classical music

Page 1

Just

Classic


1


2

“ The Coke Side of

Life ”



Contents ประวัตคิ วามเป็ นมาของดนตรี คลาสสิ ก ดนตรีคลาสสิ กยุคโบราก ดนตรีคลาสสิ กยุคคลาสสิ ก ดนตรีคลาสสิ กยุคโรแมนติก วาทยากร เครื่องดนตรีคลาสสิ คประเภท เครื่องสาย เครื่องดนตรีคลาสสิ คประเภท เครื่องเป่ าลมไม้ - เครื่องดนตรีคลาสสิ คประเภท เครื่องเป่ าทองเหลือง เครื่องดนตรีคลาสสิ คประเภท เครื่องกระทบ

-6 -8 - 10 - 12 - 16 - 18 - 20 - 22 - 24


3

Classical Music

ศิลปการดนตรี มีววิ ฒั นาการควบคู่กบั มนุษย์มาเป็ น เวลาช้านานเช่นเดียวกับงานสถาปั ตยกรรม การดน ตรี มี ค วามเจริ ญรุ่ งเรื องและเสื่ อ มโทรมไปตามยุ ค ต่ า งๆตั้งแต่ดึกดำบรรพ์ ในยุคกรี กและโรมัน การดนต รี สอดแทรกอยู่ ใ นงานเฉลิ ม ฉลองต่ า งๆและกิ จ การท างศาสนาโดยเริ่ มมี ก ารใช้ ต ั ว หนั ง สื อแทนโน้ ต ดนต รี ในศตวรรษที่ 5 เมื่ออาณาจักรเอมไพร์ล่มสลายลง ทำให้เป็ นช่วงเวลาแห่งยุคมืด (Dark Age) ศิลปะแขนงต่าง ๆ รวมทั้งดนตรี กเ็ สื่ อมลง จนกระทัง่ ถึงยุคกลาง (Middle Age) อันเป็ นช่วงต่อระหว่างยุคมืดและยุคเรอเนสซองส์ (Renaissance) การดนตรี ได้เริ่ มฟื้ นตัวขึ้นอีก ในศตวรรษที่ 6 ผูค้ นเริ่ มเบื่อหน่ายดนตรี ที่มีความซ้ำ ซาก ขาดความกลมกลืน อีกทั้งไม่มีเมโลดี้ที่ชดั เจน ทำให้เ กิดการเคลื่อนไหวในวงการดนตรี ข้ ึน เริ่ มจากการขับร้องที่ มีตวั โน้ตพร้อมกัน ซึ่ งต่อมาได้พฒั นาเป็ นการร้องเพลงประ สานเสี ยง ดนตรี คลาสสิ กตะวันตกแบ่งออกเป็ นยุคสมัยตามไสต ล์และปรั ชญาความคิดทางดนตรี ที่แตกต่างกันอย่างชัดเจ น ทั้งนี้แบ่งออกเป็ นยุคสมัยต่าง ๆ ดังนี้: ยุคกลาง (Middle Age ค.ศ. 500-1400) ยุคฟื้ นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance ค.ศ. 1400-1600) ยุคบาโร้ค (Baroque ค.ศ. 1600-1750) ยุคโรแมนติก (Romantic ค.ศ. 1825-1910) และยุคศตวรรษที่ 20 (Twentieth Century ค.ศ. 1910- ปั จจุบนั ) อุปรากร หรื อ (Opera) ได้ถือกำเนิดขึ้นในปลายศตวรรษที่ 16 ณ เมืองฟลอเรนซ์ (Florence หรื อ Firence) ประเทศอิตาลี และได้พฒั นามาอย่างต่อเนื่องจนถึงจุดสู งสุ ดที่กรุ งเวียนนา (Vienna)ประเทศออสเตรี ยโดยคีตกวีกลุค๊ (Gluck) และโมสาร์ท (Wolfgang Amadeus MoZart) ในปลายศตวรรษที่ 18 และช่วงปลายศตวรรษที่ 19 อุปรา กรได้รับการพัฒนาต่อมาอีกอย่างรุ่ งเรื องโดยคีตกวีที่มีชื่อ เสี ยงได้แก่ เบลลีนี่ (Belini) โดนีเซตติ (donizetti) รอสซิ นี่ (Rossini)แวร์ด้ ี (Verdi) ปุชชินี่ (Puccini) เป็ นต้น


4 การรื้ อฟื้ นศิลปการดนตรี ได้เริ่ มขึ้ นอย่ า งจริ งจั ง ในยุ ค กลางนี้ เอ ง แต่เครื่ องดนตรี ต่าง ๆ ก็ยงั พัฒน าไปไม่ ถึ ง ขั้น เป็ นดนตรี ออร์ เ คสตร้ า เนื่องจากเครื่ องดนตรี สมัยนั้นยัง ล้า สมัย อยู่ ม ากเช่ น ทรั ม เปตไม่ มี ลิ้ น เครื่ องเป่ ายังมีเสี ยงไม่ครบ เครื่ องสี วโี อ ลยังมีจุดอ่อนในเรื่ องโทนเสี ยง เป็ นต้น ซึ่ งได้ใช้เวลาในการพัฒนามาจนถึงศต วรรษที่ 17 เครื่ องดนตรี ในยุคนั้นได้แก่ ลูท (Lute) ฮาร์พ (Harp) ไพพ์ (Pipe) โอโบ (Oboe) ซึ่งเราจะพบว่าเป็ นเค รื่ องดนตรี ของพวกมินเสตร็ ล (Minstrel) และทรอบาดอร์ (Trobadour) ที่ใช้ประกอบการขับร้อง และเดินทาง ท่องเที่ยวไปยังปราสาทต่าง ๆ วิวฒั นา การของดนตรี พวกมินสเตร็ ลได้พฒั นา การไปจนสิ้ นสุ ดยุคกลาง และบางเพลง ก็ยงั มีปราฎอยูจ่ นกระทัง่ ถึงทุกวันนี้ ศตวรรษที่ 15 การดนตรี ได้เริ่ มเ บ่ ง บานขึ้ น ด้ว ยการทำงานอย่า งหนัก ของนักดนตรี 3 ท่านคือ พาเลสตริ น่า (Giovanni Palestrina 15251594) ผูซ้ ่ ึ งได้รับการยกย่องว่าเป็ น บิดาแห่งดนตรี สมัยใหม่ (The Father of Modern Music) ลาสซุส (Orland Lassus) และไบร์ด (William Byrd) ท่านทั้ง 3 นี้เป็ นผูเ้ ปิ ดประตูของศิลปก ารดนตรี จากยุคกลางไปสู่ ยุคเรอเนสซ องส์ อันเป็ นยุคแห่งการฟื้ นฟูศิลปวิทย าการทุกแขนง ในยุคนี้งานดนตรี เริ่ มมี กฎเกณฑ์ในงานประพันธ์บทเพลงมาก ขึ้นรวมทั้งเพลงร้องในโบสถ์จำนวนนั บร้อยและมอตเต็ตอีกจำนวน 600 เพล งซึ่ งทำให้ท่านได้รับการขนานนามว่า บิดาแห่งดนตรี สมัยใหม่ ดนตรี คลาสสิ ก (Classical Music) ได้ เ ริ่ มขึ้ นในศตวรรษที่ 1 7และต่ อ

