531115007

Page 1

Ice Cream


CONTSTEN

2

1 ความหมาย 3 ต้นกำเนิด 5 ไอศครีมในไทย 7 ไอศครีม 5 ชนิด

10 ส่วนผสมในไอศครีม 13 กรรมวิธีการผลิต 15 การทำไอศครีม สูตรโบราณ


3


4


ไอ

5

ศกรีม หรือภาษาปาก เรียกว่า ( ไอติม ) เป็ นของหวาน แช่แข็งชนิดหนึง่ ได้ จากการผสมส่วนผสมนำไปผ่านการฆ่าเชือ้ แล้วนำไปปั น่ ในที่ที่เย็นจัด เพื่อเติมอากาศเข้าไป พร้อม ๆ กับการลดอุณหภูมโิ ดยอาศัยเครื่องปั น่ ไอศกรีม

Ice Cream ไอ

ศกรีม เป็ นอาหารสุดโปรดของเด็ก และผูใ้ หญ่ มานานแล้วตัง้ แต่โบราณ สัญญาณที่บอกให้ทราบว่า รถเข็นขายไอศกรีมมา ก็คือ เสียงกระดิง่ กริ่ง หรือ แตรลม ปั จจุบนั นี้ ก็วิวฒ ั นาการมาเป็ นเสียงดนตรี ที่รอ้ งเรียกความ สนใจทัง้ เด็กและผูใ้ หญ่ ได้ไม่แพ้ของเดิม


6

Ice Cream ต้นกำเนิด

ของไอศกรีมนัน้ ไม่เป็ นที่แน่ชดั มาเริ่ม จากไหนบางข้อมูลก็ว่าเริ่มมีมา ตัง้ แต่ สมัยจักรพรรดิเนโรแห่งจักรวรรดิโรมัน ที่ได้มกี ารพระราชทานเลีย้ งไอศกรีม ทหาร โดยในสมัยนัน้ ทำจากเกล็ดน้ำแข็ง (หิมะ) ผสมน้ำผึง้ และผลไม้ คล้ายกับไอศกรีม เชอร์เบตในปั จจุบนั แต่บา้ งก็ว่ามาจากประเทศจีน เกิดจากเมือ่ สมัยโบราณที่นมถือ เป็ นของหายาก จึงได้มกี ารคิดวิธีเก็บรักษาโดยการเอาไปฝังในหิมะ จึงเกิดเป็ นไอศกรีมขึน้ แม้จะไม่ได้มลี กั ษณะเหมือนกับไอศกรีมอย่างทุกวันนี้ แต่บา้ งก็ว่ามาจากอิตาลีโดยมาร์โค โปโล กลับจากจีนแล้วเอาสูตรไอศกรีม มาเผยแพร่ ซึ่งในตอนนัน้ ไอศกรีมของจีนยังไม่มนี ม เป็ นคล้ายน้ำแข็งไสมากกว่า ยังมีจดุ เริ่มต้นจากอังกฤษเมือ่ สมัยพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 พ่อครัวคนหนึง่ มีสตู รเด็ด เป็ นครีมแช่แข็งปรุงรส ซึ่งเป็ นสูตรลับสุดยอดที่สง่ เป็ นของหวานถวายพระองค์ ทว่าเมือ่ พระองค์ถกู ปลงพระชนม์โดยโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ ระหว่าง สงครามกลางเมืองอังกฤษระหว่างปี ค.ศ. 1642-ค.ศ. 1651 พ่อครัวต้องลีภ้ ยั ไป ยุโรปจึงได้นำสูตร ไอศกรีมนีเ้ ผยแพร่ออกไป


