HR ARTICLE 2
นายไมตรี สุนทรวรรณ maitree.hrd@gmail.com
เ
หนึ ง ่ ประชาคม ASEAN สิบประเทศ Cultural ร้อยพ่อพันแม่ Management จะแก้อย่างไร?
มื่อพูดถึงอาเซียนผมมักนึกถึงเพลงของน้าหงา คาราวานซึ่งมีเนื้อเพลงท่อนหนึ่งว่า “ไทย เขมร ลาว ญวน ชักชวนคบหากันไป แหลมอินโดจีนและไทยใช่อื่นไกลเชื้อสายสัมพันธ์” จากเนื้อเพลงได้สะท้อนให้เห็นการเป็น บ้านพี่เมืองน้องของประชาคมอาเซียนส่วนหนึ่งได้เป็นอย่างดี สายสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกันได้หล่อหลอมให้ผู้คน
ในแถบภูมิภาคนี้มีวัฒนธรรมที่คล้ายๆกัน หากมองผิวเผินก็ไม่น่าจะมีอะไรแตกต่างกันมากมายนัก แต่ด้วยยุคสมัย
ที่ได้ปรับเปลี่ยนบางสิ่งบาง อย่างไปตามกาลเวลา ประกอบกับสมาชิกอาเซียนมีมากถึง 10 ประเทศ ประชากรกว่า 600 ล้านคน จึงมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ภาษา ศาสนา และเชื้อชาติ การย้ายถิ่นฐานก่อให้เกิดการ ผสมผสานทางวั ฒ นธรรม โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง การอพยพของชาวจี น ที่ เ ข้ า มาอาศั ย อยู่ ใ นแถบอาเซี ย นซึ่ ง มี
จำนวนมาก ทำให้แต่ละประเทศมีความหลากหลายทางเชื้อชาติทั้งไทย จีน ญวน ลาว เขมร มอญ มาลายู
ปะปนกันไป สิ่งสำคัญที่เป็นตัวกำหนดความเป็นไปทางวัฒนธรรมก็คือศาสนา ซึ่งในอาเซียนมีศาสนาที่ผู้คนนับถือ หลายศาสนา เช่น คนไทย ลาว พม่า กัมพูชา สิงคโปร์ และเวียดนามส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ในขณะที ่ คนส่วนใหญ่ของมาเลเซีย อินโดนีเซีย และบูรไนนับถือศาสนาอิสลาม ส่วนในฟิลิปปินส์นั้นผู้คนทั่วไปก็จะนับถือ ศาสนาคริสต์ เป็นต้น เราลองมาสัมผัสความเป็นอยู่ของเพื่อนบ้านอาเซียน เราดูสักนิด เผื่อจะช่วยให้เห็นภาพความหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่น่าสนใจ ดังนี้ เวียดนาม ตัง้ อยูท่ างด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทร อิ นโดจี น คนเวี ย ดนามโดยทั่ วไปเป็ น ผู้ มี ค วามใฝ่ รู้ ขยั น อดทน ไม่ย่อท้อ เป็นตัวของตัวเองค่อนข้างสูง ชอบคิด นอกกรอบ ใช้ภาษาเวียดนามเป็นภาษาราชการ ส่วนใหญ่ นับถือศาสนาพุทธ มาเลเซีย แบ่งเป็น 2 ส่วนโดยมีทะเลจีนใต้กั้นคือ คาบสมุทรมลายูกบั ทางเหนือของเกาะบอร์เนียว คนมาเลเซีย มีวธิ คี ดิ และวิธที ำงานทีค่ อ่ นข้างมีระบบ เจ้าระเบียบพอสมควร ที่สำคัญคือการรักพวกพ้องโดยเฉพาะคนมาเลเซียเชื้อสาย มาลายู ใช้ภาษามาเลย์เป็นภาษาราชการ 028
สิ ง คโปร์ เป็ น ประเทศที่ มี ป ระชากรหนาแน่ น เป็ น อั น ดั บ 2 ของโลก คนสิ ง คโปร์ เ ป็ น คนที่ มี ค วามเชื่ อ มั่ น
