วารสารธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 189

Page 1



รายนามสมาชิก สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27.

บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จ�ำกัด บริษัท แหลมทองสหการ จ�ำกัด บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จ�ำกัด บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท กรุงไทยอาหาร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท คาร์กิลล์สยาม จ�ำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท ฟีดสเปเชียลตี้ จ�ำกัด บริษัท โกรเบสท์คอร์โพเรชั่น จ�ำกัด บริษัท เอเชี่ยน ฟีด จ�ำกัด บริษัท ไทยลักซ์เอ็นเตอร์ไพรส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส (สระบุรี) จ�ำกัด บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จ�ำกัด บริษัท คาร์กิลล์มีทส์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด บริษัท ยูไนเต็ดฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท มิตรภาพอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท เหรียญทอง ฟีด (1992) จ�ำกัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จ�ำกัด บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จ�ำกัด บริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท อีสเทิร์น ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท ซันฟีด จ�ำกัด บริษัท ยูนีโกร อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด

28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42. 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51. 52. 53. 54.

บริษัท พนัสโภคภัณฑ์ จ�ำกัด บริษัท ยู่สูง จ�ำกัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จ�ำกัด บริษัท บางกอกแร้นซ์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท กาญจนาอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท ก้าวหน้าอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท วี.ซี.เอฟ. กรุ๊ป จ�ำกัด บริษัท ชัยภูมิฟาร์มผลิตภัณฑ์การเกษตร จ�ำกัด บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จ�ำกัด บริษัท บุญพิศาล จ�ำกัด บริษัท เฮกซ่าแคลไซเนชั่น จ�ำกัด บริษัท หนองบัว ฟีด มิลล์ จ�ำกัด บริษัท ไทย ฟู้ดส์ อาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท โกลด์ คอยน์ สเปเชียลิตี้ส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท วีพีเอฟ กรุ๊ป (1973) จ�ำกัด บริษัท อาร์ที อะกริเทค จ�ำกัด บริษัท ฟาร์มจงเจริญ จ�ำกัด บริษัท เจบีเอฟ จ�ำกัด บริษัท อินเว (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท ทีอาร์เอฟ ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท บีอาร์เอฟ ฟีด (ไทยแลนด์) จ�ำกัด บริษัท เกษมชัยฟาร์มอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท พนัส ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท เอพีเอ็ม อะโกร จ�ำกัด บริษัท แสงทองอาหารสัตว์ จ�ำกัด

อภินันทนาการ


คณะกรรมการบริหาร สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ประจ�ำปี 2562-2563

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16.

นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายชยานนท์ กฤตยาเชวง นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ นายไพศาล เครือวงศ์วานิช นางเบญจพร สังหิตกุล นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ น.ส. สุวรรณี แต้ไพสิฐพงษ์ นายสมภพ เอื้อทรงธรรม นายโดม มีกุล นายวิโรจน์ กอเจริญรัตน์ นายเธียรเทพ ศิริชยาพร นายสุจิน ศิริมงคลเกษม น.ส. รติพันธ์ หิตะพันธ์ นายสุทธิชัย ศักดิ์ชัยเจริญกุล นายจ�ำลอง เติมกลิ่นจันทน์ นายพน สุเชาว์วณิช

นายกสมาคม อุปนายก อุปนายก อุปนายก เหรัญญิก เลขาธิการ รองเลขาธิการ รองเลขาธิการ ประชาสัมพันธ์ ปฏิคม นายทะเบียน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ป. เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกรโฮลดิ้ง จ�ำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จ�ำกัด บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส (สระบุรี) จ�ำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จ�ำกัด บริษัท กรุงไทยอาหาร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จ�ำกัด บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จ�ำกัด บริษัท ซันฟีด จ�ำกัด บริษัท บางกอกแร้นช์ จ�ำกัด (มหาชน)


บรรณาธิการแถลง อย่าให้ถึงขั้นต้องแตกหัก ยอมกันไม่ได้ ประเทศไม่ใช่ของใครคนใดคนหนึ่ง ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ที่จะต้องเอาชนะและลงกันไม่ได้ การตัดสินใจอะไรลงไป ย่อมมีการแก้ไขได้ หากยังไม่ใช่ทางเลือก ทีด่ ที สี่ ดุ เพราะไม่มอี ะไรทีจ่ ะถูก หรือผิด ไปทัง้ หมด เพราะความคิดเห็นมีแตกต่าง และผลประโยชน์ ช่องทางการท�ำมาหากินมีหลากหลาย ไม่ใช่จะมาล้มกระดานด้วยการใช้อ�ำนาจ ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง ทีพ่ งึ มี หวังว่า คงจะมีพระเอกขีม่ า้ ขาว มาจัดการไกล่เกลีย่ ผลประโยชน์ของประเทศไปในทางทีถ่ กู ต้อง และทุกฝ่ายยอมรับได้ ด้วยเหตุและผลทีด่ ตี อ่ กัน ประเทศยังต้องอยูก่ นั อีกยาวนาน ไม่มใี ครอยูค่ ำ�้ ฟ้า ด้วยการหาประโยชน์จากอ�ำนาจที่ได้มา เศรษฐกิจ ณ เวลานี้ ที่ทุกส�ำนักมองไปในแนวทางเดียวกันว่า ก�ำลังถดถอย และรอเวลาที่จะ ฟื้นตัวด้วยความยากล�ำบาก แม้ว่าบางภาคธุรกิจที่มีโอกาสเติบโตไปได้ด้วยดี แต่เมื่อมองภาพรวมแล้ว ยังอยู่ขั้นที่จะต้องประคับประคองกันไปให้ดี อย่าให้มีภาคไหนมาฉุดอีก ด้วยเหตุผลที่ไม่สมควรอีกเลย กรมปศุสตั ว์ยงั เข้มแข็งและได้รบั ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนทีจ่ ะช่วยกันเฝ้าระวังไม่ให้โรคระบาด ASF เข้ามาในประเทศได้ ไข่ไก่ก็ยังต้องรณรงค์กันต่อไปให้มีการบริโภคให้มากขึ้น เพื่อสุขภาพของ คนไทยที่ดี และโอกาสที่ภาคผู้เลี้ยงไก่ไข่ จะได้มีความมั่นใจที่จะอยู่ต่อในอาชีพการเลี้ยงไก่ไข่ ไก่เนื้อ ก็เป็นเนือ้ สัตว์ทไี่ ด้รบั ความไว้ใจทีจ่ ะมาทดแทนเนือ้ หมู ในบางประเทศทีป่ ระสบปัญหา โรค ASF ทีจ่ ะต้อง หาเนื้อสัตว์ไปทดแทนบางส่วน ซึ่งตลาดส่งออกของไทยน่าจะไปได้อีกทางหนึ่ง เพราะความที่ภาค อุตสาหกรรมปศุสัตว์ไทยได้พัฒนามีการเข้าสู่ระบบมาตรฐานที่สร้างขึ้นมาและมีความพร้อมและเป็น ที่ยอมรับจากประเทศผู้สั่งซื้อ ดังนั้น โอกาสดีอย่างนี้ อย่าให้มีอุปสรรคที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาท�ำลายวงจรห่วงโซ่ที่เกี่ยวคล้องกัน อย่างเหนียวแน่นนีใ้ ห้ขาดลง จึงหวังว่าจะได้รบั ความเข้าอกเข้าใจในปัญหาทีไ่ ม่ได้เกิดขึน้ จากภาคปศุสตั ว์ เอง ต้องมาได้รับผลกระทบจากการตัดสินใจที่ขาดการรับฟังทุกภาคส่วนนี้เลย หวังได้รับการแก้ไขที่ดี ตลอดไป เทอญ..... บก.


วารสาร

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36  เล่มที่ 189  ประจำ�เดือน พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมความรู้และเผยแพร่อุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ 2. เพื่อเป็นสื่อกลางระหว่างสมาชิกและผู้ที่เกี่ยวข้องทั่วไป 3. เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ของประเทศให้เจริญรุ่งเรืองในแนวทาง ที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของชาติ 4. ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง

Contents Thailand Focus

“เฉลิมชัย” นั่งหัวโต๊ะ บูรณาการทุกภาคส่วน ยกระดับมาตรการป้องกันโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร เชื่อมั่นจะไม่มีการระบาดในประเทศไทย “เฉลิมชัย” ยกระดับเข้มงวด สกัดโรคอหิวาต์แอฟริกาสุกร แนวตะเข็บชายแดน ตั้งบอร์ดรับมือโรคอหิวาต์หมู ชงของบ 1.8 พันล. ชดเชยผู้เลี้ยงรายย่อย “เฉลิมชัย” เผย “นายกฯ” ตั้ง คกก. ควบคุมและก�ำจัดโรคอหิวาต์หมู “ไทย-ฮังการี” หารือร่วมมือด้านเกษตร การควบคุมโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร

5 8 10 12 13

Food Feed Fuel

สินค้าไก่เนื้อและผลิตภัณฑ์ สินค้าสุกรและผลิตภัณฑ์ สินค้าไข่ไก่และผลิตภัณฑ์ สถานการณ์ถ่ัวเหลือง สถานการณ์กากถั่วเหลือง ราคารับซื้อปลาเป็ ดและปลาป่ น ี ุ่นบุกไทย ตั้งฟาร์มไก่ท้าชนเจ้าตลาด ‘อิเสะ’ ยักษ์ไข่ญ่ ป

15 19 24 27 30 33 35

Market Leader

ลุ้นขยับเส้นตาย แบน 3 สารพิษ ลามธุรกิจอาหาร “คน - สัตว์” โรงงานอาหารสัตว์ป่วนหนัก US ขู่ไทย เลิกแบน ‘ไกลโฟเซต’ เกษตรฯ เปิดวอร์รูม สั่ง 11 จังหวัด ตัดวงจรระบาดโรคใบด่างมันส�ำปะหลัง สัตวแพทย์ มก. แนะ “เลี้ยงไก่ให้ทันโรค” ‘แพะ’ เลี้ยงง่าย ลงทุนต่�ำ.. ฟันก�ำไรตัวละ 700

39 42 46 48 52

Around the World

ิ ัย ธ.ก.ส. คาด ราคาน้�ำตาล - มันส�ำปะหลัง - ปาล์ม - สุกร - กุ้งขาวแวนนาไม เดือน พ.ย. ศูนย์วจ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส่วนข้าว - ยาง ปรับลดลง ภาคเกษตรโดนด้วย ‘หั่นจีดีพีเกษตร’ โตแค่ 0.5-1.5% อุปทูตสหรัฐฯ ดอดพบ ‘สมคิด’ ชี้กระบวนการยังไม่สิ้นสุด ต่อรองคืนจีเอสพี มุ่งยกระดับ สินค้าเกษตร สู่มาตรฐานสากล จีนวิกฤต หมูไม่พอขาย รัฐบาลวอนประชาชนกินให้น้อยลง หยุดโรคเป็นวาระส�ำคัญ... ที่ต้องก้าวข้ามให้กุ้งไทยได้ไปต่อ

54 56 58 65 67 69

ขอบคุณ

80

ด�ำเนินการโดย : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย     ประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายประเสริฐ พุ่งกุมาร    รองประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายวีรชัย รัตนบานชื่น  นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล     กรรมการที่ปรึกษา : นายสมชาย กังสมุทร  นายพงษ์ เหล่าวรวิทย์  นายประสิทธิ์ ศิริมงคลเกษม  นายอดิเรก ศรีประทักษ์  นายนิพนธ์ ลีละศิธร นางเบญจพร สังหิตกุล  นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง  นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์  นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ ์    บรรณาธิการ : นายปรีชา กันทรากรกิต ิ    กองบรรณาธิการ : นายไพบูลย์ ขุนทอง  นายอรรถพล ชินภูวดล  นางสาวดวงกมล รัชชะกิตติ นางสาวกรดา พูลพิเศษ   ส�ำนักงาน : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย 43 ไทย ซีซี ทาวเวอร์ ห้อง 170 ชั้น 17 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2675-6263-4   โทรสาร 0-2675-6265   Email: tfma44@yahoo.com   Website: www.thaifeedmill.com 



ระบบมาตรฐานที่ได้รับการรับรอง

GMP / HACCP

ISO 9001 : 2015 / ISO 14001 : 2015


Thailand Focus

“เฉลิมชัย” นั่งหัวโต๊ะ บูรณาการทุกภาคส่วน ยกระดับมาตรการป้องกันโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร เชื่อมั่นจะไม่มีการระบาดในประเทศไทย

นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลัง การประชุ ม คณะกรรมการอ� ำ นวยการป้ อ งกั น ควบคุมและก�ำจัดโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกรแห่ง ชาติ ณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ว่า จาก สถานการณ์การระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกา ในสุกร (African swine fever, ASF) ปัจจุบัน พบการระบาดทั้งหมด 29 ประเทศ แบ่งเป็น ทวีปแอฟริกา 5 ประเทศ ทวีปยุโรป 13 ประเทศ และทวีปเอเชีย 11 ประเทศ ได้แก่ มองโกเลีย เวียดนาม กัมพูชา เกาหลีเหนือ สปป.ลาว พม่า ฟิลปิ ปินส์ เกาหลีใต้ ติมอร์-เลสเต และอินโดนีเซีย ซึ่งประเทศไทยยังไม่พบการระบาดของโรคดัง กล่าว เนือ่ งจากมีการจัดท�ำแผนเตรียมความพร้อม เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคอหิวาต์แอฟริกา ในสุกร และแนวเวชปฏิบตั ขิ องโรคอหิวาต์แอฟริกา ซึ่งบูรณาการทุกภาคส่วนมาร่วมกันด�ำเนินการ ทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และเกษตรกร โดยรัฐบาล

ยกระดับแผนดังกล่าวเป็นวาระแห่งชาติ มีการ จัดตั้ง War Room ทั้งในส่วนกลางและภูมิภาค มี การซ้อมรับมือทุกจังหวัดทั่วประเทศ และเตรียม ความพร้อมทางห้องปฏิบตั กิ ารในการตรวจวินจิ ฉัย อีกทั้งร่วมกับองค์กรระหว่างประเทศ OIE, FAO จัดประชุมแลกเปลี่ยนข้อมูลการเฝ้าระวัง อย่างไรก็ตาม กระทรวงเกษตรฯ โดย กรมปศุสัตว์ มีมาตรการในการป้องกัน คือ การ ประกาศระงับการน�ำเข้าสุกรและผลิตภัณฑ์จาก สุ ก รจากประเทศที่ มี ก ารระบาดของโรค และ บูรณาการการท�ำงานกับทุกภาคส่วน ป้องกันและ ปราบปรามการลักลอบน�ำสุกร ผลิตภัณฑ์สกุ รเข้า มาในประเทศ นอกจากนี้ ยังมีมาตรการเฝ้าระวัง ในการจัดเจ้าหน้าทีล่ งพืน้ ที่ X-Ray เคาะประตูบา้ น เฝ้าระวังทางอาการ ขึน้ ทะเบียนและประเมินความ เสี่ยงด้วยแอพลิเคชั่น E-SmartPlus พร้อมให้ ค�ำแนะน�ำความรู้เรื่องโรคและการป้องกัน

ที่มาของข้อมูล : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และสำ�นักควบคุมป้องกันและบำ�บัดโรคสัตว์ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

5


Thailand Focus

นายเฉลิมชัย กล่าวต่อไปว่า กรมปศุสตั ว์ ได้มีการของบกลางรายการเงินส�ำรองจ่ายเพื่อ กรณีฉกุ เฉินหรือจ�ำเป็น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ไปพลางก่อน (เร่งด่วน) เพื่อป้องกันโรคอหิวาต์ แอฟริกาในสุกร อาทิ ค่าชดใช้ราคาสุกรทีถ่ กู ท�ำลาย เพือ่ ลดความเสีย่ งเกิดโรคในพืน้ ทีเ่ สีย่ งสูง รถก�ำจัด ซากสัตว์ตดิ เชือ้ เพือ่ ควบคุมโรคระบาด และเครือ่ ง ตรวจวิเคราะห์สารพันธุกรรมในสภาพจริงแบบ เคลื่อนที่ เป็นต้น ทั้งนี้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้มี การช่ ว ยเหลื อ เกษตรกรผู ้ เ ลี้ ย งสุ ก รที่ ไ ด้ รั บ ผล กระทบ โดยจะมีการส่งเสริมการเลี้ยงแพะ เนื่อง จากปัจจุบนั มีปริมาณการบริโภคในปี 2561 จ�ำนวน 498,031 ตัว มีความต้องการในตลาด 647,440 ตั ว แบ่ ง เป็ น การบริ โ ภคในประเทศ และการ ส่งออก ทัง้ การส่งออกไปยังประเทศมาเลเซีย และ เวียดนาม นอกจากนี้ ยังจะมีการช่วยเหลือในการ ปรับเปลีย่ นอาชีพไปเลีย้ งโคเนือ้ ไก่ไข่ ไก่พนื้ เมือง และการปลูกพืชอาหารสัตว์ 2 ไร่ เป็นต้นด้วย “อยากขอความร่วมมือทุกภาคส่วนในการ ยกระดับมาตรการป้องกันโรคอหิวาต์แอฟริกา ในสุกร และต้องขอขอบคุณหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่ร่วมกันป้องกันไม่ให้เกิดโรคดังกล่าว เช่น การ ตรวจสอบ และตรวจยึดการน�ำเข้าผลิตภัณฑ์จาก สุกรที่นักท่องเที่ยวน�ำติดตัวมา การจัดการเศษ อาหารที่ เ หลื อ จากการบริ โ ภคในโรงแรม และ สถานประกอบการร้านอาหาร และการก�ำหนด มาตรการควบคุ ม ก� ำ กั บ ดู แ ลแหล่ ง ที่ ม าของ ผลิตภัณฑ์สุกรที่จ�ำหน่ายผ่านช่องทางออนไลน์ เป็นต้น หากทุกภาคส่วนมีความร่วมมือกัน เชือ่ ว่า จะสามารถควบคุมไม่ให้เกิดการระบาดในประเทศ ไทยได้” นายเฉลิมชัย กล่าว

6

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562


VICTAM AND ANIMAL HEALTH AND NUTRITION 2020 THE TOTAL ANIMAL FEED AND HEALTH EVENT ORGANIZED BY:

STRONG BRANDS COMBINED IN ONE EVENT VICTAM and VIV join forces to fuel growth in the Asian market

March 24 - 26, BITEC, Bangkok, Thailand

DON’T MISS A THING

WHY EXHIBIT?

400 exhibitors

100+ speakers

17.800

m2 exhibition space

70+ countries

9.000+ visitors

100+ media

Over 9.000 (potential) customers from all over Asia High quality visitor Elaborate conference program and the possibility to give your own technical seminar The platform to launch your innovation for maximum exposure

VICTAM AND ANIMAL HEALTH AND NUTRITION ASIA 2020 Victam Corporation Patricia Heimgartner +31 33 246 4404 expo@victam.com

VNU Exhibitions

Zhenja Antochin +31 6 8379 9693 zhenja.antochin@vnuexhibitions.com

You can also contact your local representative.

OFFICIAL SHOW WEBSITES: www.victamasia.com www.vivhealthandnutrition.nl


Thailand Focus

“เฉลิมชัย” ยกระดับเข้มงวด

สกัดโรคอหิวาต์แอฟริกาสุกร แนวตะเข็บชายแดน "เฉลิมชัย" ย�้ำประเทศไทย เฝ้าระวัง ป้องกันโรค อหิวาต์แอฟริกาสุกรตามแผนและมาตรการอย่างเข้มงวด ต่อเนื่องมาตลอดกว่า 1 ปี ท�ำให้สามารถป้องกันโรค ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นายเฉลิมชัย ศรีออ่ น รมว.เกษตรและสหกรณ์ เปิด เผยถึงสถานการณ์โรคระบาดอหิวาต์แอฟริกาสุกรว่า ขณะนี้ มีรายงานการพบโรคแพร่ระบาดในสุกรของหลายประเทศ รวมถึ ง ประเทศเพื่ อ นบ้ า นที่ อ ยู ่ ติ ด ชายแดนประเทศไทย ได้แก่ เมียนมา ลาว กัมพูชา อย่างต่อเนื่อง ท�ำให้ประเทศไทยมีความเสี่ยงสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งสุกรของเกษตรกรรายย่อยในพื้นที่จังหวัดที่มีชายแดนติดกับ ประเทศเพือ่ นบ้านดังกล่าว ดังนัน้ กรมปศุสตั ว์จงึ ต้องยกระดับเพิม่ ความเข้มงวดสูงสุด ในการปฏิบตั ติ ามแผนการเฝ้าระวังและมาตรการป้องกันควบคุมโรค ซึง่ ประกอบด้วย การเพิ่มความเข้มงวดในการควบคุมการเคลื่อนย้ายสัตว์และซากสัตว์ในทุกพื้นที่ ทั่วประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจังหวัดที่มีพรมแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้าน ให้ บูรณาการทุกภาคส่วนของจังหวัดในการจัดตัง้ ด่านป้องกันและตรวจสอบการขนย้าย สัตว์ในด่านต่างๆ ทั้งในเขตแนวชายแดน และด่านระหว่างอ�ำเภอ รวมถึงช่องทาง ที่จะไปสู่ในจังหวัดต่างๆ โดยให้เจ้าหน้าที่เพิ่มก�ำลังในการตรวจอย่างเข้มงวดตลอด เวลา 24 ชั่วโมง ส�ำหรับมาตรการการเฝ้าระวัง ได้จดั เจ้าหน้าทีล่ งพืน้ ที่ X-Ray เคาะประตูบา้ น เฝ้ า ระวั ง ทางอาการ ขึ้ น ทะเบี ย น และประเมิ น ความเสี่ ย งด้ ว ยแอปพลิ เ คชั น อี-สมาร์ทพลัส พร้อมให้คำ� แนะน�ำความรู้เรื่องโรคและการป้องกัน รวมทั้งร่วมกับ เครือข่ายผู้ใหญ่บ้าน ผู้น�ำชุมชน ประชาสัมพันธ์ผ่านเสียงตามสายในการให้ความรู้ เรื่องโรค การป้องกันโรค พร้อมทั้งรับแจ้งรับแจ้งเหตุหากมีสุกรป่วยตายผิดปกติ ในหมู่บ้าน และชุมชน นอกจากนี้ อสม. และอาสาปศุสัตว์ ยังช่วยเฝ้าระวังทาง อาการในพื้นที่อีกด้วย เพื่อให้การช่วยเหลือแก่เกษตรกรอย่างทันท่วงที ที่มา : ไทยรัฐออนไลน์ วันที่ 29 กันยายน. พ.ศ. 2562

8

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562


Thailand Focus โดยเน้นย�้ำให้ทุกภาคส่วนต้องผนึกก�ำลัง ร่วมมือกันเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคอหิวาต์ แอฟริกาสุกรอย่างเข้มข้นต่อเนื่องตามแผนและ มาตรการที่มีการระดมความเห็นและก�ำหนดไว้ ล่วงหน้าจากอาจารย์มหาวิทยาลัย สมาคมผู้เลี้ยง สุกรแห่งชาติ และกรมปศุสัตว์ ซึ่งได้ก�ำหนดไว้ ล่วงหน้าแล้ว หากเจ้าหน้าทีป่ ศุสตั ว์จงั หวัดในพืน้ ที่ เสีย่ งเข้าตรวจประเมินการเลีย้ งสุกรของเกษตรกร แล้ว พบว่าฟาร์มของเกษตรกรรายใดมีความเสีย่ ง สูง ให้ประสานงานกับสมาคมผูเ้ ลีย้ งสุกรแห่งชาติ ช่วยรับซื้อสุกรเพื่อน�ำไปรับไปเชือดเพื่อแปรรูป ปรุงสุก หรือฝังท�ำลาย ขึน้ กับผลการประเมินความ เสี่ยงในแต่ละพื้นที่ “ท่านนายกฯ เป็นห่วงโรคอหิวาต์หมู ก�ำชับ หลังกลับจากอเมริกา ให้กระทรวงเกษตรฯ น�ำเรือ่ ง รายงาน ทัง้ มาตรการ สถานการณ์ ภาครัฐ พร้อม มาตรการป้องกันโรค และความช่วยเหลือทุกด้าน” นายเฉลิมชัย กล่าว

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

9


Thailand Focus

ตั้งบอร์ดรับมือโรคอหิวาต์หมู ชงของบ 1.8 พันล. ชดเชยผู้เลี้ยงรายย่อย

นายกฯ แต่งตัง้ คณะกรรมการอ�ำนวยการป้องกันอหิวาต์หมู แห่งชาติ “จุรินทร์” ประธาน เผยล่าสุด แพร่ระบาดจากตะเข็บ ชายแดนเมียนมา - กัมพูชา - ลาว เข้าถึงเหนือจรดอีสาน “เชียงราย ศรีสะเกษ - บุรีรัมย์ - อุบลฯ - นครพนม” กรมปศุสัตว์ฆ่าแล้ว หมื่นตัว พร้อมเร่งผลักดันของบฯ 1,800 ล้าน จ่ายค่าชดเชย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เ ปิ ด เผยว่ า เมื่ อ วั น ที่ 15 ตุลาคม 2562 พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายรัฐมนตรี ได้ ลงนามแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการอ�ำนวยการป้องกัน ควบคุม และก�ำจัดโรคอหิวาต์แอฟริกันในสุกร แห่งชาติ เพื่อให้ประเทศไทยมีการเตรียมความพร้อม และสามารถด�ำเนินการ ป้องกัน ควบคุม และแก้ไขสถานการณ์โรคอหิวาต์แอฟริกันในสุกร เป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพ โดยอาศัยอ�ำนาจตามมาตรา 11(6) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ บริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 โดยมอบหมายให้ นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เป็นประธาน และมี รองประธาน 2 คน คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงมหาดไทย มีปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นกรรมการ และเลขานุการ อธิบดีกรมปศุสตั ว์ เป็นกรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ ส่วนกรรมการ ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงต่างๆ เช่น กลาโหม คลัง คมนาคม ดิจิทัลเพื่อ เศรษฐกิจและสังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พาณิชย์ มหาดไทย สาธารณสุข เป็นต้น วงการปศุสัตว์เปิดเผยว่า ขณะนี้โรคอหิวาต์แอฟริกันในสุกรมีความเสี่ยง สูงมาก จะเกิดการแพร่ระบาดในฟาร์ม ผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยในหลายจังหวัดที่มี ชายแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้าน เมียนมา กัมพูชา และลาว และเข้ามายัง ประเทศไทย เช่น เชียงราย พะเยา และน่าน ล่าสุดทีศ่ รีสะเกษ บุรรี มั ย์ อุบลราชธานี ที่มา : ประชาชาติธุรกิจ ฉบับวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2562

10

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562


ดังนัน้ กรมปศุสตั ว์จงึ พยายามผลักดันให้มี การแต่งตั้งคณะกรรมการวาระแห่งชาติ ตามมติ ครม. เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2562 ขึ้นมาอีกครั้ง เพือ่ ผลักดันงบประมาณ ทีข่ อไปเบือ้ งต้นประมาณ 1,800 ล้านบาท เพื่อมาจ่ายค่าชดเชยให้ผู้เลี้ยง รายย่อย ก่อนลุกขึ้นมารวมตัวกันประท้วง ขณะ เดียวกันจะได้ขอก�ำลังเจ้าหน้าที่จากหน่วยงาน ต่างๆ เข้ามาช่วยป้องกัน เพราะกรมปศุสัตว์เอง มีบุคลากรจ�ำกัด

“โรค ASF ยังไม่เกิดในไทย ต้องช่วยกัน ป้องกัน หากเกิดขึ้นมาจะลุกลามเร็วมาก ราคา หมูจึงยังไม่นิ่ง ผู้เลี้ยงยังขาดทุน เพราะผู้บริโภค ยังกลัวกันอยู่ ท�ำให้ราคาหมูเป็นในภาคเหนือ และภาคอีสานที่ติดประเทศเพื่อนบ้านที่ระบาด อยู่ที่ระดับ เฉลี่ย กก. ละ 50 - 52 บาท ส่วน ภาคกลางภาค ตะวันตก กก. ละ 54 - 56 บาท ขณะที่ต้นทุนการผลิต กก. ละ 60 บาท” นาย สุรชัย กล่าว

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

Thailand Focus

นครพนม เป็นต้น ซึ่งกรมปศุสัตว์ได้ฆ่าสุกรไป ประมาณ 10,000 ตั ว โดยให้ ส มาคมผู ้ เ ลี้ ย ง สุกรแห่งชาติ ระดมเงินจากผู้เลี้ยงรายใหญ่เข้า “กองทุนชดเชยและป้องกันโรค ASF” ไว้จ่าย ชดเชย ใช้เงินไปแล้วกว่า 40 ล้านบาท และยัง ติดเงินผู้เลี้ยงรายย่อยในหลายฟาร์มที่ได้ฆ่าสุกร ไปแล้ว แต่ไม่มีเงินจ่าย จนสร้างความไม่พอใจ ให้ผู้เลี้ยงรายย่อย

ขณะที่ นายสุ ร ชั ย สุ ท ธิ ธ รรม นายก สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ เปิดเผยว่า “กองทุน ชดเชย และป้องกันโรค ASF” ของผู้เลี้ยงสุกร ทั่ ว ประเทศที่ ส ่ ง มาที่ ส มาคม 36 ล้ า นบาท สมาคมได้ใช้จ่ายไปหมดแล้ว ล่าสุดเมื่อวันที่ 17 ต.ค. 2562 สมาคมผู้เลี้ยงสุกรจากภาคต่างๆ ทั่ว ประเทศได้โอนมาให้อีก 6 ล้านบาท ก็หมดลง แล้วเช่นกัน เพราะเงินที่โอนเข้ากองทุนส่วนกลาง ส่วนใหญ่จะน�ำไปใช้หนี้ให้เกษตรกรผู้เลี้ยงหมูที่มี ความเสี่ยงต่อโรคต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นโรค ระบบทางเดินหายใจและระบบสืบพันธุ์ (PRRS) เนื่ อ งจากเกษตรกรรายย่ อ ยไม่ มี ก ารฉี ด วั ค ซี น ป้องกันโรคนี้ อย่างไรก็ตาม หมูที่เป็นโรค PRRS สามารถบริโภคได้

11


Thailand Focus

“เฉลิมชัย” เผย “นายกฯ” ตั้ง คกก.

