานี” กลายเสียงมาจากคําวา “ปะ ตานี” (Pak Tani =พอเฒาตานี) ซึ่งเปนชื่อเรียกพอเฒาหัวหนาชาวประมงในหมูบานแถบชายทะเลแหงหนึ่ง 2. ทราบวา “ปตานี” กลายเสียงมาจากคําวา “ปนไตอีนี” หรือ “ชายหาดแหงนี้”(ปน ไต= ชายหาด, อีนี = นี่, นี้ ) เลากันวาเปนบริเวณที่กระจงขาวโดนสุนัขไลลาเนื้อของสุลตานอิสมาแอล ชาห (พญาตูนักปา) ไลจับแตกระจงตัวนั้นสาบสูญที่ชายหาดแหงนี้ หรือ “ปาตา นิง” 3. กลาววา เปนเอกสารมลายูพงศาวดาร ปตานีที่เกาแกที่สุดเทาที่พบในปจจุบันนี้ และคาดวาเปนเอกสารที่เขียนตั้งแตกอนคริสตศตวรรษที่ 15 หนังสือนี้ระบุวา เมื่อ ค.ศ.750 (พ.ศ. 1293) “มีราชาองคหนึ่งชื่อ สัง ฌายา บังสา (Sang Jaya Bangsa) จากเมืองปาเล็มบัง บนเกาะสุ มาตรา ซึ่งปนศูนยกลางอาณาจักรศรีวิชัยขณะนั้น ไดเขายึดครองอาณาจักรลังกาสุกะจากราฌามาหา


119

บังสา (Raja Mahabangsa) จากนั้นกลาวตอไปอีกวา สังฌายา บังสา ไดเลือกหมูบานซึ่งมีทําเลดี สําหรับสรางเมืองใหมและตั้งชื่อเมืองนั้นตามพอเฒาที่ทําการเกษตรอยูที่นั่น คือ โตะ ตานี (Tok Tani) เนื่องจากชาวบานเรียกทานวา เปาะ ตานี (Pak Tani) จึงทําใหการออกเสียงชื่อนี้กลายเสียง เปน “ปตานี” (Patani) ในระยะตอ ๆ มา 4. คําวา “ปตานี” ใกลเคียงกับคํา “Fathoni” ในภาษาอาหรับที่แปลวา นักปราชญ หรือ ผูทรงความรู คํานี้มักปรากฏทายชื่อปราชญมุสลิมผูมีชื่อเสียงของปตานีในอดีตหลายทาน เชน Sheikh Daud bin Abdullah al-Fathoni (พ.ศ. 2312-2390) Sheikh Wan Ahmad bin Mohamad Zain al-Fathoni (พ.ศ. 2393-2451) หรืออยางทานปูของทานหะยีสุหลง อับดุลกอ เดร คือ Sheikh Zainal Abidin bin Muhamad al-Fathoni ประการที่สอง คือ วัฒนธรรมในการตั้ง ชื่อบานนามเมืองในอดีตมักเปนชื่อ “พืชพันธุ” หรือเปนลักษณะเดนที่เปนปรากฏการณสําคัญของ สถานที่ นั้ น ๆ การใช “นามบุ ค คล” เป น “หมู บ า น” พอจะพบได บ า งแต ค งไม ใ ช น ามของ “ราชอาณาจักร” อยาง “ปตานี” ซึ่งถาเปนนามบุคคลก็คงเปนพระนามของพระมหากษัตริย หรือ “สาย ตระกูล” มากกวา ประการสุดทาย “ฟาฏอนี” เปนสัญลักษณที่บงบอกความหมาย และยืนยันความเปน ราชอาณาจักรอิสลามไดอยางเหมาะสมที่สุด ดังนั้นจึงสรุปไดวา คําวา ปตานี กลายเสียงจากคําวา “ฟาฏอนี” ที่แปลวา “ปราชญ” ข อ สรุ ป ดั ง กล า วอาจไม ต รงกั บ เหตุ ก ารณ ใ นประวั ติ ศ าสตร ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจากคํ า ว า “ฟะฏอนี ย” เพิ่งจะเกิดขึ้น เมื่ อประมาณปลายศตวรรษที่ 18 ในขณะที่ คําวาปะตานีนั้น มีม าตั้ง แต ศตวรรษที่ 14-15 โดยชัยคฺ วัน อะหฺมัด บิน มูฮัมมัด เซน กลาวคือทานไดเปลี่ยนการสะกดตัวอักษร ยาวีของคําวา “ปะตานี” ( ‫ ) ﻓﺘﺎﱐ‬เปน “ฟะฏอนีย” ( ‫ ) ﻓﻄﺎﱐ‬เนื่องจากในภาษาอาหรับเมื่อสะกดตามชื่อ เดิมแลวมีความหมายไมด26ี นอกจากนี้เหตุผลอีกประการหนึ่ง คือหากสังเกตใน ตารีค ปะตานี ฉบับที่ คัดลอกโดย ชัยคฺ ดาวูด บิน อับดุลเลาะ อัลฟะฏอนียเอง ทานใชวิธีการสะกดแบบเดิมคือ ( ‫) ﻓﺘﺎﱐ‬ โดยยังไมมีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ สวนในกรณีของคําวา “อัลฟะฏอนีย” ที่ปรากฏอยูหลังชื่อของนักปราชญ อยางเชน ชัยคฺ ดาวุด บิน อับดุลเลาะ อัลฟะฏอนีย หรือ ชัยคฺ วัน อะหฺมัด บิน มูฮัมมัด เซน อัลฟะฏอนีย และ นักปราชญทานอื่น ๆ นั้น เปนการใชชื่อสกุลตามแบบวัฒนธรรมอาหรับ ซึ่งนิยมใชชื่อของบรรพบุรุษ อาชีพ และสถานที่ หรือเมืองที่เกิดเปนสกุลตอทาย ฉะนั้นในเมื่อทั้ง ชัยคฺ ดาวุด และชัยคฺ วันอะหฺมัด รวมถึงนักปราชญทานอื่นตางก็เปนชาวปตตานี ทานจึงใชชื่อสกุล “อัลฟะฏอนีย” ตอทาย ในขณะที่ 26

คําวา ฟะตานี ( ‫ ) ﻓﺘﺎﱐ‬หมายถึง ผูกอหายนะ สวนคําวา ฟะฏอนี ( ‫ ) ﻓﻄﺎﱐ‬หมายถึง ผูทรงความรู หรือปราชญ


120

ชัยคฺ อิสมาแอล บิน หะยีมุฮัมมัด อัสสัมลาวีย เอง แมวาทานจะเปนชาวปตตานีแตกลับใชชื่อสกุล ตอทายเปน “อัสสัมลาวีย” หมายถึงชาวสะมือลา แทน นอกจากนี้ในกรณีของโตะครู หะยีวันอิดริส บิน หะยีวันอาลี หรือบาบอเยะห ทานก็เคยถูกตั้งชื่อเลนวา “อัลค็อยยาต” หมายถึง ชางตัดเย็บ เนื่องจาก ในขณะที่ทานศึกษาอยู ณ นครมักกะฮฺ ทานไดถือโอกาสในชวงกลางคืนเย็บหมวกกปเยาะหขาย เพื่อ เปนรายไดเลี้ยงดูครอบครัว ดังนั้นจากขอมูลดังกลาวจึงสรุปไดวา ปตตานี ไมไดกลายเสียงมาจาก ฟะฏอนีย ใน ภาษาอาหรับ ตรงกันขาม ฟะฏอนีย กลายเสียงมาจาก ปะตานี ในภาษามลายู ดังเหตุผลที่กลาวมา ขางตน ซึ่งสอดคลองกับบันทึกของ ชัยคฺ ฟากิฮฺ อาลี ที่ระบุวา ปะตานีในสมัยนั้นชาวอาหรับเรียกวา “ฟะฏอนีย” และสิ่งที่นาสนใจอีกประการหนึ่งก็คือ การใชคํานําหนา และวลีตอทายพระนามของ กษัตริย จากเดิม “พญาตูนักปา” เปน “สุลตาน อิสมาอีล ชาห ซิลลุลลอฮฺ ฟล อาลัม” แสดงถึงอิทธิพล ของความเชื่อเกี่ยวกับกษัตริยเปนเสมือนสมมติเทพ ซึ่งเปนแนวคิดที่แพรหลายในเปอรเซียในยุคของ ราชวงศซาซานิด โดยภายหลังราชวงศฟาฏิมียะฮฺไดรับเอาแนวคิดนี้มาและเปลี่ยนแปลงความเชื่อเปน อิหมาม27หรือผูนําสูงสุดนั้นเปนผูศักดิ์สิทธิ์28 พรอมกันนี้ก็ไดพยายามเผยแพรแนวคิดผานการจัดตั้ง สถาบัน และจากความพยายามดังกลาวสงผลใหแนวคิดนี้แพรกระจายออกไปยังดินแดนตาง ๆ ที่นับ ถือศาสนาอิสลาม เชน อียิปต เยเมน เปอรเซีย และอินเดีย เปนตน สําหรับประชาชนทั่วไปอีหมามซึ่ง เปนผูนําสูงสุดจึงกลายเปน “เงาของอัลลอฮฺบนพื้นพิภพ” และในขณะเดียวกันก็เปนบุคคลศักดิ์สิทธิ์ที่ รับคําบัญชาโดยตรงจากพระเจาดวยวิธีการเปดเผย หรือวิวรณ (วะหฺยุ) ดังนั้นผูที่ขัดขืน ตอตาน และ ไมปฏิบัติตามคําสั่งของผูนําสูงสุดจะตองรับโทษตาย เพราะถือวาขัดขืนคําสั่งของพระเจา สําหรับคํานํา หนาที่นิยมใช ไดแก อิหมาม ศอฮิบุซซะมาน สุลตาน อัชชะรีฟ อัลกอฎี เปนตน (Hasan ’Ibrāhīm Hasan, 1965 : 3/252)

ครั้นศาสนาอิสลามไดถูกนํามาเผยแผในเมืองเปอรลักบนเกาะสุมาตราโดยนักเผยแผ ชาวอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามนิกายชีอะฮฺแนวคิดนี้จึงถูกเผยแพรไปพรอม ๆ กับศาสนาอิสลาม เชนกัน แมวาในภายหลังนิกายนี้จะถูกกวาดลางไป แตรองรอยของแนวคิดก็ยังคงปรากฏอยูในวลี ตอทายพระนามของกษัตริย รวมถึงการเปลี่ยนไปรับศาสนาอิสลามนิกายชีอะฮฺของอับดุลลอฮฺ โอรส องคที่ 2 ในสุลตานมาลิก อัศศอลิหฺ ซึ่งตอมาภายหลังไดกอตั้งอาณาจักรอารูบารูมุน และไดรับสมญา นามเปนมาลิก อัลมันซูร (Slamet Muljana, 2006 : 137) ก็เปนการฟนฟูและอุปถัมภความเชื่อใน นิกายนี้ไดอีกทางหนึ่ง อิหมาม ตามความเชื่อของกลุมชีอะฮฺนิกายอิมามียะฮฺ มีตําแหนงเทากับทานศาสนทูตมุฮัมมัด  และมีตําแหนงเหนือกวาบรรดานบี และสิ่งที่ถูกบังเกิดอื่น ๆ (มุหัมมัด มันซูร นุอฺมานีย, 2531 : 89) 28 คลายกับเทวราช (King-God) 27


121

นอกจากนี้เกี่ยวกับที่มาของชื่อปตตานีนักวิชาการอยาง ประพนธ เรืองณรงค, อางถึง ใน สุ จิ ต ต วงษ เ ทศ, (2547:336-337) มี ค วามเห็ น ว า ป ต ตานี มาจากคํ า มลายู ว า เปอตานี (Pertani) หมายถึงชาวนา หรือชาวสวน อีกคําหนึ่งคือ ตานี (Tani) หมายถึงทํานา หรือทําสวน ปตตานีคงเปนแหลงกสิกรรมมาตั้งแตอดีต หรืออาจมาจากปตตานีจากคํามลายูอีกคําหนึ่งวาปนตัยอินี (Pantai ini) หมายถึง ชายหาดนี้ ตามตํ า นานไทรบุ รี เ ล า ถึ ง พระธิ ด าเจ า เมื อ งไทรบุ รี (หรื อ รั ฐ เกดะห ข องประเทศ มาเลเซียปจจุบัน) ทรงชางนําขบวนไปสรางบานแปลงเมือง ณ ฝงทะเลตะวันออก ปรากฏนิมิตมงคล คือกระจงเผือกวิ่งตัดหนาขบวนพระที่นั่ง พระธิดาถามวามันวิ่งหายไปไหนแลว ทหารทูลเปนภาษา มลายูวาปนตัยอินี (ปนตัน=ชายหาด, อินี = นี้) หมายถึงกระจงเผือกวิ่งหายไปตรงหาดนี้ เมื่อสราง เมืองตรงที่เกิดนิมิตดังกลาว จึงตั้งชื่อเมืองวาปนตัยอินีตอมากลายเสียงเปนปะตานี นอกจากนี้ในหนังสือตารีค ปะตานี (Tarikh Petani) ซึ่งเขียนโดยชัยคฺ ฟากิฮฺ อาลี ระบุวา “เมืองของกษัตริยแหงราชวงคมหาวังศาแหงลังกาสุกะออนแอกวากษัตริยแหงศรีวิชัย กษัตริย แหงศรีวิชัยเดิมมาจากปาเล็มบัง คนปาเล็มบังชํานาญในการรบทั้งในทะเลและขามฟากทั่วทุกแหงที่ พวกเขาตองการ เพราะความชํานาญในการรบนี้เอง คนมลายูในเมืองลังกาสุกะจึงกลัวพวกเขา กษัตริย แหงศรีวิชัยมีพระนามวา ซังชัยวงศ ในป ค.ศ. 750 กษัตริยองคนี้ไดมาโจมตีเมืองตาง ๆ ในอาณาจักร ลังกาสุกะทุกเมืองจนอาณาจักรลังกาสุกะปราชัย ขณะนั้นเมืองปะตานีเพิ่งจะมีชื่อวาปะตานี” เมื่อกษัตริยองคนี้รบชนะแลว พระองคจะหาสถานที่ท่ีอุดมสมบูรณเพื่อสรางราชวัง ผูคนแถบนั้นมีอาชีพสองอยาง คือ จับปลาในทะเลอยางหนึ่งและอีกอยางหนึ่งคือ เพาะปลูก มีโตะตานี เปนหัวหนาคนในหมูบานนั้น ดังนั้นจึงมีการเขาเผากราบทูลพระองควา สถานที่ของโตะตานีนั้นดิน อุด มสมบู รณ เหมาะที่ จะสรางราชวั ง พระองคจึงสร างราชวัง ในหมู บานของโตะตานี แต ช าวบ าน เรียกวา “ปะตานี” ตอมาเมืองนั้นจึงมีชื่อวา “ปะตานี” นี่คือความเปนมาของปะตานี (อ.ลออแมน และ อารีฟน บินจิ, 2541 : 34) อยางไรก็ตามประชาชนสวนใหญเห็นวา ปตตานี หรือ ปะตานี นั้นมาจากชื่อของพอ เฒาที่อาศัยอยูที่ชายทะเล ซึ่งสอดคลองกับตํานานปะตานี (Hikayat Patani) ที่ระบุวา ผูกอสรางเมือง ปตตานีคือ พญาตูนักพา (Phyatu Nakpa) ผูเปนบุตรของพญาตูกรุบมหายานา (Phyatu krub Mahajana) ซึ่งปกครองเมือง “โกตามะหลีฆัย “ เพราะโกตามะหลีฆัยตั้งอยูไกลจากฝงทะเล ดังนั้นจึง เปนการลําบากตอบรรดาพอคาในการแวะจอด การคาขายภายในรัฐจึงเสื่อมลง และเกิดการขาดแคลน สถานการณเชนนี้เปนเหตุใหประชาชนภายในรัฐออกไปดํารงชีวิตอยูภายนอกเมืองมีผลทําใหประชากร ของโกตามะหลีฆัยมีจํานวนลดลงมากยิ่งขึ้น ในขณะเดียวกันที่บริเวณชายฝงทะเล นั้นคือบริเวณเหลา


122

หมูบานที่บุกเบิกโดยคนมลายูจากสุมาตรา29 มีสถานภาพที่ตรงขามกัน คือ ยิ่งเจริญและมีผูคนเขามา อาศัยเพิ่มขึ้น ตามหนังสือประวัติราชอาณาจักรมลายูปตตานี ซึ่งเขียนโดยอิบรอฮีม ชุกรี ยังกลาว อีกวาหมูบานปะตานี ตั้งอยูในภูมิประเทศที่สวยงามพื้นดินเปนที่ราบ แตสูง และปลอดภัยจากภัยน้ํา ทวม ฝงทะเลนั้นมีรูปรางเปนอาวที่กวาง มีแหลมหนึ่งที่ยาวเหยียดตั้งอยูดานหนาสามารถเปนทาเทียบ เรือที่ดี ดวยความปลอดภัยจากภัยของคลื่นและลมพายุ นอกจากนั้นยังมีแมน้ําสายหนึ่งที่เปนทาง คมนาคมไปมาจากทะเลสู ทางบก โดยในหนั งสื อ ประวัติ ราชอาณาจั กรมลายู ป ตตานี ยังระบุ อี กว า หมูบานปะตานีนี้ตั้งอยูบริเวณกรือเซะในปจจุบัน ดังนั้นจากหลักฐานและคําบอกเลาขางตนผูวิจัยมี ความเห็นวาปะตานี หรือปตตานีนั้นนาจะมาจากคําวา “ปะตานี” ซึ่งมาจากชื่อของผูเฒาที่อาศัยอยู บริเวณชายหาดแหงนั้น ราชอาณาจักรมลายูปตตานีไดสืบทอดมาจากราชอาณาจักรลังกาสุกะ (Langkasuka) ซึ่ ง เป น ราชอาณาจั ก รเดิ ม ก อ นป ต ตานี ( Wheatley P.,1961:19) เป น ที่ ย อมรั บ กั น ทั่ ว ไปว า ราชอาณาจักรศรีวิชัยเปนบรรพบุรุษของราชอาณาจักรมลายูแหงแรกในภูมิภาคชองแคบมะละกา และ ได ข ยายอํ า นาจครอบคลุ ม ถึ ง ราชอาณาจั ก รลั ง กาสุ ก ะในศตวรรษที่ 8 และ 9 ซึ่ ง ถื อ เป น การนํ า ราชอาณาจักรลังกาสุกะมาสูราชอาณาจักรของโลกมลายู (Wheatley P., 1961 : 263-264) ใน ศตวรรษที่ 11 ภายหลังจากที่อาณาจักรศรีวิชัยไดเสื่อมลง บรรดาราชอาณาจักรในภูมิภาคคอคอดกระ สามารถสถาปนาความเป น รั ฐ อิ ส ระของตนได อ ย า งไม ต อ งเกรงกลั ว แต เ ป น การท า ทาย ราชอาณาจักรมัชปาหิตและสุโขทัย โดยเฉพาะอยางยิ่งในศตวรรษที่ 14 การแขงขันดานการคาและ การแผขยายของศาสนาอิสลามในภูมิภาคนี้เริ่มมีผลกระทบตอการแขงขันและกลุมดั้งเดิมที่อยูในแนว รวมเดียวกัน เปนที่เชื่อกันทั่วไปวาราชอาณาจักรมลายูปตตานีไดกอตั้งขึ้นในราวกลางศตวรรษที่ 14 และ 15 ซึ่งเจริญรุงเรืองขึ้นตามเหตุผลทางการเมืองและสภาพแวดลอมทางการคา (Teeuw and D.K. Wyatt, 1970 : 3)

ปตตานีเปนเมืองเกาแกเมืองหนึ่งในแหลมมลายู ในสมัยกลางกรุงศรีอยุธยา โดยมี ศูนยกลางการปกครองอยูบริเวณตําบลบานาและตําบลตันหยงลูโละ เปนเมืองทาที่มีการคาขายติดตอ กับนานาประเทศทั้งในกลุมตะวันออกและตะวันตก ดังจะเห็นไดจากสมญาตาง ๆ ที่ไดรับ อาทิ เมือง ทาพี่นองกับเมืองฮิราโด (Hirado) ของญี่ปุน หรือ แหลงรวมสินคาผาไหมชั้นนํา นอกเหนือจาก กวางตุง (อนันต วัฒนานิกร, 2529 : 2820) เอนเดอรสัน (Anderson) กลาววาความเจริญรุงเรืองของปตตานีโดยพื้นฐานแลว ขึ้นอยูกับการคา โดยเฉพาะในตนศตวรรษที่ 16 ปตตานีไดกลายเปนศูนยกลางทางการคาที่ยิ่งใหญ 29

อยูระหวางประตูชางกับสะพานกือดี (Siti Hawa, 1992 : 3)


123

ตอมาทาเรือปตตานีไดกลายเปนที่จอดเรือจากสุรัต (Surat) กัว (Goa) และอาวโคโรมันเดล (Mandel Coast) และเรือสําเภาจากญี่ปุนและจีนก็เขาเทียบทาเชนกัน สวนมันเดสโล (Mandelslo) กลาววา ชาวพื้นเมืองปตตานีมีผลไมรับประทานแตละเดือนนานาชนิด และไกไดวางไขวันละสองฟอง ดวยเหตุผลดังกลาวเมืองปตตานีมีความอุดมสมบูรณมีพืชพันธธัญญาหารมากมาย เชน ขาว เนื้อวัว แพะ หาน เปด ไก กวาง นกยูง ไกงวง กระตายปา สัตวปกและเนื้อกวางปา โดยเฉพาะอยางยิ่งผลไมมี เปนรอยชนิด (พีรยศ ราฮิมมูลา, 2543 : 3) ราชอาณาจักรมลายูปะตานี อันประกอบดวย จังหวัดปตตานี ยะลา และนราธิวาส มี ประวัติศาสตรเปนมายาวนาน ซึ่งบางครั้งมีสภาพเปนรัฐอิสระและบางครั้งมีสภาพที่ตกอยูภายใตการ ยึ ด ครองของอาณาจั ก รอื่ น ๆ สลั บ กั น ไปมา ซึ่ ง ในที่ นี้ ผู วิ จั ย จะกล า วถึ ง ประวั ติ ค วามเป น มาของ ราชอาณาจักรมลายูปะตานีตั้งแตการปกครองของราชวงศศรีวังศาจนถึงการเปลี่ยนเขามาเปนสาม จังหวัดของประเทศไทยโดยสรุป หลังจากที่พญาตูนักพาไดกอตั้งเมืองปะตานี ตอมาเมื่อพระองคสิ้นพระชนม โอรส ของพระองคซึ่งก็คือราชาอินทิราไดเปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลาม ปะตานีก็กลายเปนรัฐอิสลามโดยมี ชื่อวา “ปะตานี ดารุสสลาม” การเขามาของศาสนาอิสลามกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในสังคมมลายู ทั้งทางดานความเชื่อ ประเพณี การศึกษา และการเมืองการปกครอง (Mohd. Zamberi A. Malek, 1994 : 13)

พญาอินทิรา หลังจากเปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลามแลว ไดเปลี่ยนพระนาม เปน สุลตาน อิสมาอีล ชาห ซิลลุลลอฮฺ ฟล อาลัม (Sultan Isma’il Syah Zillulah Fil A’lam) พระองค ทรงมีโอรสธิดารวม 3 พระองค องคโต เปนโอรสชื่อ เกอรุป พิชัย ไปหนา (Kerub Phicai Paina) องคกลางเปนธิดา ชื่อ ตนกู มหาชัย (Tunku Mahacai) องคเล็กเปนบุตรชาย ชื่อมหาชัย ไปหลัง (Mahacai Pailan) โอรสของสุลตานทั้ง 2 พระองค ไดเปนกษัตริยของปตตานีในเวลาตอมา คือ เกอ รุป พิชัย ไปหนา ไดเปนสุลตาน มูซอฟฟร ชาห และองคสุดทอง คือ มหาชัยไปหลังไดเปนสุลตาน มันซูร ชาห (Teeuw and Wyatt, 1970 : 148, 152) สวนธิดา คือ ตนกู มหาชัย เปลี่ยนพระนามเปน ซีตี อาอิชะห (Siti Aisyah) ซึ่งตอมาพระองคไดเปนมเหสีของสุลตานญาลาล แหงเมืองสาย (สาย บุรี) (Teeuw and Wyatt, 1970 : 11) สุลตานมูซอฟฟร ชาห มีโอรส 2 พระองค คือสุลตานปาติค สยาม (Sultan Patik Siam) และราชาบัมบัง (Raja Bambang) สวนสุลตาน มันซูร ชาห มีโอรส และธิดา รวม 6 พระองค 3 พระองคแรกเปนธิดา ซึ่งตอมาไดเปนกษัตรียปตตานี ไดแก กษัตรียฮิเยา (Raja Hijau) กษัตรียบีรู (Raja Biru) กษัตรียอูงู (Raja Ungu) องคที่ 4 เปนโอรส ชื่อราชาบีมา (Raja Bima) องคที่ 5 รา ชามัส กรันจัง (Raja Emas Kerancan) และองคที่ 6 ชื่อ สุลตาน บาฮาดู ชาห (Sultan Bahadu Syah) ซึ่งไดเปนกษัตริยปตตานี ตั้งแตยังทรงพระเยาว ระหวางป พ.ศ. 2116-2127 กอนกษัตรีย


124

ฮิ เ ยาจะขึ้ น ครองราชย ส ว นกษั ตรี ย กู นิ ง ธิ ด าของกษั ต รี ย อู งู เป น กษั ต รี ย อ งค สุด ท า ยของตระกู ล กษัตริยบูกิต ซิฆุนตัง (Bukit Siguntan) ราชวงศศรีวังสา ซึ่งเปนสายเลือดปตตานีอยางแทจริง (Abdul Halim Bashah, 1994 : 113) หลังจากนั้นกษัตริยปตตานีเปนของราชวงศกลันตันตั้งแตป พ.ศ. 2194 เปนตนมา ในป พ.ศ. 2329 ปตตานีตกอยูภายใตอํานาจของสยาม กษัตริยเชื้อสายกลัน ตันยังคงไดรับแตงตั้งใหเปนเจาเมืองปตตานีตอมาอีกหลายพระองค ครั้นสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก เมื่อป พ.ศ. 2351 ไดมีพระบรม ราโชบายโปรดเกลา ฯ ใหแบงเมืองปตตานีเปนเจ็ดหัวเมืองดังตอไปนี้ 1. เมืองปตตานี 2. เมืองยะลา (ปจจุบันเปนจังหวัดยะลา) 3. เมืองยะหริ่ง (ปจจุบันเปนอําเภอหนึง่ ในจังหวัดปตตานี) 4. เมืองระแงะ (ปจจุบันเปนอําเภอหนึ่งในจังหวัดนราธิวาส) 5. เมืองรามัน (ปจจุบันเปนอําเภอหนึ่งในจังหวัดยะลา) 6. เมืองสายบุรี (ปจจุบันเปนอําเภอหนึง่ ในจังหวัดปตตานี) 7. เมืองหนองจิก (ปจจุบันเปนอําเภอหนึง่ ในจังหวัดปตตานี) โดยใหแตละเมืองมีฐานะเปนเมืองระดับสาม ซึ่งตองขึ้นกับเมืองสงขลา และเจาเมือง ตองไดรับการแตงตั้งโดยตรงจากรัฐบาลสยามที่กรุงเทพฯ เมืองใดที่ประชากรสวนใหญเปนชาวพุทธก็ สงเจาเมืองที่นับถือพุทธศาสนาไปปกครอง และเมืองที่ประชากรสวนใหญเปนมุสลิมก็ใชผูปกครองที่ เปนมุสลิม (รัตติยา สาและ, 2544 : 51) จนกระทั่ง พ.ศ. 2444 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวไดทรงพระกรุณา โปรดเกลาฯใหยกเลิกการปกครองแบบเกาที่ใหเจาเมืองมีอํานาจเด็ดขาดในการปกครอง มาเปนการ ปกครองแบบ “มณฑลเทศาภิบาล” แตยังทรงแตงตั้ง “ราชา” หรือ “สุลตาน” ที่เคยมีอํานาจปกครอง เมืองตาง ๆ ทางแหลมมลายูเหลานั้นใหการปกครองตอไป โดยทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหบุตรเจา เมืองรับราชการอยูเปนเจาเมืองตอไปคลายกับการสืบสกุลวงศ ในระยะแรก ๆ บริเวณเจ็ดหัวเมืองขึ้น ตอขาหลวงใหญมณฑลนครศรีธรรมราช ตอมาในป พ.ศ. 2449 ไดมีการประกาศจัดตั้งมณฑลเทศาภิบาลขึ้นมาอีกมณฑล หนึ่ง เรียกวา “มณฑลปตตานี” (ราชกิจจานุเบกษา, เลม 23 ร.ศ. 125 : 399) มีลักษณะการ ปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาลเชนเดียวกับมณฑลอื่น ๆ ของราชอาณาจักรสยามในเวลานั้น ทั้งนี้ได ปรับปรุงอาณาเขตเสียใหม โดยปรับ 7 หัวเมืองใหเหลือเปน 4 หัวเมือง ไดแก 1. เมืองปตตานี : ประกอบดวย หนองจิก และยะหริ่งเดิม 2. เมืองยะลา : ประกอบดวย ยะลา และรามัน


125

3. เมืองสายบุรี 4. เมืองระแงะ ในป พ.ศ.2459 ไดยกเลิก “เมือง” เปลี่ยนมาใช “จังหวัด” ไดแก จังหวัดปตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดสายบุรี และจังหวัดนราธิวาส (จากเดิมคือเมืองระแงะ) ตอมาไดยกเลิกจังหวัด สายบุรีเหลือเปนอําเภอ และในป พ.ศ. 2476 รัฐบาลไดประกาศใชพระราชบัญญัติวาดวยระเบียบ ราชการแห งราชอาณาจั กรสยาม ให จั งหวั ด ทั้ง สาม คื อ ป ต ตานี ยะลา และนราธิ ว าส ขึ้ นตรงต อ กระทรวงมหาดไทย บริหารการปกครองโดยผูวาราชการจังหวัด ที่กระทรวงมหาดไทยแตงตั้งขึ้น สืบเนื่องมาจนถึงปจจุบัน โดยแตละจังหวัดมีการแบงอํานาจหนาที่ลดหลั่นกันไป เชนในสวนภูมิภาค เปนระดับอําเภอ กิ่งอําเภอ ตําบล และหมูบาน ซึ่งมีนายอําเภอ กํานัน และผูใหญบานเปนผูปกครอง ดูแล ตามลําดับ ตั้งแต พ.ศ. 2542 มีการแบงอํานาจหนาที่ในสวนนี้เปนสวนทองถิ่นดวย คือแบงเปน เทศบาล (รวมสุ ข าภิ บ าลเก า ) องค ก ารบริ ห ารส ว นจั ง หวั ด องค ก ารบริ ห ารส ว นตํ า บล โดยมี นายกเทศมนตรี นายกองคการบริหารสวนจังหวัด และประธานกรรมการบริหารองคการบริหารสวน ตําบล ดูแลตามลําดับ ปจจุบันปตตานีมีเขตการปกครอง 12 อําเภอ คือ อําเภอเมือง อําเภอยะหริ่ง อําเภอ ยะรัง อําเภอปะนาเระ อําเภอสายบุรี อําเภอมายอ อําเภอหนองจิก อําเภอโคกโพธิ์ อําเภอแมลาน อําเภอทุงยางแดง อําเภอกะพอ และอําเภอไมแกน 3.8.5 สังเขปประวัติชนชาติมลายู นักวิชาการไดใหทัศนะที่หลากหลายเกี่ยวกับความหมายในทางภาษาศาสตรของคําวา “มลายู” เวิรนดลี่ (Werndly) ใหความเห็นวา “Melayu” นั้นมาจากคําวา “Melaju” คํานี้มาจากราก คําของคําวา “laju” ที่มีความหมายวา “เร็ว วองไว กระฉับกระเฉง” จากคําดังกลาว สามารถที่จะให ความหมายวาชาวมลายูนั้น มีบุคคลิกลักษณะที่ฉับไวและเกงกาจ การกระทําทุกอยางของพวกเขา รวดเร็วและวองไว (Ismail Hamid, 1991 : 1) ฟาน เดอร ทูก (Van der Tuuk) มีความเห็นวาคําวา “Melayu” นั้นมีความหมาย วา การขามฝง ดวยความเขาใจหรือเหตุผลที่วาชาวมลายูนั้นขามฝงหรือเปลี่ยนศาสนาจากฮินดู-พุทธ มาสู อิ ส ลามซึ่ ง เป น ความเห็ น ที่ ต รงข า มกั บ ความเห็ น ของ ฮอลแลนเดอร ( Hollander) ซึ่ ง ได ใ ห คําอธิบายของคําวา “มลายู” วาหมายถึงผูพเนจรรอนเร เนื่องจากวาชาวมลายูนั้นชอบการพเนจรหรือ การทองเที่ยวไปจากที่หนึ่งสูอีกที่หนึ่ง ดังเชนการเดินทางที่ไปตามเสนทางทะเล ยังสถานที่ตาง ๆ เชน


126

ประเทศฟลิปปนส เกาะกิวชูเหนือ และเกาะกวม พรอมทั้งเกาะตะวันออกไปจนถึงหมูเกาะไมโครนีเซีย เมลานีเซีย เสนทางใตนั้นพวกเขาไดอพยพไปยังเกาะบอรเนียว สุมาตรา ชวา แหลมมลายู รวมทั้งเกาะ มาลากาสี สวนฮารูน อามีนุรรอชีด (Harun Aminurrashid, 1966 : 4) กลาววา คําวามลายูนั้น มาจากคํ า ภาษาสั น สกฤต คื อ คํ า ว า “มลายู ” หรื อ ไม ก็ ม าจากคํ า ว า “มาลั ย ” ในภาษาทมิ ฬ ซึ่ ง มี ความหมายวาภูเขาหรือเนินสูง คนโปรตุเกสออกเสียงเปน “มาลาโย” โอมาร อามิร ฮูเซน (Omar Amir Husin, 1962 : 189) กลาววา คําวามลายูนั้นเปน ชื่อเรียกสถานที่หนึ่งในประเทศเปอรเซียที่มีชื่อวา “Mahaluyah” ชาวมฮาลูยาฮฺ ไดพเนจรไปทาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต และไดตั้งหลักแหลงที่สุมาตราและเกาะบริเวณรอบ ๆ ชนเผามฮาลูยาฮฺ นั้นเองที่ไดนําอิทธิพลเหลานั้นเขามาในวรรณคดีมลายู เขายังไดอธิบายตอไปอีกวาคําวามลายูอาจจะ มาจากบรรดาชื่อของครูซึ่ งไดรับการขนานนามวา “Mulaya” ซึ่ งครูเหลานั้นกลาวกันวาเปน ผูที่ มี บทบาทในการทําใหวัฒนธรรมมลายูเจริญเติบโต ในขณะที่ดารุส อะหมัด (Darus Ahmad, 1967 : 1) มีทัศนะวา คําวามลายูเอามา จากชื่อของตนฆาฮารู (Gaharu) ซึ่งเปนตนไมชนิดหนึ่งที่มีกลิ่นหอม คนอินเดียในสมัยโบราณเคย เรียกแหลมมลายูวา เมืองฆาฮารู ซึ่งสอดคลองกับคําวา Mo-lo-yeu หรือ Mo-lo-you ก็ที่ไดมีการพูด ถึงกัน โดยหลวงจีน อี้ ชิง (I-Tsing) ในบันทึกของทานมาตั้งแตคริสตศตวรรษที่ 7 คํามลายูอาจใช เรียกเผาตาง ๆ ที่กระจัดกระจายตามที่ตาง ๆ ในภูมิภาคมลายู และสุมาตรา ตอมาคําวามลายูนี้เปน ที่รูจักเมื่อรัฐมลายูที่สุมาตรามีชัยเหนือรัฐศรีวิชัยในคริสตศตวรรษที่ 13 จากความเห็นขางตน มลายู เปนชื่อเฉพาะสําหรับกลุมชนชาติหนึ่งในบริเวณหมูเกาะ มลายู หรื อ เป น ชื่ อ ทั่ ว ไปสํ าหรั บ กลุ ม ต า ง ๆ ที่ ใ ช ภ าษาเดี ย วกั น ในตระกู ล ภาษามลายู โพลี นี เ ซี ย (ออสโตรนีเซีย) ในฐานะที่เปนชื่อเฉพาะ กลุมชนชาตินี้อาศัยในบริเวณแหลมมลายู สิงคโปร ภาคใต ของประเทศไทย ชายฝงเกาะสุมาตราตะวันออก ชายฝงเกาะบอรเนียวและในบริเวณอื่น ๆ ในหมูเกาะ มลายู (นูซันตารา) และบริเวณที่พวกมลายูอพยพซึ่งพบไดในทั่วโลก ความหมายทางดานภาษาศาสตร มลายูเปนกลุมคนที่พูดภาษาซึ่งพบไดในทั่วไปใน หมูเกาะเอเชียตะวันออกเฉียงใตไปจนถึงเกาะกวม และตอนเหนือประเทศไตหวัน เวียดนามใตและ กัมพูชาในทวีปเอเชีย เกาะมาลากาซีในทะเลอินเดียและอิหรานตะวันออก นอกจากนี้ความหมายของคําวา “มลายู” นั้นยังมีการพัฒนาตามยุคสมัย และการ เปลี่ ย นแปลงทางการเมื อ งอี ก ด วย ดั งจะเห็น ได ว าบางครั้ งคํ าว า “มลายู ” จะหมายถึ งภาษามลายู บางครั้งจะหมายถึงเชื้อชาติ และบางครั้งจะหมายถึงชนเผา (sukubangsa) และตอมายังจะหมายถึงผู


127

รวมศาสนาอิสลามอีกดวย คนมลายูอาศัยอยูในภาคใตของประเทศไทย มาเลเซีย สิงคโปร บรูไน อินโดนีเซีย บางสวนของประเทศศรีลังกา ประเทศออสเตรเลีย ซาอุดีอาระเบีย และแอฟริกาใต หากมองยอนกลับไปในประวัติศาสตรของดินแดนบนคาบสมุทรมลายู เราจะพบวามี ความแตกตางระหวาง ความหมายของคําวา “ชาวมลายู” ในอดีตกับปจจุบัน กลาวอีกนัยหนึ่ง ความ เขาใจหรือการใชคําวา “ชาวมลายู”นั้นมีพัฒนาการไปตามกาลเวลาในประวัติศาสตรดวย ใน Sejarah Melayu ไดกลาวถึงคําวา “มลายู” วาเปนชื่อของแมน้ําที่ไหลผานภูเขา ซีฆุนตัง(Bukit Siguntang) ซึ่งเปนภูเขาศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อของชาวปาเล็มบัง (Palembang) แหงอาณาจักรศรีวิชัย ตามตํานานซึ่งบันทึกไวในประวัติศาสตรมลายู กลาวไววาเจาชายเชื้อสายของ อเล็กซานเดอรมหาราช (Raja Iskandar Zulkarnain) สามองคไดปรากฏกายขึ้นโดยเหตุอัศจรรย ณ ภูเขาลูกนี้ ตอมาเจาชายทั้งสามองคก็ถูกเชิญไปปกครองเมืองตาง ๆ บนเกาะสุมาตรา โดยองคสุดทาย พระนามวาสังอุตระ (Sang Utara) ซึ่งตอมาเปลี่ยนชื่อเปนศรีตรีบูวานา (Sri Tri Buana) ไดปกครอง ดินแดนปาเล็มบัง ราชาองคสุดทายซึ่งครอบครองปาเล็มบังนี้เองที่ประวัติศาสตรมลายู บันทึกไววา เป น ต น ราชวงศ แ ห ง อาณาจั ก รมะละกาบนคาบสมุ ท รมลายู ดั ง นั้ น คํ า ว า “มลายู ” ที่ ป รากฏใน ประวัติศาสตรมลายู จึงเปนคําที่มีความหมายเฉพาะ กลาวคือใชเพื่อบงบอกเอกลักษณของกลุมชน ดังกลาว ต อ มาเมื่ อ คนกลุ ม นี้ เ ข า มาปกครองมะละกา ด ว ยความรู ค วามสามารถในด า น เศรษฐกิจและความสามารถในการจัดหาทรัพยากรของพื้นที่ จึงทําใหกลุมชนพื้นเมืองเดิมของมะละกา ซึ่งประกอบดวยกลุมชาวเล (Orang Laut) และชาวพื้นเมือง (Orang Asli) เกิดการยอมรับ ผูปกครองคนใหมที่มาจากภูเขาซีฆุนตัง (Bukit Siguntang) ซึ่งมีความเหนือกวาทั้งในแงเชื้อสายและ วัฒนธรรมซึ่งสะทอนถึงการถายทอดวัฒนธรรมที่เหนือกวาของผูอพยพสูกลุมชนพื้นเมือง ทําใหมะละ กา กลายเป น ดิ น แดนที่ มี วั ฒ นธรรมที่ แ ตกต า งจากบริ เ วณโดยรอบ คํ า ว า “มลายู ” จึ ง เริ่ ม พั ฒนา ความหมายครอบคลุมสังคมในดินแดนใหมซึ่งประกอบดวยกลุมชาวเลและชาวพื้นเมือง ซึ่งถูกดึงเขา มาเปนสวนหนึ่งของมะละกา หลังจากที่กลุมผูอพยพจากสุมาตราสามารถตั้งหลักแหลงที่มั่นคงที่มะละกาไดแลว การปรับเปลี่ยนแบบแผนทางวัฒนธรรมที่สําคัญไดเกิดขึ้นอีกครั้งนั่นคือ การนับถือศาสนาอิสลาม หลั ง จากที่ ศ าสนาอิ ส ลามได ตั้ ง มั่ น ในมะละกาแล ว ความเป น มุ ส ลิ ม จึ ง กลายเป น เอกลั ก ษณ ท าง วัฒนธรรมอีกอยางหนึ่งของชุมชน “มลายู” แหงมะละกา ดังนั้นการรับอิสลามของมะละกาไดสงผลให ความหมายของคําวา “มลายู” ครอบคลุมผูอพยพมาจากภูเขาซีฆุนตัง (Bukit Si guntang) และกลุม ชนพื้น เมื องของมะละกา และยังรวมไปถึงการนับถือศาสนาอิสลามดวย ฉะนั้ นการนับถื อศาสนา อิสลามจึงกลายเปนปจจัยสําคัญของการเปน “ชาวมลายู” ซึ่งในสังคมมะละกาถือการเปนมุสลิมวาเปน


128

การ “Masuk Melayu” หรือ “การเขาสูความเปนมลายู” เชนเดียวกับสังคมมลายูในสามจังหวัด ชายแดนภาคใต ดัง นั้ น ความเป น “มลายู ” ซึ่ งรวมถึง การเปนมุ สลิมส งผลใหคํ าวา “มลายู” มี ความหมายกวางขึ้นและเอื้ออํานวยใหกลุมชนและดินแดนที่หลากหลายสามารถนําตัวเองเขาเปนสวน หนึ่งของอาณาจักรแหงนี้ จากขอมูลในขางตนแสดงถึงพัฒนาการของคําวามลายูชวงตาง ๆ ซึ่งสามารถกลาว สรุปไดดังนี้ 1. คําวา “มลายู” มาจากชื่อรัฐมลายูโบราณ จากบันทึกของจีนสมัยราชวงศถัง ไดเขียนถึงชื่อของรัฐที่ตั้งอยูในเกาะสุมาตราวา โมโล-ยู (Mo-Lo-Yue) อยูในระหวางป ค.ศ. 644-645 และนักบวชจีนที่ชื่อวา อี้ชิง ไดบันทึกวา การ เดินทางไปยังประเทศอินเดียของเขานั้น ไดแวะที่ศรีวิชัยเปนเวลา 6 เดือน เพื่อศึกษาภาษาสันสกฤต และจากศรีวิชัย เขาไดเดินทางไปยังมลายู (Mo-Lo-Yue) และพักที่นั่นเปนเวลาอีก 6 เดือน นั่น หมายความวา เดิมทีนั้นมลายูเปนชื่อของอาณาจักรโบราณบนเกาะสุมาตรา 2. คําวา “มลายู” ในฐานะเปนชื่อของ “ชนเชื้อชาติมลายู” ในคริ ส ต ศ ตวรรษที่ 18 เมื่ อ ชาวตะวั น ตกโดยเฉพาะชาวฮอลั น ดาได เ ริ่ ม เข า มา เคลื่อนไหวในภูมิภาคมลายู (Nusantara) ดวยชนพื้นเมืองมีลักษณะผิวและรูปรางที่คลายกัน และ พวกเขายังสามารถพูดภาษามลายูเปนภาษากลางในการสื่อสารระหวางกัน ดังนั้นชนพื้นเมืองดังกลาว จึงถูกชาวตะวันตกเรียกรวมกันวา ชนชาวมลายู (Bangsa Melayu) 3. ความหมายของ “มลายู” หลังป ค.ศ.1400 ที่เกี่ยวของกับศาสนาอิสลาม เมื่อมี การสถาปนาอาณาจั กรมะละกาขึ้ น ในป ค.ศ. 1404 และการเปลี่ยนมานับถื อ ศาสนาอิ ส ลามของ ปรเมศวร การเผยแผศาสนาอิสลามจึงกระจายไปทั่วภูมิภาคมลายู เปนการเผยแผโดยผานการคาขาย การแตงงานกับบุตรีเจาเมือง ไมเพียงแตมีการกอรางของสังคมมุสลิมเทานั้น แตยังเปนการกําเนิด ของวัฒนธรรมมลายูอีกดวย จนเราสามารถเห็นถึงการจัดตั้งรัฐในบริเวณชายฝงทะเล ทั้งในเกาะสุ มาตรา เกาะกาลิมันตัน และภาคใตของประเทศไทยโดยเฉพาะที่ ปตตานี นับตั้งแตนั้นความหมาย ของคําว า “มลายู ” จึ งไม ไดผู กมัดอยูกับความสัมพั นธทางเชื้อชาติ เทานั้น แต ยังเปน การรวมเอา ความสัมพันธทางวัฒนธรรมเดียวกันเขาไปดวย นั้นคือ การนับถือศาสนาอิสลาม พูดภาษามลายู และ ยึดถือขนบธรรมเนียมประเพณีมลายู (Adat-istiadat Melayu) สรุปแลวคําวาชนชาวมลายู หากมองในแงสังคมและวัฒนธรรมในความหมายกวาง แลวจึงหมายรวมถึงคนที่อาศัยอยูในแหลมมลายูและหมูเกาะตาง ๆ ในภูมิภาคมลายู ดวยเหตุนี้กลุม เชื้อชาติมลายูในโลกจึงเปนกลุมคนที่มีจํานวนมากกลุมหนึ่ง อยางไรก็ตามดวยนโยบายของนักลา