7


8

ใน

ประเทศไทยนัน้ ไอศกรีมเริ่มเข้ามาในช่วงสมัยรัชกาลที่ 5 เป็ นหนึง่ ในวัฒนธรรมตะวันตกที ่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงนำมาเผยแพร่ในสยาม หลังเสร็จประพาสอินเดีย, ชวาและสิงคโปร์ น้ำแข็งในตอนแรก ๆ ก็ยงั ไม่สามารถผลิตในประเทศได้ จึงต้องนำเข้าจากประเทศสิงคโปร์ เมือ่ ไทยสัง่ เครื่องทำน้ำแข็งเข้ามาก็เริ่มมีการทำไอศกรีมกินกันมากขึน้ ถือว่าไอศกรีมเป็ นของเสวยเฉพาะสำหรับเจ้าขุนมูลนายเท่านัน้ ซึ่งสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพบันทึกไว้ว่า ไอศกรีมเป็ นของที่วิเศษในเวลานัน้ เพราะเพิ่งได้เครื่องทำน้ำแข็งอย่างเล็กที่เขาทำกันตามบ้านเข้าม า ทำบางวันน้ำก็แข็งบางวันก็ไม่แข็ง มีไอศกรีมบ้างบางวันก็ไม่มี จึงเห็นเป็ นของวิเศษ

โดย

ไอศกรีมในพระราชวังนัน้ จะทำจากน้ำมะพร้าวอ่อน ใส่เม็ดมะขามคัว่ จนต่อมาเมือ่ มีโรงงานทำน้ำแข็ง แต่ก็ยงั ถือเป็ นของชัน้ ดี โดยมีไอศกรีมระดับชาวบ้านทำเองด้วย ในช่วงแรก ๆ นัน้ ไอศกรีมกะทิม ี ลักษณะเป็ นน้ำแข็งละเอียดใส ๆ รสหวานไม่มาก และมีกลิน่ หอมของดอกนมแมว ในสมั ยนัน้ วิถีการกินของผูค้ นจะนิยม กินอาหารกันในเรือนแพ เหมือนที่สมัยนัน้ จะขายก๋วยเตีย๋ ว หรือกาแฟกันบนเรือ


9

ลัก

ษณะของไอศกรีมกะทิใส่ถว้ ยพร้อมโรยด้วยถัว่ ลิสงคัว่ ก็มมี าตัง้ แต่สมัยนัน้ ซึ่ง ต่อมาไอศกรีมกะทิก็มกี ารเปลีย่ นแปลงพัฒนาขึน้ จากกะทิใส ๆ ก็มคี วามเข้มข้น มีการใส่ลอดช่อง, เม็ดแมงลัก และขนุนฉีกเข้าไป โดยคนไทยได้ดดั แปลง ไอศกรีมของต่าง ชาติมาเป็ นไอติมกะทิ โดยใช้กะทิสดผสมกับน้ำตาลนำไปปั น่ ให้แข็ง เนือ้ ไอติมค่อนข้างใสเป็ น เกล็ดน้ำแข็งละเอียด เวลารับประทานต้องขูดไอติมออกจากขอบหม้อโลหะเมือ่ ไอติมเริ่มแข็งตัว ตอนขายตักใส่ถว้ ยเป็ นลูก ๆ เรียกไอติมตัก กินกับถัว่ ข้าวเหนียว หรือลูกชิด บางคนกินกับขนม ปั งที่หนั ่ เป็ นท่อน และมีรอยแยกเป็ นร่องอยูต่ รงกลาง

ส่วน

ไอศกรีมหลอด หรือไอศกรีมแท่งก็เกิดขึน้ ในสมัยรัชกาลที่ 7 โดยใช้นำ้ หวานใส่หลอดสังกะสีและเขย่าให้แข็ง และมีกา้ นไม้เสียบ โดยจะใส่ถงั ขับไปขายตามถนน สัน่ กระดิง่ เป็ นสัญญาณเพื่อเรียกลูกค้า นอกจากนีย้ งั มีจดุ ขายที่ การลุน้ ไอศกรีมฟรีจากไม้เสียบที่หากมีสีแดงป้ายอยูก่ ็จะได้กนิ ฟรีอีกหนึง่ แท่งด้วย ซึ่งไอศกรีมแบบ หลอดก็มกี ารพัฒนาจนมาเป็ นไอศกรีมโบราณที่มสี ว่ นผสมของนมโดยมีลกั ษณะเป็ นแท่งสี่เหลีย่ ม อาจทานเป็ นแท่ง หรือตัดใส่ถว้ ยรับประทานก็ได้ จากนัน้ มาก็เป็ นยุคของไอศกรีมแบบวัฒนธรรมตะวันตกแท้ ๆ จนถึงปั จจุบนั


10

Ice Cream

ไอศกรีมแบ่งเป็ น 5 ชนิด คือ 1. ไอศกรีมนม 2. ไอศกรีมดัดแปลง 3. ไอศกรีมผสม 4. ไอศกรีมหวานเย็น 5. ไอศกรีมเหลวหรือผงแห้ง


