โ ลก ของ พื ช
สารบัญ เรื่ อง เซลล์พืช ? พืชเกิดขึ้นอย่างไรนะ จากเมล็ดกลายเป็ นต้นพืช เมล็ดประกอบต้วย พืชแบ่งเป็ น 2 ประเภท พืชใบเลี้ยงเดี่ยว พืชใบเลี้ยงคู่
หน้า 4 6 8 9 10 10 11
เรื่ อง
หน้า
ต้นไม้ประกอบด้วยอะไรบ้างนะ
12
ใบ
13
ลำต้น
16
ผล
18
ราก
24 27
ดอก
4
เ ซ ล ล์ พื ช
?
โครงสร้ างพืน้ ฐานของสิ่ งมีชีวติ เช่ นเดียวกับโมเลกุลเป็ นหน่ วยพืน้ ฐานข อง สารเคมี สามารถแบ่ งเซลล์ พชื เป็ น 2 ส่ วนใหญ่ ๆ คือผนังเซลล์ (Cell wall) และโปรโตพลาสต์ (Protoplast) ซึ่งประกอบด้ วยนิวเคลียส (Nucleus) และไซโตพลาสต์ (Cytoplasm) ภายใน ไซโตพลาสต์ มอี วัยวะภายในเซลล์ หลายชนิด (Cell organelles) และเซลล์ พชื ทีเ่ จริญเต็มทีแ่ ล้ วมักมีแวคคิวโอ (Vacuole) ใหญ่ ขนาดและรู ปร่ างของ ผนังเซลล์ จะแตกต่ างกันไปตามชนิดและหน้ าทีข่ องเซลล์ น้ัน ส่ วนประกอบทางเคมีทสี่ ำคัญของเซลล์ คือ น้ ำประมาณ 80-95 เปอร์ เซ็นต์ ของ น้ ำหนักสดทีเ่ หลือเป็ นโปรตีน กรดนิวคลีอคิ (Nucleic acid) โพลีแซคคาไรด์ (Polysaccharides) และไขมัน ซึ่งมีธาตุคาร์ บอนเป็ นองค์ ประกอบมากทีส่ ุ ด นอกจากนั้นมีธาตุไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส กำมะถัน โปแตสเซียม แมกนีเซียม และคลอรีน เป็ นต้ น สามารถแบ่ งเซลล์ พชื เป็ นกลุ่มใหญ่ ๆ
5
ส่ วนประกอบของเซลล์ พชื ทัว่ ๆ ไป 1. ผนังเซลล์ มีหน้ าทีใ่ ห้ ความแข็งแรงและป้องกันส่ วนทีอ่ ยู่ภายในของเซลล์ คงรู ปอยู่ได้ จะพบผนัง เซลล์ ได้ เฉพาะในเซลล์ ของพืชเท่ านั้น 2. เยือ่ หุ้มเซลล์ มีลกั ษณะเป็ นเยือ่ บาง ๆ อยู่ถดั จากผนังเซลล์ เข้ าไปมีหน้ าทีค่ วบคุมน้ ำ แล ะสารละลายทีอ่ ยู่ในเซลล์ ให้ ผ่านออกจากเซลล์ หรือรับเข้ ามาจากเซลล์ ข้างเคียง 3. ไซโทพลาซึม เป็ นส่ วนทีม่ สี ่ วนประกอบต่ าง ๆ ของเซลล์ อยู่ เช่ น แวคิวโอล คลอโรพลาสต์ รวมทั้งสารอาหาร เช่ น น้ ำตาล แป้ ง โปรตีน ไขมัน และของเสี ย 4. นิวเคลียส เป็ นก้ อนกลม มีหน้ าทีส่ ร้ างสาร โปรตีน และควบคุมการทำงานของเซลล์ และมีโครโมโซน ซึ่งทำหน้ าทีถ่ ่ ายถอดลักษณะทางพันธุ์จากพ่ อแม่ ไปยังรุ่นลูกหลาน
6
พืชเกิดขึ้นอย่างไรนะ
?
7
ต้นไม้เกิดจากเมล็ดพืชเม็ดเล็กๆ ตกอยู่ในดินเมื่อมีน้ำและอุณหภูมิที่ พอเหมาะ เม ล็ดพืชก็จะค่อยๆงอกรากและลำต้นออกมา และค่อยๆ โตขึ้นจนกลายเป็นต้นไม้ใหญ่ในที่ สุดเมล็ดแต่ละชนิดจะมีรูปร่าง ลักษณะ ขนาดที่แตกต่างกันออกไปแต่จะมีส่วนประกอบ หลักเหมือนกัน คือ เปลือกหุ้มเมล็ด เอ็มบริโอ และเอนโดสเปิร์ม
8
จากเม็ด กลาย เป็นต้นพืช 1. เปลือกหุม้ เมล็ด (seed coat) มีลกั ษณะเป็ นเนื้อเยือ่ 2 ชั้น คือ ชั้นนอกปกติจะหนา แข็ง และเหนียว ส่ วนชั้นในมักจะเป็ นเยือ่ บางๆ เมล็ดพืชบางชนิดเปลือกทั้งสองชั้นนี้อาจจะหลอมรวมกันเป็ นชั้นเดียว เปลื อกหุม้ เมล็ดทำหน้าที่ป้องกันอันตรายต่างๆ และป้ องกันการคายน้ำด้วย ที่ผวิ ของเปลือกจะมีรอยแผลเล็กๆ ซึ่ งเกิดจากส่ วนของเมล็ด เรี ยกรอยแผลเป็ นนี(ว่า ไฮลัม (hilum) ใกล้ๆ ไฮลัมจะมีรูเล็กๆ เรี ยกว่า ไมโครไพล์ ซึ่ งเป็ นทางเข้าของหลอดละอองเรณู (pollen tube) นัน่ เอง
