คู่มือเรียนอัซปต์ฮัร อียิปต์

Page 1

คูมือการสมัครเรียน มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต

สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงไคโร ธันวาคม 2551


2

รายละเอียด 1. ประวัติโดยสังเขปของมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร 2.ขอมูลทั่วไปของมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร 3.รายละเอียดคณะและหลักสูตร (ระดับปริญญาตรี) - สําหรับนักศึกษาชาย - สําหรับนักศึกษาหญิง 4. หลักเกณฑการรับสมัครนักศึกษาตางชาติและเงื่อนไขอื่นๆ 5. การสมัครเรียน 6. เอกสารประกอบการสมัคร 7. คําแนะนํา


3

ประวัติโดยสังเขปของมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร (Al-Azhar) เปนมหาวิทยาลัยที่กอตั้งมานานกวาหนึ่งพันป เกาแกเปนอันดับ สามของโลก รองจากมหาวิทยาลัยซัยตูน (Zaitun) ของตูนีเซีย และมหาวิทยาลัยอัลกอรอวียีน (AlQarqiyeen) ของโมร็อคโค ตลอดระยะเวลาที่ผานมา มหาวิทยาลัยแหงนี้ไดมีสวนรวมในการสรางสรรค อารยธรรมมนุษยในทุกสาขาวิชา ทั้งศาสนา ปรัชญา วิทยาศาสตร ดาราศาสตร การแพทย วิศวกรรม เภสัชศาสตร เกษตรศาสตร และสังคมศาสตร ปจจุบันมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัรยังคงเปนศูนยรวมทางดานวิชาการ มีนักศึกษาจากทุกมุมโลก นับแสนคนเดินทางมาศึกษาในสถาบันแหงนี้ เปนประภาคารทางดานปญญาของมนุษยที่ตั้งอยูริมฝงแมน้ํา ไนลอันอุดมสมบูรณ สถาบันการศึกษาแหงนี้มีอิทธิพลและบทบาทอยางมากตอชีวิตความเปนอยูของ ประชาชนในประเทศอียิปต เนื่องจากเปนสถาบันที่สอนเกี่ยวกับศาสนาเปนหลักจนกระทั่งประชาชนให ความเชื่อถือและยึดเปนฐานการดําเนินชีวิต เดิมอัลอัซฮัรเปนมัสยิด (มีชื่อเดิมวามัสยิดอัลกอฮิเราะห) สรางขึ้นในป ฮ.ศ. 359 (ค.ศ. 970) สมัย ราชวงคฟาตีมีย เพื่อใหเปนมัสยิดของทางราชการ เปนศูนยกลางการประชุม การพบปะระหวางผูปกครอง กับประชาชน รวมทั้งการเผยแพรบทบาทและกิจกรรมตางๆ ของราชวงศฟาตีมีย ตั้งแตนั้นมา อัลอัซฮัรมีบท บาทในดานวิชาการเปนอยางมาก เปนสถานที่ประกอบอิบาดะห (การประกอบศาสนกิจ) เปนสถานบันการ ศึกษาชั้นสูงดานศาสนาอิสลามและภาษาอาหรับ รวมทั้งสาขาวิชาอื่นๆ และคอยๆ พัฒนามาเปนระบบการ ศึกษาแบบมหาวิทยาลัย โดยในชวงแรกๆ เปนไปในแนวทางของชีอะห และมาเริ่มเนนแนวทางแบบซุหนี่ใน สมัยของซอลาฮุดดีน บทบาทดานวิชาการของอัลอัซฮัรดําเนินไปอยางตอเนื่องและเพิ่มความสําคัญขึ้นอีก ในสมัยของมูฮัมหมัด อาลี ที่ไดสงนักศึกษา และนักวิชาการจากอัลอัซฮัรไปศึกษาในยุโรป เพื่อจะไดกลับมา ชวยพัฒนาอียิปตใหเปนรัฐสมัยใหม อัลอัซฮัรไดเปนองคกรทางสังคมที่ชวยพัฒนาประชาชนใหมีประสิทธิ ภาพ เปนสถาบันการศึกษาที่ประสาทวิชาความรูแกเยาวชนมุสลิมจากทุกมุมโลก และจนถึงปจจุบันนี้ มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัรไดผลิตนักวิชาการและนักเผยแพรศาสนาอิสลามจํานวนมากมายที่เปนที่รูจักและยอม รับของประชาคมโลก