11 ไอศกรีมนม หมายถึง ไอศกรีมที่ทำขึน้ โดยใช้นม หรือผลิตภัณฑ์ที่ได้จากนมส่วน ไอศกรีม ดัดแปลง คือ ไอศกรีมที่ทำขึน้ โดยใช้ไขมันชนิด อื่นแทนมันเนยทัง้ หมด หรือ แต่บางส่วนหรืออาจทำ จากวัตถุดบิ อื่นที่ตามธรรมชาติมไี ขมันอยูแ่ ต่ไม่ใช่ นม เช่น ไอศกรีมที่ผสมน้ำมันปาล์ม หรือน้ำมันมะพร้าว ไอศกรีมกะทิ เป็ นต้น ส่วนไอศกรีมผสม คือ ไอศกรีมนม หรือไอศกรีมดัดแปลงที่มกี าร ผสมน้ำผลไม้ เนือ้ ผลไม้ ถัว่ ช็อกโกแลต และส่วนผสมอื่นๆ


ไอศ

12

กรีมหวานเย็นเป็ นไอศกรีมที่ไม่มสี ว่ น ผสม ของนม ซึ่งทำจากน้ำตาล แล้วเติมสี กลิน่ รส หรือน้ำผลไม้ โรงงานไอศกรีมส่วนใหญ่ในบ้านเรามัก ผลิต ไอศกรีมทัง้ 4 ประเภทจำหน่ายในท้องตลาด เนือ่ งจากกรรม วิธีการผลิตและอุปกรณ์การผลิตคล้ายคลึงกัน ส่วนไอศกรีมชนิดผงหรือเหลวนัน้ เป็ นส่วนผสมของสิ่งที่ตอ้ งใช้ใน การทำไอศกรีมชนิดต่างๆ ที่กล่าวมาโดยจำหน่ายในรูปของผง ซึ่งต้องนำ ไปเติมน้ำตามสัดส่วนที่กำหนด แล้วนำไปปั น่ ทำให้แข็งหรือแช่เย็นให้แข็งก่อนนำไปบริโภค หรืออาจจำหน่ายในรูปของเหลว ซึ่งนำไปปั น่ หรือแช่แข็งได้เลย ไอศกรีมชนิดนีอ้ าจเรียกว่า กึง่ สำเร็จรูป ซึ่งไม่คอ่ ยมีจำหน่ายแพร่หลายในบ้านเรานัก แม้ว่ากฎหมายได้กำหนดชนิด ไอศกรีมไว้ดงั กล่าวมาแล้ว แต่เท่าที่สงั เกตดูในท้อง ตลาดก็จะเห็นว่าผูผ้ ลิตยังนิยมที่จะระบุถึงชนิดของ ไอศกรีมว่าเป็ นนม หรือดัดแปลงมา กกว่าที่จะระบุว่าเป็ นไอศกรีมผสมเฉยๆ ตัวอย่างเช่น ไอศกรีมดัดแปลงผสมสตอเบอร์รี่ ซึ่งนับว่าเป็ นการดี เพราะทำให้ผบู้ ริโภคเข้าใจถึง ส่วนผสมโดยละเอียดมากขึน้


13

ส่วนผสมในไอศกรีม

1

. ไขมัน เป็ นส่วนประกอบสำคัญในไอศกรีมแทบทุกชนิด ยกเว้นชนิดหวานเย็น ปริมาณ ไขมันที่ระบุในไอศกรีมมีตงั้ แต่ ร้อยละ 2.0-8.9 โดยมีทงั้ ที่มาจากพืชและนม ไขมันเนย หรือไขมันจากนม นิยมเติมในไอศกรีมนม ส่วนไขมันพืชใช้เติมในไอศกรีมดัดแปลง และชนิดที่นยิ ม ได้แก่ น้ำมันมะพร้าวและน้ำมันปาล์ม ในกรณีนำ้ มันพืชอื่นๆ จำเป็ นต้องผ่าน กระบวนการที่ทำให้อิ่มตัว (hydrogenation) ก่อนที่จะนำไปใช้ น้ำมันพืชเหล่านี้ มักถูกระบุฉลากว่า น้ำมันพืชผ่านกรรมวิธีสาเหตุที่ นิยมใช้ไขมันพืชก็อาจเป็ นเพราะ ต้นทุนของไขมันพืชถูกกว่าไขมันเนย อย่าง ไรก็ตามไขมันในไอศกรีมทุกชนิดไม่ เหมาะกับผูท้ ี่กำลังควบคุมระดับ โคเล สเตอรอลในเลือด เพราะส่วนใหญ่เป็ นไขมันที่มคี วามอิ่มตัวสูง