129

อาณานิคมซึ่งชอบแยกชาวมลายูใหเปนกลุมเล็กกลุมนอยเพื่อความสะดวกในการปกครอง ดังนั้น อาณาเขตของบรรดาประเทศมลายูจึงถูกกําหนดไวเพียงแคประเทศมาเลเซียเทานั้น ในขณะที่คน มลายูในอินโดนีเซีย และในฟลิปปนส นั้นกลับถูกเรียกวาเชื้อชาติอินโดนีเซียและเชื้อชาติฟลิปปนส 3.8.6 ประวัติความเปนมาของชาวมลายู มีหลักฐานตาง ๆ ที่แสดงวาบริเวณโลกมลายูไดมีมนุษยอาศัยอยูตั้งแตยุคน้ําแข็ง (Pleistosen) อี ดูบัวส (E.Dubois) นักวิชาการชาวฮอลันดาไดพบซากกะโหลก ฟนและกระดูกขา สวนบนที่เขตชนบทชานเมืองเบอกาวัน โซโล (Bekawan Solo) และเขามีทัศนะวาเกาะชวาเปน บริเวณที่มีมนุษยยุคเกาแกที่สุดอาศัยอยู เรียกวา “มนุษยวานร” ซึ่งถนัดเดินดวยเทาที่เชื่อกันวาเปน บรรพบุรุษของมนุษยปจจุบัน กอนสงครามโลกครั้งที่ 2 ระหวางป ค.ศ.1931 ถึง 1934 ไดมีการพบ ซากมนุษยวานรใกลกับหมูบานงันดง (Ngandong) บริเวณที่ลุมของเมืองเบอกาวัน โซโล มากกวา 20 ซาก การพบซากมนุษยครั้งนี้เปนที่รูกันอยางกวางขวาง และซากเหลานั้นก็ถูกนําไปศึกษาวิจัยใน เชิงลึกอยางละเอียด ซากนี้จึงมีชื่อเรียกวา “มนุษยโซโล” ซากเหลานี้ถูกคนพบในชั้นดินที่นักธรณีวิทยา เรียกวาชั้น ไพลสโตชีน (Pleistosen) ยุคกลาง ซึ่งมีอายุระหวาง 200,000 ป ถึง 800,000 ป (Ismail Hamid, 1991 : 5-6)

ในป 1936 มีการพบซากมนุษยอีก 2 ซาก ที่หมูบานเปอรนิง (Perning) ใกลกับ เมืองมาญาเกอรตา (Majakerta) และหมูบานซารีงัน (Sangiran) ซากเหลานี้พบในสวนของชั้นไพลส โตซีน ยุคแรก ซึ่งเกาแกมาก (Lower Pleistocene) มีอายุราว 2,000,000 ป ซากเหลานี้มีชื่อ เรียกวา “มนุษยมาญาเกอรตา” ในป 1941 G.H.R. von Konigngsald ไดพบซากมนุษยซึ่งโบราณ ที่สุดในชั้นดินเกาแก ซึ่งซากนี้เรียกวามนุษยใหญจากชวายุคโบราณ (Paleojavanicus) ซากมนุษยที่ ถูกคนพบหลังสุด ก็คือการคนพบในป ค.ศ. 1973 ที่หมูบานซัมบุงมาจัน (Sambungmacan) จนถึง ขณะนี้ซากมนุษยโบราณที่คนพบที่ชวาจํานวนทั้งสิ้น 41 ซาก ตามทัศนะของโกอินฌารานิงรัต (Koentjaraningrat) มนุษยวานร ซึ่งรวมทั้งมนุษย ใหญจากชาวยุคโบราณนั้นนักวิชาการ ถือวาเปนมนุษยยุคแรกของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตซึ่ง นาจะมีชีวิตอยูในราว 2,000,000 ถึง 200,000 ป กอนคริสตศักราช บรรดานักวิชาการเห็นวาแม มนุษยซึ่งเกาแกที่สุดนี้ยังไมสามารถประดิษฐภาษาของตนขึ้นมา แตก็ไดมีการใชเครื่องมือซึ่งทําดวย หินหรือไม นักวิชาการหลายคน ไดทําการศึกษาถึงบรรพบุรุษของมนุษยยุคแรกที่สุดที่อาศัยใน มาเลเซีย ทอม แฮรริสัน (Tom Harrison, 1972 : 1-3) กลาววามนุษยพวกหนึ่งซึ่งเรียกวา “โฮโม ซา


130

เปยน” (Homo Sapien) ซึ่งตอมาไดกลายมาเปนบรรพบุรุษของชนหลาย ๆ เชื้อชาติ กอนนี้มนุษยโฮ โมซาเปยนนั้นถือวามีอยูเฉพาะในตะวันออกกลางและที่อื่น ๆ เทานั้น โดยไมรวมเอเชียตะวันออก เฉียงใต แตจากการศึกษาวิจัยลาสุดที่เ ปอลาวัน (Pelawan) ประเทศฟลิปปนสและพื้นที่ทาง ตะวันออกของประเทศมาเลเซียของทอม แฮริสัน พบหลักฐานตาง ๆ ของมนุษยเชื้อสายโฮโม ซา เปยน ซึ่งไดอาศัยอยูตามที่ตางๆ ของบริเวณนี้ในสมัยโบราณ โฮโมซาเปยน เปนมนุษยยุคแรก ๆ พวกหนึ่งซึ่งมีรูปรางคลายลิงและเปนที่รูจักกันวาเปนคนชวาโบราณ มนุษยพวกนี้พบวาอาศัยอยูใน มาเลเซียตะวันออก แหลมมลายู มาเลเซียแผนดินใหญ เกาะชวาและฟลิปปนส หลักฐานสวนหนึ่งที่ แสดงวาคนพวกนี้ไดอยูในบริเวณดังกลาวก็คือการคนพบอุปกรณ เครื่องมือที่ใชตัดสิ่งของที่ทําขึ้นจาก หินซึ่งมีอายุเกาแกมาก เครื่องมือเหลานี้มนุษยโฮโมซาเปยน ไดเคยใชมาแลวซึ่งถูกคนพบที่เมืองโกตา ตัมปน รัฐเปรัค และที่อุโมงคเหมืองแรที่เซอมาตัง รัฐซาราวัก ประวัติเกาแกที่สุดของมนุษยที่อาศัยอยูในคาบสมุทรมลายู สามารถยืนยันไดโดย อาศัยหลักฐานของการคนพบสิ่งตาง ๆ ที่ถ้ํานีอะหซาราวัก (Gua Niah Sarawak) ทอม แฮริสัน พรอมคณะจากพิพิธภัณฑซาราวักไดทําการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับหลักฐานการดํารงชีวิตของมนุษยยุค โบราณที่ถ้ําดังกลาวไดพบกะโหลกมนุษยโฮโมซาเปยน และจากการศึกษาปรากฏวากะโหลกมนุษย ถานไมและกระดูกสัตวตาง ๆ นั้นมีอายุราว 40,000 ป ในขณะเดียวกัน โรเบิรต ฟอกซ (Robert Fox) จากพิพิธภัณฑแหงชาติ ประเทศฟลิปปนสไดคนพบกะโหลกที่คลายกันในถ้ําแหงหนึ่งที่เปอลา วัน ทางตอนใตข องประเทศฟ ลิป ปน ส เนื่ องจากกอ นยุ คน้ํ าแข็ ง เมืองเปอลาวั น เป น ส วนหนึ่ง ของ แผนดินใหญที่รวมอยูกับบอรเนียว ดังนั้นจึงอาจกลาวไดวามนุษยโฮโมซาเปยน ซึ่งคนพบที่ถ้ํานีอะห ซาราวัก ไดพเนจรรอนเรไปถึงเปอลาวัน ประเทศฟลิปปนสดวย (Ismail Hamid, 1991 :7) จากการศึกษาชั้นดินในถ้ํานีอะหของนักธรณีวิทยาไดคนพบกระบวนการเปลี่ยนแปลง ของยุคสมัย และในชั้นดินใตสุดพบเครื่องมือที่ทําจากหินอยางหยาบ ๆ สวนในชั้นดินถัดขึ้นมาก็ได พบเครื่องมือที่สวยงามกวาซึ่งทําขึ้นจากดินเขี้ยวหนุมานหรือหินควอไซท เกี่ยวกับประวัติดั้งเดิมของเชื้อชาติมลายูนั้น นักวิชาการมีทัศนะที่แตกตางกัน ฟาน รองเกล (Van Ronkel) มีความเห็นวาเชื้อชาติมลายูไดแกคนพูดภาษามลายูที่อาศัยอยูในดินแดน แหลมมลายู หมูเกาะเรียวลิงกา และบริเวณตาง ๆ ในสุมาตราโดยเฉพาะอยางยิ่งที่ปาเล็มบัง สวนโรบิ กวิน (Robiquin) ใหคําอธิบายเชื้อชาติมลายูอยางกวาง ๆ วา ผูอาศัยอยูในภูมิภาคมลายู สิงคโปร อินโดนีเซีย และฟลิปปนส แตไมรวมนิวกีนี และหมูเกาะเมลานีเซีย (Ismail Hamid, 1991 : 2) Encyclopedia Britannica (CD-ROM), 2003 ใหคําจํากัดความเชื้อชาติมลายูวา เปนผูที่อาศัยอยูในเอเชียตะวันออกเฉียงใตและในหมูเกาะตาง ๆ ในบริเวณใกลเคียง บรรพบุรุษของ พวกเขามาจากกลุมชาติพันธุ ออสโตรนีเซีย โปรโตมลายู มองโกลอยด อินโดนีเซียหรือมลายัน ชาติ พันธุนี้เปนที่เชื่อกันวาแหลงดั้งเดิมอยูที่มลฑลยูนนาน ทางตอนใตของประเทศจีน คนเหลานี้เรรอน


131

มาทางตอนใตลุมน้ําแมโขงในราว ๆ 2,500 ถึง 1,500 ป กอนคริสตศักราช ตอมาพวกเขาไดอาศัย อยูในบริเวณคาบสมุทรมลายู หมูเกาะอินโดนีเซีย มาดากัสการและหมูเกาะติมอร นอกจากนี้ เฮนดริก เคิรน (Hendrik Kern) และฟอน ไฮน-เกลเดิรน (Von Heine-Geldern) กล า วถึ ง ที่ ม าไว ว า มี ก ลุ ม ผู เ ร ร อ นจากยู น นานที่ ไ ด ม าถึ ง หมู เ กาะมลายู ร ะหว างป 2500 และ 1500 กอนคริสตศักราช กลุมแรกเรียกวา มลายูโปรโต (Melayu Proto) และกลุมที่สอง เรียกวา มลายู ดิวโทร (Melayu Deutro) เมื่อกลุมที่สอง คือกลุมดิวโทรมาถึงเอเชียตะวันออกเฉียง ใต ก็ไดรุกไลกลุมคนมลายูโปรโตใหเขาไปในปาเขา กลุมคนโปรโตไดสรางสังคมตนเองขึ้นในพื้นที่ลึก ๆ ในปาอันเปนที่รูจักกันในนาม ญากุน (Jakun) มะหเมอรี (Mahmeri) ญาฮุต (Jahut) เตอมวน (Temuan) และบีดวนดา (Biduanda) ในขณะที่คนมลายูดิวโทร นั้น วากันวาเปนบรรพบุรุษของคน มลายูในปจจุบัน (Abdullah Hassan, 1980 : 23-25) ภาพที่ 27 เสนทางการอพยพของชนมลายู

ที่มา : ดัดแปลงจาก Mahmūd Shākir, 1991 : 45 สวนเอ เอช คีน (A. H. Kean) ซึ่งเปนนักมานุษยวิทยา มีทัศนะวา เชื้อชาติมลายูมี การผสมกันระหวางเชื้อชาติคอเคซอยดกับเชื้อชาติมองโกลอยด (Ismail Hamid, 1991 : 3) ทัศนะนี้


132

เปนทัศนะที่ตั้งอยูบนทฤษฎีที่วา ชาวมลายูมีที่มาดั้งเดิมจากทางตอนเหนือของเอเชียตะวันออกเฉียง ใตดังไดกลาวแลวขางตน และสอดคลองกับแนวคิดในศาสนาอิสลามที่ไดกลาวถึงกลุมชนตาง ๆ วา ลวนแตมีที่มาเดียวกัน นั่นก็คือจากลุมแมน้ําไทกริส-ยูเฟรติส จากนั้นก็ไดกระจายออกไปตั้งถิ่นฐาน ตามที่ตาง ๆ สําหรับเชื้อชาติมลายูเปนกลุมที่เดิมทีตั้งถิ่นฐานอยูในทิเบตแตหลังจากพื้นที่ดังกลาวมี ประชากรเริ่มหนาแนน รวมถึงภัยจากสงครามภายในและความแหงแลงจึงทําใหประชากรบางกลุม ตัดสินใจอพยพยลงทางใตสูคาบสมุทรมลายู และหมูเกาะตาง ๆ ในคาบสมุทรมลายู (Mahmūd Shākir, 1991 : 42-44) ดังแผนที่ซึ่งแสดงไวขางตน 3.8.7 วัฒนธรรมมลายูปตตานี กระบวนการวิ วั ฒ นาการของวั ฒ นธรรมตั้ ง แต ยุ ค สมั ย ก อ นประวั ติ ศ าสตร ซึ่ ง มี อาณาจักรฮินดู – พุทธ และตลอดมาจนถึงยุคอิสลามไดมีการสืบทอดประเพณีที่ทรงคุณคาพรอมกับ ขอคิดซึ่งไดกลายเปนวิถีชีวิตของชนชาติมลายูในปจจุบัน หลังจากที่อิทธิพลของตะวันตกไดเขามาใน ดินแดนมลายูพรอมกับการตั้งถิ่นฐานของชาวอินเดียและชาวจีนในดินแดนแหงนี้ไดกลายเปนพลัง ขับเคลื่อนความเปลี่ยนแปลง ทางวัฒนธรรมใหเกิดขึ้น แมวาปตตานีจะไดชื่อวาศูนยกลางแหงศาสนา อิสลามก็ตาม เริ่มแรกนั้นวัฒนธรรมตั้งอยูบนพื้นฐานของความเชื่อในเรื่องวิญญาณนิยม (Animism) แตหลังจากวัฒนธรรมภายนอกไดซึมซับเขาไปในสังคมมลายู และวัฒนธรรมใดที่ชาวมลายูคิดวามี ความเหมาะสมก็นํามาใชในวิถีชีวิตของตนเองตามการเปลี่ยนแปลงของกาลเวลา วัฒนธรรมมลายูได สรางความเจริญใหกับสังคมแตในขณะเดียวกันชาวมลายูมีระบบการปกครอง เศรษฐกิจและศาสนา ของตนเองทําใหความซับซอนทางวัฒนธรรมมีมากขึ้น ในยุคนั้น คนฮินดูใดนําเทวรูป (Berhala) มาขายใหกับคนลังกาสุกะและคนฮินดูได เผยแผศาสนาพุทธที่เคารพรูปปน เมื่อใดที่คนฮินดูเขามาเผยแผศาสนาจะมีคนมลายูจํานวนมากเขา ไปหอมลอม และคนฮินดูจะอยูภายในวงลอมของคนมลายู คนฮินดูจะแสดงมายากลใหดู และจะรักษา โรคใหจนเปนที่แปลกใจแกคนมลายู ในสมัยนั้นคนมลายูเปนจํานวนมากเชื่อถือและศรัทธาในศาสนา ฮินดู แมแตราชาเองก็บูชาเทวรูป ลังกาสุกะในสมัยนั้นจึงมีการกอสรางศาสนสถานและเทวรูปมากมาย ประมาณตนศตวรรษที่ 10 ศาสนาพุทธไดแพรเขามายังลังกาสุกะ ชาวฮินดูในลังกาสุ กะหันมาเขารับนับถือพุทธศาสนามากขึ้นเปนลําดับ นอกจากนั้นชาวจีนในลังกาสุกะก็รับนับถือพุทธ ศาสนากันมาก ชาวเมืองลังกาสุกะสวนใหญจึงนับถือพุทธศาสนา ขณะเดียวกันความเชื่อและประเพณี ตาง ๆ ตามแบบของฮินดูก็ยังปฏิบัติกันตอ ๆ มา เอกสารหลายแหลงจึงระบุวา ชาวลังกาสุกะนับถือ ฮินดู-พุทธ พุทธศาสนาที่ลังกาสุกะรุงเรืองมาจนถึงพุทธศตวรรษที่ 19 ก็ถึงจุดเสื่อมไปพรอมกับ อาณาจักรศรีวิชัย ตอจากนั้นอาณาจักรมัชปาหิตเขามามีอํานาจแทนที่ ตอมาเมื่อพระเจาปรเมศวรแหง


133

มะละกาไดละทิ้งพุทธศาสนาหันไปนับถือศาสนาอิสลามกองทัพมะละกาไดเขามารุกรานลังกาสุกะ และ ทําลายศาสนสถานจนเกือบหมดสิ้น อยางไรก็ตามความเจริญสูงสุดดานวัฒนธรรมที่แทจริงของสังคมมลายูปตตานีคือ การเกิดขึ้นของวัฒนธรรมประเพณีมลายูสมัยใหมที่มีความเกี่ยวโยงกับศาสนาอิสลาม ถึงแมวาอิสลาม เพิ่งจะแพรหลายในโลกมลายูแตความสัมพันธระหวางวัฒนธรรมมลายูและวัฒนธรรมอาหรับไดเกิด แลวเมื่อกอนศตวรรษที่สอง จึงเปนที่ชัดเจนวาอารยธรรมมลายูเปนการสะทอนความเจริญของอารย ธรรมอิสลามดังปรากฏอยูในรูปปราสาทหิน เครื่องมือเครื่องใช รูปแบบการกอสราง เชน พระราชวัง มัสยิด เครื่องปนดินเผา ศิลปะการตกแตงและที่สําคัญที่สุดคือตนฉบับของหนังสือที่เขียนดวยอักษร ยาวี ซึ่งสามารถพบเห็นไดในพิพิธภัณฑตาง ๆ วัฒนธรรมฮินดูเปนองคประกอบสําคัญของวัฒนธรรมมลายูซึ่งเปนผลมาจากการ แพรหลายของวัฒนธรรม เมื่อหลายศตวรรษที่ผานมากอนการเขามาของอิสลาม การเขามาของอิสลาม ในภูมิภาคนี้ไดกอใหเกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงอยางมากมาย นักวิชาการตะวันตกซึ่งไดศึกษาวิจัย เกี่ยวกับวัฒนธรรมมลายูไดใหความเห็นวาสวนประกอบของอิสลามในวัฒนธรรมมลายูมีนอยมาก ดังที่อาร โอ วินสเต็ด (R.O. Winstedt) ไดกลาวไววา “จนถึงศตวรรษที่ 19 การสรางวัฒนธรรมของ ชาวมลายูรวมทั้งศาสนายังคงมีแรงดลใจที่มาจากอินเดีย” ซึ่งสอดคลองกับคําปรารภของเอส เอ็ม นา กิบ อัลอัตตัส (S.M. Naquib al-Attas) เกี่ยวกับมโนภาพของอิสลามในวัฒนธรรมมลายูวา “เปน เวลาพันกวาปที่อิทธิพลของวัฒนธรรมฮินดูไดครอบงําโลกมลายูตั้งแตคริสตวรรษที่ 1 จนถึงคริสต วรรษที่ 13 ซึ่งทําใหวัฒนธรรมมลายูไดเปลี่ยนแปลงไป วัฒนธรรมที่เกิดขึ้นจากอิทธิพลของศาสนา ฮินดู ดังกลาวไดกลายเปนวิถีชีวิตของสังคมมลายูเกาแกและเปลี่ยนจากอารยธรรมที่มีรูปแบบงาย ๆ กลายเปนสังคมที่มีความซับซอน หลังจากการเขามาของอิสลามไดทําใหสังคมมลายูเปลี่ยนแปลง ความคิ ด ที่ มี ต อ วั ฒ นธรรม หลั ก การศาสนาได ก ลายเป น อุ ด มการณ แ ละวิ ถี ชี วิ ต อุ ด มการณ ที่ มี ความสําคัญที่สุดไดแก หลักเตาฮีด (Akidat al-Tauhid) นั้นก็คือความเชื่อในความเปนเอกภาพของ เอกองคอัลลอฮฺ” (มูฮัมหมัดซัมบรี อับดุลมาลิก, 2543 : 87-88) ซึ่งสามารถแสดงโครงสรางจาก องคประกอบตาง ๆ ไดดังแผนภูมิตอไปนี้


134

ภาพที่ 28 โครงสรางวัฒนธรรมมลายูปตตานี

ในสมัยที่วัฒนธรรมมลายูในยุคลังกาสุกะมีความเจริญรุงเรืองอยูนั้น ปตตานีถือวา เป น รั ฐ ต น แบบของวั ฒ นธรรมชนชาติ ม ลายู ทั้ ง หมด แต ป จ จุ บั น สิ่ ง ดั ง กล า วยากที่ จ ะพบเห็ น ซึ่ ง นักวิชาการและผูเชี่ยวชาญดานวัฒนธรรมมลายูเชื่อวาปตตานีเปนศูนยของวัฒนธรรมมลายู นอกจากนี้ ยังมีคํากลาวอื่น ๆ อีกมากมาย เชน มีบันทึกกลาววาราชอาณาจักรปตตานีมีความเจริญทางดาน เศรษฐกิจและเปนรัฐที่มีความสุนทรียภาพและความเดนเปนเวลาหลายรอยปจึงไมเปนที่แปลกใจวา ทําไมปตตานีจึงไดกลายเปนศูนยกลางทางวัฒนธรรมมลายู จากความปรีชาสามารถของกษัตริยที่ ปกครองปตตานีเปนเวลายาวนานทําใหศิลปะการดนตรี การฟอนรํา การละคร งานเหมืองแร งานสิ่ง ทอ และงานแกะสลักประสบกับความเฟองฟูเทียบไดกับศิลปะของประเทศกัมพูชา แตสิ่งเหลานี้ก็ได เปลี่ยนแปลงไปเมื่อดินแดนที่เคยมีความเจริญแหงนี้ไดถูกตัดขาดจากรัฐมลายูอื่น ๆ และในที่สุด ความเจริญทั้งหมดไดหดหายไปภายใตการปกครองของชนชาติอื่น (Sheppard M. C., 1972 : 10) 3.8.8 สังคมมลายู สังคมมลายูประกอบดวยชาวมลายูที่รวมตัวกันจากความสัมพันธทางการแตงงาน ดวยสายเลือด และความสัมพันธดวยการอุปถัมภ (Ikantan Angkat) โครงสรางทางครอบครัวของ สังคมมลายูสามารถเห็นไดจากระบบเครือญาติและลูกหลานความเปนสมาชิกและบานเรือน อํานาจ และสิทธิการควบคุมและการแตงงาน


135

ครอบครัวของสังคมมลายูสามารถแบงระบบเครือญาติและลูกหลานออกเปน 2 สวน คือครอบครัวที่ยึดถือสายมารดา (Nasab Ibu) ซึ่งเปนชนชาวมลายูที่ยึดถือระบบสังคมผูหญิงเปนใหญ (Adat Perpatih) ที่รัฐเนกรีเซมบีลัน นานิง (Naning) ในรัฐมะละกา รวมทั้งชุมชนมินังกาเบา (Minangkabau) ในเกาะสุมาตรา และครอบครัวที่ยึดถือสายบิดา (Nasab Bapa) ซึ่งเปนชนชาว มลายูสวนใหญที่อยูนอกเหนือจากพื้นที่ของรัฐเนกรีเซมบีลัน นานิง และ มินังกาเบาในเกาะสุมาตรา โดยพื้นฐานแลวสังคมมลายูทั้งสองสวนนี้มีความแตกตางคอนขางมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งโครงสราง ขององคกรทางสังคม แตดวยสังคมมลายูภายใตระบบโครงสรางที่ถูกกําหนดโดยศาสนาอิสลาม ทําให สังคมมลายูของทั้งสองสวนยังคงมีความเหมือนกันอยูในบางสวน 3.8.8.1 บทบาทของครอบครัว บทบาทที่สําคัญของครอบครัวนั้นมีทั้งบทบาทในทางเศรษฐกิจ การศึกษา ศาสนา และการปกครอง โดยทั่วไปสังคมมลายูเปนสังคมการเกษตร ผลผลิตในสังคมการเกษตรนั้นแรงงาน ในครอบครัวมีความสําคัญ ดังนั้นครอบครัวมลายูจึงสามารถถือไดวาเปนหนวยผลิตแหงหนึ่งทาง เศรษฐกิจ ทุกคนที่เปนสมาชิกในครอบครัวสามารถออกแรงงานในการผลิตสวนดังกลาว คนมลายูที่ อาศัยนอกเมืองมักไมจําเปนตองพึ่งพาสถาบันหรือหนวยงานที่พวกเขาตองการ เชน ดานเศรษฐกิจไม วาจะเปนการผลิตอาหาร อบรมสั่งสอนบุตร ซักผา และดูแลบานเรือน และกิจการอื่น ๆ ภายใตกรอบ ของครอบครัว ดังนั้นครอบครัวในสถานะที่ผลิตสิ่งที่สมาชิกครอบครัวตองการ ถึงสามารถกลาวไดวา ครอบครัวมลายูเปนผูมีบทบาททางเศรษฐกิจโดยรวม บทบาทดานการศึกษา ครอบครัวไดสรางจริยธรรมและนิสัยสวนตัวของลูก ๆ สังคม มลายูใหความสําคัญในการอบรมสั่งสอนบุตรหลาน ไมวาจะดวยการอาศัยหลักการของศาสนาอิสลาม กฎหมายประเพณี สํานวนตาง ๆ อยางเชน สํานวนที่วา Kalau hendak Melentur biarlah Semasa rebung (ไมออนดัดงาย ไมแกดัดยาก) Sayangkan anak pukul-pukulkan (รักลูกใหตี) Bapa borek anak rintik (ลูกไมหลนไมไกลตน) สังคมมลายูจะสอนลูกตั้งแตเด็ก ๆ โดยบิดามารดาตาม ความเหมาะสมของงาน ในบานเรือนนั้น ลูก ๆ ที่เปนผูหญิงจะถูกอบรมเพื่อเตรียมการเปนภรรยา และเปนผูนําในบานเรือนตอไป สังคมมลายูไมอาจยอมรับลูกผูหญิงที่ไมสามารถดูแลบานเรือน สวน บทบาทด านศาสนานั้ น ครอบครั วมลายู มี บทบาทในการอบรมสั่ งสอนด านศาสนาแกสมาชิ ก ของ ครอบครัว เชน การละหมาด การถือศีลอด การละหมาดรวมกันภายในครอบครัว ดังนั้นครอบครัว มลายูจึงเปนหนวยหนึ่งของกิจการทางศาสนาอิสลาม


136

ครอบครัวถือเปนหนวยแรกที่ทําหนาที่เปนผูปกปอง ชวยเหลือในยามเจ็บไขไดปวย รวมถึงการชวยเหลือสมาชิกของครอบครัวในขณะที่มีความลําบาก ทุกขยากเปนสิ่งที่ศาสนาอิสลามให ปฏิบัติ คนมลายูใหความสําคัญตอความปลอดภัยและสวัสดิภาพของสมาชิกครอบครัว ในสังคมที่ยึดถือเชื้อสายมารดานั้นเมื่อสมาชิกของครอบครัวถูกขมขืนหรือถูกทําราย เปนหนาที่ของครอบครัวคนที่ถูกขมขืนหรือถูกทํารายตองปกปองหรือเรียกคาเสียหาย ดังปรากฏใน สํานวนที่วา “Cincang pampas, bunuh beri balas” (เลือดตองลางดวยเลือด) คุณลักษณะบางอยางของความเปนครอบครัวของคนมลายูไดสะทอนผานสํานวน ตาง ๆ อาทิ “Cubit paha kanan paha kiri terasa” และ “Sebusuk-busuk daging, dibasuh” นั้น หมายความวา ถาสมาชิกในครอบครัวเจ็บ สมาชิกคนอื่น ๆ ก็จะเจ็บดวย หรือถึงจะมีตําหนิอยางไรเขา ก็เปนสมาชิกของครอบครัว ครอบครัวยินดีตอนรับเสมอ 3.8.8.2 บทบาทของสมาชิกครอบครัว บทบาทของสามีภรรยาในครอบครัวมลายูนั้นไดมีการกําหนดโดยศาสนาอิสลามและ ขนบธรรม ประเพณี โดยทั่วไปแลวอํานาจจะอยูกับสามีหรือบิดา ดังนั้นสามีหรือบิดามีฐานะเปน หัวหนาครอบครัว ดังนั้นการที่สามีมีสถานะเปน “di bawah telunjuk isteri” (อยูภายใตอํานาจของ สตรี) จึงเปนสิ่งที่นาอับอายสําหรับสังคมมลายู และเปนการดูถูกสถานะของสามีในฐานะผูนํา ครอบครัว นอกจากนั้นหัวหนาครอบครัวมีหนาที่รับผิดชอบดานคาใชจาย และดูแลความสุขและความ ทุกขของครอบครัว ซึ่งหากหัวหนาครอบครัวไมสนใจความเปนอยูของสมาชิกในครอบครัว สถานะ ทางสังคมของหัวหนาครอบครัวจะตกต่ําในสายตาของสังคมมลายู ในสั ง คมมลายู โ ดยเฉพาะสั ง คมมลายู ใ นชนบทได มี ก ารแบ ง กรอบหน า ที่ ภ ายใน ครอบครัวอยางชัดเจน โดยสามีหรือบิดาตองรับทําหนาที่ในงานที่หนักเพื่อหาเลี้ยงครอบครัว ดังนั้น สัง คมมลายู จะพบสามีห รื อ บิด าเข าครัว ทํ าอาหาร ซั กผ า หรื อ ดู แ ลบานเรื อนได นอยมาก ใน ขณะเดียวกัน ภรรยาเองก็จะถูกมองวาไมควรทํางานหนักเหมือนกับผูชาย สตรีชาวมลายูไมมีความเปนอิสระเมื่อเปรียบเทียบกับผูชาย โดยสตรีมลายูมักจะใช เวลาสวนใหญหมดไปกับการทํางานบาน เมื่อสตรีชาวมลายูแตงงาน หนาที่พื้นฐานของเธอคือดูแลสามี อบรมสั่ งสอนบุ ตร และดู แ ลบ า นเรื อ น ซึ่ ง เปน สิ่ งที่ เ หมาะสมกั บ การเรี ยกสตรีช าวมลายูว า “Ibu rumah” หรือ “Orang rumah” (แมศรีเรือน) นอกจากนี้ภรรยาในสังคมมลายูยังมีฐานะเปนที่ปรึกษา ของสามี ซึ่งการตัดสินใจในเรื่องที่เกี่ยวกับครอบครัวสวนใหญจะเปนการตัดสินใจรวมกันทั้งสามีและ ภรรยา


137

3.8.8.3 ความสัมพันธทางครอบครัว ความสัมพันธเปนหลักสําคัญของครอบครัวคือความสัมพันธระหวางภรรยาและสามี ในสังคมมลายูนั้น ภรรยาและสามีมักไมแสดงความรักตอกันในที่สาธารณะเพราะการแสดงความรัก ในที่สาธารณะสําหรับชาวมลายูนั้นถือวาเปนสิ่งที่ไมสมควรหรือที่เรียกวา “Tidak Manis” (ไมเหมาะ ไมควร) ความสัมพันธระหวางบิดากับลูก ๆ นั้นตั้งอยูบนพื้นฐานของการ “เคารพเชื่อฟง” หรือ “taat dan hormat” สังคมมลายูไมยอมรับการที่ลูกไมเชื่อฟงคําพูดของบิดามารดา ไมเคารพ บิดามารดา และไมสนใจดูแลบิดามารดาในยามเจ็บปวยหรือแกเฒา ในสังคมมลายูการเคารพเชื่อฟง บิดามารดาไดเกิดขึ้นในหลายวิธีการ รวมทั้งการพูดสุภาพ ไพเราะ มีความประพฤติเรียบรอย และไม สรางความอับอายแกบิดามารดา ลูก ๆ จะไมไดรับอนุญาตเขารวมกิจการของผูใหญไมวาจะเปนการ หารือพูดคุยหรืออื่น ๆ ซึ่งลูก ๆ ถูกมองวายังออนอยู (Mentah) ในขณะที่ผูใหญนั้นถือวาตนเปน ผูใหญ “Lebih awal makan garam” หรือ “อาบน้ํารอนมากอน” แตความสัมพันธระหวางบิดา มารดากับลูกที่โตแลว โดยเฉพาะที่แตงงานมีครอบครัวแลวจะมีสถานะที่คอนขางเสมอภาพเพราะถือ วาลูกที่แตงงานแลวมีประสบการณ ความสัมพันธระหวางญาติพี่นอง โดยทั่วไปแลวตั้งอยูบนพื้นฐานของอายุและชั้นรุน ของบุคคล เพราะในสังคมมลายูนั้นมีหลักอยูวา “Orang-Orang muda dikehendaki menghormati orang tua” (ผูมีอายุนอยกวาตองเคารพผูอาวุโส) 3.8.8.4 สังคมมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใต ประชาชนชาวมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใตมีอยูหลายกลุม ซึ่งสามารถแบงกลุม ประชาชนชาวมลายูดังกลาวออกเปนไดดังนี้ 1. ชาวมลายูทองถิ่น ชาวมลายู ก ลุ ม นี้ เ ป น ชาวมลายู ที่ ตั้ ง ถิ่ น ฐานอยู ใ นจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต ม าเป น เวลานานนับตั้งแตบรรพบุรุษ สวนใหญของชาวมลายูกลุมนี้จะอาศัยอยูในจังหวัดปตตานี ยะลา นราธิวาสและบางอําเภอของจังหวัดสงขลา เชน จะนะ เทพา สะบายอย นาทวี และสะเดา (เฉพาะ ต. ปริก) 2. ชาวมลายูที่เดิมเปนชาวมลายูภายใตการปกครองของอังกฤษ


138

ชาวมลายู กลุ มนี้มีอ ยู 3 กลุม กลุ มแรกนั้ นคือชาวมลายูที่ อาศั ยอยูในจั งหวั ดสตูล ดวยเดิมนั้นจังหวัดสตูลเปนสวนหนึ่งของรัฐเคดะห สําหรับกลุมที่สองคือ อําเภอสะเดา (ยกเวน ต. ปริก) เดิมนั้นพื้นที่สวนนี้เปนสวนหนึ่งของรัฐเคดะห แตไดมอบดินแดนสวนนี้แกประเทศไทย ตาม สนธิสัญญา Anglo-Siam 1909 กลุมที่สามคือดินแดนบริเวณที่เรียกวา a small corner in the Northeast of kelantan ซึ่งเปนดินแดนของรัฐกลันตันที่ไดทําการแลกเปลี่ยนกับเมืองระแงะ โดย ดินแดนดังกลาวในปจจุบัน ซึ่งนิโมฮาเหม็ด บิน นิมูฮัมมัด ซอและห (Nik Mohamed bin Nik Mohd. Salleh, 1974 : 55) กลาววา พื้นที่รัฐกลันตันมอบแกไทยนั้นประกอบดวยบานเขาตันหยง (Bukit Tanjung) บานเจะเห (Che’hel) บานบลาวันหรือไพรวัน บานตาบา และบานสุไหงโกลก รวมทั้งพื้นที่ที่เปนเสนทางผานของแมน้ําสุไหงโก-ลก แมน้ําบางนรา แมน้ําลายาร (Sungai Layar) แมน้ํากายูคละ แมน้ําสุไหงปาดี และแมน้ําเอลอง (Sungai Elong) เมื่อดินแดนเหลานี้ รวมทั้งพื้นที่ บางสวนของอําเภอสะเดาถูกมอบแกไทยแลว ทางรัฐบาลไทยจึงไดประกาศตั้งอําเภอตากใบและ อําเภอสะเดา ตามประกาศจัดตั้งอําเภอสะเดาและอําเภอตากใบ ในราชกิจจานุเบกษา เลม 26 ลงวันที่ 22 สิงหาคม ร.ศ. 128 ชาวมลายูกลุมนี้นอกจากดังที่กลาวมาแลว การอพยพของชาวมลายูใน มาเลเซียก อนได รับเอกราชก็เป นสวนหนึ่งของประชาชนกลุมนี้ เชนการอพยพของชาวมลายูจาก หมูบานตุยุห (Tujuh) ในอําเภอตุมปต รัฐกลันตัน เพื่อตั้งถิ่นฐานในหมูบานตุยุห อ.เมือง จ.นราธิวาส การอพยพแรงงานจากมาเลเซียเขามาประกอบอาชีพในจังหวัดชายแดนภาคใตกอนมาเลเซียจะไดรับ เอกราช ซึ่งลูกหลานของกลุมประชาชนเหลานี้ก็ยังคงมีอยูในจังหวัดชายแดนภาคใต เชน ใน ต.บูกิต อ.เจาะไอรอง จ.นราธิวาส อําเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส หรือแมแตหมูบานกําปงบารู ต.ปะลุรู อ.สุไหงปาดี จ.นราธิวาส (นิอับดุลรากิบ บินนิฮัสซัน, (สัมภาษณ) 20 มิถุนายน 2548) 3. ชาวมลายูที่มีเชื้อสายมาจากอินโดนีเซีย ชาวมลายูที่มีเชื้อสายมาจากชวานั้น มีเปนจํานวนหนึ่ง เนื้อหาของ Hikayat Pattani ไดกลาวถึงการเขามาตั้งถิ่นฐานของกลุมชาวชวาในอดีต นั้นแสดงวาชาวชวานั้นอาศัยอยูในจังหวัด ชายแดนใตมาเปนเวลานานแลว แตดวยกลุมชาวชวาเหลานี้มีความเหมือนในดานชาติพันธุกับคน มลายูทองถิ่น ทําใหพวกเขาถูกกลืนจนกลายเปนสวนหนึ่งของชาวมลายูทองถิ่น ซึ่งรองรอยของความ เปนชวาของกลุมประชาชนดังกลาวไดสูญหายไป ถึงอยางไรก็ตาม ชาวมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใต สวนหนึ่งก็ยังมีที่ยอมรับวาบรรพบุรุษตนเองมาจากอินโดนีเซีย ดังเชนกรณีของ ซิดิก ชาริฟ อดีต รัฐมนตรีชวยกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเปนนาชายของนายอารีเพ็ญ อุตรสินธุ สมาชิกสภาผูแทนราษฎร ระบบสัดสวน เขต 8 โดยบิดาของทานอพยพมาจากเกาะสุมาตราในประเทศอินโดนีเซีย และไดเขามา ตั้งรกรากที่อําเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส นอกจากนี้พีรยศ ราฮิมมูลา, (2543 : 20) ไดใ ห ขอสังเกตวาจากชื่อของหมูบานในจังหวัดปตตานีจํานวนมากที่มีชื่อซ้ําหรือคลายกับชื่อสถานที่ใ น


139

อินโดนีเซีย เชน หมูบานปาเสยาวอ (Paser- Java) ในอําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานีปจจุบัน หมูบาน “ตะลุบัน” (Teluban) ในอําเภอสายบุรี จังหวัดปตตานีเชนกัน ซึ่งเสียงคลาย ๆ กับสถานที่ในชวา “ชวา” เรียกวา “ตูบัน” (Tuban) และอีกสองหมูบานเรียกวา “หมูบานจัมบี” (Kampung Jambi) แหง หนึ่งอยูที่อําเภอเมืองจังหวัดนราธิวาส และอีกแหงหนึ่งอยูที่อําเภอหนองจิก จังหวัดปตตานี ชาวบาน ผูสูงอายุในหมูบานดังกลาว โดยเฉพาะผูนําศาสนาไดใหคําตอบที่นาสนใจวา บรรพบุรุษของเขามาจาก สุมาตราหรือชวา 4. กลุมประชาชนที่มีรากเหงามาจากปากีสถาน อินเดีย และอาหรับ ดวยประชาชนกลุมนี้นับถือศาสนาอิสลามเฉกเชนเดียวกันกับชาวมลายูในจังหวัด ชายแดนภาคใต และแมวาขนบธรรมเนียมประเพณีจะแตกตางจากชาวมลายู รวมทั้งภาษาพูดโดย ภาคใตและแมวาขนบธรรมเนียมประเพณีแตกตางจากชาวมลายู รวมทั้งภาษาพูดโดยบางกลุมพูด ภาษาไทย แตบางกลุมจะใชภาษามลายูทองถิ่น ดังนั้นสังคมมลายูทองถิ่นรับกลุมประชาชนเหลานี้วา เปนสวนหนึ่งของสังคมมลายูดวย ดังเชน สกุลอัลยุฟรี ซึ่งสาเหะอับดุลเลาะห อัลยุฟรี (สัมภาษณ, 19 กุมภาพันธ 2550) ไดเลาวาปูของทานอพยพมาจากเมืองหะเฎาะเราะเมาวต ในประเทศเยเมน ยัง เกาะสุมาตรา ในอินโดนีเซียโดยประกอบอาชีพคาขาย ตอมาก็ไดยายมาตั้งรกรากที่สิงคโปร จากนั้น บิดาของทานก็อพยพมาและตั้งรกรากที่ปตตานี นอกจากสกุลอัลยุฟรีแลวยังมีสกุลอื่น ๆ อีกหลาย สกุลที่ตางก็อพยพมาจากประเทศอาหรับ อาทิ อัลฮาลาบี อัลกาฟ อัลอิดรุส เปนตน 3.8.8.5 การจัดชนชั้นทางสังคมของชาวมลายู สั ง คมมลายู ไ ด มี ร ะบบการจั ด ชนชั้ น ทางสั ง คม โดยตั ร ญั น ฮาดี ญ าญา (Tarjan Hadidjaja, 1964 : 112) ไดกลาวถึงการจัดชนชั้นของสังคมมลายูในอดีตวามีดังตอไปนี้ 1. ชั้น Raja ผูชายที่อยูในชั้น Raja เมื่อแตงงานกับสตรีชั้น Raja ดวยกัน บุตรที่ ไดมาจะมีฐานะเปนชั้น Raja เชนกัน 2. ชั้น Biduanda สตรีที่อยูในชั้น Raja เมื่อแตงงานกับผูชายชั้นขุนนาง (Menteri) บุตรที่ไดมาจะมีฐานะเปนชั้น Biduanda 3. ชั้น Ceteria สตรีที่อยูในชั้น Raja เมื่อแตงงานกับผูชายทั่วไป บุตรที่ไดมาจะมี ฐานะเปนชั้น Ceteria 4. ชั้น Perwara สตรีที่อยูในชั้น Ceteria เมื่อแตงงานกับผูชายทั่วไปบุตรที่ไดมาจะ มีฐานะเปนชั้น Ceteria