2. เอ็มบริโอ (embryo) เป็ นส่ วนทีจ่ ะเจริญไปเป็ นต้ นพืชประกอบด้ วยส่ วนต่ างๆ ดังนี้ ใบเลีย้ ง (cotyledon) เมล็ดพืชใบเลีย้ งคู่จะมี 2 ใ บส่ วนเมล็ดพืชใบเลีย้ งเดีย่ วจะมีใบเดียว เอพิคอทิล (epicotyl) คือ ส่ วนทีอ่ ยู่เหนือตำแห น่ งทีต่ ดิ กับใบเลีย้ ง ส่ วนนีเ้ มือ่ เจริญเติบโตต่ อไป จะเป็ นลำต้ น ใบ และดอก ไฮโพคอทิล (hypocotyl) คือ ส่ วนทีอ่ ยู่ระหว่ างต ำแหน่ งทีต่ ดิ กับใบเลีย้ งกับตำแหน่ งทีจ่ ะเจริญไปเ ป็ นรากไฮโพคอทิลเมือ่ เจริญเติบโตต่ อไปจะเป็ น
ส่ วนหนึ่งของลำต้ น แรดิเคิล (radicle) คือส่ วนล่ างสุ ดของเอ็มบริโออยู่ต่อ จากไฮโพคอทิลลงมา ต่ อไปจะเจริญเป็ นราก 3. เอนโดสเปิ ร์ ม (endosperm) เป็ น เนือ้ เยือ่ ทีม่ อี าห ารสะสมไว้ สำหรับการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอ อ าหารทีส่ ะสมไว้ ส่วนใหญ่ เป็ นอาหารประเภทแป้ง มีโปรและไขมันบ้ าง เมล็ดพืชใบเลีย้ งคู่ส่วนใหญ่ ไม่ มสี ่ วนของเอนโดสเปิ ร์ มเหลือให้ เห็นอยู่เลย ทั้งนี้ เพราะใน ระหว่ างการเจริญเติบโตของเอ็มบริโออาหารจะถูกเก็บ ไว้ ภายในใบเลีย้ ง เมล็ดพืชใบเลีย้ งคู่บางชนิด
9
เมล็ดประกอบด้วย
10
พชื แ บ่ ง เป็ น 2 พืชใบเลี้ยงเดี่ยว โครงสร้างของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
ป ระ เภ ท
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมีใบอ่อนที่ใบเลี้ยงเพียงใบเดียวเท่านั้นส่ วนใหญ่จะเป็ นพืชตระกูลพืชล้มลุก ลักษณะของใบจะมีเส้ นใบขนานขอบของใบเรี ยว กลีบดอกจะมี 3 หรื อ 3 ทวีคุณ ลำต้นจะมีขนาดเล็ก เป็ นปล้อง และจะไม่เพิ่มความหนามาก ขึ้นมากนัก ระบบการจัดเรี ยงท่อน้ำและท่อลำเลียงอาหารภา ยในลำต้นจะอยูอ่ ย่างกระจัดกระจายไม่เป็ นระเบียบ และเมล็ ดที่สุกของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมีส่วนที่สะสมอาหาร พืชใบเลี้ยงเดี่ยวชนิดต่างๆ พืช ตระกูลหญ้า (The gramnae) พืชตระกูลหญ้ามีท้ ั งที่ข้ ึนเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์ปลูกเพื่อเป็ นอาหาร ส่ ว นที่เป็ นทัลลัสและตาของต้นหญ้าจะอยูร่ ะดับผิวดิน ดอกขอ งมันไม่ได้ดูสวยงามสะดุดตาเหมือนพืชใบเลี้ยงคู่ แต่ส่วนที่เ ป็ นประโยชน์มากจะอยูท่ ี่เมล็ด เช่นพวกธัญพืชต่างๆ พืชจำพวกกก อ้อ หรื อแฝก จะเป็ นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ที่ข้ ึนตามหนองน้ำหรื อที่ที่มีนำ้ แฉะ มีเหง้าอยูใ่ ต้ดินจึงเป็ น พืชหลายปี สมัยก่อนมีการนำไส้ของพืชตระกูลนี้มาทำเป็ น กระดาษ พืชจำพวก ไอริ ส อากาเว่ และหัวหอม เป็ นพืชใบ เลี้ ย งเดี่ ย วที่ มี ก ารปรั บ ตัว ให้อ ยู่ร อดในสภาพแวดล้อ มที่ แห้งแล้งโดยการแปลงรู ป เป็ นหัว หรื อเหง้า อยูใ่ ต้ดิน เป็ นพืชที่มีดอกสวยงาม - พืชจำพวกปาล์ม เป็ นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวในไม่กี่ชนิดที่เป็ นไม้ยนื ต้น ลำต้นจะเจริ ญแต่ทางส่ วนสู งแต่ขนาดของต้นจะ ไม่เพิ่มมากนัก มะพร้าวก็เป็ นปาล์มขนิดหนึ่ง ซึ่งเป็ นพืชที่มี ประโยชน์กบั มนุษย์ โดยสามารถนำส่ วนต่างๆเกือบทั้งหมด ของมะพร้าวมาใช้ประโยชน์ได้
11
พืชใบเลี้ยงคู่ พืชใบเลี้ยงคู่จะมีตน้ อ่อนที่มีจำนวนใบเลี้ยงสองใบพบทั้งพืชที่เป็ นพืชล้มลุกและไม้เนื้อแข็งลักษณะของใบจะเป็ นเส้ นเป็ นร่ างแห กลีบดอกจะมี 4-5 กลีบ หรื อ 4-5 กลีบทวีคูณ ขนาดของลำตันจะใหญ่และหนา ระบบรากจะเป็ นระบบรากแก้ว กา รจัดเรี ยงของท่อลำเลียงน้ำและอาหารภายในลำต้นมีการจัดเรี ยงที่เป็ นระเบียบ และเมล็ดที่สุกแก่น้ นั จะมีส่วนที่สะสมอาหาร พืช ใบเลี้ยงคู่มกั มีดอกสมบูรณ์เพศ คือมีท้ งั เกสรตัวผูแ้ ละเกสรตัวเมียอยูใ่ นดอกเดียวกัน ซึ่งคุณสมบัติน้ ีจะช่วยส่ งเสริ มในการถ่ายล ะอองเรณู และการผสมพันธุ์ในตัวเอง