ในตนเอง กล้ า แสดงออก มี ค วามมุ่ ง มั่ น คิ ด เชิ ง ระบบ เคารพต่อกฎระเบียบ ร้อยละ 42.5 เป็นคนที่นับถือพุทธ ภาษาทางราชการ คือ ภาษามาเลย์ จีนกลาง ทมิฬ และ อังกฤษ อิ นโดนี เ ซี ย เป็ น ประเทศที่ มี ป ระชากรมากที่ สุ ด
ในอาเซี ย น คนอิ นโดนี เ ซี ย ไม่ ค่ อ ยก้ า วร้ า วกั บ หั ว หน้ า
ตรงกันข้ามมักเป็นผู้ตามที่ดีและสามารถปฏิบัติงานตามที่
ได้รับมอบหมายได้เป็นอย่างดีด้วย ภาษาราชการและภาษา ประจำชาติ คือ ภาษาอินโดนีเซีย ชาวอินโดนีเซียร้อยละ 87 นับถือศาสนาอิสลาม ส่วนใหญ่จะเคร่งศาสนา บางกลุ่ม ต้องทำละหมาดวันละ 5 เวลา
ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ประกอยด้ ว ยเกาะถึ ง 7,107 เกาะ
มีพรมแดนทางทะเลยาวที่สุดในโลก คนฟิลิปปินส์มีวิธีคิด
ทีเ่ ป็นเหตุผลแบบชาวตะวันตก รักสนุก ร่าเริง ไม่เคร่งเครียด ชอบแสวงหา ความรูใ้ หม่ๆ ได้กำหนดให้ภาษาฟิลปิ ปิโนและ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ ส่วนภาษาต่าง ประเทศอืน่ ๆ ทีใ่ ช้กนั มากในฟิลปิ ปินส์มมี ากถึง 8 ภาษา เช่น ภาษาสเปน ภาษาจี น ฮกเกี้ ย น เป็ น ต้ น โดยมี ภ าษาประจำชาติ คื อ ภาษาตากาล็อก กัมพูชา เป็นอดีตอาณานิคมของฝรัง่ เศส คนกัมพูชา มีความอดทน ต้องการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ มีความมุ่งมั่น สู้งาน ลึกๆ แล้วไม่คอ่ ยยอมใครง่ายๆ ชอบร้องรำทำเพลง มีความ เชื่อเรื่องของขลังและไสยศาสตร์ ใช้ภาษาเขมรเป็นภาษา ราชการ ส่วนศาสนาประจำชาติ คือ ศาสนาพุทธ ลาว บ้านพีเ่ มืองน้องของแท้ คนลาวมีความคล้ายคลึง กับคนภาคอีสานของไทยเป็นอย่างมาก เป็นคนมีน้ำใจไมตรี เป็นมิตรกับผู้อื่น มีความมุ่งมั่นตั้งใจทำงาน ชอบร้องรำ
ทำเพลง ใช้ภาษาลาวเป็นภาษาราชการ ร้อยละ 75 นับถือ ศาสนาพุทธ บรูไน เป็นประเทศผู้ส่งออกน้ำมันเป็นสินค้าหลัก คนบรูไนส่วนใหญ่เป็นชาวมาเลย์มากถึงร้อยละ 66 เป็น ชาวจีนร้อยละ 11 และอื่นๆ ร้อยละ 23 มีภาษามาเลย์ เป็นภาษาราชการ รองลงมาเป็นภาษาอังกฤษและภาษาจีน โดยร้อยละ 67 ของคนบรูไนนับถือศาสนาอิสลามซึ่งเป็น ศาสนาประจำชาติ สำหรับคนพม่ามีโอกาสได้ใกล้ชิดกับคนไทยมากกว่า ชนชาติอนื่ ๆ ในอาเซียน จากกรณีแรงงานต่างด้าว คนพม่า ใช้ ภ าษาพม่ า เป็ น ภาษาราชการและนั บ ถื อ ศาสนาพุ ท ธ
มากถึงร้อยละ 90 ในฐานะแรงงานต่างด้าวทำให้คนไทยมี ประสบการณ์กบั แรงงานพม่าแตกต่างกันไป อย่างไรก็ดคี นพม่า ถือได้ว่าเป็นคนที่มีน้ำใจ ซื่อบริสุทธิ์และขยัน ส่วนคนไทย เป็นอย่างไรคงไม่ต้องเอามะพร้าวห้าวมาขายสวนนะครับ ความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่ยกตัวอย่างให้เห็น ย่อมส่งผลต่อการปฏิบัติงาน และมีความเสี่ยงที่จะเกิดข้อ