140

5. ชั้น Sida สตรีที่อยูในชั้น

Perwara

ฐานะเปนชั้น Sida 6. ชั้น Hulubalang สตรีที่อยูในชั้น จะมีฐานะเปนชั้น Hulubalang

เมื่อแตงงานกับผูชายทั่วไปบุตรที่ไดมาจะมี

Sida

เมื่อแตงงานกับผูชายทั่วไป บุตรที่ไดมา

3.8.8.6 การจัดชนชั้นในสังคมมลายูในภาคใต สํ า หรั บ การจั ด ชนชั้ น ทางสั ง คมของสั ง คมมลายู ใ นจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต นั้ น มี ดังตอไปนี้ 1. ชั้น Raja, Tengku ผูชายที่มีชั้นเปน Raja, Tengku เมื่อแตงงานกับสตรีที่มีชน ชั้นใดก็ตาม บุตรที่ไดจะเปนชั้น Raja, Tengku และ Tuanku 2. ชั้น Nik (นิ, หนิ) สตรีที่มีชั้นเปน Raja, Tengku เมื่อแตงงานกับผูชายทั่วไป หรือผูชายที่มีชนชั้นต่ํากวา บุตรที่ไดจะเปนชั้น Nik 3. ชั้น Wan (แว, วัน, หวัน) สตรีที่มีชั้นเปน Nik เมื่อแตงงานกับผูชายทั่วไปหรือ ผูชายที่มีชนชั้นต่ํากวา บุตรที่ไดจะเปนชั้น Wan 4. ชั้น Che’ (เจะ) สตรีที่มีชั้นเปน Wan เมื่อแตงงานกับผูชายทั่วไปหรือผูชายที่มี ชนชั้นต่ํากวา บุตรที่ไดจะเปนชั้น Che’ 5. ชั้นบุคคลทั่วไป สตรีที่มีฐานะอยูในชั้น Che’ เมื่อแตงงานกับผูชายทั่วไป บุตรที่ ได จะมี ฐานะเปน บุคคลทั่วไป ไม มีคํานํา หนาใด ๆ (นิอั บดุลรากิ บ บิ น นิฮั สซัน, (สั ม ภาษณ) 20 มิถุนายน 2548) อยางไรก็ตาม บางครั้ งในสั งคมมลายูจั งหวัดชายแดนภาคใต อาจตั้ งชื่อบุ ตรของ ตนเองดวยคํานําหนาชื่อวา นิ แว หรือ นิ โดยที่ตนเองไมไดอยูในชั้นของชื่อที่ตั้งไว อาจดวยเปนการ แกเคล็ดตามความเชื่อของบุคคลดังกลาว ซึ่งบางครั้งเกิดจากการเจ็บไขของบุตร หรือการตั้งเพื่อให พนเคราะหบางอยาง นอกจากนั้นสังคมมลายูยังมีการใชชื่อนําหนาอีกหลายอยางเชน Syed, Sayyed เปน คํ าที่ใ ช นําหน าชื่ อ บุ ค คลที่ มีเ ชื้อสายมาจากท านศาสนทู ต มุ ฮั ม มั ด  บางส ว นจะใช คํ าว า Habib, Syarif, Sharif แทนคําวา Syed, Sayyed บุคคลที่ใชคํานําหนาดังกลาวสวนใหญมักจะตามดวย นามสกุลอันเปนที่มาของตระกูลตนเอง เชน อัลยุฟรี อัลอิดรุส อัลอัตตัส เปนตน เชนเดียวกันกับคําวา Sharifah, Habibah เปนคําที่ใชนําหนาชื่อสตรีที่มีเชื้อสายมาจากทานศาสนทูตมุฮัมมัด  บุคคลที่ใช


141

คํานําหนาดังกลาวสวนใหญมักจะตามดวยนามสกุลอันเปนที่มาของตระกูลตนเอง เชน อัลยุฟรี อัลอิด รุส อัลอัตตัส เชนเดียวกันกับ Syed, Sayyed เปนตน 3.9 ภาษามลายู ภาษาเป นวัฒนธรรมอยางหนึ่งของมนุษย ด วยเหตุนี้มันจึ งมีประวัติศาสตร ความ เปนมาของมันเองโดยเฉพาะประวัติของภาษาใดภาษาหนึ่ง ก็จะบอกถึงที่มาหรือการเกิดขึ้นมาของ ภาษา ตลอดจนพัฒนาการในดานการเขียนภาษาใดภาษานั้น ๆ ประวัติการเริ่มตนการใชภาษาเขียนที่ เกาแกที่สดุ จนเกิดขึ้นกับภาษาอียิปตโบราณและภาษาจีน คือประมาณ 5,000 ปที่ผานมา การจะกลาวอยางชัดเจนถึงการกําเนิดของแตละภาษาเปนเรื่องยาก เพราะปญหานี้ได มีการพูดคุยและถกเถียงกันอยางกวางขวางมาตั้งแตในอดีต บรรดานักปราชญและนักวิชาการตางมี ทัศนะและสมมุติฐานแตกตางกัน ดังเชน ปานนีนี (Panini) ซึ่งมีชีวิตอยูในชวงศตวรรษที่ 5 กอน คริสตศักราช โสเครติส (Socrates) พลาโต (Plato) อริสโตเติล (Aristotle) เจ จี แวน เฮนเดอร (J.G. Van Hender) เอฟ แวน ชเลเจล (F.VanSchlegel) และตลอดจนบรรดานักปราชญใน ศตวรรษที่ 20 เดอ คอนดิแลค (De Condilac) นักปรัชญาชาวฝรั่งเศสผูหนึ่งมีทัศนะวาภาษาเกิดจาก เสียงรองตาง ๆ และการเคลื่อนไหวของรางกายที่มีลักษณะเปนธรรมชาติที่ถูกกระตุนใหเกิดขึ้นโดย ความรูสึกที่รุนแรง ตอมาเสียงรองของอารมณตาง ๆ เหลานี้เปลี่ยนเปนเสียงตาง ๆ ที่มีความหมาย แวน เฮนเดอร มีความเห็นวาภาษานั้น เกิดจากการเลียนเสียงสิ่งแวดลอมรอบ ๆ ตัว ทั ศ นะของนั ก ภาษาศาสตร เ ชิ ง ประวั ติ บ อกว า ภาษามลายู มี ที่ ม าดั้ ง เดิ ม จากภาษา ออสโตรนีเซีย (Austronesia) ซึ่งเปนที่รูจักในชื่อของภาษามาเลยโปลีนีเซีย (Malay poli-nesia) ตระกู ลของภาษาออสโตรนีเ ซียนั้ นแบ งเป นกลุ มใหญ ๆ ไดแก กลุ ม นูซั น ตารา ( Nusantara) อั น ประกอบดวย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟลิปปนส บรูไน และมาดากัสการ กลุมเมลานีเซีย (Melanesia: อีเรียน คาโรลีนาและซีลมอน) และกลุมโปลีนีเซีย (Polynesia : เมารี ฮาวาย และอื่น ๆ) ภาษามลายู จัดอยูในกลุมภาษานูซันตารา กลุมภาษานูซันตารานี้ก็แบงออกไปอีกเปน 2 ตระกูล ไดแกกลุมภาษานู ซันตาราตะวันตก ไดแก ภาษามาเลเซีย อาเจะห มลายู ซุนดา คายัค ตากาล็อก และอื่น ๆ เปนตน ส ว นกลุ ม ภาษานู ซั น ตาราตะวั น ออกประกอบด ว ยภาษาโซโล โรติ ซี ก า และอื่ น ๆ 30 (Abdulloh Hassan, 1980 : 26-27)

ชนเชื้อสายอิน โด-มลายู (Indo-Melayu) หรื อออสโตรนี เ ซีย ซึ่งเขามาสูภูมิภาค มลายูในยุคแรก ๆ นั้นพูดภาษาเดียวกัน คือ ภาษามลายูโปรโต (Melayu Proto) หรือภาษามลายู 30

ดูแผนผังตระกูลภาษามลายู หนา 146


142

ตนแบบ แตเนื่องจากการแยกยายกันอยูและถูกกั้นดวยทะเลหรือมหาสมุทรตลอดจนหุบเขาตาง ๆ จึง ทําใหไมสามารถจะไปมาหาสูกันได ดังนั้นนาน ๆ เขาก็ทําใหขาดความสัมพันธกันในที่สุด ภาษาซึ่งมี มาจากตนแบบเดียวกัน ก็เริ่มพัฒนาไปตามสิ่งแวดลอมของตนเองในแตละแหง สงผลใหเกิดเปน ภาษาทองถิ่นและตอมาก็ไดพัฒนากลายเปนภาษาตาง ๆ ดังที่กลาวมาซึ่งหากสังเกตจะพบความ เหมือนกันระหวางคําในภาษาหนึ่งกับอีกภาษาหนึ่ง ซึ่งแสดงถึงแหลงที่มาอันเดียวกัน นั่นคือภาษา มลายูโปรโต ปจจุบันภาษามลายูโปรโต ไดแตกสาขากระจายออกไปเปนภาษาตาง ๆ ไมนอยกวา 150 ภาษายอย นักประวัติศาสตรไมสามารถใหคําอธิบายที่ชัดเจนไดเกี่ยวกับประวัติของภาษามลายู โบราณซึ่งมาจากกลุมภาษานูซันตารา แตมีการคาดกันวาการเจริญเติบโตของภาษามลายูเกี่ยวของกับ การกําเนิดของรัฐมลายูจัมบี (Jambi) เนื่องจากในบันทึกของจีนเลาวารัฐมลายูจัมบีเคยสงคณะผูแทน ไปยังเมืองจีนในราวป ค.ศ. 644 ดังนั้นหากรัฐมลายูนี้มีความสัมพันธทางการทูตกับนานาชาติแลว ยอมชี้ใหเห็นวารัฐมลายูเกาแกนี้ไดมีวัฒนธรรมที่สูงสงและมีภาษาที่เจริญแลว อาณาจักรศรีวิชัยไดเปนที่รูจักในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในฐานะศูนยกลางทาง วิชาการตนศาสนาพุทธมาตั้งแต คริสตศตวรรษที่ 7 โดยหลวงจีน อี้ ชิง (I-Ising) ซึ่งไดเดินทางมาที่ ศรีวิชัย ในระหวางการเดินทางไปยังอินเดีย ไดบันทึกวา ภาษามลายูโบราณไดถูกนําไปเปนภาษาที่ใช สอนตามศูนยการศึกษาพุทธศาสนาที่ศรีวิชัย นอกจากนี้ภาษามลายูยังใชเปนภาษากลางในการสอน ภาษาสันสกฤต และพุทธปรัชญาอีกดวย (A.Teeuw, qouted in Ismail Hamid, 1991:18) ในวรรณคดีจีนไดมีการกลาวถึงลักษณะของภาษาหนึ่งที่ใชกันในภูมิภาคมลายู โดย นักเดินทางชาวจีนที่เดินทางมายังเมืองใหญ ในภูมิภาคมลายูไดบันทึกไววา ภาษาที่คนในโลกมลายูใช พูดกันในสมัยกอนนั้นมีชื่อเรียกวา ภาษากวุน ลุน (Kw‘un Lun) เชื่อกันวาภาษานี้เปนภาษาเดียวกับ ที่หลวงจีนอี้ชิง ไดศึกษาตอนที่เขาเรียนอยูที่สํานักสงฆพุทธศาสนาชั้นสูงที่ศรีวิชัย และเปนภาษาที่พบ ในศิลาจารึกตามเมืองตาง ๆ ในบริเวณนั้น นอกจากนี้ยังเชื่อกันวาภาษาที่ชาวจีนเรียกวาภาษากวุน ลุน ก็ คือภาษามลายูโบราณนั้นเอง การเขามาของอิทธิพลฮินดูประกอบกับการกําเนิดของบรรดารัฐฮินดูในภูมิภาคมลายู ทําใหภาษาสันสกฤตเริ่มเขาไปแทนที่ทุกแขนงของภาษาตระกูล ออสโตรนีเซีย อยางมั่นคง โดยเฉพาะ อยางยิ่งภาษามลายูโบราณ ภาษาสันสกฤตเปนภาษาของคัมภีรพระเวท และเปนภาษาของบรรดาชน ชั้นสูง ซึ่งเปนลักษณะเดียวกันกับในอินเดีย (Ismail Hussein, 1966 : 8) ในอดีตบรรดาชนชั้นสูงและกลุมผูที่ไดรับการศึกษาในโลกมลายูก็ใชภาษาสันสกฤต ในการสนทนา ตอมาภาษาสันสกฤตก็มีอิทธิพลเหนือภาษามลายูโบราณ โดยเฉพาะอยางยิ่งคําศัพท ตาง ๆ ที่เกี่ยวกับศาสนาและวรรณคดี อาร โอ วินสเต็ด (R.O. Winstedt, 1961 : 139) กลาววาใน


143

ยุคฮินดู ภาษามลายูถูกนําไปเขียนดวยพยัญชนะในสองรูปแบบ ซึ่งพัฒนามาจากอักษรปลลวะ คือ ใช อักษรกวิ และเทวนาครี ผลจากอิ ท ธิ พ ลของภาษาสั น สกฤตก็ ทํ า ให ภ าษามลายู โ บราณต อ งประสบกั บ กระบวนการเปลี่ยนแปลง โดยเปนการเปลี่ยนแปลงที่ครอบคลุมในทุกดานของการดํารงชีวิตของชาว มลายู หลักฐานที่แสดงถึงอิทธิพลของภาษาสันสกฤตพบเห็นอยางชัดเจนคือศิลาจารึกที่ถูกคนพบ ตามที่ตางๆ ในประเทศอินโดนีเซีย ดังตอไปนี้ 1. ศิลาจารึกตาลัง ตูโว (Talang Tuwo) ป ค.ศ. 684 2. หลักศิลาจารึกเตอลาฆา บาตู (Telaga Batu) และเกอดูกันบูกิต (Kedukan BuKit) ใกลปาเล็มบัง (Palembang) ป ค.ศ. 683 3. หลักศิลาจารึก บาราฮี (Karang Barahi) สุไหงเมอรางิน (Sungai Merangin) ทางใตแมน้ําจัมบี (Sungai Jambi) และ ศิลาจารึกโกตา การโปร (Kota kapur) ที่บังกา (Bangka) ป ค.ศ. 686 4. ศิลาจารึกเกอรตานาฆารา (Kertanagara) ป ค.ศ. 1285 5. ศิลาจารึกปาฆาร รูยง (Pagar Ruyong) และศิลาจารึก ซูรัวซา (Suroasa) หรือ ซูราวาซา (Surawasa) ทางใตของแมน้ําบาตัง ฮารี (Sungai Batang) ป ค.ศ. 1375 3.9.1 พัฒนาการของภาษามลายู นักภาษาศาสตรไดแบงการพัฒนาการของภาษามลายูออกเปน 3 ชวง คือ 1. ภาษามลายูโบราณ (Bahasa Melayu Kuno) 2. ภาษามลายูคลาสสิค (Bahasa Melayu Klasik) 3. ภาษามลายูสมัยใหม (Bahasa Melayu Moden) ภาษามลายูโบราณเปนหนึ่งในภาษานูซันตารา มีการใชตั้งแตศตวรรษที่ 7 จนถึง ศตวรรษที่ 13 ในสมัยอาณาจักรศรีวิชัย เปนภาษาที่ใชในการติดตอสื่อสารระหวางกัน และเปนภาษาที่ ใชในการปกครอง ผูที่พูดภาษามลายูโบราณ สวนใหญจะอยูในแหลมมลายู หมูเกาะเรียว และสุมาตรา ภาษามลายูโบราณกลายเปนภาษาที่ใชติดตอสื่อสาร และภาษาที่ใชในการปกครองเนื่องจาก 1) มี ลักษณะเรียบงาย และงายตอการรับอิทธิพลจากภายนอก 2) ไมมีการผูกติดกับความแตกตางทางชน ชั้นของสังคม 3) มีระบบที่งายกวาเมื่อเปรียบเทียบกับภาษาชวา เนื่องจากภาษาชวาคอนขางจะยาก ต อ การสื่ อ สาร เช น หากผูพู ดมี ส ถานะทางชนชั้ น ที่ แ ตกต างกั น หรื อ มีวั ย ที่ แ ตกต างกั น จะใชคํ า ที่ แตกตางกันตามสถานะหรือวัยของผูพูด


144

นอกจากนั้นภาษามลายูโบราณไดรับอิทธิพลจากระบบของภาษาสันสฤตมีการใชคํา สันสฤตในการสรางคําที่เปนศัพทเฉพาะ สําหรับสาเหตุที่ทําใหภาษามลายูงายตอการรับอิทธิพลของ ภาษาสันสฤตเนื่องจาก อิทธิพลของศาสนาฮินดู และภาษาสันสฤตอยูในสถานะของภาษาของชนชั้น ขุนนางและมีสถานะทางสังคมที่คอนขางสูง ซึ่งจะสังเกตลักษณะของภาษามลายูโบราณสังเกตไดดังนี้ 1. ประกอบดวยคําที่ยมื มาจากภาษาสันสกฤต 2. โครงสรางประโยคเปนลักษณะของภาษามลายู 3. เสียง /b/ จะเปนเสียง /w/ ในภาษามลายูโบราณ เชน Bulan เปน Wulan 4. เสียง อือไมมี เชน Dengan เปน Dangan 5. คําเติมหนานาม Ber จะเปน Mar เชน berlepas เปน marlapas 6. คําวา Di จะเปน Ni เชน diperbuat เปน niparwuat 7. พยัญชนะ h จะไมปรากฏในภาษามลายูสมัยใหม เชน คําวา Semua คําเดิมคือ samuha และ Saya คําเดิมคือ Sahaya หลังจากศาสนาอิสลามเริ่มมั่นคงในเอเชียตะวันออกเฉียงใตตั้งแตศตวรรษที่ 13 ภาษามลายูโบราณเกิดการเปลี่ยนแปลงสูภาษามลายูคลาสสิคทั้งในดานโครงสรางและระบบการเขียน ดังปรากฏบนหลักศิลาจารึก 3 หลัก ไดแก 1. หลักศิลาจารึกปาฆาร รูยง (Pagar Ruyung) ที่มีนังกาเบา (ค.ศ. 1356) - เขียนดวยอักษรเทวนาครี - มีคํามลายูโบราณ และมีคํากลอนภาษาสันสกฤต - มีความแตกตางเล็กนอยจากภาษาที่ใชในหลักศิลาจารึกในศตวรรษที่ 7 2. หลักศิลาจารึกมีเญ ตูยุห (Minye Tujuh) ที่อาเจะห (ค.ศ. 1380) - ยังคงเขียนดวยอักษรเทวนาครี - เริ่มมีการใชคําภาษาอาหรับ เชน คําวา Nabi, Allah และ Rahmat 3. หลักศิลาจารึกกัวลาเบอรัง (Kuala Berang) ที่ตรังกานู (ค.ศ. 1303) - เขียนดวยอักษรอาหรับ - เปนหลักฐานวาในศตวรรษดังกลาวเริ่มมีการใชอักษรอาหรับเขียนภาษามลายู ศิลาจารึกทั้งสามหลักเปนหลักฐานเกาแกสุดที่แสดงถึงพัฒนาการของภาษามลายู เพราะหลังจากศตวรรษที่ 14 เปนตนมา ก็เริ่มเกิดวรรณกรรมมลายูในรูปแบบของการเขียนที่ใชภาษา มลายูคลาสสิก โดยจะสังเกตลักษณะของภาษามลายูคลาสสิคไดดังนี้ 1. ประโยคจะยาว ซ้ํา ๆ และซับซอน 2. ใชภาษาราชาศัพท


145

3. มักใชคําวา Sebermula, alkisah, hatta, adapun และคําวา pun และ lah ซึ่งมี นักเขียนที่มีชื่อเสียงคือ Hamzah Fansuri, Syamsuddin al-Sumatrani, Syeikh Nuruddin alRaniry และ Abdul Rauf Singkel 3.9.2 ภาษามลายูถิ่นปตตานี ภาษามลายู ถิ่ น ป ต ตานี หรื อ มลายู ป ต ตานี (เรี ย กในภาษาอั ง กฤษ ว า “Pattani Malay”) เปนภาษากลุมออสโตรนีเซียน ที่พูดโดยชาวไทยเชื้อสายมลายูในจังหวัดปตตานี นราธิวาส ยะลา และอําเภอจะนะ อําเภอเทพา และอําเภอสะบายอย จังหวัดสงขลา ภาษามลายูถิ่นปตตานีเปน ภาษาทองถิ่นที่ประชาชนใชสื่อสารกันในชีวิตประจําวัน โดยมีประชากรที่พูดประมาณ 2-3 ลานคน31 แวมายิ ปารามัล (Waemaji Paramal, 1991: 33) กลาววาภาษามลายูถิ่นที่ใชกันอยู หลายถิ่น เชน ภาษามลายูถิ่นสตูล ภาษามลายูนครศรีธรรมราช และภาษามลายูถิ่นปตตานี ภาษา มลายูถิ่นที่มีผูพูดมากที่สุดและแพรหลายที่สุดคือภาษามลายูถิ่นปตตานี นอกจากนี้ยังพบวามีการใช ภาษามลายูถิ่นปตตานีพูดกันในชุมชนชานเมืองกรุงเทพมหานคร อันไดแก บานคลองหนึ่งแกวนิมิต บานสวนพริกไทย บานบางโพ จังหวัดปทุมธานี และบานทาอิฐ จังหวัดนนทบุรี เปนภาษาถิ่นยอยของ ภาษามลายูถิ่นปตตานี ทั้งนี้สืบเนื่องจากการอพยพขึ้นมาของชาวมลายูจากหัวเมืองประเทศราชทางภาคใต เนื่องจากหัวเมืองมลายูซึ่งเคยเปนเมืองขึ้นของไทยมาตั้งแตสมัยอยุธยาตอนตนเปนอิสระ จึงไดเชิญ พระกระแสรับสั่งใหหัวเมืองมลายูออนนอมยอมเปนเมืองขึ้นของไทยดังเดิม แตพระยาตานีไมยอม จึง มีพระกระแสรับสั่งใหพระยากลาโหม และบรรดาแมทัพนายกองยกทัพไปตีเมืองปตตานีใน พ.ศ. 2329 จึงสามารถเขายึดเมืองปตตานีได เมื่อจัดการแตงตั้งผูดูแลเมืองปตตานีเปนที่เรียบรอยแลว กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาทจึงใหบรรดาแมทัพนายกกองยกทัพกลับกรุงเทพฯ พรอมทั้งนํา เชลยปตตานีและอาวุธปนใหญ เชลยที่นําขึ้นมาดวยในครั้งนี้นั้นเปนจํานวนมาก และไดแยกใหอาศัย อยู ต ามที่ ตา ง ๆ หลายแห ง ส ว นใหญ จ ะอยู บริ เ วณรอบ ๆ ชานกรุ งเทพฯ คื อ บริ เ วณทุ ง ครุ พระ ประแดง บางคอแหลม มหานคร (พระนคร) พระโขนง คลองตัน มีนบุรี หนองจอก ภาคกลางที่ จังหวัดนครนายก ฉะเชิงเทรา เพชรบุรี อยุธยา จังหวัดนนทบุรี ที่ตําบลทาอิฐ (อนุสรณงานเมาลิด กลางแหงประเทศไทย ฮ.ศ. 1424, ม.ป.ป. : 67-68)

31

Cooperative Baptist Fellowship. 2007. Pattani Malay. (Online) Search from http://www.thefellowship.info/Global%20Missions/UPG/Pattani%20Malay.icm [17 May 2007]


146

นอกจากนี้ยังพบการใชภาษามลายูถิ่นปตตานีในตอนกลางของรัฐเกดะห และทาง ตะวันออกเฉียงเหนือของรัฐเประ ประเทศมาเลเซีย โดยชาวปตตานีที่อพยพเขาไปตั้งถิ่นฐาน (Farid, 1980 : 72, qouted in Waemaji Paramal, 1991 : 33)

3.9.2.1 ตระกูลภาษามลายูถิ่นปตตานี ภาษามลายูถิ่นปตตานีจัดเปนภาษาถิ่นของภาษามลายู สวนภาษามลายูเปนภาษาหนึ่ง ที่จัดอยูในแขนงภาษาหมูเกาะมลายูตะวันออก (Eastern Nusantara) ซึ่งอยูในสาขาภาษาหมูเกาะ มลายู สาขาหมูเกาะมลายูเปนสาขาหนึ่งในตระกูลออสโตรนีเซียหรือมาลาโยโปลิเนเซียน ภาพที่ 29 แผนผังตระกูลภาษามลายูถิ่นปตตานี

ที่มา: Ismail Hussein, 1992 : 4 อิสมาอีล ฮูเซ็น (Ismail Hussein) กลาววา ภาษามลายูถิ่นในแหลมมลายูแบงเปน 2 กลุมใหญ ๆ ไดแก กลุมซึ่งแผขยายจากปตตานี และกลุมซึ่งแผขยายจากรัฐยะโฮร ภาษามลายูถิ่น ปตตานี มีความคลายคลึง กับภาษามลายูถิ่นกลันตันมาก ไมวาจะเปนดานเสียง คําและโครงสราง ประโยค ดวยเหตุน้จี ึงทําใหชาวกลันตันกับชาวมุสลิมในสามจังหวัดภาคใต (ปตตานี นราธิวาส ยะลา) สามารถสื่อสารเขาใจกันไดเกือบทั้งหมด แตระยะหลัง ๆ ภาษามลายูถิ่นปตตานียืมคําในภาษาไทยไป ใชมากขึ้น จึงทําใหความแตกตางในเรื่องของคําศัพทมีมากขึ้น (1973, qouted in Weamaji Paramal, 1991:34)


147

หากพิจารณาอยางละเอียดโดยยึดหลักเสียงนาสิกในทายพยางค /N/ แลวจะเห็นวา ภาษามลายูถิ่นปตตานีมีความใกลเคียงกับภาษามลายูถิ่นตรังกานู มากกวาภาษามลายูถิ่นกลันตัน แต อยางไรก็ตามนักภาษาศาสตรหลายทานรวมถึงชาวปตตานีเองตางก็เห็นวาภาษามลายูถิ่นปตตานีนั้นมี ความใกลเคียงกับภาษามลายูถิ่นกลันตันมากกวาภาษามลายูถิ่นตรังกานู (Weamaji Paramal, 1991 : 34-35)

3.9.2.2 ลักษณะทั่วไปของภาษามลายูถิ่นปตตานี ภาษามลายูถิ่นปตตานีเปนภาษาที่มีแตภาษาพูด ไมมีภาษาเขียน ดังนั้นเวลาเขียนจึง ตองใชภาษามาลายูมาตรฐาน ซึ่งใชเปนตัวอักษรโรมัน หรือตัวอักษรยาวีที่เปนตัวอักษรอาหรับ คําใน ภาษามลายู ถิ่ น ป ต ตานี ส ว นใหญ เ ป น คํ า สองพยางค ไม มี ว รรณยุ ก ต มี ห น ว ยเติ ม ศั พ ท แต ไ ม มี ความสําคัญเทาภาษามลายูมาตรฐาน หนวยเติมหนาศัพทมักจะถูกแทนที่ดวยพยัญชนะเสียงยาว สระ ในพยางคปดจะสั้นกวาสระในพยางคเปด พยัญชนะที่เปนพยัญชนะทายมีเพียงสามหนวยเสียง คือ /N /, /h/ และ /// ในภาษามลายูถิ่นปตตานีจะมีคํายืมมาก คํายืมเหลานั้นมาจากภาษาบาลีสันสกฤต อาหรับ ไทย และอังกฤษ (อัสสมิง กาเซ็ง, 2544 :29) ลักษณะเดนของภาษามลายูถิ่นปตตานีอีกประการคือ เปนภาษาที่มีความใกลชิดกับ ภาษามลายูถิ่นกลันตันเปนอยางมาก ดังที่ มุฮัมมัด ตอยยิบ อุสมาน (Mohd Taib Osman) ไดให ความเห็นเกี่ยวกับเรื่องนี้วา ภาษามลายูถิ่นกลันตันนั้นมีความเหมือนกันอยางมากกับภาษามลายูถิ่น ปตตานี ซึ่งก็สอดคลองกับความเห็นนักภาษาศาสตรอยาง เจมส โทมัส คอลลินส (James Thomas Collins) และฮูเซ็น ดลลาฮฺ (Husin Dollah) โดยทั้งสองทานกลาววาหากสังเกตรูปแบบการใชคําใน การพูดของคนมลายูในกลันตันและปตตานีแลวเราจะเห็นความเหมือนกันมากหรืออาจกลาวไดวา ภาษาถิ่นทั้งสองมีความสัมพันธกันอยางมาก และภาษาถิ่นทั้งสองอยูในเครือขายเดียวกัน (Abdul Hamid Mahmood, 1994 : 6)

ภาษามลายูถิ่นกลันตันไมไดพูดแคเพียงในรัฐกลันตันเพียงรัฐเดียว แตยังมีประชากร ที่พูดภาษาถิ่นนี้อีกหลายพื้นที่ เชน กลุมประชากรที่อาศัยอยูในรัฐกลันตันที่มีเขตแดนติดกับรัฐตรัง กานู ปะหัง และเประ รวมถึงหลาย ๆ อําเภอในจังหวัดทางภาคใตของประเทศไทย เชน สุไหงโก-ลก ตากใบ และอําเภอเมืองนราธิวาส ทั้งนี้เนื่องจากความตอเนื่องทางภาษาทองถิ่นนั้นไดขามพรมแดน ทางการเมือง และไดเชื่อมสังคมของผูพูดมลายูในภาคใตของประเทศไทยกับสังคมมลายูในเประ เกดะห และ กลันตัน โดยผานสถานีวิทยุกระจายเสียงในจังหวัดนราธิวาส ซึ่งประชาชนในสังคมมลายูที่ อาศัยอยูทางฝงประเทศมาเลเซียที่สามารถรับคลื่นกระจายเสียงไดก็จะเขาใจเปนอยางดี และจากที่ตั้ง ทางภูมิศาสตรทําใหรัฐกลันตันมีความสัมพันธยางตอเนื่องกับสยามและมีถิ่นฐานของคนสยามหลาย


148

แหงตั้งอยูในเมืองโกตาบารู ทําใหความสัมพันธนั้นยิ่งมีเพิ่มมากขึ้น โดยครุยซีเนียร (Cruisinier) ได เสริมวาความสัมพันธนี้ไดมีอิทธิพลตอการใชคําศัพทเฉพาะ ที่เกี่ยวของกับอํานาจเรนลับ สิ่งเรนลับ และการเลือกใชคําศัพทในพิธีกรรมเซนไหวตอสิ่งดังกลาวนั้น หากวิเคราะหใหลึกซึ้งแลวก็จะพบวาทั้ง สองวั ฒ นธรรมดั งกล าวเกิ ด จากที่ มาเดี ยวกั น และมี อิ ท ธิพ ลต อ กั นและกั น (Abdul Hamid Mahmood, 1994 : 6-7)

นอกจากนี้โมฮัมมัด ยูโซฟ อิสมาอีล (Mohamed Yusoff Ismail, 1989 : 42-43) ยังไดอธิบายเพิ่มเติมอีกวา ประวัติทางการเมืองของรัฐกลันตันซึ่งมีความสัมพันธใกลชิดกัน 2 อยาง กับสยามคือ การขยายอํานาจของสยามและการปกครองตอรัฐหรือเมืองตอนเหนือของคาบสมุทร มลายูทําใหเกิดการ กระทบกระทั่งทางวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมมลายูทองถิ่น การกระทบกระทั่งนี้ สงผลใหเกิดลักษณะของวัฒนธรรมลูกผสมที่นาสนใจ หนึ่งในนั้นเห็นไดในการใชศัพทตาง ๆ ในภาษา มลายู ถิ่น กลั นตั น ถ า เที ยบกั บภาษามลายู มาตรฐานแล วภาษามลายู ถิ่ น กลัน ตั นไดรั บอิ ท ธิ พ ลจาก ภาษาไทย ซึ่งถือ เปนเอกลักษณเฉพาะอีกอยางหนึ่งของภาษามลายูถิ่นปตตานี ภาษามลายูถิ่นปตตานียังยืมคําจากภาษาอื่นมาใชมากมาย โดยสี่ภาษาหลักที่เปน แหลงคํายืมของภาษามลายูถิ่นปตตานี ไดแก ภาษาบาลีสันสกฤต ภาษาอาหรับ ภาษาอังกฤษ และ ภาษาไทย ดังตัวอยางคํายืมตอไปนี้ คํายืมภาษาสันสกฤต

เชน

คํายืมภาษาอาหรับ

เชน

คํายืมภาษาอังกฤษ

เชน

นาฆอ ฤาฌอ แดวอ ฆาเญาะฮ ซูฆอ ฤาเอะ ซือดือเกาะฮ วอกะฮ โบะ บือซีกา ซือกอเลาะฮ แลเซ็ง

นาค ราช เทว คช ‫ﻋﺎﺷﻮﺭﺍﺀ‬ ‫ﻏﺎﺋﺐ‬ ‫ﺻﺪﻗﺔ‬ ‫ﻭﻗﻒ‬ book bicycle school licence


149

คํายืมภาษาไทย

เชน

มะงา โทราทะ เราะ กือมือแน

มักงาย โทรทัศน รอบ กํานัน

3.10 ความเชื่อดั้งเดิมและศาสนาของชาวมลายู 3.10.1 วิญญาณนิยม (Animism) คนมลายู ใ นยุ ค โบราณก็ มี ค วามอยากรู อ ยากเห็ น เช น กั น แต ค นโบราณไม เ ข า ใจ เหตุ ก ารณ หรื อ ปรากฏการณ ท างธรรมชาติ ที่ เ กิ ด ขึ้ น บนโลก ดั ง นั้ น เขาก็ เ ข า ใจหรื อ ให คํ า อธิ บ าย ปรากฏการณตามความเขาใจของเขาเอง เจมส จี เฟรเซอร (James G. Frazer) กลาววา เมื่อมนุษย โบราณไมสามารถอธิบายเหตุและผลที่เกิดขึ้นตามปรากฏการณทางธรรมชาติ เขาก็จะบอกวามันมี สาเหตุจากอํานาจทางไสยศาสตร แตเมื่ออํานาจดังกลาวไมสามารถพิสูจนได เขาก็จะบอกวาในโลกนี้ จะมีวิญญาณเล็ก ๆ ไดประสบกับความฝน จินตนาการและการตาย ทําใหเกิดคําถามใหคิดและเชื่อวา มีวิญญาณในตัวมนุษย หรือที่ไทเลอร (Taylor) ไดเรียกวา “Animism” (Ismail Hamid, 1991 : 28)

ความเชื่อวิญญาณนิยม Animism ถูกบัญญัติโดย เอ็ดวารด บี ไทเลอร (Edward B. Taylor) มาจากคําวา Anima ในภาษาละตินหมายถึง “ความเชื่อในวิญญาณ” (Spiritual Being) ความเชื่อในเรื่องของวิญญาณเปนความเชื่อหลักของศาสนาในยุคแรก ๆ ในความคิดของมนุษยยุค แรก นอกจากนี้ยังเปนแบบอยางสากลของวัฒนธรรม (Cultural Universals) ที่มีอยูในสังคมยุค โบราณ และในสังคมที่กําลังพัฒนาอยางมลายู ความเชื่อนี้ยังคงปรากฏอยูโดยเฉพาะสังคมชนบท แมวาจะมีกระบวนการพัฒนาในยุคอิสลามแลวก็ตาม เพราะอิสลามไดตอตานความเชื่อแบบเกา ๆ นี้ วาเปนความเชื่อที่หลงผิดและอุปโลกนขึ้นมา (Evans Pritchard, 1965 : 24-25) ในสังคมมลายูจะมีคําที่ใหความหมายเหมือนกับวิญญาณนิยม (Animism) อยูคือคํา วา nyawa (ญาวอ) หรือที่รูจักในอีกชื่อคือ Roh (โรห) ซึ่งเปนคําที่เกิดขึ้นหลังจากอิสลามเขามา คน มลายูเชื่อวาวิญญาณนั้นจะมีอยูในสิ่งมีชีวิต ซึ่งโดยปรกติคนมลายูจะใชในความหมายของชีวิต ซึ่งจะไม มี ใ นต น ไม แ ละก อ นหิ น ส ว นความเชื่ อ ของพวกซาไกและยากุ น เชื่ อ ว า วิ ญ ญาณของญาติ พี่ น อ งที่ เสียชีวิตจะกลับมาสูโลกนี้อีกครั้งหนึ่งและกลับมาทํารายมนุษย สําหรับชนพื้นเมืองและคนมลายูแลว จะเชื่อวาการตายเปนสิ่งที่นากลัว เพราะวิญญาณของคนที่ตายจะกลับมาสูโลกในรูปของผี ดังจะเห็นได จากวิถีชีวิตของชนพื้นเมือง กลาวคือ เมื่อมีการตายเกิดขึ้นพวกชนพื้นเมืองจะทําลายที่อยูอาศัยแลว


150

หนีไปที่อื่น โดยทิ้งศพของผูตายไว เพราะกลัววาวิญญาณของผูตายจะปรากฏในรูปของผีที่นากลัว โดย จะมีชนิดตาง ๆ เชน ผีผาหอศพ ผีเลี้ยง พรายทะเล เปนตน แอลนัลดัล (Annandale) ยังอธิบายตออีกวา คําวา ญาวอ (ลมหายใจ) ในภาษา มลายู ยืมมาจากภาษาสันสฤต ชาวปตตานีมีความเชื่อวาลมหายใจ ทําใหมนุษยสามารถมีชีวิตอยูและ ลมหายใจจะสิ้นสุดลงจากการเสียชีวิต หมอตําแยจากหมูบานยาลอ คนหนึ่งไดอธิบายวา ลมหายใจจะ ซึมซับเขาไปในรางกายของมนุษยตั้งแตอยูในครรภมารดาไดหกเดือน นอกจากนี้ยังมีความเชื่อของ ชาวมลายูที่วาลมหายใจของมนุษยที่ตายไปแลวจะแปรสภาพเปนผีชนิดตาง ๆ และจะสงผลใหมนุษย ประสบกับโรครายตาง ๆ (มูฮัมหมัดซัมบรี อับดุลมาลิก, 2543 : 142) สวนคําวา โรห (วิญญาณ) เปนคําที่ยืมมาจากภาษาอาหรับ ชาวมลายูมีความเชื่อวา ในขณะที่เราหลับอยูวิญญาณจะออกจากรางกายเพื่อเดินทางไปยังที่ตาง ๆ ถาหากวาจิตวิญญาณนั้นไม กลั บมา เจาของร างคนนั้ นจะเสี ยชี วิตทั น ที มี เ รื่ องเล ามากมายเกี่ ยวกั บคนตายในขณะที่ นอนอยู อยางเชน มีเด็กชายคนหนึ่งนอนหลับที่มัสยิดแหงหนึ่งที่กัวลาเบอกะห (Kuala Bekah)32จนเวลาผาน ไปเด็กคนนั้นก็ยังไมตื่น เนื่องจากใบหนาของเด็กคนนั้นเปอนโคลน แตหลังจากไดที่ทําความสะอาด ใบหนาแลว เด็กคนดังกลาวจึงตื่นขึ้นมา เปนที่เชื่อกันวาจิตวิญญาณที่ออกไปจากรางกายไปนั้นไม สามารถจําหนาเจาของได เลยเดินเตร็ดเตรไปมา เชนเดียวกับการทําใหคนที่กําลังนอนหลับอยูตอง ตกใจกับเหตุการณที่ไมเคยคาดคิดมากอน อาจทําใหจิตวิญญาณไมสามารถเขาสูรางได หรืออาจจะทํา ใหเขาคนนั้นปวยลงอยางกะทันหัน (มูฮัมหมัดซัมบรี อับดุลมาลิก, 2543 : 142) นอกจากนี้ โรคภัยตาง ๆ ก็เปนสิ่งที่เกิดจากผีเปนผูกระทํา ชาวเมินตาวี (Mentawi) ในเกาะสุมาตราตะวันตก ประเทศอินโดนีเซียจะเชื่อวาความเจ็บปวยเกิดขึ้นเพราะวิญญาณในตัว ออนแอ เมื่อคน ๆ หนึ่งฝน วิญญาณก็ไดออกเดินทางและหากวิญญาณไมกลับมาคน ๆ นั้นก็จะตาย ดังนั้นหากจะปลุกคนที่นอนอยู ก็ตองระวัง ไมปลุกอยางรุนแรง อาจทําใหวิญญาณหลงกลับบานไมถูก หรืออาจทําใหวิญญาณเขารางไมสมบูรณก็จะทําใหเกิดอาการเจ็บไขได และหากวิญญาณเขาไมถูกก็จะ ทําใหเสียชีวิต ซึ่งเปนความเชื่อเดียวกับคนมลายูปตตานี ผูคนในนูซันตารา เชื่อวา วิญญาณของผูตายอาจเขาไปสิงอยูในสัตวได เชน เผาเนียส ในเกาะใกลกับสุมาตราตะวันตก มีความเชื่อวาหนูที่เขาออกในบานคน เปนวิญญาณของคนตายทั้ง กลม บางครั้งวิญญาณพวกนี้อาจเขาไปสิงในหมูปา เสือ และเชื่อวาสัตว เหลานั้นจะไปรบกวนคนที่เคย เปนศัตรูกับผูตายเมื่อครั้งยังมีชีวิต คนมลายูจะเชื่อวาคนที่ถูกฆาตายจะปรากฏตัวในรูปของผีและจะมาหลอกหลอน และ เช น เดี ย วกั น กั บ ในอิ น โดนี เ ซี ย การฝ ง ศพหญิ ง ตายทั้ ง กลมจะต อ งกระทํ า โดยวิ ธี ก ารเฉพาะและ 32

ปจจุบันอยูที่บริเวณตําบลปากน้ํา อ.เมืองปตตานี


151

ระมัดระวัง เพราะเชื่อวาวิญญาณของผูหญิงที่ตายไปนั้นจะกลายเปน Pontianak (ผีดูดเลือด) ซึ่ง ความเชื่อเชนเดียวกันนี้ก็จะพบไดในสังคมมลายูทั่วไป โดยเชื่อวาผีดูดเลือด จะชอบดูดเลือดหญิงที่ เพิ่ ง คลอดลู ก ด ว ยเหตุ นี้ ใ ต ถุ น บา นคนที่ ค ลอดลู ก มั ก จะนํ า หนามมาวางไว ใ ต ถุ น บ า น บางเผ าใน อินโดนีเซีย จะนําเข็มมาเสียบไวใตเล็บของศพที่ตายทั้งกลม ทั้งนี้เพื่อใหผีบาดเจ็บ เมื่อผีตัวนั้นจะมา ดูดเลือดหรือทําอันตราย 3.10.2 การบูชาบรรพบุรุษ (Ancestor Worship) นักมานุษยวิทยา กลาววา ยากที่จะแยกความแตกตางของคําวา โรห (Roh) และ ผี (Hantu) เนื่องจากทั้งสองสิ่งนี้ตางก็มาจากคนที่ตายไปแลว (ตามความเชื่อของคนมลายู) ซึ่งผูคนก็จะ กลัวกัน เพราะสิ่งทั้งสองจะนําพาความเสียหาย หายนะ บางครั้งก็สามารถชวยเหลือมนุษยได และ นํามาทําพิธีบูชายัญได นอกจากนี้ยังมีขอแตกตางของผีกับวิญญาณของบรรพบุรุษ แมวาทั้งคูจะมาจาก วิ ญ ญาณ แต วิ ญ ญาณของบรรพบุ รุ ษ จะมี ค วามใกล ชิ ด ผู ก พั น กั บ ครอบครั ว หรื อ เผ า นั้ น ๆ จาก การศึกษาของนักมานุษยวิทยาเกี่ยวกับชนเผาดั้งเดิม พบวาพวกที่ไมเชื่อเรื่องพระเจา จะกราบไหว วิญญาณบรรพบุรุษเพื่อขอสิ่งที่ตองการตาง ๆ (Ismail Hamid, 1991:31) การกราบไหวบูชาวิญญาณบรรพบุรุษเกิดจากความรูสึกกลัว ถึงแมวาความกลัวนั้นจะ ไมเทาผีก็ตามเนื่องจากวิญญาณเหลานั้นใกลชิดมากกวา ความสัมพันธระหวาคนมีชีวิตกับวิญญาณ บรรพบุรุษจะหางเหิน เมื่อชื่อของบรรพบุรุษไมไดถูกบูชา การบูชาวิญญาณบรรพบุรุษ เปนพิธีกรรมของคนมลายูบางกลุม โดยจะมีของเซนไหว ตั้งไวตลอดเวลา ดวยหวังวาวิญญาณเหลานั้นจะนําความสุขสวัสดีมาสูครอบครัว และถาหากลืมของ เซนไหววิญญาณเหลานั้นก็จะมารบกวนครอบครัวซึ่งเครื่องเซนไหวนั้นประกอบดวย ขาวเหนียวเหลือง ขาวพอง ไขไกและอื่น ๆ เครื่องเซนไหวนั้นก็จะนํามาเลี้ยงเพื่อนบานสวนหนึ่ง สวนที่เหลือก็นําไปเซน ไหวบรรพบุรุษ สวนสถานที่ ๆ จะวางเครื่องเซนไหว ไดแกสุสานบรรพบุรุษ ใตตนไมใหญ และภูเขา กลางปา และสถานที่ ๆ นากลัว หรือบางครั้งที่เสาเอกของบาน สําหรับการบูชาก็จะมีหมอผีเปนผูนํา ในการทําพิธี ซึ่งหมอผีนั้นสามารถที่จะจัดการกับวิญญาณรายได ดวยการติดตอกับวิญญาณทําไดโดย ผ า นพิ ธีก รรมและการเข าทรง ซึ่ ง วิ ญ ญาณเหลา นั้ นก็ จะบอกเรื่ อ งราวหรื อ สิ่ ง ต าง ๆ ที่ บ รรพบุ รุ ษ ตองการ สวนวิธีที่สองกระทําโดยผานคนกลางในการสนทนากับรางทรง เพราะบางครั้งวิญญาณบรรพ บุรุษจะเขาทรงในรางของสมาชิกในครอบครัว และคน ๆ นั้นก็ไมรูสึกตัว และจะพูดสิ่งตาง ๆ ออกมา ตามความตองการวิญญาณบรรพบุรุษนั้น ในอินโดนีเซียมักจัดในสุสานของบรรพบุรุษโดยมีชื่อเรียกวา พิธีญาดรัน (Nyadran)


152

ตามความเชื่อนี้ หากใครฝนวาบรรพบุรุษหิว สมาชิกในครอบครัวก็จะจัดเลี้ยง และ หาก วาสมาชิกทําเปนไมสนใจ วิญญาณบรรพบุรุษก็จะมารังควานสมาชิกโดยการเขาสิง หรือปรากฏ ตัวในรูปของผีเพื่อมาหลอกหลอนผูคนทั่วไป 3.10.3 ผี ตามพจนานุ ก รมศั พ ท สั ง คมวิ ท ยา (2532:378) ได ก ล า วถึ ง คํ า ว า ผี หมายถึ ง วิญญาณที่ไมมีรางกาย หรือ วิญญาณของคนที่ตายไปแลว ผีจะมีชีวิตอยูในโลกลี้ลับ หรือบางทีจะ อาศัยอยูรวมกับมนุษยแตมนุษยมองไมเห็น โดยความเชื่อนี้วากันวา มาจากความเชื่อเรื่องอมตภาพ (Immortality)

คนมลายู เชื่อวาผีสามารถชวยเหลือเจาบานของมันได โดยทั่วไปจะเปนคําสั่งใหไปทํา รายคนอื่นมากกวา อยางเชน Toyol จะถูกสั่งใหไปขโมยของ ๆ ผูอื่น Pelesit ที่ผูหญิงเลี้ยงไวเพื่อทํา ใหสามีหรือผูชายที่เขาหลงรัก สวน Hantu Roya ก็ถูกเลี้ยงเพื่อเฝาทรัพยสิน และทํารายผูอื่น ซึ่ง โดยทั่วไปคนมลายูจะเชื่อวาผีเปนสิ่งเลวรายที่สามารถรังควาน และบังเกิดโรคตาง ๆ แกมนุษยได ซึ่ง ผีตามความเชื่อของคนมลายูนั้นมีมากกวา 20 ชนิด ในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติมาเลเซียมีการจัดนิ ทัศกาลผีในทุก ๆ ป โดยจะนําผีชนิดตาง ๆ ตามความเชื่อของชาวมลายูมาจัดแสดง สังคมมลายูปตตานีขึ้นชื่อวาเปนสังคมที่มีความศรัทธาอยางแรงกลาตอหลักความเชื่อ ในพระผูเปนเจา อยางไรก็ตามมีความเชื่อตาง ๆ ที่มีอิทธิพลตอวิถีชีวิตซึ่งแอลนัลดัล (Annandale N.) นักมานุษยวิทยาดานวัฒนธรรมจากมหาวิทยาลัยอีเดนเบิรก ไดทําการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับความ เชื่อของคนมลายูปตตานี ซึ่งสรุปออกมาวา มีจิตวิญญาณสี่ชนิดและผีหลายชนิดพรอม ๆ กับอํานาจ ของสิ่งเรนลับตาง ๆ ที่มีความเกี่ยวพันกับชีวิตของมนุษย 3.10.4 ขวัญ นอกจากเรื่ อ งของวิ ญ ญาณแล ว ชาวมลายู ยั ง มี ค วามเชื่ อ ในเรื่ อ งของขวั ญ (Semangat) อี กด วย Semangat จะแตกต างจาก Nyawa เนื่องจาก Semangat ไมไดมาจาก วิญญาณของมนุษยที่ตายไป แตมันเปนพลังลี้ลับที่ไมมีตัวตน สามารถมีอิทธิพลตอชีวิตมนุษย แตใน บางกรณีขวัญก็อาจจะถูกตีความเหมือนกับวิญญาณไดเชนเดียวกัน ตามความเชื่อของคนมลายู ขวัญไมไดมีอยูแตในเฉพาะสิ่งของแตจะมีอยูในตัวของ มนุ ษย ด ว ย ซึ่ ง ส ว นใหญ จ ะมี อ ยู ต ามส ว นต า ง ๆ ในร า งกายมนุ ษย ตามทั ศ นของวิ น สเต็ ด (R.O.