4

ขอมูลทั่วไปของมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัรเปดรับนักศึกษาทั้งชายและหญิง แตจะไมมีการเรียนการสอนปะปนกัน มี วิทยาเขตทั้งในกรุงไคโรและตางจังหวัดอีก 11 แหง ซึ่งเปดสอนวิชาสาขาตางๆ ดังนี้ วิทยาเขตกรุงไคโร สายศิลปสําหรับนักศึกษาชาย 1. คณะศาสนศาสตร (กุลลียะฮอุซูลุดดีน) 2. คณะนิติศาสตร (อิสลาม) และกฎหมายสากล (กุลลียะฮชารีอัตวัลกอนูน) 3. คณะอักษรศาสตร เอกภาษาอาหรับ (กุลลียะฮลูเฆาะฮอัลอารอบียะฮ) 4. คณะอิสลามศึกษาและภาษาอาหรับ (กุลลียะฮดีรอซาตอิสลามียะฮ) 5. คณะเผยแพรอิสลาม/นิเทศศาสตร (กุลลียะฮดะอวะฮอิสลามียะฮ) 6. คณะคุรุศาสตร (กุลลียะฮอัตตัรบียะฮ) 7. คณะอักษรศาสตรและการแปล (กุลลียะฮลุเฆาะฮวัตตัรุเมาะฮ) สายวิทยาศาสตรสําหรับนักศึกษาชาย 1. คณะศาสนศาสตร (กุลลียะฮอุซูลุดดีน) 2. คณะนิติศาสตรอิสลามและกฎหมายสากล (กุลลียะฮชารีอัตวัลกอนูน) 3. คณะอักษรศาสตร เอกภาษาอาหรับ (กุลลียะฮลูเฆาะฮอัลอารอบียะฮ) 4. คณะอิสลามศึกษาและภาษาอาหรับ (กุลลียะฮดีรอซาตอิสลามียะฮ) 5. คณะเผยแพรอิสลาม/นิเทศศาตร (กุลลียะฮดะอวะฮอิสลามียะฮ) 6. คณะเศรษฐศาสตร (กุลลียะฮติญาเราะฮ) 7. คณะคุรุศาสตร (กุลลียะฮอัตตัรบียะฮ) 8. คณะอักษรศาสตรและการแปล (กุลลียะฮลุเฆาะฮวัตตัรุเมาะฮ) 9. คณะแพทยศาสตร (กุลลียะฮฏิบ) 10. คณะเภสัชศาสตร (กุลลียะฮซอยดาลียะฮ) 11. คณะแพทยศาสตรแผนกทันตกรรม (กุลลียะฮฏิบบิลอัซนาน) 12. คณะวิศวกรรมศาสตร (กุลลียะฮฮันดาซะฮ) 13. คณะวิทยาศาสตร (กุลลียะฮอูลูม) 14. คณะเกษตรศาสตร (กุลลียะฮซิรออะฮ) สายศิลปสําหรับนักศึกษาหญิง 1. คณะอิสลามศึกษาและภาษาอาหรับ (กุลลียะฮดีรอซาตอิสลามียะฮ) 2. คณะมนุษยศาสตร (กุลลียะฮดีรอซาตอัล-อินซานียะฮ)


5

สายวิทยาศาสตรสําหรับนักศึกษาหญิง 1. คณะอิสลามศึกษาและภาษาอาหรับ (กุลลียะฮดีรอซาตอิสลามียะฮ) 2. คณะมนุษยศาสตร (กุลลียะฮดีรอซาตอัล-อินซานียะฮ) 3. คณะเศรษฐศาสตร (กุลลียะฮติญาเราะฮ) 4. คณะแพทยศาสตร (กุลลียะฮฏิบ) 5. คณะเภสัชศาสตร (กุลลียะฮซอยดาลียะฮ) 6. คณะวิทยาศาสตร (กุลลียะฮอูลูม) 7. แผนกทันตกรรม คณะแพทยศาสตร (ชุอบะฮฏิบบิลอัซนานบิกุลลียะฮฏิบ) วิทยาเขตตางจังหวัด 1. วิทยาเขตซากอซีก มี 4 คณะ - คณะศาสนศาสตรและการเผยแพร - คณะอักษรศาสตร - แผนกคัมภีรอัล-กุรอานและความรูเกี่ยวกับอัล-กุรอาน - คณะอิสลามศึกษาและภาษาอาหรับ (สําหรับผูหญิง) 2. วิทยาเขตตอนตอ มี 3 คณะ - คณะศาสนศาสตรและการเผยแพร - คณะนิติศาสตรอิสลามและกฎหมายสากล - คณะศาสนศาสตรและการเผยแพรกฎหมายสากล 3. วิทยาเขตมันซูเราะห มี 4 คณะ - คณะศาสนศาสตรและการเผยแพร - คณะอักษรศาสตร - คณะนิติศาสตรอิสลามและกฎหมายสากล - คณะอิสลามศึกษาและภาษาอาหรับ (สําหรับผูหญิง) 4. วิทยาเขตซิบิลกุม มี 2 คณะ - คณะศาสนศาสตรและการเผยแพร - คณะอักษรศาสตร 5. วิทยาเขตดามันฮูร มี 2 คณะ - คณะนิติศาสตรอิสลามและกฎหมายสากล - คณะอักษรศาสตร 6. วิทยาเขตดุมยาท มี 1 คณะ คือ คณะอิสลามศึกษาและภาษาอาหรับ


