Bochoure AEC

Page 1

กฎบั ต รอาเซี ย น(ASEANCHARTER) ห รื อ ธ ร ร ม นู ญ อ า เ ซี ย น

ก ฎ บั ต ร อ า เ ซี ย น เ ป รี ย บ เ ส มื อ น รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ ข อ ง อาเซียนที่จะทำให้อาเซียนมีสถานะเป็นนิติบุคคล เป็นการ วางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กรให้กับอาเซียน โดย นอกจากจะประมวลสิ่งที่ถือเป็นค่านิยม หลักการ และแนว ปฏิ บั ติ ใ นอดี ต ของอาเซี ย นมาประกอบกั น เป็ น ข้ อ ปฏิ บั ติ อ ย่ า ง เป็นทางการของประเทศสมาชิกแล้ว ยังมีการปรับปรุงแก้ไขและ สร้ า งกลไกใหม่ ขึ้ น พร้ อ มกำหนดขอบเขตหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบขององค์ ก รที่ ส ำคั ญ ในอาเชี ย นตลอดจนความสั ม พั น ธ์ ในการดำเนิ น งานขององค์ ก รเหล่ า นี้ ใ ห้ ส อดคล้ อ งกั บ ความ เปลี่ ย นแปลงในโลกปั จ จุ บั น เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของ อ า เ ซี ย น ใ ห้ ส า ม า ร ถ ด ำ เ นิ น ก า ร บ ร ร ลุ ต า ม วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ แ ล ะ เ ป้ า ห ม า ย โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ย่ า ง ยิ่ ง ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น ก า ร ร ว ม ตั ว ข อ ง ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น ใ ห้ ไ ด้ ภ า ย ใ น ปี พ . ศ . 2 5 5 8 ต า ม ที่ ผู้ น ำ อ า เ ซี ย น ไ ด้ ต ก ล ง กั น ไ ว้ ทั้ ง นี้ ผู้ น ำ อ า เ ซี ย น ไ ด้ ล ง น า ม รั บ ร อ ง ก ฎ บั ต ร อ า เ ซี ย น ในการประชุมสุดยอดยอดเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2550 ณ ประเทศสิงคโปร์ ในโอกาสครบรอบ 40 ของการก่อตั้งอาเซียน แสดงให้เห็นว่าอาเซียนกำลัง แ ส ด ง ใ ห้ ป ร ะ ช า ค ม โ ล ก ไ ด้ เ ห็ น ถึ ง ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ข อ ง อาเซี ย นที่ ก ำลั ง จะก้ า วเดิ น ไปด้ ว ยกั น อย่ า งมั่ น ใจระหว่ า ง ประเทศสมาชิกต่าง ๆ ทั้ง 10 ประเทศ และถือเป็น เอกสารประวัติศาสตร์ชิ้นสำคัญที่จะปรับเปลี่ยนอาเซียนให้เป็น อ ง ค์ ก ร ที่ มี ส ถ า น ะ เ ป็ น นิ ติ บุ ค ค ล ใ น ฐ า น ะ ที่ เ ป็ น อ ง ค์ ก ร ระหว่างรัฐบาล ประเทศสมาชิกได้ให้สัตยาบันกฎบัตรอาเซีย น ครบทั้ง 10 ประเทศแล้วเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน2551 กฎบัตร อาเซียนจึงมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 15 ธ.ค. 2551 เป็นต้นไป

ค ว า ม ส ำ คั ญ ข อ ง ก ฎ บั ต ร อ า เ ซี ย น ต่ อ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย

กฎบั ต รอาเซี ย นให้ ค วามสำคั ญ กั บ การปฏิ บั ติ ต ามพั น ธ กรณี ต่ า งๆของประเทศสมาชิ ก ซึ่ ง จะช่ ว ยสร้ า งเสริ ม หลั ก ประกั น ให้ กั บ ไทยว่ า จะสามารถได้ รั บ ผลประโยชน์ ต ามที่ ต ก ล ง กั น ไ ว้ อ ย่ า ง เ ต็ ม เ ม็ ด เ ต็ ม ห น่ ว ย น อ ก จ า ก นี้ ก า ร ป รั บ ป รุ ง ก า ร ด ำ เ นิ น ง า น แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง อ ง ค์ ก ร ข อ ง อ า เ ซี ย น ใ ห้ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ม า ก ขึ้นและการเสริมสร้างความร่วมมือในทั้ง 3 เสาหลักของ ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น จ ะ เ ป็ น ฐ า น ส ำ คั ญ ที่ จ ะ ท ำ ใ ห้ อ า เ ซี ย น ส า ม า ร ถ ต อ บ ส น อ ง ต่ อ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร แ ล ะ ผลประโยชน์ของรัฐสมาชิกรวมทั้งยกสถานะและอำนาจต่อรอง แ ล ะ ภ า พ ลั ก ษ ณ์ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ส ม า ชิ ก ใ น เ ว ที ร ะ ห ว่ า ง ประเทศได้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น ซึ่ ง จะเอื้ อ ให้ ไ ทยสามารถผลั ก ดั น และ ได้รับผลประโยชน์ด้านต่างๆเพิ่มมากขึ้นด้วย ตัวอย่างเช่น - อ า เ ซี ย น ข ย า ย ต ล า ด ใ ห้ กั บ สิ น ค้ า ไ ท ย จ า ก ป ร ะ ช า ช น ไ ท ย 6 0 ล้ า น ค น เ ป็ น ประชาชนอาเซี ย นกว่ า 550ล้ า นคนประกอบกั บ การข ยายความร่วมมือเพื่อเชื่อมโยงโครงสร้างพื้นฐาน เช่น เส้นทางคมนาคม ระบบไฟฟ้า โครงข่ายอินเตอร์เน็ต ฯลฯ จะช่ ว ยเพิ่ ม โอกาสทางการค้ า และการลงทุ น ให้ กั บ ไทย นอกจากนี้ อ าเซี ย นยั ง เป็ น ทั้ ง แหล่ ง เงิ น ทุ น และเป้ า หมาย การลงทุ น ของไทยและไทยได้ เ ปรี ย บประเทศสมาชิ ก อื่ น ๆที่ มี ที่ ตั้ ง อยู่ ใ จกลางอาเซี ย นสามารถเป็ น ศู น ย์ ก ลางทาง การคมนาคมและขนส่ ง ของประชาคมซึ่ ง มี ก ารเคลื่ อ นย้ า ย สินค้า บริการ และบุคคล ระหว่างประเทศสมาชิกที่สะดวกขึ้น -อาเซี ย นช่ ว ยส่ ง เสริ ม ความร่ ว มมื อ ในภู มิ ภ าคเพื่ อ เผชิ ญ กั บ ภั ย คุ ก คามที่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ ประชาชนโดยตรง เช่ น SARsไข้ ห วั ด นกการค้ า มนุ ษ ย์ ภั ย พิ บั ติ ท างธรรมชาติ ห ม อ ก ค วั น ย า เ ส พ ติ ด ปั ญ ห า โ ล ก ร้ อ น แ ล ะ ปั ญ ห า ค ว า ม ย า ก จ น เ ป็ น ต้ น -อาเซี ย นจะช่ ว ยเพิ่ ม อำนาจต่ อ รองของไทยในเวที โ ลก แ ล ะ เ ป็ น เ ว ที ที่ ไ ท ย ส า ม า ร ถ ใ ช้ ใ น ก า ร ผ ลั ก ดั น ใ ห้ มี ก า ร แ ก ไ ข ปั ญ ห า ข อ ง เ พื่ อ น บ้ า น ที่ ก ร ะ ท บ ม า ถึ ง ไ ท ย ด้ ว ย

ASEAN Asia

Economic communication


A

sia Economic Communication One Vision, One Identity, One Community

AEC เป็น การพั ฒ นามาจากการเป็นสมาคมประชาชาติ แ ห่ ง เ อ เ ชี ย ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง ใ ต้ ( T h e Association of South East Asian Nations : A S E A N ) ก่ อ ตั้ ง ขึ้ น ต า ม ป ฏิ ญ ญ า ก รุ ง เ ท พ ฯ (Bangkok Declaration)เมื่ อ 8 สิ ง หาคม 2510 โดยมีประเทศผู้ก่อตั้งแรกเริ่ม 5 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ต่อมาในปี 2527 บรูไนก็ได้เข้าเป็นสมาชิก ต า ม ด้ ว ย 2 5 3 8 เ วี ย ด น า ม ก็ เ ข้ า ร่ ว ม เ ป็ น สมาชิกต่อมา 2540 ลาวและพม่ า เข้ า ร่ ว มและปี 2542 กั ม พู ช า ก็ ไ ด้ เ ข้ า ร่ ว ม เ ป็ น ส ม า ชิ ก ล ำ ดั บ ที่ 10 ทำให้ ปั จ จุ บั น อาเซี ย นเป็ น กลุ่ ม เศรษฐกิ จ ภู มิ ภ าค ขนาดใหญ่ มี ป ระชากรรวมกั น เกื อ บ 500 ล้ า นคน

จ า ก นั้ น ใ น ก า ร ป ร ะ ชุ ม สุ ด ย อ ด อ า เ ซี ย น ครั้งที่ 9 ที่อินโดนีเซียเมื่อ 7 ต.ค. 2546 ผู้นำ ป ร ะ เ ท ศ ส ม า ชิ ก อ า เ ซี ย น ไ ด้ ต ก ล ง กั น ที่ จ ะ จั ด ตั้ ง ประชาคมอาเซียน(ASEAN Community) ซึง่ ประกอบด้วย3เสาหลักคือ 1 . ป ร ะ ช า ค ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ อ า เ ซี ย น (Asean Economic Community:AEC) 2 . ป ร ะ ช า ค ม สั ง ค ม แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม อ า เ ซี ย น ( S o c i o - C u l t u r a l P i l l a r ) 3 . ป ร ะ ช า ค ม ค ว า ม มั่ น ค ง อ า เ ซี ย น (Political and Security Pillar)