153

Winstedt, 1961 : 19)

แลว คนมลายูจะเชื่อวาขวัญจะมีอยูในรกและสวนตาง ๆ ของรางกาย อาทิ น้ําลาย เหงื่อ เศษผมและเล็บ เงา ชื่อคน น้ําอสุจิ และรอยเทาของมนุษยและสัตว นอกจากนั้นยังมีอยู ในพืชพันธุ ลูกเปด ดิน และเหล็ก เปนตน หากวาขวัญไดหายไปจากตัวมนุษยหรือสิ่งของที่เจาของ ครอบครอง ก็จะทําใหเกิดความหายนะ แกผูเปนเจาของ หรือสิ่งของนั้น ๆ ดังนั้นเพื่อใหขวัญกลับคืน มา จะตองเชิญหมอผีมีพิธีกรรมเพื่อเรียกขวัญกลับสูเจาของ ซึ่งพิธีกรรมดังกลาวควรกระทําอยาง ตอเนื่อง และในชวงเวลาเฉพาะและหากวาไมมีการประกอบพิธีกรรมแลว จะทําใหขวัญนั้นหายไป ดวยเหตุนี้จะเห็นวา เมื่อขาวในทุงนา ไรสุกเปนสีเหลือง เจาของที่นา ไร ก็จะเรียกหมอผีมาทําพิธีผูก ขาว เพราะเชื่อวา หากไมมีพิธีดังกลาว ก็จะทําใหผลผลิตไมดีในปตอไป นอกจากนี้ในมุขปาฐะของคนมลายู มีอยูวา “มีคนนําขาวไปตากไวบนเกาะแลวลืม นํากลับ ตกกลางคืนผูคนก็จะไดยินเสียงรองเหมือนของเด็ก เมื่อสืบดูก็พบวาเปนเสียงของขาวที่ถูก นําไปตากทิ้งไว” และยังมีความเชื่ออีกวาขาวที่หุงสุกแลว และขาวกนหมอจะเอาไปทิ้งขวางไมไดจะตอง รับประทานใหหมดไมสุรุยสุราย เพราะนิสัยสุรุยสุรายจะทําใหผลผลิตจะไมดี ขวัญในรางกายของมนุษยจะอยูที่ศีรษะ ฉะนั้นจึงมีการหามเลนหัว เพราะศีรษะเปน ที่ตั้งของขวัญซึ่งเจาของจะตองดูแลอยางดี และรวมถึงหมอนก็จะตองดูแลรักษาอยางดีดวย หาก ไมเชนนั้นจะทําใหไดรับผลรายตาง ๆ อาทิ เกิดการเจ็บไขไดปวย เปนตน ขวัญตามความเชื่อของคนมลายูมี 2 ชนิด คือ ขวัญที่ดี อาทิ ขวัญขาว เนื่องจากมี ความสัมพันธกับมนุษย เพราะจะทําใหผลผลิตไดมากมาย ขวัญนบียูซุฟ  จะทําใหคนมีลักษณะ ออนหวาน ดูงดงาม นารักนาเอ็นดู ฯลฯ ในการรับหรือเรียกขวัญ หมอขวัญจะเปนผูเรียกโดยใชคาถา ตอไปนี้ Yahu Allah Allah Yahu, Asalku Nabi Yusuf, Duduk ke merucuk,……. (Ismail Hamid, 1991 : 39)

สวนขวัญรายซึ่งจะทําใหมนุษยเกิดการเจ็บไขไดปวย หมอขวัญก็จะใชคาถาเรียกขวัญกลับคืนมา ดังนี้ Bismillah hir Rahman nir Rahim, Aku tahu asal sirih, cahaya pada engkau. Aku tahu asal gambir, darah merah….. (Ismail Hamid, 1991 : 39)


154

3.10.5 การติดตอกับโลกลี้ลับ คนมลายูในยุคโบราณเชื่อวาโลกลี้ลับเปนสิ่งเหนือธรรมชาติและมีอํานาจเหนือมนุษย ดวย ความเชื่อเชนนี้จึงทําใหมนุษยเกิดความรูสึกกลัวเกรงเคารพและรักตออํานาจที่เชื่อวามีอยูในโลก ลี้ลับ ซึ่งไมสามารถมองเห็นได ดังนั้นเพื่อติดตอกับสรรพสิ่งในโลกนี้ดังกลาว คนมลายูจึงพยายามสื่อ โดยการประกอบพิธีกรรมตาง ๆ ดังตอไปนี้ 1. ประกอบพิธีในสถานที่เฉพาะ โดยปกติการประกอบพิธีติดตอกับสิ่งเรนลับนั้น จะกระทําในสถานที่ ๆ คนทั่วไปไม สามารถเขาไปยุงเกี่ยวได และถือเปนสถานที่หวงหาม ยกเวนในกรณีท่ีจะประกอบพิธีเทานั้น ซึ่งมักจะ อยูตรงจุดศูนยกลางของบานโดยถือวาเปนศูนยกลางของพลังลี้ลับ และใชเปนสถานที่อัญเชิญวิญญาณ หรือติดตอกับบรรพบุรุษ ในพื้นที่ชนบทบางแหงจะมีสถานที่เฉพาะสําหรับประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ซึ่งถือ วาเปนศูนยของสากลโลก และเปนสถานสําหรับติดตอกับสิ่งลี้ลับ นอกจากนี้สสุ านก็เปนอีกสถานที่หนึ่ง ที่ใชสําหรับติดตอกับคนที่ตายไปแลวเพราะถือ วาสถานที่ดังกลาวเปนสถานที่บริสุทธิ์ หรือบางทีอาจใชเรือกสวนไรนาในปาเขาลําเนาไพร และตนไม ใหญที่ดูนากลัว ซึ่งทั้งหมดถือเปนสถานที่สามารถใชประกอบพิธีกรรมในการติดตอกับสิ่งลี้ลับ เพื่อขอ ความคุมครองหรืออํานวยความสุขสวัสดีใหแกผูคน ซึ่งสถานที่เหลานี้ทุกคนตองใหความเคารพหาก ไมอยางนั้นเขาก็จะไดรับอันตรายหรือจะเกิดขึ้นไมดีไมงามตาง ๆ ขึ้น 2. ประกอบพิธีในเวลาที่เฉพาะแนนอน ชวงเวลาที่จะใชติดตอกับโลกลี้ลับนั้นตองใชเวลาในชวงเวลาวิกฤติโดยจะขึ้นอยูกับ สิ่งแวดลอมของโลก เชน ในชวงค่ําหรือในเวลาที่ดวงอาทิตยขึ้น ซึ่งเชื่อกันวาในชวงเวลาดังกลาว คน สามารถติ ด ต อ กั บ โลกลี้ ลั บ หรื อ วิ ญ ญาณบรรพบุ รุ ษ ได และในช ว งแปรเดื อ น หรื อ ช ว งที่ มี ก าร เปลี่ยนแปลงครั้งสําคัญในตัวของมนุษย ซึ่งในทางมานุษยวิทยาถือวาเปนชวงการเปลี่ยนแปลงของ อายุ (The rites of passage) อยางเชน ชวงแตงงาน ระยะตั้งครรภ และตอนเสียชีวิต ซึ่งในชวงการ เปลี่ยนแปลงนั้นจะมีการทําพิธีบุพกิจหรือพิธีแรกรับ (Initiation) นอกจากนี้ ยังมีชวงเวลาหนาสิ่วหนาขวาน เชน เวลาที่เกิดโรคระบาด หรือภัยพิบัติ แผนดินไหว ภูเขาไฟระเบิด น้ําทวม พายุ ฯลฯ ที่เชื่อวาเปนชวงเวลาสําคัญที่เกิดขึ้นเนื่องจากอํานาจลี้ ลับ โกรธ ดวยเหตุนี้พิธีกรรมตาง ๆ จึงมีขึ้นเพื่อปองกันและปดเปาอันตรายจากภัยพิบัติเหลานั้น จาก การสัมภาษณหมอพื้นบานที่ใชการรักษาโดยการปดเปาเลาวา จะไมทําพิธีในชวงเที่ยงของวัน และเวลา ที่ดีที่สุดคือชวงพลบค่ํา เนื่องจากเปนชวงเวลาของพวกวิญญาณ (รอมละห อาแว (สัมภาษณ), 15 ตุลาคม 2549)


155

3.10.6 ความเชื่อเกี่ยวกับการงดของตองหาม คนมลายูเชื่อวานอกจากมนุษยแลวในโลกนี้ยังมีวิญญาณ (ผี) กลาวคือ หากมนุษย กระทําผิดพลาดหรือกระทําการอยางหนึ่งอยางใดโดยพลการ โดยปราศจากการเคารพกฎเกณฑการ กระทําเหลานั้นก็จะทําใหวิญญาณเกิดความโกรธกริ้ว และจะสงผลใหมนุษยเกิดการเจ็บไขไดปวย ดัง นั้ น เพื่ อ ให เ กิดความสั มพัน ธ อันดี ระหวางมนุ ษย กั บวิ ญญาณ ก็เลยทํ าให มีการงดของตอ งห าม (Pantang Larang)

การงดของตองหามเปนอีกความเชื่อหนึ่งที่จะชวยมนุษยรอดพนจากความเจ็บปวย และเคราะหราย ที่มาที่ไปของความเชื่อนี้ ก็เชนเดียวกับความเชื่อ taboo ของคนโปลินีเซียน ซึ่งความ ชื่อนี้เกิดจากความเชื่อของพวกเขาที่มีตอพลังอํานาจเหนือธรรมชาติ ที่มีผลตอคนหรือสังคมนั้น ๆ คํา วา taboo เปนคําโปลิเซียน ที่ใชเรียกการงดสิ่งตองหาม ซึ่งกลุมโปลิเซียนทุกคนจะตองถือปฏิบัติสิ่งนี้ หากผู ใ ดไม ทํ า ตามก็ จ ะได รั บ ผลเคราะห ก รรม การงดสิ่ ง ต อ งห า ม ในสั ง คมมลายู ก็ มี บ ทบาท เชนเดียวกัน เมื่อพูดถึงขอหามตามธรรมเนียมมลายู ก็จะหมายถึงสิ่งที่หามกระทํา หามกิน หรือหาม พูดเปนตน (Robert H. Lowie, 1970 : 78-81) การงดสิ่งตองหามในสังคมมลายูพบไดมากมาย อยางเชน คนมลายูจะเชื่อเรื่องขวัญ ขาว หากใครรูจักดูแลขาวแลว ขวัญนั้นก็จะอยูกับเขาและทําใหเขามีปจจัยยังชีพอยางมากมาย ในทาง ตรงกันขาม หากขวัญขาวหนีไปจากบาน ก็จะทําใหเจาของบานอาภัพ ดวยความเชื่อนี้เองจึงทําให การ งดสิ่งตองหามที่เกี่ยวของกับขวัญขาวเกิดขึ้น กลาวคือ ในชวงเวลาปลูกขาว หามคนในบานใหขาวแก ไกและเปด หรือสีขาว เพราะกลัววาการกระทําดังกลาวจะทําใหขวัญขาวหนีไป ตอมาเมื่อขาวตั้งทอง เจาของตองไมเผากะลามะพราว เพราะเชื่อวาหนูจะมากินขาวในนา และหามเปาปเพราะเสียงปจะทํา ใหขาวลีบ เมื่อถือกระดิ่งหามเขาใกลถังขาวสารเพราะเชื่อวาขวัญขาวจะหนี เมื่อจะเกี่ยวขาวตองทําการ ผูกขวัญขาว มิฉะนั้นรวงขาวจะหนีมือ ในขณะเดียวกันเวลาทานก็หามไมใหเม็ดขาวตกหลน มิเชนนั้นจะทําใหขวัญขาวหนี และเมื่อมีกากขาวสารก็จะตองเก็บไวหามทิ้ง จากนั้นหากครบ 40 วันหลังเกี่ยวขาว อนุญาตใหเจาของ นําไปขาย หรือยายที่ได ฉะนั้นก็จะมีการแยกเก็บระหวางขาวเกากับขาวใหม นอกจากนี้ยังมีขอหามอื่น ๆ ที่แยกระหวางผูชาย ผูหญิง เด็กและทั่วไป ซึ่งสาหัด เวาะหลี (สัมภาษณ), 23 สิงหาคม 2549 ได ยกตัวอยางไวดังนี้ ตัวอยางขอหามสําหรับผูชาย - เวลาออกจากบ า นไมใ ห กา วเท าซา ยออกแต ให ก าวเทา ขวา (ทํ า งาน หรื อ เดิ น ทางไกล) เชื่อวาจะทําใหพนจากภัยอันตราย - หากปรากฏวามีตะกวดตัดหนา ก็จะตองกลับบาน ถือวานั่นเปนลางราย


156

- เมื่อเดินออกจากบานแลวหามหันกลับ เชื่อวาจะไดรับอันตาย - หามดื่มน้ํามะพราวในกะลา เชื่อวาจะทําใหผูอื่นเกลียดชัง ตัวอยางขอหามสําหรับผูหญิง - หามรองเพลงในขณะประกอบอาหาร เพราะเชื่อวาจะไดสามีสูงอายุ - หามนั่งขวางประตู จะเชื่อวาจะทําใหคนไมมาสูขอ - หามกินขาวในกระทะ เชื่อวาจะทําใหใบหนาช้ําในวันแตงงาน - เมื่อผูหญิงตั้งทอง หามสามีทํารายหรือ ฆาสัตว - หามผูหญิงทองนั่งขวางประตู เพราะจะทําใหคลอดยาก - หามผูหญิงทองนั่งบนดิน เชื่อวาเวลาคลอดจะทําใหรกติด - เมื่อคลอดลูกหัวป หามซักผาหรืออาบน้ํ าในลําคลอง เชื่อวาจระเขจะมาทําราย เพราะจระเขจะชอบผูหญิงที่คลอดลูกหัวปเปนพิเศษ - หญิงเพิ่งคลอด หามเกลาผมและปกปนปกผม เชื่อวาวิญญาณรายจะมารบกวน - หามนั่งยอง ๆ หามเติมขาว หามกินขาวราดแกง หามกินเนื้อ หรือไข ตัวอยางขอหามสําหรับเด็ก - จะตองดูแลสายสะดือของเด็กเพิ่งคลอดใหดี เมื่อสายสะดือหลุดจะตองเก็บไวหาม ทิ้ง หากทิ้งจะทําใหเมื่อโตขึ้นจะหางไกลกับพี่นอง - ทารกที่เพิ่งคลอดจะตองเปดปากดวยน้ําผึ้ง เชื่อวาจะเปนคนปากหวาน - หามนําเด็กเล็ก ๆ มาเดินเลนยามโพลเพล เชื่อวาวิญญาณรายจะรบกวน - หามทิ้งเด็กทารกไวในเปลคนเดียว วิญญาณจะรบกวน - หามนํารมสีดํามากางใหเด็ก เชื่อวาจะทําใหเด็กชัก - หามเด็กเลนกระจกเงา เชื่อวาจะทําใหจมน้ําตาย - หามจูบมือเด็ก เชื่อวาจะทําใหเปนคนชอบของผูอื่น ตัวอยางขอหามอื่น ๆ นอกจากนี้ ยั ง มี ข อ ห า มอื่ น ๆ ที่ ผู ค นในสั ง คมจะต อ งให ค วามเคารพถื อ ปฏิ บั ติ อยางเชน หามนําลูกมะพราวที่แตกหนอแลวมาปลูกหนาบาน เพราะจะทําใหคนในบานมีอันจะตอง จากบานไป และยังมีขอหามอื่นที่เกี่ยวของกับปรากฏการณอื่น ๆ อีกเชน หามนั่งบนหมอน เชื่อวาจะ เปนฝที่กน หามผิวปากในบาน เชื่อวาจะไดรับเคราะหราย หามชี้รุงกินน้ํา เชื่อวาจะทําใหนิ้วกุด และ หามตีกับไมกวาด เชื่อวาจะทําใหผูที่ถูกตีไดรบั เคราะห


157

การงดสิ่งตองหามของคนมลายูถือเปนความเชื่อที่ไดรับสืบทอดตอ ๆ กันมา แตเมื่อ อิสลามถูกเผยแผก็ทําใหความเชื่อเหลานี้หมดไป หรือออนแอลง ตางจากสังคมโปลิเซียนอื่น เชน ชาวเลหรือชาวบาหลี แตอยางไรก็ตามความเชื่อดังกลาวยังคงถือปฏิบัติในกลุมคนบางกลุม 3.10.7 การถือฤกษ (วัน เดือน เวลา) สังคมมลายูยังมีการถือฤกษ ดังสังเกตไดจากเมื่อตองการกระทํากิจกรรมหนึ่ง ๆ โดยเฉพาะกิจกรรมที่มีความสําคัญในชีวิต อาทิ ปลูกบาน แตงงาน ขึ้นบานใหม ซื้อรถ และการลง เรื อ นเพื่ อ เดิ น ทางไปประกอบพิ ธี หั จ ญ ผู ก ระทํ า หรื อ เจ า ของบ า นจะต อ งไปหาฤกษ จ ากผู รู เ ช น โตะอิหมาม หรือหมอดู เพื่อเลือกวันที่จะเปนมงคลในการจะเริ่มประกอบกิจกรรม ซึ่งในการดูวันจะมี วิธีการปฏิบัติหลายวิธี แตที่นิยมปฏิบัติกันทั่วไป คือ การนับธาตุทั้ง 4 ธาตุ ทั้ง 4 ที่ชาวมลายูถือปฏิบัติ คือ ดิน น้ํา ไฟ ลม โดยเขต รัตนจรณะ และคณะ (2537 : 27) ไดอธิบายความหมายของธาตุทั้ง 4 เอาไวดังนี้ ดิน หมายถึง การทํางานลาชา อาจจะพบกับปญหาและอุปสรรค น้ํา หมายถึง การทํางานอยูในสภาพเยือกเย็นไดรับการชวยเหลือจากผูอื่น ไฟ หมายถึง การทํางานอยูในสภาพอารมณรอน การทํางานจะมีปญหาและขัดแยง ทะเลาะเบาะแวงในเครือญาติหรือพรรคพวกรวมงาน ลม หมายถึง การทํางานเปนไปอยางรวดเร็ว ไมคอยจะมีปญหา ราบรื่น โชคดี มีลาภ และอารมณเย็น โดยเสกสรร ศรีระเดน กลาววาการนับวัน วันไหนจะตกตรงกับธาตุดิน น้ํา ไฟ ลม จะตองนับตามวันที่จันทรคติ ดังตารางตอไปนี้ ดิน น้ํา ไฟ ลม ขึ้น 1 ค่ํา ขึ้น 2 ค่ํา ขึ้น 3 ค่ํา ขึ้น 4ค่ํา 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 แรม 1 ค่ํา แรม 2 ค่ํา แรม 3 ค่ํา แรม 4 ค่ํา แรม 5 ค่ํา 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15


158

สําหรับตารางขางบน เปนตัวอยางแสดงการนับวันตามจันทรคติที่ตรงกับแตละธาตุ ของธาตุทั้งสี่ครบ 30 วัน แตบางเดือนมีเพียง 29 วัน ตองใชการคํานวณ (2529 : 102, อางถึงใน เขต รัตนจรณะ และคณะ, 2537 : 27-28) อนันต วัฒนานิกร (2529 : 93) กลาวถึงวันปลูกสรางบานเรือนวาไมกําหนดวันดี วันรายเฉพาะวันไว หากวันใดตรงกับดวงจันทรขึ้นแรมตอไปนี้ถือวาเปนชั่วราย วันอัปมงคล หามการ ปลูกสรางบานเรือน หรือประกอบกิจการมงคลตาง ๆ ดังนี้ วัน 4 ค่ํา 14 ค่ํา เดือนรอบิอุลอาวัล (มีนาคม) วัน 8 ค่ํา เดือนมูฮัรรอม (มกราคม) รอบิอุลอาเคร (เมษายน) วัน 10 ค่ํา เดือนซอฟาร (กุมภาพันธ) วัน 12 ค่ํา เดือนรายับ (กรกฏาคม) วัน 20 ค่ํา เดือนยามาดิลอาเคร (มิถุนายน) วัน 22 ค่ํา เดือนยามาดิลอาวัล (พฤษภาคม) วัน 27 ค่ํา เดือนรอมฎอน (กันยายน) วัน 28 ค่ํา เดือน ซุลกีฮเี ดาะห (พฤษจิกายน) วัน 29 ค่ํา เดือนยามาดีลอาเคร (มิถุนายน) เดือนซะบัน (สิงหาคม เดือน ซาวัล (ตุลาคม) อนึ่งสําหรับการเทียบเดือนอาหรับซึ่งเปนเดือนที่นับตามจันทรคติกับเดือนไทยซึ่งนับ ตามสุริยคตินั้นจะเทียบกันไมได เนื่องจากจะมีการเหลื่อมล้ํา และเปลี่ยนแปลงตลอดทุกป สําหรับกฤษในการลงเรือนจะมีวิธีนับจากวันที่ตรงกับขึ้น 1 ค่ําของในแตละเดือนเพือ่ ดูวาฤกษที่ไมดีจะตรงกับวันใด ซึ่งอับดลขาหรีม หมัดสู (สัมภาษณ), 2 เมษายน 2550 เลาถึงวิธีการ นับวามีดังนี้ ขึ้น 1 ค่ํา ตรงกับ วันอาทิตย ฤกษไมดีตรงกับ วันอังคาร ขึ้น 1 ค่ํา ตรงกับ วันจันทร ฤกษไมดีตรงกับ วันจันทร ขึ้น 1 ค่ํา ตรงกับ วันอังคาร ฤกษไมดีตรงกับ วันอาทิตย ขึ้น 1 ค่ํา ตรงกับ วันพุธ ฤกษไมดีตรงกับ วันเสาร ขึ้น 1 ค่ํา ตรงกับ วันเสาร ฤกษไมดีตรงกับ วันพุธ ขึ้น 1 ค่ํา ตรงกับ วันพฤหัสบดี ฤกษไมดีตรงกับ วันศุกร ขึ้น 1 ค่ํา ตรงกับ วันศุกร ฤกษไมดีตรงกับ วันพฤษหัสบดี และมีขอยกเวนสําหรับเดือนสาม จะถือวาเปนเดือนที่ฤกษไมดี นอกจากนี้ยังมี รายละเอียดปลีกยอยอีกมากมายขึ้นอยูกับกิจกรรมที่จะกระทํา


159

3.11 ศาสนาฮินดู-พุทธในโลกมลายู ก อ นศาสนาฮิ น ดู แ ละพุ ท ธจะมาสู โ ลกมลายู ผู ค นมี ค วามเชื่ อ แบบวิ ญ ญาณนิ ย ม ศาสนาฮินดูถูกเผยแผจากอินเดียและประสบความสําเร็จในการเผยแผสูชนชั้นปกครอง เชน ราชา แต แมวาผูนับถือศาสนานี้จะจํากัดเฉพาะชนชั้นสู ง การบูช าสุสานบรรพบุรุษโดยกษัตริยฮิ นดูก็ ยังถื อ ปฏิบัติอยู ศาสนาฮินดูถูกผสมผสานกับความเชื่อดั้งเดิม เชน ความเชื่อเกี่ยวกับเทวดาตาง ๆ ในฮิ น ดู ก็ ถู ก นํ า มารวมกั บ ความเชื่ อ ต อ สิ่ ง ลี้ ลั บ ที่ มี อ ยู ใ นความเชื่ อ เดิ ม จึ ง ก อ ให เ กิ ด กรบวนการ ผสมผสานระหวางความเชื่อฮินดูกับภูมิบุตร และความเชื่อฮินดูลัทธิพระเวทเองก็ไมแตกตางจาก ความเชื่อเดิมของคนมลายูมากนัก หลังจากนั้นในชวงคริสตศตวรรษที่ 5 คุนาวรมัน (Gunavarman) กษัตริยแหงแควน แคชเมียรในอินเดียไดนําศาสนาพุทธนิกายหินยานเขามาเผยแผสูโลกมลายู ตอมาในคริสตศตวรรษที่ 7 ก็ไดมีนักเผยแผจากนิกายมหายาน ชื่อดรามา (Dharama) โดยนิกายหลังนี้จะเนนคําสอนในเรื่อง โยคะ และใหความสําคัญในการปฏิบัติโยคะและรายมนตราเปนหลัก ศาสนาฮินดูและพุทธในภูมิภาคนี้ก็สามารถผสมผสานเขาดวยกันแมวาในอินเดียจะ ไมสามารถรวมกันได ตัวอยางของการผสมผสานคือ พระพุทธเจา กับ พระวิษณุ ทั้ง ๆ ที่วิษณุ คือ หนึ่งในเทพเจาตามหลักความเชื่อตรีมูรติ (Trimurati) ของฮินดู ความเชื่อแนวนี้ทําใหมองเห็นภาพ ของศาสนาฮินดูในเกาะบาหลี ซึ่งไดรับเอาสถานะนักพรตพุทธเขามาไวในพิธีกรรม นอกจากนี้การ รวมกันของทั้งสองศาสนานี้ยังจะเห็นไดอีกจากการแกะสลักในเจดียบุโรบุโด บนเกาะชวากลาง และ เจดียจาโก ที่เมืองมาลัง บนเกาะชวาตะวันออก ที่ไดอธิบายถึงความรวมมือระหวางพระศิวะและ พระพุทธเจา และในบางครั้งอาจเรียกวา พระศิวะหรือพระพุทธเจา และคําวาศิวพุทธยังถูกใชเรียกชื่อ กษัตริยฮินดูที่เกาะชวา ในปจจุบันการผสมผสานกันระหวาง ฮินดู – พุทธ ยังปรากฏอยูในพิธีกรรมของชาว บาหลี เชนพิธีกรรมขับไลวิญญาณรายและพิธีฌาปนกิจ โดยพระหรือนักบวชจากทั้งสองศาสนาก็จะมา ทําพิธีรวมกัน และมีการใชมนตราของทั้งสองศาสนา นักพรตฮินดูไวษณพนิกาย ซึ่งจะมีชื่อเรียกวา มหาเทวะ มหาศิว รุทธ สังคระ สัมภูและ อิศวร สวนนักบวชในศาสนาพุทธจะเรียกวา รัตนสัมภว ศรี อโมฆะสิทถี และวิโรจนะ (Mata Rantai : Bali (รายการโทรทัศน), 2007) ขอแตกตางของนักบวชจากทั้งสองศาสนาจะสังเกตไดจากเครื่องแตงกาย แตผูรวม พิธีก็ไมไดใหความสําคัญกับขอแตกตางนี้ ในสวนของผูนับถือทั้งสองศาสนาตามเทพที่ตัวเองนับถือ เชน นับถือพระศิวะก็ไหวรูปปนศิวลึงค หากนับถือพุทธก็จะไหวรูปปนพระโพธิสัตว


160

ศาสนาฮินดูเขามาสูโลกมลายูกอนโดยมีกระบวนการเผยแผความเชื่อหลักเรื่อง ตริมูร ตี โดยไวษณพนิกายถูกเผยแผในเกาะชวามากที่สุด จากนั้นศาสนาพุทธจากอินเดียก็ถูกเผยแผแทนที่ โดยอยูในกลุมชนชั้นสูงและไดถูกนํามาเปนศาสนาประจําชาติในที่สุด สวนฮินดูไวษณพนิกายที่เดิม เคยมีอยูก็เขาไปมีบทบาทในชนชั้นลางตอ (ชาวบาน) อยางไรก็ตามทั้งสองศาสนาที่ไดรวมเปนศาสนา ใหมที่แตกตางไปจากรูปแบบเดิมเหมือนที่ปรากฏอยูในอินเดีย 3.11.1 อิทธิพลศาสนาฮินดูตอความคิดของคนมลายู กอนฮินดูเขามาในสังคมมลายู คนมลายูมีความเชื่อแบบวิญญาณนิยม (Animism) ซึ่งเปนความเชื่อที่ไดรับมาจากยุคโบราณ ความเชื่อนี้มีลักษณะที่เปนความเชื่อเกี่ยวกับขวัญ การบูชา วิญญาณบรรพบุรุษและสิ่งลี้ลับเหนือธรรมชาติ ซึ่งมีความซับซอนอยางมาก โดยความเชื่อดังกลาวได จัดระเบียบพฤติกรรมของมนุษยตอสิ่งแวดลอมรอบตัว เพราะมนุษยจะเชื่อวาแตจะปรากฏการณที่ เกิดขึ้นบนโลกนี้ลวนมีพลังลี้ลับเหนือธรรมชาติหรือเจาที่อยูเบื้องหลัง เมื่ อ ศาสนาฮิ น ดู เ ข า มาสู โ ลกมลายู แ ละเกิ ด การแพร ก ระจายอย า งรวดเร็ ว ในช ว ง คริสตศตวรรษที่ 4-5 ความคิดของคนมลายูก็ไมไดเปลี่ยนแปลงอะไรมากนัก ขณะเดียวกันศาสนา ฮินดูลัทธิพระเวท ซึ่งเชื่อตออํานาจของเทพเจาองคตาง ๆ ไดเขามาแทนที่ ความเชื่อเกี่ยวกับเจาที่และ วิญญาณลี้ลับ และเติมเต็มความเชื่อตอเจาที่และอํานาจลี้ลับ ซึ่งคนมลายูเชื่อวามีอยู อาทิ ฝน พายุ ภูเขา ทะเล ปา ฯลฯ เชน พระอินทร คือเทพแหงสงครามและพายุ เทพวรุณ เปนผูดูแลกฎหมายของ โลก รุทธา เทพเจาแหงฟารอง ฟาผา อัคนี เทพแหงไฟ สุริยะ เทพแหงดวงอาทิตย วายุ เทพแหงลม สาวิตรี เทพแหงอวกาศ อุษา เทพแหงรุงอรุณ เปนตน (Ismail Hamid, 1991 : 53-54) อิทธิพลความคิดฮินดูไดปรากฏอยูในมนต คาถา ตัวอยางเชนการใชคําวาโอม (OM) ในเวทมนตคาถา ซึ่งตายิบ ออสมาน (Taib Osman, 1967 : 14) กลาววา โอมเปนสัญลักษณของเทพ เจาฮินดู คือ พระพรหม พระวิษณุ และพระศิวะ ซึ่งเปนแนวคิดตรีมูรติในศาสนาฮินดู โดยศรีสัตยา ศรัย (Srisatya Sai) ไดใหรายละเอียดวา “โอม” จัดเปนคําศักดิ์สิทธิ์สําหรับชาวฮินดู เปนคําระบุ รวมถึงเทพเจาทั้งที่มีตัวตน (personal) และมิไดมีตัวตน (impersonal) คําวา โอม เปนคําที่เปลง ออกมาจากการรวมกันของอักษร 3 ตัว คือ อะ อุ มะ มีคําอธิบายในเชิงปรัชญาวา ในเบื้องตนอัน กําหนดเวลาไมได มีแตพรหมันอันเปนภาวะสงบนิ่งยิ่งใหญ (supreme silence) จากพรหมันนั้นเอง ไดกําหนดพลังที่ฉายเปลงออกมาเปนพลังเสียงแรกสุด (primeval sound) นั่นคือ “โอม” อาศัย ถอยคํานี้ไดกอกําเนิดสิ่งสรางสรรคตาง ๆ อันประกอบดวยธาตุ 5 อยางคือ อากาศธาตุ วาโยธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ และปฐวีธาตุ พลังของพรหมันที่แสดงออกมาโดยผานโอม จึงไดซึมแทรกเขาไปใน


161

สรรพสิ่ง และเปนตัวการควบคุมสรรพสิ่งไว ดังนั้นจึงมีคําเรียกอีกอยางวา “ปราณวะ” หมายถึง ไหล ผานปราณหรือชีวิตทั้งมวล (ประสาร สมพงษ, 2544 : 30) ตัวอยางการใชคําวาโอมในมนตรามลายู เชน OM…Mujarrablah azimat ini…. จะเห็นไดชัดวาในมนตรามลายูปรากฏในรูปของชื่อเทพเจาตาง ๆ ดังที่กลาวมาเชน ความคิดเห็นของ ตายิบ ออสมาน (Taib Osman) ตอมาเมื่อมีการถายทอดตอ ๆ กันจากรุนสูรุน ชื่อของเทพเจาตาง ๆ ก็เพี้ยนไป อิทธิพลฮินดูในขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวมลายูในสังคมมลายูเริ่มตั้งแตมารดา ตั้งครรภจนถึงคลอดออกมา คนมลายูจะมีขนบธรรมเนียมที่ถือปฏิบัติมากมาย เชน พิธีการคลึงทอง ตอนตั้งครรภ พิธีเปดปาก (ใชน้ําผสมเกลือ) พิธีเหยียบธรณี เจาะหู (ในเประ หากลูกชายหนาเหมือน พอ ตองเจาะหู) และพิธีกรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการแตงงานและการตาย ซึ่งเดิมทีพิธีกรรมดังกลาว กระทําขึ้นเพื่อ ขอใหเทวดาหรือสิ่งศักดิ์สิทธชวยดลบันดาลความสุขแกลูก ๆ และสมาชิกในครอบครัว (นิอับดุลรากิบ บินนิฮัสซัน, (สัมภาษณ) 15 มิถุนายน 2549) ถึงแมวาสังคมมลายูไดเขารับนับถืออิสลามเปนเวลานานมาแลว แตการปฏิบัติและ ลักษณะของวัฒนธรรมที่มีผลมาจากอิทธิพลของฮินดู-พุทธยังคงหลงเหลืออยูในหมูชาวมลายูปตตานี ตลอดจนชาวมลายูในรัฐมลายูอื่น ๆ ยังคงปฏิบัติวัฒนธรรมประเพณีดังกลาว จนกระทั่งวาในบางครั้ง ไมสามารถแยกแยะไดวาการกระทําใดเปนจารีตประเพณี หรือเปนหนาที่ในทางศาสนา อยางไรก็ตาม ความสํานึกในอิสลามและความศรัทธาตอพระผูเปนเจาไดกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงและปรับเปลี่ยน ในดานการปฏิบัติและความศรัทธาที่ไมขัดกับหลักการศาสนาที่แทจริง ซึ่งผูวิจัยจะเสนอตัวอยางใน บางประเพณี ดังนี้ 3.11.2 ประเพณีการฝากทอง ประเพณี ก ารฝากท อ งจะกระทํ า ต อ ผู เ ป น ภรรยาที่ กํ า ลั ง ตั้ ง ครรภ เ จ็ ด เดื อ น โดย จุดประสงคเพื่อใหเกิดความงายในการคลอดและปดเปาภยันตรายตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้น มีเครื่องมือ อุปกรณหลายอยางที่จําเปนตองใชในพิธีกรรรมของประเพณีนี้ ไดแก ผาขาวจํานวนหาหลา ผาขาวมา เจ็ดผืน ขาวสารหนึ่งถวย ไขไกหนึ่งฟอง ใบตอง มะพราวและลูกหมากอยางละหนึ่งผล มีดโกนหนึ่ง เลม หวี ชอน กระชอน น้ํามันและเข็มหนึ่งเลม นอกจากนี้ยังมีอุปกรณสําหรับการอาบ เชน ดายหนึ่ง กอน ขาวสารหนึ่งลิตร มะพราวหนึ่งผล ดอกหมากหนึ่งพวง เทียนสองเลม ใบมะพราว ผาขาวและ ขี้เถาของรูป มะนาวและน้ําอาบจากเจ็ดบอ กลีบดอกผสม และเหรียญกษาปณจํานวนหนึ่ง พิธีกรรมของประเพณีการฝากทอง ผูหญิงที่ตั้งครรภจะตองนอนบนผาขาวมาจํานวน เจ็ดผืน หลังจากนั้นหมอตําแยจะดึงผาดังกลาวทีละผืนจนหมด ไขไกหนึ่งฟองที่ปลุกเสกเรียบรอยจะ


162

ถูกกลิ้งไปมาบนทองพรอม ๆ กับมีดโกนเสมือนหนึ่งวาตองการขจัดอุปสรรคตาง ๆ ที่จะขัดขวางการ เกิดของเด็ก เสร็จแลวหมอตําแยจะทําการผูกทอง เพื่อหลีกเลี่ยงภัยพิบัติ สวนที่ใชกระชอนเพื่อตัก ตวงใหไดมาซึ่งรายได และปจจัยที่ยังชีพอื่น ๆ สวนใบตองหมากและมะพราวเอาไวใชขับไลผีหา ซาตาน โดยนํามะพราวที่ปอกแลวกลิ้งบนทองไปมาจากบนลงลางจํานวนเจ็ดครั้ง และครั้งสุดทายจะ ปลอยใหมะพราวกลิ้งเปนอิสระ เมื่อลูกมะพราวหยุดหมอตําแยก็จะสังเกตดูทิศทาง หากวาหนาของลูก มะพราวหันไปดานบน แสดงวาลูกในครรภจะเปนเพศชาย แตหากหันมาดานลางก็จะเปนเพศหญิง ตอจากนั้นผูหญิงดังกลาวจะถูกอาบดวยน้ําดอกไมที่ถูกแชในน้ําที่เอามาจากเจ็ดบอและพิธีกรรมยังมี อีกหลายขั้นตอนจนกวาจะเสร็จพิธี 3.11.3 ประเพณีเขาสุนัต (ขลิบอวัยวะเพศชาย) กลุ ม เด็ ก ชายที่ มี อายุ ร าว ๆ ห า ป จนถึ งอายุ สิบ ป จ ะรวมกลุ ม กั น โดยที่ ผู ป กครอง เห็นชอบเพื่อเขาสุนัตหมู กอนที่จะเขาพิธีสุนัตเด็ก ๆ เหลานี้จะถูกแหรอบ ๆ หมูบานโดยถูกอุมขึ้นบา แตถาเด็ก ๆ ที่มาจากครอบครัวที่มีฐานะก็จะถูกแหโดยขี่ชาง ซึ่งอาร โอ วินสเต็ด (R.O. Winstedt, 1961 : 111 -114) กลาววา การกระทําดังกลาวไดรับอิทธิพลจากศาสนาฮินดูที่ทําการแหแหนรูปปน พระวิษณุดวยการวางบนหลังชาง เด็ก ๆ เหลานี้จะถูกทาเล็บดวยใบเทียน หลังจากนั้นพวกเขาจะนั่ง บนเกาอี้ที่ถูกประดับอยางสวยงาม และไดรับการดูแลเปนพิเศษเหมือนกับเจาบาว ตอดวยการปอน ขาวเหนียวเหลืองและขาวที่ไดรับการเสกจากผูที่จะทําการขลิบอวัยวะเพศ (โตะมูเด็ม) ทั้งนี้เพื่อเรียก ขวัญใหกลับมา โดยมีอุปกรณสําหรับทําพิธีสุนัตมีดังนี้ 1. ผาขาวยาวหาศอก 2. ไกตัวผูหนึ่งตัว (บางแหงไมใช) 3. ภาชนะกลวง (Buyung) ที่มีน้ํา 4. ตนกลวย 5. ขันหมาก 6. เงิ น ค า ทํ า ขวั ญ ซึ่ ง พ อ แม จ ะมอบให แ ก ผู จ ะทํ า การขลิ บ อวั ย วะเพศของเด็ ก (โตะมูเด็ม) หลังจากพิธีเขาสุนัตเสร็จเรียบรอยแลว ชวงระยะเวลาแหงการงดเวนสิ่งตองหามก็เริ่ม ขึ้นเรื่องอาหารการกิน ผูเขาสุนัตจะตองงดเวนอาหารที่มีความรอน นอกจากนั้นหามเดินเที่ยวเตรไป มา เพราะกลัววาจะเดินขามบางสิ่งบางอยางที่จะทําใหแผลบวม หรือหายชา ผูทําการขลิบอวัยวะเพศ (โตะมูเด็ม) จะหมั่นดูอาการของแผลตลอดระยะเวลาสามวันหลังทําการขลิบ สําหรับในปจจุบันมัก