เนื่ องมาจนถึ ง ต้ น ศตวรรษที่ 1 8 โดยมีศิลปิ นอิตาเลี่ยนเป็ นผูน้ ำ ท่าน เหล่านี้ ได้ส่งเสริ มและสนับสนุ นกา รดนตรี ให้เข้าสู่ ชีวิตจิตใจชาวยุโรป อย่างแพร่ หลาย ซึ่ งมีเมืองที่เป็ นแหล่ งกำเนิดของงานดนตรี น้ ีได้แก่ โรม เนเปิ ล ฟลอเรนซ์ อิทธิพลงานศิลป ะการดนตรี ของอิตาลีได้แผ่ขยายไป อย่างกว้างขวางสู่ยโุ รปตะวันตก ส่ ว นทางซี กตะวันออกนั้นกรุ งเวียนนาเ ป็ นศูนย์รวมที่สำคัญทางดนตรี โดย มีนกั ดนตรี ชาวอิตาเลี่ยนที่สำคัญได้ แก่ ซิ มาโรซ่า เพสซิ ชิลโล กัลลูปปี้ ซึ่ งเดินทางเข้าไปทำงานที่นครเวียน นา เวียนนาจึงเป็ นศูนย์กลางของดน ตรี คลาสสิ กและมีความรุ่ งเรื องติดต่ อกันมาถึง 200 ปี ดนตรี คลาสสิ กจัด ได้ว่าเป็ นศิลปะการดนตรี แห่ งยุคที่ ดนตรี ได้รับการพัฒนามาถึงจุดสู งสุ ดทั้งการประพันธ์และเครื่ องดนตรี อาทิ ออร์แกน เปี ยโน

และเครื่ องดนตรี ของตระกูลไวโอลิน เป็ นต้น อันเป็ นผลมาจากการการฟื้ นฟู ศิ ล ปะการดนตรี จ ากยุค เรอเนส ซองส์ การแสดงดนตรี คลาสสิ กจะใช้เครื่ อ งดนตรี 4 กลุ่ม กลุ่มแรก คือ เครื่ องสาย (String) แบ่งออกเป็ น ไวโอลิน วิโอล่า เชลโล และ ดับเบิลเบสกลุ่มที่สอง คือ เครื่ องเป่ าลมไม้ (Woo wind) เช่น ฟลูต คลาริ เน็ต โอโบ บาสซูน ปิ คโคโล กลุ่มที่สาม คือ เครื่ องเป่ าลมทองเหลื อ ง(Brass) เช่นทรัมเป็ ต ทรอมโบน ทูบา เฟรนช์ฮอร์น กลุ่มที่สี่ คือ เครื่ องกระทบ (Percussion) เช่น กลองทิมปานี ฉาบ กลองใหญ่ (Bass Drum) ไทรแองเกิล(Triangle) เมื่ อเล่ น รวมกัน เป็ นวงเรี ยกว่ า วงดุ ริ ยางค์หรื อ ออร์เคสตรา (Orchestra) ซึ่ งมีผอู ้ ำนวยเพลง (conductor) เป็ นผูค้ วบคุมวง


5


Baroque Music Irregularly shaped pearl

คำว่า “Baroque” มาจากคำว่า “Barroco” ในภาษาโปรตุเกสซึ่งหมายถึง “ไข่มุกที่มีสณ ั ฐานเบี้ยว” (Irregularly shaped pearl) Jacob Burckhardt เป็ น คนแรกที่ใช้คำนี้เรี ยกสไตล์ของงานส ถาปั ตยกรรมและจิตรกรรมในคริ สต์ ศตวรรษที่ 17 ที่เต็มไปด้วยการตกแต่ งประดับประดาและให้ความรู ้สึกอ่อ นไหว (ไขแสง ศุขวัฒนะ,2535:96) ในด้านดนตรี ได้มีผนู ้ ำคำนี้มาใช้เรี ยกสมัยของดนตรี ที่เกิ ดขึ้ นในยุโรป เริ่ มตั้งแต่ตน้ คริ สต์ศตวรรษที่ 17 และ มาสิ้ นสุ ดลงราวกลางคริ สต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่ งเป็ นเวลาร่ วม 150 ปี เนื่องจากส มัยบาโรกเป็ นสมัยที่ยาวนานรู ปแบบ ของเพลงจึงมีการเปลี่ยนแปลงไปตาม เวลา อย่างไรก็ตามรู ปแบบของเพลง ที่สามารถกล่าวได้วา่ เป็ นลักษณะเด่น ที่สุดของดนตรี บาโรกได้ปรากฏในบทประพันธ์ของ

โดยเฉพาะอย่างยิง่ “แมสใน บี ไมเนอร์” ของ เจ.เอส. บาค และออราทอริ โอ เรื่ อง “The Messiah” ของเฮนเดล จัด ได้ว่าเป็ นดนตรี ศาสนาที่ เด่ นที่ สุดขอ งสมัยนี้ ลักษณะสำคัญอีกอย่างหนึ่ง ของดนตรี ส มัย บาโรกคื อ การทำให้เ กิด “ความตัดกัน”(Contrasting) เช่น ในด้าน ความเร็ ว – ความช้า ความดัง – ความค่อย การบรรเลงเดี่ยว – การ เจ.เอส.บาคและยอร์ช ฟริ เดริ ค เฮนเดล ซึ่ งคีตกวีท้ งั สองนี้ ได้แต่งขึ้นในช่วงเวล าครึ่ งแรกของศตวรรษที่ 18 ในตอนต้นสมัยบาโรกคีตกวีส่วนมาก ได้เลิกนิยมสไตล์โพลี่โฟนี (Polyphony) ในสมัยฟื้ นฟูศิลปวิทยา ซึ่ งแนวขับ ร้องแต่ละแนวในบทเพลงต่างมีความส ำคัญทัดเทียมกันและหันมาสนใจสไตล์ โมโนดี (Monody) ซึ่ งในบทเพลงจะมีแ นวขับร้องเพียงแนวเดียวดำเนิ นทำนอง และมีแนวสำคัญที่เรี ยกในภาษาอิตาเลี่ย นว่า “เบสโซคอนตินิวโอ (Basso Continuo)” ทำหน้าที่เสี ยงคลอเคลื่อนที่ตล อดเวลาประกอบ ทำให้เกิดคอร์ดขึ้นมา อย่างไรก็ตามคีตกวีรุ่นต่อมาก็มิได้เลิก สไตล์โฟลี่ โฟนี เสี ยเลยที เดี ยวหากยังใ ห้ไปปรากฏในดนตรี คียบ์ อร์ ดในแบบ แผนของฟิ วก์ (Fugue) ออร์แกนโคราล (Organchorale) ตลอดจนทอคคาตา (Toccata)ซึ่ งแต่ งโ ดยใช้ เ ทคนิ ค เคาน์ เ ตอร์ พอยท์ ( Counterpoint) คี ต ก วี ก็ นิ ย ม แ ต่ ง กั น ไ ว้ ม า ก