โครงสร้างของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว พืชใบเลี้ยงคู่ชนิดต่างๆ - ไม้ผลัดใบ (Deciduous plants)คือต้นไม้ที่ผลัดใ บร่ วงจากลำต้นในฤดูใบไม้ร่วงและจะแตกใบอ่อ นใหม่ในฤดูใบไม้ผลิ ใบมักจะมีลกั ษณะนุ่ม แบน และค่อนข้างใหญ่ และมีคิวดินเคลือบอยูบ่ างๆ พื ชผลัด ใบทั่ว ไปจะเติ บ โตทั้ง สู ง และลำต้น ใหญ่ เช่นเดียวกับพวกสน - พืชผักและผลไม้ (Vegetable plant and fruit trees) พืชส่ วนใหญ่ในกลุ่มพืชผัก ไม้ผล เป็ นพืชใบเลี้ยงคู่ บางชนิ ดเช่นถัว่ เมล็ดเล็กและถัว่ เมล็ดแบนจะงอกไ ด้รวดเร็ วมากในสภาพอากาศที่เหมาะสม และเมื่อง อกแล้วจะสังเกตเห็นใบเลี้ยงคู่ของต้นอ่อนได้อย่าง ชัดเจน - ดอกไม้และพืชตระกูลถัว่ (Attractive flowers and leguminous plants) พืชตระกูลหญ้าทั้งหมด
12
ต้นไม้ประกอบด้ยอะไรบ้าง นะ !
ส่ วนต่างๆของพืช ซึ่งมีรูปร่ างและหน้าที่ที่แตกต่างกัน นักพฤกศาสตร์ และนักวิจยั ใช้ความแตกต่าง ของรู ปร่ าง รู ปทรง ขนาด และหน้าที่ของส่ วนประกอบต่างๆในการจำแนกพืชออกเป็ นกลุ่ม
13
ใบ ใบหรือใบแท้ (foliage leaf) เป็ นใบทีม่ คี ลอโรฟิ ลล์ ทำหน้ า ที่ สั ง เคราะห์ แ สงคายน้ ำ และหายใจ ประกอบด้ วยส่ วนสำคัญ 2 ส่ วนคือ แผ่ นใบ (blade หรือ lamina) และ ก้ านใบ (petiole หรือ leaf stalk) นอกจากนีพ้ ชื บางชนิดอาจมีหูใบ(sti pule) อยู่ข้างก้ านใบ แผ่ นใบประกอบด้ วยเส้ นใบ (vein) ซึ่งเป็ นกลุ่มเนือ้ เยือ่ ท่ อลำเลียง (vascular tissue) ทำหน้ าทีล่ ำเลียงธาตุอาหาร น้ ำ และช่ วยให้ แผ่ นใบคงรู ปอยู่ได้
ชนิดของใบ ใบเดีย่ ว (simple) คือใบทีม่ แี ผ่ นใบเพียงแผ่ นเดียวบนก้ า นใบทีแ่ ตกออกจากกิง่ หรือลำต้ น
ใบประกอบ (compound leaf) คือใบทีม่ ใี บย่ อย (leaflet) มากกว่ าหนึ่งใบบนก้ านใบ
14
การเรียงตัวของใบ
การเรียงของใบ (Leaf Arrangement) •การเรี ยงใบแบบสลับ (alternate) การเรี ยงใบกับลำต้นแบบสลับและไม่ได้อยูใ่ นระนาบเดียวกัน •การเรี ยงใบสลับระนาบเดียว (alternate distichous) การเรี ยงใบกับลำต้นเรี ยงออกเป็ นสองแถว ทำมุม 180 องศาระหว่างแถว •การเรี ยงใบแบบตรงข้าม (opposite) การเรี ยงใบสองใบที่ออกจากข้อของลำต้นหรื อกิ่งเป็ นคู่ๆทำมุมประมา ณ 180 องศา •การเรี ยงใบแบบตรงข้ามสลับตั้งฉาก (opposite decussate) การเรี ยงใบสองใบที่ออกจากข้อของลำต้นหรื อกิ่ง เป็ นคู่ๆ และแต่ละคู่เรี ยงทำมุมประมาณ 90 องศากับคู่ถดั ไป เช่น เข็ม •การเรี ยงใบแบบกระจุก (fascicled) การเรี ยงใบแบบเป็ นมัด เช่น สนสองใบ สนสามใบ •การเรี ยงใบคล้ายแบบกระจุก (clusterd) การเรี ยงใบแน่นเป็ นกลุ่ม •การเรี ยงใบแบบวงรอบ (whorl, verticillate) การเรี ยงใบตั้งแต่สามใบขึ้นไปในข้อเดียวกัน เช่น สัตตบรรณ ยีโ่ ถ •การเรี ยงใบกระจุกแบบกุหลาบซ้อน (rosette) การเรี ยงใบแบบกระจุกที่เกิดขึ้นใกล้รอยต่อระหว่างลำต้นและ ราก
15
ใบเปลี่ยนแปลงไปทำหน้าที่พิเศษ (Modified Leaf)