ควบคุมและก�ำจัดโรคอหิวาต์หมู

“บิก๊ ตู”่ เซ็นตัง้ แล้วคณะกรรมการอ�ำนวยการป้องกัน ควบคุม และก�ำจัดโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกรแห่งชาติ ด้าน รมว.เกษตรฯ มั่นใจไทยเข้มป้องกันส�ำเร็จ นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน รมว.เกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี มีความห่วงใยในปัญหา โรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกรซึ่งเป็นวาระแห่งชาติ จึงมีค�ำสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการอ�ำนวยการป้องกัน ควบคุมและก�ำจัดโรคอหิวาต์แอฟริกา ในสุกรแห่งชาติ โดยมี นายจุรนิ ทร์ ลักษณวิศษิ ฏ์ รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานกรรมการ มีหน้าทีแ่ ละอ�ำนาจในการก�ำหนดนโยบายและ แผนเตรียมความพร้อมรับมือโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกรระดับชาติ ก�ำหนดมาตรการช่วยเหลือผู้เดือดร้อนและผู้ที่ได้รับผลกระทบ โดย ให้มกี ารบูรณาการทุกภาคส่วน ระหว่างหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ภาคเอกชน และภาคส่วนอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง รวมทัง้ ก�ำกับและติดตามผลการด�ำเนินงานเพือ่ ให้เป็นไปตามแผน ซึง่ จะท�ำให้ประเทศไทยสามารถด�ำเนินการเฝ้าระวังป้องกัน และควบคุม โรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกรได้อย่างคล่องตัว มีประสิทธิภาพ และ เกิดประสิทธิผลสูงสุด “กระทรวงเกษตรฯ กรมปศุสัตว์ ภาคเอกชน และเกษตรกร ผูเ้ ลีย้ งสุกร ต่างร่วมมือเป็นหนึง่ เดียวในการป้องกันโรคอหิวาต์แอฟริกา ในสุกรอย่างเข้มแข็ง ต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2561 ถึงปัจจุบัน กระทั่ง ยืนหยัดเป็นประเทศเดียวในภูมิภาคที่ยังปลอดโรคอหิวาต์แอฟริกา ในสุกร จึงขอให้เกษตรกรทุกคนมั่นใจ ด้วยมาตรการต่างๆ ตลอดจน ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่ต้องเข้มแข็ง เข้มงวด และด�ำเนินการ อย่างเคร่งครัดรัดกุม ประเทศไทยจะสามารถป้องกันโรคอหิวาต์ แอฟริกาในสุกรได้อย่างต่อเนื่องต่อไป” นายเฉลิมชัย กล่าว ที่มา : ไทยรัฐออนไลน์ วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2562

12

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562




Thailand Focus

“ไทย-ฮังการี” หารือร่วมมือด้านเกษตร

การควบคุมโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร

ปลัดฯ เกษตร - อธิบดีกรมปศุสตั ว์ พร้อมคณะเข้าหารือกับ รมว. ตปท. ฮังการี และปลัดฯ เกษตร ฮังการี ความร่วมมือด้านการเกษตรและปศุสตั ว์ และการควบคุมป้องกันโรคอหิวาต์แอฟริกนั ในสุกร รวมทั้งแลกเปลี่ยนข้อมูลของไทยในด�ำเนินการควบคุมโรคเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดจากประเทศ เพื่อนบ้าน นายอนันต์ สุวรรณรัตน์ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พร้อมด้วย นายสรวิศ ธานีโต อธิบดีกรมปศุสัตว์ นายจักรกฤษณ์ ศรีวลี เอกอัครราชทูตไทย ประจ�ำสาธารณรัฐฮังการี นายชุมเจธว์ กาญจนเกษร อัครราชทูต (ฝ่ายเกษตร) ประจ�ำกรุงบรัสเซลส์ นายชัยวัฒน์ โยธคล ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักควบคุมป้องกันและบ�ำบัดโรคสัตว์ และนายธนวรรษ เทียนสิน อัครราชทูต (ฝ่ายเกษตร) ประจ�ำ กรุงโรม และคณะ ได้เข้าหารือกับ Dr. Gyula Budai รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ Mr. Sandor Farkas ปลัดกระทรวงเกษตรฮังการี และ Dr. Lajos Bognar อธิบดีกรมสัตวแพทย์ ฮังการี เพื่อหารือเกี่ยวกับความร่วมมือทางด้านการเกษตรและปศุสัตว์ และการควบคุมป้องกันโรค อหิวาต์แอฟริกันในสุกร (ASF) เมื่อวันที่ 22 - 23 สิงหาคม 2562 ที่ผ่านมา ที่มา : ไทยรัฐออนไลน์ วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

13


Thailand Focus ประเทศฮังการี เกิดการระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกันในสุกร เมื่อปี 2561 ที่ผ่านมา ในหมูป่า บริเวณชายแดนทางเหนือทีต่ ดิ ต่อกับประเทศยูเครน แต่ฮงั การียงั สามารถควบคุมไม่ให้มกี ารแพร่ระบาด มายังสุกรที่เลี้ยงในฟาร์มได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการเฝ้าระวังโรคในหมูป่า และสุกรฟาร์ม รวมทั้ง ควบคุมการเคลื่อนย้ายสุกรในประเทศ และชายแดนอย่างเข้มงวดตามข้อก�ำหนดของสหภาพยุโรป ในระหว่างการหารือได้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของไทยในด�ำเนินการควบคุมโรคเพื่อป้องกันการ แพร่ระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร จากประเทศเพื่อนบ้านเข้ามาในประเทศไทยอย่างเข้มงวด ปลัดกระทรวงเกษตรฯ กล่าวว่า ได้หารือเรือ่ งการพัฒนาภาคเกษตร ชลประทาน และผลกระทบ ของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate change) ที่มีผลกระทบต่อการเกษตรของไทย และ ฮังการี ประเทศฮังการี มีพื้นที่ 5 ล้านแฮกตาร์ แต่ปัจจุบันมีพื้นที่ชลประทานเพียง 90,000 แฮกตาร์ ก�ำลังพัฒนาขยายพื้นที่ชลประทานเพิ่มขึ้นเป็น 350,000 แฮกตาร์ ในช่วง 10 ปีนี้ ปัจจุบันฮังการี มีปัญหาเกษตรกรมีอายุสูงขึ้น และคนรุ่นใหม่ไม่สนใจท�ำอาชีพเกษตร ทั้งนี้คนฮังการีเองก็รับประทาน ข้าวเป็นอาหารด้วยเช่นกัน เป็นโอกาสในการขยายการส่งออกข้าวไทยมายังตลาดฮังการี ปัจจุบันบริษัท แปรรูปผลิตภัณฑ์ยางในยุโรปตะวันออกได้ย้ายฐานการผลิตมายังประเทศฮังการี ท�ำให้ฮังการีน�ำเข้า ยางพาราเข้ามาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ยางเพิ่มขึ้น

14

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562


Food Feed Fuel

สินค้าไก่เนื้อและผลิตภัณฑ์ ประจ�ำไตรมาสที่ 3/2562 เดือนกันยายน สถานการณ์ภายในประเทศ

1. การผลิต ปริมาณการผลิต ไก่เนื้อ (ล้านตัว) เนื้อไก่ (พันตัน) ขนาด (กก.)

2561 1,673 2,677 2.75

2562 Q3/61 Q3/62 ∆ 62/61 (%) 1,706 423.36 443.47 4.75 2,730 678.38 713.65 5.20 2.54 2.54 2.55 0.39

ที่มา : กรมปศุสัตว์ (วิเคราะห์จากระบบ e-service)

ผลผลิตไก่เนื้อปี 2562 เพิ่ม 1.97% เป็น 1,706 ล้านตัว คิดเป็นมูลค่า 142,030 ล้านบาท การผลิตไก่เนื้อ 3/62 จ�ำนวน 443.47 ล้านตัว คิดเป็นเนื้อ 713.65 พันตัน

เปรียบเทียบปริมาณการผลิตและบริโภคเนื้อไก่ปี 2553-2562 (หน่วย : พันตัน)

ที่มา : กรมปศุสัตว์

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

15


Food Feed Fuel

จังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตไก่เนื้อที่สำ�คัญปี 2562

แหล่งผลิต ลพบุรี กาญจนบุรี นครราชสีมา ชลบุรี สระบุรี

ไก่เนื้อ (พันตัว) เนื้อไก่ (พันตัน) 315,200.01 504,383.05 156,835.43 250,968.05 156,168.98 249,901.60 153,564.54 245,733.98 127,471.06 203,979.19

สัดส่วน (%) 18.47 9.19 9.15 9.00 7.47

ที่มา : กรมปศุสัตว์

ศักยภาพการผลิต (ข้อมูลกรมปศุสัตว์ 2561) จ�ำนวนฟาร์ม ปี 2561 = 32,001 ฟาร์ม  |  มาตรฐาน 6,622 ฟาร์ม (20.66%) ปี 2562 = 32,631 ฟาร์ม |  มาตรฐาน 6,672 ฟาร์ม (20.44%) ∆ 62/61 = 1.97% |  ∆ 62/61 = 0.76% จ�ำนวนไก่เนื้อ 364.43 ล้านตัว/รุ่น จ�ำนวน 5-6 รุ่นต่อปี โรงฆ่าไก่เนื้อภายใน 519 โรง (5.16 ล้านตัว/วัน) ส่งออก 27 โรง (4.31 ล้านตัว/วัน) โรงงานแปรรูปสัตว์ปีกเพื่อส่งออก 72 โรง

2. การตลาด เป้าหมายส่งออกในปี 2562 เพิม่ ขึน้ 3% เป็น 947,000 ตัน มูลค่า 122,447 ล้านบาท (เนือ้ ไก่ แปรรูป 662,900 ตัน คิดเป็นร้อยละ 70 เนื้อไก่สด 284,100 ตัน คิดเป็นร้อยละ 30) • ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ รายไตรมาส ปี 2561-2562

ไตรมาส/ปี 3/62 (ก.ค.-ก.ย.) 2/62 (เม.ย.-มิ.ย.) 3/61 (ก.ค.-ก.ย.) ∆ 3/62/2/62 (%) ∆ 3/62/3/61 (%)

ราคารายเดือน (บาท/กก.) 36.50 35.80 34.25 34.25 34.60 37.00 32.00 35.50 34.75 6.57 3.47 -7.43 14.06 0.85 -1.44

ที่มา : กรมปศุสัตว์

16

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

เฉลี่ย 35.52 35.28 34.08 0.66 4.21


Food Feed Fuel

ราคาไก่เนื้อมีชีวิตไตรมาส 3/62 เฉลี่ย 35.52 บาท/กก. เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว ร้อยละ 4.21 และเพิ่มจากไตรมาส 2/62 ร้อยละ 0.66 กราฟแสดงราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตกรขายได้เปรียบเทียบ ปี 2560-2562

ที่มา : กรมปศุสัตว์

ต้นทุนไก่เนื้อไตรมาส 3/2562 เฉลี่ย 35.17 บาท/กก. เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว ร้อยละ 2.66 และเพิ่มขึ้นจากไตรมาส 2/2562 ร้อยละ 0.20 เนื่องจากราคาพันธุ์สัตว์ปรับตัวเพิ่มขึ้น ปริมาณการส่งออกไก่เนื้อของไทยปี 2561-2562

เดือน/ปี เนื้อไก่แปรรูป เนื้อไก่สด รวมทั้งหมด

ตัน ล้านบาท ตัน ล้านบาท ตัน ล้านบาท

2561 556,701 76,974 377,558 35,074 934,259 112,048

Q1-3/61 408,944 56,088 289,109 27,265 698,053 83,353

Q1-3/62 ∆ 62/61 (%) 439,477 7.47 60,316 7.54 286,053 -1.06 23,660 -13.22 725,530 3.94 83,976 0.75

ที่มา : กรมปศุสัตว์

ปี 2562 (ม.ค.-ก.ย.) ส่งออกเนื้อไก่รวม 725,530 ตัน มูลค่า 83,976 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมาร้อยละ 3.94 และ 0.75 ตามล�ำดับ ๏ ส่งออกเนือ้ ไก่แปรรูป 61% ประเทศคูค่ า้ ทีส่ ำ� คัญ ญีป่ นุ่ (50%) อังกฤษ (28%) EU (12%) ๏ ส่งออกเนื้อไก่สด 39% ประเทศคู่ค้าที่ส�ำคัญ ญี่ปุ่น (34%) EU (21%) อังกฤษ (2%) ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

17


Food Feed Fuel

3. การผลิตและการส่งออกไกเนือ้ โลก การผลิตของโลกปี 2562 กระทรวง เกษตรสหรัฐฯ คาดว่า (ต.ค. 62) จะผลิตไก่เนื้อ 99.57 ล้ า นตั น เพิ่ ม ขึ้ น จากปี ที่ แ ล้ ว 4.19% สหรัฐอเมริกาเป็นผูผ้ ลิตรายใหญ่ทสี่ ดุ ผลิต 19.82 ล้านตัน รองมาคือจีน 13.80 ล้านตัน บราซิล 13.63 ล้านตัน และสหภาพยุโรป 12.46 ล้าน ตัน ตามล�ำดับ การตลาด ญีป่ นุ่ ผูน้ ำ� เข้าเนือ้ ไก่รายใหญ่ ของโลก ปี 62 ต้องการน�ำเข้า 1.09 ล้านตัน รองลงมาเป็นเม็กซิโก สหภาพยุโรป และจีน 0.85, 0.78 และ 0.63 ล้านตัน ตามล�ำดับ ส�ำหรับไทย ส่งออกเนื้อไก่สดแช่เย็นแช่แข็งไป EU ได้ตั้งแต่ 1 ก.ค. 55 และได้โควตาการส่งออกดังนี้ ๏ ไก่หมักเกลือ 92,610 ตัน/ปี ภาษี โควตาร้อยละ 15.4 นอกโควตา 1,300 ยูโร/ตัน ๏ ไก่สดแช่เย็น/แข็ง 5,100 ตัน/ปี ภาษี ในโควตาร้อยละ 0 นอกโควตา 602-1,024 ยูโร/ ตัน ๏ ไก่ ป รุ ง สุ ก 160,033 ตั น ภาษี ในโควตาร้อยละ 8 นอกโควตา 1,024 ยูโร/ตัน ๏ ไก่แปรรูป 2 พิกดั (พิกดั 16023230) ได้ปริมาณโควตา 14,000 ภาษีโควตาร้อยละ 10.9 (นอกโควตา 2,765 ยูโร/ตัน) พิกัด 16023290 ปริมาณโควตา 2,100 ตัน ภาษีโควตาร้อยละ 10.9 (นอกโควตา 2,765 ยูโร/ตัน)

18

4. ปัญหาอุปสรรค ๏ EU จัดสรรโควตาน�ำเข้าเนื้อไก่สด และแปรรูปให้ไทยน้อย ภาษีนอกโควตาสูง ๏ EU ตรวจเชือ้ Salmonella ในไก่หมัก เกลือเข้มงวด ท�ำให้ส่งออกเนื้อไก่สดหมักเกลือ ลดลง ๏ ตลาดตะวันออกกลางมีขนาดใหญ่ แต่ น�ำเข้าเนื้อไก่จากไทยปริมาณน้อยมาก เนื่องจาก การไม่ยอมรับระบบการฆ่าแบบสลบ ๏ สภาพอากาศแปรปรวน หลายประเทศ เกิดโรคไข้หวัดนกระบาด ๏ วัตถุดบิ อาหารสัตว์ราคาสูง โดยเฉพาะ ข้าวโพดอาหารสัตว์ ๏ กฎหมายแรงงานไม่เอื้ออ�ำนวยต่อ การปฏิบัติงานในฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ๏ สูญเสียความสามารถในการแข่งขัน จากการลดค่าเงินของบราซิล

5. ข้อเสนอแนะ ๏ เตรียมกรอบเจรจา FTA ไทยกับ EU เพื่อเพิ่มโควตาน�ำเข้าเนื้อไก่ไป EU ๏ ส่งเสริมการตลาด และขยายตลาด ส่งออกในตะวันออกกลาง ๏ ผูป้ ระกอบการฟาร์มสัตว์ปกี เฝ้าระวัง สุขภาพสัตว์ และลดการเลี้ยงหนาแน่น ๏ ปรั บ ปรุ ง กฎหมายแรงงานให้ ส อดคล้องกับการปฏิบัติงานในฟาร์ม ๏ กปศ. เสนอ OIE จัดท�ำข้อแนะน�ำ การใช้แรงงานในฟาร์มสัตว์ปีก และวันหยุดงาน

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562


Food Feed Fuel

สินค้าสุกรและผลิตภัณฑ์ ประจ�ำไตรมาสที่ 3/2562 เดือนกันยายน สถานการณ์ภายในประเทศ

1. การผลิต ปริมาณการผลิตสุกรปี 2562 เป็น 22.20 ล้านตัว ปรับลดลงจากปี 2561 ร้อยละ 3 เนือ่ งจาก ภาวะราคาสุกรมีชีวิตที่ตกต�่ำในช่วงเวลาที่ผ่านมา ส่งผลให้เกษตรกรลดการเลี้ยงแม่พันธุ์ ข้อมูลปริมาณการผลิตสุกรปี 2561-2562

ปริมาณการผลิต สุกรมีชีวิต (ล้านตัว) เนื้อสุกร (พันตัน)

2561

2562

22.82 1,711.50

22.20 1,665.11

ไตรมาส 3/61 5.83 437.33

ไตรมาส 3/62 6.58 193.80

∆ Q1 62/61 (%) 12.91 12.91

ที่มา : กรมปศุสัตว์

ปริมาณการผลิตสุกร ไตรมาส 3/2562 มีจ�ำนวน 6.58 ล้านตัว ปรับตัวสูงขึ้นจากช่วงเดียว กับปีที่แล้ว 12.91% เนื่องจากราคาสุกรมีชีวิตหน้าฟาร์มปรับตัวเพิ่มขึ้น เกษตรกรจึงปรับรอบการผลิต ให้เร็วขึน้ ประกอบกับความกังวลเรือ่ งปัญหาสุขภาพในฟาร์ม ส่งผลให้ปริมาณสุกรในตลาดเพิม่ ขึน้ และ ท�ำให้ราคาสุกรมีชีวิตหน้าฟาร์มลดลง เปรียบเทียบปริมาณการผลิตและบริโภคสุกร ปี 2554-2562

ที่มา : กรมปศุสัตว์

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

19


Food Feed Fuel

จังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตสุกรที่สำ�คัญปี 2562

แหล่งผลิตส�ำคัญ ราชบุรี ลพบุรี ชลบุรี พัทลุง สุพรรณบุรี

สุกร (ตัว) 4,134,972 1,121,062 1,018,887 906,408 854,815

เนื้อสุกร (ตัน) 310,122.92 84,079.67 76,416.56 67,980.64 64,111.15

สัดส่วน (%) 18.62 5.05 4.59 4.08 3.85

ที่มา : กรมปศุสัตว์

ศักยภาพการผลิต ฟาร์มสุกร 187,272 ฟาร์ม ได้มาตรฐาน 3,965 ฟาร์ม คิดเป็น 3.12% (กปศ.62) ๏ โรงฆ่าภายใน 1,456 โรง (46,013 ตัว/วัน) : ได้ GMP 21 โรง (8,322 ตัว/วัน) ส่งออก 13 โรง (9,520 ตัว/วัน) ๏ โรงงานแปรรูป 3 โรง

2. การตลาด ต้นทุนการผลิตสุกร ไตรมาส 3/62 (กรณีซื้อลูกสุกรมาเลี้ยง) เฉลี่ย 68.56 บาท/กก. เพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่แล้วร้อยละ 2.98 และเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้วร้อยละ 9.14 ไตรมาส 3/62 (ก.ค.-ก.ย.) 2/62 (เม.ย.-มิ.ย.) 3/61 (ก.ค.-ก.ย.) ∆ 3/62 : 2/62 ∆ 3/62 : 3/61

ต้นทุนรายเดือน (บาท/กก.) 68.35 68.28 64.20 67.08 59.52 64.64 6.46 1.79 14.84 5.63

ที่มา : คณะอนุกรรมการต้นทุนการผลิตสุกร

20

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

69.06 68.46 64.30 0.88 7.40

เฉลี่ย 68.56 66.58 62.82 2.98 9.14


Food Feed Fuel

การค้าชายแดนส่งออกสุกรมีชีวิตเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว ส่งผลให้ราคาสุกรมีชีวิตขยับตัวเพิ่มขึ้น เฉลี่ยไตรมาส 3/62 เป็น 68.22 บาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้วร้อยละ 4.79 แต่ในช่วง ไตรมาสนี้ ปริมาณการส่งออกลดลง ประกอบกับปริมาณสุกรเข้าสู่ตลาดเพิ่มขึ้น จึงส่งผลให้ราคาลดลง จากไตรมาสที่แล้วร้อยละ 9.08 ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ ปี 2561-2562

ไตรมาส 3/62 (ก.ค.-ก.ย.) 2/62 (เม.ย.-มิ.ย.) 3/61 (ก.ค.-ก.ย.) ∆ 3/62/3/61 (%) ∆ 3/62/2/62 (%)

ราคารายเดือน (บาท/กก.) 72.03 69.28 75.10 75.00 63.10 66.08 14.15 4.84 -4.09 -7.63

63.35 75.00 66.13 -4.20 -15.53

เฉลี่ย 68.22 75.03 65.10 4.79 -9.08

ที่มา : กรมปศุสัตว์ กราฟแสดงราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ ปี 2560-2562

ที่มา : กรมปศุสัตว์

ราคาขายปลีกเนื้อสุกรชำ�แหละ (สะโพก)

ไตรมาส 3/62 (ก.ค.-ก.ย.) 2/62 (เม.ย.-มิ.ย.) 3/61 (ก.ค.-ก.ย.) ∆ 3/62/2/62 (%) ∆ 3/62/3/61 (%)

ราคารายเดือน (บาท/กก.) 150.75 142.74 147.5 155.25 132.75 140.68 2.20 -8.06 13.56 1.46

137.26 157.5 136.50 -12.85 0.56

เฉลี่ย 143.58 153.42 136.64 -6.41 5.08

ที่มา : กรมการค้าภายใน ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

21


Food Feed Fuel

ปริมาณการส่งออกสุกรมีชีวิตของไทย

รายการ

2561

ปริมาณ (ตัว) มูลค่า (ล้านบาท) ปริมาณ (ตัน) เนื้อสุกรและผลิตภัณฑ์ มูลค่า (ล้านบาท) ปริมาณ (ตัน) ชิ้นส่วนอื่นๆ มูลค่า (ล้านบาท) รวมมูลค่า (ล้านบาท)

885,372 3,651 20,102 3,181 17,034 940 7,771

สุกรมีชีวิต

Q1-Q3/61 Q1-Q3/62 (ม.ค.-มิ.ย.) (ม.ค.-มิ.ย.) 604,427 454,723 2,517 1,997 15,423 12,814 2,449 2,232 13,636 14,980 778 800 5,527 5,029

∆ 62/61 (Q1-Q3) -24.77 -20.67 -16.92 -8.87 9.86 2.82 -9.02

ที่มา : กรมปศุสัตว์

ช่วง ม.ค.-ก.ย. 2562 การส่งออกสุกรมีชีวิตลดลงร้อยละ 24.77 จากช่วงเวลาเดียวกันของ ปีก่อน ส่งอกสุกรขุน 384,831 ตัว ลดลง 27.97% ส่งออกสุกรพันธุ์ 69,892 ตัว ลดลง 0.40% ปริมาณการนำ�เข้าสุกรและผลิตภัณฑ์ ปี 2562

รายการ

2561

ปริมาณ (ตัว) มูลค่า (ล้านบาท) ปริมาณ (ตัน) ผลิตภัณฑ์เนื้อสุกร มูลค่า (ล้านบาท) ปริมาณ (ตัน) ชิ้นส่วนอื่นๆ มูลค่า (ล้านบาท) รวมมูลค่า (ล้านบาท) สุกรมีชีวิตท�ำพันธุ์

285 26 199 49 97,619 2,845

Q1-Q3/61 (ม.ค.-ก.ย.) 252 22 26.07 7.27 73,504 2,290 2,319

Q1-Q3/62 (ม.ค.-ก.ย.) 978 77 396.10 118.81 72,149 1,321 1,516

∆ 62/61 (Q1-Q3) 288.10 243.60 1,419.53 1,535.32 -1.84 -42.33 -34.63

ที่มา : กรมปศุสัตว์

การน�ำเข้าสุกรและผลิตภัณฑ์ 2562 (ม.ค.-ก.ย.) มีมูลค่าลดลงร้อยละ 34.63 จากช่วงเวลา เดียวกันของปี 2561 แต่การน�ำเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรปรับเพิ่มขึ้นอย่างมาก สถานการณ์ต่างประเทศ

3. การผลิตและการส่งออกของโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดว่าในปี 62 การผลิตเนือ้ สุกรโลกเป็น 106.13 ล้านตัน ลดลง 6.03% จากปี 61 เนื่องจากประเทศจีนที่ผู้ผลิตรายใหญ่เกิดปัญหาภาวะโรค ASF ระบาด คาดว่าผลผลิตของ

22

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562


ประเทศผู้ส่งออกเนื้อสุกรที่ส�ำคัญของ โลก ได้แก่ สหภาพยุโรป และสหรัฐอเมริกา จ�ำนวน 3.45 และ 2.92 ล้านตัน ตามล�ำดับ มี ส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ 36.69 และ 31.75 ตามล�ำดับ ของการส่งออกโลก รองลงมาเป็น แคนาดา 1.32 ล้านตัน (ร้อยละ 13.99)

4. ปัญหาอุปสรรค ๏ ความเสี่ ย งจากปั ญ หาโรคอหิ ว าต์ แอฟริกาในสุกร (African Swine Fever) ระบาด ในประเทศเพื่อนบ้าน ทั้งกัมพูชา ลาว เวียดนาม และเมียนมา ๏ การผลิตเพือ่ บริโภคร้อยละ 95 ส่งออก เพียงร้อยละ 5 และน�ำเข้าเครื่องในจ�ำนวนมาก ๏ การส่งออกเนือ้ สุกร และเนือ้ สุกรแปรรูปของไทยไปต่างประเทศค่อนข้างจ�ำกัด เนือ่ งจาก ประเทสไทยยังไม่ได้การรับรองให้ปลอดโรค FMD และมีต้นทุนการผลิตที่สูงกว่าประเทศคู่แข่ง จึงมี ความสามารถในการแข่งขันน้อยกว่า