ส ำ ห รั บ เ ส า ห ลั ก ก า ร จั ด ตั้ ง ป ร ะ ช า ค ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ อ า เ ซี ย น ( A S E A N E c o n o m i c Communityหรื อ AEC)ภายในปี 2 558เพื่ อ ให้ อ าเซี ย นมี ก าร เ ค ลื่ อ น ย้ า ย สิ น ค้ า บ ริ ก า ร ก า ร ล ง ทุ น แ ร ง ง า น ฝี มื อ อ ย่ า ง เ ส รี แ ล ะ เ งิ น ทุ น ที่ เ ส รี ขึ้ น ต่ อ ม า ใ น ปี 2 550อาเซี ย นได้ จั ด ทำพิ ม พ์ เ ขี ย วเพื่ อ จั ด ตั้ ง ประชาคม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ อ า เ ซี ย น ( A E C B l u e p r i n t ) เ ป็ น แ ผ น บู ร ณ า ก า ร ง า น ด้ า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ใ ห้ เ ห็ น ภ า พ ร ว ม ใ น ก า ร มุ่ ง ไ ป สู่ A E C ซึ่ ง ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย แ ผ น ง า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ใ น ด้ า น ต่ า ง ๆ พ ร้ อ ม ก ร อ บ ร ะ ย ะ เ ว ล า ที่ ชั ด เ จ น ใ น ก า ร ด ำ เ นิ น ม า ต ร ก า ร ต่ า ง ๆ จ น บ ร ร ลุ เ ป้ า ห ม า ย ใ น ปี 2 5 5 8 ร ว ม ทั้ ง ก า ร ใ ห้ ค ว า ม ยื ด ห ยุ่ น ต า ม ที่ ป ร ะ เ ท ศ ส ม า ชิ ก ไ ด้ ต ก ล ง กั น ล่ ว ง ห น้ า ใ น อ น า ค ต A E C จ ะ เ ป็ น อ า เ ซี ย น + 3 โ ด ย จ ะ เ พิ่ ม ป ร ะ เ ท ศ จี น เ ก า ห ลี ใ ต้ แ ล ะ ญี่ ปุ่ น เ ข้ า ม า อ ยู่ ด้ ว ย แ ล ะ ต่ อ ไ ป ก็ จ ะ มี การเจรจา อาเซียน+6 จะมีประเทศจีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น อ อ ส เ ต ร เ ลี ย นิ ว ซี แ ล น ด์ แ ล ะ อิ น เ ดี ย ต่ อ ไ ป

Aec Blueprint

ส ำ ห รั บ เ ส า ห ลั ก ก า ร จั ด ตั้ ง ป ร ะ ช า ค ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ อ า เ ซี ย น ( A S E A N E c o n o m i c C o m m u n i t y ห รื อ A E C ) ภ า ย ใ น ปี 2 5 5 8 เ พื่ อ ใ ห้ อ า เ ซี ย น มี ก า ร เ ค ลื่ อ น ย้ า ย สิ น ค้ า บ ริ ก า ร ก า ร ล ง ทุ น แ ร ง ง า น ฝี มื อ อย่ า งเสรี แ ละเงิ น ทุ น ที่ เ สรี ขึ้ น ต่ อ มาในปี 2550 อาเซี ย น ไ ด้ จั ด ท ำ พิ ม พ์ เ ขี ย ว เ พื่ อ จั ด ตั้ ง ป ร ะ ช า ค ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ อ า เ ซี ย น ( A E C B l u e p r i n t ) เ ป็ น แ ผ น บู ร ณ า ก า ร ง า น ด้ า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ใ ห้ เ ห็ น ภ า พ ร ว ม ใ น ก า ร มุ่ ง ไ ป สู่ A E C ซึ่ ง ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย แ ผ น ง า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ใ น ด้ า น ต่ า ง ๆ พ ร้ อ ม ก ร อ บ ร ะ ย ะ เ ว ล า ที่ ชั ด เ จ น ใ น ก า ร ด ำ เ นิ น มาตรการต่างๆ จนบรรลุเป้าหมายในปี 2558 รวมทั้ง การให้ ค วามยื ด หยุ่ น ตามที่ ป ระเทศสมาชิ ก ได้ ต กลงกั น ล่ ว งหน้ า เพื่ อ สร้ า งพั น ธสั ญ ญาระหว่ า งประเทศสมาชิ ก อาเซี ย น อ า เ ซี ย น ไ ด้ ก ำ ห น ด ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ก า ร ก้ า ว ไ ป สู่ ป ร ะ ช า ค ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ อ า เ ซี ย น ที่ ส า คั ญ ดั ง นี้ 1 . ก า ร เ ป ็ น ต ล า ด แ ล ะ ฐ า น ก า ร ผ ลิ ต เ ดี ย ว กั น 2 .การเป็นภูมิภาคที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันสูง 3.การเป็นภูมิภาคที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน 4.การเป็ น ภู มิ ภ าคที่ มี ก ารบู ร ณาการเข้ า กั บ เศรษฐกิ จ โลก


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.