6

7. วิทยาเขตดากอลียะห มี 2 คณะ - คณะคุรุศาสตร - คณะอิสลามศึกษาและภาษาอาหรับ 8. วิทยาเขตกุฟรอชัยค มี 1 คณะ คือ คณะอิสลามศึกษา 9. วิทยาเขตอเล็กซานเดรีย มี 1 คณะ คือ คณะอิสลามศึกษาและภาษาอาหรับ 10. วิทยาเขตตะฟะหนาอัลอัชรอฟ มี 3 คณะ - คณะนิติศาสตรอิสลามและกฎหมายสากล - คณะอักศรศาสตร - คณะคุรุศาสตร 11. วิทยาเขตอัซยูต มี 3 คณะ - คณะอิสลามศึกษาและภาษาอาหรับ - คณะนิติศาสตรและกฎหมายสากล - คณะมนุษยศาสตร สําหรับผูที่มีปญหาสายตา (ตาบอด) สามารถสมัครเรียนไดในคณะและสาขาดังนี้ นักศึกษาชาย 1. คณะอักษรศาสตร (วิทยาเขตไคโรและวิทยาเขตตางจังหวัด) สาขาทั่วไป และสาขาประวัติศาสตรและ อารยธรรม) 2. คณะนิติศาสตรและกฎหมายสากล (วิทยาเขตไคโรและวิทยาเขตตางจังหวัด) สาขานิติศาสตรอิสลาม 3. คณะศาสนศาสตร (วิทยาเขตไคโรและวิทยาเขตตางจังหวัด) 4. คณะเผยแพรอิสลาม (วิทยาเขตไคโร) 5. คณะอิสลามศึกษาและภาษาอาหรับ (วิทยาเขตไคโร) 6. คณะอิสลามศึกษาและภาษาอาหรับ (วิทยาเขตดุมยาต) 7. คณะอิสลามศึกษาและภาษาอาหรับ (วิทยาเขตกุฟรอชัยค) 8. สาขาอิสลามศึกษาและสาขาภาษาอาหรับของคณะศึกษาศาสตร (วิทยาเขตไคโรและวิทยาเขตตาง จังหวัด) นักศึกษาหญิง 1. คณะอิสลามศึกษาและภาษาอาหรับ (วิทยาเขตไคโรและวิทยาเขตตางจังหวัด) 2. คณะมนุษยศาสตรสําหรับนักศึกษาหญิง (วิทยาเขตไคโร)