Food Feed Fuel

จีนจะลดลง 13.96% เหลือ 46.50 ล้านตัน ส่วนสหภาพยุโรปผู้ผลิตล�ำดับรองจากจีน คาดว่า ผลผลิตเพิ่มขึ้น 0.16% เป็น 24.12 ล้านตัน ในขณะที่สหรัฐอเมริกาผู้ผลิตล�ำดับสาม ผลผลิต เพิ่มขึ้น 2.08% เป็น 9.95 ล้านตัน เนื่องจาก สุกรทีเ่ ข้าฆ่าตัวใหญ่ขนึ้ และปริมาณการฆ่าเพิม่ ขึน้ ด้านปริมาณความต้องการบริโภคเนือ้ สุกรของโลก คาดว่าจะลดลง 5.94% เหลือ 105.66 ล้านตัน ประเทศจีนเป็นผู้น�ำเข้าเนื้อสุกรรายใหญ่ของโลก คาดว่าน�ำเข้าจ�ำนวน 2.60 ล้านตัน หรือ 28.97% ของปริมาณการน�ำเข้าเนื้อสุกรทั้งหมดของโลก

5. ข้อเสนอแนะ ๏ ก� ำ หนดแผนรั บ มื อ โรคอหิ ว าต์ แอฟริกาในสุกร เป็นวาระแห่งชาติ และสร้าง ความตระหนักรู้ในกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรทุกระดับ โดย ครม. มีมติเมื่อวันที่ 9 เม.ย. 62 เห็นชอบแผน เตรียมความพร้อมรับมือฯ 3 ระยะ (ก่อนเผชิญ เหตุ, เผชิญเหตุ, ภายหลังเผชิญเหตุ) 8 มาตรการ (บริหารจัดการและขับเคลื่อน, ป้องกันโรคเข้า ประเทศแบบบูรณาการ, เพิม่ ประสิทธิภาพป้องกัน โรคของฟาร์ม, เพิ่มประสิทธิภาพเฝ้าระวังโรค, พัฒนาการตรวจวินิจฉัย สร้างเครือข่ายห้อง Lab, พัฒนาการคุมโรค, เพิม่ ศักยภาพสือ่ สารความเสีย่ ง, จัดการฟื้นฟูอาชีพ) ๏ ควบคุมและก�ำหนดมาตรการน�ำเข้า เครื่องใน และรณรงค์/ตรวจจับการใช้สารเร่ง เนื้อแดงอย่างต่อเนื่อง ๏ จั ด การระบบ Bio-security ดู แ ล สุขภาพสุกรให้มีภูมิต้านทานโรค PED PRRS และ PCVD รวมถึงเข้มงวดน�ำเข้าสัตว์มีชีวิตจาก ต่างประเทศ ๏ พัฒนาฟาร์มสุกรเข้าสูม่ าตรฐานให้ได้ ทั้งหมด และด�ำเนินการให้มีเขตปลอดโรค FMD ๏ พัฒนาโรงฆ่าให้ได้มาตรฐาน ก�ำหนด เกณฑ์มาตรฐานด้านการขนส่ง ขึน้ ทะเบียนผูค้ า้ ส่ง ค้าปลีกเนื้อสุกรช�ำแหละจ�ำหน่าย

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

23


Food Feed Fuel

สินค้าไข่ไก่และผลิตภัณฑ์ ประจ�ำไตรมาสที่ 3/2562 เดือนกันยายน สถานการณ์ภายในประเทศ

1. การผลิต ผลผลิตไข่ไก่ปี 2562 ลดลงจากปีที่แล้วร้อยละ 8.64 จ�ำนวน 14,738 ล้านฟอง

คิดเป็นมูลค่า 41,266 ล้านบาท

ข้อมูลปริมาณการผลิตไข่ไก่ ปี 2561-2562

ผลผลิตไข่ไก่ แม่ไก่ไข่ (ล้านตัว) ไข่ไก่ (ล้านฟอง)

2561 56.96 16,131

2562* 52.04 14,738

Q3/61 55.09 11,668

Q3/62 ∆ 62/61 (%) 48.61 -11.76 11,053 -5.27

ที่มา : กรมปศุสัตว์, *ตัวเลขคาดการณ์

แม่ไก่ไข่ไตรมาส 3/62 จ�ำนวน 48.61 ล้านตัว ผลิตไข่ไก่ได้ 11,053 ล้านฟอง ลดลงจาก ช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 11.76 และ 5.27 ตามล�ำดับ จังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตไข่ไก่ที่สำ�คัญปี 2562

แหล่งผลิตส�ำคัญ ฉะเชิงเทรา นครนายก นครปฐม ชลบุรี พระนครศรีอยุธยา

แม่ไก่ไข่ (ตัว) 6,438,954 5,414,748 4,027,583 3,274,031 3,151,689

ไข่ไก่ (ฟอง) 1,823,426,303 1,533,384,630 1,140,557,921 927,162,082 892,516,533

สัดส่วน (%) 12.37 10.41 7.74 6.29 6.06

ที่มา : กรมปศุสัตว์

2. ศักยภาพการผลิต (กปศ.60-61) ปี 2561 น�ำเข้า G.P. = 4,474 ตัว P.S. = 541,829 ตัว (ร้อยละ 98.52 ของแผนทีก่ ำ� หนด) ปี 2562 แผนน�ำเข้า G.P. 3,800 ตัว P.S. 460,000 ตัว ๏ จ�ำนวนฟาร์มทั้งหมด 117,683 ฟาร์ม (กปศ.61) ระบบฟาร์ม หมายถึง ฟาร์มที่มีรั้วรอบ ขอบชิด ปริมาณที่เลี้ยงไก่ไข่ 1,000 ตัว ขึ้นไป ซึ่งทั้งประเทศมีจ�ำนวนฟาร์มประมาณ 2,524 ฟาร์ม ๏ จ�ำนวนฟาร์มได้มาตรฐาน 1,541 ฟาร์ม (61%) = 70.84 ล้านตัว (กปศ.62)

24

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562


Food Feed Fuel

๏ ศูนย์รวบรวมไข่ไก่ ขึ้นทะเบียน 187 แห่ง (34.23 ล้านฟอง/วัน) ได้ GMP 34 แห่ง (8.34 ล้านฟอง/วัน) ส่งออก 7 แห่ง (6.16 ล้านฟอง/วัน) ๏ โรงงานแปรรูปไข่ไก่ จ�ำนวน 11 โรง ๏ ต้นทุนไข่ไก่ ไตรมาส 3/62 เฉลี่ยฟองละ 2.56 บาท ลดลงจากไตรมาส 2/62 เฉลี่ย ฟองละ 2.59 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.16 และลดลงจากไตรมาสที่ 3/2561 ร้อยละ 11.11 3. การตลาด ราคาไข่ไก่คละทีเ่ กษตรกรขายได้ ไตรมาส 3/62 สูงกว่าไตรมาส 2/62 ร้อยละ 10.51 เนือ่ งจาก ปริมาณผลผลิตลดลง ราคาไข่ไก่คละที่เกษตรกรขายได้ : รายไตรมาส ปี 61-62

ไตรมาส/ปี 3/62 (ก.ค.-ก.ย.) 2/62 (เม.ย-มิ.ย.) 3/61 (ก.ค.-ก.ย.) ∆ 3/62/2/62 (%) ∆ 3/62/3/61 (%)

ราคารายเดือน (บาท/ฟอง) 2.94 3.00 2.51 2.74 2.80 2.80 17.13 9.49 5.00 7.14

3.00 2.84 2.78 5.63 7.91

เฉลี่ย 2.98 2.70 2.79 10.51 6.68

ที่มา : กรมการค้าภายใน กราฟแสดงราคาไข่ไก่คละที่เกษตรกรขายได้ ปี 60-62

ที่มา : กรมปศุสัตว์

๏ การน�ำเข้าผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ ไข่แดงผง ไข่ขาวผล ไข่เหลว ปี 2562 (ม.ค.-ก.ย.) จ�ำนวน 1,623 ตัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้วร้อยละ 11.36 ๏ การส่งออกไข่ไก่ ปี 2562 (ม.ค.-ก.ย.) จ�ำนวน 222.25 ล้านฟอง เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกัน ของปีที่แล้วร้อยละ 22.28 ประเทศคู่ค้าที่ส�ำคัญคือ ฮ่องกง 82% ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

25


Food Feed Fuel

๏ การส่งออกผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ ปี 2562 (ม.ค.-ก.ย.) จ�ำนวน 3,343 ตัน ลดลงจากปีที่แล้ว ร้อยละ 16.65 ประเทศคู่ค้าที่ส�ำคัญคือ ญี่ปุ่น 40% ปริมาณการนำ�เข้า-ส่งออกไข่ไก่และผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ของไทย (ม.ค.-ก.ย.) พ.ศ. 2561-2562

น�ำเข้า

ส่งออก

รายการ ไข่ไก่สด (ล้านฟอง) ผลิตภัณฑ์ (ตัน) ราคา (ล้านบาท) ไข่ไก่สด (ล้านฟอง) ราคา (ล้านบาท) ผลิตภัณฑ์ (ตัน) ราคา (ล้านบาท)

2561

ม.ค.-ก.ย. 61

1,985 229.77 297.49 1,007.48 5,123 534.50

1,457 165.13 180.87 678.19 4,011 395.85

ม.ค.-ก.ย. 62 1,623 162.99 222.25 608.55 3,343 357.17

∆ 62/61 (%) 11.39 -1.30 22.88 -10.27 -16.65 -9.77

ที่มา : กรมศุลกากร

4. ปัญหาอุปสรรค ๏ ราคาอาหารสัตว์สูง วัตถุดิบหลักสูงกว่าราคาตลาดโลก เช่น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ นโยบายรัฐ ขอให้ผู้ผลิตอาหารสัตว์รับซื้อ ณ หน้าโรงงาน กก. ละ 8 บาท ๏ EU ยังไม่รับรองไข่ไก่ และห้ามน�ำเข้าผลิตภัณฑ์ที่มีไข่จากไทยผสม

5. การแก้ ไขปัญหา และข้อเสนอแนะ

ปี 2561 Egg Board ปรับลดแผนการน�ำเข้าพันธุ์ไก่ไข่ G.P. เหลือ 4,500 ตัว P.S. เหลือ 550,000 ตัว กิจกรรมที่กรมปศุสัตว์ด�ำเนินการในปี 2561 ๏ การปรับลดปริมาณแม่ไก่ยืนกรง จ�ำนวน 18 ล้านตัว ๏ การเพิ่มปริมาณการส่งออกภายใต้โครงการ P.S. Support จ�ำนวน 98 ล้านฟอง ๏ ปลด PS อายุ 25-60 สัปดาห์ จ�ำนวน 1.95 แสนตัว ปี 2562 Egg Board ก�ำหนดแผนการน�ำเข้า P.S. 460,000 ตัว G.P. 3,800 ตัว กิจกรรมที่กรมปศุสัตว์ด�ำเนินการในปี 2562 ๏ ปรับลดปริมาณแม่ไก่ยืนกรงที่อายุไม่เกิน 78 สัปดาห์ (มี.ค. 62) จ�ำนวน 3 ล้านตัว ๏ เพิ่มปริมาณการส่งออกไข่ไก่ (มี.ค.-พ.ค.) จ�ำนวน 130 ล้านฟอง คณะท�ำงานพัฒนาสารสนเทศการเกษตรระดับประเทศ

26

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562



โพลทรียสตาร PoultryStar

®

ทางเดินอาหารที่สมบูรณ สรางความแข็งแรงของลูกไก! 

มีประสิทธิภาพและจําเพาะตอสัตวปก

ไดรับการจดสิทธิบัตรและขึ้นทะเบียนโดย สหภาพยุโรป (EU)

ความหลากหลายของสายพันธุจุลินทรีย โปรไบโอติกทีถ่ กู คัดสรรมาอยางดี ทํางานรวมกับพรีไบโอติก

บริ ษัท เออร์ เบอร์ ไบโอเทค (ประเทศไทย) จํากัด 1/913 ถ.พหลโยธิน 60 ต.คูคต อ.ลําลูกกา จ.ปทุมธานี 12130 โทร: 02-993-7500 แฟกซ: 02-993-8499 poultrystar.biomin.net

Naturally ahead


Food Feed Fuel

สถานการณ์

ถัว ่ เหลือง 1. ผลผลิตและการใช้ (ล้านตัน) 1.1 ผลผลิตพืชน�้ำมัน - โลก (USDA)(ต.ค. 62) 1.2 ผลผลิตถั่วเหลือง 1.2.1 โลก (USDA) 1.2.2 ไทย (สศก.) - ถั่วฤดูแล้ง - ถั่วฤดูฝน 1.3 ความต้องการใช้ 1.3.1 โลก (USDA) 1.3.2 ไทย (สศก.) 1.4 ต้นทุนการผลิต (บาท/กก.) : (สศก.) 1.5 น�ำเข้า : กรมศุลกากร 1.6 ส่งออก : กรมศุลกากร ไทยน�ำเข้าจาก (ปี 61) ไทยส่งออกไป (ปี 61)

ปี 59

ปี 60

ปี 61

ปี 62

(ประมาณการ)

575.160

580.780

597.410

574.850

350.534 0.038 0.021 0.017

341.616 0.043 0.024 0.019

358.771 0.042 0.022 0.020

338.971 0.042 0.022 0.020

331.540 2.991 15.13

338.350 2.785 15.11

345.370 2.763 14.99

352.340 2.790 14.90

2.958 2.746 2.723 0.005 0.004 0.003 สหรัฐอเมริกา 53% บราซิล 45% แคนาดา 1% ลาว 53% กัมพูชา 36% เวียดนาม 9%

2. ราคา (บาท/กก.) ปี 60 2.1 เกษตรกรขายได้ (ชนิดคละ) : สศก. 14.91 2.2 ขายส่ง ตลาด กทม. : กรมการค้าภายใน - เกรดแปรรูปอาหาร 20.55 - เกรดผลิตอาหารสัตว์ 18.64 - เกรดสกัดน�้ำมัน 18.32 2.3 ซื้อขายล่วงหน้าตลาดชิคาโก : www.cmegroup.com - บาท/กก. 12.24 - เหรียญสหรัฐฯ/ตัน 358.65

(ม.ค.-ก.ย. 62)

2.439 0.003

ปี 61 16.68

ก.ย. 62 13.80

ต.ค. 62

20.53 18.87 18.50

20.50 18.50 18.50

20.50 18.50 18.50

11.11 342.50

9.91 322.42

10.38 339.84

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

-

27


Food Feed Fuel

1. สถานการณ์เดือนตุลาคม 2562

ในประเทศ ผลผลิตถั่วเหลืองฤดูฝนช่วงฝนแรก ปี 62 ออกสู่ตลาดหมดแล้ว และขณะนี้เป็นช่วง ถั่วเหลืองฤดูฝนรุ่นปลายฝน โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์รายงานราคาเกษตรกรขายได้ชนิดคละ กก. ละ 14.80 บาท ผลผลิตส่วนใหญ่มีขนาดเมล็ดเล็ก และมีความชื้น ส่วนราคาตลาด กทม. ทรงตัว ทุกเกรดคุณภาพเมื่อเทียบกับเดือนที่ผ่านมา ส�ำหรับการน�ำเข้าเมล็ดถั่วเหลือง เดือนมกราคม - กันยายน 2562 มีจ�ำนวน 2,438,633 ตัน สูงขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนที่มีจ�ำนวน 2,143,229 ตัน หรือสูงขึ้นร้อยละ 13.78 โดยน�ำเข้า จากบราซิล 52% สหรัฐอเมริกา 47% แคนาดา 2% ต่างประเทศ ราคาซือ้ ขายล่วงหน้าตลาดชิคาโกโน้มสูงขึน้ เนือ่ งจากความวิตกเกีย่ วกับความล่าช้า ในการเก็บเกี่ยวผลผลิตของสหรัฐฯ จากที่ในแหล่งปลูกมีหิมะ และฝนตกหนัก ส่งผลให้ปริมาณผลผลิต ออกสู่ตลาดโลกลดน้อยกว่าที่คาดการณ์ไว้ 2. แนวโน้มเดือนพฤศจิกายน 2562

คาดว่าผลผลิตฤดูฝนช่วงปลายฤดูของไทยจะออกสู่ตลาดในระยะหนึ่ง โดยผลผลิตถั่วฤดูฝนจะมี ประมาณร้อยละ 35 ของผลผลิตทัง้ ปี และผลผลิตส่วนใหญ่เป็นเกรดสกัดน�ำ้ มัน มีคณ ุ ภาพไม่ดนี กั ราคา ผลผลิตในประเทศมีแนวโน้มทรงตัว ส่วนราคาตลาดโลกมีแนวโน้มทรงตัวถึงยืนอ่อน เนื่องจากเป็นช่วง ฤดูกาลผลผลิตออกสู่ตลาด ประกอบกับความไม่แน่นอนเกี่ยวกับภาวะการส่งออกของสหรัฐฯ กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน พฤศจิกายน 2562

ราคาเมล็ดถั่วเหลือง ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. 1. ราคาที่เกษตรกรขายได้ เมล็ดถั่วเหลืองชนิดคละ 2559 - 15.00 14.50 14.02 14.22 2560 - 16.45 16.78 16.95 - 12.90 13.45 2561 16.39 16.75 15.94 17.06 17.23 16.60 2562 16.43 16.96 15.72 17.26 2. ราคาขายส่งเมล็ดถั่วเหลืองเกรดแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร ตลาด กทม. 2559 19.50 18.90 18.50 18.50 18.50 19.27 19.50 19.50 2560 18.50 20.39 20.50 20.50 20.50 20.59 21.50 21.50 2561 21.26 21.50 21.50 21.50 21.21 20.50 20.50 20.41 2562 19.50 19.50 19.50 19.50 19.95 20.50 20.50 20.50

28

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

หน่วย : บาท/กก.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

เฉลี่ย

14.17 13.17 -

13.20 14.00 - 14.16 12.52 15.75 16.24 14.91 15.00 16.31 18.88 16.68 14.30 16.13

19.50 21.12 19.50 20.50

19.50 18.55 18.50 19.02 20.50 20.50 20.50 20.55 19.50 19.50 19.50 20.53 20.50 20.05




ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. 3. ราคาขายส่งเมล็ดถั่วเหลืองเกรดผลิตอาหารสัตว์ ตลาด กทม. 2559 18.50 17.90 17.50 17.50 17.50 18.27 18.50 18.50 18.50 18.50 17.55 2560 17.50 18.45 18.50 18.50 18.50 18.59 19.50 19.50 19.12 18.50 18.50 2561 19.26 19.50 19.50 19.50 19.21 18.50 18.50 18.41 18.50 18.50 18.50 2562 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 4. ราคาขายส่งเมล็ดถั่วเหลืองเกรดสกัดน�้ำมัน ความชื้น 13.0% ตลาด กทม. 2559 16.50 16.50 16.50 16.50 16.50 16.99 17.25 16.80 16.60 16.50 16.50 2560 16.50 18.39 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 2561 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 2562 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 5. ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง ตลาดชิคาโก 2559 11.74 11.44 11.57 12.54 13.81 14.94 13.76 12.92 12.43 12.62 13.09 2560 13.52 13.41 12.85 12.04 12.15 11.48 12.39 11.58 11.78 11.97 11.96 2561 11.46 11.75 12.01 11.98 12.02 11.09 10.45 10.52 10.05 10.40 10.68 2562 10.67 10.52 10.50 9.77 9.76 10.23 10.08 9.73 9.91 10.38 6. ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง ตลาดชิคาโก (US$ : ton , 1 ton = 36.743 Bushel) 2559 323.17 319.90 326.91 355.65 388.47 421.20 390.37 370.28 355.64 358.35 368.87 2560 379.56 381.13 366.07 347.82 350.15 336.35 365.41 345.50 353.68 358.24 361.39 2561 356.84 371.20 381.85 381.23 374.81 339.93 312.53 316.62 306.41 315.82 322.25 2562 333.75 334.46 329.20 324.22 305.27 326.58 325.43 314.60 322.42 339.84

ธ.ค.

Food Feed Fuel



เฉลี่ย

17.50 18.02 18.50 18.64 18.50 18.87 18.50 16.50 16.64 18.50 18.32 18.50 18.50 18.50 13.49 12.86 11.77 12.24 10.86 11.11 10.16 375.25 362.84 358.44 358.65 330.45 342.50 325.58

ที่มา : 1 ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเฉลี่ยทั้งปีแบบถ่วงน�้ำหนักจ�ำนวนผลผลิต 2 - 4 กรมการค้าภายใน 5 - 6 www.cmegroup.com

ปริมาณการนำ�เข้าและส่งออกเมล็ดถั่วเหลือง ปี ม.ค. ก.พ. ปริมาณน�ำเข้า 2559 308,363 104,921 2560 123,980 332,007 2561 145,133 254,338 2562 370,101 222,517 ปริมาณส่งออก 2559 616 218 2560 486 271 2561 269 279 2562 240 261

หน่วย : ตัน

มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

254,770 214,215 295,791 264,837

250,275 266,820 260,211 342,001

222,404 291,089 278,182 310,489

299,465 270,122 145,627 139,296

187,572 354,438 124,922 277,407

300,477 195,851 280,523 290,293

278,178 224,440 162,008 364,856 2,957,729 110,752 176,699 192,104 217,611 2,745,687 358,573 79,640 287,835 212,195 2,722,969 221,692 2,438,633

640 317 309 293

744 269 240 291

390 516 239 262

222 529 240 184

287 458 158 377

600 117 159 320

608 219 346 4

ต.ค. พ.ย.

157 305 391

523 278 300

ธ.ค.

488 195 252

รวม

5,494 3,960 3,183 2,233

ที่มา : กรมศุลกากร ปี 2559-2562 พิกัด 12011009000 12019010001 และ 12019090090

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

29


Food Feed Fuel

สถานการณ์

กากถัว ่ เหลือง 1. ผลผลิตและการใช้ (ล้านตัน) 1.1 ผลผลิต - โลก (USDA)(ต.ค.62) 1.1.1 วัตถุดิบอาหารสัตว์หมวดโปรตีน 1.1.2 กากถั่วเหลือง 1.2 ผลผลิต - ไทย (รายงานตามบันทึกข้อตกลงการรับซื้อกากถั่วเหลือง) 1.2.1 จากเมล็ดถั่วเหลืองในประเทศ 1.2.2 จากเมล็ดถั่วเหลืองน�ำเข้า 1.3 ความต้องการใช้ 1.3.1 โลก (USDA) 1.3.2 ไทย 1.4 น�ำเข้า : กรมศุลกากร 1.5 ส่งออก (ตัน) : กรมศุลกากร ไทยน�ำเข้าจาก (ข้อมูลปี 61) ไทยส่งออกไป (ข้อมูลปี 61)

ปี 59

ปี 61

ปี 62

(ประมาณการ)

320.100 225.934 1.434 0.011 1.423

331.660 232.677 1.413 0.008 1.405

334.690 235.216 1.445 0.009 1.437

340.320 239.710 1.508 0.009 1.499

221.756 4.506

229.234 4.674

230.940 4.789

236.240 4.789

2.578 2.958 2.952 27 15,900 44,596 บราซิล 71% สหรัฐอเมริกา 14% อาร์เจนตินา 12% ลาว 59% กัมพูชา 36% พม่า 4%

2. ราคา (บาท/กก.) ปี 60 2.1 ขายส่ง ตลาด กทม. : กรมการค้าภายใน - กากถั่วเหลืองในประเทศ - เมล็ดฯ ในประเทศ โปรตีน 44-48% 20.50 - เมล็ดฯ น�ำเข้า โปรตีน 44-46% 14.08 - กากถั่วเหลืองน�ำเข้า โปรตีน 46-48% 13.87 2.2 ซื้อขายล่วงหน้าตลาดชิคาโก : www.cmegroup.com - บาท/กก. 11.86 - เหรียญสหรัฐฯ/ตัน 347.50

30

ปี 60

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

ปี 61

ก.ย. 62

(ม.ค.-ก.ย. 62)

2.408 41,713

ต.ค. 62

20.50 14.64 14.36

13.09 12.94

13.05 12.90

12.05 371.75

9.90 322.16

10.24 335.33


Food Feed Fuel

1. สถานการณ์เดือนตุลาคม 2562

ในประเทศ ราคาขายส่งตลาด กทม. กากถั่วเหลืองผลิตจากเมล็ดถั่วเหลืองน�ำเข้า และกาก ถั่วเหลืองน�ำเข้าอ่อนตัวลงจากเดือนก่อนตามต้นทุนเมล็ดถั่วเหลืองน�ำเข้าที่ลดลง ส�ำหรับการน�ำเข้ากากถั่วเหลือง เดือนมกราคม - กันยายน 2562 มีจ�ำนวน 2,407,638 ตัน ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนที่มีจ�ำนวน 2,416,862 ตัน หรือลดลงร้อยละ 0.38 โดยน�ำเข้าจาก ประเทศบราซิล (65%) อาร์เจนติน่า (28%) สหรัฐอเมริกา (5%) และปารากวัย (2%) ต่างประเทศ ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดชิคาโกสูงขึ้น เนื่องจากในช่วงต้นเดือนตลาดคลายความ วิตกเกี่ยวกับการเจรจาทางการค้าของจีน และสหรัฐฯ และกระทรวงเกษตรของสหรัฐฯ รายงาน ปริมาณสต็อกกากถั่วเหลืองคงเหลือของโลกลดลงจากปีก่อนร้อยละ 0.99 ในขณะที่ความต้องการใช้ กากถั่วเหลืองโลกมีมากขึ้นกว่าปีก่อนร้อยละ 2.29 2. แนวโน้มเดือนพฤศจิกายน 2562

คาดว่าความต้องการใช้กากถั่วเหลืองในตลาดโลกช่วงนี้ยังคงค่อนข้างชะลอตัว เป็นผลจากภาวะ เศรษฐกิจที่ซบเซา และภาวะโรคระบาดในสุกร ส่งผลให้ราคากากถั่วเหลืองตลาดต่างประเทศ และ กากถั่วเหลืองน�ำเข้าของไทยมีแนวโน้มลดลงจากความต้องการใช้ที่ลดลง กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน พฤศจิกายน 2562

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

31


Food Feed Fuel

ราคากากถั่วเหลือง

หน่วย : บาท/กก.

ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. เฉลี่ย 1. ราคาขายส่งกากถั่วเหลืองผลิตในประเทศจากเมล็ดในประเทศ โปรตีน 44-48% ณ หน้าโรงงานสกัดน�้ำมัน ตลาด กทม. 2559 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 19.78 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 19.54 2560 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 2561 20.50 20.50 - 20.50 2562 2. ราคาขายส่งกากถั่วเหลืองผลิตในประเทศจากเมล็ดน�ำเข้า โปรตีน 44-46% ณ หน้าโรงงานสกัดน�้ำมัน ตลาด กทม. 2559 15.67 15.55 15.33 15.05 15.58 17.18 17.75 16.30 15.19 14.45 15.40 15.40 15.74 2560 15.19 15.03 14.59 14.30 14.18 13.49 13.57 13.52 13.51 13.64 13.53 14.35 14.08 2561 15.11 14.88 14.73 14.73 14.91 15.52 15.31 14.98 14.31 13.92 13.76 13.51 14.64 2562 13.33 13.17 13.47 13.42 13.30 13.34 13.31 13.20 13.09 13.05 13.27 3. ราคาขายส่งกากถั่วเหลืองน�ำเข้าจากต่างประเทศ โปรตีน 46-48% ณ โกดังผู้น�ำเข้า ตลาด กทม. 2559 15.26 15.05 14.83 14.55 14.75 16.41 16.75 15.89 15.19 14.45 15.31 15.13 15.30 2560 14.93 14.81 14.51 14.16 14.03 13.30 13.46 13.32 13.31 13.39 13.15 14.06 13.87 2561 14.65 14.49 14.40 14.40 14.59 15.20 15.01 14.81 14.12 13.75 13.58 13.35 14.36 2562 13.27 13.09 13.37 13.32 13.20 13.22 13.16 13.05 12.94 12.90 13.15 4. ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง ตลาดชิคาโก 2559 10.79 10.42 10.48 11.65 14.52 15.73 14.21 12.72 11.97 11.87 12.27 12.44 12.42 2560 12.99 13.07 12.53 11.86 11.36 11.08 12.11 11.21 11.21 11.64 11.58 11.68 11.86 2561 11.54 12.58 13.00 13.19 13.60 12.44 12.21 11.21 11.15 11.33 11.22 11.18 12.05 2562 11.02 10.64 10.77 10.17 10.52 10.97 10.47 10.00 9.90 10.24 10.47 5. ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง ตลาดชิคาโก (US$ : ton , 1 ton = 1.1023 shortton) 2559 297.17 291.33 296.07 330.53 408.26 443.41 403.28 364.48 342.40 337.13 345.84 345.83 350.48 2560 364.70 371.52 356.88 342.63 327.30 324.52 357.23 334.55 336.64 348.42 349.90 355.76 347.50 2561 359.30 397.39 413.49 419.73 423.84 381.34 365.13 337.45 340.17 344.18 338.75 340.21 371.75 2562 344.73 338.04 337.61 337.09 328.86 350.18 337.74 323.35 322.16 335.33 335.51 ที่มา : 1 - 3 กรมการค้าภายใน, 4 - 5 www.cmegroup.com

ปริมาณการนำ�เข้ากากถั่วเหลือง ปี 2559 2560 2561 2562

ม.ค. 156,369 326,955 185,574 395,449

ก.พ. 183,446 124,199 197,553 144,791

มี.ค. 230,664 230,786 307,289 91,097

เม.ย. 333,744 201,149 325,268 300,051

พ.ค. 267,025 387,340 393,978 304,221

มิ.ย. 239,435 257,665 299,988 458,158

หน่วย : ตัน

ก.ค. 254,968 166,003 104,998 126,835

ส.ค. 84,030 256,745 366,062 293,002

ก.ย. 243,874 292,628 236,151 294,035

ต.ค. 97,205 168,728 267,297

พ.ย. 263,869 359,410 116,051

ที่มา : กรมศุลกากร  ปี 2559 - มิ.ย. 60 พิกัด 23040090000  ตั้งแต่ ก.ค. 60 เป็นต้นไป พิกัด 23040090001

32

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

ธ.ค. รวม 223,371 2,578,000 186,331 2,957,938 152,064 2,952,274 2,407,638


Food Feed Fuel

ราคารับซื้อปลาเป็ดและปลาป่น เดือน/ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. 1. ปลาเป็ด (ดี/สด) (บาท/กก.) 2559 8.38 8.34 8.41 8.44 8.51 8.77 2560 9.22 9.31 9.20 8.81 8.33 8.20 2561 8.95 8.98 9.31 9.28 9.09 8.56 2562 8.30 8.14 8.12 7.99 7.86 7.87 2. ปลาเป็ด (รอง/ไม่สด) (บาท/กก.) 2559 6.53 6.24 6.20 6.22 6.34 6.58 2560 6.83 6.91 6.95 6.90 6.80 6.76 2561 6.99 7.05 7.13 7.07 7.00 6.74 2562 6.55 6.56 6.51 6.44 6.42 6.39 3. ปลาป่น เกรดกุ้ง (บาท/กก.) 2559 40.30 40.00 40.00 40.71 41.72 43.09 2560 39.00 40.00 39.87 37.84 36.50 36.50 2561 42.00 42.00 42.00 40.24 38.38 37.00 2562 35.00 34.32 33.00 34.33 35.00 34.37 4. ปลาป่น โปรตีน ต�่ำกว่า 60% เบอร์ 1 (บาท/กก.) 2559 35.30 35.00 35.00 35.71 36.72 38.09 2560 33.25 35.00 34.87 33.81 33.00 33.00 2561 37.00 37.00 37.00 35.47 34.38 33.00 2562 31.00 30.32 29.00 29.67 30.00 29.58 5. ปลาป่น โปรตีน ต�่ำกว่า 60% เบอร์ 2 (บาท/กก.) 2559 31.45 31.00 31.00 31.00 31.28 32.00 2560 30.25 32.00 31.87 31.00 31.00 31.00 2561 34.00 34.00 34.00 32.47 31.38 30.00 2562 27.00 26.32 25.00 25.67 26.00 26.00 6. ปลาป่น โปรตีน 60% ขึ้นไป เบอร์ 1 (บาท/กก.) 2559 37.30 37.00 37.00 37.71 38.72 40.09 2560 36.25 38.00 37.87 36.81 36.00 36.00 2561 40.00 40.00 40.00 38.47 37.38 36.00 2562 34.00 33.32 32.00 32.67 33.00 32.58 7. ปลาป่น โปรตีน 60% ขึ้นไป เบอร์ 2 (บาท/กก.) 2559 33.45 33.00 33.00 33.00 33.28 34.00 2560 33.25 35.00 34.87 33.81 33.00 33.00 2561 36.00 36.00 36.00 34.47 33.38 32.00 2562 31.00 30.32 29.00 29.67 30.00 29.58

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

เฉลี่ย

9.09 8.20 8.53 7.65

9.38 8.34 8.53 7.31

9.34 8.37 8.61 7.38

9.27 8.37 8.64 7.51

9.33 8.42 8.48

9.14 8.86 8.37

8.87 8.64 8.78 7.81

6.81 6.74 6.76 6.27

7.07 6.78 6.78 6.09

7.01 6.87 6.80 6.09

6.92 6.95 6.80 5.90

6.89 6.94 6.70

6.89 6.95 6.59

6.64 6.87 6.87 6.32

44.00 36.92 37.00 33.50

44.64 38.32 37.73 33.50

43.55 39.00 39.65 33.50

40.10 40.64 39.15 41.49 39.00 39.00 40.53 38.54 39.57 36.68 35.28 38.96 33.50 34.00

39.00 33.42 33.00 29.00

39.64 34.55 33.73 29.00

37.95 34.10 34.64 33.15 36.19 35.00 35.00 35.00 36.11 34.33 35.00 34.71 32.59 31.28 34.51 29.00 29.00 29.56

31.44 31.42 30.00 26.00

31.64 32.00 30.14 26.00

31.95 30.00 30.77 30.00 31.13 32.00 32.00 32.00 33.11 31.64 31.00 30.71 28.59 27.28 31.13 26.00 26.00 26.00

41.00 36.42 36.00 32.00

41.64 37.55 36.73 32.00

40.55 37.10 37.64 36.15 38.49 38.00 38.00 38.00 39.11 37.33 38.65 38.57 35.68 34.28 37.65 32.00 32.00 32.56

34.00 33.42 32.00 29.00

34.64 34.00 32.73 29.00

35.09 34.00 34.77 33.15 33.78 34.00 34.00 34.00 35.11 33.96 34.65 34.71 32.59 31.28 33.82 29.00 29.00 29.56 

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

33


Food Feed Fuel



เดือน/ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. 8. ปลาป่น โปรตีน 65% F.O.B. ตลาดเปรู (เหรียญสหรัฐฯ/ตัน) 2559 1,550 1,333 1,366 1,363 1,350 1,655 1,605 2560 1,277 1,272 1,217 1,180 1,118 1,060 1,122 2561 1,569 1,545 1,472 1,403 1,257 1,304 1,343 2562 1,230 1,223 1,200 1,295 1,307 1,290 1,275 9. ปลาป่น โปรตีน 60% F.O.B. ตลาดเปรู (บาท/กก.) 2559 51.99 44.00 44.66 44.35 44.37 54.19 52.21 2560 41.99 41.30 39.38 37.71 35.74 33.42 35.11 2561 46.43 45.12 42.71 40.77 37.31 39.31 41.44 2562 36.31 35.52 35.32 38.27 38.58 35.40 34.86

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

เฉลี่ย

1,550 1,340 1,365 1,373 1,333 1,432 1,160 1,160 1,191 1,260 1,463 1,207 1,280 1,275 1,278 1,240 1,230 1,350 1,142 1,060 1,060 1,208 49.92 35.79 39.26 32.61

43.16 35.67 38.60 30.08

44.37 44.99 44.22 46.87 36.74 38.50 44.28 37.97 38.84 37.94 37.39 40.43 27.28 34.42

ก.ย.

ต.ค.

ที่มา : 1/ สมาคมผู้ผลิตปลาปน่ไทย  2-7/ กรมการค้าภายใน  8-9/ http://hammersmithltd.blogspot.com

ปริมาณนำ�เข้าและส่งออกปลาป่น เดือน/ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ปริมาณน�ำเข้า (ตัน) (รวมพิกัดอัตราศุลกากร) 2559 8,557 5,941 5,857 6,570 5,615 2560 7,466 3,827 6,933 5,306 7,181 2561 8,629 7,257 5,936 5,009 5,454 2562 5,208 4,076 5,419 4,792 5,349 ปริมาณส่งออก (ตัน) (รวมพิกัดอัตราศุลกากร) 2559 7,041 15,215 18,941 13,158 18,436 2560 8,710 9,184 9,317 7,340 8,861 2561 16,891 11,638 13,526 9,109 7,774 2562 5,447 9,861 13,493 10,851 11,665

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

6,475 7,366 2,752 4,855

6,890 5,702 5,546 7,753 4,641 2,846 72,394 3,269 3,863 3,169 5,847 4,111 4,055 62,394 4,037 4,271 4,687 5,233 4,770 4,195 62,230 3,274 1,571 1,294 35,837

19,991 7,862 7,781 11,986

16,713 7,963 7,749 12,079

12,005 6,187 9,130 9,688

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

ธ.ค.

รวม

7,953 8,517 9,139 6,785 153,894 4,133 3,937 4,624 3,312 81,429 6,442 5,131 2,970 7,780 105,922 6,043 91,115

หมายเหตุ : พิกัดอัตราศุลกากร 2301 2010 000, 2301 2020 000 , 2301 2090 001, และ 2301 2090 090

34

พ.ย.


Food Feed Fuel

‘อิเสะ’ ยักษ์ ไข่ญี่ปุ่นบุกไทย ตั้งฟาร์มไก่ท้าชนเจ้าตลาด

ตลาดไข่ไทยสะเทือน “ISE Foods” ยักษ์ผู้ผลิตไข่ไก่ครบวงจรสัญชาติญี่ปุ่น รุกปักธงลงทุน Egg Park ฟาร์มไก่ไข่ 1 ล้านตัวทีแ่ ปดริว้ ดอดเจรจาบีโอไอ ด้านผูเ้ ลีย้ ง -  ผู้ผลิตไก่ไข่จับมือกรมปศุสัตว์ออกโรงต้าน หวั่นไข่ล้นตลาด สะเทือนบรรดายักษ์ใหญ่ ปศุสัตว์มีคู่แข่งฝีมือทัดเทียมเข้ามาตีท้ายครัวถึงในบ้านตัวเอง มีรายงานว่าขณะนี้ บริษัท ISE Foods Inc. หรือ “อิเสะ” ยักษ์ใหญ่ปศุสัตว์ และ ผู้ผลิตไข่ไก่ครบวงจรเบอร์ 1 จากประเทศญี่ปุ่น จะเข้ามาลงทุนพัฒนาฟาร์มเลี้ยงไก่ไข่ ขนาด 1 ล้านตัว ที่ อ.แปดริ้ว จ.ฉะเชิงเทรา โดยบริษัทอยู่ระหว่างการหารือเพื่อขอรับการ ส่งเสริมลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) กับคณะกรรมการนโยบาย พัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (เอ้กบอร์ด) โดยการเข้ามาลงทุนของอิเสะในครั้งนี้ ได้สร้าง ความกังวล และตื่นตระหนกให้กับบรรดายักษ์ใหญ่ทางด้านปศุสัตว์ของประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ครองส่วนแบ่งทางการตลาดไข่ไก่อันดับหนึ่งของประเทศ จากการที่ ไม่เคยมีคู่แข่งที่มีศักยภาพทัดเทียมกับตัวเองเข้ามาปรากฏตัวในประเทศ

ที่มา : ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ เศรษฐกิจในประเทศ วันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

35


Food Feed Fuel

ทั้งนี้ บริษัท อิเสะ ฟู้ดส์ อินคอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (ISE Foods Inc.) มีส�ำนักงานใหญ่อยู่ที่ โตเกียว กับเมืองโคโนสุ ประเทศญี่ปุ่น ก่อตั้งในปี 1912 เงินทุนจดทะเบียน 20 ล้านเยน (ประมาณ 5.77 ล้านบาท) ปัจจุบนั บริษทั มีพนักงานรวม 732 คน มีสำ� นักงานขายในญีป่ นุ่ 7 แห่ง และมีโรงงาน ในญี่ปุ่นทั้งสิ้น 10 แห่ง โดยในปีงบประมาณ 2018 มียอดขายรวม 47,100 ล้านเยน (ประมาณ 13,600 ล้านบาท) นอกจากนี้ บริษัทยังมีในเครือหลายแห่ง ที่ถูกก�ำกับและบริหารภายใต้ บริษัท อิเสะ คอร์ ปอเรชั่น จ�ำกัด (ISE Corporation) มีส�ำนักงาน ใหญ่ ที่เมืองโทยามะ ประกอบด้วยบริษัทในเครือ ด้านการผลิต 8 แห่ง และด้านการแปรรูปอีก 3 แห่ง ทั่วญี่ปุ่น ส�ำหรับบริษัทในเครือต่างประเทศ มี ส�ำนักงานอยูใ่ นสหรัฐอเมริกา 1 แห่ง ในจีน 3 แห่ง (ปักกิง่  - ชิงเต่า - เหอหยวน) และยังมี บริษทั อิเสะ ฟูด้ ส์ สิงคโปร์ จ�ำกัด (ISE FOODS SINGAPORE PTE. LTD.) กับบริษัท อิเสะ เอเชีย จ�ำกัด (ISE ASIA, INC.) ซึ่งมีส�ำนักงานใหญ่ในกรุงโตเกียว ดูแลฐานการผลิตในกรุงเทพฯ และอินโดนีเซีย กลัวไข่ล้นตลาด

ด้านนายมาโนช ชูทับทิม นายกสมาคม ผู้เลี้ยงไก่ไข่ กล่าวว่า กรมปศุสัตว์ได้สอบถามมา ที่สมาคมกรณีบริษัทขนาดใหญ่จากญี่ปุ่น (อิเสะ) จะมาลงทุนเลี้ยงไก่ไข่ที่ฉะเชิงเทรา 1 - 2 ล้านตัว ปรากฏเรือ่ งนีส้ มาคมมี “ความป็นห่วงพอสมควร” เนื่องจากกลัวว่า ไข่ไก่ของบริษัทจะเล็ดลอดออก มาขายแข่งเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ในไทย และมีผล ท�ำให้ราคาไข่ในประเทศตกต�่ำลงได้ เนื่องจากช่วง หลายปีที่ผ่านมา สถานการณ์ไข่ไก่ของไทยราคา

36

“ต�่ำกว่า” ต้นทุนการผลิตจากผลผลิตไข่ล้นเกิน ความต้องการบริโภค มีรายงานข่าวจากวงการเลี้ยงไก่ไข่เข้ามา ว่า ประเด็นที่สร้างความวิตกกังวลให้กับผู้เลี้ยง ไก่ไข่จากการเข้ามาของอิเสะก็คือ ซัพพลายไข่ไก่ ที่จะเพิ่มขึ้นระหว่าง 900,000 - 1 ล้านฟอง/วัน จะมีผลท�ำให้ไข่ไก่กลับมา “ล้นตลาด” เหมือน เมื่อปี 2559 ซึ่งช่วงนั้นมีไข่ไก่ล้นตลาดถึง 8 ล้านฟอง/วัน จากปริมาณการผลิตไข่ภาพรวม มีมากถึง 48 ล้านฟอง/วัน ราคาขายไข่ไก่ลดลง เหลือฟองละ 2.30 บาท เกษตรกรประสบภาวะ ขาดทุน กระทัง่ “เอ้กบอร์ด” ต้องออกมา “จ�ำกัด” ปริมาณการน�ำเข้าพ่อแม่พนั ธุ์ (PS) และปูย่ า่ พันธุ์ (GP) ไก่ไข่ และลดจ�ำนวนแม่ไก่ยนื กรงทัว่ ประเทศ ให้อยู่ที่ 50 ล้านตัว เพื่อรักษาสมดุลระหว่าง ดีมานด์ และซัพพลาย ส่งผลให้ราคาขายไข่ไก่ปรับ ขึ้นมาอยู่ที่ฟองละ 2.50 บาท CP เข็นไข่เคจฟรีสู้

ด้ า นนายสุ ข สั น ต์ เจี ย มใจสว่ า งฤกษ์ ประธานคณะผู้บริหารธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรม และกรรมการผู้จัดการใหญ่ (ร่วม) บมจ.เจริญ โภคภัณฑ์อาหาร (CPF) กล่าวว่า ธุรกิจไก่ไข่ ในแต่ละปีนั้น “มีได้และมีเสีย” หลายปีที่ผ่านมา เกษตรกรขาดทุนค่อนข้างมากจากปัญหาโอเวอร์ ซั พ พลายเป็ น หลั ก แต่ ดี ที่ ใ นช่ ว งต้ น ปี 2561 ที่ผ่านมา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ท�ำงาน ร่วมกับสมาคม ได้คอนโทรลซัพพลาย ลดพ่อแม่ พันธุ์ (PS) ลดการส่งออก และเก็บไข่เข้าห้องเย็น มีผลท�ำให้ราคาไข่กลับมาดีขึ้น ส่งผลให้เกษตรกร ที่เคยขาดทุนในช่วง 3 - 4 ปีที่ผ่านมาดีขึ้น

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562


Food Feed Fuel “หากบริษัทอิเสะเข้ามาก็จะมาเพิ่มจ�ำนวน ซั พ พลายไข่ ไ ก่ เ ข้ า มาในตลาดอี ก ซึ่ ง น่ า ห่ ว งว่ า เกษตรกรรายเล็ ก รายย่ อยที่เ ลี้ ยงไก่ ไ ข่ 500 1,000 ตัว จะไม่สามารถแข่งขันได้ ส่วนรายใหญ่ อย่าง CP หรือเบทาโกร ไม่ต้องห่วงอยู่แล้ว ผม คิดว่ารัฐบาลต้องระมัดระวังในการตัดสินใจเรือ่ งนี้ เพราะเชื่อว่าเกษตรกรคงไม่พอใจ ถ้าจะให้อิเสะ เข้ามา” อย่างไรก็ตาม CPF ก�ำลังอยู่ระหว่างการ พัฒนาผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพสูงระดับพรีเมีย่ ม ภายใต้ แบรนด์ “U - Farm” มีการผลิตไก่เบญจาออกสู่ ตลาดแล้ว และอยู่ระหว่างการพัฒนา “ไข่เคจฟรี” (Cage Free) ซึง่ ให้ไก่กนิ อาหารทีไ่ ม่มยี าปฏิชวี นะ ช่วยให้ไข่ไม่มีกลิ่นคาว สามารถตอกไข่ดิบลง บนข้าวได้ เช่นเดียวกับไข่ของอิเสะจากญีป่ นุ่ และ เริ่มทดลองท�ำการตลาดขนาดแพ็ก 4 ฟอง ขาย ในร้านเซเว่นอีเลฟเว่นบ้างแล้ว กรมปศุสัตว์ออกโรงร่วมต้าน

นายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ รองอธิบดีกรมปศุสตั ว์ กล่าวว่า กรมได้แจ้งให้ทาง บริษัทอิเสะทราบแล้วว่า “ไม่เห็นด้วย” ที่บริษัท

จะเข้ามาตั้งฟาร์มเลี้ยงไก่ไข่ในประเทศไทย จาก เหตุผลที่ว่า 1) ผู้เลี้ยงไก่ไข่ของไทยเป็นผู้เลี้ยง รายย่อยอาจมีผลกระทบต่อเกษตรกร 2) แผน ลงทุนของบริษัทอิเสะไม่สอดคล้องกับมาตรการที่ คณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ ต้องการควบคุมก�ำหนดโควตาน�ำเข้าปู่ย่าพันธุ์ (GP) - พ่อแม่พันธุ์ (PS) และ 3) อุตสาหกรรม ไก่ไข่ไทยมีศักยภาพ สามารถส่งออกสินค้าไปยัง ตลาดต่างประเทศมากอยูแ่ ล้ว ซึง่ ตลาดในประเทศ ก็มีผลผลิตไข่ไก่เกินความต้องการ “อิเสะได้ท�ำแผนการผลิตและส่งออกไก่ไข่ ครบวงจร โดยใช้ชื่อว่า “Egg Park” เสนอมายัง รัฐบาล และให้กรมปศุสตั ว์เป็นผูพ้ จิ ารณาก่อน โดย ต้องไปผ่านมติเอ้กบอร์ด ซึ่งกรมพิจารณาแล้วว่า แผนของอิเสะไม่สอดคล้องกับอุตสาหกรรมไก่ไข่ ของไทย กรมปศุสัตว์จึงไม่เห็นด้วย และที่ส�ำคัญ คือ จะกระทบเกษตรกรอย่างมาก” นายสัตวแพทย์ สมชวนกล่าว ขณะที่คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ระบุวา่ ISE foods จะเข้ามาหารือกับ BOI เพื่อขอทราบสิทธิประโยชน์จากการลงทุนฟาร์ม เลี้ ย งไก่ ไ ข่ ใ นจั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา ซึ่ ง อยู ่ ใ นเขต

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

37


Food Feed Fuel

พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) แต่ จ นถึ ง ขณะนี้ ท างบริ ษั ท ISE foods ยังไม่ได้ยนื่ ขอรับการส่งเสริม การลงทุน “ฟาร์มเลี้ยงไก่ไข่ไม่ใช่ อุตสาหกรรม S - curve และไม่ใช่ พืน้ ทีท่ ปี่ ระกาศเป็นเขตส่งเสริม แต่ ISE foods สามารถเข้ามาลงทุน ตั้ ง ฟาร์ ม เองก็ ไ ด้ เพี ย งแต่ ไ ม่ ไ ด้ รับการส่งเสริม - สิทธิประโยชน์จาก BOI เท่านั้น” เกษตรกรเดือดร้อน

ได้มีการสอบถามไปยังฟาร์มเลี้ยงไก่ไข่หลายรายกรณี “อิเสะ” จะเข้ามา ลงทุนเลี้ยงไก่ไข่ว่า ผู้รับผลกระทบมากที่สุดไม่ใช่เกษตรกร แต่เป็นบรรดาบริษัท ยักษ์ใหญ่ทางด้านปศุสัตว์ จากเหตุผลที่ว่า บริษัทเหล่านี้เป็นผู้ครองส่วนแบ่งทาง การตลาดไก่ไข่ในประเทศ ย่อม “ไม่ยอม” ให้มีคู่แข่งที่มีศักยภาพทัดเทียม หรือ เก่งกว่าเข้ามาแย่งส่วนแบ่งตลาดในประเทศ โดยเฉพาะผู้ผลิตไก่ไข่เบอร์ 1 ที่มี แชร์ห่างจากเบอร์ 2 หลายเท่าตัว “การเข้ามาของอิเสะเชื่อว่าไม่ได้มาคนเดียว แต่อิเสะจะต้องหาพันธมิตร ภายในประเทศ อาจจะเป็นการร่วมลงทุน กรณีนี้จะท�ำให้การครองส่วนแบ่งตลาด ไก่ไข่ และไข่ในประเทศเปลี่ยนแปลงไป เบอร์ 2 - 3 - 4 อาจขยับขึ้นมาแข่งกับ เบอร์ 1 ได้ ทั้งในแง่ของผลผลิตและผลิตภัณฑ์จากไข่ โดยอาศัยความรู้ความ เชี่ยวชาญจากอิเสะ ส่วนปริมาณไข่ไก่ที่ล้นเกินนั้น ความจริงมาจากการไม่มีการควบคุมปริมาณ การน�ำเข้าพ่อแม่พนั ธุ์ (PS) ไปจนถึงปูย่ า่ พันธุ์ (GP) เนือ่ งจากเป็นการเปิดให้นำ� เข้า โดยเสรี ดังนั้น การปรากฏตัวของอิเสะจึงได้รับการต่อต้านอย่างสูง ส่วนที่ว่าเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่จะเดือดร้อนนั้น ปัจจุบันแทบไม่มีผู้เลี้ยงอิสระ อยู่แล้ว เพราะระบบการเลี้ยงไก่ไข่ในปัจจุบันเป็นแบบ contact farming ผู้เลี้ยง ไก่ไข่เหมือนหนึ่งลูกจ้างเลี้ยงไก่ของบริษัทนั่นเอง” แหล่งข่าวกล่าว

38

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562


Market Leader

ลุ้นขยับเส้นตาย

แบน 3 สารพิษ

ลามธุรกิจอาหาร “คน - สัตว์”

อุตสาหกรรมเบเกอรี่ - ขนมอบ - บะหมี่ ส� ำ เร็ จ รู ป  - ปศุ สั ต ว์ ป ่ ว นหนั ก หลั ง ประกาศ กระทรวงสาธารณสุข ห้ามน�ำเข้าอาหารที่มีวัตถุ อันตรายที่ “พาราควอต - ไกลโฟเซต - คลอร์ไพริฟอส” ตกค้าง หวั่นเสียหายแสนล้าน กระทบ เป็นลูกโซ่ ด้านสมาคมอาหารสัตว์ปดู “บราซิล” เตรียมใช้เวที WTO หารือไทย ข้องใจเหตุผล แบน 3 สาร แนะกรรมการวัตถุอนั ตรายชุดใหม่ แก้มติหันไปใช้วิธีจ�ำกัดการใช้ ให้ทยอย “ลด ละ - เลิก” แทน การประกาศ “แบน” 3 สารเคมีกำ� จัดวัชพืช อันตรายโดยเฉพาะอย่างยิง่ “ไกลโฟเซต” ไม่เพียง แต่จะส่งผลกระทบต่อเกษตรกรในแง่ของการ หาสารเคมีทดแทนประเภทอื่นมาใช้เท่านั้น แต่ ยังกระทบไปถึงการน�ำเข้าอาหารคน และอาหาร สัตว์ทมี่ กี ารใช้ไกลโฟเซตตกค้างอยูใ่ นอาหารเหล่า นั้นด้วย

สธ. ห้ามตกค้างในอาหาร

ผลกระทบการแบนสารไกลโฟเซตของ คณะกรรมการวัตถุอันตราย ได้ครอบคลุมไปถึง การน�ำเข้าสินค้าอาหารคน และอาหารสัตว์จาก ต่างประเทศด้วย โดยก่อนหน้านี ้ กระทรวงเกษตร และการค้าสหรัฐฯ ท�ำหนังสือมาถึง พล.อ.ประยุทธ์ จั น ทร์ โ อชา นายกรั ฐ มนตรี เพื่ อ ขอให้ ช ะลอ การแบนสารเคมีไกลโฟเซตพร้อมกับแสดงความ กังวลว่า การค้ากากถั่วเหลือง - เมล็ดถั่วเหลือง ข้าวสาลี - กาแฟ - แอปเปิล - องุ่น ระหว่างประเทศ ไทยกับสหรัฐฯ อาจจะ “หยุดชะงักลง” คิดเป็น มูลค่าความเสียหายถึง 1,700 ล้านเหรียญ โดย ความเสียหายนี้ยังไม่รวมถึงผลกระทบที่อุตสาหกรรมอาหารประเภทขนมอบ - บะหมี่กึ่งส�ำเร็จรูป ซึ่งใช้ข้าวสาลีน�ำเข้า 100% เป็นวัตถุดิบส�ำคัญ ที่มีมูลค่าสูงถึง 40,000 ล้านบาท

ที่มา : ประชาชาติธุรกิจ ออนไลน์ วันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

39


Market Leader ทั้ ง นี้ ความกั ง วลของสหรั ฐ ฯ เกิ ด จาก ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเลขที่ 387 พ.ศ. 2560 เรือ่ งอาหารทีม่ สี ารพิษตกค้าง ข้อ 4 อาหาร ทีม่ สี ารพิษตกค้างต้องมีมาตรฐาน โดยตรวจไม่พบ วัตถุอนั ตรายทางการเกษตรชนิดที่ 4 ตาม พ.ร.บ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2551 ตามบัญชีหมายเลข 1 แนบท้าย ประกาศนี้ โดยคณะกรรมการวัตถุอันตรายได้มี มติในวันที่ 22 ตุลาคมทีผ่ า่ นมาให้ “พาราควอต -  ไกลโฟเซต - คลอร์ไพริฟอส” จากวัตถุอันตราย ชนิดที่ 3 เป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 4 มีผลตั้งแต่ วันที่ 1 ธันวาคม 2562 นั่นหมายความว่า การเป็นวัตถุอันตราย ชนิ ด ที่ 4 นอกเหนื อ จากห้ า มมิ ใ ห้ มี ก ารผลิ ต การน�ำเข้า การส่งออก หรือมีไว้ในครอบครองแล้ว ตามนัยของประกาศกระทรวงสาธารณสุขข้างต้น ยังห้ามไม่ให้มีการตกค้างของ พาราควอต - ไกล โฟเซต - คลอร์ไพริฟอส อยู่ในอาหารโดยเด็ดขาด ส่งผลให้อาหารคนรวมไปถึงทีม่ สี ว่ นประกอบ หรือ ส่วนผสมจากวัตถุดิบที่ใช้สารเคมีก�ำจัดวัชพืชทั้ง