163

นิยมทําเปนหมู โดยแพทยเปนผูขลิบ และบางแหงอาจยังใชโตะมูเด็มเปนผูขลิบ แตไมมีพิธีรีตรอง มากเหมือนในอดีต 3.11.4 ประเพณีการตาย แมวาพิธีกรรมฮินดูที่เกี่ยวกับการตาย คนมลายูไมถือปฏิบัติเนื่องจากขัดหลักการของ ศาสนาอิสลาม แตความเชื่อของฮินดูก็จะคงมีอยูเชน ในการจัดเลี้ยงการตาย 3 วัน 7 วัน 40 วัน 100 วัน ก็ยังคงมีใหเห็นอยูในสังคมมลายู หลังจากที่อิสลามเขามาสูอาณาจักรมัชปาหิต งานเลี้ยงซราดาที่ใชกราบไหวบรรพ บุ รุษนั้น ยั งคงดํ า เนิน ต อไป ในภาษาชวา งานเลี้ ยงซราดา เรี ย กว า ยาดรั น ( Nyadran) งานเลี้ ย ง ดังกลาวถูกจัดขึ้นที่สุสานบรรพบุรุษในเดือนอัรวะฮฺ (Bulan arwah) หรือรูวะฮฺ (Ruwah) หมายถึง เดื อ นชะอฺ บาน ต อ นรั บ การมาของเดื อ นถื อ ศี ล อดหรื อ รอมฎอน ชาวบ า นจะพาอาหารมาที่ กู โ บร (สุสาน) หรือเลี้ยงอาหารเพื่อรําลึกถึงและกราบไหววิญญาณบรรพบุรุษ และทําพิธีสวดสงดอกไมไปให วิญญาณบรรพบุรุษ (Penye Karam) โดยดอกไมนานาชนิดจะถูกโปรยลงบนไมนีซัน33บนหลุมศพ บรรพบุรุษ พรอม ๆ ไปกับการเผากํายานและสวดมนต เชนเดียวกับพิธีเซอลามัตตัน (Selamatan) ซึ่งจะถูกจัดขึ้นหลังจากที่คน ๆ หนึ่งไดเสียชีวิตลง 3 วัน 7 วัน 40 วัน 100 วัน 1 ป 2 ป และ 1 พัน วันหลังการตาย พิธีเซอลามัตตัน (Selamatan) เปนการรําลึกถึงวิญญาณผูตาย ซึ่งแทจริงก็คือ การ กราบไหววิญญาณบรรพบุรุษนั้นเอง ซึ่งเปนประเพณีที่ยังถือปฏิบัติอยูทั้งในสังคมของชาวชวาที่นับถือ ศาสนาอิสลามและศาสนิกอื่น (Slamet Muljana, 2006 : 252) การกราบไหววิญญาณบรรพบุรุษสวนใหญจะกระทําในเดือนชะอฺบาน แตจะถูกใชชื่อ อื่นเรียกแทน นั้นคือ เดือนรูวะฮฺ หมายถึงวิญญาณ การเปลี่ยนคําเรียกนี้ เปนการใชเฉพาะเพื่อการ กราบไหววิญญาณบรรพบุรุษในเดือนนี้ ผูคนจะนําพวงมาลัย มาวางบนไมนีซันบรรพบุรุษและทําพิธี สวดขอความสงบสุข ในวันที่ 20 หรือ 21 นั้นคือ เดือนแหงการเยี่ยมหลุมฝงศพ หรือสุสานของบรรพ บุรุษ นอกจากนี้ยังมีพิธีกรรมอื่น ๆ อีก เชน พิธีเนเนป (Nenepi) ซึ่งหมายถึง การนั่งสมาธิในสุสาน บรรพบุรุษ โดยในสุสานที่ศักดิ์สิทธิ์บางแหงจะมีผูคนมากมายแหเขามานั่งสมาธิ จนในที่สุดสถานที่ ดังกลาวกลายเปนสถานที่เยี่ยมเยียนสําหรับสวดวอนขอตอสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เพื่อใหวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ชวย ใหความตองการของพวกเขาเปนจริงได การกระทําเชนนี้เกี่ยวโยงถึงการบูชาบรรพบุรุษและเยี่ยม สุสานบรรพบุรุษ สังคมมุสลิมนิกายชีอะฮฺไมไดหามการบูชาบรรพบุรุษและเยี่ยมสุสานบรรพบุรุษ ดัง เห็นไดจากในสังคมอิสลามนิกายชีอะฮฺมีการฉลองวันคลายวันสิ้นชีวิตของหะสันและหุเส็นซึ่งเปนหลาน 33

นีซัน กลายเสียงมาจากคําวา นีชาน (‫ )ﻧﻴﺸﺎن‬ในภาษาเปอรเซีย หมายถึง ไมที่ใชปกเพื่อเปนเครื่องหมายบนหลุมศพ


164

ของทานศาสนทูตมูฮัมมัด  อยางเอิกเกริกและใชหลุมศพของทานทั้งสองเปนสถานที่สําหรับแสวง บุ ญ ซึ่ ง มี ค วามเหมื อ นกั น ในเชิ ง พิ ธี ก รรมระหว า งสั ง คมฮิ น ดู กั บ ชวามุ ส ลิ ม นิ ก ายชี อ ะฮฺ ( Slamet Muljana, 2006 : 253)

สําหรับสังคมมลายูปจจุบันยังสามารถพบเห็นพิธีทําบุญ 7 วัน หรือ 40 วัน เพื่ออุทิศ สวนกุศลแกผูตาย ซึ่งเชื่อวาพัฒนามาจากความเชื่อที่เกี่ยวของกับการบูชาบรรพบุรุษ แมวาจะมีความ แตกตางกันในรายละเอียดและวิธีการก็ตาม 3.12 การใชชื่อ-สกุลของชาวมลายูในจังหวัดปตตานี ในอดีตชาวมลายูปตตานีนิยมตั้งโดยใชชื่อของผลไม ดอกไม พืชผัก สี และรสชาด ซึ่งในปจจุบันยังสามารถพบชื่อตาง ๆ เหลานี้ไดโดยเฉพาะในกลุมผูสูงอายุแตก็มีจํานวนนอยมาก อยางเชน บูงอ มือลอ ตีมุง และมานิฮ เปนตน หลังจากการเขารับนับถือศาสนาอิสลามผูคนไดหันไปใชชื่อในภาษาอาหรับแทน โดย ชื่อที่นิยมตั้ง ไดแก ชื่อที่มาจากคุณลักษณะของพระผูเปนเจาซึ่งจะใชคําวา “อับดุล” นําหนาเสมอ เชน อับดุลลอฮฺ อับดุลเราะมาน อับดุลรอชีด เปนตน ชื่อของบรรดาศาสนทูต มุฮัมมัด ยูซฟุ ยะกูบ สุไลมาน และชื่อของเศาะหาบะฮฺหรือบุคคลในครอบครัวของทานศาสนาทูตมุฮัมมัด  อยางเชน อบู บักรอุ สมาน อลี อาอีช ะฮฺ เคาะดี ญะฮฺ เปนต น นอกจากนี้ยังมีการใชคําที่ มีความหมายดีในภาษา อาหรับ เชน นูรุดดีน นูรีมาน กอมารุดดีน34 เปนตน (Waemaji Paramal, 1991 : 20) เนื่ อ งจากคนมุ ส ลิม ส ว นใหญเ ลือ กที่ จะตั้ ง ชื่ อ บุต รหลานของตนเป น ภาษาอาหรั บ โดยเฉพาะชื่อบรรดาศาสนทูตและบรรดาเศาะหาบะฮฺ ดังนั้นชื่อคนสวนใหญจะเปนชื่อภาษาอาหรับ ทั้งนี้เพื่อเปนสิริมงคลแกลูกหลานของตน แตเมื่อชื่อตาง ๆ เหลานี้ไดถูกนํามาใชในภาษามลายูถิ่น ปตตานีแลว เกิดการเปลี่ยนแปลงมาก เชน ชื่อมุฮัมมัด ในภาษามลายูถิ่นปตตานีจะเปน มูฮามะ, มา ฮามะ, มาหามะ, ฮามะ, มามะ, มะ เปนตน นอกจากนี้ยังมีการใชชื่อนี้นําหนาชื่ออื่นอีกดวย เชน มะ+ ชื่อผูชาย เชน มะนาเซร, มะรอนิง, มะดาโอะ, มะยูนุ, มะรอเซะ เปนตน (อัสสมิง กาเซ็ง, 2542 : 93-94) และชื่อของบรรดาศาสทูตอื่น เชน ยะอฺกูบ เปนยะโกะ,ยาโกะ,ยะโกบ ยูซุฟ เปน ยูโซฟ, ยูโซะ, โซะ อิดริส เปน ดือเระ ยูนุส เปน ยูนุ อิบรอฮิม เปน อิบรอเฮ็ง, รอเฮ็ง, บรอเฮ็ง เหลานี้เปน ตน

34

นูรุดดีน หมายถึง รัสมีแหงศาสนา (นูร-รัสมี ดีน-ศาสนา) นูรีมาน หมายถึง รัสมีแหงศรัทธา (นูร-รัสมี อีมาน-ศรัทธา) และ กอมารุดดีน หมายถึง ดวงจันทรแหงศาสนา (กอมัร-ดวงจันทร ดีน-ศาสนา)


165

อนึ่งในการตั้งชื่อบุตรนั้น บิดาหรือญาติพี่นองมักจะใหผูรูทางศาสนาตั้ง ซึ่งผูรูจะตั้ง โดยใชคําในภาษาอาหรับ โดยยึดตามคําสอนของทานศาสนทูตมุฮัมมัด  ซึ่งไดกลาวไววา

‫ ﺍﷲ‬‫ﺒﺪ‬‫ﻋ‬ ‫ﺟﻞﱠ‬ ‫ﺰ ﻭ‬ ‫ﻋ‬ ‫ﺎ ِﺀ ﺇﱃ ﺍﷲ‬‫ﺳﻤ‬ ‫ﺐ ﺍﻷ‬  ‫ﺣ‬ ‫)) ﺃ‬ (( ‫ﻤﻦ‬‫ﺮﺣ‬ ‫ ﺍﻟ‬‫ﺒﺪ‬‫ﻋ‬ ‫ﻭ‬ ความวา “ชื่อที่เปนที่รักยิ่ง ณ อัลลอฮฺ คือ อับดุลลอฮฺ และ อับดุลเราะมาน” (บันทึกโดย ’Ibn Mājah, 1987 : 3718)

‫ﻤﺎ ِﺀ ﺇﱃ ﺍﷲ‬‫ﺐ ﺍﻷﺳ‬  ‫ﺣ‬ ‫ﻧﺒﹺﻴﺎ ِﺀ ﻭ ﺃ‬‫ﻤﺎ ِﺀ ﺍﻷ‬‫ﻮﹾﺍ ﹺﺑﹶﺄﺳ‬‫ﺴﻤ‬  ‫ﺗ‬ )) ‫ﻡ‬ ‫ﺎ‬‫ﻫﻤ‬ ‫ﺙ ﻭ‬ ‫ﺪﻗﹸﻬﺎ ﺣﺎ ﹺﺭ ﹲ‬ ‫ﺻ‬  ‫ﻤﻦ ﻭﺃ‬‫ﺮﺣ‬ ‫ﺪ ﺍﻟ‬ ‫ﺒ‬‫ﻋ‬ ‫ ﺍﷲ ﻭ‬‫ﺒﺪ‬‫ﻋ‬ (( ‫ ﹸﺓ‬‫ﻣﺮ‬ ‫ﺏ ﻭ‬  ‫ﺮ‬ ‫ﺣ‬ ‫ﻬﺎ‬‫ﺒﺤ‬‫ﻭﺃ ﹾﻗ‬ ความวา “พวกทานจงตั้งชื่อตัวโดยใชชื่อของบรรดา ศาสนทูต และชื่อทีเ่ ปนที่รักยิ่ง ณ อัลลอฮฺ คือ อับดุลลอฮฺ และอับดุลเราะมานและชื่อที่ดียิ่ง คือ หาริษ และฮัมมาม และ ชื่อที่นารังเกียจยิ่ง คือฮัรบฺ35 และมุรเราะฮฺ”36 (บันทึกโดย ’Abu Dāwūd, 1988 : 4299) เดิมนั้นชาวมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใตจะใชคําวา “บิน” (Bin) หมายถึงบุตรชาย ของ ตอทายชือ่ ตนเอง เชน อาหมัด บิน อับดุลลอฮฺ หมายถึง อาหมัด บุตรชายของอับดุลลอฮฺ สวน ผูหญิงจะใชคําวา “บินตี” (Binti) หมายถึง บุตรสาวของ เชนฟาตีมะห บินตีอับดุลลอฮฺ หมายถึง ฟา ตีมะหเปนบุตรสาวของอับดุลลอฮฺ ในสมัยรัชกาลที่ 6 เมื่อทางรัฐบาลไดออกกฎหมายบังคับการมีชื่อ และนามสกุล เมื่อ 1 กรกฎาคม 1913 ทําใหชาวมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใตมีนามสกุลที่เพี้ยน 35 36

หมายถึง สงคราม การฆาฟน หมายถึง ความขมขื่น


166

จากธรรมเนียมเดิมของชาวมลายูที่ใชคําวา “บิน” และ “บินตี” ไมไดมีตามหลักการที่ถูกตองอีกตอไป และที่แปลกคือ “บินตี” ไดหายสาบสูญไปจาก ธรรมเนียมของชาวมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใต บางสวนจะใชคําวา “บิน” แต “บิน” ในทีน่ ี้อาจไมใชหมายถึงผูชายหรือผูหญิงคนนัน้ เปนบุตรของคนที่ เปนนามสกุล เชน อาหมัด บินอับดุลลอฮฺ อาจไมไดหมายความวา อาหมัด เปนบุตรชายของอับดุล ลอฮฺ เพราะอับดุลลอฮฺในที่นี้อาจเปนชื่อปูหรือปูทวด หรือชื่อของบรรพบุรุษที่ไมใชสายเลือดตรง สวน ผูหญิงก็จะเปน ฟาตีมะห บินอับดุลลอฮฺ ยอมไมใชวาฟาตีมะหจะเปนบุตรสาวของอับดุลลอฮฺ ซึ่งอับ ดุลลอฮฺอาจเปนชื่อปูหรือปูทวด หรือชื่อของบรรพบุรุษไมใชสายเลือดตรงก็ได โดยรัตติยา สาและ (2547 : 259) ไดอธิบายเพิ่มเติมวาเมื่อเริ่มมีการใชนามสกุล มุสลิม 3 จังหวัดชายแดนภาคใตเขาใจ คําวา นามสกุลในความหมาย “บิน” (บุตรของ) หรือ “บินตี” (บุตรีของ) จึงใชชื่อบิดาเปนชือ่ สกุล ตามธรรมเนียมของวัฒนธรรมอิสลามที่ใหความสําคัญกับชื่อบิดา และนี่เปนเหตุผลหนึ่งที่ทําใหมุสลิม ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต ในปจจุบันมีนามสกุลเดียวกันโดยไมไดเปนญาติกัน นอกจากนั้นชาวมลายูบางกลุมอาจไมใชคําวา “บิน” เปนคํานําหนานามสกุล แตจะใช เพียงชื่อบุคคลอยางเดียว เชน อาหมัด อับดุลลอฮฺ และอับดุลลอฮฺในที่นี้อาจไมใชชื่อบิดาของนายอา หมัด แตอับดุลลอฮฺ อาจเปนชื่อปู ปูทวด หรือชื่อของบรรพบุรุษที่ไมใชสายเลือดตรงก็ได นอกจากนั้น ชาวมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใต ยังมีนามสกุลที่แปลก ๆ โดยอาศัยพื้นฐานตาง ๆ เชน ชื่ออาชีพ : นามสกุล ตูแกบือซี, ตาแนแม, อูแล ชื่อพืชพันธุ : นามสกุล ลีมา , อูบี, กูโน ชื่อหมูบาน : นามสกุล แคและ ชื่อสี : นามสกุล บีรู, ฮียา, กูนิง , แมเราะ ชื่อสิ่งของ : นามสกุล ปาแย ชื่อเผา : นามสกุล มลายู ชื่อดินแดน : นามสกุล มาลายา ชื่อบุคคล + คําเรียก : นามสกุล อาลีบาเดาะ ชื่อบุคคล + บุคคล นามสกุล เลาะเฮง (อับดุลลอฮฺ + อิบรอฮิม) ชื่อที่ไมรูที่มาที่ไป : นามสกุล อูเม็ง ชื่อทีเ่ กิดจากความเขาใจผิด : นามสกุล สารีงะ (มาจากตะอีงะ) ดังนั้นการที่ชาวมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใตใชนามสกุลที่คอนขางจะสับสนและไม มีกฎระเบียบที่แนนอน จึงเปนการทําลายอัตลักษณของตนเองไปในตัว


167

3.13 ลักษณะที่อยูอาศัยของชาวมลายูปตตานี สภาพภูมิอากาศของภาคใตเปนอาณาบริเวณที่มีอากาศรอนฝนตกชุก ความชื้นสูง มี 2 ฤดู ไดแก ฤดูรอนและฝน ในฤดูรอนอากาศจะไมรอนจัดเหมือนภาคอื่น เนื่องจากไดรับการถายเท ความรอนจากลมบกลมทะเลที่พัดผานอยูตลอดเวลา ในฤดูจะตกชุกมากกวาภาคอื่น ทั้งนี้เพราะไดรับ มรสุมตะวันออเฉียงเหนือ และลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต ลั ก ษณะทางภู มิ ศ าสตร แ ละภู มิ อ ากาศดั ง กล า วนี้ มี อิ ท ธิ พ ลสํ า คั ญ ต อ การกํ า หนด รูปแบบเรือนพักอาศัยของประชาชนในภาคใต เชน การออกแบบรูปทรงหลังคาใหลาดเอียงมาก เพื่อ ระบายน้ําฝนจากหลังคาการใชตอมอหรือฐานเสาแทนที่จะฝงเสาเรือนลงไปในดิน ฯลฯ บานเรือนนับเปนปจจัยพื้นฐานที่สําคัญของมนุษย เพื่อปองกันอันตรายจากลมฟา อากาศและสัตวรายซึ่งตองเหมาะสมกับลักษณะภูมิประเทศ ดินฟาอากาศ ตลอดจนจารีตประเพณีทาง สังคม และรูปแบการดําเนินชีวิต สําหรับเรือนมลายู นอกจากจะสรางขึ้นเพื่อตอบสนองความตองการ พื้นฐานของมนุษยดังกลาวแลว ยังสะทอนใหเห็นอิทธิพลของศาสนาอิสลามที่มีตอการสรางบานเรือน อยางอยางแทจริง ทั้งรูปแบบการใชพื้นที่ การอยูอาศัย การประกอบกิจกรรมในการดําเนินชีวิต และ การประดับตกแตงเรือนใหงดงาม สําหรับบานในจังหวัดปตตานีแบงไดเปน 2 รูปแบบ ไดแก บาน ทรงมลายู และบานทรงสมัยใหม โดยทั่วไปบานทรงมลายูมักเปนเรือนแฝด และสามารถตอขยายตอไปไดตามลักษณะ ของครอบครัวขยาย โดยมีชานเชื่อมตอกัน และมีการเลนระดับพื้นเรือนใหลดหลั่นกันไป เชน พื้น บริเวณเฉลียงดานบันไดหนาแลวยกพื้นไปเปนระเบียง จากพื้นระเบียงเฉลียงบันไดหนาแลวยกพื้นไป เปนระเบียง จากพื้นระเบียงจะยกระดับไปเปนพื้นตัวเรือนจากตัวเรือนจะลดระดับไปเปนพื้นครัว จาก พื้นครัวจะลดระดับเปนพื้นที่ซักลาง ซึ่งอยูติดกับบันไดหลัง การลดระดับพื้นจะเห็นไดชัดวา มีการแยกสัดสวนจากกันในการประกอบกิจกรรม ตาง ๆ บางตัวเรือนเมื่อมีการสรางหลักเสร็จแลว ยังยังตองกําหนดพื้นที่ใหเปนบริเวณที่ใชทําพิธี ละหมาด ซึ่งเปนกิจวัตรที่ตองกระทําวันละ 5 เวลา สวนการกั้นหองเพื่อเปนสัดสวน เรือนมลายูจะกั้น แตที่จําเปน นอกนั้นจะปลอยพื้นที่เอนกประสงค อาทิ ใชเปนที่นอนของแขก ใชเปนที่สําหรับเลี้ยง อาหาร และใชเปนที่สําหรับสอนอัลกุรอานแกเด็ก ๆ เปนตน สวนหองที่กั้นไวจะใชเปนหองนอนของ ลูกสาว หรือคูบาวสาวเวลาแตงงาน และใชสําหรับเก็บทรัพยสินของมีคา หรืออาวุธ นอกจากนี้ยังใช เปนหองนอนสําหรับแขกที่เปนผูหญิงที่ตองมานอนคางคืนอีกดวย และการที่ตัวเรือนยกพื้นสูงผูอาศัย จึงสามารถใชใตถุนประกอบกิจกรรมตาง ๆ เชน ใชเปนบริเวณประกอบอาชีพเสริม อาทิ ทํากรงนก สานเสื่อกระจูด หรืออาจใชวางแครเพื่อพักผอน บางบานอาจกั้นเปนคอกสัตว เปนตน


168

เนื่องจากประเพณีความเปนอยูของชาวมุสลิมจะแยกกิจกรรมของชายและหญิงอยาง ชัดเจน ตัวเรือนจึงนิยมมีบันไดไวทั้งทางขึ้นหนาบานและทางขึ้นครัว โดยทั่วไปผูชายจะใชบันไดหนา สวนผูหญิงบันไดหลังบาน รวมทั้งเปนการไมรบกวนแขกในการเดินผานไปมาอีกดวย ลั ก ษณะเด น ทางสถาป ต ยกรรมของเรื อ นมลายู คื อ การสร างเรื อ นโดยการผลิ ต สวนประกอบของเรือนกอน แลวจึงนําสวนตาง ๆ เหลานั้นขึ้นประกอบกันเปนตัวเรือนอีกทีหนึ่ง ขณะเดียวกัน เมื่อตองการยายไปประกอบในที่อื่น ๆ ตัวเรือนก็สามารถแยกออกไดเปนสวน ๆ ได เสา เรือนจะไมฝงลงดิน แตจะเชื่อยึดกับตอมอหรือฐานเสาเพื่อปองกันปลวก เนื่องจากมีความชื้นสูงมาก นอกจากนี้เรือนมลายูปตตานียังแยกสวนแมเรือนออกจากครัว โดยใชเฉลียงเชื่อมตอ กัน ทั้งนี้เพราะเชื่อวาบริเวณแมเรือนเปนบริเวณที่สะอาด สวนบริเวณครัวนั้นจะเกิดการสกปรกไดงาย การแยกจึงชวยใหทําความสะอาดไดงายขึ้น และหากเกิดเพลิงไหมบริเวณครัวยังสามารถดับเพลงได สะดวกอีกดวย ภาพที่ 30 ตัวอยางบานทรงมลายู

ที่มา: เขต รัตนจรณะ และคณะ, 2537 : 91 บานทรงมลายูสามารถสังเกตไดที่สวนที่สรางขึ้นมาโดยที่ไดรับอิทธิพลของวัฒนธรรม มลายู วิถีของชาวมลายูตั้งแตสมัยบรรพบุรุษไดมีอิทธิพลตอสถาปตยกรรมดังเห็นไดจากการตกแตง สวนประกอบของอาคารบานเรือน ชาวมลายูไดรับอิทธิพลของประเพณี และความเชื่อที่หลากหลาย


169

ไมวาจะเปนความเชื่อที่สืบทอดตั้งแตสมัยยุคหินที่เชื่อในเรื่องของวิญญาณ หลังจากนั้นชาวมลายูไดรับ อิ ท ธิ พ ลของวั ฒ นธรรมของฮิ น ดู อิ ส ลาม สยามและตะวั น ตก ซึ่ ง มี อิ ท ธิ พ ลต อ ความเจริ ญ ของ สถาปตยกรรม รวมถึงปจจัยทางดานวัตถุและจิตวิทยาซึ่งเปนสาเหตุทําใหอาคารบานเรือนมีรูปแบบที่ หลากหลายมากยิ่งขึ้น บ า นทรงมลายู ส ว นใหญ ใ นสมั ยก อ นจะมี ห ลั งคายาว โดยช างมั ก แสดงให เ ห็ น ถึ ง ความคิดสรางสรรคในการคิดคนรูปทรงของบานและหลังคาที่แสดงถึงเอกลักษณดั้งเดิมที่ไดรับสืบ ทอดมาตั้งแตบรรพบุรุษ เริ่มแรกสุดหลังคาบานทรงมลายูจะมุงดวยจาก ตอมาเปลี่ยนเปนหลังคา กระเบื้องดินเผาที่เกี่ยวติดกับไมระแนง ซึ่งเปนที่นิยมเปนอยางมากในหมูชาวมลายูปตตานี สวน เพดานทํ า ด ว ยไม สั ก โดยตั้ ง ให ยื น และทั บ ด ว ยไม อี ก ครั้ ง หนึ่ ง ลั ก ษณะเช น นี้ เ รี ย กว า เพดานพอง (Dinding Kembung) หรืออาจทํามาจากไมไผสาน ในสมัยกอนวัสดุที่ใชสําหรับทําเพดานนอกจากจะ ทําดวยไมไผแลวอาจจะทําดวยวัสดุอื่นอีก อาทิ จาก เปนตน การสานไมเพื่อทําเพดานถือเปนงาน หัตถกรรมเกาแกที่มีความงดงาม บานบางหลังอาจจะทําเพดานดวยแผนไมที่ทําใหเรียบ เพดานจึงถือ วามีบทบาทที่สําคัญ ในดานสถาป ตยกรรมและการปองกันความร อน วัสดุที่ ใช สําหรับกอสร างใน สมัยกอน ไดแก ไมไผ หมาก และอื่น ๆ ตามความเหมาะสมของงานที่จะสราง มูบีน เชปปารด (Mubin Sheppard, 1973 : 425-431) ใหความเห็นวาปตตานีมี ทรงบาน 2 ชนิดที่สําคัญ ไดแก บานเดี่ยว (Rumah Bujang) ซึ่งประกอบดวยเสาหกตนและเรือน แฝด (Rumah Serambi) หรือบานเสาสิบสองตน (Rumah tiang dua belas) บานทั้ง 2 ชนิดนี้จะมี การตอเติมอาจจะเปนดานซายหรือขวา ถาสวนที่ตอเติมมีหลังคาและมีความยาวเทากับบานจะเรียกวา Selesar แต ถ า หากไม มี ห ลั ง คาและสร างต อ เนื่ อ งไปยั ง ประตู พ ร อ มกั น นั้ น มีบั น ไดลั กษณะเช นนี้ จ ะ เรียกวา Lambu ความแตกตางของบานทั้ง 2 ชนิดนี้จะเห็นไดจากเชิงชายที่ยาวและแกะสลักลวดลาย อยางสวยงาม ซึ่งภาษามลายูปตตานีเรียกวาเปอรเมอลิส (Pemelis) โดยสถาปตยกรรมของบานทั้ง 2 แบบนี้มีอิทธิพลตอรูปแบบของบานและราชวังในรัฐกลันตันและตรังกานู เชนเดียวกันกับศิลปะ รูปแบบการแกะสลักที่แพรหลายไปทั่วแหลมลายูไดรับอิทธิพลจากชางแกะสลักชาว ปตตานีที่อพยพไปยังสถานที่ตาง ๆ เนื่องมาจากสงคราม สวนที่รัฐเปรักอิทธิพลของสถาปตยกรรม ทรงบานปตตานีที่เกาแกไดหมดไปโดยมีอิทธิพลทรงบานในพื้นที่ไปแทนที่ เชน บานทรงหาหลังคา (Rumah perabung lima) บานทรงหลังคายาว (Rumah perabung Panjang) บานทรงกลวยหนึ่ง หวี (Pisang Sesikat) บานทรงหลังคาหนาจั่ว (Limas) และอื่น ๆ อีกมากมาย บานทรงมลายูที่ เกาแกที่อยูในแหลมมลายูทั้งหมดจะทําดวยไมและมีหลังคาที่ลาดชันและมีเชิงชายยาว (มูฮัมหมัด ซัมบรี อับดุลมาลิก, 2543 : 91) ปจจุบันนิยมสรางเปนบานสมัยใหมซึ่งไมมีลักษณะของมลายูหลงเหลืออยู โดยเสา บานจะหลอด วยปูน โครงสรางสวนบน หนาตาง ประตูสวนใชไม สวนฝากั้นใชอิฐบลอกโบกดวย


170

ปูนซีเมนต หลังคาใชกระเบื้อง สําหรับขนาด และรูปแบบแตกตางกันไปตามฐานะเจาของบาน และ จํานวนของสมาชิกภายในบาน สามารถพบเห็นไดทั่วไปและรูปแบบบานไมแตกตางจากสวนอื่น ๆ ของประเทศ ภาพที่ 31 ตัวอยางบานทรงปจจุบัน

ที่มา: อับดุลขาหรีม หมัดสู, 20 เมษายน 2549 3.14 การแตงกาย โดยปกติชาวภาคใตทั่วไปนิยมสวมเสื้อผาบาง ๆ นุงหลวม ๆ สําหรั บอยูกับบาน เพราะสภาพอากาศใกลศูนยสูตร คอนขางรอน ความรอนแตละฤดูกาลไมแตกตางกันนัก จึงใชเสื้อผา ลัก ษณะเดี ยวกั น ได ต ลอดทั้ งป ส ว นชุ ด ทํ างานผู ช ายมั ก มี ผ า โพกศี ร ษะเพื่ อ กั น แดดกั น ฝนหรื อ ใช ประโยชนอื่น ๆ เชน ซับเหงื่อ หรือคาดเอว นิยมปกปดเฉพาะสวนที่จําเปน สวนใหญนิยมนุงผาโสรง ผูหญิงนิยมนุงผาซิ่น หญิงมีอายุนิยมนุงผาถุงพิมพลาย หรือผาโจงกระเบน สวนผูหญิงในภาคใต ตอนลางและภาคใตฝงตะวันตกนิยมนุงผาพิมพลายที่เรียกวา ผาปาเตะตามแบบวัฒนธรรม ชวา – มลายู และนิยมพิมพลายเพื่อใชเองกันอยางแพรหลาย (สุธวิ งศ พงศไพบูลย และคณะ, 2543 :197) ในสมัยโบราณ ชายชาวมลายูนิยมแตงกายดวยชุดปูฌอปอตอง ซึ่งปจจุบันไมนิยม แลว ประกอบดวย เสื้อคอกลมสีขาว ผาหนายาวพอสมควร สวมทางศีรษะได ติดกระดุมสามเม็ด แขน สั้น สวนผาที่นุงมีลักษณะเหมือนผาขาวมา ทําดวยสีสันคอนขางฉูดฉาด มักเย็บเปนถุง ใชนุงทับบน


171

เสื้อ เวลานุงตองใหชายทั้งสองขางหอยอยูตรงกลางเปนมุมแหลม(ลักษณะเชนนี้เรียกวาปูฌอ ปอ ตอง) มีผายือแฆ ซึ่งเปนผาจากเมืองจีนคลายผาแพรดอกในตัวหรือผาไหม เปนผาที่มีขนาดเล็กกวา นุงทับบนผาปูฌอปอตองอีกชั้นหนึ่ง เสร็จแลวเหน็บกริชหรือหอกดวยก็ได การแตงกายแบบนี้นิยมใช ผาโพกศีรษะ (สตาแง) (จิตติมา ระเดนอาหมัด, 2529 : 39) นอกจากนี้ผาที่เคยนิยมกันมากอีกชนิด หนึ่ง คือ ผาลีมา เปนลายมัดยอม ผาทอพื้นเมืองที่มีชื่อเสียงเปนพิเศษคือผาทอลายจวนตานี มักเรียก กันวา “ผาจวนตานี” เปนลายสอดเสริมที่สวยงามและกลายเปนผาเกาแกที่หายากราคาแพงเปนที่ ตองการของนักสะสม (สุธิวงศ พงศไพบูลย และคณะ, 2543 : 197) ครั้นศาสนาอิสลามเขามาสูภาคใตตอนลาง ตามศาสนบัญญัติเปนหลักกวาง ๆ วาชาย มุสลิมตองปดอวัยวะของรางกายที่อยูระหวางสะดือกับหัวเขา หญิงมุสลิมตองปดทั้งรางกายเวนใบหนา และฝามือ ขณะที่มีผูอื่นรวมอยูดวย ยกเวนผูที่ศาสนาหามแตงงานดวย ถาเปดถือเปนบาปหญิงมุสลิม จึงนิยมใชผาคลุมหัวที่บางเบา เปนผาแพรมีสีพื้น หรือลายดอกไมตามรสนิยม สวนการแตงกายของ ผูชาย ใน Tarikh Petani กลาวถึงลักษณะการแตงกายของชายมลายูปตตานีในยุคแรก ๆ วา คน มลายูอิสลามมักจะนุงผาและถือขวานหรือเหน็บกริช สวนคนมลายูพุทธจะผูกเชือกแขวนรูปเคารพที่ ทําดวยทองเหลือง ทองแดง หรือเหล็ก (ครองชัย หัตถา, 2548 : 36) ขณะที่โคลงจารึกวัดโพธิ์ ซึ่งเขาใจวาจารึกในสมัยพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ประมาณป พ.ศ. 2374-2390 กลาวถึงภาพการแตงกายของชาวมลายูไววา ใสเสื้อชนิดนอยโพก ชาติแขกมลายูหลาย เคียนคาดปนเหนงกฤช กุมหอกคูเคื้อเงื้อ เขาสุเหราขอนอกแทบ อานมุหลุดลํานํา ยะหริ่งแปะไหรไทร เพลงประพฤติรองตอง

37

ผาตบิด37 เหลาเชื้อ เหน็บแนม เอวแฮ งารํา ขอดใจ สอดคลอง มุหงิด ก็ดี อยางกัน กรมหมื่นไกรสรวิชิต

ผาตบิด หมายถึง ผาโพกศีรษะ เรียกเพี้ยนตามภาษาชาวบานวา สาระบัน ซึ่งเปนคําที่มาจากภาษาเปอรเซียวา เสรบันด (เสร-ศีรษะ บันด- พัน โพก) ในภาษาอังกฤษเรียก Turban ( ดิเรก กุลสิริสวัสดิ์, 2545 : 109)


172

จากโคลงขางตนแสดงใหเห็นวาชาวมลายูและชวาลวนมีขนบธรรมเนียม ภาษา และ วรรณคดีคลายคลึงกัน ทั้งนี้เนื่องจากเคยอยูภายใตการปกครองของอาณาจักรศรีวิชัยมากอน และ ยิ่งกวานั้นคือ มาจากเชื้อชาติเดียวกัน ตอมาเมื่อนับถือศาสนาอิสลามเคาขนบธรรมเนียมเดิมก็ยังคงมี อยู ในการแตงกายจะนุงโสรง สวมเสื้อบางแบบกุยเฮง โพกศีรษะ เหน็บกริช มีหอกเปนอาวุธ ภาพที่ 32 การแตงกายของชาวมลายูปตตานีชวงตนรัตนโกสินทร

ที่มา: สุธิวงศ พงศไพบูลย และคณะ, 2543 : 94 ในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน ชนชั้นปกครองและขาราชการนิยมใชผาโพกศีรษะเมื่อ แตงกายดวยชุดทองถิ่นและชุดเครื่องแบบขาราชการ จนกระทั่งสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัวเริ่มมีการแตงกายดวยชุดสากลนิยมและชุดขาราชการมักใชหมวกซอเกาะ สวนประชาชนสวม เสื้อแขนสั้น นุงผาตาหมากรุกและโพกศีรษะ ในอดีต หมวกซอเกาะทําดวยผากํามะหยี่สีดํา มีทั้งที่ทํา ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต และสั่งซื้อจากอินโดนีเซีย นิยมใชทั่วไปเวลาออกนอกบาน รวมทั้งไป ละหมาดที่มัสยิด (จุรีรัตน บัวแกว และคณะ, 2549 : 13) นอกจากนี้ยังมีภาพวาดขณะกษัตรีฮิเญาเสด็จประพาส พรอมไพรพลที่แตงกายโดยมี ผ า โพกศี รษะ ในขณะเดี ย วกั น จากภาพถ ายเจา เมื องของ 7 หั ว เมื องในสมั ยพระบาทสมเด็จ พระ จุลจอมเกลาเจาอยูหัว สะทอนใหเห็นการใชหมวกรูปทรงตาง ๆ โดยเฉพาะหมวกซอเกาะมีปรากฏให เห็น ในรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระปกเกล าเจ าอยู หั ว ได พ บหลั ก ฐานเป น ภาพถ า ยที่ ชาวเมืองปตตานีจัดขบวนบุหงาสิเระเพื่อทูลเกลา ฯ ถวายพระองค ประชาชนแตงกายดวยเสื้อตือ


173

โละบลางอ โพกผาที่ศีรษะ สวนขาราชการสวมเสื้อคอปดแขนยาว สวมหมวกซอเกาะ ซึ่งสวนใหญจะ นิยมสีดํา อยางไรก็ตามเมื่อประมาณรอยกวาปมาแลวความนิยมใชหมวกกปเยาะหสีขาวเริ่มปรากฏให เห็น ซึ่งชาวไทยมุสลิมจะใชเวลาไปทําพิธีละหมาดกับเวลาไปศึกษาหาความรูทางศาสนาอิสลาม การแตงกายของชาวมลายูปตตานีเหมือนกับการแตงกายของชาวมลายูในประเทศ มาเลเซียโดยเฉพาะอยางยิ่งชาวมลายูในรัฐกลันตัน ของประเทศมาเลเซีย โดยผูชายจะนุงผาโสรงเปอ ลีกัตและสวมเสื้อเชิ้ต สวนผูหญิงจะนุงปาเตะ สวมเสื้อแขนยาวและใชผาคลุมศีรษะและไหล หากเปน ชวงเทศกาลพิ ธี ท างศาสนาอย า งเชน ในการละหมาดวั นศุ กร วัน อี ดิลฟฏ รฺ38 อี ดิ ลอัฎหา39 และพิ ธี แตงงาน ผูชายก็จะแตงกายดวยเสื้อตือโละบลางอ สวนผูหญิงก็จะแตงกายดวยชุดกุรง40 และชุดบันดง การแต งกายในป จ จุ บั น ส ว นมากปรั บไปตามสมั ยนิ ย มในส ว นที่ ไ ม ขั ด กั บ ศาสนา บัญญัติ จึงมีทั้งที่แตงตามศาสนบัญญัติ ทองถิ่นนิยมและสากลนิยม ในขณะเดียวกันการแตงกายซึ่ง เปนวัฒนธรรมตางถิ่นก็สามารถพบเห็นไดทั่วไป ไมวาจะเปนการสวมหมวกกปเยาะห การใชผาพัน ศีรษะหรือผาซัรบัน และการสวมเสื้อคลุมยาวหรือเสื้อโตบ ในการแตงกายของผูชายและการสวมชุดอา บาญะห การคลุมหนาในชุดแตงกายของสตรี โดยจะมีการสวมใสกันมากเปนพิเศษในเทศกาลและพิธี ทางศาสนา เชน พิธีละหมาดและในวันรายอปอซอ และรายอฮัจญี เปนตน และเปนที่นาสังเกตวาใน การไปรวมงานพิธีตาง ๆ ผูหญิงมักแตงกายดวยชุดกูรงสีสันสวยงาม เหมือนชาวมลายูในประเทศ มาเลเซีย รวมถึงการแตงกายตามสมัยนิยมแบบตะวันตกในกลุมของวัยรุน คนวัยทํางานในพื้น ที่ ตางๆ สามารถพบไดโดยทั่วไปเหมือนกับพื้นที่ในสวนอื่น ๆ ของประเทศ

38

เทศกาลเฉลิมฉลองเนื่องในโอกาสสิ้นสุดเดือนถือศีลอด ตรงกับวันที่ 1 เดือนเชาวาลของทุกป หรือเดือนที่ 10 ตามปฏิทินอิสลาม เทศกาลเฉลิมฉลองเนื่องในพิธีฮัจญ ตรงกับวันที่ 10 เดือนซุลฮิจญะฮฺของทุกป หรือเดือนที่ 12 ตามปฏิทินอิสลาม 40 มีลักษณะเปนเสื้อคอกลมแขนยาว มีชายเสื้อยาวถึงเขา สวมคูกับกระโปรงยาว 39


174

บทที่ 4 อิทธิพลของวัฒนธรรมอาหรับตอสังคมมลายูในจังหวัดปตตานี วัฒนธรรมอาหรับเปนวัฒนธรรมที่มีแหลงกําเนิดจากคาบสมุทรอาหรับ ภายใต สภาพภูมิอากาศที่เปนทะเลทราย รอนและแหงแลง ดังนั้นการที่วัฒนธรรมอาหรับจะมีอิทธิพลตอ สังคมอื่นจึงเปนเรื่องที่เปนไปไมได โดยเฉพาะกับสังคมมลายูที่อาศัยอยูทามกลางสภาพแวดลอม ที่แ ตกตา งกั น อย า งสิ้ นเชิ ง อยา งไรก็ ต ามเมื่อ ศาสนาอิสลามไดถูกนํ ามาเผยแผใ นสั งคมมลายู วัฒนธรรมอาหรับซึ่งมาพรอมกับศาสนาอิสลามจึงไดถูกยอมรับโดยชาวมลายู โดยวัฒนธรรม อาหรับคอย ๆ ถูกนํามาผสมผสานกับวัฒนธรรมดั้งเดิม ที่เดนชัดไดแกวัฒนธรรมทางดานภาษา จากนั้นตั้งแตศตวรรษที่ 17 เปนตนมาชาวมลายูจากจังหวัดปตตานีไดไปศึกษาหาความรูทางดาน ศาสนาอิสลามในประเทศอาหรับ โดยเฉพาะประเทศซาอุดีอาระเบีย ซึ่งผูศึกษาตองใชเวลานาน หลายป จึงมีเวลามากพอที่จะซึมซับเอาวัฒนธรรมทองถิ่นเอาไว โดยเฉพาะวัฒนธรรมทางดาน ภาษา และการแตงกาย ครั้นเมื่อบุคคลเหลานี้กลับสูสังคมของตนเองก็นําวัฒนธรรมตางถิ่นเขามา ดวย ซึ่งถือเปนจุดเริ่มของการแพรกระจายวัฒนธรรมสูสังคมมลายูในจังหวัดปตตานี สํา หรับอิ ทธิพลของวัฒนธรรมอาหรับ ที่ มีตอสังคมมลายูในจั งหวัด ปตตานี มี ดังตอไปนี้ 4.1 วัฒนธรรมดานภาษา 4.1.1 อักษรอาหรับ กอนศาสนาอิสลามจะถูกเผยแผ ภาษามลายูไดรับอิทธิพลจากภาษาสันสกฤตและ ภาษาชวากูโน ตามความเห็นของวินสเต็ด (R.O. Winstedt, 1961 : 139) ที่ไดกลาวถึงภาษาใน สมัยฮินดูวา ภาษามลายูไดใชอักษรกวิและเทวนาครีเปนตัวเขียน แตหลังจากที่ศาสนาอิสลามถูก เผยแผภาษาอาหรับในฐานะที่เปนภาษาแหงคําสอนของศาสนาอิสลามก็เริ่มเขามามีบทบาทแทนที่ ภาษาสันสกฤตในหมูชาวมลายู จากนั้นอักษรอาหรับก็ไดถูกนํามาใชเปนตัวเขียนในภาษามลายู โดยเรียกวา อักษรยาวี คําวา ยาวี เปนคําที่มาจาก ยว ทวีป หมายถึง เกาะขาวเดือยตามความเห็น ของยวาหระลาล เนหรู (2537 : 386) สวนความหมายที่สองนั้นคําวา ยาวี เปนคําที่ชาวอาหรับใช เรียกผูคนที่อาศัยอยูในเกาะสุมาตราที่นับถือศาสนาอิสลามและใชภาษามลายู ยาวี ในปจจุบันเปนคําที่ใชเรียกอักษรอาหรับที่ใชเขียนภาษามลายู มาจากคําวา “ญาวะฮฺ” ซึ่งชาวอาหรับใชเรียกเกาะสุมาตรารวมทั้งคาบสมุทรมลายูดังปรากฏในตําราอาหรับ หลายเลม อาทิ มุอฺญัม อัลบุลดาน (Mu‘jam al-Buldān) ของทานยากูต ตักวีม อัลบุลดาน