บรรเลงร่ ว มกัน วิ ธี เ หล่ า นี้ พบในงา นประเภท ตริ โอโซนาตา (Trio Sonata) คอนแชร์โตกรอซโซ(Concerto Grosso) ซิ มโฟเนีย (Simphonia) และคันตาตา (Cantata) ตลอดสมัยนี้คี ตกวีมิได้เขียนบทบรรเลงส่ วนใหญ่ข องเขาขึ้นอย่างครบบริ บูรณ์ ทั้งนี้เพรา ะเขาต้องการให้ผบู ้ รรเลงมีโอกาสแส ดงความสามารถการเล่นโดยอาศัยคีต ปฏิภาณหรื อการด้นสดและการประดิ ษฐ์เม็ดพราย (ในแนวของตนเอง

6


7

Classic Music Age of Reason ตั้งแต่ปลายคริ สต์ศตวรรษที่ 18 มาจน ถึงช่วงต้นของคริ สต์ศตวรรษที่ 19 นั บได้วา่ เป็ นช่วงเวลาที่ประชาชนส่ วน ใหญ่ในยุโรปมีความตื่นตัวในเรื่ องป ระชาธิ ปไตยเหตุการณ์ที่ได้กระตุน้ เรื่ องนี้ เป็ นอย่างมากก็คือการปฏิวตั ิครั้ งใหญ่ในฝรั่งเศสซึ่งเริ่ มขึ้นในปี ค.ศ. 1879 การรบครั้งสำคัญในสมัยนี้คือ สงครามเจ็ดปี (ค.ศ.1756-1763) สงค รามฝรั่งเศสและอินเดีย ในอเมริ ก าเกิ ด สงครามระหว่า งอัง กฤษและอาณานิคมอเมริ กนั ซึ่งน ำไปสู่ ก ารประกาศอิ ส รภาพของอเ มริ ก ัน ในปี 1776และสงครามนโป เลียนในยุโรป ซึ่งเป็ นผลให้เกิดค องเกรสแห่ ง เวี ย นนาขึ้ น ในปี ค.ศ.1 814สมัย นี้ ในทางปรั ช ญาเรี ยนกว่ า “ยุคแห่งเหตุผล” Age of Reason (ไขแสง ศุขวัฒนะ,2535:102) หลังการตายของ เจ.เอส.บาค (J. S. Bach) ในปี 1750 ก็ไม่มีผปู ้ ระสบควา มสำเร็ จในรู ปแบบของดนตรี แบบบา โรก (Baroque style) อีก มีการเริ่ มของ The (high) Classical era ในปี 1780 เ ราเรี ย กช่ ว งเวลาหลัง จากการตายข อง เจ.เอส.บาค (J. S. Bach17301780) ว่า The early classical period ดนตรี ในสมัยบาโรกนั้นมีรูปพรรณ (Texture)ที่ ยุ่งยากซับซ้อนส่ วนดน ตรี ในสมัยคลาสสิ กมีลกั ษณะเฉพาะ

คือมี โครงสร้าง(Structure) ที่ชดั เจ นขึ้ นการค้นหาความอิ สระในด้าน วิชาการ เป็ นหลักสำคัญที่ทำให้เกิด สมัยใหม่น้ ี ลักษณะของดนตรี ในสมัยคลาสสิ ก ที่เปลี่ยนไปจากสมัยบาโรกที่เห็นได้ ชัด คือ การไม่นิยม การสอดประสานของทำนองที่ เ รี ยกว่าเคาน์เตอร์พอยท์ (Counterpoint) หันมานิยมการเน้นทำนอง ห ลักเพียงทำนองเดี ยวโดยมี แนวเสี ย งอื่นประสานให้ทำนองไพเราะขึ้ น คือการใส่ เสี ยงประสาน ลักษณะขอ งบาสโซคอนตินูโอเลิกใช้ไปพร้อม ๆ กับการสร้างสรรค์แบบอิมโพรไวเ ซชัน่ (Improvisation) ผูป้ ระพันธ์นิย มเขียนโน้ตทุกแนวไว้ ไม่มีการปล่อ

ยว่างให้ผบู ้ รรเลงแต่งเติมเอง ลักษ ณะของบทเพลงก็เปลี่ยนไปเช่นกัน \ศูนย์กลางของสมัยคลาสสิ กตอนต้ นคือเมืองแมนฮีมและกรุ งเวียนนา โรงเรี ยนแมนฮีมจัดตั้งขึ้นโดย Johann Stamitz ซึ่ งเป็ นนักไวโอลิน และเป็ นผูค้ วบคุม Concert ของ The Mannheim orchestra เขาเป็ ผูพ้ ฒ ั นาสไตล์ใหม่ ของการประพั นธ์ดนตรี (Composition) และกา รเรี ย บเรี ย งสำหรั บ วงออร์ เ คสตร า (Orchestration) และยังพัฒนา The sonata principle in 1st movement of symphonies, second theme of Stamitz ตรงกันข้ามกับ 1st theme ซึ่ ง Dramatic, striking หรื อ Incisive (เชือดเฉื อน) เขามัก


8 เพิ่มการแสดงออกที่เป็ นท่วงทำนอ งพลงนำไปสู่บทเพลงใน ซิมโฟนี การเปลี่ยนความดัง - ค่อย (Dynamic) อย่างฉับพลันในช่วงสั้น ๆ ได้รับการแสดงครั้งแรกโดย Manheim orchestra เขายังขยาย Movement scheme of symphony จากเร็ วช้า-เร็ ว เป็ น เร็ ว – ช้า – minuet – เร็ ว (minuet คือดนตรี บรรเลงเพื่อ การเต้นรำคู่ในจังหวะช้า 3 จังหวะ ) ใช้ครั้งแรกโดย GM Monn แบบแผ นนี้ กลายเป็ นมาตรฐานในซิ มโฟนี แ ละ สตริ งควอเตท (String quartet ) สมัยคลาสสิ กนี้ จดั ได้ว่าเป็ นสมัยที่ มี การสร้ างกฎเกณฑ์รูปแบบในทุก ๆ อย่างเกี่ยวกับการประพันธ์เพลง ซึ่งในสมัยต่อ ๆ มาได้นำรู ปแบบใ นสมัยนี้ มาใช้และพัฒนาให้ลึกซึ้ งห รื อแปรเปลี่ยนไป เพลงในสมัยนี้เป็ นดนตรี บริ สุทธิ์ส่วนใหญ่ กล่าวคือ เพลงที่ ป ระพัน ธ์ ข้ ึ น มาเป็ นเพลงซึ่ งแสดงออกถึ ง ลัก ษณะของดนตรี แท้ ๆ มิได้มีลกั ษณะเป็ นเพลงเพื่อ บรรยายถึ งเหตุ การณ์ หรื อเรื่ องราว ใด ๆ ซึ่ งเป็ นลักษณะที่มีกฎเกณฑ์ ไม่ มี ก ารใส่ ห รื อ แสดงอารมณ์ ข อง ผู ป้ ระพัน ธ์ ล งในบทเพลงมากนัก