40

3 รายการ ไม่สามารถน�ำเข้ามาจ�ำหน่ายในประเทศ ตามความกังวลของสหรัฐฯ ด้วย โดยล่าสุด ได้ สอบถามไปยังหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องต่าง “ปฏิเสธ” ที่จะตอบค�ำถามดังกล่าวโดยอ้างว่า เป็นเรื่อง ละเอียดอ่อนทางการเมือง เบเกอรี่ตื่น เสียหายใหญ่หลวง

อย่างไรก็ตาม ได้สอบถามไปยังผูป้ ระกอบ การที่ท�ำเบเกอรี่หลายรายกล่าวตรงกันว่า ยังไม่ ทราบการแบนไกลโฟเซตจะส่งผลไปถึงการห้าม น�ำเข้าข้าวสาลีสหรัฐฯ ซึ่งเป็นวัตถุส�ำคัญในการ ท�ำแป้งสาลีตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขเลข ที่ 387 พ.ศ. 2560 ซึ่งหากมีการห้ามน�ำเข้าจริง ก็ จ ะส่ ง ผลกระทบกั บ อุ ต สาหกรรมอาหารใน วงกว้าง และ “เราถือเป็นเรือ่ งใหญ่มาก” เนือ่ งจาก ธุรกิจอาหารในประเทศไทยส่วนใหญ่ใช้แป้งสาลี จากสหรัฐฯ ไม่วา่ จะเป็นธุรกิจเบเกอรี,่ เค้ก, ขนมปัง, พิซซ่า, ซาลาเปา, แพนเค้ก และบะหมีก่ งึ่ ส�ำเร็จรูป “ตอนนี้ผู้ประกอบการส่วนใหญ่รู้แต่เพียงเรื่อง การแบน 3 สารพิษ แต่ยังไม่รู้ว่ามีประกาศของ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562


บราซิลจี้ไทยในเวที WTO

ส่วนผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการแบนไกล โฟเซตทีม่ ตี อ่ อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งกากถั่วเหลืองก็วุ่นวายไม่แพ้อาหารคน โดยนายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายกสมาคม ผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย กล่าวว่า รัฐบาลควรเร่ง หาทางออกในการแก้ไขมติคณะกรรมการวัตถุ อันตรายสั่งให้แบน 3 สารเคมีโดยเฉพาะอย่างยิ่ง “ไกลโฟเซต” ซึ่งจะมีผลในวันที่ 1 ธันวาคมนี้ เนื่องจากทั้งอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ และอุตสาหกรรมน�้ำมันถั่วเหลืองต่างก็ต้องใช้ถั่วเหลือง กากถัว่ เหลือง - ข้าวสาลี จากสหรัฐฯ เกือบทัง้ หมด การประกาศให้ 3 สารก�ำจัดวัชพืชเป็น วัตถุอันตรายชนิดที่ 4 หมายความว่า ห้ามไม่ให้ มีการครอบครอง น�ำเข้า หรือส่งออกสินค้าที่มี สารก�ำจัดวัชพืชทั้ง 3 ประเภทเป็นส่วนผสมเลย “หมายถึงว่าพาราควอต - ไกลโฟเซต - คลอร์ไพ ริฟอส จะต้องเป็น 0% จากเดิมที่อุตสาหกรรม ต่ า งๆ สามารถน� ำ เข้ า วั ต ถุ ดิ บ ได้ โ ดยยึ ด ตาม มาตรฐาน Codex ที่ก�ำหนดไว้ว่า สามารถมีสาร ดังกล่าวผสมในสัดส่วนไม่เกิน 20 ppb ประเด็นนี้ ท� ำ ให้ อุ ต สาหกรรมที่ ใ ช้ วั ต ถุ ดิ บ น� ำ เข้ า ทั้ ง หมด (กากถั่วเหลือง - ถั่วเหลือง - ข้าวสาลี) ต้องยุติ การสั่งซื้อ ไม่สามารถน�ำเข้าสินค้าได้ ดังนั้น ทาง สมาคมอยากทราบความชัดเจนจากรัฐบาลว่า จะ ให้เราด�ำเนินการอย่างไร ก่อนที่ความเสียหาย อย่างใหญ่หลวงจะเกิดขึ้น” นายพรศิลป์กล่าว

Market Leader

สธ. เรือ่ งห้ามน�ำเข้าอาหารทีอ่ าจจะมีสารปนเปือ้ น สารพิษดังกล่าว และไม่มีหน่วยราชการใดออกมา ชี้แจงกรณีความกังวลของสหรัฐฯ เกี่ยวกับการ น�ำเข้าข้าวสาลีด้วย” แหล่งข่าวกล่าว

ล่าสุดมีรายงานข่าวเข้ามาว่า ประเทศที่ ส่งออกข้าวสาลี - กากถั่วเหลือง (บราซิล) ที่ได้รับ ผลกระทบจากมาตรการแบน 3 สารก�ำจัดวัชพืช ของประเทศไทย ก� ำ ลั ง เคลื่ อ นไหวในองค์ ก าร การค้าโลก (WTO) เพื่อขอหารือในประเด็นนี้กับ ประเทศไทย โดยนายพรศิลป์กล่าวว่า ประเทศ ที่เดือดร้อนต้องการให้ฝ่ายไทยชี้แจงว่า มติการ แบนของคณะกรรมการวัตถุอันตรายพิสูจน์ด้วย หลักฐานอะไร หากไม่มหี ลักฐานทีย่ นื ยันได้เท่ากับ ประเทศไทยไปกีดกันทางการค้า โดยประเทศที่ เดือดร้อนไม่ใช่แค่บราซิลแต่ยังมีสหรัฐฯ ด้วย เพราะปัจจุบนั ประเทศไทยน�ำเข้าวัตถุดบิ ถัว่ เหลือง ปีละ 5 ล้านตัน โดยมาจากบราซิล และสหรัฐฯ อย่างละครึ่ง และทั้งสองประเทศนี้ยังมีการใช้ ไกลโฟเซตอยู่ ไม่เพียงเท่านั้นยังมีการน�ำเข้าข้าว สาลีที่น�ำเข้ามาใช้ผลิตอาหาร บะหมี่กึ่งส�ำเร็จรูป รวมถึ ง อุ ต สาหกรรมอาหารสั ต ว์ ซึ่ ง ใช้ ป ี ล ะ 1 ล้านตัน จากแคนาดา ออสเตรเลีย และยูเครน ก็มกี ารใช้อยูเ่ ช่นกัน โดยรวมแล้วมีผใู้ ช้ไกลโฟเซต กว่า 161 ประเทศทั่วโลก “รัฐบาลควรหันไปใช้มติเดิมที่ก�ำหนดให้ ทยอยลด ละ เลิก ให้เวลาในการศึกษาอบรม ท�ำความเข้าใจ และหาสารเคมีมาทดแทน เพราะ ถ้าไม่ท�ำอย่างนี้ อุตสาหกรรมทั้งห่วงโซ่การผลิต จะได้รบั ความเสียหาย ทัง้ ตัวเกษตรกร และการ จ้างงาน พูดง่ายๆ ก็คือเจ๊งหมด” นายพรศิลป์ กล่าว

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

41


Market Leader

โรงงานอาหารสัตว์ป่วนหนัก

US ขู่ ไทย เลิกแบน ‘ไกลโฟเซต’ แบน 3 สารพิ ษเคมีเกษตรบานปลาย หลังกระทรวงเกษตรฯ สหรัฐฯ ท�ำหนังสือถึง "ประยุทธ์" ขอชะลอการแบน “ไกลโฟเซต” พร้อมขู่กระทบการค้ากากถั่วเหลือง - ข้าวสาลี - กาแฟ - องุ่น - แอปเปิล เพราะมีการใช้ในพื ชเหล่านี้ ร้อนถึงสมาคมอาหารสัตว์ - น�ำ้ มันถั่วเหลือง เต้น กลัวขาดวัตถุดิบ เสียหายหลายแสนล้าน การประกาศ “แบน” สารเคมีก�ำจัดวัชพืช อันตราย “พาราควอต - ไกลโฟเซต - คลอร์ไพริฟอส” ของคณะกรรมการวัตถุอันตราย เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม ทีผ่ า่ นมา ได้กลายเป็นประเด็น “การเมือง ระหว่างประเทศ” ไปแล้ว เมือ่ กระทรวงเกษตรและ การค้าสหรัฐฯ (Trade and Foreign Affairs) เข้า “แทรกแซง” ด้วยการท�ำหนังสือถึง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ขอให้ “ชะลอ” การแบน สารเคมี “ไกลโฟเซต” ออกไปก่อน ในขณะที่การบริหารจัดการสต็อกคงเหลือ ของสารเคมีก�ำจัดวัชพืชทั้ง 3 ชนิด ก็เต็มไป ด้วยความสับสน และโยนกันไปมาระหว่างคณะ กรรมการวัตถุอันตราย กับกรมวิชาการเกษตร ทั้งๆ ที่เหลือเวลาอีกเพียง 1 เดือน (1 ธันวาคม 2562) ก็จะครบก�ำหนดการห้ามผลิต - น�ำเข้า ส่งออก และมีไว้ในครอบครองแล้ว

สหรัฐฯ จุ้น กระทบเกษตรกรไทย

Ted A. Mekinney เลขานุการกระทรวง เกษตรและการค้าสหรัฐฯ ได้ระบุถึงความกังวล ของสหรัฐฯ ต่อการ “แบน” สารไกลโฟเซตของ คณะกรรมการวัตถุอนั ตราย โดยกล่าวหาประเทศ ไทยไม่ยึดหลักฐานทางวิทยาศาสตร์จากการเป็น สมาชิกองค์การการค้าโลก (WTO) ทั้งยังอ้างว่า ไกลโฟเซตเป็ น สารเคมี จ� ำ กั ด ศั ต รู พื ช ที่ ใ ช้ กั น แพร่หลายทัว่ โลก และอ้างการประเมินความเสีย่ ง ต่อสุขภาพของคน โดย U.S. Environmental Protection Agency หรือ EPA ว่า ไกลโฟเซต ไม่มีส่วนท�ำให้เกิดอันตรายต่อร่างกายคน ในขณะที่ Russ Nicely ที่ปรึกษาด้าน การเกษตร สถานเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ประจ�ำ ประเทศไทย ก็ ไ ด้ ท� ำ หนั ง สื อ ถึ ง นายสุ ริ ย ะ จึงรุ่งเรืองกิจ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาห-

ที่มา : ประชาชาติธุรกิจ ฉบับวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2562

42

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562


2) หากยั ง ไม่ มี ส ารเคมี ก� ำ จั ด ศั ต รู พื ช ที่ เหมาะสม (ทั้งราคาและประสิทธิภาพในการใช้ งาน) ต้นทุนแรงงานในการควบคุมวัชพืช และการ สู ญ เสี ย ผลผลิ ต ทางการเกษตรคาดว่ า จะสู ง ถึ ง 128,000 ล้านบาท และ 3) การค้ากากถัว่ เหลือง ข้าวสาลี - กาแฟ - แอปเปิล และองุ่น ระหว่าง สหรัฐฯ กับประเทศไทย อาจหยุดชะงัก และจะ ส่งผลกระทบต่อการน�ำเข้าสินค้าเหล่านี้ของไทย คิดเป็นมูลค่า 1,700 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และ ความเสี ย หายข้ า งต้ น ยั ง ไม่ ร วมถึ ง ผลกระทบ ที่ อุ ต สาหกรรมอาหารของประเทศไทย อาทิ ขนมอบ - บะหมี่กึ่งส�ำเร็จรูป ซึ่งใช้ข้าวสาลีน�ำเข้า 100% เป็นวัตถุดิบ จะมีมูลค่าสูงถึง 40,000 ล้านบาท ทั้งนี้เป็นที่เข้าใจกันดีว่า ถั่วเหลือง - ข้าว สาลี - กาแฟ - แอปเปิล - องุน่ ใช้ไกลโฟเซต ในการ ก�ำจัดศัตรูพืช จึงอาจมีการ “ตกค้าง” อยู่ในตัว ผลิตภัณฑ์ และการประกาศ “แบน” ของประเทศ ไทย ได้ก่อให้เกิดข้อกังวลที่ว่า ผลิตภัณฑ์ทางการ เกษตรเหล่านี้จะถูกห้ามน�ำเข้าตามไปด้วยหรือไม่

Market Leader

กรรม ถึงผลกระทบทางเศรษฐกิจที่ประเทศไทย จะได้รับจากการประกาศแบนไกลโฟเซตไว้ 3 ประการ คือ 1) ต้นทุนการใช้สารเคมีทดแทน ของเกษตรกรไทยจะเพิ่มขึ้น 75,000 - 125,000 เหรียญสหรัฐฯ

จะได้ ตั้ ง คณะท� ำ งานศึ ก ษาผลกระทบจากการ ยกเลิก 3 สารเคมี ส่วนประเด็นที่ว่า หลังวันที่ 1 ธันวาคมทีห่ า้ มการใช้ - น�ำเข้า - ส่งออก - ผลิต และ ครอบครองนั้น “กรณีการครอบครองจะต้องแจ้ง ให้หน่วยงานทราบหรือไม่ ตรงนี้อยู่ในความรับ ผิดชอบและเป็นหน้าที่ของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ จ ะรั บ ไปด� ำ เนิ น การต่ อ ซึ่ ง กระทรวง เกษตรฯ จะเช็คว่า ปริมาณสต็อกที่เหลือเท่าไร อยูท่ ไี่ หนบ้าง และจะจัดการอย่างไร” นายประกอบ กล่าว ด้าน ดร.วรณิกา นาควัชระ บีดิงเฮาส์ ผู้อ�ำนวยการบริหาร สมาคมการค้า นวัตกรรม เพื่อการเกษตรไทย กล่าวว่า สมาคมยอมรับมติ คณะกรรมการวั ต ถุ อั น ตรายที่ ใ ห้ แ บนสารเคมี ในวันที่ 1 ธันวาคม “แต่ไม่เห็นด้วยในเรื่องการ ท�ำลายสต็อกสารเคมีทเี่ หลือในประเทศ ประมาณ 40,000 ตัน” ซึ่งทางรัฐบาลระบุว่า “จะให้เป็น ภาระหน้ า ที่ ข องเอกชนในการเก็ บ รั ก ษา และ ท� ำ ลาย” เนื่ อ งจากสต็ อ กจ� ำ นวนนี้ ไ ด้ ก ระจาย ออกไปสู่ร้านค้าและเกษตรกรหมดแล้ว หากจะ เรียกเก็บคืนเป็นเรื่องล�ำบาก และจะต้องมีค่า ใช้จ่ายประมาณ 12,000 ล้านบาท

เอกชนร้องปลดล็อกส่งออก

นายประกอบ วิวิธจินดา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงอุตสาหกรรม รักษาราชการแทนอธิบดี กรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) กล่าวว่า เบือ้ งต้น

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

43


Market Leader

หวั่นน�ำเข้ากากถั่วเหลืองไม่ได้

“สมาคมคาดการณ์ว่า สต็อก 40,000 ตัน อยู่ในมือเกษตรกรประมาณ 10,000 ตัน ร้านค้า 10,000 ตัน และอีก 20,000 ตัน เป็นสต็อกที่ เอกชนต้องส่งออก แต่ปัญหาก็คือ ขณะนี้เรา ส่งออกไม่ได้ เพราะรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง เกษตรฯ (น.ส.มนัญญา ไทยเศรษฐ์) สั่งการ ด้วยวาจา โดยไม่มีลายลักษณ์อักษรไปยังกรม วิชาการเกษตร ห้ามไม่ให้ส�ำนักควบคุมวัสดุและ ปัจจัยการเกษตร ด�ำเนินการขึ้นทะเบียนรับรอง ผู ้ ผ ลิ ต ในการส่ ง ออก หรื อ แก้ ไ ขฉลากก็ ยั ง ท� ำ ไม่ได้เลย ถ้าปลดล็อกให้มีการส่งออกได้ก็จะ ช่วยลดภาระในการท�ำลายลงได้ 50% ของสาร ที่เหลือตกค้างอยู่ ตอนนี้เอกชนเดือดร้อนมาก” ดร.วรณิกา กล่าว ล่ า สุ ด ได้ ส อบถามไปยั ง นายเฉลิ ม ชั ย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฯ เองก็ บอกว่า “ไม่ได้มีนโยบายห้ามส่งออก” ทั้งๆ ที่ ความจริงประเทศไทยมีทั้งการน�ำเข้า - ส่งออก และผลิตสารเคมีก�ำจัดศัตรูพืชทั้ง 3 ชนิดนี้ ยก ตัวอย่าง ผู้ผลิต ได้แก่ บริษัทเอราวัณ ผลิต พาราควอต และป.เคมี ส่วนในกรณีนี้จะมีการ ฟ้ อ งด� ำเนิ น คดี ต ่ อ ศาลหรื อ ไม่ นั้ น เป็ น เรื่ อ งของ แต่ละบริษัท หรือกลุ่มเกษตรกรจะด�ำเนินการ กันเอง ทางสมาคมไม่มีนโยบายที่จะเป็นผู้ยื่น ฟ้องคดี

44

นายพรศิ ล ป์ พั ช ริ น ทร์ ต นะกุ ล นายก สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย กล่าวถึง ผลกระทบที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น จากการค้ า กากถั่วเหลือง ซึ่งเป็นวัตถุดิบใน การผลิตอาหารสัตว์ของประเทศ ตามหนังสือของกระทรวงเกษตรฯ สหรัฐฯ ว่า ตอนนีย้ งั ไม่มคี วามชัดเจนว่ารัฐบาลจะมีมาตรการ เรือ่ งการน�ำเข้าถัว่ เหลืองและกากถัว่ เหลืองอย่างไร “จะให้น�ำเอกสารใดมารับรอง เพียงแต่ระบุว่า แบน ตอนนี้ทุกคนรอความชัดเจนจากรัฐมนตรี ว่า แบนแล้วจะท�ำอย่างไรต่อ” ปัจจุบนั ประเทศไทย ใช้เมล็ดและกากถั่วเหลืองน�ำเข้าปีละ 5 ล้านตัน หรือเฉลี่ยเดือนละ 200,000 ตัน ซึ่งหากไทย แบนแล้วห้ามน�ำเข้าด้วยจะกระทบ เพราะไม่มี แหล่งน�ำเข้าส�ำรอง “การประกาศแบนไม่ใช่จดุ จบปัญหา แต่เป็น จุดเริ่มต้น คณะกรรมการวัตถุอันตรายประกาศ แบนแล้วไม่มีกากถั่วเหลืองน�ำเข้าจะท�ำอย่างไร ผมก็รอฟังจากรัฐมนตรี ที่ใช้นโยบายนี้” สอดคล้องกับแหล่งข่าวจากสมาคมผู้ผลิต น�้ำมันถั่วเหลืองและน�้ำมันร�ำข้าวระบุว่า ขณะนี้ ยังไม่ทราบความชัดเจนจากภาครัฐว่าจะด�ำเนิน การอย่ า งไรกั บ การค้ า เมล็ ด ถั่ ว เหลื อ งระหว่ า ง ไทย - สหรัฐฯ ที่ได้รับผลกระทบจากการแบน ไกลโฟเซต จะสามารถน�ำเข้าเมล็ดถั่วเหลืองได้ หรือไม่ โดยปกติอุตสาหกรรมนี้ใช้ถั่วเหลืองปีละ 1 - 2 ล้านตัน ในการผลิตจากสหรัฐฯ บราซิล และ ส่งขายกากถั่วเหลืองให้อุตสาหกรรมอาหารสัตว์

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562


Market Leader

จัดโปรโมชั่นลดล้างสต็อก

ร้ า นจ� ำ หน่ า ยยาก� ำ จั ด ศั ต รู พื ช และวั ส ดุ ก ารเกษตรในหลายจั ง หวั ด พบ ความ “สับสน” ในการด�ำเนินการครอบครองสต็อก “พาราควอต - ไกลโฟเซต คลอร์ไพริฟอส” หลังวันที่ 1 ธันวาคม 2562 จะต้องด�ำเนินการอย่างไร เพราะ ติดต่อไปยังตัวแทนจ�ำหน่ายและผู้ผลิตและน�ำเข้าแล้วก็ยังไม่ได้รับค�ำตอบ และ ไม่มที ที า่ จะรับคืนสารเคมีเหล่านี้ ทางหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องอย่างกรมวิชาการเกษตร ก็ไม่ได้ติดต่อเข้ามาว่า ร้านจ�ำหน่ายสารเคมีก�ำจัดศัตรูพืชจะต้องด�ำเนินการอย่างไร “ตอนนี้ที่เราท�ำได้ก็คือ เร่งขาย พาราควอต - ไกลโฟเซต - คลอร์ไพริฟอส ออกไปให้ได้มากที่สุด ด้วยการจัดโปรโมชั่นลดราคา อย่างพาราควอต เดิมลิตรละ 180 บาท ตอนนี้ขายแค่ 135 - 140 บาท ไกลโฟเซต 140 บาท/ลิตร ปัจจุบันขาย 135 บาท/ลิตร และคลอร์ไพริฟอสจากลิตรละ 380 บาท หั่นเหลือแค่ 290 บาท” นายวิศษิ ฐ์ ลิม้ ลือชา ประธานกลุม่ อาหาร สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า ที่ประชุมกลุ่มอาหารวันนี้ (25 ต.ค.) พิจารณาท่าทีของกลุ่มว่า ห่วง ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการแบน 3 สารเคมี โดยจะส่งผลสรุปไปยังประธาน ส.อ.ท. เพื่อเป็นการรวบรวมความเห็นจากหลายๆ กลุ่มอุตสาหกรรม ก่อนจะออก เป็นท่าทีของ ส.อ.ท. ต่อไป

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

45


Market Leader

เกษตรฯ เปิดวอร์รูม สั่ง 11 จังหวัด

ตัดวงจรระบาดโรคใบด่างมันส�ำปะหลัง ภายหลังจาก ครม. มีมติอนุมัติให้จัดการ ป้องกันก�ำจัดโรคใบด่างมันส�ำปะหลัง กรมส่งเสริม การเกษตร จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการติดตามสถาน การณ์ และด�ำเนินการป้องกันและก�ำจัดโรคใบด่าง มันส�ำปะหลัง เพื่อตัดวงจรระบาด ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ได้มอบหมาย นายอลงกรณ์ พลบุตร ที่ ป รึ ก ษารั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ให้ก�ำกับและดูแลตัดวงจรระบาดโรค ใบด่างมันส�ำปะหลังให้หมดสิน้ รวมทัง้ ปฏิบตั ติ าม ระเบียบทางราชการอย่างเคร่งครัด พร้อมสั่งการ ให้ทุกจังหวัดที่มีพื้นที่ปลูกมันส�ำปะหลัง อีก 50 จังหวัด เฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์อย่าง ใกล้ชิด นายเข้มแข็ง ยุติธรรมด�ำรง อธิบดีกรม ส่งเสริมการเกษตร กล่าวว่า ส�ำหรับการจัดการ โรคใบด่างมันส�ำปะหลังที่ก�ำลังเป็นปัญหาส�ำคัญ ของเกษตรกรผู้ปลูกมันในขณะนี้ ได้เปิด วอร์รูม เพือ่ สัง่ การให้ เกษตรจังหวัด ทัง้ 11 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกาญจนบุรี นครราชสีมา สระแก้ว สุรินทร์ ศรีสะเกษ บุรรี มั ย์ อุบลราชธานี ปราจีนบุรี ชลบุรี

ที่มา : ข่าวทั่วไป - ThaiPR.net วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562

46

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562


Market Leader ระยอง และฉะเชิงเทรา ที่พบการระบาดของโรค ใบด่างมันส�ำปะหลัง จัดการท�ำลายและเยียวยา เกษตรกร อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร กล่าวเพิ่ม เติมว่า ส�ำหรับการป้องกันและก�ำจัดโรคใบด่าง มันส�ำปะหลัง จะด�ำเนินการดังนี้ 1. การส�ำรวจ และชี้ เ ป้ าพื้ น ที่ ร ะบาด โดยมี เ จ้ า หน้ า ที่ เ กษตร เกษตรกร เครือข่าย อกม. ร่วมกันส�ำรวจพื้นที่ ทีป่ ลูกมันส�ำปะหลัง 2. หากพบการลักษณะคล้าย เป็นโรคใบด่าง ให้เก็บตัวอย่างส่งพิสูจน์ความ เป็นโรค ทั้งนี้ ส�ำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช (สอพ.) กรมวิชาการเกษตร ตรวจวินจิ ฉัยตัวอย่าง ซึ่งจะทราบผลภายใน 3 วัน ทั้งนี้ พื้นที่ที่วินิจฉัย ว่าเป็นโรค จะมีเจ้าหน้าที่เข้าไปจัดการท�ำลาย ต้นมันส�ำปะหลังเป็นโรคใบด่างมันส�ำปะหลัง และ จะท�ำลายตามหลักวิชาการอย่างถูกต้อง ซึง่ หลังจาก การท�ำลาย เกษตรกรจะต้องพักแปลง 2 เดือน ทั้งนี้ รัฐได้เตรียมชดเชยรายได้ให้กับเกษตรกร

ผูป้ ลูกมันส�ำปะหลังทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ ไร่ละ 3,000 บาท นอกจากนี้ ในพื้นที่ 50 จังหวัดที่มีการปลูก มันส�ำปะหลัง จะส่งเสริมให้เกษตรกรใช้ทอ่ นพันธุ์ สะอาด พร้อมใช้มาตรการทางกฎหมายควบคุม การน�ำเข้าท่อนพันธุ์จากต่างประเทศ และการ ขนย้ายท่อนพันธุ์ภายในประเทศ รวมทั้งติดตาม สถานการณ์การระบาดของใบด่างมันส�ำปะหลัง อย่างใกล้ชิด เพื่อให้โรคมหันตภัยร้ายนี้ไม่ลุกลาม และจัดการให้หมดสิ้น ส�ำหรับเกษตรกรผู้ปลูกมันส�ำปะหลังที่จะ ได้รับการชดเชย ต้องเป็นเกษตรกรผู้ปลูกมัน ส�ำปะหลังทีข่ นึ้ ทะเบียนเกษตรกร (ทบก.) กับกรม ส่งเสริมการเกษตร และเป็นแปลงมันส�ำปะหลัง ที่ปลูกในช่วงเดือนเมษายน - 30 กันยายน 2562 และระยะเวลาแจ้งข้อมูลการพบต้นมันส�ำปะหลัง ทีแ่ สดงอาการใบด่าง ตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2562 30 มิถุนายน 2563

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

47


Market Leader

สัตวแพทย์ มก. แนะ

“เลี้ยงไก่ให้ทน ั โรค” เมื่ อ วั น ที่ 15 สิ ง หาคม 2562 สมาคมนิ สิ ต เก่ า สั ต วแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ได้มีการจัดสัมมนาวิชาการครั้งที่ 2/2562 ขึ้น ในหัวข้อเรื่อง “เลี้ยงไก่ให้ทันโรค” โดยได้รับเกียรติจาก ผศ.น.สพ.ดร.นรินทร์ อุประกรินทร์ ภาควิ ช าเวชศาสตร์ แ ละทรั พ ยากรการผลิ ต สั ต ว์ คณะสั ต วแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ น.สพ.อนุโรจน์ ปัญญาวรรณ รองกรรมการ ผู้จัดการอาวุโส ส�ำนักวิชาการอาหารสัตว์ เครือเจริญโภคภัณฑ์ โดยมีผู้ร่วมฟัง สัมมนาทั้งสัตวแพทย์ นักวิชาการ และผู้ประกอบการ ผศ.น.สพ.ดร.นรินทร์ กล่าวในประเด็น “ทางเลือกในการเลี้ยงไก่ ใช้ อะไรแทนยา” โดยกล่าวว่า ปกติที่ผ่านมา เรามีการใช้ยาต้านจุลชีพ หรือ ทีห่ ลายคนเรียกว่า ยาปฏิชวี นะ (Antibiotic) ซึง่ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ สารที่สกัดมาจากสิ่งมีชีวิต และอีกประเภคคือสารสังเคราะห์ อย่างไรก็ตาม ค�ำว่ายาปฏิชีวนะ จะหมายถึงเฉพาะแค่ยาที่ท�ำลาย เชื้ อแบคทีเรีย และสกัดมาจากสิ่งมี ชีวิต แต่ ถ้าเป็นยาต้ านจุล ชีพ จะหมายถึงสารที่ท�ำลายทั้งเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา และเชื้ออื่นๆ ซึ่งเป็นสารกลุ่มสังเคราะห์ เช่น ยากันบิด ช่วงแรกของการใช้ยา เมือ่ ครัง้ อดีตทีผ่ า่ นมาจะได้ผล เชือ้ บางตัวจะลดลงและ หายไป แต่ในปัจจุบนั พบว่าการใช้ยามีปญ ั หาเรือ่ งของเชือ้ ดือ้ ยาเกิดขึน้ ทัง้ นีเ้ นือ่ งจาก เชื้อตัวที่รอดจากการถูกยาก�ำจัดมีการแพร่ขยายมากขึ้น ท�ำให้การใช้ยาไม่ได้ผล ดังนัน้ จึงมีการสัง่ ระงับ หรือห้ามใช้ยาปฏิชวี นะบางตัวในการเลีย้ งสัตว์ และอนาคต จะเพิม่ มากขึน้ หรืออาจห้ามใช้ทกุ ตัว ค�ำถามคือ หากเป็นเช่นนัน้ เราจะเอายาอะไร มาทดแทน เพราะยาบางตัวทีเ่ คยเลิกใช้มา พบว่ามีปญ ั หาอย่างมากในอุตสาหกรรม การเลี้ยงสัตว์ปีก