2

. นมผงขาดมันเนย เป็ นส่วนประกอบที่นยิ มใช้เติมแทนนมสด เพราะการผลิตนมสด ในบ้านเรายังไม่เพียงพอ นมผงขาดมันเนยมีราคาถูกกว่าและยังเป็ นแหล่งของโปรตีน แคลเซียม และฟอสฟอรัส ในไอศกรีมผลพลอยได้อีกอย่างหนึง่ ก็คือ มีนำ้ ตาลแล็กโทศที่ปนอยู่ ในนมผงขาดมันเนยด้วย โปรตีนในนมผงขาดมันเนยยังช่วยทำให้ฟองอากาศในเนือ้ ไอศกรีมมีการ กระจาย ตัวอย่างสม่ำเสมอ และมีลกั ษณะเนียนน่ากิน อยากให้นกั กินไอศกรีมมีกากร สังเหตดูไอศกรีมที่ถกู ทิ้งให้ละลายนอกตูเ้ ย็นว่าปริมาต ร ลดลง และมีลกั ษณะเป็ น ฟองๆ เนือ่ งจากในกระบวนการผลิตไอศกรีมจะมีการเติมอากาศเข้า ไปด้วย เพื่อให้มี ลักษณะเนียนน่ากินและตักง่าย ไอศกรีมที่แพงๆ จากต่างประเทศบางยี่หอ้ จะตัก ยากเพราะมีฟองอากาศน้อยเกินไป ซึ่งก็ไม่ถือว่าเป็ นลักษณะที่ดี ปกติในไอศกรีมมีนมผงขาดมัน เนย ร้อยละ 4.5-6.8 เมือ่ พิจารณาปริมาณโปรตีนที่ได้รบั ประมาณร้อยละ 1.7-2.5 ซึ่งเมือ่ เทียบกับโปรตีนในนมที่ให้ถึงร้อยละ 3.2-3.4 ก็ยงั ถือว่าค่อนข้างต่ำ ส่วนน้ำตาลที่ได้จากนมผงขาด มันเนยมีปริมาณร้อยละ 2.3-3.4 ในไอศกรีมประเภท หวานเย็นไม่มกี ารเติมส่วนผสมอันนี้

14


15

3

. น้ำตาล เป็ นส่วนประกอบที่สำคัญของไอศกรีม เพราะให้รสหวานอันเป็ นที่ ปรารถนาของผูบ้ ริโภค โดยทัว่ ไปไอศกรีมมีการเติมน้ำตาลทรายในปริมาณ ร้อยละ 8.5-12.6 ซึ่งถ้ารวมกับน้ำตาลธรรมชาติในนมผงขาดมันเนยที่กล่าวมาแล้ว ด้วย ก็ทำให้ปริมาณน้ำตาลสูงถึงร้อยละ 11-16 ทีเดียว ส่วนในกรณีของไอศกรีม หวานเย็นมักเติมน้ำตาลถึงร้อยละ 20-22 ในไอศกรีมนมหรือดัดแปลงบาง ยี่หอ้ ก็ยงั มีการเติมแบะแซ (กลูโคสไซรัพ) หรือน้ำผึง้ เพิ่มเติมด้วย ซึ่งก็ถือว่าเป็ นคาร์โบไฮเดรตที่ให้พลังงาน เช่นเดียวกับน้ำตาล