174


175

ของทานอบู อัลฟดาอ และอัรริหฺละฮฺ (al-Rihlah) ของอิบนุ บัฏฏเฏาะฮฺ เปนตน จากคําดังกลาวชาวอาหรับไดใชเรียกคนที่อาศัยอยูในเกาะสุมาตราที่นับถือศาสนาอิสลาม และใชภาษามลายู และหมายรวมถึงผูที่มีสีผิวเปลือกละมุดก็ถือวาเปนชาวชวาเชนเดียวกัน ดังนั้น ทุกสิ่งที่เกี่ยวของกับชวาชาวอาหรับจะเรียกยาวีทั้งหมด ไมวาจะเปนผูคนหรืออื่น ๆ เชน คนยาวี ภาษายาวี อักษรยาวี และกีตาบยาวี เปนตน ซึ่งชาวอาหรับไดใชคําวา ยาวี ในความหมายของผูคน และภาษาที่ ก ลุ ม ชนดั ง กล า วใช โดยจะเรี ย กรวม ๆ ว า คนยาวี ซึ่ ง หมายถึ ง คนอิ น โดนี เ ซี ย ฟลิปปนส มาเลเซีย และไทยมาจวบจนปจจุบัน โดยเฉพาะชาวอาหรับในประเทศซาอุดีอาระเบีย อักษรอาหรับถูกประดิษฐขึ้นเพื่อเปนสัญลักษณแทนเสียงในภาษาอาหรับ ดังนั้น ในการนําอักษรดังกลาวมาใชเปนสัญลักษณแทนเสียงในภาษาอื่น อยางเชน เปอรเซีย อุรดู ตุรกี อาเซอรไบจาน และมลายู จึงไมสามารถแทนเสียงที่มีอยูไดทั้งหมด ดวยเหตุนี้ผูประดิษฐอักษรจึง ตองมีการดั ดแปลงอั กษรอาหรั บ เพิ่มเพื่ อแทนเสียงที่ข าดหายไป ซึ่งจากการศึก ษาพบว า การ ดัดแปลงอักษรในแตละภาษาไดใชวิธีการเดียวกัน คือ การเพิ่มจํานวนจุดหรือขีดอยางเชน ‫ ﭺ‬ถูก ดั ด แปลงมาจาก ‫ ج‬และ ¢) ดั ด แปลงจาก ‫ ك‬เป น ต น โดยสั น นิ ษ ฐานว า ชาวเปอร เ ซี ย เป น ผู ดัดแปลงเปนภาษาแรกจากนั้นภาษาอื่นก็ไดยึดแนวทางเดียวกันนี้ไปประยุกตใชกับภาษาของตน สําหรับภาษามลายูไดใชวิธีการสองแบบ คือ 1. ยืมอักษรเปอรเซียที่มีเสียงเหมือนกับภาษามลายู 2. ดัดแปลงอักษรใหมโดยการเพิ่มจุด (ดูตารางที่ 9) แมวาเอสเอ็ม นากิบ อัลอัตตัส (S. M. Naquib al-Attas,1969 : 27) กลาววา คนมลายูไดคิดคนอักษรใหมขึ้นมาอีก 5 อักษร คือ `)))¢) ){))‫))ڤ‬W สวนฮัมดาน อับดุลเราะหมาน (Hamdan Abdul Rahman, 1999 : 4) มีความดิดเห็นวา อักษร ‫)))ﭺ‬¢))‫)))ڤ‬W นั้นยืมมาจาก เปอรเซีย สวน {) คนมลายูเปนผูคิดคนขึ้นมาใหม แตจากการศึกษาพบวาอักษร ‫ ﭺ‬และ ¢) เปน อักษรที่ยืมมาจากอักษรเปอรเซีย เนื่องจากเปนเสียงเดียวกับที่มีในภาษามลายู สวนอักษร {) )กับ W เปนอักษรที่คนมลายูดัดแปลงมาจากอักษรอาหรับ โดยการเพิ่มจุด กลาวคือ {) ดัดแปลงมาจาก ‫غ‬ และ W ดัดแปลงมาจาก ‫ ن‬ซึ่งวิธีการนี้ยังพบไดในภาษาอื่น ๆ ที่ใชอักษรอาหรับเปนตัวเขียน อาทิ ภาษาอุ รดู อาเซอรไ บจาน ตุ รกี เคิ รด หรือแม แตภ าษาเชี่ยวเออจิ ง (Xiaoérjing) และอุยฆุร (Uighur) ในตะวั น ตกเฉี ย งเหนื อ ของประเทศจี น ซึ่ ง สอดคล อ งกั บ ความเห็ น ของโอมาร อาวั ง (Taqwīm al-Buldān)

(Omar Awang, 1978 : 3)

ตารางที่ 9 เปรียบเทียบอักษรยาวีกับอักษรอาหรับ และเปอรเซีย ลําดับ 1 2

อักษรยาวี

ชื่ออักษร

อักษรเปอรเซีย

อักษรอาหรับ

‫ﺍ‬

alif

‫ا‬

‫ا‬

‫ﺏ‬

ba

‫ب‬

‫ب‬


176

3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32

-

-

‫ﭖ‬

-

‫ﺕ‬

ta

‫ت‬

‫ت‬

‫ﺙ‬

tha

‫ث‬

‫ث‬

‫ﺝ‬

jim

‫ج‬

‫ج‬

‫ﺡ‬

ha

‫ح‬

‫ح‬

‫ﺥ‬

kha

‫ﭺ‬

ca

‫خ‬ ‫ﭺ‬

‫خ‬ -

‫د‬

dal

‫د‬

‫د‬

‫ذ‬

dhal

‫ذ‬

‫ذ‬

‫ر‬

ra

‫ر‬

‫ر‬

‫ز‬ -

zai -

‫ز‬ ‫ﮊ‬

‫ز‬ -

‫س‬

sin

‫س‬

‫س‬

‫ش‬

shin

‫ش‬

‫ش‬

‫ص‬

sad

‫ص‬

‫ص‬

‫ض‬

dad

‫ض‬

‫ض‬

‫ط‬

ta

‫ط‬

‫ط‬

‫ظ‬

za

‫ظ‬

‫ظ‬

‫ع‬

‘ain

‫ع‬

‫ع‬

‫غ‬

ghain

‫غ‬ -

  ‫ف‬

nga

‫غ‬ -

pa

‫ف‬

‫( ف‬fa)

‫ق‬

qaf

‫ق‬

‫ق‬

‫ك‬

kaf

) )¢ ‫ل‬

ga

‫ك‬ ‫ﮒ‬

‫ك‬ -

lam

‫ل‬

‫ل‬

‫م‬

mim

‫م‬

‫م‬

‫ن‬

nun

‫ن‬

‫ن‬

‫و‬

wau

‫و‬

‫و‬

‫ﻩ‬

ha

‫ﻻ‬

lam-alif

‫ﻩ‬ -

‫ﻩ‬ -

‫ء‬

hamzah

-

‫ء‬


177

33 34

‫ي‬

ya

) )W

nya

‫ي‬ -

‫ي‬ -

อักษรยาวีเปนอักษรที่ถูกดัดแปลงมาจากอักษรอาหรับ ซึ่งเริ่มเขาสูคาบสมุทร มลายูตั้งแตเริ่มแรกของการเผยแผศาสนาอิสลาม แมวาอิสลามเริ่มถูกเผยแผครั้งแรกเมื่อใดยังไม สามารถหาขอสรุปได แตมีความเปนไปไดวาอิสลามนาจะถูกเผยแผครั้งแรกในปฮิจเราะฮฺที่ 440 ซึ่งตรงกับคริสตศักราช 1104 อยางไรก็ตามในสวนของอักษรยาวีนั้นเชื่อวาถูกนํามาใชในภาษา มลายูหลังปฮิจเราะฮฺ ที่ 700 หรือประมาณศตวรรษที่ 14 ทั้งนี้อาศัยหลักฐานจากจารึกตรังกานู1 ที่ระบุวาจารึกเมื่อคริสตศักราช 1303 โดยจากจารึกสังเกตไดวาอักษรที่ใชเขียนยังไมมีการเติมจุด แตประการใด ซึ่งเหมือนกับระบบการเขียนในภาษาอาหรับยุคแรก ๆ หลังจากศตวรรษที่ 17 เปน ตนมา ระบบการเขียนอักษรยาวีก็ไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่องจนกลายมาเปนระบบการเขียน ดังที่ปรากฏในปจจุบัน สําหรับจังหวัดปตตานีอักษรยาวีถูกใชเปนครั้งแรกเมื่อใดไมสามารถที่จะระบุ อยางชัดเจนได แตจากหลักฐานที่เกาแกที่สุดซึ่งแสดงใหเห็นวามีการใชอักษรอาหรับ ไดแกจารึก บนหินหลุมศพของสุลตานอิสมาอีล ชาห (ค.ศ. 1530-1564) ถึงกระนั้นหลักฐานดังกลาวก็ ไมไดระบุปที่ชัดเจนแตอยางใด สวนหลักฐานอื่น เชน เหรียญที่ใชในราชอาณาจักรปะตานี และ จารึกประวัติศาสตรปะตานี ตางก็ถูกผลิต และจารึกในชวงศตวรรษที่ 18 จึงสันนิษฐานไดวามีการ ใชอักษรอาหรับมาตั้งแตหลังจากการรับนับถือศาสนาอิสลามไมนาน และผลจากการเรียนการสอน ศาสนาอิสลามที่ปฏิบัติสืบตอกันมา ซึ่งประกอบไปดวย การฝกอานคัมภีรอัลกุรอาน การเรียนรู ภาษาอาหรับ รวมถึงคําสอนตาง ๆ โดยอาศัยกระบวนการคัดลอกดวยลายมือ จึงทําใหผูเรียนได ฝกการเขียนไปดวย และการฝกฝนการเขียน การสะกดภาษาอาหรับนี้เองไดถูกนํามาใชเปนอักษร ยาวี ซึ่งใชทั้งทางศาสนาและในชีวิตประจําวันจวบจนปจจุบัน และจากการที่อักษรยาวีถูกใชบันทึก ตําราศาสนาชาวมลายูจึงมักถือวาอักษรยาวีเปนอักษรที่ขลังและมีสิริมงคลซึ่งจะชวยปกปองจากสิ่ง ชั่วรายตาง ๆ ไดในอดีตจึงนิยมใชเปนลวดลายตกแตงอาคารบานเรือนใหมีความสวยงาม แต ปจจุบันนิยมใชอักษรประดิษฐเปนขอความที่คัดลอกมาจากคัมภีรอัลกุรอานแทน ปจจุบันอักษรยาวียังคงถูกใชกันอยางกวางขวางในสังคมมลายูปตตานี ทั้งในดาน ศาสนา การศึกษา การคา และการประชาสัมพันธ ซึ่งแตกตางจากสังคมมลายูในประเทศมาเลเซีย และอินโดนีเซีย ที่การใชอักษรยาวีเกือบที่จะสูญหายไปแลวเนื่องจากอิทธิพลของอักษรโรมัน แมวาในสังคมมลายูปตตานีจะมีการใชอักษรยาวีกันอยางแพรหลายมาเปนเวลายาวนาน แตก็ยัง พบวาระบบการเขียนยังไมเปนมาตรฐานเดียวกัน ซึ่งสอดคลองกับความเห็นของอับดุลเราะมัน เจะอารง (สัมภาษณ, 25 กุมภาพันธ 2549) ที่กลาววา วิธีการสะกดนั้นมีหลายรูปแบบ แตละคน จะเขียนไมเหมือนกันขึ้นอยูกับวาใครจะมีวิธีการสะกดอยางไร 1

ดูภาพในภาคผนวก


178

4.1.2 คํายืม ในดานคําศัพท คําหลายคําในภาษามลายูถูกแทนที่ดวยภาษาอาหรับและภาษา เปอรเซีย เนื่องจากภาษาอาหรับเปนแหลงขอมูลทางวิชาการทางดานศาสนา และองคความรูดาน อื่น ๆ ที่สําคัญในภูมิภาคมลายู ในยุคอิสลามนั้นคําศัพทเฉพาะดานในสาขาวิชาตาง ๆ ไดถูก บัญญัติและเขียนในภาษามลายูเปนผลทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางดานคําศัพทอยางรวดเร็ว ดวยการยืมคําศัพทในสาขาวิชาตาง ๆ มาจากอาหรับ อาทิ ศาสนศาสตร ปรัชญา จริยธรรม เปน ตน ซึ่งสงผลใหภาษามลายูมีคําศัพทมากขึ้น ในชวงเวลาตั้งแตศตวรรษที่ 13 เปนตนมา คําศัพทภาษาอาหรับหลายคําไดถูก ยืมมาใชในภาษามลายูโดยมีการปรับเปลี่ยนเสียงเพื่อใหเขากับเสียงในภาษามลายู จากการศึกษา คํายืมภาษาอาหรับในภาษามลายูถิ่นปตตานีพบวามีคําภาษาอาหรับจํานวนหลายคําที่ถูกใชในวิถี ชีวิตประจําวัน โดยผูใชมักไมทราบวาคํา ๆ นั้นเปนภาษาอาหรับ โดยเฉพาะผูที่ไมไดเรียนภาษา อาหรับ เนื่องจากคําศัพทไดถูกปรับเสียงใหเขากับระบบเสียงในภาษามลายูถิ่นปตตานี โดย กระบวนการยืมคําเริ่มจากการสอนศาสนาตามสถานที่ตาง ๆ ซึ่งผูสอนเปนผูที่มีความรูทางดาน ภาษาอาหรับ และวิชาการศาสนาเปนอยางดี เมื่อสอนก็จะใชวิธีการกลาวถึงตัวบทที่เปนภาษา อาหรับแลวอธิบายดวยภาษามลายูถิ่น2 เมื่อกระบวนการนี้เกิดขึ้นซ้ํา ๆ ทําใหผูเรียนจดจําคําศัพท นั้น ๆ ได และเมื่อตองการใชคําเดิมในเวลาตอมาก็ไมตองอธิบายความหมายอีก จากนั้นผูเรียนก็ จะนําคํา ๆ นั้นไปใชในวงกวางตอไป3 ดังกลุมคําในตัวอยางตอไปนี้ ตารางที่ 10 ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับการกระทํา ความคิด และความรูสึก ภาษามลายูถนิ่ ภาษาอาหรับ บาเซ ‫ﺗﺒﺬﻳﺮ‬ เบอซอบะ ‫ﺻﺤﺎﺑﺔ‬

2 3

ความหมาย ฟุมเฟอย คบเพื่อน

ตะเว

‫ﺗﺄﻭﻳﻞ‬

แยง

ตะเบ

‫ﺗﻌﺒﲑ‬

ทํานายฝน

บาฮะฮ

‫ﲝﺚ‬

โตเถียง คัดคาน

เบอซอระ

‫ﻣﺸﺎﻭﺭﺓ‬

ประชุม

ตออะ

‫ﻃﺎﻋﺔ‬

ภักดี

ตอเลาะ

‫ﻃﻼﻕ‬

ผลัก,หยาราง

สังเกตจากวิธีการสอนศาสนา ทีม ่ ัสญิดกลางประจําจังหวัดปตตานี สัมภาษณริดวาน มะแซ 19 เมษายน 2550


179

ญาฮาแน

‫ﺟﻬﻨﻢ‬

ฉิบหาย,นรก

นาตีเญาะ

‫ﻧﺘﻴﺠﺔ‬

ผลสอบ

ปเก

‫ﻓﻜﺮ‬

ความคิด

กอซะ

‫ﻗﺼﺪ‬

คิดไวในใจ

อีเกอละ

‫ﺇﺧﻼﺹ‬

สุจริตใจ

กอยา

‫ﺧﻴﺎﻝ‬

จินตนาการ

นียะ

‫ﻧﻴﺔ‬

ตั้งใจ,เจตนา

บาเตน

‫ﺑﺎﻃﻦ‬

จิตใจ

อากา

‫ﻋﻘﻞ‬

สติปญญา

นาป

‫ﻧﻔﻲ‬

ปฏิเสธ ไมยอมรับ

นาฮะ

‫ﳓﺲ‬

เคราะหราย

นูุง, นุญม

‫ﳒﻮﻡ‬

ดูหมอ

ฮีกือมะ

‫ﺣﻜﻤﺔ‬

อภินิหาร

อาซีมะ

‫ﻋﺰﳝﺔ‬

ผายันต

นาเซะ

‫ﻧﺼﻴﺐ‬

โชคชะตา

ฮาแกกะ

‫ﺣﻘﻴﻘﺔ‬

ความจริง

รือแซ

‫ﺭﺳﻢ‬

ความดีที่สืบทอดจากบรรพบุรษุ

เซาะ

‫ﺷﻚ‬

สงสัย

กือวาเต

‫ﺧﻮﺍﻃﺮ‬

เปนหวง

นัฟซู

‫ﻧﻔﺲ‬

ตัณหา,อารมณ

ลาซะ

‫ﻟﺬﺓ‬

รูสึกซาบซานถึงใจ, อรอย

ดาซะ

‫ﺩﻫﺸﺔ‬

สังเวช

แฮแฆ

‫ﺣﲑﺍﻥ‬

สงสัย

ยาเก็ง

‫ﻳﻘﲔ‬

แนใจ

ชาฮาวะ

‫ﺷﻬﻮﺓ‬

อารมณใคร

วาซูวะ

‫ﻭﺳﻮﺍﺱ‬

ลังเลใจ


180

ตารางที่ 11 ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับชื่อเฉพาะ และชื่อสถานที่ ภาษามลายูถนิ่ ภาษาอาหรับ ดือเฆะ ‫ﺍﺩﺭﻳﺲ‬ แอเซาะ ‫ﻋﺎﺋﺸﺔ‬

ความหมาย ชื่อนบีอิดรีส ชื่อภรรยาของทานนบีมุฮัมมัด

ญิง

‫ﻦ‬ ‫ﺟ‬

ปศาจ

ดอแมะ,ดอแม,ดอรอแม

‫ﻋﺒﺪ ﺍﻟﺮﲪﻦ‬

บาวของผูทรงเมตตา

ไซตง

‫ﺯﻳﺘﻮﻥ‬

ชื่อสําหรับผูหญิง, มะกอก

กีบะฮ

‫ﻛﺒﺎﺵ‬

แกะ

ปาเลสเตง

‫ﻓﻠﺴﻄﲔ‬

ปาเลสไตน

บัยตุลเลาะฮ

‫ﺑﻴﺖ ﺍﷲ‬

หินดํากะอฺบะฮฺ

แมแด

‫ﻣﻴﺪﺍﻥ‬

สนาม

มะกือตะ

‫ﻣﻜﺘﺐ‬

สํานักงาน

วอกะ

‫ﻭﻗﻒ‬

ศาลา

คอแด

‫ﺧﺎﺩﻡ‬

ทาษ, คนใช

กูโบ

‫ﻗﺒﻮﺭ‬

สุสาน

มัสเญะ

‫ﻣﺴﺠﺪ‬

มัสยิด

ซูโตะฮ

‫ﺳﻄﺢ‬

ดาดฟาของตึก

วาดี,วอดี

‫ﻭﺍﺩﻱ‬

โอเอซิส

ดาโอะ

‫ﺩﺍﻭﻭﺩ‬

ชื่อสําหรับผูชายมาจากชื่อนบีดาวูด

ตารางที่ 12 ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับศาสนาอิสลาม และขอบัญญัติตาง ๆ ภาษามลายูถนิ่ ภาษาอาหรับ ความหมาย บือรือกะ เปนมงคล ‫ﺑﺮﻛﺔ‬ ตักวา ความยําเกรงตอพระเจา ‫ﺗﻘﻮﻯ‬ ตอบะ

‫ﺗﻮﺑﺔ‬

ขออภัยโทษตอพระเจา

อาญา

‫ﺃﺟﻞ‬

เวลาตายที่พระเจาลิขิตไว

อาเค-ระ

‫ﺁﺧﺮﺓ‬

ภพหนา

ซาฟาอะ

‫ﺷﻔﺎﻋﺔ‬

ความชวยเหลือจากศาสดา


181

ฆออิบ

‫ﻏﻴﺐ‬

สิ่งเรนลับ

ชาฮาดะ

‫ﺷﻬﺎﺩﺓ‬

การกลาวปฏิญาณ

เราะมะ

‫ﺭﲪﺔ‬

สรรพสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ

วาฮี, วาฮยู

‫ﻭﺣﻲ‬

วิวรณจากพระเจา

วูยุ

‫ﻭﺟﻮﺩ‬

การมี

ซีเกร

‫ﺫﻛﺮ‬

กลาวสรรเสริญ

เตาเฮด, ตอเฮะ

‫ﺗﻮﺣﻴﺪ‬

เอกภาพ

อาเกเดาะ

‫ﻋﻘﻴﺪﺓ‬

หลักการศรัทธา

อารัช

‫ﻋﺮﺵ‬

บัลลังกของพระเจา

อีแม

‫ﺇﳝﺎﻥ‬

ความศรัทธา

ปาฆือดู

‫ﻓﺮﺽ‬

ศาสนกิจภาคบังคับ

มาซาฮับ

‫ﻣﺬﻫﺐ‬

นิกายในศาสนา

ชารีอะ

‫ﺷﺮﻳﻌﺔ‬

บัญญัตศิ าสนา

เซาะ

‫ﺻﺢ‬

ถูกตองตามหลักศาสนา

บือดือเอาะ,บีดะอะฮ

‫ﺑﺪﻋﺔ‬

อุตริ

ตากือลิ

‫ﺗﻘﻠﻴﺪ‬

เชื่ออยางไมมีเหตุผล

วอยิ

‫ﻭﺍﺟﺐ‬

สิ่งที่ตองทําในทางศาสนา

วูดุ

‫ﻭﺿﻮﺀ‬

อาบน้าํ ละหมาด

บาตา

‫ﺑﻄﻞ‬

การปฏิบัติศาสนากิจเปนโมฆะ

อามา

‫ﻋﻤﻞ‬

การปฏิบัตศิ าสนกิจ

มากือโรฮ

‫ﻣﻜﺮﻭﻩ‬

สิ่งที่ควรละเวน

มูรือตะ

‫ﻣﺮﺗﺪ‬

ออกนอกศาสนา

ชาระ

‫ﺷﺮﻁ‬

กฏบัญญัติ

ฮายี

‫ﺣﺞ‬

พิธีฮัจญ


182

ตารางที่ 13 ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับการศึกษา ภาษามลายูถนิ่ ภาษาอาหรับ แปเกาะฮ ‫ﻓﻘﻪ‬ ตาูวิ, ตาจวิ, ุวิ ‫ﲡﻮﻳﺪ‬

ความหมาย วิชาหลักกฏหมายอิสลาม วิชาวาดวยการอานอัลกุรอาน

ตะเระ

‫ﺗﻌﺮﻳﻒ‬

คําจํากัดความ

กีตะ

‫ﻛﺘﺎﺏ‬

ตําราศาสนา

อีญาซะฮ

‫ﺇﺟﺎﺯﺓ‬

ใบประกาศนียบัตร

ปารอเอะ

‫ﻓﺮﺍﺋﺾ‬

วิชาวาดวยการแบงมรดก

ตาปอเซ, ปอเซ

‫ﺗﻔﺴﲑ‬

การอรรถาธิบายอัลกุรอาน

บะ

‫ﺑﺎﺏ‬

บท, เรื่อง, บรรพ

ตาแระ

‫ﺗﺎﺭﻳﺦ‬

ประวัติ, วิชาประวัติศาสตร

อีลือมุง

‫ﻋﻠﻢ‬

ความรู, วิชาความรู

กอแต

‫ﺧﺘﻢ‬

จบจากการเรียนอัลกุรอาน

ปาเลาะ

‫ﻓﻠﻚ‬

วิชาดาราศาสตร

ซอระ

‫ﺻﺮﻑ‬

วิชาอักขระวิธี

กอซีเดาะฮ

‫ﻗﺼﻴﺪﺓ‬

บทกลอน,รอยกรอง

เบอซะแอ

‫ﺷﻌﺮ‬

รายโคลง

รีวายะฮ

‫ﺭﻭﺍﻳﺔ‬

เรื่องราวที่เลาสูกันมา, นิยาย

มืองาปา, งาปา

‫ﺣﻔﻆ‬

ทองจํา

ฮีกายะฮ

‫ﺣﻜﺎﻳﺔ‬

พงศาวดาร, ตํานาน

ตารางที่ 14 ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับชื่อวันเดือนป เวลา และการคํานวน ภาษามลายูถนิ่ ภาษาอาหรับ ยือมาอะ ‫ﺍﳉﻤﻌﺔ‬ อาฮะ ‫ﺍﻷﺣﺪ‬

ความหมาย วันศุกร วันอาทิตย

ซือนา

‫ﺍﻹﺛﻨﲔ‬

วันจันทร

ซือลาซอ

‫ﺍﻟﺜﻼﺛﺎﺀ‬

วันอังคาร

รฺาบู

‫ﺍﻷﺭﺑﻌﺎﺀ‬

วันพุธ


183

กอมิฮ

‫ﺍﳋﻤﻴﺲ‬

วันพฤหัสบดี

ซะตู

‫ﺍﻟﺴﺒﺖ‬

วันเสาร

มูฮาแร

‫ﳏﺮﻡ‬

เดือนแรกของปฏิทินอาหรับ

ซอปา

‫ﺻﻔﺮ‬

เดือนที่สองของปฏิทินอาหรับ

รอบิอุลอาวา

‫ﺭﺑﻴﻊ ﺍﻷﻭﻝ‬

เดือนที่สามของปฏิทินอาหรับ

รอบิอุลอาเค

‫ﺭﺑﻴﻊ ﺍﻵﺧﺮ‬

เดือนที่สี่ของปฏิทินอาหรับ

ยามาดิลอาวา

‫ﲨﺎﺩﻯ ﺍﻷﻭﱃ‬

เดือนที่หาของปฏิทินอาหรับ

ยามาดิลอาเค

‫ﲨﺎﺩﻯ ﺍﻵﺧﺮﺓ‬

เดือนที่หกของปฏิทินอาหรับ

ราญะ,รอญะ

‫ﺭﺟﺐ‬

เดือนที่เจ็ดของปฏิทินอาหรับ

ซะแบ

‫ﺷﻌﺒﺎﻥ‬

เดือนที่แปดของปฏิทินอาหรับ

รอมาดอน, รอมแด

‫ﺭﻣﻀﺎﻥ‬

เดือนที่เกาของปฏิทินอาหรับ

ซาวา

‫ﺷﻮﺍﻝ‬

เดือนที่สิบของปฏิทินอาหรับ

ซุลแกะเดาะฮ

‫ﺫﻭ ﺍﻟﻘﻌﺪﺓ‬

เดือนที่สิบเอ็ดของปฏิทินอาหรับ

ซุลฮิเญาะฮ

‫ﺫﻭ ﺍﳊﺠﺔ‬

เดือนที่สิบสองของปฏิทินอาหรับ

ฮียือเราะฮ

‫ﻫﺠﺮﺓ‬

ศักราชอิสลาม

อาเค

‫ﺃﺧﲑ‬

สาย, สุดทาย

อาวา

‫ﺃﻭﻝ‬

ตน, เดิมที

ซาแม

‫ﺯﻣﺎﻥ‬

สมัย

อาซัลลี

‫ﺃﺯﻝ‬

แรกเริ่มเดิมที, บรรพกาล

ออมอ

‫ﻋﻤﺮ‬

อายุ, ระยะเวลา

วากือตู

‫ﻭﻗﺖ‬

เวลา, สมัย

ดอระ

‫ﺿﺮﺏ‬

คูณ

ญือมือเลาะฮ

‫ﲨﻠﺔ‬

รวมทั้งหมด

บากี

‫ﺑﺎﻗﻲ‬

แบง, จํานวนที่เหลือ

ญาดูวา

‫ﺟﺪﻭﻝ‬

ตาราง, กําหนดการ

ฮีซะ

‫ﺣﺴﺎﺏ‬

คํานวณ


184

ตารางที่ 15 ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับสิ่งของ เครื่องมือเครื่องใช ภาษามลายูถนิ่ ภาษาอาหรับ แคเมาะฮ ‫ﺧﻴﻤﺔ‬ กาแล ‫ﻗﻠﻢ‬

ความหมาย เต็นท ดินสอ

ดาวะ

‫ﺩﻭﺍﺓ‬

หมึก

กีซี

‫ﻛﺮﺳﻲ‬

เกาอี้

รฺาฮา

‫ﺭﺣﺎﻝ‬

ที่วางอัลกุรอาน

มอโฮ

‫ﻣﻬﻮﺭ‬

ตราประทับ

บูเวาะฮ ซือแบะฮ

‫ﺳﺒﺤﺔ‬

ลูกประคํา

ซอเละ

‫ﺻﻠﻴﺐ‬

ไมกางเขน

อาลามะ

‫ﻋﻼﻣﺔ‬

เครื่องหมาย

อาละ

‫ﺁﻟﺔ‬

เครื่องมือ,อุปกรณ

ซือยฺาเดาะฮ

‫ﺳﺠﺎﺩﺓ‬

พรมปูละหมาด

บาตู มารือมา

‫ﻣﺮﻣﺮ‬

หินออน

ฮาวอ

‫ﻫﻮﺍﺀ‬

อากาศ

โละฮ

‫ﻟﻮﺡ‬

กระดานชนวน

ตารางที่ 16 ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับสังคม เครือญาติ และฐานะ ภาษามลายูถนิ่ ภาษาอาหรับ อาดะ ‫ﺃﺩﺏ‬ อาคือละ ‫ﺃﺧﻼﻕ‬

ความหมาย มารยาท จริยธรรม

ยีแร

‫ﺟﲑﺍﻥ‬

เพื่อนบาน

นีเกาะฮ

‫ﻧﻜﺎﺡ‬

แตงงาน

มารูเวาะฮ

‫ﻣﺮﻭﺀﺓ‬

ศักดิศ์ รี, เกียรติ

กา-อง

‫ﻗﻮﻡ‬

กลุม, พวก

วอลีเมาะ

‫ﻭﻟﻴﻤﺔ‬

งานแตงงาน

อาอิ

‫ﻋﻴﺐ‬

อับอาย, นาละอาย

คอลี

‫ﺧﺎﱄ‬

ลุง, อา


185

ซูรีญะ

‫ﺫﺭﻳﺔ‬

ทายาท

อาฮาลี, อะฮลี

‫ﺃﻫﻞ‬

นัก, ผูเชี่ยวชาญ, สมาชิก

กือรอบะ,กือราบะ

‫ﻗﺮﺍﺑﺔ‬

ญาติ

วอเฆะ

‫ﻭﺍﺭﺙ‬

ญาติพี่นอง

นาปอเกาะฮ

‫ﻧﻔﻘﺔ‬

คาเลี้ยงดู

ปาเก

‫ﻓﻘﲑ‬

คนยากไร

อาแว

‫ﻋﻮﺍﻡ‬

สามัญชน

มะรูฮ

‫ﻣﻌﺮﻭﻑ‬

มีชื่อเสียง, ความดี

ตาระฮ

‫ﺗﺮﻑ‬

ฐานะ, ยศ, คนมีฐานะ

มือซือเกง

‫ﻣﺴﻜﲔ‬

คนยากจน

ซอโฮ

‫ﻣﺸﻬﻮﺭ‬

มีชื่อเสียง, โดงดัง

ตารางที่ 17 ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับการเมือง การปกครองและการทหาร ภาษามลายูถนิ่ ภาษาอาหรับ ความหมาย ตาดือเบ ปกครอง, บริหาร ‫ﺗﺪﺑﲑ‬ ฎอละ รุงโรจน, ราชวงศ ‫ﺩﻭﻟﺔ‬ อาเด

‫ﻋﺎﺩﻝ‬

ยุติธรรม

มูเกง

‫ﻣﻘﻴﻢ‬

หมูบาน

ซูลือแต, ซือแต,ซืลแต

‫ﺳﻠﻄﺎﻥ‬

สุลตาน

ดาอีเฆาะ, แดะเฆาะ

‫ﺩﺍﺋﺮﺓ‬

อําเภอ

กอลีเปาะฮ

‫ﺧﻠﻴﻔﺔ‬

เจาผูครองนคร, กาหลิบ

อาแม

‫ﺃﻣﺎﻥ‬

สันติสุข

ซียฺาซะ

‫ﺳﻴﺎﺳﺔ‬

สืบสวน

ฆะยะ

‫ﺭﻋﻴﺔ‬

ราษฎร

วีลายะฮ

‫ﻭﻻﻳﺔ‬

จังหวัด, รัฐ, มลรัฐ

ญีฮะ

‫ﺟﻬﺎﺩ‬

การตอสูในหนทางศาสนา

วอเก

‫ﻭﻛﻴﻞ‬

ผูแทน


186

อาซือกา

‫ﻋﺴﻜﺮ‬

ตารางที่ 18 ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับรางกาย และลักษณะนิสัย ภาษามลายูถนิ่ ภาษาอาหรับ บาแด ‫ﺑﺪﻥ‬ นาปะ ‫ﻧﻔﺲ‬

ทหาร

ความหมาย รางกาย, หนวยงาน ลมหายใจ

ซีปะ

‫ﺻﻔﺔ‬

ลักษณะ

โระฮ

‫ﺭﻭﺡ‬

วิญญาณ

บาเค

‫ﲞﻴﻞ‬

ขี้เหนียว

กูวะ

‫ﻗﻮﺓ‬

แข็งแรง

มาญือนุง

‫ﳎﻨﻮﻥ‬

บา, เจาอารมณ

ญาซะ

‫ﺟﺴﺪ‬

รางกาย

ฮาลือกง, ลลือกง

‫ﺣﻠﻘﻮﻡ‬

ลูกกระเดือก

ฮาญะ

‫ﺣﻴﺎﺓ‬

ชีวิต

วาเญาะ

‫ﻭﺟﻪ‬

หนา

ดอแอะ

‫ﺿﻌﻴﻒ‬

ออนแอ

อามานะฮ

‫ﺃﻣﺎﻧﺔ‬

ความนาเชื่อถือ

แฮบะ

‫ﻫﻴﺒﺔ‬

สงางาม

ตารางที่ 19 ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับสํานวน คําพูด ภาษามลายูถนิ่ ภาษาอาหรับ ปาแซะฮ ‫ﻓﺼﻴﺢ‬ กือลีเมาะฮ ‫ﻛﻠﻤﺔ‬

ความหมาย พูดคลอง คํา, วลี,ประโยค

รอบบี

‫ﺭﰊ‬

พระเจาของขา

ลาปา

‫ﻟﻔﻆ‬

กลาวคํา

วาลา

‫ﻭﻟﻮ‬

ถึงแมวา, แมกระนั้น

บาลาเฆาะฮ

‫ﺑﻼﻏﺔ‬

วาทศิลป

มีซา

‫ﻣﺜﺎﻝ‬

สมมุติ, ตัวอยาง


187

ลีละ, ลิลเลาะฮ

‫ﷲ‬

ดวยพระเจา

ลอรฺะ

‫ﻟﻐﺔ‬

ภาษาถิน่

ยะนิง

‫ﻳﻌﲏ‬

คือวา

ตารางที่ 20 ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับกฏหมายอิสลาม และศาลยุติธรรม ภาษามลายูถนิ่ ภาษาอาหรับ ปาเซาะฮ ‫ﻓﺴﺦ‬ ดะวอ ‫ﺩﻋﻮﻯ‬

ความหมาย ฟองหยาสามี เรียกรอง, อาง

กอดี

‫ﻗﺎﺿﻲ‬

ผูพิพากษา

ปอตูวอ

‫ﻓﺘﻮﻯ‬

คําวินิจฉัยชี้ขาด

มะฮกามะฮ

‫ﳏﻜﻤﺔ‬

ศาลพิพากษา

ฮาเก็ง

‫ﺣﺎﻛﻢ‬

ผูพิพากษา

รือแญ

‫ﺭﺟﻢ‬

การลงโทษผูกระทําผิดประเวณี

ซือฮาเก็ง

‫ﺣﺎﻛﻢ‬

ศาล

ฮูกงแม

‫ﺣﻜﻢ‬

คําพิพากษา

วาซียะ

‫ﻭﺻﻴﺔ‬

พินัยกรรม, คําสั่งเสีย

ตารางที่ 21 ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับเสื้อผา เครื่องแตงกาย และเครื่องประดับ ภาษามลายูถนิ่ ภาษาอาหรับ ความหมาย ฮีญะ ผาคลุมผมของสตรีมุสลิม ‫ﺣﺠﺎﺏ‬ ตือรือบุ

‫ﻃﺮﺑﻮﺵ‬

หมวกแดงที่มีพู

กือปเยาะฮ

‫ ﻗﻔﻴﺔ‬، ‫ﻛﻮﻓﻴﺔ‬

หมวกขาวของชายชาวมุสลิม

ยูเบาะฮ

‫ﺟﺒﺔ‬

เสื้อคลุม,เสื้อครุย

ซือฆือแบ

‫ﺳﺮﺑﺎﻝ‬

ผาขาวที่ใชโพกหัวของชายมุสลิม

แอกฺา

‫ﻋﻘﺎﻝ‬

เสวียนคาดศีรษะ

บายู โตะ

‫ﺛﻮﺏ‬

เสื้อคลุมยาว

ดูวาเราะฮ

‫ﺩﻭﺍﺭﺓ‬

ผาคลุมสตรีมุสลิม

ซือลูวา

‫ﺳﺮﻭﺍﻝ‬

กางเกง


188

กาเองมาเน

‫ﻣﻨﺪﻳﻞ‬

ตารางที่ 22 ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับสุขภาพ และการแพทย ภาษามลายูถนิ่ ภาษาอาหรับ มือนารฺะ, ฎอระ ‫ﻣﻀﺮﺓ‬ แซฮะ ‫ﺻﺤﺔ‬

ผาเช็ดหนา

ความหมาย ลุกลาม สุขภาพสมบูรณ

มายฺง

‫ﻣﻌﺠﻮﻥ‬

ยาแผนโบราณ

วาบะ

‫ﻭﺑﺎﺀ‬

โรคราย

กอซียะ

‫ﺧﺎﺻﻴﺔ‬

สรรพคุณ

มูญาระ

‫ﳎﺮﺏ‬

แกโรคไดชงัก

วอเซ

‫ﺑﻮﺍﺳﲑ‬

โรคริดสีดวงทวาร

ตา-อุง

‫ﻃﺎﻋﻮﻥ‬

อหิวาตกโรค

ตารางที่ 23 ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับอาหาร และผลไม ภาษามลายูถนิ่ ภาษาอาหรับ บูเวาะฮ ตามา ‫ﲤﺮ‬ บูเวาะฮ ตอเปาะฮ ‫ﺗﻔﺎﺡ‬

ความหมาย อินทผลัม ลูกแอปเปล

บูเวาะฮ ซาเบะ

‫ﺯﺑﻴﺐ‬

องุน

บูเวาะฮ ไซตง

‫ﺯﻳﺘﻮﻥ‬

ลูกมะกอก

ซูรฺอ

‫ﻋﺎﺷﻮﺭﺍﺀ‬

บูเวาะฮ กุลดี

‫ﺷﺠﺮﺓ ﺍﳋﻠﺪ‬

ชื่อขนมหวานมักทําในชวงเดือน แรกของปอิสลาม ผลไมที่นบีอาดัมกลืนเขาไป

ตารางที่ 24 ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับประเพณี และการละเลน ภาษามลายูถนิ่ ภาษาอาหรับ อีดิลฟตรี ‫ﻋﻴﺪ ﺍﻟﻔﻄﺮ‬ อีดิลอัดฮา ‫ﻋﻴﺪ ﺍﻷﺿﺤﻲ‬

ความหมาย วันตรุษหลังจากการถือศีลอด วันตรุษหลังจาประกอบพิธฮี จั ญ

เมาะโละ

‫ﻣﻮﻟﻮﺩ‬

เมาลิด

นาเซะ

‫ﻧﺸﻴﺪ‬

การขับรองประสานเสียง


189

อาดะ

‫ﻋﺎﺩﺓ‬

ประเพณี,ธรรมเนียม

ดีเก

‫ﺫﻛﺮ‬

การขับรองหมู, ลิเก

ตารางที่ 25 ตัวอยางคําที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจ การคา ภาษามลายูถนิ่ ภาษาอาหรับ อาเซ ‫ﺣﺎﺻﻞ‬ แรบอ ‫ﺭﺑﺎ‬

ความหมาย ภาษี ดอกเบี้ย

‫ﺷﺮﻛﺔ‬

บริษัท,หางหุน สวน

ภาษาอาหรับ ‫ﺟﻨﺲ‬

ความหมาย ชนิด

คูซุฮ

‫ﺧﺼﻮﺹ‬

เฉพาะ

มะนอ

‫ﻣﻌﲎ‬

ความหมาย

มาซาอาเลาะฮ

‫ﻣﺴﺄﻟﺔ‬

ปญหา,ประเด็น

นาเด

‫ﻧﺎﺩﺭ‬

นอยราย,หายาก

ซอแฮะฮ

‫ﺻﺤﻴﺢ‬

แนชัด

กอบา, คอบา, กาบา

‫ﺧﱪ‬

ขาวคราว

อาซะฮ

‫ﺃﺳﺎﺱ‬

ฐาน

มากือซุ

‫ﻣﻘﺼﻮﺩ‬

จุดประสงค

มูเก็ง

‫ﳑﻜﻦ‬

เปนไปได

มูซือแลฮะ

‫ﻣﺼﻠﺤﺔ‬

ประโยชน, นโยบาย

ซาบะ, ซาเบะ, ซือบะ

‫ﺳﺒﺐ‬

เพราะ,สาเหตุ

ฮา

‫ﺣﺎﻝ‬

เรื่อง,เรื่องราว

มูซือตาเฮ

‫ﻣﺴﺘﺤﻴﻞ‬

เปนไปไมได

ซือแรกะ ตารางที่ 26 ตัวอยางคําอื่น ๆ ภาษามลายูถนื่ ยือนิฮ


190

4.2 วัฒนธรรมดานการแตงกาย การแตงกายของชาวมลายูในจังหวัดปตตานีกอนไดรับอิทธิพลจากวัฒนธรรม อาหรับนั้น ผูชายนิยมแตงกายดวยชุดปูฌอปอตอง ประกอบดวย เสื้อคอกลมสีขาว ผาหนายาว พอสมควร ติดกระดุมสามเม็ด แขนสั้น สวนผาที่นุงมีลักษณะเหมือนผาขาวมา มีสีสันคอนขาง ฉูดฉาด มักเย็บเปนถุง ใชนุงทับบนเสื้อ โดยเวลานุงตองใหชายทั้งสองขางหอยอยูตรงกลางเปนมุม แหลม (ลักษณะเชนนี้เรียกวาปูฌอปอตอง) มีผายือแฆ เปนผาจากเมืองจีนคลายแพรดอกในตัว หรือไหม เปนผาที่มีขนาดเล็กกวานุงทับบนผาปูฌอปอตองอีกชั้นหนึ่ง เสร็จแลวเหน็บกริชหรือ หอกดวยก็ได การแตงกายแบบนี้นิยมใชผาสตาแงโพกศีรษะเปนรูปตาง ๆ ซึ่งการแตงกายใน ลักษณะนี้ปจจุบันยังเห็นไดในสังคมอินโดนีเซีย นอกจากนี้ยังมีภาพวาดขบวนเสด็จประพาสของ ราชินีฮิเยา เปนรูปชายแตงกายโดยใชผาโพกศีรษะ ซึ่งในสมัยนั้นอาจจะยังไมนิยมสวมหมวกกป เยาะห ในขณะเดี ย วกั น จากภาพถ า ยเจ า เมื อ งของ 7 หั ว เมื อ งในสมั ย พระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกลาเจาอยูหัว สะทอนใหเห็นการใชหมวกรูปทรงตาง ๆ โดยเฉพาะหมวกซอเกาะเริ่ม ปรากฏใหเห็นแลว4 ในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน ชนชั้นปกครองและขาราชการนิยมใชผาโพกศีรษะ เมื่อแตงกายดวยชุดทองถิ่นและชุดเครื่องแบบขาราชการ จนกระทั่งสมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลาเจาอยูหัวเริ่มมีการแตงกายดวยชุดสากลนิยมและชุดขาราชการมักใชหมวกซอเกาะ ซึ่ง ทําดวยผากํามะหยี่สีดํา สวนประชาชนสวมเสื้อแขนสั้น นุงผาตาหมากรุกและโพกศีรษะ หรือสวม หมวกซอเกาะ โดยนิยมใชเวลาออกนอกบาน รวมทั้งไปละหมาดที่มัสยิด ตอมาความนิยมลดลง เนื่องจากหมวกกปเยาะหเริ่มเปนที่แพรหลายมากขึ้น เดิมหมวกกปเยาะหใชในกลุมโตะครูและโตะ ปาแก5 และคอย ๆ ขยายไปสูบุคคลทั่วไป 4.2.1 หมวกกปเยาะห กปเยาะหเปนคําที่กลายเสียงมาจากคําวา กูฟยะฮฺ ในภาษาอาหรับ ซึ่งหมายถึง เมืองกูฟะฮฺ ในประเทศอิรัก ซึ่งถือเปนแหลงผลิตหมวกที่ดีที่สุดในสมัยราชวงศอับบาสียะฮฺ โดย ชาวเมืองดังกลาวไดใชคําวากูฟยะฮฺในความหมายของสิ่งที่ครอบบนศีรษะหรือหมวกนั่นเอง และ จากหลักฐานซึ่งเปนรูปแกะสลักในสมัยอัสสิเรียนไดแสดงใหเห็นวาชาวอาหรับนั้นมีการสวมกป เยาะหและใชเสวียนคาดศีรษะเชนเดียวกับที่ปรากฏในปจจุบัน อนึ่งสําหรับชื่อที่ใชสําหรับเรียกหมวกของชาวอาหรับจะมีอยูหลายคําดวยกันโดย จะขึ้นอยูกับพื้นที่ อาทิ ในอิรักเรียกวากูฟยะฮฺ ในสหรัฐอาหรับเอมิเรตสเรียกวาเกาะหฟยะฮฺ ใน 4 5

ดูภาพที่ 8, 9 ในภาคผนวก นักศึกษาศาสนาตามปอเนาะ


191

โอมานเรี ยกวา กุ มมะฮฺ และในซาอุดีอาระเบี ย เรียกวา กัฟฟ ยะฮฺ เป น ต น สํ า หรั บ กป เยาะห ใ น สําเนียงของมลายูปตตานีเปนคําที่มาจากกัฟฟยะฮฺในสําเนียงของชาวซาอุดีอาระเบีย สําหรับการใชหมวกกปเยาะหนั้นมีเหตุผล 2 ประการดวยกัน ประการแรก ชาว อาหรับใชกปเยาะหครอบศีรษะเพื่อปองกันความรอนโดยเฉพาะในฤดูรอน ความเย็นในฤดูหนาว และปองกันฝุนผงโดยใชรวมกับผาโพกศีรษะ ซึ่งเปนเหตุผลทางสภาพอากาศ สําหรับปจจุบันชาว อาหรับจําเปนตองใชเครื่องสวมศีรษะเวลาที่ออกจากบาน ฉะนั้นกปเยาะหจึงถูกใชสวมเพื่อจัดให ผมเปนระเบียบเพื่อที่จะคลุมทับดวยฆุตเราะฮฺ หรือชุมาฆ แลวคาดดวยเสวียน หรือใชผาพันทับ ทั้งนี้เพื่อไมใหผาที่สวมทับดังกลาวหลุดออกจากศีรษะ ซึ่งชาวอาหรับเองไดใชรูปแบบตาง ๆ นี้มา เปนระยะเวลายาวนาน ประการที่ 2 เปนเหตุผลทางดานศาสนาเนื่องจากมุสลิมสวนใหญนิยมสวมใสกป เยาะหในขณะละหมาดโดยเฉพาะในกลุมของมุสลิมอินเดีย ปากีสถาน ที่ถือวาในขณะละหมาดนั้น จะตองสวมหมวกเสมอ หมวกกปเยาะหที่ใชมีหลายรูปแบบดวยกัน ดังนี้ 1. กปเยาะหที่ทํามาจากผา ธรรมดาสีขาวและไมมีการตกแตงใด ๆ 2. กปเยาะหผาแบบหนาและมีการปกลวดลาย เปน หมวกที่มีลักษณะเดียวกับที่พบในจังหวัดปตตานีหรือจังหวัดอื่น ๆ โดยทั่วไป 3. กปเยาะหแบบ โอมานซึ่งมีใชกันมากในกลุมของชาวโอมาน ซันซีบา และแอฟริกาตะวันออก โดยกปเยาะหแบบ ผาจะมีสวนประกอบ 2 สวนคือ สวนฐาน และสวนบน หรือสวนหัว 4. กปเยาะหแบบถัก ซึ่งจะมีสี และลวดลายขึ้นอยูกับดายที่ใชถักและความตองการของผูใช 5. กปเยาะหแบบแฟชั่น เปนหมวกที่ เนนสีสัน และลวดลายที่สวยงาม (ประเสริฐ บินรัตแกว, (สัมภาษณ) 20 มิถุนายน 2550) การใชหมวกกปเยาะหของชาวมลายูในจังหวัดปตตานีนั้นสวนใหญจะใชเนื่อง ดวยเหตุผลทางดานศาสนาเปนหลัก โดยเฉพาะในการละหมาดเนื่องจากเวลาสุยุด (กมกราบ) หากเสนผมมาปดหนาผากแมเพียงเล็กนอย ก็ทําใหการละหมาดเปนโมฆะ ดังนั้น กปเยาะหจึงถูก ใชสําหรับรวบผมเอาไวไมใหปรกลงมาปดหนาผาก เพื่อทําใหการละหมาดนั้นสมบูรณ และเหตุผล อีกประการก็คือเชื่อวาใสแลวไดบุญ เนื่องจากเปนการปฏิบัติตามสุนนะฮฺ (แบบฉบับ) ของทาน ศาสนทูตมูฮัมมัด  ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของจุรีรัตน บัวแกว และคณะ,(2549 : 33) และ ความเขาใจของชาวบานทั่วไปที่มักมองวาการสวมหมวกเปนเงื่อนไขที่ตองกระทําเวลาละหมาด ซึ่ง ก็สอดคลองกับคํากลาวของเจะอับดุลลาห หลังปูเตะ อดีตรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีสั่งราชการกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเฉลิมเกียรติ ขุนทองเพชร, (2547 : 33) ไดเขียน ไววา “...เรื่องสมาหยังก็ตองใชหมวกกูเปยะห หมวกแกปใช ไม ไ ด เพราะอะไรล ะ ? ก็ ท ราบไม ถึ ง นี่ เ ป น เครื่ อ ง ประกอบศาสนาผูกลับจากเมกกะใหม ๆ...”