ใบเปลี่ยนแปลงไปทำหน้าที่พิเศษ (Modified Leaf) •ใบมือเกาะ (leaf tendrils) ใบ ใบย่อย หรื อบางส่ วนของใบที่เ ปลี่ยนแปลงไปทำหน้าที่ยดึ เกาะ เช่น ใบพวงแสด ใบหวายลิง •ใบหนาม(spi nosel eaf)ใบที่ เปลี่ ยนแปลงไปเพื่ อ ท ำ ห น้ า ที่ ป้ อ ง กั น อั น ต ร า ย แ ล ะ ล ด ก า ร ค า ย น้ ำ เ ช่ น ใบกระบองเพชรที่ลดรู ปเป็ นหนาม •ใบกินแมลง (insectivorous leaf) ใบที่เปลี่ยนแปลงไปทำหน้ าที่จบั แมลงหรื อสัตว์เล็กๆ เพื่อนำสารอาหารที่ได้มาใช้ในการ ดำรงชีวติ เช่น ใบหม้อข้าวหม้อแกงลิง •ใบสะสมอาหาร(storageleaf)ใบที่ หนาและอวบ ทำหน้าที่เก็บสะสมอาหารหรื อน้ำ เช่น ใบกุหลาบหิ น หอม กระเทียม •ใบขยายพันธุ์ (reproductive leaf) ใบที่เปลี่ยนแปลงไปช่วยใ นการขยายพันธุ์ เช่น ใบคว่ำตายหงายเป็ น
16
ลำต้น ลำต้นบนดิน (Aerial Stems) ลำต้นคล้ายใบ (Phylloclade) ส่ วนของลำต้นที่ แผ่แบนคล้ายใบและมี คลอโรฟิ ลล์ เช่น ต้นกระถินณรงค์ กระถินเทพา สลัดได ส่ วนลำต้นสังเคราะห์แสง (photosynthetic stem) เป็ นลำต้ น ที่ มี ค ลอโรฟิ ลล์ สั ง เคราะห์ แ สงได้ เช่นลำต้นพญาไร้ใบ กระบองเพชร
มือพัน (Tendrill Stem ) ส่ วนของลำต้นที่ทำหน้าที่ยดึ เกาะ หรื อบางส่ วนของลำต้ นเปลี่ยนแปลงไปทำหน้าที่ยดึ เกาะ เช่น ลำต้นองุ่น กลอย ฟักทอง ตำลึง
ไหล (Stolon หรื อ Runner) ลำต้นที่ทอดเลื้อย มีความยาวของปล้องมาก มักมีร ากงอกออกมาตามข้อและเกิดต้น ใหม่ จึงเป็ นลำต้นที่ช่วยในการข ยายพันธุ์ดว้ ย เช่น ลำต้นบัวหลวง ว่านเศรษฐีเรื อนใน สตรอเบอร์รี่ ผักบุง้
17
ลำต้นใต้ดิน (Underground or Subterranean Stems) หัวแบบมันฝรั่ง (Tuber) ลำต้น ใต้ดิ น ที่ เ กิ ด จากส่ ว นปลายของกิ่ ง ที่ อยู่ใต้ดินพองออกทำหน้าที่ สะสมอาห ารจึ ง มี ล ัก ษณะอวบอ้ว นมี ข ้อ และปล้อ ง ไม่ชดั เจน บริ เวณข้อไม่มีใบเกล็ด (scale leaf) ห่อหุม้ ตาและไม่มีราก เช่น มันฝรั่ง มันมือเสื อ
เหง้า (Rhizome) ลำต้นใต้ดินที่ทอดนอนขนานไปกับผิวดินมี ข้อและปล้องที่ชดั เจน มีเกล็ดใบ (Scale leaf) คลุมที่ขอ้ มีรากและตาเกิดบริ เวณข้อเช่น ลำต้นขิง ข่า กล้วย
หัวแบบเผือก (Corm) ลำต้นใต้ดินเจริ ญในแนวตั้ง ส่ วนมากกลม มีขอ้ ปล้องและตาชัดเจน แต่ปล้องมีขนาดสั้น อาจมีใบเกล็ด (scale leaf) ห่อหุม้ ตา เช่น ลำต้นเผือก แห้ว
หัวแบบหอม (Bulb) ลำต้นใต้ดินตั้งตรงรู ปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก สั้น ลำต้นมีกา้ นใบมาห่อหุม้ ใบสะสมอาหาร เช่น ลำต้นหอม กระเทียม ว่านสี่ ทิศ
18
ผล ผล (Fruits) คือรังไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิ(fertilization)แล้วเจริ ญเติบโตเต็มที่อาจมีบางส่ วนของดอกเจริ ญมาด้ว ย เช่น ฐานรองดอก กลีบเลี้ยง ภายในมีเมล็ดหรื อไม่มีกไ็ ด้ สำหรับผลที่เกิดจากรังไข่ที่ไม่ได้รับกา รปฏิสนธิ และไม่มีเมล็ด เรี ยกว่า ผลลม (parthenocarpic fruit)
โครงสร้างของผล (Structure of Fruit)
โครงสร้างของผลส่ วนมากประกอบด้วย ผนังผล (pericarp) และเมล็ด (seed) ผนังผล คือส่ วนที่เจริ ญเปลี่ยนแปลงมาจากรังไข่ มี 3 ชั้น ได้แก่ ผนังผลชั้นนอก ผนังผลชั้นกลาง ผนังผลชั้นใน ผนังชั้นใน (Endocarp) ผนังชั้นใน มีท้ งั อ่อนนุ่มเช่น ส้ม และมีลกั ษณะแข็งเช่น มะม่วง มะพร้าว ผนังชั้นกลาง (Mesocarp) ผนังชั้นนี้มกั นุ่ม เช่น มะม่วง มะละกอ ผลบางชนิดมีผนังชั้นกลางเป็ นเส้ นใยเหนียว เช่น มะพร้าว ตาล จาก ผนังชั้นนอก (Exocarp) ชั้นผิวนอกสุ ดของผล ชั้นนี้ในผลบางชนิดมีผวิ ชั้นนอกบางหรื ออ่อนเช่น ผลองุ่น ชมพู่ มะม่วง ผลบางชนิดผิวชั้นนอกแข็งและเหนียว เช่นมะพร้าว ฟักทอง เมล็ด (Seed) คือออวุลที่ได้รับการปฏิสนธิและเจริ ญเติบโตเต็มที่ ประกอบด้วย เปลือกเมล็ด มี 2 ชั้น คือ ชั้นนอก และชั้นใน เอนโดสเปิ ร์ม และเอ็มบริ โอ