4

. อื่นๆ คำว่า อื่น ในไอศกรีมแต่ละขนิดแต่ละรสชาติก็แตกต่างออกไป เช่น ในกรณีไอศกรีมนมและ ดัดแปลงตอ้งเติมสารอิมลั ซิไฟเออร์ (emulsifier) ซึ่ง เป็ นสารที่ชว่ ยให้นำ้ และไขมันรวมตัวกันดีจนมีลกั ษณะเนียน โดยปกตินยิ มใช้สารพวกโมโน (mono) และไดกลีเซอร์ไรด์ (di-glyceride) ไขมันและบางครัง้ ก็เติมโปรตีนหรือคาร์โบ ไฮเดรตบางชนิดเพื่อช่วยอุม้ น้ำไว้ เช่น เจลาติน (gelatin) คาร์ราจีแนน (carrageenan) แป้งข้าวโพด เป็ นต้น ในไอศกรีมทุกชนิดมีการเติมสารให้สี กลิน่ รส โดยเฉพาะไอสกรีมหวานเย็นนิยม ผลิตเป็ นรสชาติ ผลไม้ที่เปรี้ยว เช่น ส้ม องุน่ สตรอเบอรี่ จึงมีการเติมกรดมะนาว (citric acid) หรือกรดมะขาม (tartaric acid) ด้วย สิ่งอื่นๆ เช่น เนือ้ ผลไม้ น้ำผลไม้ เศษขนมปั งกรอบ


กรรมวิธีการผลิต

16

ปกติ

ส่วนผสมการทำ ไอศกรีมมักผ่านการฆ่าเชือ้ แบบพาสเจอร์ไรซ์ เพื่อทำลาย จุลนิ ทรียท์ ี่กอ่ ให้เกิดโรคก่อน แล้วจึงนำไปทำให้เย็นที่อณ ุ หภูมิ 0-5 องศาเซลเซียส หลังจากนัน้ (ในกรณีของไอศกรีมนมและดัดแปลง )ต้อง ทำการปั น่ ในเครื่องปั น่ ไอศกรีมซึ่งอุณหภูมใิ นระหว่างปั้ น จะต้องต่ำ มาก คือ -20 องศาเซลเซียสลงไป

เคล็ดลับ

สำหรับผูท้ ี่จะปั น่ กินเองต้องใช้ เกลือเม็ดผสมกับน้ำแข็งในส่วน 1 ต่อ 8 โดยน้ำหนักใส่ลงไปในถัง 2 ชัน้ สำหรับทำไอศกรีมก็จะได้ อุณหภูมทิ ี่ กำลังดีสำหรับทำไอศกรีม ส่วนไอศกรีมหวานเย็นจะผลิตได้ ง่าย กว่า เพราะองค์ประกอบ ส่วนใหญ่เป็ นน้ำ ทำให้แข็งตัวได้ที่อณ ุ หภูมซิ ึ่ง ไม่จำเป็ นต้องต่ำมากนัก ถ้าไอศกรีมได้ผา่ นการฆ่าเชือ้ ที่ถกู ต้องก่อนการ ผลิต และจำหน่ายในตูเ้ ย็น , สถานที่ซึ่งสะอาด ไอศกรีมก็ไม่นา่ ทำให้เกิ ดท้องเสียได้อย่างที่ผใู้ หญ่ หลายๆ คนกลัวกัน


17

พยายามให้ไอศกรีมเป็ นขนมเท่านัน้ เมือ่ ได้เห็นส่วนผสมของไอศกรีมแล้วก็ตอ้ งอุทานว่า แหม! อ้วน เพราะไอศกรีมนม ไอศกรีมดัดแปลงและไอศกรีมผสมมีปริมาณไขมันและน้ำตาลในปริมาณสูง มาก ส่วนไอศกรีมหวานเย็นถึงแม้จะไม่มไี ขมันแต่ก็มนี ำ้ ตาลสูงพอๆ กับน้ำหวานประเภทที่ชงหวาน เจี๊ยบทีเดียว แม้ว่าไอศกรีม 3 ประเภทแรก จะไม่มโี ปรตีนจากนม อย่างไรก็ตาม เมือ่ พิจารณาโปรตีนแล้ว ก็ยงั ต่ำกว่านมสดมาก ดังนัน้ จึงอยากจะแนะนำว่าผูป้ กครองไม่ควรให้เด็กๆ กินไอศกรีมแทนนม เพราะจะได้รบั โปรตีนต่ำกว่า ขณะเดียวกันจะได้รบั น้ำตาลและไขมันในปริมาณที่สงู ทำให้เด็กๆ อิ่มเร็ว และกินอาหารอื่นๆ ไม่ได้ ส่วนผูใ้ หญ่ที่ตอ้ งการลดน้ำหนักหรือลดไขมันก็คงต้องจำกัดไว้หน่อย แม้แต่ชนิดที่ไม่มไี ขมันก็ตาม อย่างไรก็ตามก็ยงั อยากสรุปว่า ไอศกรีมโดยเฉพาะไอศกรีมนม ไอศกรีมดัดแปลง และไอศกรีมผสม เป็ นขนมที่มคี ณ ุ ค่ามากกว่าขนมอีกหลายๆ ประเภทในท้องตลาด และยังให้ความสดชืน่ อีกด้วย แต่ตอ้ งอย่าใช้ไอศกรีมไปแทนมือ้ อาหารสำหรับ เด็ก และอย่ากินบ่อยเกินไปนักสำหรับผูท้ ี่มปี ั ญหาเรื่องอ้วน และ ไขมัน