7

รายละเอียดคณะและหลักสูตรตางๆ ในระดับปริญญาตรี สําหรับนักศึกษาชาย 1. คณะศาสนศาสตร (กุลลียะฮอุซูลุดดีน) ปริญญาตรีหลักสูตร 4 ป เปดสอนทั้งที่วิทยาเขตไคโรและวิทยา เขตตางจังหวัด มี 4 สาขา 1.1 การอรรถาธิบายและความรูเกี่ยวกับอัล-กุรอาน (อัตตัฟซีรวาอุลูมกุรอาน) 1.2 วจนะและความรูเกี่ยวกับวจนะศาสดา (อัล-หะดีษวาอุลูมหะดีษ) 1.3 หลักศรัทธาและปรัชญา (อัล-อะกีดะฮวัลฟะลาซาฟะฮ) 1.4 การเผยแพรและอารยธรรม (อัดดะอวะฮวัซซะกอฟะฮ) โดยจะทําการสอนในรายวิชาทั่วไปในปที่ 1-2 และจะเปดโอกาสใหเลือกเรียนเฉพาะสาขาในปที่ 3-4 2. คณะนิติศาสตรและกฎหมายสากล (กุลลียะฮชารีอัตวัลกอนูน) เปดสอนที่วิทยาเขตไคโร วิทยาเขตตอน ตอ วิทยาเขตดามันฮูร วิทยาเขตตาฟะหนาอัลอัชรอฟ และวิทยาเขตอัสยูต มี 2 สาขา 2.1 ชารีอะห อิสลามียะฮ (นิติศาสตรอิสลาม) ปริญญาตรีหลักสูตร 4 ป 2.2 ชารีอะห วัลกอนูน (นิติศาสตรและกฎหมายสากล) ปริญญาตรีหลักสูตร 5 ป 3. คณะอักษรศาสตร (กุลลียะห ลูเฆาะ อัลอารอบียะหฺ) ปริญญาตรีหลักสูตร 4 ป เปดสอนที่วิทยาเขตไคโร และวิทยาเขตตางจังหวัด มี 3 สาขา 3.1 ทั่วไปเอกภาษาอาหรับ (ชุอบะฮอามมะห) 3.2 ประวัติศาสตรและอารยธรรม (อัตตารีค วัลฮาดอเราะห) 3.3 วารสาศาสตร/สื่อสารมวลชน/นิเทศศาสตร (อัซซอฮาฟะห วัลเอียะลาม) - จะสอนเฉพาะสาขาตั้งแตแรก หมายเหตุ - สําหรับวิทยาเขตตางจังหวัด จะเปดสอนเฉพาะสาขาทั่วไป นอกจากวิทยาเขตซิบินกุม ซึ่งจะเปดสอนทั้งสามสาขา 4. คณะอิสลามศึกษาและภาษาอาหรับ (กุลลียะหดิรอซาตอิสลามียะห วัลอารอบียะห) ปริญญาตรีหลักสูตร 4 ป เปดสอนเฉพาะที่วิทยาเขตไคโร 5. คณะอิสลามศึกษาและภาษาอาหรับ (กุลลียะหดิรอซาตอิสลามียะห วัลอารอบียะห) ปริญญาตรีหลักสูตร 4 ป เปดสอนที่วิทยาเขตดุมยาท มี 3 สาขา 5.1 ศาสนศาสตร (อูซูลุดดีน) 5.2 นิติศาสตรอิสลาม (ชารีอะหอิสลามียะห) 5.3 อักษรศาสตร (ลูเฆาะหวัลอารอบียะห) 6. คณะเศรษฐศาสตร (กุลลียะหติญาเราะห) ปริญญาตรีหลักสูตร 4 ป เปดสอนที่วิทยาเขตไคโร มี 4 สาขา 6.1 สถิติ (อัลอิหซอ) 6.2 การบัญชี (อัลมุฮาซาบะห) 6.3 เศรษฐศาสตร (อัลอิกตีซอด) 6.4 บริหาร (อิดารอตุลอะมัล)


8

โดยจะทําการสอนในรายวิชาทั่วไปในปที่ 1-2 และจะเปดโอกาสใหเลือกเรียนเฉพาะสาขาในปที่ 3 และ 4 ใน 4 สาขาขางตน 7. คณะอักษรศาสตรและการแปล (กุลลียะหลูเฆาะวัตตัรุมเมาะห) ปริญญาตรีหลักสูตร 4 ป เปดสอนที่ วิทยาเขตไคโร มี 10 สาขา โดยจะทําการสอนแยกสาขาตั้งแตปแรก 7.1 ภาษาและวรรณคดีอังกฤษ 7.2 ภาษาและวรรณคดีสเปน 7.3 ภาษาและวรรณคดีตุรกี 7.4 ภาษาและวรรณคดีฝรั่งเศส 7.5 ภาษาและวรรณคดีเปอรเซีย 7.6 ภาษาและวรรณคดีฮีบรู 7.7 ภาษาและวรรณคดีอุรดู 7.8 ภาษาและวรรณคดีเยอรมัน 7.9 อิสลามศึกษา ใชภาษาอังกฤษในการสอน (เรียนชั้นเตรียม 1 ป) 7.9 อิสลามศึกษา ใชภาษาเยอรมันในการสอน (เรียนชั้นเตรียม 1ป) 7.10 อิสลามศึกษา ใชภาษาฝรั่งเศสในการสอน (เรียนชั้นเตรียม 1ป) 8. คณะคุรุศาสตร (กุลลียะหอัตตัรบียะห) ปริญญาตรีหลักสูตร 4 ป เปดสอนที่วิทยาเขตไคโร และวิทยาเขต ดากอลียะห มี 2 หลักสูตร 8.1 หลักสูตรปริญญาตรีสายศิลป มี 8 สาขา คือ ศึกษาศาสตร ภาษาอาหรับ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร การบริการ และหองสมุด/ เทคโนโลยีและการศึกษา 8.2 หลักสูตรการศึกษาปริญญาตรีสายวิทยาศาสตร มี 4 สาขา คือ ฟสิกส เคมี ธรรมชาติ วิทยา และคณิตศาสตร โดยจะทําการสอนเฉพาะสาขาตั้งแตปแรก 9. คณะอัล-กรุอานและความรูเกี่ยวกับคัมภีรอัล-กรุอาน (กุลลียะหอัดตัฟซีร วัลอุลูมกุรอาน) ปริญญาตรี หลักสูตร 4 ป เปดสอนที่วิทยาเขตตอนตอ 10. คณะแพทยศาสตร (กุลลียะหฏิบ) เปดสอนที่วิทยาเขตไคโร ปริญญาตรีทางการแพทยและศัลยกรรม หลักสูตร 6 ป และฝกงานอีก 1 ป ในโรงพยาบาลของมหาวิทยาลัยหรือของรัฐ 11. คณะเภสัชศาสตร (กุลลียะหซอยดาลียะฮ) ปริญญาตรีหลักสูตร 4 ป เปดสอนที่วิทยาเขตไคโร 12. คณะทันตแพทยศาสตร (กุลลียะหฏิบบิลอัซนาน) ปริญญาตรีหลักสูตร 4 ป เปดสอนที่วิทยาเขตไคโร และฝกงานดานทันตกรรมและศัลยกรรมเกี่ยวกับชองปากและฟน 13. คณะวิศวกรรมศาสตร (กุลลียะหฮันดาซะฮ) ปริญญาตรีหลักสูตร 5 ป เปดสอนที่วิทยาเขตไคโร มี 5 สาขา คือ วิศวกรรมอุตสาหกรรม วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมไฟฟา และวิศวกรรม ปโตรเลียม โดยจะทําการสอนเฉพาะสาขาตั้งแตปแรก 14. คณะวิทยาศาสตร (กุลลียะฮอุลูม) ปริญญาตรีหลักสูตร 4 ป เปดสอนที่วิทยาเขตไคโร มี 9 สาขา คือ เคมี ฟสิกส ธรณีวิทยา ชีววิทยา พฤกษาศาสตร สัตววิทยา ศัลยกรรมศาสตร ดาราศาสตร และคณิตศาสตร