19
ประเภทของผล (Classification of Fruits) ผลเดี่ยวSimpleFruit ชนิดของผลที่เกิดจากดอกเดียว เกสรเพศเ มียมีหนึ่งหรื อหลายคาร์เพลที่เชื่อมติดกัน เช่น ผลแตงโม มะละกอ ส้ม มะม่วง ผลกลุ่ม (Aggregate Fruit) ชนิดของ ผลที่เกิดจากดอกเดียวแต่มีหลายคาร์เ พล และแต่ละคาร์เพลแยกจากกัน ซึ่ง แต่ละคาร์เพลนี้จะเจริ ญไปเป็ นผลย่อ ย เช่น ผลน้อยหน่า การเวก จำปี จำปา สตรอเบอร์รี่
ผลรวม (Multiple Fruit) ชนิดของผลที่เกิดจากดอกย่อยหลายๆ ดอกใน ช่อดอกเดียวกันเจริ ญเชื่อมติดกันเป็ นผลเดียว เช่นผลขนุน สับปะรด ยอ ผลแบบมะเดื่อ (syconium) ผลรวมที่ขา้ งในผลกลวงซึ่ งเป็ นผลที่เจริ ญมาจากช่อดอกที่มีฐานรอดอกรู ปถ้วย (hypanthium) ภายในประกอบด้วยดอกย่อยมีขนาดเล็ก ไม่มีกลีบดอก และแยกเพศภายในช่อดอกมีช่องเปิ ดขนา ดเล็ก (ostiolum) ให้แมลงขนาดเล็กเข้าไปช่วยการผสมเ กสร ได้แก่ ไทร มะเดื่อ กร่ าง
20
ชนิดของผล ผลมีเนื้อสด (Fleshy Fruit) คือผลที่แก่แล้วมีผนังผลสดไม่แห้ง แบ่งออกเป็ น ผลเมล็ดเดียวแข็ง (Drupe) ผลสดที่มีเมล็ดเดียว ผนังชั้นกลางเป็ นเนื้อหนาอ่อ นนุ่ม ผนังชั้นในแข็งมาก ได้แก่พทุ รา มะม่วง
ผลแบบมีเนื้อหลายเมล็ด (Berry) ผลสดที่มีเมล็ดหลายเม็ลด เนื้อผลอ่อนนุ่ม ผนังชั้น นอกที่เป็ นเปลือกมีลกั ษณะอ่อนนุ่ม เช่นเดียวกัน ได้แก่มะละกอ มะเขือเทศ
ผลแบบส้ม (Hesperidium) ผลที่ผนังชั้นนอกมีต่อมน้ำมันจำนวนมาก ผนังชั้นกลาง อ่อนนุ่มคล้ายฟองน้ำสี ขาว ผนังชั้นในมีลกั ษณะเป็ นเยือ่ บาง และมีบางส่ วนของชั้ นนี้แปรรู ปเป็ นถุงน้ำเพื่อสะสมน้ำตาล และกรดมะนาว ได้แก่ ส้ม มะนาว
ผลแบบแตง (Pepo) ผลที่เจริ ญมาจากรังไข่ใต้วงกลีบผนังชั้นนอกแข็งแ ละหนา ผนังชั้นกลางและผนังชั้นในหนาอ่อนนุ่ม ได้แก่ แตงโม แตงกวา น้ำเต้า
21
ผลแห้ง (Dry Fruit) คือผลที่แก่แล้วผนังผลแข็งและแห้ง แบ่งออกเป็ น 2ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ ผลแห้งแก่ไม่แตก (dry indehiscent fruit) และผลแห้งแก่แตก (dry dehiscent fruit) ผลแห้งแก่ไม่แตก (Dry Indehiscent Fruit) แบ่งออกเป็ น
ผลแห้งเมล็ดติดหรื อผลแบบธัญพืช (Caryopsis or Grain) ผลเดี่ยวหนึ่งเมล็ด เปลือกแข็งและเชื่อมติดแน่นกับเปลือกเมล็ดหุม้ เช่นข้าว ผลเปลือกแข็งมีกาบรู ปถ้วย (Acorn) ผลคล้ายผลเปลือกแข็งเมล็ดเดียว แต่มีกาบหุม้ ผล (cupule) ทั้งหมดหรื อบางส่ วน เช่นผลเกาลัด ก่อชนิดต่างๆ
ผลแห้งเมล็ดอ่อน (Achene) ผลขนาดเล็ก ผนังผลแห้งและบาง มี 1 เมล็ด ผนังผลกับเปลือกหุม้ เมล็ดแยกกัน ส่ วนมากมีฐานรองดอกขนาดใหญเช่น บัวหลวง ถ้าผลเกิดจากรังไข่ใต้วงกลีบ และมีขนที่ปลายเมล็ด เรี ยกว่าผลแห้งเมล็ดล่อนปลายมีขน (cypsela) เช่นผลของทานตะวัน
22
ผลเปลือกแห้งเมล็ดเดียว (Nut) ผลที่มีเปลือกแข็งและผิวมัน เป็ นผลที่เกิดจากรังไข่ที่มีหลายคาร์เพลเชื่อมกันแต่มีเมล็ดเดียว เช่น ผลมะพร้าว กระจับ มะม่วงหิ มพานต์