ลักษณะของเสี ยงที่ดงั - ค่อย ค่อย ๆ ดัง และค่อย ๆ เบาลง ดนตรี สไตล์เบาๆและสง่ างามของโ รโคโค (Rococo Period ) ซึ่ งตรงข้า มกับสไตล์ที่เคร่ งเครี ยดในสมัยบาโ รก โดยปกติมนั เป็ น Lightly accompanied pleasing music ด้วย Phrasing ที่สมดุลย์กนั (JC Bach, Sammartini, Hasse, Pergolesi ) Galant เหมือนกับ โรโคโค (Rococo Period ) ในแนวคิดของ Heavy ornamentation แต่ต่างกันตรงที่ลกั ษณะดนตรี มี โ ครงสร้ า งและประโยคเพลงที่ มี แบบแผนและรู ป แบบที่ มี ค วามอ่ อ นไหวง่าย พยายามแสดงออกถึงคว ามรู ้ สึ ก ที่ แ ท้จ ริ ง และเป็ นธรรมชาติ แทรกความโรแมนติกของศตวรรษที่ 19 เข้าไป จุดหมายเพื่อแ ดงความเป็ น ตัวของตัวเองโดยเฉพาะอย่างยิง่ ดนต รี ของ CPE Bach และ WF Bach ด้วย ความหมายของคำว่ า “คลาสสิ ก ซิสซึ่ม” (Classicism) พวกคลาสสิ กนิยม (Classicism) ก็มีในดนตรี ในช่วงตอนปลาย ๆ ของ สมัยบาโรกซึ่ งเป็ นดนตรี สไตล์ของบ าค (J.S. Bach) และของฮัลเดล (Handel) เช่นกัน ในช่วงของความเป็ นคลา

สสิ กนิยมนั้นมี 2 ช่วง คือ ในตอนต้นแ ละใช้ช่วงตอนปลายของศตวรรษที่ 18 และในช่ วงตอนปลายของศตวรรษที่ 18 มักจะเรี ยกกันโดยทัว่ ๆ ไปว่า เป็ นสมัยเวียนนิสคลาสสิ ก (Viennese Classical Period) เพื่อให้ง่ายต่อการระ บุความแตกต่างระหว่างคลาสสิ กตอน ต้นและตอนปลายนั้นเอง และที่เรี ยกว่ าเป็ นสมัยเวียนนิสคลาสสิ ก ก็เพราะเห ตุวา่ ช่วงเวลานั้นกรุ งเวียนนาของออสเ ตรี ยถูกถือว่าเป็ นเมืองศูนย์กลางหลักข องการดนตรี ในสมัยนั้น ลักษณะทัว่ ๆไปของการดนตรี ในสมัย คลาสสิ ก โดยทั่ ว ไปแล้ ว ดนตรี คลาสสิ กสา มารถตีความหมายออกมาได้ คือ มองออกจากตัว(Objective) แสดงถึงกา รเหนี่ยวรั้งจิตใจทางอารมณ์ สละสลวย การขัดเกลาให้งดงามไพเราะ และสั มผัสที่ไม่ตอ้ งการความลึกล้ำนัก นอ กจากความหมายดังกล่าวแล้วคลาสสิ กยังมีความหมาย ที่อาจกล่าวไปในเรื่ องของประมวลผลงานก็ได้ กล่าวคือ ผลงานทางดนตรี บทบรรเลงที่เห็นได้ ชัดว่ามีมากขึ้นกว่าผลงานทางการประ พันธ์โอเปร่ าและฟอร์มอื่น ๆ


9


Romantic Music Sonata

ดนตรี ยุคโรแมนติกมีลกั ษณะของแนว ทำนองที่เต็มไปด้วยการบรรยายความ รู ้สึก มีแนวทำนองเด่นชัด ลักษณะการ แบ่งวรรคตอนเพลงไม่ตายตัว การประ สานเสี ยงได้พฒั นาต่อจากยุคคลาสสิ ก ทำให้เกิดการคิดคอร์ดใหม่ๆ เพิ่มขึ้น เ พื่อใช้แสดงออกถึงอารมณ์และความรู ้ สึ ก มีการนำคอร์ดที่เสี ยงไม่กลมกลืน มาใช้มากขึ้น มีการใช้โน้ตนอกคอร์ด บันไดเสี ยงที่มีโน้ตครึ่ งเสี ยง (Chromatic Scale) การเปลี่ยนบันไดเสี ยงห นึ่ งไปอี กบันไดเสี ยงหนึ่ งอย่างคาดไม่ ถึง การประสานเสี ยงแบบโฮโมโฟนี (Homophony) ยังคงเป็ นลักษณ ะ เ ด่ น สื บ เ นื่ อ ง ม า จ า ก ยุ ค ค ล า ส สิ ก การใช้เสี ยงดัง-เบา มีต้ งั แต่ ppp ไปจนถึง fff คีตลักษณ์ของเพลง (form) ยังคงเป็ นแบบ Sonata Form แบบยุคคล าสสิ กแต่มีความยืดหยุน่ ของโครงสร้าง ในยุคนี้ดนตรี บรรเลง และบทเพลงสำหรั บ เปี ยโนเป็ นที่ นิ ยมประพันธ์กนั มากขึ้น ลักษณะขอ งวงออร์ เ คสตราจะมี ข นาดใหญ่ ข้ ึ น ต ามแต่ผปู ้ ระพันธ์เพลงจะกำหนด เพ ลงคฤหั ส ถ์ ห รื อเพลงสำหรั บ ชาวบ้า นเป็ นที่นิยมประพันธ์กนั แต่เพลงโ บสถ์ ก็ ย งั คงมี ก ารประพัน ธ์ อ ยู่ เ ช่ น กั น ในลักษณะของเพลงแมส ที่ใช้เพื่อ ประกอบศาสนพิ ธีแ ละเพลงเรควีเ อ็ม ที่ใช้ในพิธีศพ สำหรับบทเพลงโอเปร่ า และเพลงร้องก็มีพฒั นาการควบคู่ไป เ นื้ อร้ องมี ต้ งั แต่การล้อการเมื องความรั กกระจุ๋มกระจิ๋มไปจนถึงเรื่ องโศกนาฏ