9

โดยจะทําการสอนเฉพาะสาขาตั้งแตปแรก แตจะเพิ่มเวลาเรียนอีกหนึ่งปสําหรับสาขาชีววิทยา และศัลย กรรมศาสตร โดยจะศึกษารวมกับคณะแพทยศาสตร 15. คณะเกษรตรศาสตร (กุลลียะฮซิรอะหฮ) ปริญญาตรีหลักสูตร 4 ป เปดสอนที่วิทยาเขตไคโรในสาขา ตางๆ ดังนี้ 15.1 สาขาทั่วไป 15.2 ผลิตผลการเกษตร 15.3 อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม 1 5.4 เทคโนโยลีการเกษตร 15.5 โรคพืชพันธุ 15.6 ธุรกิจการเกษตร 15.7 สิ่งแวดลอม 15.8 ปศุสัตว 15.9 การสงออกปลา โดยจะทําการสอนวิชาทั่วไปในปที่ 1-2 และจะเปดโอกาสใหเลือกเรียนเฉพาะสาขาในปที่ 3 เปนตนไป สําหรับนักศึกษาหญิง 1. คณะอิสลามศึกษาและภาษาอาหรับ (กุลลียะหอัดดิรอซาต อิสลามียะหวัลอารอบียะห) ปริญญาตรี หลักสูตร 4 ป เปดสอนที่วิทยาเขตไคโร วิทยาเขตอเล็กซานเดรีย วิทยาเขตมันซูเราะห และวิทยาเขต ซากอซิก มี 3 สาขา 1.1 ศาสนศาสตร (อูซูลุดดีน) ทําการสอนหลักสูตรทั่วไปในปที่ 1-2 และสามารถเลือกเรียน แผนกใดแผนกหนึ่งไดในปที่ 3 ดังนี้ 1.1.1 การอรรถาธิบายและความรูเกี่ยวกับอัลกุรอาน (อัดตัฟซีร วัลอุลูมกุรอาน) 1.1.2 วจนะและความรูเกี่ยวกับวจนะศาสดา (อัลฮาดิษ วัลอุลูมฮาดิษ) 1.1.3 หลักศรัทธาและปรัชญา (อัลอะกีดะห วัลฟาลาวะฟะห) 1.2 นิติศาสตรอิสลาม (ชารีอะห) 1.3 อักษรศาสตร (กลูเฆาะ อัลอารอบียะห) 2. คณะอิสลามศึกษาและภาษาอาหรับ (กุลลียะหอัดดิรอซาต อิสลามียะหวัลอารอบียะห) ปริญญาตรีหลัก สูตร 4 เปดสอนที่วิทยาเขตอัซยูต มี 4 สาขา 2.1 ศาสนศาตร (อูซูลลุดดีน) 2.2 กฎหมายอิสลาม (ชารีอะห) 2.3 อักษรศาสตร (ลูเฆาะอัลอารอบียะห) 2.4 พาณิชยศาสตร (ติญาเราะห) 3. คณะมนุษยศาสตร (กุลลียะหดีรอซาตอิงซานียะห) หลักสูตรปริญญาตรี 4 ป เปดสอนที่วิทยาเขตอัซยูต มี 6 สาขา