ผิดพลาดขึ้นได้ทั้งในระหว่างกระบวนการ (Process) และ ผลทีไ่ ด้จากการทำงาน (Output) อันสืบเนือ่ งมาจากภูมหิ ลัง ของวิถชี วี ติ ทีแ่ ตกต่างกัน ความท้าทายจึงอยูท่ วี่ า่ จะทำอย่างไร ให้ แ ต่ ล ะคนที่ ม าจากต่ า งถิ่ น ที่ อ ยู่ ไ ด้ เ รี ย นรู้ ที่ จ ะอยู่ ร่ ว มกั น
และอยู่ร่วมกันอย่างสอด คล้องกับเป้าหมายขององค์กร ซึ่ง Prof. Dr. Claus Schreier ผูเ้ ชีย่ วชาญการจัดการวัฒนธรรม ข้ามชาติ (Cross Cultural Management) ได้กล่าวว่า
เป็นบทบาทที่สำคัญของ HR ที่จะต้องจัดให้มีกิจกรรมการ
เรียนรู้ต่างๆ (Learning) แก่ผู้ปฏิบัติงานใน องค์กรที่มาจากต่างวัฒนธรรม เพื่อให้เกิดความ เข้ าใจที่ ถู ก ต้ อ งตรงกั น และการยอมรั บ ความ หลากหลายทางวั ฒ นธรรม โดยอาศั ย วิ ธี ก าร สื่อสารที่เหมาะสม (Communication) สร้าง ภาวะผูน้ ำให้เกิดขึน้ (Leadership) และสามารถ บริหารความขัดแย้ง (Conflict) ทีเ่ กิดขึน้ ระหว่าง บุคคลเหล่านั้นได้ ดั ง นั้ น การบริ ห ารจั ด การท่ า มกลาง วัฒนธรรมที่หลากหลายจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง ต่ อ ความสำเร็ จ ขององค์ ก รเมื่ อ เข้ า สู่ ป ระชาคม อาเซี ย น การยอมรั บ ความหลากหลายทาง วัฒนธรรมซึ่งกันและกันของชาวอาเซียน ต้อง เริม่ ต้นจากแนวคิดความหลากหลาย (Diversity) ไม่ใช่ความแตกต่าง (Difference) การยอมรับ และให้ความสำคัญกับวัฒนธรรมของผู้อื่นแม้จะ เป็นคนส่วนน้อยก็เป็นสิ่งสำคัญ ขณะเดียวกัน คนส่ ว นน้ อ ยก็ จ ะต้ อ งยอมรั บ และเคารพต่ อ วัฒนธรรมของคนส่วนใหญ่ด้วยเช่นกัน เมื่ อ มี ก ารยอมรั บ ภายใต้ แ นวคิ ด ความ
หลากหลายไม่ใช่แตกต่างแล้ว กิจกรรมที่สำคัญประการ ต่ อ มาคื อ การเรี ย นรู้ (Learning) เพื่ อ ศึ ก ษาความ
หลากหลายทางวั ฒ นธรรม วิ ถี ชี วิ ต ความเป็ น อยู่ แ ละ ลักษณะเฉพาะของวัฒนธรรมในแต่ละประเทศ การเรียนรู้ วัฒนธรรมของเพือ่ นบ้าน นอกจากจะทำความรูจ้ กั ต่อกันแล้ว ยังเสริมสร้างความรัก ความผูกผันระหว่างกัน หล่อหลอม ให้เกิดความมีน้ำใจเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน ก่อให้เกิดความ เข้ า ใจอั น ดี ต่ อ กั น เข้ า ใจวิ ถี ชี วิ ต ความเป็ น อยู่ ข องผู้ อื่ น สามารถเรี ย นรู้ แ ละปรั บ ตั ว ที่ จ ะปฏิ บั ติ ง านร่ ว มกั บ ผู้ อื่ นได้ อย่างมีความสุข การสือ่ สาร (Communication) เป็นสิง่ สำคัญในการ บริหารงาน เพราะเป็นเครื่องมือที่สร้างความเข้าใจระหว่าง