(Richard Wagner) แวร์ด้ ี (Giusseppe Verdi) นอกจากนี้ประเทศรัสเซี ย ก็ ย ัง มี คี ต กวี เ อกอี ก หลายท่ า นเช่ น ไชคอฟสกี้ (Tchaikovsky) ซึ่ งได้รั บการยกย่องว่าเป็ นราชาแห่ งบัลเลต์ รวมถึงผลงานอื่น ๆ ที่มีชื่อเสี ยง ได้แก่ อุปรากร 10 เรื่ อง ซิมโฟนี่ 6 บท บัลเลต์ 3 เรื่ อง ที่รู้จกั กันดี ได้แก่ Nutcracker, Swan Lake, Sleeping Beauty และบท เพลงที่มีชื่อเสี ยงมากอีกบทคือ 1812 Overture ต่อมาในปลายศตวรรษที่ 19 ก็มีอจั ฉริ ยะทางดนตรี อีก 3 ท่านคือ บราหมส์ มาห์เลอร์ และบรู๊ คเนอร์ ซึ่ งล้วนอยูใ่ นแนวทางแห่ง Nationalism ทั้งสิ้ น กรรม ยุคโรแมนติก ได้เริ่ มขึ้นเมื่อแน วทางดนตรี เริ่ มละทิ้งแบบแผนของคล าสสิ ก นับจากบทประพันธ์อนั ยิง่ ใหญ่ เช่น “Spring Sonata “ ของโมสาร์ท ดนตรี แห่ งยุ ค โรแมนติกได้ หั น ห แ น ว ข อ ง ด น ต รี ม า สู่ แ น ว ท า ง แ ห งดนตรี ชาตินิยม (Nationalism) โดยใช้เสี ยงดนตรี แบบพื้นเมือง นอก จากนี้ แล้วอิทธิ พลทางการเมืองมีส่วน ทำให้การดนตรี หันเหไปนับแต่การป ฏิวตั ิในฝรั่งเศส การปฏิวตั ิในอเมริ กา สงครามนโปเลียน เป็ นต้น บทเพลง “ The Polonaise “ ของโชแปงก็เป็ นตัวอ ย่างอันหนึ่ งในแบบอย่างของดนตรี แน ว Nationalism นอกจากนี้แล้วในยุคโร แมนติกก็ยงั เป็ นช่วงเวลาก่อกำเนิดคีตก วีและนักดนตรี อีกหลายท่าน อาทิเช่น ปากานินี่ (Nicolo Paganini) ว้ากเนอร์

10


11


12


13

วาทยากร Conductor

วาทยกร (อังกฤษ: conductor) หรื อผูอ้ ำนวยเพลง คือ คนที่ ตี ค วามหมายของบทเพลงโดยเห็ น ภาพรวมทั้ งหม ดของวงดนตรี มีหน้าที่ดึงความสัมพันธ์ของเครื่ องดนต รี แต่ ล ะชิ้ น ออกมาเพื่ อ สอดผสานรวมเป็ นหนึ่ งเดี ย วกั น อาจกล่าวอีกนัยได้วา่ วาทยกรเป็ นผูท้ ี่สื่อสารกับนักดนตรี ดว้ ย ภาษามือ เป็ นเหมือนภาษาใบ้ที่ใช้กบั ดนตรี พร้อมกันนี้วาทยก รต้องมีความเป็ นผูน้ ำที่สามารถให้ความเชื่ อมัน่ แก่นกั ดนตรี ดว้ ย เสมือนผูก้ ำกับวาทยกรควบคุมวงดนตรี โดยการใช้รหัสหรื อสั ญญาณมือ มักถือไม้บาตอง (Baton) ที่มือขวาสำหรับให้จงั หวะ ส่ วนมือซ้ายจะควบคุมในด้านอื่น เช่นให้นกั ดนตรี เล่นเสี ยง ดังหรื อค่อย หรื อเป็ นการแสดออกด้านอารมณ์อื่น ๆ ที่วาทย กรต้องการสื่ อสารกับนักดนตรี ในวง วาทยากรจะพบในการ แสดงดนตรี ที่ใช้นกั ดนตรี จำนวนมาก เช่นในวง ออร์เคสตร้า วงประสานเสี ยง ส่ วนการบรรเลงดนตรี ในวงดุริยางค์ของกองทั พ อาจเรี ยกว่า หัวหน้าวงดุริยางค์ วาทยกรผูเ้ ป็ นสมาชิกของวงอ อร์เคสตร้าจะเป็ นคนที่กำหนดทิศทางของวง ซึ่ งบางครั้งเรี ยกว่า ผูก้ ำกับดนตรี หรื อเรี ยกว่า คาเปลไมสเตอร์ (Kapellmeister) ในภาษาเยอรมันซึ่งหมายความถึง หัวหน้าวาทยากรในวงออร์ เคสตร้าเยอรมัน สำหรับวาทยกรของวงประสานเสี ยง จะเรี ยก ผูค้ วบคุมวงประสานเสี ยง ส่ วนวาทยากรอาวุโสจะเรี ยกว่า มาเอสโตร (maestro - นาย) ในภาษาอิตาเลียน แต่ความสำคัญของวาทยกรนั้น ไม่ได้อยูแ่ ค่ที่การกำกับ วงออกแสดงเท่านั้น กลับอยูท่ ี่การฝึ กซ้อมนักดนตรี ให้เล่นคีตนิพ นธ์ต่าง ๆ ตามการตีความของวาทยกรแต่ละคน การนำวงดุริยางค์ ออกแสดงเป็ นแต่เพียงช่วงเวลาสั้น ๆ ของการเล่นและการตีความ คีตนิพนธ์น้ นั ๆ เพราะการฝึ กซ้อมต้องใช้เวลาที่ยาวนานกว่าการ ออกแสดงแต่ละครั้ง ทั้งนี้วาทยกรยังต้องเป็ นผูท้ ี่สามารถแนะนำ หรื อแก้ไขเทคนิคต่าง ๆ ให้แก่นกั ดนตรี ได้ วาทยกรที่ดีจึงมักจะเ ป็ นนักดนตรี ที่ดีมาก่อนด้วย จึงจะสามารถเข้าใจปั ญหาของวงได้ เป็ นอย่างดี และรู ้ความสามารถและขีดจำกัดของเครื่ องดนตรี แต่ ละชนิด