10

3.1 สาขามนุษยศาสตร (อินซานียะห) มี 4 แผนก คือ สังคม จิตวิทยา ประวัติศาสตร และ ภูมิศาสตร 3.2 สาขาภาษายุโรปและทักษะรวมทางภาษาชั้นสูง (ลูเฆาะหอุรูบียะห วัตตัรุมเมาะหเฟารียะห) มี 2 แผนก คือ ภาษาอังกฤษและการแปล และภาษาฝรั่งเศส และการแปล 3.3 สาขาภาษาและวรรณคดียุโรป (ลูเฆาะหอุรูบียะห) มี 2 แผนก คือ ภาษาเยอรมัน และ ภาษาสเปน 3.4 สาขาภาษาและวรรณคดีตะวันออก (ลูเฆาะหชัรกียะห) มี 4 แผนก คือ ภาษาและ วรรณคดีเปอรเซีย ภาษาและวรรคดีตุรกี ภาษาและวรรณคดีอุรดู และภาษาและวรรณคดี ฮิบรู 3.5 สาขาคุรุศาสตร (ตัรบียะห) เอกวรรณคดี 3.6 สาขาวารสารศาสตร (เอี๊ยะลามวัส ซอฮาฟะห) 4. คณะเศรษฐศาสตร (กุลลียะหติญาเราะห) ปริญญาตรีหลักสูตร 4 ป เปดสอนที่วิทยาเขตไคโร และวิทยา เขตดะหกอลียะห มี 5 สาขา คือ สถิติ การบัญชีและการตรวจสอบบัญชี เศรษฐศาสตร การบริการ และการ ประกันภัย 5. คณะแพทยศาสตร (กุลลียะหฏิบ) การเรียนสอนเปนเชนเดียวกับของนักศึกษาชาย 6. คณะเภสัชศาสตร (กุลลียะหซอยดาลียะห) การเรียนสอนเปนเชนเดียวกับของนักศึกษาชาย 7. สาขาทันตกรรม คณะแพทยศาสตร (กุลลียะหฏิบ) เปดสอนที่วิทยาเขตไคโร หลักสูตรปริญญาตรี 4 ป เริ่มดวยชั้นเตรียม 1 ป เมื่อจบหลักสูตรแลว มีการฝกงานอีก 1 ป 8. คณะวิทยาศาสตร (กูลียะหอุลูม) เปดสอนที่วิทยาเขตไคโร หลักสูตรปริญญาตรี 4 ป มี 4 สาขา คือ เคมี ฟสิกส ชีววิทยา และคณิตศาสตร นักศึกษาตองเลือกลงเรียนสาขาใดสาขาหนึ่งตั้งแตปแรก