ผลแบบปี กเดียว (Samara) ผลที่มีผนังผลชั้นนอกเจริ ญยืน่ ออกมาเป็ นปี ก อาจมีปีกเดียวหรื อมากกว่า เช่นผลประดู่ ก่วม หรื อผลคล้ายผลปี กเดียว (samaroid) มีกลีบเลี้ยงเจริ ญไปเป็ นปี ก เช่น ผลยางนา เหี ยง พะยอม รักใหญ่
ผลแยกแล้วแตก (Schizocarp) ผลที่ เ จริ ญมาจากรั ง ไข่ ที่ มี ห ลายคาร์ เพลเชื่ อม กั น เมื่ อ รั ง ไข่ เ จริ ญเต็ ม ที่ แ ล้ ว คาร์ เ พลจะแยกกั น แต่ละคาร์เพลเรี ยก ซี กผลแบบผักชี (mericarp) ซึ่ งภายในมี 1 เมล็ด เช่น ผลผักชี ครอบจักรวาล
23
ผลแห้งแก่แตก (Dry Dehiscent Fruit) แบ่งเป็ น ฝักแตกแนวเดียว (Follicle) ผลที่เกิดจากดอกที่มีคาร์เพลเดี ยวหรื อหลายคาร์เพลที่แยกกัน เมื่อผลแก่จะแตกเพียงตะเข็บเดียว เช่น ผลจำปี จำปา
ผลแตกแบบผักกาด (Silique) ผลที่เกิดจากรังไข่ที่มี 2 คาร์เพล เมื่อผลแก่ผนังผลแตก ตามยาวจากด้านล่างไปยังด้านบนแบ่งออกเป็ นสองซี ก เมล็ดติดอยูแ่ นวกลางของผล (central false septum) เช่นผลผักกาดนก ผักเสี้ ยน
ผลแบบฝักหักข้อ (loment, lomentum) ผลคล้า ยผลแบบถั่ว แต่ มี ร อยคอดรอบฝั ก เป็ นช่ วงๆหรื อเว้าเป็ นข้อๆ เมื่อผลแก่จะหักบริ เวณนี้ แต่ละข้อมี 1 เมล็ด เช่นผลไมยราพ คูน
ฝักแบบถัว่ Legume ผลที่เกิดจากดอกที่มีคาร์เพลเดียวเมื่อผลแก่จะแตกออก ตามแนวตะเข็บ 2 ข้างของผล ได้แก่ผลของพืชวงศ์ถว่ั
ผลแบบผักชี (cremocarp) ผลขนาดเล็กมี 2 เมล็ด เมื่อผลแก่และแตกออก เมล็ดจะแยกจากกันโดยมีคาร์โพฟอร์ (carpophores) เส้นเล็กๆยึดไว้
24
ราก ราก (Roots)
ราก คืออวัยวะของพืชที่เจริ ญมาจากรากแรกเกิด (radical) ของเอ็มบริ โอภายในเมล็ด ปกติเ จริ ญลงไปในดินตามทิศทางแรงดึงดูดของโลก รากไม่มีขอ้ และปล้อง
ชนิดของราก รากแก้ว (Tap Root) หรื อรากปฐมภูมิ (PrimaryRoot)รากที่เกิดโดยตรงมาจากรากแรกเกิดข องเอ็มบริ โอป็ นรากขนาดใหญ่ทำหน้าที่เป็ นร ากหลักของพืช รากนี้จะพุง่ ตรงลงสู่ดินเรื่ อยๆ โคนรากมีขนาดใหญ่และจะเรี ยวเล็กลงทางตอ นปลาย ระบบรากแก้วจะมีรากแขนงเจริ ญออ กมาจากเนื้อเยือ่ ชั้นนอกสุ ดของรากแก้ว ซึ่ งเป็ นระบบรากของพืชเมล็ดเปลือยและพืชใบเลี้ย งคู่ส่วนใหญ่
รากแขนง (Lateral Root) หรื อรากทุติยภูมิ (Secondary Root)รากที่เกิดมาจากรากแก้ว มัก งอกเอียงลงในดินหรื อเกือบขนานไปกับพื้นดิ น ซึ่ งบางครั้งเรี ยกว่ารากฝอย รากฝอยเป็ นระ บบรากที่รากแก้วเจริ ญได้ไม่ดีหรื อสลายไป แ ต่รากแขนงเจริ ญได้ดีและมีขนาดไล่เลี่ยกัน รา กแขนงเกิดจากบริ เวณเดียวกับรากแก้วหรื อใก ล้เคียงบริ เวณโคนต้น เกิดเป็ นกระจุก ได้แก่ ร ะบบรากของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่ ที่เป็ นไม้ลม้ ลุกบางชนิด
25
รากพิเศษ (Adventitious Root)รากที่ไม่ไ ด้เ กิ ด มาจากรากแรกเกิ ด หรื อรากแขนงขอ งรากแก้ว แต่เกิดมาจากส่ วนต่างๆของพืช รากอาจจะงอกออกจากโคนต้น ข้อ กิ่ง และใบของพื
รากที่เปลี่ยนแปลงไปทำหน้าที่พิเศษชนิดต่างๆ
รากหายใจ (Pneumatophore Root) รากที่เกิดจากรากที่อยูใ่ ต้ดินงอกและตั้งตรงขึ้นมาเหนือดิ นเพื่อช่วยในการหายใจ พบในพืชชายน้ำหรื อป่ าชายเลน เช่น ลำพู โกงกาง แสม
รากค้ำ (Prop Root) รากที่งอกออกจากบริ เวณส่ วนโคนของลำต้นเ หนือดินและเจริ ญทแยงลงสู่ดิน ทำหน้าที่คำ้ จุ นลำต้นเพื่อเพิ่มความแข็งแรงให้แก่ลำต้น เช่น รากข้าวโพด เตย โกงกาง