14


15

เครื่องสาย ไวโอลิน คือเครื่ องดนตรี ประเภทเครื่ องสายในตร ะกูลไวโอลิน (Violin Family) ซึ่งมีท้ งั หมด 4 ชนิด คือ ไวโอลิน วิโอลา เชลโล และดับเบิลเบส ไวโ อลินเป็ นเครื่ องดนตรี ที่ขนาดเล็กที่สุด เครื่ องดนต รี ในตระกู ล ไวโอลิ น เป็ นเครื่ องดนตรี หลัก ที่ ใ ช้ใ น วงออร์เคสตร้า ปกติจะเล่นโดยใช้คนั ชักสี ที่สาย แต่บางครั้งก็จะใช้นิ้วดีดที่สาย เพื่อให้เกิดเสี ยงสั้นยา วตามต้องการ ในวงดนตรี ประเภทออร์เคสตร้าไวโ อลินจะเป็ นกลุ่มเครื่ องดนตรี ที่มีจำนวนมาก ไวโอลิ นสามารถนำไปใช้บรรเลงในวงดนตรี ประเภทอื่นๆไ ด้เช่นกัน เช่น ดนตรี แจ๊ส ดนตรี บลูส์ ดนตรี ป๊อปปูล่า หรื อดนตรี ร็อก เป็ นต้น

วิโอลา เป็ นเครื่ องดนตรี ในตระกูลไวโอลินเช่นกัน ขนาดใหญ่กว่าไวโอลินเล็กน้อย ตำแหน่งของวิโอลาจะอยู่ ลักษณะเดียวกับไวโอลิน ต้องวางไว้บนไหล่ซา้ ยของผูเ้ ล่น แ ล้ ว ใ ช้ ค า ง ห นี บ เ ค รื่ อ ง ด น ต รี ไ ว้ ไ ม่ ใ ห้ เ ค ลื่ อ น ที่ คันชักจับด้วยมือขวา คุณภาพเสี ยงของวิโอลาจะไม่สดใสเ หมือนเสี ยงของไวโอลิน มีลกั ษณะเหมือนเสี ยงนาสิ ก


16 เชลโล หรื อ “วิโอลอนเชลโล” (Violoncello)เป็ นเครื่ องด นตรี ที่อยูใ่ นตระกูลไวโอลินแต่มีขนาดยาวและใหญ่กว่า ไวโอลิน ระดับเสี ยงต่ำกว่าไวโอลิน คุณภาพเสี ยงทุม้ ลึก กว่าเสี ยงของไวโอลิน สามารถเล่นด้วยวิธีสี และวิธีดีด เช่นเดียวกับไวโอลิน ในขณะที่เล่นต้องนัง่ ใช้เข่าหนีบ ให้เชลโลอยู่

ดับเบิลเบส เป็ นเครื่ องดนตรี ในตระกูลไวโอลินที่มี ขนาดใหญ่ที่สุด มีชื่อเรี ยกหลายชื่อเช่น สตริ งเบส (String Bass) คอนทราเบส (Contra Bass) เบสวิโอล (Bass Viol) เวลาเล่นต้องตรึ งเครื่ องไว้บนพื้นโดยมีหมุดยึดไว้ เพราะ ว่าดับเบิลเบสมีขนาดใหญ่มาก คุณภาพเสี ยงของดับเบิลเ บสจะหนักแน่น และให้ความรู ้สึกอุย้ อ้าย เยิน่ เย้อเหมือน กับการเคลื่อนที่ของสิ่ งของใหญ่โต ที่มีนำ้ หนักมาก ดับเ บิลเบสสามารถเล่นได้ท้ งั วิธีใช้มือดีดและใช้คนั ชักสี


17 โอโบ คือเครื่ องดนตรี ประเภทเครื่ องลมไม้ โอโบและเครื่ องดนตรี อื่นๆ ในตระกูลโอโบ เช่นบาสซูน และอิงลิซฮอร์นเป็ นเครื่ องดนตรี ประเภทลิ้นคู่ ลำตั วโอโบเป็ นรู ปทรงกรวยทำด้วยไม้ แบ่งเป็ น 3 ท่อน เวลาจะใช้ตอ้ งต่อเข้าด้วยกัน มีรูสำหรับใช้นิ้วปิ ดเปิ ด 6 รู และมีคียโ์ ลหะบุนวมต่อเป็ นระบบกลไกเชื่อมโยงสำห รับปิ ดเปิ ดรู อีกด้วย คุณภาพเสี ยงของโอโบมีความแหลม เสี ยดแทงและมีลกั ษณะเป็ นเสี ยงนาสิ ก คำว่าโอโบที่ใช้ในปั จจุบนั นี้มีมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 17 ใช้ในการแสดง โอเปร่ า ฝรั่งเศส เรี ยกว่า “hautbois” ในศตวรรษที่ 18 โอโบใช้เป็ นเครื่ องดนตรี หลักในวงอ อร์เคสตร้า เป็ นเครื่ องดนตรี เสี ยงสู งในกลุ่มเครื่ องลมไม้ ซึ่ งในขณะนั้นมีรูปิดเปิ ด เพียง 2 – 3 รู เท่านั้น

ฟลุ้ต เป็ นเครื่ องดนตรี อยูใ่ นกลุ่มเครื่ องลมไม้ มีท่อกลวง เกิดเสี ยงโดยการเป่ าลมผ่านส่ วนปากเป่ า ผูเ้ ล่นต้องถือฟลุต้ ให้ขนานกับพื้นฟลุต้ ในระยะแรกทำด้วย ไม้ ปั จจุบนั ฟลุต้ ทำด้วยโลหะ เสี ยงของฟลุต้ ในระดับสู งมีความแจ่มใส เสี ยงในระดับต่ำมีความนุ่มนวล ระบบกลไกการปิ ดเปิ ด และระบบการวางนิ้วของฟ ลุต้ สมัยใหม่ได้รับการออกแบบโดย ทีโอบัลด์ โบเอม ( Theobald Boehm) ชาวเยอรมัน ซึ่งระบบกลไกของ ทีโอบัลด์ โบเอม ที่คิดค้นขึ้นมาเป็ นที่ยอมรับในวงการด นตรี ทวั่ โลก ทุกคนเรี ยกระบบนี้วา่ Boehm System


เครือ่ งเป่าลมไม้

คลาริเน็ต เป็ นเครื่ องดนตรี ประเภทเครื่ องลมไม้ ใช้ลิ้น เดี่ยวคลาริ เน็ตมีใช้อยูห่ ลายชนิด เช่น บีแฟล็ตคลาริ เน็ต เบสคลาริ เน็ต อีแฟลตคลาริ เน็ต เป็ นต้น ลำตัวปี่ คลาริ เน็ต มีท้ งั ที่ทำด้วยไม้ หรื อเรซิน ลำตัวปี่ จะกลวง เปลี่ยนระดับเสี ย งโดยใช้นิ้วและคียโ์ ลหะบุนวมปิ ดเปิ ดรู ปี่ คลาริ เน็ตจะมีรูปร่ างคล้ายกับโอโบ แตกต่างกันที่ปากเป่ า (กำพวด)คุณภาพเสี ยงของปี่ คลาริ เน็ตจะมีช่วงเสี ยงกว้างและทุม้ ลึก มีนิ้วพิเศษที่ ทำเสี ยงได้สูงมากเป็ นพิเศษ