ผูป้ ฏิบตั งิ านทีเ่ กีย่ วข้อง การสือ่ สารทีด่ ยี อ่ มทำให้การถ่ายทอด ข้อมูลข่าวสารมีความถูกต้องครบถ้วน ซึ่งจะส่งผลให้ภารกิจ บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนด การสื่อสารที่ดีต้อง คำนึงถึงความเกี่ยวข้อง (Relevant) ของข้อมูลข่าวสาร ความชัดเจน (Clear) ความถูกต้องแม่นยำ (Accurate) ความสมบูรณ์ (Complete) การทันต่อเวลา (Timely) และความเหมาะสม (Appropriate) ถึงแม้ภาษาทางการ ของอาเซียนคือภาษาอังกฤษ แต่การเรียนรูภ้ าษาถิน่ ก็มคี วาม สำคัญต่อการอยู่ร่วมกันท่ามกลางวัฒนธรรมที่หลากหลาย 029
การทักทายในหมู่สมาชิกอาเซียน เช่น สวัสดี ซิ น จ่ า ว (เวี ย ดนาม) หนี ห่ า ว (สิ ง คโปร์ )
มิ ง กาลาบา (พม่ า ) กู มุ ส ตา (ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ) ซั ว สเด (กั ม พู ช า) สะบายดี (ลาว) และ
ภาษาถิ่นอื่นๆ จำเป็นต้องนำมาปรับใช้อย่าง เหมาะสม การสื่ อ สารที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพต้ อ ง คำนึงถึงภูมิหลังของผู้มาจากต่างวัฒนธรรมด้วย เพราะการสื่อสารไม่ได้มีวัจนภาษา (Verbal Language) เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังมี อวัจนภาษา (Non Verbal Language) ซึ่ง เป็นการสื่อสารโดยใช้สัญลักษณ์ การใช้ท่าทาง ในการสื่ อ สาร และใช้ ป ริ ภ าษา เช่ น ไซเรน แตรรถ ซึ่งเป็นการใช้เสียงที่ไม่ใช่คำพูดในการ สื่ อ สาร การเรีย นรู้ภาษาถิ่น และวัฒนธรรมที่ หลากหลายจะช่วยให้การสื่อสารมีความถูกต้อง แม่นยำตรงตามเจตนารมณ์มากยิ่งขึ้น การสร้างภาวะผู้นำ (leadership) ด้วย ผู้นำคือ บุคคลที่พร้อมเผชิญกับการเปลี่ยนแปลง มี ทิ ศ ทาง และเป้ า หมายในอนาคตที่ ชั ด เจน สามารถกำหนดวิสัยทัศน์ และนำพาผู้อื่นไปสู่ความ สำเร็ จ ได้ โ ดยการสื่ อ สาร และสร้ า งแรงบั น ดาลใจ
โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเปลีย่ นแปลงเพือ่ เข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน ยิ่งท้าทายบทบาทของผู้นำในบริบทของการปรับเปลี่ยนเพื่อ การพัฒนา (transformational leadership) ตามแนวคิด ของ The Big Five Personality Model ผู้นำควรต้องมี บุคลิกลักษณะดังนี้ การมีมนุษย์สัมพันธ์ การเปิดใจกว้าง ยอมรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความรับผิดชอบ มีความ มั่ น คงทางอารมณ์ และชอบที่ จ ะแสวงหาประสบการณ์ ใหม่ๆ อยู่เสมอ ที่สำคัญพึงระลึกไว้เสมอว่าบทบาทของ ผู้ น ำ (Leader) กั บ ผู้ จั ด การ (Manager) นั้ น มี ค วาม