11

หลักเกณฑการรับสมัครนักศึกษาตางชาติเขาเรียนในมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัรจะรับนักศึกษาตางชาติเขาเรียนในแตละคณะและสาขาที่ไมใชสาย ศาสนาไดไมเกิน 10% ของจํานวนของนักศึกษาอียิปต โดยจะพิจารณาตามคุณสมบัติและเงื่อนไขดังตอไป นี้ 1. เปนผูที่ไดรับทุนการศึกษาจากสาธารณรัฐอาหรับอียิปต 2. เปนผูที่ไดรับประกาศนียบัตรชั้นมัธยมปลาย (ซานาวี) จากสถาบันของอัลอัซฮัร หรือ ประกาศนียบัตรชั้นมัธยมปลายจากวิทยาลัยบุอูส สาธารณรัฐอาหรับอียิปต 3. เปนผูที่ไดรับประกาศนียบัตรเทียบเทาระดับมัธยมปลายจากสถาบันที่สอนศาสนาอิส ลามในประเทศตางๆ ที่ไดรับการรับรองวุฒิการศึกษาจากมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร หมายเหตุ 1. ไมอนุญาตใหนักศึกษาตางชาติเขาเรียนคณะแพทยศาสตร แผนกทันตกรรม เภสัชศาสตร และวิศวกรรม ศาสตร นอกจากจะไดรับการอนุมัติจากอธิการบดีมหาวิทยาลัย 2. นักศึกษาตางชาติที่ไมไดรับทุนการศึกษาจากสาธารณรัฐอาหรับอียิปต ที่ไดรับอนุมัติใหเขาเรียนในคณะ และสาขาที่ไมใชสายศาสนาจะตองจายคาหนวยกิตวิชาและคาประกันตามที่กําหนด เงื่อนไขอื่นๆ 1. นักศึกษาจากสายวิทยาศาสตรที่จะทําการเขารับการศึกษาในคณะเผยแพรอิสลามและ สาขาตางๆของคณะศาสนศาสตร จะตองมีจํานวนไมเกิน 15% ของจํานวนของนักศึกษาจากสายศิลปที่ได รับการเสนอชื่อ โดยตองมีคะแนนรวมไมต่ํากวา 70% และตองผานการสอบวิชาทองจําอัลกุรอาน อารยธรรมอิสลาม และบรรยายศาสตร (คิฎอบะห) สําหรับผูที่สอบไมผาน ก็จะไดรับการเสนอชื่อใหเขาเรียน ในคณะอื่นตอไปตามความเหมาะสมและความสามารถ 2. ผูที่ประสงคจะสมัครเขาเรียนในคณะคุรุศาสตรและสาขาคุรุศาสตรของคณะ มนุษยศาสตร (สําหรับนักศึกษาหญิง) จะตองผานการสอบเขา ผูที่สอบไมผานจะไดรับการเสนอชื่อใหเขา เรียนในคณะอื่นตอไปตามความเหมาะสมและความสามารถ 3. ผูที่ประสงคจะสมัครเขาเรียนสาขาสื่อสารมวลชน (นิเทศศาสตร) ของคณะอักษรศาสตร และคณะอิสลามศึกษา (สําหรับนักศึกษาหญิง) วิทยาเขตไคโร จะตองไดรับคะแนนในวิชาภาษาตาง ประเทศไมต่ํากวา 60% (ทั้งสายวิทยาศาสตรและสายศิลป) 4. ผูประสงคจะสมัครเขาเรียนในสาขาทักษะรวมภาษาชั้นสูง (ภาษาอังกฤษ) สาขาอิสลาม ศึกษา (ที่ใชภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศสและภาษาเยอรมันในการสอน) ของคณะอักษรศาสตรและการแปล จะ ตองไดรับประกาศนียบัตรมัธยมปลายของมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร หรือเทียบเทา และมีคะแนนไมต่ํากวา


12

70% จากคะแนนรวม รวมทั้งจะตองไดคะแนนภาษาอังกฤษ/ฝรั่งเศส/เยอรมันไมต่ํากวา 70% ของคะแนน รวม 5. ผูที่ประสงคจะสมัครเขาเรียนในคณะแพทยศาสตร ทันตกรรมและเภสัชศาสตรจะตองได รับประกาศนียบัตรมัธยมปลายของมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร หรือเทียบเทา และมีคะแนนไมต่ํากวา 75% ในวิชาเคมี ฟสิกส ชีววิทยาและภาษาอังกฤษ 6. ผูประสงคจะสมัครเรียนคณะวิศวกรรมศาสตรจะตองไดรับประกาศนียบัตรมัธยมปลาย ของมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร หรือเทียบเทา และมีคะแนนไมต่ํากวา 75% จากคะแนนรวม และวิชา คณิตศาสตร 7. ผูประสงคจะสมัครเขาเรียนสาขาวิศวกรรมโยธา การวางผังเมือง จะตองผานการสอบ เขา หากสอบไมผาน ก็จะไดรับการเสนอชื่อใหเขาเรียนในสาขาทั่วไป 8. ผูที่ไดรับการเสนอชื่อใหเขาเรียนในสาขาดังตอไปนี้ จะตองผานการเรียนชั้นเตรียมเปน เวลา 1 ป และตองสอบผานกอนจึงจะไดรับการเสนอชื่อใหเขาเรียนในสาขานั้นๆ ผูไมผานการสอบ สามารถ สอบแกตัวได 1 ครั้ง และหากยังสอบไมผานอีก ก็จะไดรับการพิจารณาใหเรียนในคณะอื่นที่เหมาะสมกับ ความรูความสามารถ - สาขาอิสลามศึกษา (ภาษาอังกฤษ) ของคณะอักษรศาสตรและการแปล (ชาย) - สาขาอิสลามศึกษา (ภาษาฝรั่งเศส) ของคณะอักษรศาสตรและการแปล (ชาย) - สาขาอิสลามศึกษา(ภาษาเยอรมัน) ของคณะอักษรศาสตรและการแปล (ชาย) - สาขาทักษะรวมภาษาชั้นสูง (ภาษาอังกฤษ) ของคณะอักษรศาสตรและการ แปล (ชาย) - สาขาภาษาและวรรณคดียุโรป และสาขาการแปลภาษาชั้นสูงของคณะมนุษย ศาสตร (หญิง) หมายเหตุ - ประกาศนียบัตรมัธยมปลาย หรือเทียบเทา จะตองมีอายุไมเกิน 2 ป นับจากวันที่ออกใบประกาศ - นักศึกษาตองไมเคยสมัครและไดรับการเสนอชื่อมากอนในสาขาและคณะที่ตองการสมัครเขาเรียน การสมัครเขาเรียนในมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร สถานที่รับสมัครอยูที่ตึกศูนยอํานวยการใหญเกี่ยวกับการรับเอกสาร การเทียบวุฒิ และ การสมัครเรียน ตั้งอยู ณ ฮัย ซาเบี๊ยะ เขตนัสรซิตี้ มี 2 หนวยงาน คือ 1. สํานักงานขายซองสมัครเรียน หรือที่นิยมเรียกกันวา “ตังซีก” จะจําหนายซองเอกสาร (หลักฐานการรับสมัคร ใบคํารองขอสมัครเขาเรียน รายละเอียดคณะและเอกสารที่เกี่ยวของตางๆ) ในราคา 200 ปอนดอียิปต (ประมาณ 1,200 บาท) เปดทําการในวันอาทิตย-วันพฤหัสบดี เวลา 09.00-12.00 น. ทั้ง นี้ นักศึกษาจะตองนําใบผลการสอบไปแสดงดวยในการขอซื้อเอกสาร