26
รากยึดเกาะ (Climbing Root) รากที่แตกตามข้อหรื อลำต้น รากทำหน้าที่ยดึ เกาะ พบในพืชที่ทอดเลื้อยสู งขึ้น เช่นรากพลูด่าง พริ กไทย ตีนตุก๊ แก
รากสังเคราะห์แสง (Photosynthetic Root)รากที่เจริ ญอ ยูเ่ หนือผิวดินมักอยูใ่ นอากาศ เป็ นรากที่มีคลอโรฟิ ลล์ จึงทำหน้าที่สงั เคราะห์แสงได้ เช่น รากกล้วยไม้ รากไทร เป็ นต้น
รากสะสมอาหาร ( Storage Root)รากที่เก็บสะสมอ าหารในรู ปเมล็ดแป้ ง อาจสะสมอาหารไว้ที่รากแก้ว รากแขนงหรื อรากพิเศษ เช่น รากแครอท หัวไชเท้า มันเทศ มันสำปะหลัง เป็ นต้น บางครั้งรากสะ สมอาหารแตกออกบริ เวณโคนต้ น เป็ นกระจุ ก และแต่ละรากมีขนาดใกล้เคียงกัน เช่น รากกระชาย เรี ยกว่ารากกลุ่มหรื อรากพวง (fascicled root)
27
ดอก
28
ส่วนประกอบของดอกไม้ ฐานรองดอก(Receptacle) เ ป็ น ส่ ว น ป ล า ย สุ ด ข อ ง ก้ า น ด อ ก โ ค ร ง ส ร้ า ง นี้ ใ ห ญ่ ก ว่ า ก้ า น ใ บ มีท้ งั รู ปแบบ เว้ารู ปถ้วย หรื อโค้งนูน ก้ า น ด อ ก ( P e d u n c l e ) ท ำ ห น้ า ที่ ชู ด อ ก ใ ห้ ติ ด กั บ กิ่ ง กลีบดอก (Petal) เป็ นส่ วนที่อยูถ่ ดั จาก กลีบเลี้ยงเข้ามา ส่ วนมากมีขนาดใหญ่ มี รู ป ร่ า ง แ ล ะ สี ส ร ร ส ว ย ง า ม ก ลี บ เ ลี้ ย ง ( S e p a l ) อ ยู่ ชั้ น น อ ก สุ ด มั ก มี ข น า ด เ ล็ ก มี สี เ ขี ย ว ท ำ ห น้ า ที่ ห่ อ หุ ้ ม ด อ ก เ พื่ อ ป้ อ ง กั น อั น ต ร า ย แ ก่ ด อ ก ตู ม
29
เกสรตัวผู้ เกสรเพศผู(้ Stamen) โดยรวม เรี ยกว่าวงเกสรเพศผู(้ androe ciumที่อยูถ่ ดั จากวงกลีบดอก เกสรเพศผูป้ ระกอบด้วยอับเรณู (anther)ภายในมีเรณู(pollen) ที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู ้ และก้านเกสรเพศผู(้ filament) ทำหน้าที่ชูอบั เรณู การแตกของอับเรณู (anther dehiscence) แตกตามยาว (longitudinal dehiscence) อับเรณูจะแตกตามความยาวของอับเรณู แตกตามช่อง (poricidal dehiscence) อับเรณูเปิ ดเป็ นช่องเล็กๆหรื อรู เล็กๆ ที่ปลายอับเรณู แตกตามขวาง (transverse dehiscence) อับเรณูเปิ ดตามขวางของอับเรณู แตกแบบมีลิ้นปิ ดเปิ ด (valvular dehiscence) อับเรณูเปิ ดโดยมีลิ้นหรื อเปิ ด
การติดของก้านเกสรเพศผู ้ (anther attachment) ติดที่ฐาน (basifixed, innate) ส่ วนปลายของก้านเกสรเพศผูต้ ิด ที่ฐานของอับเรณู ติดที่ดา้ นหลัง (dorsifixed) ส่ วนปลายของก้านเกสรเพศผูต้ ิด ตรงกลางด้านหลังของอับเรณู เชื่อมติด (adnate) ก้านเกสรเพศผูเ้ ชื่อมติดกับอับเรณู โดยเชื่อม จากฐานอับเรณูไปตามความยาวของอับเรณู เช่น เกสรเพศผูข้ องบัวสาย ติดกลาง (versatile) ส่ วนปลายสุ ดของก้านเกสรเพศผูต้ ิดตรงบริ เ วณกลางของอับเรณู และอับเรณูหมุนได้รอบทิศ
30
เกสรเพศเมีย (Pistil) โดยรวมเรี ยกว่า วงเกสรเพศเมีย (gynoecium) อยูว่ งในสุ ดของดอก ซึ่ งอาจมีหนึ่งหรื อหลายอัน เกสรเพศเมีย 1 อัน ประกอบด้วย รังไข่ (ovary) เป็ นส่ วนที่อยูล่ ่างสุ ด ภายในมีไข่ (ovule) ก้านเกสรเพศเมีย (style) เป็ นส่ วนที่ถดั จากรังไข่ข้ ึนมา และยอดเกสรเพศเมีย (stigma) เป็ นส่ วนที่อยูป่ ลายสุ ดข องเกสรเพศเมียทำหน้าที่รับละอองเกสรเพศผู ้
เกสรตัวเมีย