192

คําพูดดังกลาวแมวาจะเปนคําพูดที่นานมาแลว แตก็แสดงถึงความเขาใจของ บุคคลทั่วไปในเริ่มแรกที่มีการใชหมวกกปเยาะห ซึ่งตอมาความเขาใจเดียวกันนี้ไดรับการสืบทอด ตอมาจวบจนปจจุบันวาหมวกกปเยาะหเปนเครื่องแตงกายอยางหนึ่งสําหรับการละหมาดจะไม สวมไมได ขณะเดียวกันจะใชหมวกอื่นสวมแทนก็ไมไดเชนเดียวกัน ซึ่งในกรณีนี้ผูวิจัยก็เคยประสบ กับตัวเองในพื่นที่อําเภอมายอ โดยระหวางที่ขอทําการละหมาด เจาของบานก็นําผาโสรงพรอม หมวกกปเยาะหมาให ผูวิจัยบอกวาไมเปนไรเพราะกางเกงยังสะอาดอยู และปรกติผูจัยก็ไมสวม หมวกอยูแลว แตเจาของบานก็ยังบอกในความหมายที่วา ไมสวมไมไดเดี๋ยวการละหมาดจะไม สมบูรณ ซึ่งความเขาใจของผูคนทั่วไปก็ยังคงเปนเชนนี้ จากการศึกษาลักษณะการแตงกายของทานศาสนทูต  โดยรวมพบวา ทาน มักจะสวมเสื้อคลุมและเสื้อผาธรรมดา ซึ่งจากแนวทางดังกลาวแสดงถึงการแตงกายที่เกิดจาก เหตุผลทางดานภูมิอากาศเปนหลัก เนื่องจากวิธีการใชเสื้อผาของทานถือเอาสิ่งที่เปนประโยชนตอ รางกายมากที่สุด โดยลักษณะของเสื้อผาที่ใชมีความพอดีกับรางกายไมยาวหรือสั้นจนเกินไป ทั้งนี้ เพื่อไมใหโดนความรอนหรือความเย็นตออากาศภายนอกมากเกินไป สําหรับผาโพกศีรษะ (อิมา มะฮฺ) ก็มีขนาดพอดีสําหรับปองกันอันตรายจากความรอนหรือความหนาวเย็นภายนอก และทาน จะนําปลายหนึ่งมาพันใตคางของทานซึ่งการกระทําเชนนั้นมีประโยชนหลายประการคือ เปนการ ปดกั้นไมใหความรอนหรือความเย็นมากระทบกับบริเวณตนคอ ทําใหผาโพกศีรษะแนนหนามาก ขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งเวลาขี่อูฐ ขี่มาหรือลา หรือบางครั้งทานเคยนุงผาโสรง ที่ไมไดเย็บเปนถุง ซึ่งก็เปนลักษณะการแตงกายของชาวอาหรับโดยทั่วไป รวมทั้งในปจจุบันหากสังเกตในมัสญิดอัล หะรอม นครมักกะฮฺ ก็จะพบวาตํารวจที่คอยรักษาความปลอดภัยใหแกอิหมาม และพนักงานทํา ความสะอาดมัสญิด บุคคลเหลานั้นทําการละหมาดในชุดทํางานของตัวเอง เพียงแตหมุนหมวก แกปที่ตัวเองครอบจากดานหนาไปไวดานหลัง ฉะนั้นจะเห็นไดวาการสวมหมวกกปเยาะหเปน เพียงวัฒนธรรมการแตงกายอยางหนึ่งของชาวอาหรับ ซึ่งผูวิจัยเองเห็นวาการสวมหมวกกปเยาะห เปนประเพณีการแตงกายที่ไมเกี่ยวของกับบทบัญญัติหรือคําสอนของศาสนาอิสลามแตอยางใด 4.2.2 ผาโพกศีรษะ ผาโพกศีรษะ มีลักษณะเปนผาสี่เหลี่ยมดานเทา มีขนาด 1.3 เมตร ใชสําหรับ คลุม หรือพันศีรษะ โดยมีรูปแบบการคลุมที่หลากหลายซึ่งจะขึ้นอยูกับพื้นที่ และลักษณะงานของ ผูใช อาทิ กลุมชาวประมง และชางฝมือ เปนตน กลุมเหลานี้นิยมคลุมโดยใชชายผาสวนที่เหลือพัน รอบศีรษะ ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการทํางานที่ตองการความคลองตัว โดยเรียกลักษณะการพัน ในแบบนี้วาตุรบันด (Turban) หรือสัรบานในภาษาไทยและภาษามลายูถิ่น สําหรับพนักงานบริษัท และบุคคลทั่วไป นิยมคลุมโดยการพับมุมผาเขาหากันเปนรูปสามเหลี่ยมแลวคลุมศีรษะจากนั้น คาดดวยเสวียนเชือกสีดํา (‘Iqāl) ทั้งนี้มีชื่อเรียกแตกตางกัน คือ ผาสีขาว เรียกวา “ฆุตเราะฮฺ”


193

สวนผาลายขาวสลับแดง เรียกวา “ชุมาฆ” (Shumāgh) หรือ “หัฏเฏาะฮฺ” (Hattah) นอกจากลายขาวสลั บ แดง แล ว ยั ง มี ล ายขาวสลั บ ดํ า ซึ่ ง นิ ย มใช กั น ในหมู ช าวปาเลสไตน จน กลายเปนสัญลักษณของขบวนการปลดปลอยปาเลสไตน (Palestine Liberation Organization) และสัญลักษณทางการเมืองของชาวปาเลสไตน นอกจากนี้ยังพบการใชผาลายดังกลาวในกลุมของ ชาวอิรักอีกดวย โดยสรุปการใชผาคลุม และพันศีรษะนั้นเปนที่นิยมในกลุมประเทศอาหรับแถบ อาวเปอรเซีย และคาบสมุทรอาหรับ การโพกศีรษะนิยมกันมากในประเทศโอมาน เยเมน และบางพื้นที่ของประเทศ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส โดยจะเรียกการโพกศีรษะวา “อิมามะฮฺ” หรือ “อิมามะฮฺ หะมะดานียะฮฺ” สําหรับจังหวัดปตตานีผาพันศีรษะจะเรียกวา “ซือฆือแบ” มาจากคําวา ซิรบาน ซึ่งชาวอาหรับใชเรียกการโพกศีรษะแบบเปอรเซีย สังเกตุไดวาชื่อที่ชาวมลายูใชเรียกแตกตางไป จากชาวอาหรับ ที่โดยทั่วไปจะเรียกการโพกศีรษะวา “อิมามะฮฺ” หรือ “อิมามะฮฺ หะมะดานียะฮฺ” โดยการพันศีรษะเปนเครื่องหมายแสดงวาเปนหะยี หรือผานการประกอบพิธีหัจญมาแลว ซึ่งจะ พบไดทั่วไปในกลุมของโตะครู และผูนําศาสนา สําหรับรูปแบบในการพันมีความคลายคลึงกับ รูปแบบของชาวเยเมน นอกจากนี้ยังมีการใชผาฆุตเราะฮฺคลุมศีรษะซึ่งเหมือนกับวิธีการคลุมของ อุละมาอในประเทศซาอุดีอาระเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส และคูเวต แตพบไดนอยมาก (Ghutrah)

4.2.3 เสื้อโตบ เสื้อโตบ มีลักษณะเปนเสื้อยาวกรอมเทา แขนยาวทรงกระบอก มีทั้งคอกลม และ คอปก ผาดานหนาประมาณ 1 ฟุต หรือบางแบบอาจผาตลอด ทําจากผาฝายสีขาว และผาขนสัตว บางประเทศอาจมีพูหอยไวสําหรับพรมน้ําหอม ในประเทศอาหรับเรียกเสื้อชนิดนี้วา “ดิชดาชะฮฺ” (Dishdāshah) หรือ “โษบ” (Thowb) ซึ่งเปนที่นิยมของชาวอาหรับสวนใหญในกลุมประเทศบน คาบสมุทรอาหรับ ซึ่งประกอบดวย ซาอุดีอาระเบีย คูเวต บาหเรน กาตาร สหรัฐอาหรับเอมิเรตส โอมาน และเยเมน เนื่องจากตัวเสื้อแบบนี้ชวยปองกันผิวหนังจากอากาศที่รอนไดดี และในฤดู หนาวชาวอาหรับก็นิยมสวมเสื้อโตบหนาที่ทําจากขนสัตวเพื่อชวยสรางความอบอุนใหแกรางกาย ในจังหวัดปตตานีเรียกเสื้อชนิดนี้วา “โตบ” ซึ่งเรียกตามสําเนียงของชาวอียิปต เปนเสื้อที่โตะครู อุสตาส ที่สําเร็จการศึกษาจากประเทศอาหรับนิยมสวมใส โดยสวมเขาชุดกับ หมวกกปเยาะห และผาเซอเฆอแบ ในกรณีบุคคลทั่วไปนิยมสวมใสเฉพาะเวลาละหมาดเนื่องใน วันอีดฟตร อีดอัฎฮา และอาจมีการสวมใสบางในละหมาดวันศุกร


194

4.2.4 เสื้อคลุม บิชต (Bisht) เปนคําที่ชาวอาหรับใชกันอยางแพรหลายเพื่อเรียกเสื้อคลุม คําวา (Bisht) มาจาก (Busht) ในภาษาเปอรเซียหมายถึง ขางหลัง, ดานหลัง หรือสิ่งที่นํามาคลุมหลัง โดยปริยายหมายถึง เสื้อคลุม นอกจากนี้ยังมีบางทัศนะเห็นวา คําวา (Bisht) มาจากชื่อของเผา ปุชตในอัฟกานิสถาน เนื่องจากมีลักษณะเดนตรงที่ชนเผานี้ชอบสวมเสื้อคลุม แตอยางไรก็ตาม หากพิจารณาถึงการติดตอทางดานการคาระหวางอาหรับกับเปอรเซียที่มีมาอยางยาวนานแลวสรุป ไดวาคําดังกลาวเปนคําเปอรเซีย นอกจากนี้ยังมีคําศัพทในภาษาเปอรเซียอีกมากมายที่อาหรับยืม ไปใชในภาษาของตน นอกจากนี้ยังมีชื่อเรียกอื่นอีกคือ มิชละหฺ (Mishlah) ซึ่งนิยมเรียกกันใน ประเทศซาอุดีอาระเบีย สวนภาษากลางเรียกวา “อะบาอะฮฺ” (‘Abā ’ah) บิชต หรือ มิชละหฺ เปนเสื้อคลุมยาวผาหนาตลอด ตัดเย็บโดยไมมีแขนแตจะใช วิธีเปดดานขางเอาไวสําหรับสอดมือออกเวลาสวมใส โดยจะสวมเขาชุดกับฆุตเราะฮฺ หรือ ชุมาฆ และเสวียนคาดศีรษะ หรืออาจไมใชเสวียนก็ได สําหรับการสวมใสชาวอาหรับเบดูอินจะสวมเสื้อ คลุมนี้อยูตลอดเวลาโดยเฉพาะชวงเดินทาง ทั้งนี้เนื่องจากสําหรับผูที่เดินทางในทะเลทรายนั้นเสื้อ คลุ ม สามารถเป น เครื่ อ งป อ งกั น ความร อ นจากแสงแดดได เ ป น อย า งดี และในยามพั ก ผ อ นก็ สามารถใชปูเปนเสื่อสําหรับรองนั่ง และตอนกลางคืนก็ยังสามารถใชเปนผาหม ยิ่งไปกวานั้นบาง คนยังใชเสื้อคลุมกางเปนเตนทที่พักสวนตัวระหวางเดินทางในตอนกลางวัน รวมถึงยังใชเปน เครื่องปองกันอันตรายที่เกิดจากพายุทรายใหชาวอาหรับเบดูอินไดอีกดวย สวนชาวอาหรับเมือง ในอดีตเสื้อชนิดนี้ผูคนทั่วไปไมวาจะเปนเด็กหรือผูใหญ นิยมสวมกันอยางแพรหลาย แตในปจจุบันเสื้อคลุมชนิดนี้ไดกลายเปนเสื้อคลุมที่ใชเฉพาะสําหรับ ผูมีตําแหนงหนาที่ในสังคม อาทิ กษัตริย รัฐมนตรี คณะทูต และนักการศาสนา เปนตน ซึ่งเสื้อ คลุมเปนเครื่องแสดงถึงฐานะทางสังคม แตสําหรับประชาชนทั่วไปมีการสวมเสื้อคลุมเฉพาะในชวง เทศกาลสํ า คั ญ เท า นั้ น อาทิ วั น อี ด พิ ธี แ ต ง งาน เป น ต น ทั้ ง นี้ เ ป น ที่ นิ ย มเฉพาะประเทศบน คาบสมุทรอาหรับ เชน ซาอุดีอาระเบีย โอมาน คูเวต กาตาร บาหเรน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส เทานั้น สวนประเทศอาหรับอื่น ๆ พบไดในกลุมนักการศาสนา จัง หวั ด ป ต ตานี เรี ย กว า “ุ เ บาะฮฺ ” ซึ่ ง เป น การเรี ย กตามแบบชาวอี ยิ ป ต ใน จังหวัดปตตานีพบเสื้อคลุมชนิดนี้ไดนอยมาก มีเพียงบางมัสยิดที่นํามาใชสําหรับคอเต็บสวมเวลา ขึ้นกลาวคุฏบะฮฺในวันศุกร วันอีดฟตร และอีดอัฎฮา ซึ่งสาเหตุที่ไมไดรับความนิยมอาจเนื่องจาก เสื้อดังกลาวมีราคาสูงซึ่งจะขึ้นอยูกับเนื้อผา ลายปก และสี โดยทั่วไปราคาอยูระหวาง 2-7 หมื่น บาท ซึ่งแตกตางจากเครื่องแตงกายชนิดอื่นที่มีราคาถูกกวามาก รวมถึงบางชนิดยังสามารถผลิต ไดเองในทองถิ่น อาทิ หมวกกปเยาะห และเสื้อโตบ เปนตน


195

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ การวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดกําหนดวัตถุประสงคของการวิจัย วิธีดําเนินการวิจัย การวิเคราะห ขอมูล สรุปผล การอภิปรายผลการวิจัยและขอเสนอแนะดังนี้ วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาประวัติความเปนมาของวัฒนธรรมอาหรับในสังคมมลายูในจังหวัด ปตตานี 2. เพื่อศึกษาอิทธิพลวัฒนธรรมอาหรับในสังคมมลายูในจังหวัดปตตานี ความสําคัญและประโยชนของการวิจยั 1. ทราบประวัติความเปนมาของวัฒนธรรมอาหรับในจังหวัดปตตานี 2. ทราบอิทธิพลของวัฒนธรรมอาหรับในสังคมมลายูในจังหวัดปตตานี 3. ผลการวิจัยสามารถใชเปนองคความรูในการเรียนการสอนวัฒนธรรมอาหรับและ วัฒนธรรมมลายู 4.

ผลการวิจัยเปนประโยชนกับหนวยงานราชการในการพัฒนาจังหวัดชายแดน

ภาคใต 5. ผลการวิจัยสามารถใชเปนประโยชนในการศึกษาลูทางในการประกอบธุรกิจใน จังหวัดชายแดนภาคใตและจังหวัดใกลเคียง ขอบเขตของการวิจัย 1. การศึกษาวัฒนธรรมอาหรับในการวิจัยนี้จะศึกษาเฉพาะวัฒนธรรมอาหรับในดาน ภาษา และการแตงกาย ที่มีอยูในจังหวัดปตตานีเทานั้น 2. การวิจัยครั้งนี้จะศึกษาเฉพาะวัฒนธรรมอาหรับที่ไมไดเปนบทบัญญัติของศาสนา อิสลาม

195


196

3. ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยจะทําการวิจัยอิทธิพลของวัฒนธรรมอาหรับดานภาษา และ การแตงกาย ที่มีอยูในปจจุบัน ณ ปที่ทําการศึกษาวิจัย คือ ป พ.ศ. 2547-2549 4. วัฒนธรรมการแตงกายผูวิจัยไมรวมถึงการแตงกายของสตรี เนื่องจากรูปแบบ การแตงกายของสตรีนั้นเปนผลมาจากบทบัญญัติของศาสนาอิสลาม อาทิ การคลุมศีรษะ เปนตน วิธีการวิจัย การศึกษาวิจัยเรื่องอิทธิพลของวัฒนธรรมอาหรับตอสังคมมลายูในจังหวัดปตตานี เปนการวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary Research) โดยการศึกษาคนควา รวบรวมขอมูล จาก หนังสือ เอกสารตางๆ ที่เกี่ยวของมาประมวล วิเคราะห และสรุปใหเห็นถึงลักษณะและสภาพความ เปนอยูของสังคม เปนการสํารวจประวัติความเปนมา และลักษณะของวัฒนธรรม โดยใชแหลงขอมูล ดังนี้ 1. ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Sources) ไดแก 1.1 คัมภีรอัลกุรอาน และอัลหะดีษ 1.2 บันทึกประวัติศาสตรปตตานี จดหมายเหตุ 1.3 ขอมูลจากการสัมภาษณบุคคลตางๆ ที่เกี่ยวของกับวัฒนธรรมอาหรับ เชน ประธานกลุมเย็บหมวกกปเยาะห โตะครู หรือ อุสตาส และบุคคลทั่วไป 1.4 รายการโทรทัศนเกี่ยวกับวัฒนธรรมอาหรับที่ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน ในกลุมประเทศอาหรับในชวงเดือนตุลาคม 2547 ถึง เดือนพฤษภาคม 2549 ไดแก 1.4.1 รายการอัลโอมานียาต (al-Omānīyāt) และรายการเทศกาลประจําป มัสกัต (Mahrajan Masqat) ซึ่งออกอากาศทางสถานีโทรทัศนชอง 1 ประเทศโอมาน 1.4.2 รายการนะวาฟษฺ (Nawāfidh) และรายการหะดีษ อัลบะรอรีย (Hadīth al-Barārīy) ซึ่งออกอากาศทางสถานีโทรทัศนอัชชาริเกาะห ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส 1.4.3 การถ า ยทอดสดรายการศิ ล ปวั ฒ นธรรมอั ล เจนาดรี ย ะห (alJinādrīyah) และรายการมุกัสซารอต (Mukassarāt) ซึ่งออกอากาศทางสถานีโทรทัศน ชอง 1 ประเทศซาอุดีอาระเบีย 1.4.4 รายการอัลบัยตฺ อัลอะรอบีย (al-Bayt al-‘Arabīy) ซึ่งออกอากาศ ทางสถานีโทรทัศนประเทศเยเมน 2. ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Sources) ไดแก หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ ที่ เกี่ยวของกับวัฒนธรรม ประวัติความเปนมาของชนชาติอาหรับ เชน หนังสือของ Gustave Le Bon เรื่อง Hadārah al-‘Arab และ Philip K. Hitti เรื่อง History of The Arab สวนวัฒนธรรม ประวัติ


197

ความเปนมาของชนชาติมลายู เชน หนังสือของ Ismail Hamid เรื่อง Masyarakat dan Budaya Melayu และ Slamet Muljana เรื่อง Runtuhnya Kerajaan Hindu-Jawa dan Timbulnya Negara-negara Islam di Nusantara 3. ขอมูลตติยภูมิ (Tertiary

Sources)

ไดแก หนังสือสารานุกรม หนังสือรายป

พจนานุกรม เชน สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต โดยผูวิจัยมีวิธีการดําเนินการตามขั้นตอนดังนี้ 1. รวบรวม หนังสือ ตํารา บทสัมภาษณ สารคดี และเอกสารตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับ วัฒนธรรมอาหรับ และมลายูทั้งโดยตรงและโดยออม 2. ศึกษาทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวของกับวัฒนธรรม 3. ศึกษาเกี่ยวกับประวัติความเปนมาของชนชาติอาหรับ และมลายู 4. ศึกษาลักษณะและประเภทของวัฒนธรรมอาหรับ และมลายู 5. ศึกษาภูมิหลังดานภูมิศาสตร วัฒนธรรมของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยเฉพาะจังหวัดปตตานี 6. ศึกษาการเขามาของศาสนาอิสลามในภูมิภาคมลายูโดยเฉพาะจังหวัดปตตานี 7. ศึกษาวัฒนธรรมอาหรับในสังคมมลายูในจังหวัดปตตานี 8. ศึกษาคํายืมภาษาอาหรับในภาษามลายูถิ่นปตตานี 9. จัดแบงหมวดหมูของขอมูลโดยการจําแนกตามหัวขอใหญและหัวขอยอย 10. วิเคราะหขอมูลตามหัวขอที่กําหนด โดยใชวิธีการวิเคราะหเนื้อหา และนําเสนอ เนื้อหาสาระโดยวิธีการพรรณนาความ 5.1 สรุปผลการวิจัย จากการศึกษาเรื่องอิทธิพลของวัฒนธรรมอาหรับตอสังคมมลายูในจังหวัดปตตานี สามารถสรุปผลการวิจัยไดดังนี้ 1. วัฒนธรรมดานภาษา อิทธิพลของวัฒนธรรมอาหรับทางดานภาษาสามารถแบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1.1 อักษร ยาวี เปนคําที่ใชเรียกอักษรภาษามลายูที่เขียนดวยอักษรอาหรับ มาจากคํา วา “ญาวะฮฺ” ซึ่งชาวอาหรับใชเรียกเกาะสุมาตรารวมทั้งคาบสมุทรมลายูดังปรากฏในตําราอาหรับ หลายเลม อาทิ มุอฺญัม อัลบุ ลดาน (Mu‘jam al-Buldān) ของท านยากู ต ตั ก วี ม อั ล บุ ล ดาน


198

(Taqwīm al-Buldān)

ของทานอบู อัลฟดาอ และอัรริหฺละฮฺ (al-Rihlah) ของอิบนุ บัฏฏเฏาะฮฺ เปน ตน จากคําดังกลาวชาวอาหรับไดใชเรียกคนที่อาศัยอยูในเกาะสุมาตราที่นับถือศาสนาอิสลามและใช ภาษามลายู และหมายรวมถึงผูที่มีสีผิวเปลือกละมุดก็ถือวาเปนชาวชวาเชนเดียวกัน ดังนั้นอะไรก็ ตามที่เกี่ยวกับชวาชาวอาหรับจะเรียกยาวีท้ังหมด ดังเชน คนยาวี ภาษายาวี อักษรยาวี และกีตาบยาวี เปนตน ซึ่งชาวอาหรับไดใชคํา ๆ นี้ ในความหมายของผูคน และภาษาที่กลุมชนดังกลาวใช โดยจะ เรียกรวม ๆ วา คนยาวี ซึ่งหมายถึง คนอินโดนีเซีย ฟลิปปนส มาเลเซีย และไทยมาจวบจนปจจุบัน โดยเฉพาะชาวอาหรับในประเทศซาอุดีอาระเบีย กอนศาสนาอิสลามจะถูกเผยแผ ภาษามลายูไดใชอักษรกวิและเทวนาครี เปนตัวเขียน แตหลังจากที่ศาสนาอิสลามถูกเผยแผภาษาอาหรับในฐานะที่เปนภาษาแหงคําสอนของ ศาสนาอิสลาม อักษรอาหรับก็ไดถูกนํามาดัดแปลงเพื่อใชเปนตัวเขียนในภาษามลายู โดยเรียกวา อักษรยาวี โดยใชวิธีการสองแบบ คือ 1. ยืมอักษรเปอรเซียที่มีเสียงเหมือนกับภาษามลายู 2. ดัดแปลงอักษรใหมโดยการเพิ่มจุด ซึ่งอักษรที่ถูกดัดแปลงทั้งหมดมี 5 อักษร คือ `) ))))¢) )){))‫)))ڤ‬W โดยอักษร `) และ ¢ ยืมจากเปอรเซีย สวน { ‫ ڤ‬และ W ดัดแปลงจากอักษรอาหรับ 1.2 คํายืม ในดานคําศัพท คําหลายคําในภาษามลายูถูกแทนที่ดวยภาษาอาหรับและ ภาษาเปอรเซีย เนื่องจากภาษาอาหรับเปนแหลงขอมูลทางวิชาการทางดานศาสนา และองคความรูดาน อื่น ๆ ที่สําคัญในภูมิภาคมลายู ในยุคอิสลามนั้นคําศัพทเฉพาะดานในสาขาวิชาตาง ๆ ไดถูกบัญญัติ และเขียนในภาษามลายูเปนผลทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางดานคําศัพทอยางรวดเร็วดวยการยืม คําศัพทในสาขาวิชาตาง ๆ มาจากอาหรับ อาทิ ศาสนศาสตร ปรัชญา จริยธรรม เปนตน ดังนั้นในชวง เวลาตั้งแตศตวรรษที่ 13 เปนตนมา คําศัพทภาษาอาหรับหลายคําไดถูกยืมมาใชในภาษามลายูโดยมี การปรับเปลี่ยนเสียงเพื่อใหเขากับเสียงในภาษามลายู จากการศึกษาคํายืมภาษาอาหรับในภาษามลายู ถิ่นปตตานีพบวามีคําภาษาอาหรับจํานวนหลายคําที่ถูกใชในวิถีชีวิตประจําวัน โดยผูใชมักไมทราบวา คํา ๆ นั้นเปนภาษาอาหรับ โดยเฉพาะผูที่ไมไดเรียนภาษาอาหรับ เนื่องจากคําศัพทไดถูกปรับเสียงให เขากับระบบเสียงในภาษามลายูถิ่นปตตานี ดังหมวดหมูตอไปนี้ 1. คําที่เกี่ยวกับการกระทํา ความคิด และความรูสึก 2. คําที่เกี่ยวกับชื่อเฉพาะ และชื่อสถานที่ 3. คําที่เกี่ยวกับศาสนาอิสลาม และขอบัญญัติตาง ๆ 4. คําที่เกี่ยวกับการศึกษา 5. คําที่เกี่ยวกับชื่อวันเดือนป เวลา และการคํานวณ


199

6. คําที่เกี่ยวกับสิ่งของ เครื่องมือเครื่องใช 7. คําที่เกี่ยวกับสังคม เครือญาติ และฐานะ 8. คําที่เกี่ยวกับการเมือง การปกครองและการทหาร 9. คําที่เกี่ยวกับรางกาย และลักษณะนิสัย 10. คําที่เกี่ยวกับสํานวน คําพูด 11. คําที่เกี่ยวกับกฏหมายอิสลาม และศาลยุติธรรม 12. คําที่เกี่ยวกับเสื้อผา เครื่องแตงกาย และเครื่องประดับ 13. คําที่เกี่ยวกับสุขภาพ และการแพทย 14. คําที่เกี่ยวกับอาหาร และผลไม 15. คําที่เกี่ยวกับประเพณี และการละเลน 16. คําที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจ การคา 2. วัฒนธรรมดานการแตงกาย อิทธิพลของวัฒนธรรมอาหรับทางดานการแตงกายสามารถแบงออกเปน 4 ประเภท คือ 2.1 หมวกกปเยาะห กปเยาะหเปนคําที่กลายเสียงมาจากคําวา กูฟยะฮฺ ซึ่งหมายถึงเมืองกูฟะฮฺ ในประเทศอิรัก ซึ่งเมืองดังกลาวนี้เปนแหลงผลิตหมวกที่ดีที่สุดในสมัยอับบาสียะฮฺ โดยชาวเมือง ดังกลาวไดใชคําวากูฟยะฮฺในความหมายของสิ่งที่ครอบบนศีรษะหรือหมวกนั่นเอง และจากหลักฐาน ซึ่งเปนรูปแกะสลักในสมัยอัสสิเรียนไดแสดงใหเห็นวาชาวอาหรับนั้นมีการสวมกปเยาะหและใชเสวียน คาดศีรษะเชนเดียวกับที่ปรากฏในปจจุบัน อนึ่ ง สํ า หรั บชื่ อ ที่ ใ ช สํ าหรั บ เรี ย กหมวกของชาวอาหรั บ จะมี อ ยู ห ลายคํ า ดวยกันโดยจะขึ้นอยูกับพื้นที่ อาทิ ในอิรักเรียกวากูฟยะฮฺ ในสหรัฐอาหรับเอมิเรตสเรียกวาเกาะหฺฟ ยะฮฺ ในโอมานเรียกวากุมมะฮฺ และในซาอุดีอาระเบียเรียกวากัฟฟยะฮฺ เปนตน สําหรับกปเยาะหใน สําเนียงของมลายูปตตานีเปนคําที่มาจากกัฟฟยะฮฺในสําเนียงของชาวซาอุดีอาระเบีย สํ าหรั บเหตุ ผ ลในการใช ห มวกมี 2 ประการด ว ยกั น ประการแรก ชาว อาหรับใชกปเยาะหครอบศีรษะเพื่อปองกันความรอนโดยเฉพาะในฤดูรอน ความเย็นในฤดูหนาว และ ปองกันฝุนผงโดยใชรวมกับผาโพกศีรษะ ซึ่งเปนเหตุผลทางสภาพอากาศ ประการที่ 2 เปนเหตุผลทางดานศาสนาเนื่องจากมุสลิมสวนใหญนิยมสวม ใสกปเยาะหในขณะละหมาดโดยเฉพาะในกลุมของมุสลิมอินเดีย ปากีสถาน ที่ถือวาในขณะละหมาด นั้นจะตองสวมหมวกเสมอ


200

โดยหมวกกปเยาะหที่ใชมี 5 รูปแบบดวยกัน ดังนี้ 1. กปเยาะหที่ทํามาจากผาธรรมดาสีขาวและไมมีการตกแตงใด ๆ 2. กปเ ยาะห ผาแบบหนาและมี การปกลวดลาย เปน หมวกที่มี ลัก ษณะ เดียวกับที่พบในจังหวัดปตตานีหรือจังหวัดอื่น ๆ โดยทั่วไป 3. กปเยาะหแบบโอมานซึ่งมีใชกันมากในกลุมของชาวโอมาน ซันซีบา และแอฟริกาตะวันออก 4. กปเยาะหแบบแฟชั่น เปนหมวกที่เนนสีสัน และลวดลายที่สวยงามโดย กปเยาะหแบบผาจะมีสวนประกอบ 2 สวนคือ สวนฐาน และสวนบน หรือสวนหัว 5. กปเยาะหแบบถัก ซึ่งจะมีสีและลวดลายขึ้นอยูกับดายที่ใชถักและความ ตองการของผูใช การใชหมวกกปเยาะหของชาวมลายูในจังหวัดปตตานีนั้นสวนใหญจะใช เนื่องดวยเหตุผลทางดานศาสนาเปนหลัก โดยเฉพาะในการละหมาดเนื่องจากเวลาสุยุด (กมกราบ) หากเสนผมมาปดหนาผากแมเพียงเล็กนอย ก็จะทําใหการละหมาดเปนโมฆะ ดังนั้น กปเยาะหจึงถูก ใชสําหรับรวบผมเอาไวไมใหปรกลงมาปดหนาผาก เพื่อทําใหการละหมาดนั้นสมบูรณ และเหตุผลอีก ประการก็คือเชื่อวาใสแลวไดบุญ เนื่องจากเปนการปฏิบัติตามแบบฉบับของทานศาสนทูตมูฮัมมัด  ซึ่งความเปนจริงแลวการสวมหมวกกปเยาะฮฺเปนเพียงวัฒนธรรมการแตงกายของชาวอาหรับ และการ สวมหมวกกปเยาะหเปนประเพณีการแตงกายที่ไมเกี่ยวของกับบทบัญญัติหรือคําสอนของศาสนา อิสลามแตอยางใด 2.2 ผาโพกศีรษะ ผาโพกศี รษะ มี ลักษณะเป นผาสี่เ หลี่ ยมด านเท า มี ขนาด 1.3 เมตร ใช สําหรับคลุม หรือพันศี รษะ ในจัง หวั ดปตตานีผาพันศีรษะจะเรี ยกวา “เซอเฆอแบ” มาจากคํ าว า ซิรบาน ซึ่งชาวอาหรับใชเรียกการโพกศีรษะแบบเปอรเซีย สังเกตไดวาชื่อที่ชาวมลายูใชเรียกแตกตาง ไปจากชาวอาหรับ ที่โดยทั่วไปจะเรียกการโพกศีรษะวา “อิมามะฮฺ” หรือ “อิมามะฮฺ หะมะดานียะฮฺ” โดยการพันศีรษะเปนเครื่องหมายแสดงวาเปนหะยี หรือผานการประกอบพิธีหัจญมาแลว ซึ่งจะพบได ทั่วไปในกลุมของโตะครู และผูนําศาสนา สําหรับรูปแบบในการพันมีความคลายคลึงกับรูปแบบของ ชาวเยเมน นอกจากนี้ยังมีการใชผาฆุตเราะฮฺคลุมศีรษะซึ่งเหมือนกับวิธีการคลุมของอุละมาอในกลุม ประเทศอาหรับแถบอาวเปอรเซีย เชน ประเทศซาอุดีอาระเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส และคูเวตอีก ดวย แตก็พบไดนอยมาก


201

การโพกศี ร ษะนิ ย มกั น มากในประเทศโอมาน เยเมน และบางพื้ น ที่ ข อง ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส โดยจะเรียกการโพกศีรษะวา “อิมามะฮฺ” หรือ “อิมามะฮฺ หะมะดานี ยะฮฺ” 2.3 เสื้อโตบ โตบ มีลักษณะเปนเสื้อยาว มีทั้งคอกลม และคอปก ผาดานหนาประมาณ 1 ฟุต หรือบางแบบอาจฝาตลอด ทําจากผาฝายสีขาว และผาขนสัตว ในประเทศอาหรับเรียกเสื้อชนิด นี้วา “ดิชดาชะฮฺ” (Dishdāshah) หรือ “โษบ” (Thowb) สวนจังหวัดปตตานีเรียกเสื้อชนิดนี้วา “โต บ ” ซึ่ ง เป น การเรี ย กตามสํ าเนี ย งของชาวอี ยิป ต เป น เสื้ อ ที่ โต ะครู อุ ส ตาส ส ว นใหญ ที่ สํ า เร็ จ การศึกษาจากประเทศอาหรับนิยมสวมใส โดยสวมเขาชุดกับหมวกกปเยาะห และผาเซอเฆอแบ ใน กรณีบุคคลทั่วไปนิยมสวมใสเฉพาะเวลาละหมาดเนื่องในวันอีดฟตร อีดอัฎฮา และอาจมีการสวมใส บางในละหมาดวันศุกร 2.4 เสื้อคลุม บิชต หรือ มิชละหฺ เปนเสื้อคลุมยาวผาดานหนาตัดเย็บโดยไมมีแขนแตจะ ใชวิธีเปดดานขางเอาไวสําหรับสอดมือออกเวลาสวมใส โดยจะสวมเขาชุดกับฆุตเราะฮฺ หรือ ชุมาฆ และเสวียนคาดศีรษะ และในบางครั้งอาจไมใชเสวียนก็ได ในประเทศอาหรับเสื้อคลุมชนิดนี้เปน เครื่องแสดงถึงสถานภาพทางสังคม ฉะนั้นผูสวมใสเปนประจําจึงมีเฉพาะผูมีตําแหนงหนาที่ในสังคม อาทิ กษัตริย รัฐมนตรี คณะทูต และนักการศาสนา เปนตน สําหรับประชาชนทั่วไปมีการสวมเสื้อคลุม เฉพาะในชวงเทศกาลสําคัญเทานั้น อาทิ วันอีด พิธีแตงงาน เปนตน ทั้งนี้เปนที่นิยมเฉพาะประเทศบน คาบสมุทรอาหรับ เชน ซาอุดีอาระเบีย โอมาน คูเวต กาตาร บาหเรน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส เปนตน ในจังหวัดปตตานีจะพบเสื้อคลุมชนิดนี้ไดนอยมาก มีเพียงบางมัสยิดที่ นํามาใชสําหรับคอเต็บสวมเวลาขึ้นกลาวคุฏบะฮฺในวันศุกร วันอีดฟตร และอีดอัฎฮา ซึ่งสาเหตุที่ไมได รับความนิยมอาจเนื่องจากเสื้อดังกลาวมีราคาสูงซึ่งจะขึ้นอยูกับเนื้อผา ลายปก และสี โดยทั่วไปราคา อยูระหวาง 2-7 หมื่นบาท ซึ่งแตกตางกับเครื่องแตงกายชนิดอื่นที่มีราคาถูกกวามาก รวมถึงบางชนิด ยังสามารถผลิตไดเองในทองถิ่น อาทิ หมวกกปเยาะห และเสื้อโตบ เปนตน 5.2 การอภิปรายผล จากการวิจัยเรื่องอิทธิพลของวัฒนธรรมอาหรับตอสังคมมลายูในจังหวัดปตตานี มี ขอสังเกตดังตอไปนี้


202

1. ลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมบางสวนของชาวมลายูในจังหวัดปตตานี เปนการเปลี่ยนความหมายของวัฒนธรรมอาหรับ ดังเชน วัฒนธรรมการแตงกายของชาวอาหรับเกิด จากปจจัยของสภาพภูมิอากาศที่ผูคนที่อาศัยอยูบนคาบสมุทรอาหรับตองแตงกายมิดชิด เพื่อปองกัน รางกายจากอันตรายของแสงอาทิตย และฝุนทรายตาง ๆ แตหลังจากสภาพสังคมเปลี่ยนไปการพัฒนา ประเทศกาวหนาชาวอาหรับก็มีการปรับการแตงกายของตนในรูปแบบที่ทันสมัยมากขึ้น ดังนั้นไมวา บุคคลทั่วไป หรือนักการศาสนาอิสลาม ก็แตงกายเหมือนกัน แตสําหรับจังหวัดปตตานี การแตงกาย แบบชาวอาหรับ เปนเครื่องหมายของผูมีความรูทางศาสนา หรืออุละมาอ การใชหมวกกปเยาะหเปน เครื่องหมายทางศาสนา และการใชผาพันศีรษะเปนเครื่องหมายของผูผานการประกอบพิธีหัจญ และ ลักษณะการยอมรับวัฒนธรรมอาหรับของสังคมมลายูในจังหวัดปตตานี เปนการรับเอาวัฒนธรรมของ ชาวอาหรับมาใชโดยตรง ดังเชน การรับเอาหมวกกปเยาะห เสื้อโตบ ซึ่งสอดคลองกับคํากลาวของเจะ อั บ ดุ ล ลาห หลั ง ปู เ ต ะ อดี ต รั ฐ มนตรี ช ว ยว า การกระทรวงสาธารณสุ ข และรั ฐ มนตรี สั่ ง ราชการ กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเฉลิมเกียรติ ขุนทองเพชร, (2547 : 33) ไดเขียนไววา “...เรื่องสมาหยังก็ตองใชหมวกกูเปยะห หมวกแกปใชไมได เพราะอะไรละ? ก็ทราบไมถึง นี่เปนเครื่องประกอบศาสนาผู กลับจากเมกกะใหม ๆ...” 2. ลักษณะการยืมคําซึ่งจัดเปนวัฒนธรรมทางภาษา เกิดขึ้นภายใตบรรยากาศของ การสั มผัสภาษาซึ่งมาจากคนหนึ่ งคนใดพู ดภาษาไดสองภาษาขึ้ น ไป และสามารถใชภาษาทั้ งสอง สลับกันไปมาได เชน กรณีของผูที่เดินทางไปศึกษาที่ประเทศอาหรับและใชชีวิตอยูเปนเวลานาน สามารถใชภาษามลายูถิ่น และภาษาอาหรับสลับไปมาได สวนปจจัยที่กอใหเกิดคํายืมมีทั้งปจจัยจาก ตัวภาษาเองและปจจัยทางสังคม ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดเกี่ยวกับปจจัยในการยืมคําของคารเมล เฮียะ ลี เซียะ (Carmel Heah Lee Hsia, 1989 : 14-16) ที่ไดแบงปจจัยที่กอใหเกิดการยืมคํา วามีทั้ง ปจจัยที่เกิดจากตัวภาษา และปจจัยทางสังคม โดยปจจัยจากตัวภาษานั้นเกิดจากความถี่ในการปรากฏ ของคํา ซึ่ ง คํ าศั พ ท ที่ มี ค วามถี่ ใ นการปรากฏสู ง และมี การใช บ อ ยจะมี ก ารยื มได งา ย ดัง พบได จ าก กระบวนการสอน หรือบรรยายวิชาการศาสนาตามมัสยิด หรือสถานศึกษาตางๆ ที่ผูสอนมักใชคําศัพท ในภาษาอาหรับซ้ํา ๆ กัน สําหรับปจจัยทางสังคมซึ่งเปนปจจัยที่อยูนอกเหนือจากปจจัยของตัวภาษา เกิดจาก ศักดิ์ศรีของทั้งสองภาษาที่เกิดการสัมผัสกัน นั่นคือภาษาอาหรับมีศักดิ์ศรีเหนือกวาภาษามลายูถิ่น ปตตานี เนื่องจากเปนภาษาของอัลกุรอาน และเปนภาษาที่ใชเขียนตําราศาสนา จึงทําใหภาษามลายู