13

2. สภาวิจัยอิสลามศึกษา (Islamic Research Academy) จะทําหนาที่ตรวจสอบเอกสาร และเทียบวุฒิการศึกษา เปดทําการในวันอาทิตย-วันพฤหัสบดี เวลา 15.00-18.00 น. เอกสารการสมัครเรียน 1. แบบฟอรมคํารองสมัครเขาเรียนของมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร พรอมทั้งอากรแสตมปตามที่กําหนด 2. ใบประกาศนียบัตรชั้นมัธยมปลายจากสถาบันของมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร หรือประกาศนียบัตรชั้นมัธยม ปลายจากวิทยาลัยบุอูส หรือจากสถาบันที่สอนศาสนาอิสลามในประเทศตางๆ ที่ไดรับการรับรองวุฒิการ ศึกษาจากมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร พรอมใบคะแนนแสดงผลการสอบ 3. ใบรับรองการเกิดจากทางราชการ (ขอไดจากสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงไคโร) 4. รูปถายสี จํานวน 6 รูป ขนาด 4x6 ซ.ม. 5. หนังสือเดินทาง พรอมสําเนา 6. ใบนําสมัครเรียนซึ่งออกใหโดยสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงไคโร คําแนะนําตางๆสําหรับนักศึกษา 1. นักศึกษาจะตองอานคูมือพรอมทั้งคําแนะนําที่แนบมากับเอกสารอยางละเอียด โดยเฉพาะอยางยิ่ง แบบฟอรมการเลือกคณะ 2. ภายในซองจะมีเอกสารระบุชื่อของคณะและแผนกตางๆ ทั้งในไคโรและวิทยาเขตตางจังหวัดเอาไว ขอให ศึกษาขอมูลของคณะตางๆ ใหละเอียดกอนการตัดสินใจวาจะเรียนคณะไหน จากนั้น จึงกรอกขอมูลตางๆ ในแบบฟอรมใหครบถวน เซ็นชื่อกํากับ พรอมทั้งติดแผนเลือกคณะลงในกรอบตามลําดับใหครบทุกแผน และจะตองไมแกไขหรือลบหมายเลขตางๆ ที่ไดเลือกลําดับเอาไว เพราะสํานักงานจะจายเอกสารใหกับ นักศึกษาเพียงครั้งเดียว และจะไมรับสมัครหากมีการลบหรือแกไขเอกสาร 3. มหาวิทยาลัยจะจัดใหนักศึกษาเขาเรียนในคณะที่ไดเลือกไว โดยจะพิจารณาจากรายชื่อคณะและลําดับ ที่ระบุไว ประกอบกับความสามารถและความเหมาะสมของผูสมัคร 4. นักศึกษาจะตองเขียนความประสงคที่จะเขาเรียนในคณะที่ตนตองการสมัคร ใหสอดคลองกับสิ่งที่ได เขียนไวในแบบฟอรมเลือกคณะ และแผนเลือกที่นักศึกษาไดเลือกเอาไว สําหรับผูที่ตองการจะยายคณะจะ ตองระบุวาเคยศึกษาในคณะใดมากอน พรอมทั้งแจงวันออกประกาศนียบัตรลงในชองที่กําหนดไวใน แบบฟอรม 5. เก็บซองเอกสาร ใบเสร็จพรอมหมายเลขที่สํานักงานออกให เพื่อความสะดวกในการติดตอครั้งตอๆ ไป -------------------------------------------------------


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.