แตกต่างกัน เพราะผูจ้ ดั การจะมุง่ บริหารจัดการงานทีซ่ บั ซ้อน ออกแบบโครงสร้ า งองค์ ก รให้ เ อื้ อ ต่ อ การสั่ ง งาน ติ ด ตาม
ผลการปฏิบัติงานโดยยึดแผนงานเป็นหลัก ส่วนผู้นำจะมุ่งไป ที่ ก ารเปลี่ ย นแปลง การกำหนดทิ ศ ทางและเป้ า หมาย
โดยการสร้ า งวิ สั ย ทั ศ น์ แ ล้ ว ถ่ า ยทอดให้ ผู้ อื่ น เข้ า ใจและ
คล้อยตามพร้อมกับสร้างแรงบันดาลใจให้เป็นตัวขับเคลื่อน ไปสู่ความสำเร็จ ส่วนการบริหารความขัดแย้งนั้น พบว่าการเรียนรู้ และยอมรั บ วั ฒ นธรรมของผู้ อื่ น ช่ ว ยลดความขั ด แย้ งใน องค์กร (intra-organization conflict) ได้ทั้งในแนวตั้ง ระหว่างหัวหน้ากับลูกน้อง และแนวนอนระหว่างพนักงาน 030
หรือผู้บริหารระดับเดียวกัน การเรียนรู้ถึงสภาพและภูมิหลัง ด้านวัยวุฒิ เพศ ครอบครัว การศึกษา ศาสนา ความเชื่อ ถิ่นที่อยู่อาศัยจะนำมาซึ่งความเข้าใจอันดีต่อกัน ก่อให้เกิด การปรองดองและการร่วมมือร่วมใจ การเรียนรู้และยอมรับ ที่ปราศจากอคติจะสร้างสันติสุขในการอยู่ร่วมกัน การซึมซับ ทางวั ฒ นธรรมจะทำให้ เ ราได้ รู้ แ ละเข้ าใจว่ า การกระทำใด
ควรกระทำ การกระทำใดควรละเว้น สิ่งใดที่เป็นสิ่งเคารพ นับถือ หรืออะไรเป็นข้อห้ามบ้าง ซึง่ สิง่ ต่างๆ เหล่านีส้ ามารถ เรียนรู้ผ่านเจ้าของวัฒนธรรมที่เป็นเพื่อนร่วมงานได้ ท่ า มกลางบรรยากาศแห่ ง ความสมานฉั น ท์ แ ละ การรวมกันเป็นหนึ่งของประชาคมอาเซียน คงไม่เป็นที่ สงสัยแล้วว่าเราจะเลือกใช้วัฒนธรรมในฐานะ “กำแพง” ซึ่งก่อปิดกั้นและอยู่เฉพาะกลุ่มชนของตน หรือมุ่งที่จะ สร้างเป็น “สะพาน” เพือ่ ทีจ่ ะเชือ่ มความสัมพันธ์กบั ผูอ้ นื่ ในการแลกเปลี่ยน ส่งเสริมและพัฒนาภูมิภาค อันจะ
นำมาสู่ความมั่นคงทางเศรษฐกิจและความสันติสุขแห่ง ภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ เพราะเราได้เดินทาง ผ่าน “กำแพง” เก่าๆ นั้นไปนานแล้ว
นายไมตรี สุนทรวรรณ
• กรรมการผู้จัดการ บริษัท วี เอ็ม เอส ดีเวลลอปเม้นท์ แอนด์ เทคโนโลยี จำกัด • ที่ปรึกษา บริษัท เพาเวอร์แอ็คเซส จำกัด • ที่ปรึกษา บริษัท เอช อาร์ ดี ดีไซน์เนอร์ จำกัด
อ้างอิง
Schreier, C., (2010). Intercultural Management for Successful Business Across Borders, Lucerne University, Switzerland http://www.thaingo.org/writer/view.php?id=904 http://www1.mod.go.th/admm/aseancountry_thai.pdf http://www.gotoknow.org/blog/maitree005/342812 http://www.gotoknow.org/blog/maitree009/355060