203

ถิ่ น ป ต ตานี ยื ม คํ า จากภาษาอาหรั บ มาใช นอกจากนี้ ทั ศ นคติ ที่ มี ต อ ภาษายั ง เป น อี ก สาเหตุ ห นึ่ ง ที่ กอใหเ กิดการยืมคํา เชน ความรูสึกวาภาษาอาหรับนาจะดีกวาภาษามลายูถิ่นปตตานีสําหรับแทน ความหมายบางอยาง หรือแสดงความรูความสามารถในการใชภาษาตางประเทศของตน ซึ่งในกรณีนี้ ผูวิจัยสังเกตเห็นวาผูที่สําเร็จการศึกษาจากประเทศอาหรับมักใชคําภาษาอาหรับในการสนทนากัน มากกวาบุคคลทั่วไป เชนมักใชคําสรรพนามบุรุษที่ 1 และ 2 อะนา (ผม) และอันตา (คุณ) บอยครั้ง 3. กระบวนการยอมรับวัฒนธรรมอาหรับเกิดขึ้นโดยมีโตะครูหรือผูรูทางดานศาสนา อิสลามเปนแรงบันดาลใจ เนื่องจากโตะครูเปนผูนําทางจิตวิญญาณของสังคม ซึ่งสอดคลองกับผอง พันธุ มณีรัตน (2521 : 131) ที่กลาววา อิทธิพลของบุคคลเปนปจจัยสําคัญในการตัดสินใจยอมรับ วัฒนธรรม โดยเฉพาะบุคคลที่มีตําแหนงสูงจะมีความสําคัญมาก ดังนั้นโตะครู หรือผูรูทางดานศาสนา อิสลามจึงมีผลอยางยิ่งตอการตัดสินใจยอมรับ กอปรกับลักษณะของวัฒนธรรมอาหรับในสังคมมลายู เปนวัฒนธรรมเนื่องดวยศาสนาอิสลามจึงไมกอใหเกิดการตอตานทางวัฒนธรรม ดังเชน การใชหมวก กปเยาะหของชาวมลายูในจังหวัดปตตานีนั้นสวนใหญจะใชเนื่องดวยเหตุผลทางดานศาสนาเปนหลัก โดยเฉพาะในการละหมาดเพื่อไมใหเสนผมปดหนาผากเวลาสุูด ซึ่งจะทําใหการละหมาดเปนโมฆะ นอกจากนี้ยังเชื่อวาใสแลวไดบุญ เนื่องจากเปนการปฏิบัติตามสุนนะฮฺของทานศาสนทูตมูฮัมมัด  ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของจุรีรัตน บัวแกว และคณะ,(2549 : 33) นอกจากนี้ชาวบานทั่ว ๆ ไปมัก เข า ใจว า ผู ที่ แ ต ง กายด ว ยชุ ดโต บ และพั น ศี ร ษะมั ก เป น ผู มี ค วามรู ด า นศาสนาอิ ส ลามและเป น ผู เคร งครั ดในหลักการศาสนาอิ สลาม ดั งคํ า บอกเล าของมุฮํ าหมั ด เจ ะหะ(สัม ภาษณ, 24 มี น าคม 2549) วา คนในหมูบานมักไปสอบถามปญหาศาสนาจากผูที่นิยมแตงกายดวยชุดอาหรับ ทั้ง ๆ ที่คน ๆ นั้นไมไดเปนผูรูดานศาสนาอิสลามเลย 4. วัฒนธรรมการแตงกายแบบอาหรับ มีสวนสําคัญในการสรางคานิยมในดานการ แตงกายของกลุมผูนําศาสนาสวนใหญโดยเฉพาะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดตาง ๆ มักนิยมสวม เสื้อสูททับเสื้อโตบแทนการสวมมิชละหฺ ซึ่งเปนการแตงกายในแบบของชาวเยเมน ปจจุบันการแตง กายในลักษณะนี้ไดกลายเปนเครื่องแบบของผูนําศาสนา และสรางความนาเชื่อถือในแงของศาสนา อิสลามอีกดวย 5. การยอมรับวัฒนธรรมอาหรับของชาวมลายูในจังหวัดปตตานี ถือเปนการยอมรับ อารยธรรมเซเมติกสวนหนึ่งเขามาในสังคม เปนผลทําใหอารยธรรมอินเดีย จีน ที่เคยมีอยูในสังคม มลายูลดลง แตกระนั้นการรับวัฒนธรรมอาหรับในสังคมมลายูเปนการรับเพียงบางสวน โดยเฉพาะ วัฒนธรรมที่เกี่ยวของกับศาสนาอิสลาม ดังจะเห็นไดวาชาวมลายูไมไดรับวัฒนธรรมที่เกี่ยวของกับที่อยู อาศัย กฎหมาย และระบบครอบครัวแบบอาหรับ ดวยเหตุนี้ครอบครัวมลายูที่ลูกสาวแตงงานกับชาว อาหรับจะมีระบบครอบครัว และความสัมพันธทางเครือญาติที่เปลี่ยนไป พอ แม จะพบปะกับลูกสาว


204

ไดยากขึ้น เนื่องจากสามีจะควบคุมดูแลอยางใกลชิด ซึ่งจะแตกตางจากระบบครอบครัวของชาวมลายู โดยสิ้นเชิง 6. วั ฒ นธรรมอาหรั บ ในสั ง คมมลายู เ ปน วั ฒ นธรรมอั น เนื่ อ งด ว ยศาสนาอิส ลาม โดยเฉพาะวัฒนธรรมการแตงกาย ซึ่งสงผลตอการสรางงานใหแกคนในพื้นที่ ดังจะเห็นไดวาปจจุบันมี กลุมตัดเย็บหมวกกปเยาะห เสื้อโตบ เพิ่มขึ้นหลายกลุมจากเดิมซึ่งมีเพียงไมกี่กลุม ปรากฏการณ ดังกลาวนอกจากจะเปนแหลงที่มาของรายไดแลวยังมีสวนชวยอนุรักษ และแพรกระจายวัฒนธรรม อาหรับไปสูวงกวางไดอีกดวย 5.3 ขอเสนอแนะ จากการทําวิจัยเรื่องอิทธิพลของวัฒนธรรมอาหรับตอสังคมมลายูในจังหวัดปตตานี ผูวิจัยเห็นวามีประเด็นบางอยางที่ควรแกการศึกษา และทําการวิจัย ซึ่งจะขอเสนอแนะดังตอไปนี้ 1. การปฏิสัมพันธระหวางชาวอาหรับกับชาวมลายูเ กิดขึ้นมาชานาน ซึ่งนอกจาก ภาษาอาหรับจะมีอิทธิพลตอภาษามลายูแลว ภาษามลายูยังกลายเปนคํายืมในภาษาอาหรับอีกดวย เชน ภาษาอาหรับสําเนียงมักกะฮฺมีการใชคําวา ตูตุ (นั่ง) อุนดุร (ถอยหลัง) และสําเนียงเยเมน เชน คําวา ลาลู (ขอทาง) อีแก (ปลา) จึงเห็นวานาจะทําวิจัยในเรื่องนี้ดวยเชนกัน 2. สังคมมลายูในจังหวัดปตตานีมีการยืมคําจากภาษาเปอรเซีย ดังเชน ชาห บานา ฟรมัน ตะฮ กือฆือตะฮ และอิทธิพลความเชื่อเกี่ยวกับกษัตริยถูกถายทอดจากเปอรเซีย ดังเชน กรณี ของการใชคํานําหนาพระนามของกษัตริยวา สุลตานพรอมกับคําวา ชาห อิทธิพลวัฒนธรรมเปอรเซีย เปนอีกวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลตอสังคมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยเฉพาะตอสังคมมลายู รวมถึง สังคมไทย ซึ่งควรทําการศึกษาวิจัย 3. ควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับพัฒนาการดานเขียนอักษรยาวีในสังคมมลายูปะตานี เพื่อศึกษาความเปนมา และพัฒนาการในสมัยตาง ๆ โดยละเอียด 4. จากการที่ ช าวมลายู ใ นจั ง หวั ด ป ต ตานี มี ก ารแต ง กายแบบอาหรั บ ควรมี ก าร ศึกษาวิจัยเพิ่มเติมเพื่อกําหนดรูปแบบของวัฒนธรรมการแตงกายวาเปนวัฒนธรรมจากอาหรับพื้นที่ ใด รวมถึงการเริ่มตนของการรับวัฒนธรรมอาหรับวาเกิดขึ้นตั้งแตเมื่อใด นอกจากนี้ในวัฒนธรรมการ แตงกายยังปรากฏวัฒนธรรมอินเดีย และปากีสถานผสมอยูดวย ซึ่งควรศึกษาดวยเชนกัน 5. รู ป แบบทางด า นสถาป ต ยกรรมของมั ส ยิ ด ที่ ป รากฏในสั ง คมไทยมี ค วาม หลากหลาย ดวยเหตุนี้ควรทําการศึกษาวิจัยวัฒนธรรมจากตางถิ่นที่มีอิทธิพลตอสถาปตยกรรมที่ใช สรางมัสยิดดวยเชนกัน


ภาคผนวก


‫‪218‬‬ ‫‪ ‬‬ ‫‪ ‬‬ ‫‪ ‬‬ ‫‪ ‬‬ ‫‪ ‬‬ ‫‪ ‬‬ ‫‪ ‬‬ ‫‪ ‬‬ ‫‪ ‬‬ ‫‪ ‬‬ ‫‪ ‬‬ ‫‪ ‬‬ ‫‪ ‬‬

‫‪ภาพที่ 1 สาสนของทานนบีมุฮัมมัด  ถึงกษัตริยมุเกากิส ‬‬ ‫‪ที่มา: หนังสือ Mohammed the Rise of Islam หนา 365 ‬‬ ‫‪ ‬‬ ‫‪ ‬‬ ‫‪คําอาน‬‬

‫ﺑﺴﻢ ﺍﷲ ﺍﻟﺮﲪﻦ ﺍﻟﺮﺣﻴﻢ ﻣﻦ ﳏﻤﺪ ﻋﺒﺪ ﺍﷲ ﻭﺭﺳﻮﻟﻪ ﺇﱃ ﺍﳌﻘﻮﻗﺲ‬ ‫ﻋﻈﻴﻢ ﺍﻟﻘﺒﻂ ‪ .‬ﺳﻼﻡ ﻋﻠﻰ ﻣﻦ ﺍﺗﺒﻊ ﺍﳍﺪﻯ ﺃﻣﺎ ﺑﻌﺪ ‪ ،‬ﻓﺈﱐ ﺃﺩﻋﻮﻙ ﺑﺪﻋﺎﻳﺔ‬ ‫ﺍﻹﺳﻼﻡ‪ ،‬ﻓﺄﺳﻠﻢ ﺗﺴﻠﻢ ﻭﺃﺳﻠﻢ ﻳﺆﺗﻚ ﺍﷲ ﺃﺟﺮﻙ ﻣﺮﺗﲔ ‪‬ﻗﻞ ﻳﺎ ﺃﻫﻞ ﺍﻟﻜﺘﺎﺏ‬ ‫ﺗﻌﺎﻟﻮﺍ ﺇﱃ ﻛﻠﻤﺔ ﺳﻮﺍﺀ ﺑﻴﻨﻨﺎ ﻭﺑﻴﻨﻜﻢ ﺃﻻ ﻧﻌﺒﺪ ﺇﻻ ﺍﷲ ﻭﻻ ﻧﺸﺮﻙ ﺑﻪ ﺷﻴﺌﺎ ﻭﻻ‬ ‫ﻳﺘﺨﺬ ﺑﻌﻀﻨﺎ ﺑﻌﻀﺎ ﺃﺭﺑﺎﺑﺎ ﻣﻦ ﺩﻭﻥ ﺍﷲ ﻓﺈﻥ ﺗﻮﻟﻮﺍ ﻓﻘﻮﻟﻮﺍ ﺍﺷﻬﺪﻭﺍ ﺑﺄﻧﺎ‬ ‫ﻣﺴﻠﻤﻮﻥ‪‬‬ ‫‪ ‬‬


219

ภาพที่ 2 เหรียญที่ใชในราชอาณาจักรปะตานี ที่มา: นิอับดุลรากิบ บินนิฮัสซัน


220

ภาพที่ 3 สัญลักษณประจําเผาเบดูอิน ที่มา: หนังสือ Arabia: The Cradle of Islam หนา 279


221

ภาพที่ 4 ศิลาจารึก ตรังกานู เขียนเมื่อฮิจเราะฮศักราช 702 ตรงกับ คริสตศักราช 1303 ที่มา: หอสมุดแหงชาติมาเลเซีย กัวลาลัมเปอร


222

ภาพที่ 5 หนังสือประวัติศาสตรปาตานี เขียนเมื่อฮิจเราะฮศักราช 1202 ตรงกับ คริสตศักราช 1787 ที่มา: หอสมุดแหงชาติมาเลเซีย กัวลาลัมเปอร


223

ภาพที่ 6 หนังสือรายงานของพระยาสาย เขียนเมื่อฮิจเราะฮศักราช 1309 ที่มา: หอจดหมายเหตุแหงชาติ ทาวาสุกรี กรุงเทพฯ


224

ภาพที่ 7 การแตงกายของอุละมาอปตตานีในอดีต เปนภาพของหะยีสุหลง อับดุลกาเดร ที่มา: หนังสือหะยีสุหลง อับดุลกาเดร กบฏ หรือวีรบุรุษแหงสี่จังหวัดภาคใต หนา 218


ภาพที่ 8 ประชาชนเฝารับเสด็จพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูห ัว ที่มา: หอจดหมายเหตุแหงชาติ ทาวาสุกรี กรุงเทพฯ


ภาพที่ 9 ขบวนแหรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ที่มา: หอจดหมายเหตุแหงชาติ ทาวาสุกรี กรุงเทพฯ


ตารางปริวรรตอักษรอาหรับ-ไทย วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร คําอาน พยัญชนะไทย พยัญชนะอาหรับ อลีฟ อ ‫ﺍ‬ ‫ﺏ‬

บาอ

‫ﺀ‬

ฮัมซะฮฺ

อ (ในกรณีเปนตัวสะกด อ)

‫ﺕ‬

ตาอ

‫ﺙ‬

ษาอ

‫ﺝ‬

ญีม

ญ (จญในกรณีเปนตัวสะกด)

‫ﺡ‬

หาอ

ห (ยกเวน รอฮีม, เตาฮีด, มุฮัมมัด)

‫ﺥ‬

คออ

‫ﺩ‬

ดาล

‫ﺫ‬

ษฺาล

ษฺ

‫ﺭ‬

รออ

‫ﺯ‬

ซาล

‫ﺱ‬

สีน

ส (ยกเวน มูซา, อีซา)

‫ﺵ‬

ชีน

‫ﺹ‬

ศอด

‫ﺽ‬

ฎอด

‫ﻁ‬

ฏออ

‫ﻅ‬

ซฺออ

ซฺ

‫ﻉ‬

อัยนฺ

อฺ

‫ﻍ‬

ฆอยนฺ

‫ﻑ‬

ฟาอ

‫ﻕ‬

กอฟ

กฺ

‫ﻙ‬

กาฟ

‫ﻝ‬

ลาม

(16)


‫ﻡ‬

มีม

‫ﻥ‬

นูน

‫ﻫـ‬

ฮาอ

‫ﻭ‬

วาว

‫ﻱ‬

ยาอ

-(‫)ﺍﻟﻔﺘﺤﺔ‬ ‫ﺍﻟﻜﺴﺮﺓ‬

ั (ในกรณีมีตัวสะกด เชน มัรวาน อาดัมฯ) ะ , เ-าะ (ในกรณีมีตัวสะกด) ละสระใน บางกรณี เชน อลี บนีฯ) ิ

(‫)ﺍﻟﻀﻤﺔ‬ ุ

(‫)ﺍﻟﻔﺘﺤﺔ ﺍﳌﻤﺪﻭﺩﺓ‬

า (อ ในกรณีมีตัวสะกด เชน อัลฟารอบฯ)

(‫)ﺍﻟﻜﺴﺮﺓ ﺍﳌﻤﺪﻭﺩﺓ‬ ี

(‫)ﺍﻟﻀﻤﺔ ﺍﳌﻤﺪﻭﺩﺓ‬ ู

‫ ﺍﻟﺸﻤﺴﻴﺔ‬-‫ﺍﻝ‬

อัล-ตามดวยพยัญชนะตัวแรกของคําตอไป เชน อัดดีน อัฏฏีนฯ อัล ตามดวยคําตอไปโดยไมตองเวนวรรค เชน อัลกุรอาน อัลลอฮฺ อัลอิสลาม ฯ

‫ ﺍﻟﻘﻤﺮﻳﺔ‬-‫ﺍﻝ‬

(17)


ตารางปริวรรตอักษรอาหรับ-อังกฤษ สมาพันธหอสมุดรัฐสภาแหงประเทศสหรัฐอเมริกา พยัญชนะอาหรับ คําอาน พยัญชนะอังกฤษ a อลีฟ ‫ﺍ‬ ‫ﺀ‬

ฮัมซะฮฺ

’a, ’i, ’u

‫ﺏ‬

บาอ

b

‫ﺕ‬

ตาอ

t

‫ﺙ‬

ษาอ

th

‫ﺝ‬

ญีม

j

‫ﺡ‬

หาอ

h

‫ﺥ‬

คออ

kh

‫ﺩ‬

ดาล

d

‫ﺫ‬

ษฺาล

dh

‫ﺭ‬

รออ

r

‫ﺯ‬

ซาล

z

‫ﺱ‬

สีน

s

‫ﺵ‬

ชีน

sh

‫ﺹ‬

ศอด

s

‫ﺽ‬

ฎอด

d

‫ﻁ‬

ฏออ

t

‫ﻅ‬

ซฺออ

z

‫ﻉ‬

อัยนฺ

‘a, ‘i, ‘u

‫ﻍ‬

ฆอยนฺ

gh

‫ﻑ‬

ฟาอ

f

‫ﻕ‬

กอฟ

q

‫ﻙ‬

กาฟ

k

‫ﻝ‬

ลาม

l

(18)


‫ﻡ‬

มีม

m

‫ﻥ‬

นูน

n

‫ ﺓ‬، ‫ﻫـ‬

ฮาอ

h

‫ﻭ‬

วาว

w

‫ﻱ‬

ยาอ

y

เสียงสระ -َ

a

-ُ ุ

u

-ِ ิ

i

‫َﺍ‬-

-า

ā

‫َﻯ‬-

-า

á

‫ﻭ‬ -ُ ู

ū

‫ﻱ‬  -ِ ี

ī

‫ﻭ‬ -َ

เ-า

aw

‫ﻱ‬  -َ

ัย

ay

(19)


205

บรรณานุกรม หนังสือ เขต รัตนจรณะ และคณะ. 2537. เรือนไทยมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต. กรุงเทพฯ : อมรินทร พริน้ ติ้ง แอนด พับลิชชิ่ง. คณะกรรมการจัดงานเมาลิดกลาง. 2545. หนังสืออนุสรณงานเมาลิดกลางแหงประเทศไทย ฮ.ศ.1423. กรุงเทพฯ : ออฟเซ็ท เพรส. ครองชัย หัตถา. 2548. ประวัติศาสตรปตตานีสมัยอาณาจักรโบราณถึงการปกครอง 7 หัวเมือง. ปตตานี : ฝายเทคโนโลยีทางการศึกษา สํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. ___________. บรรณาธิการ. 2543. วัฒนธรรม พัฒนาการทางวัฒนธรรม เอกลักษณ และภูมิปญญาจังหวัดปตตานี. กรุงเทพฯ : ครุสภา. คณาจารยภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา. 2547. สังคมและวัฒนธรรม. พิมพครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. งามพิศ สัตยสงวน. 2543. หลักมานุษยวิทยาวัฒนธรรม. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : รามา การพิมพ. จรัญ มะลูลีม. 2541. เอเชียตะวันตกศึกษา: ภาพรวมทางสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร. กรุงเทพฯ : กูดวิล เพลส. จุรีรัตน บัวแกว และคณะ. 2549. การจัดทําฐานขอมูลและขอเสนอยุทธศาสตรเบื้องตน ในการพัฒนากลุมผลิตผาคลุมผมสตรีและกลุมกปเยาะห ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต. ปตตานี : หนวยประสานงานวิจัยเพือ่ ทองถิ่นภาคใตตอนลาง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี. จุมพล หนิมพานิช. 2526. วัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. เฉลิมเกียรติ ขุนทองเพชร. 2547. หะยีสุหลงอับดุลกาเดร กบฏ หรือวีรบุรุษแหงสี่จังหวัดภาคใต. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มติชน.


206

ชุดา จิตพิทักษ. 2528. สังคมวิทยาและวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ : สารมวลชน. ณรงค เส็งประชา. 2524. สังคมวิทยา. กรุงเทพฯ : กรุงสยามการพิมพ. ดนัย ไชยโยธา และคณะ. 2548. ภูมิศาสตรทวีปเอเชีย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร. ดลมนรรจ บากา และคณะ. 2529. การสํารวจจิตรกรรมไทยมุสลิมในจังหวัดปตตานี ยะลา และนราธิวาส. ปตตานี : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. ดิเรก กุลสิริสวัสดิ์. 2521. สีเราะตุน นบี. กรุงเทพฯ : อักษรสมัย. . 2545. ความสัมพันธของมุสลิมทางประวัติศาสตรและวรรณคดีไทย. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : มติชน. ดํารงค ฐานดี. 2520. มานุษยวิทยาและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : ม.ป.พ. บรรจง บินกาซัน. 2522. อิหรานจากบัลลังกกษัตริยสูรัฐอิสลาม. กรุงเทพฯ : วุฒิชัยการพิมพ. ประจักษ ชวยไล. 2521. โลกอิสลาม. กรุงเทพฯ : เซาทพับลิเคชัน่ . ประดิษฐ มัชฌิมา. 2522. สังคมวิทยาชนบท. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ประสาร สมพงษ. 2544. ศาสนาเปรียบเทียบ : พุทธ-ฮินดู. นครราชสีมา : สถาบันเทคโนโลยี ราชมงคล วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นครราชสีมา. ผองพันธุ มณีรัตน. 2521. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. รัตติยา สาและ. 2544. การปฏิสัมพันธระหวางศาสนิกที่ปรากฏในจังหวัดปตตานี ยะลา และนราธิวาส. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย. ระวีวรรณ ชอุมพฤกษ. 2528. มานุษยวิทยาวัฒนธรรม. ปตตานี : โครงการจัดตั้งสํานักเทคโนโลยี การศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. ราชบัณฑิตยสถาน. 2546. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : นานมีบุคส พับลิเคชั่นส.


207

วราคม ทีสุกะ. 2524. มนุษยกับสังคม. กรุงเทพฯ : อักษรบัณฑิต. สมทรง บุรุษพัฒน. 2543. ภูมิศาสตรภาษาถิ่น. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อ พัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล. สุจิตต วงษเทศ, บรรณาธิการ. 2547. รัฐปตตานีในศรีวิชัย. กรุงเทพฯ : มติชน. สุเทพ สุนทรเภสัช. 2548. ชาติพันธุสัมพันธ : แนวคิดพื้นฐานทางมานุษยวิทยาในการศึกษา อัตลักษณกลุมชาติพันธุ ประชาชาติ และการจัดองคกรความสัมพันธทางชาติพันธุ. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ. สุธิวงศ พงศไพบูลย. 2547. ทางสายวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ. สุธิวงศ พงศไพบูลย และคณะ. 2543. กะเทาะสนิมกริช : แลวิถีชีวติ ชาวใตตอนลาง. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. ส. พลายนอย. 2534. เกร็ดโบราณคดีประวัติศาสตรไทย. กรุงเทพฯ : อักษรพิทยา. สุรินทร พิศสุวรรณ และ ชัยวัฒน สถาอานันท. ม.ป.ป. สี่จังหวัดภาคใตกับปญหาสิทธิมนุษยชน. กรุงเทพฯ : สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. สุรินทร หิรัญบูรณะ. 2550. สมรภูมิศรัทธา. กรุงเทพฯ : มติชน. สวาท เสนาณรงค. ม.ม.ป. ภูมิศาสตรวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน. สํานักพิมพมติชน. 2547. พจนานุกรมฉบับมติชน. กรุงเทพฯ : มติชน. อ. ลออแมน. 2541. ลังกาสุกะ ปาตานีดารุสสลาม. ยะลา : เจริญผล. อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ. 2532. คําจํากัดความศัพทในภาษาศาสตรสังคม. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. อนุมานราชธน, พระยา. 2515. วัฒนธรรมเบื้องตน. พิมพครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : การศาสนา.


208

อนันต วัฒนานิกร. 2528. แลหลังเมืองปตตานี. ปตตานี : ศูนยศึกษาเกี่ยวกับภาคใต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. อรุณ วิทยานนท. 2536. หนังสืออนุสรณเมาลิดกลางแหงประเทศไทย ฮิจเราะฮฺศักราช 1414. กรุงเทพฯ : ม.ป.พ. อานนท อาภาภิรม. 2516. สังคมวิทยา. กรุงเทพฯ : แพรวิทยาอินเตอรแนชั่นแนล. อารง สุทธาศาสน. 2519. ปญหาความขัดแยงในสี่จังหวัดภาคใต. กรุงเทพฯ : ประชาพิทักษ. อารีฟน บินจิ และคณะ. 2543. ปาตานี ดารุสสลาม. ยะลา : มุสลิมนิวส. al-Attas, S.M. Naquib. 1969. Preliminary Statemant On A General Theory of The Islamization of the Malay-Indonesian Archipelago, Kuala Lumpur : Dewan Bahasa. Brown, C.C. 1983. Sejarah Melayu : Malay Annals. Kuala Lumpur : O.U.P. Carmel Heah Lee Hsia. 1989. The Influence of English on The Lexical Expansion of Bahasa Malaysia. Kuala Lumpur: Dewan Bahasa dan Pustaka. Hartman, P.R.K. & Stork, F.C. 1972. Dictionary of Language and Linguistics. London : Applied Science Publishers. Hasan Madmarn. 2002. The Pondok and Madrasah in Patani. Kuala Lumpur : Bangi. Lindsey, Gene. 1992. Saudi Arabia. New York : Hippocrene Book Inc. Margoliouth, D.S. 1905. Mohammed and the Rise of Islam. New York: The Knickerbocker Press. Muir, William Temple. 1924. The Caliphate: Its Rise, Decline and Fall. London: Nik Mohamed Bin Nik Mohd. Salleh. 1974. “Kelantan in Tradition : 1891-1910”, Kelantan Relegion, Society and Politics in a Malay State. Kuala Lumpur : Oxford University Press.


209

Phillip K. Hitti. 1970. History of the Arabs. London: Macmillan. Sheppard, M. C. 1972. Taman Indera : Malay Decorative Arts and Passtimes. Kuala Lumpur : Oxford University Press. Teeuw, A. and Wyaat D.K.1970. Hikayat Patani: the Story of Pattani. Vol. I. The Hague: Martinus Nijhoff. Weinreich, U. 1953. Languages in Contact. New York : Linguistics Circle of New York. Wheatley, P. 1961. The Golden Khersonese : Studies in the Historical Geography of the Malay Peninsula before A.D. 1500. Kuala Lumpur : The University of Malaya Press. Winstedt, R.O. 1961. The Malay : A Cultural History. London : Routledge & Kegan. Zwermer, S.M. 1900. Arabia: The Cradle of Islam. New York: Evangelical Literature. Abdul Hamid Mahmood. 1994. Sintaksis Dialek Kelantan. Kuala Lumpur : Dewan Bahasa dan Pustaka. Abdullah Hassan. 1980. Linguistik Am Untuk Guru Bahasa Malaysia. Kuala Lumpur : Fajar Bakti. Darus Ahmad. 1967. Pancharan Melayu. Penang : Sinaran Bras. Dewan Bahasa dan Pustaka. 1999. Ensiklopedia Sejarah dan Kebudayaan Melayu. Kuala Lumpur : Dewan Bahasa dan Pustaka. Hall, D.G.E. 1987. Sejarah Asia Tenggara. Kuala Lumpur : Dewan Bahasa dan Pustaka. Hamdan Abdul Rahman. 1999. Panduan Menulis dan Mengeja Jawi. Kuala Lumpur : Dewan Bahasa dan Pustaka.


210

Harun Aminurrashid. 1966. Kajian Sejarah Perkembangan Bahasa Melayu. Singapura : Pustaka Melayu. Hashim Musa. 1999. Sejarah Perkembangan Tulisan Jawi. Kuala Lumpur : Dewan Bahasa dan Pustaka. Institut Tadbiran Awam Negara. 1991. Malaysia Kita. Kuala Lumpur : INTAN. Ismail Hamid. 1991. Masyarakat dan Budaya Melayu. Kuala Lumpur : Dewan Bahasa dan Pustaka. Mohd. Taib Osman. 1967. Indigenious Hindu and Islamic Elements in Malay Folk Belief, Ann anbor : Univ. Microfilm, Inc. Mohd. Yusof Hasan. 1991. Dunia Melayu. Kuala Lumpur : Dewan Bahasa dan Pustaka. Mohd. Zamberi A. Malek. 1994. Patani Dalam Tamadun Melayu. Kuala Lumpur : Dewan Bahasa dan Pustaka. Nik Mohamed bin Mohd. Salleh. 1974. Kelantan Religion Society and Polities in a Malay State. Kuala Lumpur : Dewan Bahasa dan Pustaka. Omar Amin Husin. 1962. Seajarah Bangsa dan Bahasa Melayu. Kuala Lumpur : Pustaka Antara. Omar Awang. 1978. “Kesan Pengaruh Agama Islam dan Bahasa Arab Dalam Bahasa Melayu”, Kertas Kerja Seminar Pengajian Melayu 25 Tahun, Universiti Malaya. Sheppard, M. C. 1973. “Seni bina Asli yang Terdapat di Tanah Semenanjung”. Asas Kebudayaan Kebangsaan. Kuala Lumpur : Kementerian Kebudayaan dan Sukan. Siti Hawa Haji Salleh. 1992. Hikayat Patani. Kuala Lumpur : Dewan Bahasa dan Pustaka.


211

Slamet Muljana. 2006. Runtuhnya Kerajaan Hindu-Jawa dan Timbulnya Negara- negara Islam di Nusantara. Cetakan III . Jakarta: LKiS Tom Harrissan. 1972. “Zaman Batu di Malaysia”. Sejarah Malaysia Sepintas Lalu. Kuala Lumpur : Dewan Bahasa dan Pustaka. ‘Abd al-Hamīd Muhammad ‘abū Sikkīn. 1982. Fiqh al-Lughah(‫)ﻓﻘﻪ اﻟﻠﻐﺔ‬. al- Madīnah al-Munawwarah : al-Jāmi‘ah al-Islāmīyah bi al- Madīnah al-Munawwarah. ‘Abdullah Kārīnā al-Bandarīy. n.d. Madhkal al-Hadīth al-Nabawīy (‫)ﻣﺪﺧﻞ اﻟﺤﺪﻳﺚ اﻟﻨﺒﻮي‬. Fatānīy : Kulliyat al-Dirāsāt al-’Islāmīyah Jāmi‘at al-’Amīr Sunklā Far‘u Fatānīy. ‘Alīy ‘Abd al-Wāhid Wāfīy. n.d. Fiqh al-Lughah (‫)ﻓﻘﻪ اﻟﻠﻐﺔ‬. al-Qāhirah : Dār Nahdah Misr. al-Hāfidh ’abīy Abdullāh Muhammad bin Yazīd al-Qazwaynīy. 1987. Sunan ibn Mājah (‫ )ﺳﻨﻦ اﺑﻦ ﻣﺎﺟﻪ‬. Bayrūt : Dār ’Ihyā’ al-Kutub al-‘Arabīyah. al-Hamadānīy. 1953. Sifat Jazīrat al-‘Arab (‫)ﺻﻔﺔ ﺟﺰﻳﺮة اﻟﻌﺮب‬. al-Qāhirah : s.n. Hasan ’Ibrāhīm Hasan. 1964. Tārīkh al-’Islām al-Siyāsīy wa al-Dīnīy wa al-Thaqāfīy wa al-’Ijtimā‘īy (‫)ﺗﺎرﻳﺦ اﻹﺳﻼم اﻟﺴﻴﺎﺳﻲ واﻟﺪﻳﻨﻲ واﻟﺜﻘﺎﻓﻲ‬. 1 ed. al-Qāhirah : Maktabat al-Nahdah al-Misrīyah. Hasan ’Ibrāhīm Hasan. 1965. Tārīkh al-’Islām al-Siyāsīy wa al-Dīnīy wa al-Thaqāfīy wa al-’Ijtimā‘īy (‫)ﺗﺎرﻳﺦ اﻹﺳﻼم اﻟﺴﻴﺎﺳﻲ واﻟﺪﻳﻨﻲ واﻟﺜﻘﺎﻓﻲ‬. 3 ed. al-Qāhirah : Maktabat al-Nahdah al-Misrīyah. al-’Imām ’Ahmad bin Hanbal. 1991. al-Musnad (‫)اﻟﻤﺴﻨﺪ‬. Bayrūt : Dār al-Fikr. ’abū ‘Īsā Muhammad bin ‘Īsā bin Sūrah al-Tirmīdhīy. 1983. Sunan al-Tirmīdhīy (‫)ﺳﻨﻦ اﻟﺘﺮﻣﺬي‬. Bayrūt : al-Maktabah al-’Islāmīyah. Mahmūd Shākir. 1991. al-Tārīkh al-’Islamīy (‫)اﻟﺘﺎرﻳﺦ اﻹﺳﻼﻣﻲ‬. Bayrūt : al-Maktabah al-’Islāmīyah.


212

al-Mas‘ūdīy. 1346. Murūj al-Dhahab wa Ma‘ādin al-Jawhar (‫)ﻣﺮوج اﻟﺬهﺐ وﻣﻌﺎدن اﻟﺠﻮهﺮ‬. al-Qāhirah : s.n. Muhammad Nāsīr al-Dīn al-’Albānīy. 1988. Sahīh Sunan abī Dāwūd (‫)ﺻﺤﻴﺢ ﺳﻨﻦ أﺑﻲ داوود‬. al-Riyād : Maktabat al-Tarbīyah al-‘Arabīyah li Duwal al-Khalīj. al-Nasā’īy. 1986. Sunan al-Nasā’īy (‫)ﺳﻨﻦ اﻟﻨﺴﺎﺋﻲ‬. Bayrūt : Dār al-Bashā’ir al-’Islāmīyah. Raaūf Shalabī. 1982. Tasauwurāt fī al-Da‘wah wa al-Thaqāfah al-Islāmīyah. al-Kuwait : Dār al-Qalam. Safīy al-Rahmān al-Mabār Kafūrīy. 1988. al-Rahīq al-Makhtūm (‫)اﻟﺮﺣﻴﻖ اﻟﻤﺨﺘﻮم‬. Bayrūt : Dār al-Kutub al-’Ilmīyah. Shawqīy ’Abu Khalīl. 2003. ’Atlas al-Qur’ān (‫)أﻃﻠﺲ اﻟﻘﺮﺁن‬. Dimshiq : Dār al-Fikr. Shawqīy Dayf. n.d. Tārīkh al-Adab al-‘Arabīy (‫)ﺗﺎرﻳﺦ اﻷدب اﻟﻌﺮﺑﻲ‬. al-Qāhirah : Dār al-Ma‘ārif. al- Sayyid ‘Abd al-‘Azīz Sālim. n.d. Dirāsāh fī Tārīkh al-‘Arab : Tārīkh al-‘Arab Qabla al-’Islām (‫)دراﺳﺔ ﻓﻲ ﺗﺎرﻳﺦ اﻟﻌﺮب ؛ ﺗﺎرﻳﺦ اﻟﻌﺮب ﻗﺒﻞ اﻹﺳﻼم‬. al-’Iskandarīyah : Mu’assasat Shabāb al-Jāmi‘ah. Wizārat al-’I‘lām Sultanat ‘Umān. 2001. Masīrat al-Khayr (‫)ﻣﺴﻴﺮة اﻟﺨﻴﺮ‬. Sultanat ‘Uman : Mu’assasat ‘Umān li Assahāfah wa al-’Ambā’ wa al-Nashr wa al-’I‘lām. Yahyā Sālim Sālih. 1992. Hadir al-‘Ālam al-Islāmīy (‫)ﺣﺎﺿﺮ اﻟﻌﺎﻟﻢ اﻹﺳﻼﻣﻲ‬. s.l. : Matba‘at Kamāl al-Suwīsīy. Yāqūt al-Hamawīy. 1955. Mu‘jam al-Buldān (‫)ﻣﻌﺠﻢ اﻟﺒﻠﺪان‬. Bayrūt : Dār al-Kutub.


213

หนังสือแปล มุหัมมัด มันซูร นุอมานีย. 2531. การปฏิวัติของอีหราน ทานอิมามโคมัยนีย และนิกายชีอะฮ. แปลจาก The Iranian Revolution Imam Khomaini and Shi‘ism โดย ดิเรก กุลสิริสวัสดิ์. กรุงเทพฯ : ฟนนี่พบั บลิชชิ่ง. มูฮัมหมัดซัมบรี อับดุลมาลิก. 2543. ปตตานีในอารยธรรมมลายู. แปลจาก Patani Dalam Tamadun Melayu. โดย มาหะมะซากี เจะหะ. ปตตานี : โครงการจัดตั้งสถาบันสมุทรรัฐเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. ยวาหระลาล เนหรู. 2537. พบถิ่นอินเดีย. แปลจาก The Discovery of India โดย กรุณา กุศลาสัย. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : ศยาม. สมาคมนักเรียนเกาอาหรับไทย, ผูแ ปล. 1998. พระคัมภีรอัลกุรอานพรอมความหมายภาษาไทย. อัลมาดีนะห อัลมูเนาวาเราะห : ศูนยกษัตริยฟาฮัด เพื่อการพิมพอัลกุรอาน. อัลเบิรต ฮูรานี. 2550. ประวัติศาสตรของชนชาติอาหรับ. แปลจาก A History of the Arab Peoples โดย จรัญ มะลูลีม. กรุงเทพฯ : โครงการตําราและสิ่งพิมพ คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. อิสมาอีล ฮามิด. 2545. การเผยแผอิสลามในเอเชียและโลกมลายู. แปลจาก Perkembangan Islam di Asia dan Alam Melayu โดย อับดุลเลาะ อับรู. ปตตานี : โครงการจัดตั้งสถาบัน สมุทรรัฐเอเชียตะวันออกเฉียงใตศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. ฮารูน ยะหฺยา. 2548. ประชาชาติที่ถูกทําลาย. แปลจาก Perished Nations โดย ซากี เริงสมุทร และกอมารียะฮ อิสมาแอล. กรุงเทพฯ : ศูนยหนังสืออิสลาม. Gustave Lebon. (translated by ‘Ādil Zu‘aytar). n.d. Ḥaḍārat al-‘Arab (‫)ﺣﻀﺎرة اﻟﻌﺮب‬. s.l. : ‘Īsā al-Bābīy al-Halabī wa Sharikah.

หนังสือรวมเรือ่ ง รัตติยา สาและ. 2547. “ปตานี ดารุสสะลาม (มลายู-อิสลาม ปตานี) สูความเปนจังหวัดปตตานี ยะลา และนราธิวาส”, ใน รัฐปตตานีในศรีวิชัยเกาแกกวารัฐสุโขทัยในประวัติศาสตร, 259. สุจิตต วงษเทศ. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : มติชน.


214

บทความจากวารสาร จิตติมา ระเดนอาหมัด. 2529. “การแตงกายของชาวมลายู”, วารสารรูสะมิแล. 3 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2529), 39. สุรพล ทรงวีระ. 2519. “วัฒนธรรมอิสลามคืออะไร”, อัล-ญิฮาด. 85 (พฤษภาคม 2519), 9-13. เออรลา สวิงเกิล. 2547. “สูวัฒนธรรมสากล”, 110-127.

National Geographic.

34 (พฤษภาคม 2547),

Omar Farouk Bajunid. 1996. “The Arabs in Southeast Asia: A Prelimitary Overview”, Hiroshima Journal of International Studies. 2 (March 1996), 21-36.

บทความจากสารานุกรม อนันต วัฒนานิกร. 2529. “เมืองปตตานี”, สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต. เลมที่ 7, 2820. เอกสารของทางราชการ “ประกาศจัดตั้งอําเภอสะเดาและอําเภอตากใบ.” ราชกิจจานุเบกษา, เลมที่ 26, ลงวันที่ 22 สิงหาคม ร.ศ. 128. เอกสารที่ไมไดพิมพเผยแพร พีรยศ ราฮิมมูลา. 2543. พัฒนาการประวัติศาสตรราชอาณาจักรมลายูปตตานีตั้งแต ค.ศ. 1350-1909 และการเขามาของศาสนาอิสลามในภูมิภาคปตตานี. ปตตานี : แผนกวิชา รัฐศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี. (สําเนา) วิทยานิพนธ ปราณี กายอรุณสุทธิ์. 2526. “คํายืมภาษาจีนในภาษาไทยปจจุบัน”, วิทยานิพนธปริญญา มหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. (สําเนา) อัสสมิง กาเซ็ง. 2544. “คํายืมภาษาอาหรับในภาษามลายูถิ่นปตตานี”, วิทยานิพนธปริญญา อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. (สําเนา)


215

อุษา จารุภา. 2541. “อิทธิพลของวัฒนธรรมอิสลามตอการสื่อสารในประเทศซาอุดิอาระเบีย”, วิทยานิพนธปริญญาวารสารศาสตรมหาบัณฑิต คณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. (สําเนา) Weamaji Paramal. 1991. “Long Consonants in Pattani Malay the Result of Word and Phrase Shortening”, A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of The Requirements for The Degree of Master of Arts (Linguistics) Faculty of Graduate Studies Mahidol University. (Unpublished)

โสตทัศนวัสดุ Britannica Inc. 2002. Encyclopaedia Britannica 2003 : Ultimate Reference Suit. (CD-ROM) s.l. : Britannica Inc.

การสัมภาษณ นิอับดุลรากิบ บินนิฮัสซัน. 2548. อาจารยแผนกวิชามลายูศึกษา. 20 มิถุนายน 2548. ______________________ 2549. อาจารยแผนกวิชามลายูศึกษา. 15 มิถุนายน 2549. บะชีร มะฮดี อลี. 2550. อาจารยชาวตางประเทศ ภาควิชาอิสลามศึกษา. 20 พฤษภาคม 2550. ประเสริฐ บินรัตแกว. 2550. ประธานกลุมเย็บหมวกกปเยาะหมาู. 20 มิถุนายน 2550. มุฮําหมัด เจะหะ. 2549. ชาวบาน ต.ปตุมุดี อ.ยะรัง จ. ปตตานี. 24 มีนาคม 2549. รอมละห อาแว. 2549. หมอพื้นบาน. 15 ตุลาคม 2549. ริดวาน มะแซ. 2550. ครูใหญโรงเรียนอิตซิ อม. 19 เมษายน 2550. สาหัด เวาะหลี. 2549. หมอพื้นบาน. 23 สิงหาคม 2549. สาเหะอับดุลเลาะห อัลยุฟรี. 2550. ขาราชการบํานาญ. 19 กุมภาพันธ 2550. อับดุลขาหรีม หมัดสู. 2550. แพทยแผนไทย. 2 เมษายน 2550. อับดุลเราะมัน เจะอารง. 2549 อาจารยแผนกวิชาอิสลามศึกษา. 25 กุมภาพันธ 2549.


216

รายการทางโทรทัศน ‘Alīy al-Sharīf. 2007. Nawāfidh. Sharjah TV UAE, 2 February 2007. Ariana Herawaty. 2007. Mata Rantai. antv Indonesia, 15 May 2007.


227

ประวัติผูเขียน ชื่อ สกุล รหัสประจําตัวนักศึกษา วุฒิการศึกษา วุฒิ ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาอาหรับ)

นายมูหัมมัดมันซูร หมัดเราะ 4767008 ชื่อสถาบัน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

ปที่สําเร็จการศึกษา 2543

ทุนการศึกษา (ที่ไดรับในระหวางการศึกษา) ทุนอุดหนุนการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ตําแหนงและสถานที่ทํางาน อาจารย ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี การตีพิมพเผยแพรผลงาน มูหัมมัดมันซูร หมัดเราะ, ดลมนรรจน บากา. 2551. “อิทธิพลของวัฒนธรรมอาหรับตอสังคม มลายูในจังหวัดปตตานี” การสัมมนาเสนอผลงานทางวิชาการ ระดับบัณฑิตศึกษา ในงาน มอ.วิชาการ ประจําป 2551 20 สิงหาคม 2551 ณ วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.