ชนิดของรังไข่ (Ovary Position) รังไข่เหนือวงกลีบ (superior ovary) รังไข่ที่อยูเ่ หนือส่ วนอื่นๆของดอก หรื อผนังรังไข่ไม่เชื่อมกับส่ วนอื่นๆ ของดอก รังไข่ใต้วงกลีบ (inferior ovary) รังไข่ที่อยูใ่ ต้ส่วนอื่นๆของดอก และผนังรังไข่ติดรวมอยูก่ บั ส่ วนอื่นๆ ของดอก รังไข่ก่ ึงใต้วงกลีบ (half-inferior ovary) รังไข่ที่ส่วนหนึ่งฝังอยูใ่ นฐานดอก
ออวุล (ovule) โครงสร้างของพืชที่จะเปลี่ยนแปลงไปเป็ นเมล็ดเมื่อได้รับการปฏิสนธิ ออวุลมีกา้ นออวุล (funiculous) ที่ยดึ ออวุลไว้กบั ผนังรังไข่ดา้ นใน ซึ่ งก้านออวุลติดกับผนังรังไข่ ตรงบริ เวณพลาเซนตา (placenta) ผนังออวุล (integument) นั้นจะหุม้ ไม่มิดเหลือเป็ นรู เล็กๆ เรี ยกว่า ไมโครไพล์ (micropyle) สำหรับให้เซลล์ สื บพันธุ์เพศผูเ้ ข้าไปผสมกับเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย
31
ส่วนประกอบของดอกอื่นๆ
ใบประดับคล้ายกลีบดอก (petaloid bract) ใบประดับที่มีสีสนั คล้ายกลีบดอก เช่น ใบประดับของเฟื่ องฟ้ า วงใบประดับ (involucres, involucral bract, phyllary) ใบประดับที่เปลี่ยนแปลงไปมีลกั ษณะคล้ายเกล็ดปลา หรื อหนาม เช่น ใบประดับของบานชื่น ดาวกระจาย ทานตะวัน วงกลีบเลี้ยงคล้ายกลีบดอก (petaloid calyx) วงกลีบเลี้ยงที่มีสีสนั คล้ายกลีบดอก เช่น กลีบเลี้ยงดอกดอนย่า กาบหุม้ ช่อดอก (spathe) ใบประดับขนาดใหญ่ที่รองรับช่อดอกและมีสีสนั ต่างๆเช่นกาบหุม้ ช่อดอกของปลี กล้วย หน้าวัว ริ้ วประดับ (epicalyx) ใบประดับที่ลดรู ปเป็ นริ้ วเล็กๆ เช่นใบประดับของชบา พูร่ ะหง
32
รูปร่างของดอกไม้แบบต่างๆ รู ปกงล้อ (rotate, wheel-shaped) กลีบดอกที่มีกลีบหลอดดอกสั้น และแฉกกลีบดอก แผ่กว้างเรี ยงกันคล้ายวงล้อ รู ประฆัง (campanulate, bell-shaped) กลีบดอกที่มีลกั ษณะคล้ายระฆัง รู ปคนโท, โถ (urceolate, urn-shaped) กลีบดอกที่ หลอดกลีบดอกพองรู ปไข่และแฉกกลีบดอกเปิ ดก ว้างออก เล็กน้อย รู ปดอกเข็ม (salverform, hypocrateriform) กลีบดอกที่มีหลอดกลีบดอกเป็ นหลอดยาวและแฉ กกลีบดอกแผ่กว้าง รู ปกรวย (funnelform), รู ปแตร (infundibular), รู ปลำโพง (infundibuliform) กลีบดอกที่ปลายหลอ ดกลีบดอกเปิ ดกว้างคล้ายกรวย แตรหรื อลำโพง รู ปหลอด (tubular) กลีบดอกที่มีหลอดกลีบดอกเป็ นหลอดยาวและแคบ รู ปลิ้น (ligulate, tongue-shaped) กลีบดอกที่มีหลอ ดกลีบดอกเป็ นหลอดสั้นๆและแฉกกลีบดอกแผ่อ อกด้านเดียว รู ปปากเปิ ด (bilabiate) กลีบดอกที่มีแฉกกลีบดอก แยกออกเป็ นสองส่ วน รู ปปากปิ ด (personate) กลีบดอกที่มีลกั ษณะ คล้ายรู ปปากเปิ ด แต่หลอดกลีบดอกกว้างกว่า รู ปกระเปาะทรงกระบอก (foxgloveform) กลีบดอ กที่มีหลอดกลีบดอกพองคล้ายกระเปาะรู ปทรงกร ะบอกและแฉกกลีบดอกแผ่กว้าง รู ปดอกถัว่ (papilionaceous) กลีบดอกแต่ละก ลีบมีรูปร่ างแตกต่างกันได้แก่ กลีบกลาง (standard, banner) เป็ นกลีบนอกสุ ดและใหญ่ที่สุด หุม้ กลีบอื่นไว้ขณะดอกตูม กลีบคู่ล่าง (keel) เป็ นกลีบอยูด่ า้ นล่าง รู ปร่ างคล้ายท้องเรื อมี 2 กลีบ และกลีบคู่ขา้ ง (wing) เป็ นกลีบที่อยูด่ า้ นข้างของก ลีบคู่ล่าง มี 2 กลีบ
33
ชนิดของดอกไม้ ดอกเดี่ยว (Solitary Flower) ดอกที่มีเพียงดอกเดียวอยูบ่ นก้านดอก
34
ดอกช่อ (Inflorescence Flower) กลุ่มของดอกย่อยที่เกิดบนก้านดอกเดียวกัน และดอกย่อยแต่ละดอกอาจมีกา้ น ดอกย่อย (pedicel)
35