พิคโคโล เป็ นเครื่ องดนตรี ในกลุ่มเครื่ องลมีไม้จดั อยู่ ในตระกู ล ฟลุ ้ ต ลำตั ว มี ท้ ั งทำด้ ว ยไม้ โ ลหะและเรซิ น ระดับเสี ยงสู งกว่าฟลุต้ อยู่ 1 ช่วงคู่แปดขนาดเล็กกว่าฟลุต้ ครึ่ ง หนึ่ง จึงทำให้มีคุณภาพเสี ยงที่สดใสและแหลมมาก เสี ยงในร ะดับต่ำของพิคโคโลจะดังไม่ชดั เจน พิคโคโลจึงเหมาะที่จะใ ช้ในการเล่นในระดับเสี ยงกลางและเสี ยงสู งมากกว่าในระดับ เสี ยงต่ำ เครื่ องดนตรี ที่มีเสี ยงแหลมเหมือนพิคโคโล ซึ่ งอยูใ่ น ตระกูลฟลุต้ มีอีกหลายชนิด เช่น panpines, recorder เป็ นต้น

บาสซู น คือเครื่ องดนตรี ในกลุ่มเครื่ องลมไม้อยู่ ในตระกูลโอโบมีลิ้นคู่ สามารถบรรเลงได้ต้ งั แต่ร ะดับเสี ยงบาริ โทนจนถึงระดับเสี ยงเบส โดยปกติ จะนำไปใช้บรรเลงโน้ตในระดับเสี ยงต่ำ บาสซูน เป็ นเครื่ องดนตรี สำคัญอีกเครื่ องหนึ่ งในวงควอเต็ ท สำหรับเครื่ องลมไม้ ซึ่ งประกอบขึ้นด้วย ฟลุต้ คลาริ เน็ต โอโบ และบาสซูน คุณภาพเสี ยงของบาส ซูนในช่วงเสี ยงสู งจะแหลม เสี ยงในช่วงกลางจะทึบ กลวง ไม่หนักแน่น ส่ วนมากแล้วมักจะใช้เสี ยงของ บาสซูนแสดงถึงความตลกขบขัน

18


19

เครื่องเป่ าทองเหลือง ทูบาคือ เครื่ องดนตรี ประเภทเครื่ องลมทองเห ลืองที่มีระดับเสี ยงต่ำสุ ด เครื่ องเป่ าทองเหลืองที่มีร ะดับเสี ยงต่ำเช่นเดียวกับทูบามีอีกจำนวนหนึ่ง เช่น บาริ โทน , ยูโฟเนียม และซูซ่าโฟน ทูบามีพฒั นา การมาจากการเป่ าเขาสัตว์และการเป่ าสังข์ ท่อลมข องทู บ ามี ล ัก ษณะบานออกมาตรงปลายเป็ นลำโพง กำพวดเป็ นโลหะรู ปถ้วยมีลกู สู บ 3 หรื อ 4 สู บ ทูบาที่นำ มาใช้มากจะอยูใ่ นระดับเสี ยงอีแฟล็ตและบีแฟล็ต

ทรอมโบนเป็ นเครื่ องดนตรี จดั อยูใ่ นประเภทเครื่ องลม ทองเหลือง มีคนั ชักโค้งเป็ นรู ปตัวยู สำหรับเปลี่ยนควา มสั้นยาวของท่อลม ตำแหน่งของการเลื่อนคันชักจะมีอ ยูท่ ้ งั หมด 7 ตำแหน่ง ให้ระดับเสี ยงดนตรี ต่างกันออกไป ท่อลมกลวงทรงกระบอก ปลายท่อบานออกเป็ นลำโพง เป่ าโดยใช้กำพวดเป็ นรู ปถ้วย ทรอมโบนพัฒนามาจากแตรทรอมบา (Tromba) ซึ่งเป็ นทรัมเป็ ตขนาดใหญ่ ตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 14 กลุค้ (Gluck) คือผูน้ ำทรอมโบนมาใช้ในวงอ อร์เคสตร้าเป็ นคนแรก ตามด้วย โมสาร์ท (Mozart) และบีโธเฟ่ น(Beethoven)


20 ทรัมเป็ ต คือ เครื่ องดนตรี ที่จดั อยูใ่ นประเภทเครื่ อ งลมทองเหลือง กำพวด(mouthpiece)สำหรับเป่ ามีล ั กษณะเป็ นท่อโลหะยาว บานตรงปลายคล้ายรู ปถ้วย ท่ อ ลมทรั ม เป็ ตกลวงยาวเท่ า กัน ปลายจะบานออกเป็ นลำโพง ทรัมเป็ ตมีลกู สูบ 3 สูบสำหรับเปลี่ยนคว ามสั้ นยาวของท่ อ ลมเพื่ อ เปลี่ ย นระดับ เสี ย งดนตรี ที่ เกิดขึ้นบางครั้งกดเพียง 1 นิ้ว บางครั้ง 2นิ้ว หรื อ 3 นิ้วพร้อมกันเป่ าโดยเม้มริ มฝี ปาก แล้วทำให้ริมฝี ปากสัน่ สะเทือนในกำพวด เสี ยงของทรัมเป็ ตจะเป็ นเสี ยงที่มีพลั งและดังเจิดจ้า ทรัมเป็ ตมีการพัฒนาการมานานมีรูปทรงต่างๆกัน ออกไป เครื่ องดนตรี ที่มีความสัมพันธ์กบั การพัฒนาก ารของทรัมเป็ ตคือ Serpent และ Kent Bugle ในยุคก ลางทรั มเป็ ตจะถูกนำมาใช้ในกิ จการของทหารเท่านั้น เป่ าเพื่อส่ งสัญญาณต่างๆ ในยุคต่อมาทรัมเป็ ตได้นำมาใ ช้ในวงออร์ เคสตร้าโดยเฉพาะในบรรยากาศของการแส ดงเสี ยงอึกทึกเสี ยงดัง หรื อการประโคม บุคคลที่ถือว่าเป็ นผูอ้ อกแบบทรัมเป็ ตที่สำคัญ คือ Johann Wilhelm Haas (1649-1723) เป็ นชาวเยอรมัน ทรั ม เป็ ตในปั จ จุ บ ัน ที่ ถู ก นำมาใช้ ม ากจะอยู่ ใ นระดั บเสี ยงบีแฟล็ต เครื่ องดนตรี ที่อยูใ่ นกลุ่มเดียวกับ ทรัมเป็ ตมีหลายชนิด เช่นทรอมโบน ฮอร์น คอร์เน็ต ทูบา ยูโฟเนียม,ซูซ่าโฟน,ฟลูเกิลฮอร์น