ที่มา : สาส์นไก่ & สุกร ปีที่ 17 เล่มที่ 197 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2562

48

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562


การใช้สารทางเลือก หรือสารฆ่าเชื้อ เป็น อีกวิธกี ารหนึง่ ในการใช้ทดแทนการใช้ยาปฏิชวี นะ เช่น กลุ่มพรีไบโอติก โปรไบโอติก หรือสารอื่นๆ เช่น สารสกัดจากพืช หรือสมุนไพร เป็นต้น ที่ สามารถน�ำมาใช้ทดแทนการใช้ยาปฏิชวี นะ หรือยา ต้านจุลชีพ นอกจากนี้ ยังมีอกี หลายตัว ซึง่ บางตัว ยังอยู่ในขั้นวิจัย เช่น ขมิ้นชัน รากผักชี และ พืชอื่นๆ แต่วิธีการนี้อาจจะไม่เพียงพอต่อการน�ำ มาใช้เพราะต้องใช้ปริมาณมาก เมือ่ เทียบกับความ ต้องการใช้ในอุตสาหกรรมการเลีย้ งไก่ หากจ�ำเป็น ต้องใช้ก็คงจะใช้ได้เป็นฟาร์มๆ ไป “ไบโอซีเคียวริตี้ ถือเป็นทางเลือกที่ดีอีก วิธี เพราะการใช้ระบบไบโอซีเคียวริตี้เป็นวิธีการ ป้องกันเชือ้ ก่อโรคทัง้ หมดทีจ่ ะผ่านมาในฟาร์มเป็น ล�ำดับแรก ล�ำดับต่อมาคือ ปกป้องตัวสัตว์ด้วย วิธีการต่างๆ ที่กล่าวมา ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการ จัดการ การให้อาหาร การจัดการโรงเรือน และวิธี การสุดท้าย หากในอนาคตจ�ำเป็นต้องใช้ยา นัน่ คือ การใช้ผลิตภัณฑ์ทางเลือกที่ปลอดภัย” ผศ.น.สพ. ดร.นรินทร์ กล่าว

Market Leader

หลายคนแก้ปัญหาด้วยการเน้นการจัดการ เพื่อลดเชื้อก่อโรคแทน เช่น การจัดการโรงเรือน ที่เหมาะสม การควบคุมอุณหภูมิความชื้นภายใน โรงเรือน เรื่องแสง และวิธีการอื่นๆ ที่สามารถลด เชือ้ ลงได้ เรือ่ งน�ำ้ ก็มกี ารปรับเปลีย่ นเพือ่ ให้สะอาด มากขึ้น ลดเชื้อให้น้อยลง วัตถุดิบอาหารก็ใช้ตัว ที่มีความปลอดภัยสูง แม้ต้นทุนจะสูงขึ้นก็ตาม สิง่ ปูรองทีจ่ ะต้องเข้มงวดมากขึน้ ในอนาคตอาจจะ มี ก ารเลี้ ย งโดยที่ ไ ก่ ไ ม่ ต ้ อ งสั ม ผั ส พื้ น ที่ ส� ำ คั ญ การผลิตวัคซีน และการใช้วัคซีนอาจจะต้องมีการ ปรับปรุงในหลายๆ เรือ่ ง หากอนาคตไม่มกี ารใช้ยา

น.สพ.อนุโรจน์ กล่าวในประเด็น “ทิศทาง อุตสาหกรรมการเลี้ยงไก่” ว่า ปีนี้อุตสาหกรรม ไก่เนื้อจะโตขึ้น 15% เมื่อเทียบจากปีที่แล้ว ซึ่ง เป็นข้อมูลจากทางสมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออก ไทย ที่ได้ประเมินเอาไว้ และข้อมูลนี้สามารถหา เพิ่มเติมได้ที่ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร และ มีเป้าหมายที่จะส่งออกภายในปี พ.ศ. 2562 อยู่ ที่ 850,000 ตัน แต่คาดว่าจะเกินเป้าหมาย คือ อยู่ที่ 900,000 ตัน ดังนั้น ปีนี้จึงถือว่าเป็นปีทอง ของการเลี้ยงไก่เนื้อ อย่างไรก็ตาม เป้าหมายของการเลี้ยงไก่ เนื้อ ประเด็นไม่ได้อยู่ที่เป้าหมายของการผลิต อย่างเดียว แต่ตอ้ งผลิตให้ทนั โลกด้วย หมายความ ว่า ผลิตตามความต้องการของตลาด แต่ความ ต้องการของตลาดก็มีความหลากหลาย กล่าวคือ มีทั้งที่ผลิตขายเป็นไก่มีชีวิต ซึ่งรูปแบบนี้อาจจะ มีคู่แข่งสูง ส�ำหรับประเทศไทย คู่แข่งที่ส�ำคัญคือ ประเทศบราซิล ซึ่งมีต้นทุนการผลิตที่ต�่ำ ดังนั้น การทีป่ ระเทศไทยจะสูก้ ารแข่งขันได้ตอ้ งท�ำแปรรูป คือท�ำเป็นอาหารพร้อมรับประทาน ที่ส�ำคัญต้อง อร่อย และสะดวกกับผูบ้ ริโภคในการน�ำไปบริโภค คุณภาพดีสม�ำ่ เสมอ ปลอดภัย ได้มาตรฐานสากล เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สุดท้ายคือ ท�ำอย่างไรให้ ถึงมือผู้บริโภค

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

49


Market Leader

ที่ผ่านมา การผลิตไก่ของประเทศไทยเพิ่ม ขึน้ ทุกปี ขณะเดียวกันการบริโภคก็เพิม่ ขึน้ เช่นกัน แต่ที่น่าดีใจคือ การส่งออกที่เพิ่มขึ้นมากกว่า โดย ปี พ.ศ. 2662 เป้าหมายการผลิตอยู่ที่ 2.4 ล้าน ตัน การบริโภค 1.5 ล้านตัน ส่งออก 8.5 แสน ตั น ซึ่ ง คาดว่ า ส่ ว นนี้ จ ะทะลุ ไ ปถึ ง 9 แสนตั น ดังที่ได้กล่าวมา ส่วนที่ท�ำให้ตลาดส่งออกทะลุเป้า คือ ความต้องการจากประเทศจีนทีม่ คี วามต้องการ ไก่จากไทย โดยเฉพาะไก่แปรรูป ขณะทีไ่ ก่สดอาจ จะต�ำ่ กว่า เพราะตลาดไก่สดของไทยสูข้ องประเทศ บราซิลไม่ได้ แต่เรื่องไก่แปรรูปไทยสู้ได้ และเป็น อันดับ 1 ของโลก บริษทั ทีม่ สี ว่ นในการผลิตและแปรรูปไก่เนือ้ ไทย ได้แก่ คาร์กลิ ล์, ซีพเี อฟ, โกลเด้น ฟูด้ ส์ และ บีฟู้ด ซึ่งเป็นผู้ผลิตหลัก และมีส่วนแบ่งการตลาด มากที่สุด ส่วนประเทศเป้าหมาย หรือตลาดเป้า หมาย ได้แก่ ประเทศญี่ปุ่น 54% ยุโรป 36% โดยมีประเทศจีนตามมา ขณะที่ขนาดของไก่ ที่ เลี้ยงเข้าโรงเชือดส่วนใหญ่คือไก่ไซส์ใหญ่ ทั้งนี้ เนือ่ งจากต้นทุนการเชือดระหว่างไก่ไซส์เล็กกับไก่ ไซส์ใหญ่เท่ากัน ทีส่ ำ� คัญคือ ตลาดมีความต้องการ เนื้อหน้าอกมากกว่า จึงท�ำให้ต้องผลิตไก่ไซส์ใหญ่ เป็นหลัก เพราะจะได้ไก่ที่มีเนื้อหน้าอกมากกว่า แต่อย่างไรก็ดี การจะเลีย้ งไก่ให้ได้ไซส์ไหน บางครัง้ ก็ตอ้ งขึน้ อยูก่ บั สายพันธุท์ เี่ ลีย้ งด้วย ส�ำคัญ ต่อมาคือเรื่องของอาหารสัตว์ และอีกปัจจัยคือ เรื่ อ งของโรงเรื อ นและอุ ป กรณ์ ก ารเลี้ ย งที่ ต ้ อ ง ออกแบบให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่เลี้ยง การจัดการที่ดี ดังนั้น การที่ไก่ซึ่งเริ่มต้นเลี้ยงเมื่อ ยังเป็นลูกไก่ที่มีน�้ำหนักโดยเฉลี่ย 42 กรัม เพียง เดือนเศษๆ เพิ่มมาเป็น 2.8 กิโลกรัม โดยเฉลี่ย เป็นเรื่องที่เหลือเชื่อ แต่มันคือเรื่องจริง นั่นเป็น เพราะปัจจัยต่างๆ จนได้ไก่ที่มีน้�ำหนักโดยเฉลี่ย

50

2.8 กิโลกรัม ภายในระยะเวลาแค่เดือนเศษๆ นั่นเอง โดยเฉพาะอาหารที่ไก่กินเข้าไป บวกกับ ระบบล�ำไส้ที่มีประสิทธิภาพ จึงสามารถเปลี่ยน อาหารให้เป็นเนื้อได้ ดั ง นั้ น นอกจากปั จ จั ย ที่ ก ล่ า วมา เรื่ อ ง ของกระบวนการย่อยในทางเดินอาหาร เป็นอีก ส่วนที่มีความส�ำคัญที่จะท�ำให้การผลิตไก่ของเรา เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งกระบวนการย่อย ที่ ส มบู ร ณ์ เ ป็ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และ ประสิทธิผล ล�ำไส้ หรือทางเดินอาหารของไก่ จะ ต้องมีจุลินทรีย์ที่ดีจ�ำนวนมาก ถ้ามีน้อยก็จะท�ำให้ กระบวนการย่อยอาหารของไก่ไม่สมบูรณ์ ไก่ก็ จะเจริญเติบโตช้า เพราะฉะนั้น จุลินทรีย์ในล�ำไส้ นอกจากจะต้องมีตัวดีมากแล้ว ต้องให้เกิดความ สมดุลด้วย แต่การทีจ่ ะท�ำให้ลำ� ไส้เกิดความสมดุล

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562


สินค้ำ คุณภำพ สำหรับปศุสตั ว์ไทย      

ผลิตจำกเมล็ดถัว่ เหลื องเกรดอำหำรสัตว์ 100% อุดมด้วยกรดไขมันไม่อ่ ิมตัวซึ่งจำเป็ นต่อกำรเจริ ญเติบโตของสัตว์ ควบคุมกำรผลิตด้วยเทคโนโลยี และเครื่ องจักรที่ทนั สมัย โปรตีน ไม่ต่ ำกว่ำ 36% ไขมัน ไม่ต่ ำกว่ำ 18% เมทไธโอนี น มำกกว่ำ 5,000 ppm ไลซีน มำกกว่ำ 6 กรัม/100 กรัมโปรตีน

สินค้ำ Premium Grade รับรองมำตรฐำน GMP & HACCP

บริษทั ยูนีโกร อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด 120 หมู ่ 4 ตำบลสำมควำยเผื อก อำเภอเมื อง จังหวัดนครปฐม 73000 โทร. 0-3430-5101-2, 0-3439-5209 แฟกซ์ 0-3430-5103

www.unigrointer.com,

e-mail : unigro_inter@hotmail.com



Market Leader อาหารที่เราให้ไก่กินต้องมีคุณภาพ หากมีความ จ�ำเป็นต้องเปลี่ยนสูตรอาหาร หรือวัตถุดิบในการ ผลิตอาหารจะต้องไม่ท�ำให้เกิดความแตกต่างจาก เดิมเกิน 5% รวมถึงขนาดของวัตถุดิบที่ใช้ด้วย ถึงแม้จะเป็นวัตถุดิบเดียวกันก็ตาม เช่น ข้าวโพด หยาบกับข้าวโพดละเอียด เพราะจะท�ำให้เกิด แบค ทีเรียได้ง่าย เนื่องจากค่าพีเอชจะเปลี่ยนไป อย่างไรก็ตาม 65% ของต้นทุนค่าอาหาร ที่ผลิตได้มาจากวัตถุดิบกลุ่มพลังงาน ซึ่งพลังงาน มาจาก 2 แหล่ง คือ แป้งกับไขมัน ส่วนโปรตีน ก็เป็นแหล่งพลังงานได้แต่ราคาแพง เพราะฉะนั้น เวลาทีเ่ ราให้ไก่กนิ อาหารเข้าไป ต้องท�ำให้มนั น�ำไป ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ นั่นคือ ต้องท�ำให้มันเกิด ความสมดุลกัน จะท�ำให้ไก่โตเร็ว ซึ่งจะน�ำมาซึ่ง ผลก�ำไร ดังนั้น ทุกอย่างจึงมีความสัมพันธ์กัน ตั้งแต่พันธุ์สัตว์ อาหาร การจัดการโรงเรือน และ รวมถึงเรื่องโรค ที่จะต้องท�ำให้เกิดความสมดุล เพราะทุกเรื่องมีความสัมพันธ์กันหมด เช่น การ ท�ำให้ไก่มีเนื้อหน้าอกที่มากขึ้น เราก็ต้องท�ำให้ไก่ กินอาหารมากขึ้น ไก่กินอาหารมากขึ้น ก็ต้อง พัฒนาสายพันธุ์ และการจัดการการให้อาหารที่ ถูกต้อง เหมาะสม ปรับระบบทางเดินอาหารให้ เกิดความสมดุล และจัดการปัจจัยสิ่งแวดล้อมให้ เหมาะสม

โดยสรุปผลิตภัณฑ์ หรือสินค้าที่ผลิตจะ ต้องตรงกับความต้องการของตลาด ถ้าเราท�ำได้ดี บวกกับความต้องการของตลาด เราก็สามารถที่ จะจ�ำหน่ายออกไปได้ มีตลาดรองรับแน่นอน โดย แต่ละที่ก็จะมีความต้องการที่แตกต่างกัน เพราะ แต่ละทีแ่ ต่ละประเทศมีวฒ ั นธรรมการกินทีต่ า่ งกัน มีมาตรฐานที่ไม่เหมือนกัน แตกต่างกันไป ดังนั้น ก่อนที่เราจะเข้าไปแชร์ตลาดใด ต้องส�ำรวจตัวเรา เองว่าสินค้าเราเป็นอันดับ 1 หรือไม่ ในเรื่อง คุณภาพ ขายดีทสี่ ดุ หรือไม่ ถ้าไม่มกี ต็ อ้ งหาตลาด อื่นที่เราสามารถจะเข้าไปแข่งขันได้ “สินค้าที่เราผลิต จะแข่งขันได้ ยืนอยู่ได้ ต้ อ งเป็ น สิ น ค้ า ที่ ผู ้ บ ริ โ ภคยอมรั บ ถ้ า ไม่ มี ใ คร ยอมรับก็ยืนล�ำบาก เพราะฉะนั้นเราก็ต้องท�ำให้ ผู้บริโภคยอมรับ ที่ส�ำคัญการมีเครือข่ายในการ ขาย หากมีเครือข่ายก็เป็นโอกาสของเราที่จะขาย สินค้าได้มากขึ้น หรือมีช่องทางตลาดไหนที่เขาให้ โอกาส เช่น ตลาดอียู ทีเ่ ปิดโอกาส หรือให้โควตา ประเทศไทย ก็ต้องกลับมาดูคู่แข่งของเราว่ามีใคร กรณีอียู บราซิลคือที่ 1 ส่วนไทยที่ 2 ดังนั้น การ จะท�ำให้สเู้ ขาได้กต็ อ้ งพัฒนาสินค้าให้เป็นทีย่ อมรับ ให้ได้” น.สพ.อนุโรจน์ กล่าวทิ้งท้าย

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

51


Market Leader

‘แพะ’ เลี้ยงง่าย

ลงทุนต�ำ่ .. ฟันก�ำไรตัวละ 700 นางอัญชนา ตราโช รองเลขาธิการส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยถึงอาชีพปศุสัตว์ทางเลือก ที่ช่วยสร้างรายได้ ให้แก่เกษตรกรในพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรี คือ “การเลี้ยงแพะ” โดยเกษตรกร ในจังหวัดนิยมเลีย้ งแพะเพือ่ บริโภค และจ�ำหน่ายทัง้ ในและต่างประเทศ ปัจจุบนั นิยม เลีย้ งสายพันธุบ์ อร์ (Boer) ซึง่ เป็นพันธุเ์ นือ้ เป็นทีต่ อ้ งการของตลาด ลูกค้ามักติดต่อ ขอซื้อถึงฟาร์ม ซึ่งจากข้อมูลของกรมปศุสัตว์ พบว่า ปี 61 มีเกษตรกรผู้เลี้ยงแพะ จังหวัดกาญจนบุรี 1,054 ครัวเรือน 45,549 ตัว แยกเป็นแพะเนือ้ เพศผู้ 10,245 ตัว เพศเมีย 34,953 ตัว รวมเกษตรกร 1,040 ครัวเรือน และแพะนมเพศผู้ 136 ตัว เพศเมีย 215 ตัว รวมเกษตรกร 14 ครัวเรือน จากการส�ำรวจของส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 10 จ.ราชบุรี (สศท.10) พบว่า เกษตรกรใน จ.กาญจนบุรี มีต้นทุนการผลิตเฉลี่ย 3,119 บาท/ตัว แยกเป็น ค่าพันธุ์สัตว์ 1,950 บาท ค่าแรงงาน 540 บาท และส่วนที่เหลือ 629 บาท ส่วนใหญ่เป็นค่าอาหาร ยาป้องกันโรค และค่าเสื่อมโรงเรือนและอุปกรณ์ต่างๆ โดย แม่แพะ 1 ตัว ให้ผลผลิตลูกแพะประมาณ 2 ตัว/คอก ทัง้ นี้ แพะเพศเมีย เมือ่ มีอายุ ประมาณ 8 เดือน จะเริ่มผสมพันธุ์ได้ไปจนถึงอายุประมาณ 7 ปี โดยแพะจะมี อายุขัยเฉลี่ย 15 ปี ส�ำหรับราคาขาย เกษตรกรสามารถจ�ำหน่ายแพะเนื้อ (อายุ เฉลีย่ 7 เดือน น�ำ้ หนักประมาณ 25 - 30 กก.) ในราคา 3,825 บาท/ตัว (127 บาท/ นน. ตัว 1 กก.) คิดเป็นรายได้สุทธิ (ก�ำไร) เฉลี่ย 706 บาท/ตัว ซึ่งปัจจุบันมีความ ต้องการรับซื้อจากภาคใต้และความต้องการของประเทศมาเลเซียจ�ำนวนมาก ที่มา : เดลินิวส์ ฉบับวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2562

52

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562


Market Leader ผลส�ำเร็จว่า ตนปรับเปลี่ยนจากการท�ำนา และ ผันตัวท�ำเป็นอาชีพหลักในการเลี้ยงแพะขุน ซึ่ง หลังจากลูกแพะหย่านมเมื่ออายุ 3 เดือน น�ำมา เลีย้ งต่อจนอายุประมาณ 7 เดือน จึงจ�ำหน่ายเป็น แพะเนื้อให้กับผู้รับซื้อ และเป็นพ่อค้าส่งออกแพะ ทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้งยังสามารถมีรายได้ จากการจ�ำหน่ายมูลแพะเพือ่ ใช้เป็นปุย๋ ในแปลงพืช ได้อีกด้วย

ด้ า นนางจิ น ตนา ปั ญ จะ ผู ้ อ� ำ นวยการ สศท.10 กล่าวเสริมว่า จากการสัมภาษณ์พูดคุย กับนายเกษม เปรมปรีด์ หนึ่งในเกษตรกร ต. รางหวาย อ.พนมทวน ซึ่งเป็นอ�ำเภอที่นิยมเลี้ยง แพะ รองจาก อ.เมือง และไทรโยค ได้บอกถึง

ทั้งนี้ การเลี้ยงจะใช้พื้นที่ไม่มากนัก เน้น ให้แพะอยู่บริเวณที่จัดไว้ พร้อมทั้งหาอาหารใน ท้องถิ่น ได้แก่ ใบกระถินสด หรือการปลูกหญ้า แพงโกล่ า ในพื้ น ที่ ข องเกษตรกรเองเพื่ อ ใช้ เ ป็ น อาหารแพะประจ�ำวัน โดยแพะเป็นสัตว์ทกี่ นิ อาหาร ไม่มาก ต้องการวันละ 1 - 2 กิโลกรัม/วัน เท่านั้น จึงไม่สนิ้ เปลือง ส�ำหรับราคาทีข่ ายจะแตกต่างกันไป ขึน้ กับอายุ น�ำ้ หนัก และความสวยงาม นอกจากนี้ จะมีเจ้าหน้าที่จากส�ำนักงานปศุสัตว์บริการฉีด วัคซีนป้องกันพยาธิ และโรคปากเท้าเปื่อยทุก 6 เดือนเป็นประจ�ำ ส�ำหรับเกษตรกรที่สนใจการ เลี้ยงแพะสามารถสอบถามข้อมูลได้ที่ นายเกษม เปรมปรีด์ โทร. 08-9549-2045 ยินดีให้คำ� ปรึกษา แก่เกษตรกรทุกท่าน.

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

53


Around the World

ศูนย์วิจัย ธ.ก.ส. คาด ราคาน�้ำตาล - มันส�ำปะหลัง - ปาล์ม สุกร - กุ้งขาวแวนนาไม เดือน พ.ย. มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส่วนข้าว - ยาง ปรับลดลง นายสมเกียรติ กิมาวหา ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร (ธ.ก.ส.) เปิดเผยถึงสถานการณ์ราคาสินค้าเกษตรเดือนพฤศจิกายน 2562 ที่จัดท�ำโดย ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรม ธ.ก.ส. คาดการณ์ราคาสินค้า เกษตรที่มีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น ได้แก่ น�้ำตาลทรายดิบตลาดนิวยอร์ก คาดว่า ราคาขายอยู่ที่ 12.44 - 12.57 เซนต์/ปอนด์ (8.32 - 8.41 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจาก เดือนก่อน 1.00 - 2.00% เนื่องจากการเข้าซื้อน�้ำตาลทรายคืนจากตลาดของกลุ่ม กองทุน (short - covering) โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากกระทรวงพาณิชย์ของจีน ที่ก�ำลังจะอนุญาตให้บริษัทเอกชนน�ำเข้าน�้ำตาลที่มีอัตราภาษีต�่ำ เพื่อจัดสรรโควตา ให้กับบริษัทของรัฐบาลถึงร้อยละ 70 ซึ่งจะกระตุ้นให้ประเทศจีนยังคงโควตาน�ำเข้า น�้ำตาลในปี 2563 มันส�ำปะหลัง ราคาขายอยู่ที่ 1.71 - 1.79 บาท/กก. เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อน 1.18 - 5.92% เนื่องจากมีมาตรการดูแลเกษตรกรผู้ปลูกมันส�ำปะหลังจากภาครัฐ เพิม่ เติม อาทิ การส่งเสริมการใช้มนั ส�ำปะหลังในประเทศเพิม่ ขึน้ เร่งรัดการส่งออก ไปยังตลาดที่มีศักยภาพ เช่น ประเทศจีน อินเดีย ตุรกี และนิวซีแลนด์ เป็นต้น มาตรการชะลอการขุดกรณีผลผลิตออกเป็นจ�ำนวนมาก และชดเชยรายได้ให้แก่ เกษตรกร มาตรการควบคุมการขนย้าย และคุมเข้มการน�ำเข้ามันส�ำปะหลังจาก ประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งจะช่วยสร้างเสถียรภาพให้แก่ราคามันส�ำปะหลัง ปาล์มน�้ำมัน ราคาขายอยู่ที่ 2.91 - 3.01 บาท/กก. เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อน 1.75 - 5.24% เนื่องจากมาตรการต่อเนื่องของภาครัฐในการส่งเสริมให้รถยนต์ใช้ น�้ำมันดีเซล B10 และ B20 โดยสร้างแรงจูงใจให้แก่ผู้บริโภค ด้วยการลดราคา น�้ำมัน B10 ให้ต�่ำกว่าน�้ำมันดีเซล B7 และได้มีการขอความร่วมมือผู้ค้าน�้ำมัน ให้เพิ่มปริมาณการจ�ำหน่ายน�้ำมันดีเซลหมุนเร็ว B10 ในสถานีบริการ มาตรการ ดังกล่าวถือเป็นการปรับสมดุลปาล์มน�ำ้ มันอย่างยัง่ ยืน และช่วยดูดซับน�ำ้ มันปาล์มดิบ ในตลาดเพิ่มมากขึ้น ที่มา : ข่าวเศรษฐกิจ - สำ�นักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) วันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562

54

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562


หอมมะลิ ราคาขายอยู่ที่ 16,087 - 16,172 บาท/ ตัน ลดลงจากเดือนก่อน 0.77 - 1.29% เนื่องจาก ผลผลิตข้าวหอมมะลิออกสู่ตลาดมากขึ้น โดย ข้าวหอมมะลิ 105 เริ่มทยอยเก็บเกี่ยวในวันที่ 10 พฤศจิกายน 2562 ข้าวเปลือกเหนียวเมล็ดยาว ราคาขายอยู่ที่ 14,050 - 14,158 บาท/ตัน ลดลง จากเดือนก่อน 0.58 - 1.34% เนื่องจากผลผลิต ออกสู่ตลาดมากขึ้น

กุ้งขาวแวนนาไม ขนาด 70 ตัว/กก. ราคา ขายอยู่ที่ 124.50 - 126.00 บาท/กก. เพิ่มขึ้น จากเดือนก่อน 0.40 - 3.30% เนื่องจากอากาศ เริม่ เย็นลง ท�ำให้กงุ้ เจริญเติบโตช้า และเกษตรกร มีการปรับตัวในการเลี้ยงกุ้ง โดยลดปริมาณการ ปล่อยลูกกุ้ง และทยอยจับสลับกับการลงกุ้งก้าม กราม แต่ยังคงมีปัจจัยกดดันจากเศรษฐกิจโลก ตกต�่ำจากสงครามการค้าระหว่างประเทศสหรัฐ อเมริกากับจีน และค่าเงินบาทที่แข็งกว่าประเทศ คู่แข่งขัน

ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ความชื้นไม่เกิน 14.5% ราคาขายอยู ่ ที่ 7.32 - 7.36 บาท/กก. ลดลง จากเดือนก่อน 1.50 - 2.00% เนื่องจากผลผลิต ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ออกสู่ตลาดมากในช่วงฤดูเก็บ เกี่ ย ว ซึ่ ง เป็ น ช่ ว งที่ มี ฝ นตกชุ ก ท� ำ ให้ ผ ลผลิ ต ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีความชื้นสูง ผู้ประกอบการ ผลิตอาหารสัตว์จึงไม่นิยมซื้อเก็บสต็อกไว้ ส่งผล ให้ความต้องการใช้ภายในประเทศทรงตัว

ด้านสินค้าเกษตรที่มีแนวโน้มราคาปรับ ลดลง ได้แก่ ข้าวเปลือกเจ้าความชืน้ 15% คาดว่า ราคาขาย อยู่ที่ 7,868 - 7,920 บาท/ตัน ลดลง จากเดือนก่อน 0.10 - 0.76% เนือ่ งจากค่าเงินบาท มีแนวโน้มแข็งค่าขึน้ และประเทศผูน้ ำ� เข้ารายใหญ่ อาทิ ประเทศอินโดนีเซีย ปรับลดการน�ำเข้าข้าว จากภาวะเศรษฐกิ จ โลกชะลอตั ว ข้ า วเปลื อ ก