สดชืน่ คลายร้อน ไปกับไอศกรีมกะทิสตู รโบราณ ตอนนีไ้ ม่ว่าจะเดินไปทางไหน ก็เจอแต่ไอร้อนที่พวยพุง่ ขึน้ จ ากพื้นดิน ยังนับไม่รวมแสงแดดในช่วงกลางวันที่รอ้ นจนทำให้ หลาย คน แทบจะเป็ นลมกันเลยทีเดียว ทางกระปุกดอทคอมจึง นำเมนูไอศกรีมเย็น ๆ รสชาติกลมกล่อมแบบไทย ๆ มาฝากกัน นัน่ คือ ไอศกรีมกะทิสตู รโบราณ ซึ่งสูตรนีไ้ ม่ตอ้ งใส่นม หรือใส่ครีม ก็อร่อยล้ำ เย็นฉ่ำ ชืน่ ใจกันได้งา่ ย ๆ แต่กอ่ นอื่นต้องขอขอบคุณ คุณ narellan ที่นำวิธีทำสุดแสนจะง่ายนีม้ า แบ่งปั นกัน .... เอาล่ะ อย่ารอช้า เรามาดู ขัน้ ตอนการทำไอศกรีมกะทิกนั เลยดีกว่า

18


ส่วนผสม 1. กะทิกล่อง หรือกะทิกระป๋ องสูตรเข้มข้น ขนาด 560 มิลลิลติ ร 2. น้ำตาลทราย 1 ถ้วย 3. เกลือ 3 ส่วน 4 ช้อนชา 4. ไข่ไก่ 1 ฟอง 5. เนือ้ มะพร้าวอ่อนขูดเป็ นเส้น (มีหรือไม่มกี ็ได้)

19

Ice Cream


20

วิธีทำ 1. เทกะทิทงั้ หมด ผสมกับน้ำเปล่า 2 ถ้วย หรือถ้ามีนำ้ มะพร้าว ก็ให้ใช้นำ้ มะพร้าว กับน้ำเปล่าอย่างละ 1 ถ้วย เพื่อเพิ่มความหอมหวานข องกะทิมากขึน้ 2. นำกะทิไปตัง้ ไฟ แล้วค่อย ๆ เทน้ำตาลทรายผสมลงไป จากนัน้ คนให้เข้ากันจนกะทิเดือด 3. นำกะทิมาพักให้เย็น จากนัน้ เทใส่ภาชนะที่เหมาะกับการแช่เย็น

4. นำภาชนะดังกล่าวไปแช่ในช่องแข็ง จนกะทิเริ่มแข็งตัว 5. ในการแช่กะทิ ให้สงั เกตุว่ากะทิเริ่มเป็ นเกล็ดหรือยั ง หากเริ่มเย็นจนเป็ นเกล็ดแล้ว สามารถนำออกจากตูเ้ ย็น โดยไม่ตอ้ งรอให้กลายเป็ นน้ำแข็ง ซึ่งขัน้ ตอนนีอ้ าจใช้เวลานา นพอสมควร 6.นำกะทิดงั กล่าวมาปั น่ หากไม่มเี ครื่องปั น่ สำหรับทำไอศกรี ม สามารถใช้เครื่องปั น่ น้ำผลไม้ธรรมดาแทนได้คะ่


21

Ice Cream


Ice

22

Cream


23


Ice cream


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.