21

เครื่องกระทบ

กลองทิมปานี เป็ นกลองที่มีลกั ษณะเหมือนกระทะหรื อกา ต้มน้ำ จึงมีชื่อเรี ยกอีกชื่อหนึ่งว่า Kettle Drum ตัวกลองทำด้วยโลหะทองแดง ตั้งอยูบ่ นขาหยัง่ ก ลองทิมปานี มีระดับเสี ยงแน่นอนเทียบเท่ากับเสี ยง เบสมีเท้าเหยียบเพื่อเปลี่ยนระดับเสี ยงตามต้องการ ในการบรรเลงต้องใช้อย่างน้อย 2 ใบเสี ยงของกลอ งจะแสดงอำนาจทำให้ความยิง่ ใหญ่ ตื่นเต้นเร้าใจ กลองทิมปานีจะใช้บรรเลงในวงออร์เคสตรา ใน การบรรเลงต้องใช้กลองทิมปานีอย่างน้อย 2 ใบ จึงมีรูปพหูพจน์อยูเ่ สมอคือ “Timpani” ถ้าเป็ นเอก พจน์หรื อกลองลูกเดียวเรี ยกว่า “Timpano” กลองทิ มปานีเป็ นกลองที่มีระดับเสี ยงที่นิยมมี 4 ขนาด คือ 20 นิ้ว, 23 นิ้ว, 26 นิ้วและ29นิ้ว กลองแต่ละใบจะ มีช่วงห่างของเสี ยงอยูร่ าวคู่ 5 เพอร์เฟค (Perfect) แ ละถ้าต้องการจะให้มีเสี ยงที่ดีควรจัดให้เสี ยงอยูช่ ่ว งกลาง

กลองใหญ่ คือ เครื่ องตีกระทบ มี 2 หน้า ขึงด้วยหนังกลอง กลองใหญ่ ที่ ใ ช้ใ นวงออร์ เ คสตร้ า จะมี ข นาด ใหญ่ที่สุดกว่า 32 นิ้ว ถ้าใช้ในวงโยธวาทิต จะมีขนาดตั้งแต่ 24 – 32 นิ้ว ตีดว้ ยไม้ตี ปลายไ ม้ขา้ งหนึ่ งทำเป็ นปมไวัสำหรับใช้ตีกระทบกับ หนังกลอง ปมนั้นอาจหุม้ ด้วยสักหลาด ไม้กอ็ ก ผ้านวมหรื อฟองน้ำ เสี ยงกลองตีเน้นย้ำจังหวะ เพื่อให้เกิดวามหนักแน่นหรื ออาจจะใช้รัวเพื่อใ ห้เกิดความตื่นเต้น รัวเพื่อสร้างจุดสนใจในบท เพลงเพิ่มขึ้นก็ได้ บทเพลงสำหรับวงครื่ องเป่ า (Wind Band) ใ นปั จจุบนั จะมีการกำหนดให้กลองใหญ่ตีในลีล าจังหวะที่สลับซับซ้อนมากขึ้น กลองแต่ละขน าดจะมีแนวบรรเลงโดยเฉพาะ เมื่อบรรเลงพร้อ มกันจะทำให้เกิดสี สนั ของลีลาจังหวะขึ้น


22 ไทรแองเกิล (อังกฤษ: Triangle) ภาษาไทยมีอีกชื่อเรี ยกว่า “กิ่ ง”เป็ นเครื่ องดนตรี ที่ทำจากแท่งโลหะดัดให้เป็ น รู ปสามเหลี่ยม แท่งโลหะมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลา งประมาณ 1 ซ.ม. เพื่อให้เสี ยงดังกังวาน ต้องแขว นกิ่ งไว้กบั เชื อกแล้วตีกระทบด้วยแท่งโลหะกิ่ งมี ลักษณะเสี ยงแจ่มใสมีชีวติ ชีวา คล้ายเสี ยงกระดิ่ง มีระดับเสี ยงที่ไม่แน่นอน กิ๋ง เป็ นเครื่ องดนตรี จดั อยูใ่ นประเภทเครื่ องตีก ระทบ ทำด้วยแท่งโลหะ ดัดให้เป็ นรู ปสามเหลี่ยม แท่งโลหะมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 ซ.ม. เพื่อให้เกิดเสี ยงดังกังวาน ต้องแขวนกิ๋งไว้กบั เชือ กแล้วตีกระทบด้วยแท่งโลหะ กิ๋งมีเสี ยงแจ่มใส มีชีวติ ชีวา เป็ นเครื่ องตีกระทบที่ทำด้วยแท่งโลหะดัดให้เป็ น รู ปสามเหลี่ยม เพื่อให้เกิดเสี ยงดังกังวานต้องแขว นกิ่งไว้กบั เชือกแล้วตีกระทบด้วยแท่งโลหะ กิ่งจะ มีเสี ยงที่แจ่มใสฟังแล้วมีชีวติ ชีวา

ฉาบ คือเครื่ องดนตรี ประเภทตีกระทบทำด้วยโลหะทองเห ลืองมีหลายแบบทั้งฉาบแบบฝาเดียว และแบบสองฝา แต่ละแบบยังมีหลายขนาดอีกด้วย ฉาบแต่ละแบบมีลกั ษ ณะการตีแตกต่างกันออกไปเสี ยงของฉาบทำให้เกิดความ ตื่นเต้นเร้าใจ ความสนุกสนาน และความอึกทึกครึ กโครม ฉาบเป็ นเครื่ องดนตรี ที่ใช้ในดนตรี หลายชนิ ดเช่ นวงอ อร์เคสตราสมัยใหม่ วงมาร์ช วงคอนเสิ ร์ต ดนตรี ทหาร รวมถึ ง เข้า มาเป็ นส่ ว นหนึ่ ง ของกลองชุ ด ในปั จ จุ บ ัน ด้ วย ในวงโยธวาทิต สามารถแบ่งฉาบที่ใช้ออกได้เป็ น สองชนิด คือ ฉาบคู่ และฉาบแขวนหรื อฉาบรัวฉาบคู่ เป็ นฉาบสองใบ แต่ละใบจะมีสายเป็ นวงสำหรับถือ ก ารเล่ น ใช้มื อ แต่ ล ะข้า งถื อ ฉาบแล้ว นำเข้า มากระทบ กัน ส่ วนฉาบแขวน เป็ นฉาบใบเดียวแขวนกับขาตั้ง นิยมตีดว้ ยไม้แบบหัวมัลเล็ตหุม้ ในกลองชุดก็ใช้ฉาบแบ บนี้เช่นเดียวกัน


23


24



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.