Around the World

สุกร ราคาขายอยู่ที่ 61.25 - 62.50 บาท/ กก. เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อน 0.40 - 2.40% เนื่อง จากเป็นช่วงเปิดภาคเรียน ซึ่งโดยปกติมีความ ต้องการบริโภคเนื้อสุกรเพิ่มขึ้น แต่เกษตรกร ผู้เลี้ยงยังมีความกังวลเกี่ยวกับการระบาดของโรค อหิวาต์แอฟริกาในสุกร (ASF) จึงท�ำให้เกษตรกร บางส่วนเร่งระบายผลผลิตออกสู่ตลาดอย่างต่อ เนื่อง ท�ำให้ระดับราคาปรับตัวเพิ่มขึ้นไม่มากนัก

ยางพาราแผ่นดิบ ราคาขายอยู่ที่ 35.08 35.37 บาท/กก. ลดลงจากเดือนก่อน 0.25 1.06% เนื่องจากค่าเงินบาทมีแนวโน้มแข็งค่าขึ้น และความต้องการจากประเทศจีนลดลง เนือ่ งจาก บริษัท ฉงชิ่ง จ�ำกัด รัฐวิสาหกิจที่เป็นผู้รับซื้อยาง พารารายใหญ่ของประเทศจีนปิดกิจการ ประกอบ กับบริษัทต่างประเทศเริ่มมีการเคลื่อนไหวหยุดใช้ ยางพารา และไม้ยางพาราทีไ่ ม่ผา่ นมาตรฐานการ จัดการสวนป่าไม้เศรษฐกิจอย่างยั่งยืน

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

55


Around the World

ภาคเกษตรโดนด้วย ‘หั่นจีดีพีเกษตร’ โตแค่ 0.5-1.5% “สศก.” เคาะจีดี พีเ กษตรทั้ งปี โตแค่ 0.5 - 1.5% ลดลงจากคาดการณ์ เ ดิ ม ที่ ตั้ ง ไว้ 2.0 - 2.3% ปัจจัยฝนทิง้ ช่วง ข้าวนาปีได้รบั ความ เสี ย หายจากภั ย ธรรมชาติ ขณะไตรมาส 3 ขยายตัว 1.1% ชี้ข้าว และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ แนวโน้มราคาขึน้ เนือ่ งจากผลผลิตน้อย สวนทาง ความต้องการสูง นายระพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ เลขาธิการ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เปิดเผยถึง ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร (จีดพี )ี ภาคการเกษตร ในไตรมาส 3 ปี 2562 (ก.ค. - ก.ย. 2562) พบว่า ขยายตัว 1.1% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2561 เนือ่ งจากผลผลิตพืชเศรษฐกิจส�ำคัญมีราคา เพิ่มขึ้น ได้แก่ ยางพารา ปาล์มน�้ำมัน ทุเรียน มังคุด เงาะ และมันส�ำปะหลัง ส�ำหรับสาขาบริการ ทางการเกษตรและสาขาป่ า ไม้ ยั ง ขยายตั ว ได้ ขณะที่สาขาปศุสัตว์และสาขาประมงหดตัวลง

ทั้ ง นี้ สศก. ได้ ค าดการณ์ แ นวโน้ ม จี ดี พี เกษตร ตลอดทั้งปี 2562 จะขยายตัวอยู่ในช่วง 0.5 - 1.5% เมื่อเทียบกับปี 2561 ลดลงจากการ ประเมินในช่วงต้นปีว่าจะขยายได้ถึง 3.0 - 3.5% เมื่อเทียบกับปี 2561 จากนั้นในเดือน ก.ย. ที่ ผ่านมา ภาคการเกษตรได้รับผลกระทบจากพายุ โพดุล และพายุคาจิกิ ประกอบกับสถานการณ์ ภัยแล้งจากฝนทิง้ ช่วง สศก. จึงได้ปรับประมาณการ ลงมาโดยขยายตัวที่ 2.0 - 2.3% จากปี 2561 ที่ ขยายตัวได้ 4.6% อย่างไรก็ตาม ในปี 2562 จากสาขาพืช สาขาประมง สาขาบริการทางการเกษตร และ สาขาป่าไม้ ยังมีแนวโน้มขยายตัว เนือ่ งจากผลผลิต พืชส�ำคัญหลายชนิด และกุ้งทะเลเพาะเลี้ยง มี ทิศทางเพิ่มขึ้น ส่วนสาขาปศุสัตว์มีแนวโน้มชะลอ ตัวจากผลผลิตสุกรที่ลดลง โดยปัจจัยสนับสนุน ส�ำคัญมาจากการด�ำเนินนโยบายด้านการเกษตร

ที่มา : กรุงเทพธุรกิจ วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562

56

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562


Around the World

ส�ำหรับพืชที่มีผลผลิตลดลง ได้แก่ ข้าว นาปี เนื่องจากฝนที่มาล่าช้าในช่วงต้นฤดูกาล เพาะปลูก ท�ำให้บางพืน้ ทีข่ าดน�ำ้ ในการเพาะปลูก นอกจากนี้ ภาวะฝนทิ้งช่วงและผลกระทบจาก พายุโพดุล ท�ำให้ต้นข้าวได้รับความเสียหาย ข้าวนาปรังมีผลผลิตลดลง เนือ่ งจากภาวะภัยแล้ง และปริมาณน�้ำที่น้อยกว่าปีที่ผ่านมา ส่งผลให้ เมล็ดข้าวไม่สมบูรณ์ และผลผลิตต่อไร่ลดลง อย่างต่อเนื่อง ทั้งการบริหารจัดการทรัพยากรน�้ำ การวางแผนการผลิตอย่างเหมาะสม การส่งเสริมการรวมกลุ่มการใช้เทคโนโลยี ในการผลิตและยกระดับคุณภาพสินค้าเกษตร การบริหารการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการ ของตลาด รวมถึงการส่งเสริมการใช้สินค้าเกษตร ในประเทศอย่างต่อเนื่อง แต่ยังมีปัจจัยเสี่ยงจาก ความแปรปรวนของสภาพอากาศ ทัง้ ภาวะแห้งแล้ง และการเกิดพายุฝนทีอ่ าจส่งผลต่อผลผลิตทางการ เกษตรได้ นายพลเชษฐ์ ตราโช ผู้อ�ำนวยการกอง นโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร สศก. กล่าว ว่า เศรษฐกิจภาคเกษตรในไตรมาส 3 ปี 2562 ที่ ขยายตัวได้ 1.1% มาจาก สาขาพืชขยายตัว 1.6% ปศุสัตว์ หดตัว 0.5% ประมง หดตัว 0.3% บริการทางการเกษตร 2.5% และป่าไม้ 1.8% โดยสาขาพืชที่ขยายตัว 1.6% มาจากพืช ส�ำคัญที่มีผลผลิตเพิ่มขึ้น ได้แก่ ยางพารา เนื่อง จากเนื้อที่กรีดได้เพิ่มขึ้นจากพื้นที่ปลูกใหม่ในปี 2556 ปาล์มน�้ำมัน มีผลผลิตเพิ่มขึ้น เนื่องจาก เนื้อที่ให้ผลเพิ่มขึ้น และมันส�ำปะหลัง มีผลผลิต เพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากราคาในปีทผี่ า่ นมาอยูใ่ นเกณฑ์ดี

ส่วนทางด้านราคาสินค้าพืชที่เพิ่มขึ้นได้แก่ ราคาข้าว และข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ เนือ่ งจากผลผลิต ออกสูต่ ลาดลดลง แต่ยงั มีความต้องการของตลาด อย่างต่อเนื่อง ส่วนพืชที่ราคาลดลง ได้แก่ มัน ส�ำปะหลัง เนือ่ งจากมีผลผลิตออกสูต่ ลาดปริมาณ มาก และปัญหาน�้ำท่วมในภาคตะวันออกเฉียง เหนือ ท�ำให้เกษตรกรเร่งขุดมันส�ำปะหลังขาย ก่อนก�ำหนด นอกจากนี้ ราคายางพาราลดลง เนื่องจากผลผลิตมีปริมาณเพิ่มขึ้นจากพื้นที่เปิด กรีดยางใหม่ ราคาปาล์มน�ำ้ มันลดลง เนือ่ งจากมีผลผลิต ออกสู่ตลาดอย่างต่อเนื่อง และสต็อกน�้ำมันปาล์ม ยังคงมีปริมาณที่สูงกว่าสต็อกเพื่อความมั่นคงที่ ประเมินไว้ ส่วนราคามังคุด และเงาะลดลง เนื่อง จากปริมาณผลผลิตที่เพิ่มขึ้น ด้านสาขาปศุสัตว์ สุกรมีแนวโน้มราคาลดลง เพราะเกษตรกรรายย่อย ลดการเลีย้ งจากภาวะต้นทุนทีส่ งู ขึน้ และผลกระทบ โรคอหิวาต์แอฟริกา

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

57


Around the World

อุปทูตสหรัฐฯ ดอดพบ ‘สมคิด’ ชี้กระบวนการยังไม่สิ้นสุด

ต่อรองคืนจีเอสพี

หม่อมเต่าค้านตั้งสหภาพต่างด้าว นายกฯ สั่งดูผลกระทบเลิกสารพิ ษ อุปทูตสหรัฐฯ โร่ท�ำเนียบ พบ "สมคิด" ถกปม "จีเอสพี " ่ วแบนสารเคมี แย้มกระบวนการยังไม่ส้น ิ สุด ยันไม่เกีย "บิ๊กตู่" สั่ง "กต.แรงงาน - พาณิชย์" หาช่องคืนสิทธิ เล็งศึกษาตั้งสหภาพแรงงานต่างด้าวในไทย "หม่อมเต่า" โผล่ค้าน ด้าน "สมคิด" ชีแ้ บนสารพิ ษยังไม่จบ นายกฯ สั่งเก็บข้อมูลผลกระทบเลิกใช้ จีเอสพี

จากกรณีสหรัฐอเมริกาตัดสิทธิพิเศษทาง ภาษีศลุ กากร หรือจีเอสพี กับสินค้าจากไทย ซึง่ จะ มีผลบังคับใช้อีก 6 เดือนข้างหน้านั้น ล่าสุดเมื่อ วันที่ 29 ตุลาคม ทีท่ ำ� เนียบรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และรมว.กลาโหม ได้เรียกรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เศรษฐกิจ เป็นการด่วนก่อนการประชุม คณะรัฐมนตรี (ครม.) โดยใช้เวลากว่า 1 ชั่วโมง จากนั้นนายกฯ ให้สัมภาษณ์ถึงแนวทาง และ มาตรการในการแก้ไขปัญหากรณีสหรัฐตัดสิทธิ จีเอสพีไทยว่า “เรื่องนี้ก็ต้องหาวิธีการและเจรจา พูดคุย เดี๋ยวเขาท�ำกันเอง อย่าเพิ่งไปตื่นเต้น ปัญหาทุกปัญหาก็ตอ้ งแก้กนั ไป ช่วยกันคิดช่วยกัน ท�ำช่วยกันแก้ไข อย่าไปคาดการณ์กันเอง อย่าไป ตีกันไปมา ได้หรือไม่ได้ก็แล้วแต่เขา เราต้องท�ำ ให้ดีที่สุดก็แล้วกัน”

ต่อมา พล.อ.ประยุทธ์ แถลงภายหลังประชุม ครม. กรณีสหรัฐฯ ตัดสิทธิจเี อสพีวา่ เรือ่ งนีอ้ ยูใ่ น ขั้นตอนด�ำเนินการ และมีการท�ำอย่างต่อเนื่อง ทัง้ ในส่วนของกระทรวงแรงงาน กระทรวงพาณิชย์ ตั้งแต่รัฐบาลที่แล้ว มีการเจรจากันทุกปี แต่ครั้งนี้ เมื่อเขาประกาศออกมาเราก็จ�ำเป็นต้องไปดูสิ่งที่ เป็นปัญหามันอยู่ตรงไหนเพื่อหาทางเจรจาพูดคุย กัน อย่างไรก็ตาม เราเคยเจรจาขอคืนสิทธิใน เรื่องนี้มาหลายครั้งแล้ว โดยปีก่อนได้คืนมา 7 รายการ “ปั ญ หานี้ ไ ม่ ไ ด้ มี ผ ลเฉพาะกั บ ไทย แต่ ประเทศในอาเซียนก็โดนไปด้วย อันนี้เป็นสิทธิ ของสหรัฐฯ โดยคณะท�ำงานของเขา แต่ถ้าเรา มองวิกฤติเป็นโอกาส ก็ต้องพยายามเจรจาใน ระยะสั้น ขอคืนสิทธิให้ได้โดยเร็ว จะมีการยกขึ้น เจรจาภายใต้กรอบการตกลงทางการค้าการลงทุน ไทย - สหรัฐฯ ต่อไป และในระยะยาว สิ่งที่เรา

ที่มา : คม ชัด ลึก ฉบับวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2562

58

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562


“ขอให้พวกเราอย่าวิตกกังวลเรื่องนี้ให้มาก นัก อันนี้จ�ำเป็นต้องหารือกับภาคเอกชนของเรา ด้วย ว่ามีมาตรการช่วยเหลืออะไรกันอย่างไร ซึ่งเป็นธรรมดาเมื่อมีการให้ก็มีสิทธิจะเรียกคืน ของเขา และเราต้องไปดูในเรื่องแรงงานอีกด้วย ซึ่ ง เหตุ ผ ลก็ คื อ ในเรื่ อ งของแรงงานมี ก ฎหมาย หรือบางมาตรการที่เราปฏิบัติไม่ได้เพราะว่าเป็น เรื่องภายในของเรา ซึ่งต้องระมัดระวังผลกระทบ ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น อื่ น ๆ อี ก หลายอย่ า งด้ ว ยกั น โดย เฉพาะอย่างยิ่งสิทธิประโยชน์เรื่องของสหภาพ ของแรงงานต่างด้าว ที่หลายประเทศก็ไม่ได้ท�ำ เหมือนกับเรา เดี๋ยวไปดูอีกที ก็อย่าเอาไปยึดโยง กับเรื่องนู้นเรื่องนี้เลย ไม่เกิดประโยชน์ วันนี้ ก็ขอให้ลดผลกระทบในเรื่องเหล่านี้ ฝากไปถึง ประชาชนสังคมให้ลดในเรื่องนี้ลงไป มันจะไม่มี ผลดีตอ่ การพูดคุยในอนาคต” นายกฯ กล่าวพร้อม

Around the World

ต้องท�ำคือหาตลาดใหม่ทดแทนตลาดเดิม ได้แก่ รัสเซีย ยุโรปตะวันออก อเมริกาใต้ ตะวันออกกลาง แอฟริกา เป็นต้น ส่วนการใช้ประโยชน์จากที่ไทย ในการจัดท�ำความตกลงเขตการค้าเสรี FTA13 กรอบความตกลงอาเซียน จีน ญี่ปุ่น อินเดีย เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ชิลี เปรู ฮ่องกง และการขยายการลงทุนไปยังประเทศที่ได้รับสิทธิ จีเอสพี โดยเฉพาะประเทศเพือ่ นบ้าน คือ กัมพูชา อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ซึ่งได้รับสิทธิพิเศษทาง ภาษีมากกว่าไทย ถือเป็นการขยายตลาด ขยาย การลงทุน” นายกฯ กล่าว และว่า นอกจากนี้ ยังต้องมีการปรับกลยุทธ์ในการแข่งขัน สร้าง มูลค่าเพิ่มให้สินค้า ยกระดับความสามารถด้าน นวั ต กรรมและเทคโนโลยี เ พื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพ สินค้าให้มีคุณภาพอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อรองรับ สถานการณ์การค้าในตลาดโลกที่แข่งขันเสรีได้ ตรงนี้ เป็นสิ่งที่เราต้องด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง

ยืนยันว่ากรณีตัดจีเอสพีไม่เกี่ยวข้องกับการแบน 3 สารพิษ มีคำ� ถามว่าไม่เกีย่ วได้อย่างไร ในเมือ่ สินค้า ของสหรัฐฯ มูลค่า 5 หมื่นล้านบาท ไม่สามารถ ส่ ง มาไทยได้ เ นื่ อ งจากติ ด เงื่ อ นไขขององค์ ก าร การค้าโลก หรือ ฮู กรณีไทยแบนสารไกลโฟเซต ส่งผลให้ถั่วเหลือง และข้าวสาลีของสหรัฐฯ ที่ใช้ สารดั ง กล่ า วส่ ง เข้ า ไทยไม่ ไ ด้ พล.อ.ประยุ ท ธ์ กล่าวว่า “ก็เดี๋ยวมีการเจรจา” ทูตมะกันแย้มยังไม่ถือว่าสิ้นสุด

มี ร ายงานว่ า ภายหลั ง การประชุ ม  ครม. นายไมเคิ ล ฮี ธ อุ ป ทู ต รั ก ษาราชการสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจ�ำประเทศไทย ได้ เ ดิ น ทางเข้ า พบนายสมคิ ด จาตุ ศ รี พิ ทั ก ษ์ รองนายกรั ฐ มนตรี ที่ ห ้ อ งท� ำ งาน ภายในตึ ก บัญชาการ 1 ท�ำเนียบรัฐบาล โดยคาดว่าจะเป็น การหารือกันถึงกรณีที่รัฐบาลสหรัฐฯ ตัดสิทธิ จีเอสพีกับสินค้าไทย โดยในการประชุม ครม. เศรษฐกิจ เมื่อช่วงเช้าวันเดียวกัน พล.อ.ประยุทธ์ ได้ ม อบหมายให้ ห น่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง อาทิ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงแรงงาน และ กระทรวงพาณิชย์ หาช่องทางยื่นเรื่องให้สหรัฐฯ ทบทวนในเรื่องนี้ ภายหลังการเข้าพบนายสมคิด โดยใช้เวลา 1 ชัว่ โมง นายไมเคิล ฮีธ เปิดเผยว่า ความสัมพันธ์ ของไทย และสหรัฐฯ ช่วงนี้ถือว่าเป็นขาขึ้น จาก การที่รัฐบาลมาจากการเลือกตั้ง ซึ่งกระบวนการ จีเอสพี เป็นเรือ่ งทีม่ กี ารตัดสินใจมานานแล้ว ไม่ได้ เกิดขึ้นในช่วงนี้ และไม่ได้เกี่ยวข้องกับการแบน 3 สารพิษของไทย นี่คือหัวใจที่สหรัฐฯ ได้คุยกับ นายสมคิดในวันนี้

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

59


Around the World

“ยืนยันว่าการตัดจีเอสพีประเทศไทยนั้น มีการพูดคุยกันมานานแล้ว และจีเอสพี เป็นสิทธิ พิเศษที่ไทยได้รับมานานกว่า 30 ปี แม้จะถูก ตัดสิทธิไปแล้ว แต่ประเทศไทยก็ยังคงได้รับสิทธิ พิเศษสูงทีส่ ดุ มากกว่าประเทศใดในโลกในปัจจุบนั ดังนั้นจะมีการหารือกับรัฐบาลไทยในข้อกฎหมาย ต่างๆ ในเรื่องของแรงงานว่าจะมีการด�ำเนินการ ร่ ว มกั น อย่ า งไร ซึ่ ง การตั ด สิ ท ธิ จี เ อสพี มี ผ ล กระทบไม่มาก ตัวเลขไม่เยอะ และกระบวนการนี้ ยังไม่ถอื ว่าสิน้ สุด ต้องขอบคุณประเทศไทยในการ จัดประชุมอาเซียน คิดว่าจะเป็นไปด้วยดี โดยทาง สหรัฐฯ จะส่งตัวแทนมาประชุมที่ประเทศไทย” นายไมเคิล กล่าว มอบ 3 กระทรวงเจรจาคืนสิทธิ

ด้านนายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ รองนายก รัฐมนตรี และรมว.พาณิชย์ กล่าวภายหลังประชุม ครม. เศรษฐกิจ ว่า ได้แจ้งให้ทูตพาณิชย์ประสาน กั บ ทู ต ไทยประจ� ำ กรุ ง วอชิ ง ตั น ดี ซี หารื อ กั บ ส�ำนักงานคณะผูแ้ ทนการค้าสหรัฐอเมริกา (ยูเอส ทีอาร์) ถึงรายละเอียดต่างๆ คาดว่าจะได้รบั ค�ำตอบ กลับมาว่าจะต้องท�ำอย่างไรในเร็วๆ นี้ ทั้งนี้ในที่ ประชุม ครม.เศรษฐกิจ ได้มอบหมายให้กระทรวง การต่างประเทศ กระทรวงแรงงาน และกระทรวง พาณิชย์ หาช่องทางยื่นเรื่องให้สหรัฐฯ ทบทวน ในเรื่องนี้ ส่วนทางออกระยะยาว ทางกระทรวง พาณิชย์ ได้เตรียมให้กรรมการร่วมกระทรวง พาณิ ช ย์ และภาคเอกชน สภาอุ ต สาหกรรม สภาหอการค้าไทย สมาคมธนาคารไทย สมาคม ผู้ส่งสินค้าออกทางเรือ เตรียมการบุกตลาดต่างๆ ทั่วโลก เพื่อเพิ่มมูลค่าการส่งออก โดยจะร่วมกับ ภาคเอกชน เร่งรัดบุกตลาดใน 10 กลุม่ ตลาดใหญ่

60

ทีจ่ ะมีทงั้ สหรัฐฯ จีน อินเดีย แอฟริกาใต้ เอเชียใต้ กลุ่มประเทศตะวันออกกลาง ญี่ปุ่น เกาหลี ตุรกี เยอรมนี สหภาพยุ โ รป รวมถึ ง อั ง กฤษ โดย แผนงานที่เร็วสุด จะน�ำทีมเอกชน และกระทรวง พาณิชย์ ไปเปิดตลาดทีต่ รุ กี และเยอรมนี จากนัน้ จะไปตะวันออกกลาง ส�ำหรับประเทศทีม่ ปี ระชากร มาก เช่น อินเดีย จีน สหรัฐฯ จะลงไปรายมณฑล หรือรายรัฐ โดยเฉพาะสหรัฐฯ จะเจาะลึกไปใน แต่ละรัฐทีต่ อ้ งการสินค้าแตกต่างกัน ซึง่ มีศกั ยภาพ สามารถน�ำเข้าสินค้าไทยได้ แม้ว่าเราจะไม่ได้รับ สิทธิจีเอสพี มีค�ำถามว่าจะเจรจากับสหรัฐฯ ในเรื่อง ใดบ้าง นายจุรนิ ทร์ กล่าวว่า เราต้องเจรจาให้เข้าใจ ว่าบางเรื่องเราท�ำได้หรือไม่ เช่น การเปิดโอกาส ให้แรงงานต่างด้าวตั้งสหภาพแรงงานในประเทศ ไทย กระทรวงแรงงานจะไปชีแ้ จงว่าสามารถท�ำได้ หรือไม่ รวมถึงข้อเสนออื่นที่แต่ละกระทรวง หรือ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องจะต้องท�ำความเข้าใจว่า สิง่ ใด ท�ำได้ หรือเหมาะไม่เหมาะสมอย่างไร ขณะที่ นายดอน ปรมั ต ถ์ วิ นั ย รมว. ต่างประเทศ กล่าวภายหลังประชุม ครม.เศรษฐกิจ ว่าเป็นเรือ่ งทีไ่ ทยกับสหรัฐฯ จะต้องหารือกัน แต่ถา้ ไม่พูดคุยกันก็คงไม่เกิดประโยชน์อะไร โดย รมว. พาณิชย์ของสหรัฐฯ จะเดินทางมายังไทย เพื่อ เข้ า ร่ ว มการประชุ ม Indo-Pacific Business Forum ระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียนและ การประชุมอื่นที่เกี่ยวข้อง ซึ่ง รมว.พาณิชย์ของ ไทยคงถือโอกาสนี้นัดหมายหารือกับนายวิลเบอร์ รอสส์ รมว.พาณิชย์ของสหรัฐฯ ในเรือ่ งของจีเอสพี ต่อข้อถาม สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงวอชิงตันดีซี จะต้องไปพูดคุยกับส�ำนักงาน ผู้แทนการค้าสหรัฐฯ (ยูเอสทีอาร์) ด้วยหรือไม่

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562


“การที่ รมว.พาณิชย์สหรัฐฯ จะมาประชุม ที่ไทยในครั้งนี้ ฝ่ายไทยก็สามารถพูดคุยกับเขา ได้เช่นกัน ดังนั้นทุกคนไม่ต้องกังวล เพียงแต่ข่าว ที่ออกมาตอนนี้ท�ำให้เกิดความเข้าใจผิดว่าเกี่ยว โยงกับเรื่องต่างๆ จนดูว่ามีความซับซ้อน ทั้งที่จริง ฝ่ายสหรัฐฯ มีก�ำหนดจะประกาศเรื่องจีเอสพี ใน ช่วงปลายเดือนตุลาคม หรือต้นเดือนพฤศจิกายน อยู่แล้ว ทุกอย่างมีเรื่องความประจวบเหมาะ ซึ่ง หลายเรือ่ งทีเ่ ราไม่ได้คาดคิดมาก่อน มันก็เกิดขึน้ ” นายดอนกล่าว ค้านตั้งสหภาพแรงงานต่างด้าว

ม.ร.ว.จัตุมงคล โสณกุล รมว.แรงงาน กล่าวภายหลังการประชุม ครม. ว่า การประชุม ครม.เศรษฐกิจ เมื่อช่วงเช้าได้หารือเรื่องจีเอสพี ซึ่งมีความส�ำคัญมากกว่าเรื่องของแรงงาน โดย กระทรวงพาณิชย์มีหน้าที่ไปเจรจาเรื่องจีเอสพี ขณะที่ เ รื่ อ งแรงงานไม่ ค ่ อ ยมี อ ะไร โดยเรื่ อ งที่ สหรัฐฯ ต้องการให้มีการตั้งสหภาพแรงงานต่างด้าวในไทยนัน้ เวลานีเ้ ราให้คนต่างด้าวด้อยกว่าคน ไทย เพราะหากให้คนไทยเท่ากับต่างด้าวอย่างนี้

Around the World

นายดอน กล่าวว่า โดยปกติสถานเอกอัครราชทูต ไทยสามารถขอนัดพบเขาได้อยูแ่ ล้ว แต่เมือ่ ตอนนี้ เกิดข่าวลักษณะดังกล่าวออกมาก็อยู่ในวิสัยที่เรา ต้องไปหารือกับยูเอสทีอาร์ในเร็วๆ นี้ ซึ่งถือเป็น เรื่องธรรมชาติ เพราะถ้าไม่ไปคุยกันจะถือเป็น เรื่องแปลก อย่างไรก็ตาม คิดว่าอย่าห่วงกังวลต่อ กรณีดังกล่าวมากเกินไป เพราะเรื่องจีเอสพีเป็น สิ่งที่ไทยกับสหรัฐฯ ได้เจรจากันมานานแล้ว จึง ไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งใหม่ แต่ เ มื่ อ ใดก็ ต ามที่ เ กิ ด ประเด็ น ส�ำคัญ ฝ่ายไทยกับสหรัฐฯ ก็สามารถพูดคุยเจรจา กันได้อยู่แล้ว

ก็จะยุ่ง กระบวนการของประเทศไทยไม่ได้มา อย่างนั้น เราไม่ได้เป็นประเทศที่เสรีภาพมากมาย กฎหมายของเราไม่ ไ ด้ เ ป็ น สากล และคิ ด ว่ า ไม่จ�ำเป็นต้องเป็นสากล “ประเทศใครประเทศมัน ถ้าให้ตั้งแรงงาน ต่างด้าวเป็นสหภาพแรงงาน เราก็เหนื่อย คน ต่างด้าวพูดภาษาไทยไม่ได้ แล้วแบบนี้จะเป็น ไปได้ อ ย่ า งไร แม้ ก ระทั่ ง กรณี ส หภาพแรงงาน ที่เป็นคนไทยก็ยังทะเลาะกันเอง และอยู่ดีๆ จะมี ต่างชาติล้านคนมาเป็นสหภาพกลุ่มใหญ่ ซึ่งเรา ผลักดันให้ไม่ได้ แต่ตอนนี้ไม่ได้คิดอะไร จึงตอบ ได้ยาก อย่างไรก็ตาม ต้องดูก่อนว่ากระทรวง พาณิชย์ของไทยกับสหรัฐฯ จะเจรจาตกลงเรื่อง จีเอสพีได้หรือไม่ ถ้าตกลงได้ แต่มเี รือ่ งทีเ่ กีย่ วข้อง กับแรงงานแล้วมาถามเราว่าท�ำอะไรได้บา้ ง เราจึง จะได้ลงแรงคิดต่อไป” มีค�ำถามว่า คิดว่าเรื่องแรงงานเป็นข้ออ้าง ในการใช้ตดั จีเอสพีหรือไม่ ม.ร.ว. จัตมุ งคล กล่าว ว่า ไม่ถึงขนาดนั้น เขามีเงื่อนไขเช่นนี้ 11 ข้อ ซึ่งสหรัฐฯ ยังไม่รับเรื่องการให้สิทธิแก่แรงงาน ต่างด้าว เพราะให้สทิ ธิคนต่างด้าวดีกว่านัน้ อยูแ่ ล้ว ก็ไม่รู้ เพราะไม่เคยไปเป็นคนต่างด้าวทีน่ นั่ และ 2 ข้อที่เขาจะให้เรารับ เราก็รับไม่ค่อยได้ เพราะมัน มากกว่าสิทธิคนไทย “ผมไม่ อ ยากพู ด ว่ า ได้ เ ปรี ย บ หรื อ เสี ย เปรียบ เป็นกระบวนการความเป็นมาของสังคม และกฎเกณฑ์ประเทศ ต่อไปเป็นอย่างไรไม่รู้ วันนี้ กฎหมายเราไม่ใช่กฎหมายสากล และความเจริญ ของประเทศมีระดับหนึ่ง การทะเลาะไม่ค่อยมี เขาต้องการให้คนงานต่างด้าวด่านายได้ เราก็ไม่ เห็นว่าจะมีใครให้คนงานด่านายเลย ต่อให้แก้ กฎหมายแรงงานก็ยังติดกฎหมายอาญา หากจะ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

61


Around the World

แก้กฎหมายอาญาเพื่อให้สิทธิแรงงานที่เป็นคน ของประเทศกลุม่ หนึง่ เป็นไปไม่ได้ เมือ่ เป็นเช่นนัน้ ผมจึงเรียน ครม. ว่า ถ้ามีอะไรช่วยได้นดิ ๆ หน่อยๆ จะช่วยพยายาม ตอนนี้ก็นั่งคิดอะไรอยู่” รมว. แรงงานกล่าว เมื่อถามถึงกรณีที่ประชุม ครม. เศรษฐกิจ มอบหมายให้มีคณะกรรมการร่วมที่ประกอบด้วย กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงแรงงาน และกระทรวง การต่างประเทศ มาจัดการตรงนี้ จะมีการประชุม เมือ่ ใด รมว.แรงงาน กล่าวว่า ไม่รู้ แต่เราพยายาม เดินตามหลังกระทรวงพาณิชย์ และกระทรวง การต่างประเทศ ถ้า 2 กระทรวงนี้ไปตกลงเรื่อง จีเอสพีได้แล้ว สหรัฐฯ ก็คงลืมเรือ่ งแรงงาน เพราะ มันไม่ได้หนักอะไร และไม่เกี่ยวข้อง ซึ่งมั่นใจว่า เขาอาจลืมเลย เพราะไม่ได้เลวร้ายอะไร เผยมะกันต่อรองจีเอสพี 2 เรื่อง

นางนฤมล ภิญโญสินวัฒน์ โฆษกประจ�ำ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี แถลงภายหลังการประชุม ครม. ว่า ในที่ประชุม ครม. เศรษฐกิจ พล.อ. ประยุทธ์ ระบุว่า สิทธิจีเอสพี มีการทบทวนเป็น ระยะๆ อยู่แล้ว ทั้งปัจจัยในประเทศ หากประเทศ ไหนไม่ ไ ด้ อ ยู ่ ใ นหมวดหมู ่ ป ระเทศก� ำ ลั ง พั ฒ นา โดยจะดูจากหลายมิติ โดยเรื่องหลักๆ คือ รายได้ ประชาชาติต่อหัวไม่เกิน 12,000 เศษๆ ดอลลาร์ ต่ อ หั ว ประชากร โดยของประเทศไทยตั ว เลข ปีที่แล้วอยู่ที่ 6,600 ดอลลาร์สหรัฐฯ เรายังอยู่ใน ประเทศก�ำลังพัฒนาท�ำให้ไม่ถูกตัดสิทธิทั้งหมด ทั้งนี้หนังสือจากนายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ รองนายกฯ และรมว.พาณิ ช ย์ เมื่ อ วั น ที่ 25 กันยายน มีการรายงานว่าจากครั้งที่มีการประชุม รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน มีการยกประเด็นนี้

62

หารือจากสหรัฐฯ ว่าจะมีการทบทวนจีเอสพี โดย มีเงื่อนไขหลัก 2 เรื่อง คือการน�ำเข้าสุกรจาก สหรั ฐ ฯ ตามที่ ท ราบกั น แล้ ว อี ก กรณี คื อ เรื่ อ ง แรงงานที่เป็นเรื่องที่หารือมาแล้วตั้งแต่ปี 2558 แต่มีการพูดถึงอีกครั้งในเดือนพฤษภาคมปีนี้ ซึ่ง สหรัฐฯ ขอให้แก้ไขใน 7 ประเด็น แต่เราแก้ ไปแล้ว 4 ประเด็นด้วยกัน เหลือ 3 ประเด็น คงค้าง ประกอบด้วย 1. การให้แรงงานต่างด้าว ตัง้ สหภาพแรงงานได้ 2. การให้ผจู้ า้ งเหมาสามารถ ตั้งสหภาพแรงงานได้ 3. การให้สิทธิคุ้มครอง คุ้มครองลูกจ้างในการไม่ถูกฟ้องกลับจากนายจ้าง ซึง่ เรือ่ งเหล่านีม้ ผี ลกระทบ จึงต้องมีการรับฟังความ เห็นจากส่วนได้เสีย สั่งติดตามผลกระทบสินค้าไทย

นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน รมว.เกษตรและ สหกรณ์ กล่าวว่า สั่งการให้ส�ำนักงานเศรษฐกิจ การเกษตร (สศก.) วิเคราะห์และติดตามผลกระทบ ต่อสินค้าเกษตรและอาหาร จากกรณีสหรัฐฯ ตัด จีเอสพี โดย สศก. ยืนยันว่าสินค้าเกษตรและ อาหารหลักของไทยส่งออกไปสหรัฐฯ จะไม่ได้รับ ผลกระทบมากนัก ทั้งนี้จากการประกาศตัดสิทธิ สินค้าไทย 573 รายการ เป็นสินค้าเกษตร 157 รายการ ซึ่งเป็นกลุ่มสินค้า ผักแปรรูป ผลไม้ ตระกูลเบอร์รี่ ชาเขียว ขิงป่น หูฉลาม เส้นพาสต้า ผลไม้แปรรูป จึงอาจมีผลท�ำให้ราคาขายสูงขึ้น นายระพีภทั ร์ จันทรศรีวงศ์ รักษาราชการ แทนเลขาธิการ สศก. เปิดเผยว่า รมว.เกษตรฯ สั่งการให้หารือกับอัครราชทูตฝ่ายการเกษตรไทย ประจ�ำกรุงวอชิงตันดีซี และผูแ้ ทนถาวรไทยประจ�ำ องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) กรุงโรม ประเทศอิตาลี ผ่านระบบประชุม

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562


กมธ. เรียกหน่วยงานแจงข้อมูล

ทีพ่ รรคเพือ่ ไทย นายศราวุธ เพชรพนมพร รองเลขาธิการพรรคเพือ่ ไทย ในฐานะคณะกรรมาธิการ (กมธ.) ต่างประเทศ สภาผู้แทนราษฎร แถลงว่า ในสัปดาห์หน้า กมธ. จะหารือว่าสาเหตุ ที่ แ ท้ จ ริ ง คื อ อะไร ซึ่ ง จากค� ำ ให้ สั ม ภาษณ์ ข อง นายกฯ ว่า การที่ไทยถูกตัดสิทธิเพราะโตเร็วเกิน ไป มีการพัฒนาสูงนั้น เห็นว่าไม่น่าจะใช่เหตุผล ที่ถูกต้อง รวมถึงต้องพิจารณาว่าไทยแก้ไขปัญหา เรื่องแรงงานได้ตรงตามมาตรฐานสากลแล้วหรือ ไม่ ซึ่งในช่วงระยะเวลาที่ยังเหลืออีก 6 เดือน ก่ อ นที่ จ ะถู ก ตั ด สิ ท ธิ ทางรั ฐ บาลต้ อ งเดิ น หน้ า เจรจากับสหรัฐฯ เพราะหลายประเทศที่ถูกตัด สิทธิก็เดินหน้าเจรจาส�ำเร็จมาแล้ว ขณะเดียวกัน รัฐบาล และหน่วยงานเกีย่ วข้อง ต้องหามาตรการ เยียวยาผูป้ ระกอบการส่งออกทีจ่ ะได้รบั ผลกระทบ ด้านภาษี ทั้งนี้ กมธ. จะเชิญกรมการค้าระหว่าง ประเทศ กระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงการ ต่างประเทศ มาหารือเพื่อหามาตรการเยียวยา กลุ่มผู้ประกอบการ “สมคิด” ชี้แบนสารพิษยังไม่จบ

ด้ า นความคื บ หน้ า หลั ง กลุ ่ ม เกษตรกร สนั บ สนุ น ใช้ ส ารเคมี ภ าคเกษตร 3 ชนิ ด คื อ พาราควอต ไกลโฟเซต คลอร์ไพริฟอส ยื่นฟ้อง ศาลปกครองกลางให้สงั่ ยกเลิกมติของคณะกรรมการวัตถุอันตรายที่มีมติแบนสารพิษดังกล่าว โดย

Around the World

ทางไกล อี ก ทั้ ง จะเชิ ญ ผู ้ แ ทนกระทรวงเกษตร ของสหรัฐอเมริกา (USDA) และ FAO ประจ�ำ ประเทศไทยเข้าพบหารือ เพือ่ แสวงความร่วมมือกัน ภายในสัปดาห์หน้า

ศาลนัดไต่สวนคุม้ ครองชัว่ คราวในวันที่ 30 ตุลาคม นั้น ล่าสุดที่ท�ำเนียบรัฐบาล นายสมคิด จาตุศรี พิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี กล่าวถึงการสั่งยกเลิก การใช้สารเคมี 3 ชนิดในภาคเกษตรว่า นายก รัฐมนตรี มอบหมายให้กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทีม่ คี ณะท�ำงาน ดูแลเรื่องที่เกี่ยวข้องอยู่นั้นไปดูข้อมูลผลที่จะเกิด จากการยกเลิกการใช้สารเคมีดงั กล่าวให้ครบถ้วน เพราะตอนนี้เรื่องดังกล่าวยังไม่จบ หรือเป็นขั้น สุดท้าย โดยให้ทั้ง 2 กระทรวงนี้ไปดูให้รอบด้าน อาทิ ผลต่อประชาชนและเกษตรกรอย่างไร การ ศึกษาว่าสารเคมีเหล่านี้เป็นอันตรายจริงหรือไม่ มีสิ่งใดที่มาใช้ทดแทนได้หรือไม่ ซึ่งเท่าที่ทราบ ในเบื้องต้นยังไม่พบว่ามีสิ่งอื่นมาทดแทนได้ เมื่ อ ถามว่ า คณะกรรมการวั ต ถุ อั น ตราย ชุดใหม่ซงึ่ ก�ำลังจะมาท�ำหน้าทีส่ ามารถหยิบเรือ่ งนี้ มาทบทวนได้หรือไม่ นายสมคิด กล่าวว่า “ไม่ ทราบ รูแ้ ต่วา่ กระทรวงอุตสาหกรรมจะแต่งตัง้ คณะ ท�ำงานมาเก็บข้อมูลผลต่างๆ ที่เกิดจากเรื่องของ สารเคมีดังกล่าว” “อนุทิน” ยันขยายเวลาอีกไม่ได้

นายอนุทนิ ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรี และรมว.สาธารณสุข กล่าวกรณีที่กลุ่มเกษตรกร ยื่นร้องศาลปกครองให้ยกเลิกแบน 3 สารเคมี ว่า เป็นสิทธิของประชาชนตามระบอบประชาธิปไตย ที่สามารถท�ำได้ แต่ยืนยันขั้นตอนการด�ำเนินการ ทั้งหมดเป็นไปตามข้อมูลเพื่อดูแลประชาชนให้ ปลอดภั ย จากสารพิ ษ ส่ ว นกรณี จ ะสามารถ ขยายเวลาขอใช้สารพิษออกไปอีก 6 เดือนนั้น ไม่สามารถท�ำได้ เนือ่ งจากมีมติจากคณะกรรมการ วัตถุอันตรายออกไปแล้ว และคณะกรรมการนี้ ก็อยู่ภายใต้กฎหมาย

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

63


Around the World

หวั่นอุตสาหกรรมต่อเนื่องเจ๊งยับ

ด้านนายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายกสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย เปิดเผยว่า แม้กระทรวงเกษตรฯ จะระบุว่าก�ำลังหาแนวทางช่วยเหลือเกษตรกร โดยการหาสาร และวิธีการทดแทน แต่ประเด็นที่ภาครัฐไม่ได้กล่าวถึงคือ เมื่อห้าม ใช้สารเคมีทั้ง 3 ชนิด ไทยจะไม่สามารถน�ำเข้าสินค้าเกษตรจากประเทศที่ยังคงใช้ สารเคมีเหล่านี้ได้ นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาแล้ว ไทยจะเดือดร้อนอย่างมากกรณี แบนสารไกลโฟเซตที่สหรัฐฯ ทักท้วง เพราะท�ำให้น�ำเข้าถั่วเหลือง และข้าวสาลี จากสหรัฐฯ ที่ใช้สารเคมีไม่ได้ เนื่องจากเป็นวัตถุดิบหลักในอุตสาหกรรมหลาย ประเภท โดยข้าวสาลีน�ำเข้าสู่อุตสาหกรรมอาหารคนและอาหารสัตว์ เช่นเดียวกับ ถั่วเหลือง ซึ่งปัจจุบันไทยผลิตถั่วเหลืองได้ปีละ 80,000 ตัน และน�ำเข้าจากทั่วโลก รวม 2.5 ล้านตัน เพื่อน�ำมาผลิตน�้ำมันถั่วเหลืองใช้ประกอบอาหาร ส่วนกาก ถั่วเหลือง เป็นวัตถุดิบอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ โดยทุกประเทศที่ปลูกใช้ไกลไฟเซต ถ้าไทยน�ำเข้าไม่ได้จะไม่เพียงพอต่อการบริโภคและอุตสาหกรรมต่อเนือ่ งจะล่มสลาย “ทางออกควรท�ำก่อนหน้านี้คือ การควบคุมและจ�ำกัดการใช้สารเคมีทาง การเกษตรตามมาตรฐานสากลเพือ่ ให้ภาคการเกษตรอยูร่ อด และภาคอุตสาหกรรม เดินหน้าไปได้ แต่การติดสินใจที่ผ่านมา เสมือนไทยก�ำลังยิงปืนใส่ขาตัวเองที่จะ ส่งผลกระทบร้ายแรงต่อเศรษฐกิจของประเทศเป็นลูกโซ่” นายพรศิลป์กล่าว

64

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562




Around the World

มุ่งยกระดับ สินค้าเกษตร

สู่มาตรฐานสากล

ดร.เสริมสุข สลักเพ็ชร์ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร เปิดเผยว่า กรมวิชาการเกษตร มีหน้าทีค่ น้ คว้า วิจยั ทดลอง และพัฒนาวิชาการเกษตรด้านต่างๆ ทีเ่ กีย่ วกับพืช เครือ่ งจักรกล การเกษตร ให้บริการวิเคราะห์ ทดสอบ ตรวจสอบ รับรอง ให้ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับดิน น�้ำ ปุ๋ย วัสดุการเกษตร ผลผลิต และผลิตภัณฑ์พืช การบริการส่งออกสินค้าเกษตร รวมทั้ง ก�ำกับดูแลกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 6 ฉบับ ซึ่งในปี 2562 กรมวิชาการเกษตรมีผลการ ด�ำเนินงานส�ำคัญที่ผ่านมา อาทิ การพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรสู่มาตรฐาน โดยได้ ท�ำการตรวจรับรองแหล่งผลิตพืชในระบบ GAP ผ่านมาตรฐาน 108,647 แปลง พื้นที่ 539,811.65 ไร่ และตรวจรับรองโรงคัดบรรจุ โรงงานแปรรูป โรงรมตามมาตรฐาน GMP HACCP และ GFP ผ่านมาตรฐานรวม 885 โรงงาน รวมถึงพัฒนาห้องปฏิบัติการ ตรวจสอบสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ เป้าหมาย 32 แห่ง นอกจากนี้ ได้ด�ำเนินงานสนับสนุนตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คือ นโยบายเกษตรอินทรีย์ ตรวจรับรองแหล่งผลิตพืชในระบบเกษตรอินทรียผ์ า่ นมาตรฐาน และกิจกรรมส่งเสริมการท�ำเกษตรอินทรีย์ โดยการอบรมให้ความรูเ้ กษตรกรด้านการผลิต ที่มา : เดลินิวส์ ฉบับวันที่ 05 ตุลาคม พ.ศ. 2562 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

65


Around the World พืชอินทรีย์ รวมทั้งจัดท�ำแปลงต้นแบบการผลิต พืชอินทรีย์ ผลิตพ่อพันธุ์ - แม่พันธุ์แมลงศัตรูพืช ธรรมชาติ และผลิตชีวนิ ทรียใ์ นการควบคุมศัตรูพชื นโยบายระบบส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ โดยการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตพืช ตรวจรับรอง GAP ผ่าน 3,269 ราย และจัดท�ำแปลงต้นแบบ 2,043 ไร่ นโยบายศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) โดยถ่ายทอดเทคโนโลยี การใช้ปยุ๋ ตามค่าวิเคราะห์ดนิ และการใช้ชวี นิ ทรีย์ ป้องกันก�ำจัดศัตรูพืช การใช้ปัจจัยการผลิตอย่าง ถูกต้องและเหมาะสมรวม 11,063 ราย ผลิต พ่อพันธุ์ - แม่พันธุ์ แมลงศัตรูธรรมชาติ 15 ชนิด เผยแพร่องค์ความรูผ้ า่ น Smart-Box 90 แห่ง และ แจ้งเตือนภัยศัตรูพืชทุกสัปดาห์ ในส่วนการด�ำเนินงานสนับสนุนนโยบาย Zoning by Agri - Map ได้ด�ำเนินการปรับเปลี่ยน กิจกรรมการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสมตามแผนที่ เกษตรเพือ่ การบริหารจัดการเชิงรุก ปรับโครงสร้าง

66

การผลิตในพื้นที่ S3 และ N โดยการสร้างการ รับรู้ให้เกษตรกรในการปรับเปลี่ยนการปลูกพืช ในพื้ น ที่ ที่ เ หมาะสม 1,427 ราย จั ด ท� ำ แปลง ต้นแบบ 1,566 ไร่ ส่วนการพัฒนาศักยภาพการ ผลิตทางการเกษตร โดยด�ำเนินงานด้านการเป็น ศู น ย์ ก ลางการผลิ ต เมล็ ด พั น ธุ ์ พื ช การพั ฒ นา กลุ่มปลูกสมุนไพรให้เข้าสู่ระบบ GAP/GMP แล้ว 5 แห่ง และฝึกอบรมเกษตรกรให้เข้าสู่ระบบการ จัดการ GAP และแปรรูปสมุนไพรแล้ว 113 ราย การผลิตพันธุ์พืชคุณภาพดีและปัจจัยการผลิต ได้แก่ พืชไร่ 11 ชนิด พืชสวน 33 ชนิด ปัจจัย การผลิต 19 ชนิด รวมถึงมีภารกิจตามนโยบาย เร่งด่วนของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในเรื่อง การก�ำจัดโรคใบด่างมันส�ำปะหลัง หนอนกระทู้ ข้าวโพดลายจุด มาตรการจ�ำกัดการใช้ 3 สาร การเปิดตลาดมะม่วงไปออสเตรเลีย และการ ส่งออกมังคุดไปไต้หวันที่เป็นผลส�ำเร็จในปีนี้ด้วย

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562


Around the World

จีนวิกฤต หมูไม่พอขาย

รัฐบาลวอนประชาชนกินให้นอ ้ ยลง ปัจจัยเรื่องโรคระบาดในแอฟริกา และการสต็อกสินค้า ท�ำให้หมูมีไม่พอ ขาย ขณะราคาเนื้อหมูพุ่งสูงจนรัฐบาลต้องออกมาให้เงินสนับสนุนประชาชน ผู้มีรายได้น้อย สถานการณ์ วิ ก ฤตเนื้ อ หมู ไ ม่ เ พี ย งพอต่ อ ความต้ อ งการของประชาชน ในประเทศจีนก�ำลังแย่ลงอย่างต่อเนื่อง จากปัญหาไวรัสโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร ระบาดเมื่อปี 2561 ส่งผลให้ประชากรหมูในจีนกว่า 1 ใน 3 ต้องตาย นอกจากนี้ ‘ยู กางเซิน’ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรของจีน ยังกล่าวอีกด้วยว่า ความ หวังทีจ่ ะน�ำเข้าเนือ้ หมูให้เพียงพอกับความต้องการของประชากรแทบจะเป็นไปไม่ได้ ตัวเลขการบริโภคหมูในปี 2561 สะท้อนว่า ชาวจีนบริโภคเนือ้ หมูทมี่ กี ารขาย ในตลาดทั่วโลกกว่าครึ่งหนึ่ง และมากกว่าร้อยละ 95 ของการบริโภคเนื้อหมูของ ชาวจีน เป็นหมูที่เลี้ยงในประเทศ “นับในสัดส่วนที่มากที่สุด การน�ำเข้าหมูยังคิดเป็นแค่ 2% จากการบริโภค ทั้งหมดเท่านั้น” ยู กล่าว ที่มา: sanook.com วันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2562 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

67


Around the World

ด้าน พาน เชินจุน จากธนาคารเพือ่ การเกษตรและธุรกิจ ราโบแบงก์ กล่าวว่า อัตราการผลิตเนื้อหมูจะยังมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง ในปี 2563 โดยตัวเลขประชากรหมูในเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา ลดลงถึงร้อยละ 32.2 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน หน้า และลดลงราวร้อยละ 9.4 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า สถานการณ์ดังกล่าวส่งผลให้อุตสาหกรรมมูลค่า 1.4 แสนล้าน ดอลลาร์สหรัฐฯ หรือประมาณ 4.3 ล้านล้านบาท มีความตึงเครียดอย่าง มาก อีกทั้งผลกระทบดังกล่าวยังกลับไปตกอยู่กับประชาชนจีนที่ต้องซื้อ เนื้อหมูในราคาสูงจนรัฐบาลต้องออกมามอบเงินสมทบไปแล้วกว่า 454 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ หรือประมาณ 13,800 ล้านบาท ตามข้อมูลจาก คณะกรรมการพัฒนาและปฏิรูปแห่งชาติของจีน (NDRC) แช่แข็งสำ�รองหมู

อย่างน้อย 4 จังหวัดในจีน ที่มีประชากรราว 130 ล้านคน ออกมาใช้วิธีการลดการ สต็อกเนื้อหมู และน�ำเนื้อหมูแช่แข็งเข้าไปขายในตลาดเพื่อหวังท�ำให้ราคาหมูคงที่ และ กระตุ้นอุปทานเนื้อหมู ด้านผู้เชี่ยวชาญมองว่า การออกมาส�ำรองหมูด้วยการแช่แข็งเป็นการแสดงความ พยายามในการจัดการกับสถานการณ์เนือ้ หมูไม่เพียงพอของรัฐบาล แต่กย็ งั ไม่ใช่มาตรการ ที่ได้ผลมากที่สุด ล่าสุดรัฐบาลท้องถิ่นของจี๋หนาน เมืองหลวงของมณฑลชานตง ก็ออกมาประกาศ ในวันพฤหัสบดีที่ผ่านมา น�ำเนื้อหมูแช่แข็งส�ำรองออกสู่ตลาดเพื่อรองรับการเฉลิมฉลอง ในวันหยุดทีจ่ ะถึงนี้ นอกจากนี ้ รัฐบาลจะทยอยน�ำหมูออกสูต่ ลาดอีกครัง้ ในช่วงปลายเดือน เพื่อรองรับการเฉลิมฉลองครบรอบ 70 ปี ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ในวันที่ 1 ตุลาคม กินหมูให้น้อยลง

แม้การน�ำหมูสำ� รองออกสูต่ ลาดจะเป็นการช่วยประชาชนได้บา้ ง แต่ในระยะยาวแล้ว รัฐบาลไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากกระตุ้นให้ประชาชนรับประทานเนื้อหมูน้อยลง สื่อของรัฐบาลหลายแห่งเริ่มออกมากระตุ้นประชาชนให้ตัดเนื้อหมูออกจากเมนู อาหาร ไลฟ์ ไทมส์ สื่อภายใต้หนังสือพิมพ์ ‘พีเพิล เดลี่’ ของพรรคคอมมิวนิสต์จีน เขียน บทความชีว้ า่ “การกินหมูนอ้ ยลงดีตอ่ สุขภาพ เพราะเนือ้ หมูมไี ขมัน และคอเลสเตอรอลสูง การกินเนื้อหมูมากเกินไปจะท�ำให้คุณน�้ำหนักขึ้น”

68

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562


Around the World

หยุดโรคเป็นวาระสำ�คัญ... ที่ต้องก้าวข้ามให้กุ้งไทยได้ ไปต่อ เมือ่ วันที่ 30 สิงหาคม 2562 ทีผ่ า่ นมา ชมรมผูเ้ ลีย้ งกุง้ สุราษฎร์ธานี จัดสัมมนาวิชาการ “ระบบน�ำ้ แห่งอนาคต เพิม่ ผลผลิต เพือ่ การเลีย้ งทีย่ งั่ ยืน” ขึน้ ณ โรงแรมวังใต้ อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี งานนี้ นายสัตวแพทย์ปราการ เจียระคงมั่น รองกรรมการผู้จัดการฝ่ายวิชาการผลิตภัณฑ์ เครือเจริญ โภคภัณฑ์ ได้รับเกียรติร่วมเป็นวิทยากรบรรยายในหัวข้อ “หยุดโรคเป็นวาระส�ำคัญที่ต้องก้าวข้าม ให้กุ้งไทยได้ไปต่อ” ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าสนใจอย่างยิ่ง จึงขอสรุปน�ำมาเสนอ ดังนี้ เป็นที่ทราบกันดีว่าในปัจจุบันประเทศผู้ผลิตกุ้งทุกประเทศต่างเผชิญปัญหาการเลี้ยงกุ้งยากขึ้น โดยเฉพาะปัญหาจากโรคกุ้ง ท�ำให้ผลผลิตกุ้งลดลง ในประเทศไทยจากรายงานล่าสุดของกรมประมง พบว่า ผลผลิตกุ้งของไทยในช่วงเดือนมกราคม ถึงกรกฎาคม 2562 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกัน ของปี 2561 ลดลงในหลายๆ ภาคของประเทศ (ดังแสดงในตารางที่ 1) แม้วา่ ผลผลิตกุง้ ไทยเพิม่ ขึน้ ด้วย จากสถานการณ์โรคอีเอ็มเอสคลี่คลาย แต่ก็ยังไม่สามารถเพิ่มผลผลิตกุ้งได้ตามที่คาดการณ์ เนื่องด้วย สถานการณ์โรคต่างๆ ก็ยังคงปรากฏอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะโรคตัวแดงดวงขาว โรคอีเอ็มเอส อาการขี้ขาว โรคโตช้าจากอีเอชพี ฯลฯ ขณะที่ตัวเลขการผลิตกุ้งและการส่งออกของประเทศผู้ผลิตกุ้ง รายอื่นก็ลดลงเช่นกัน ยกเว้นประเทศเอกวาดอร์ ซึ่งต่างก็มีผลกระทบจากปัญหาเรื่องโรคเป็นส�ำคัญ ตารางที่ 1 ผลผลิตกุ้งของไทยในช่วงเดือนมกราคม ถึงกรกฎาคม ของปี 2561 - 2562

ภูมิภาค ตะวันออก กลาง ใต้บน ใต้ล่าง ใต้อันดามัน

2561 37,827 16,176 43,446 15,845 29,754

2562 35,300 15,545 43,198 23,272 26,534

% แตกต่าง  - 6.7  - 3.9  - 0.6 46.9  - 10.8

ที่มา : กรมประมง  หน่วย : ตัน

ที่มา : วารสารข่าวกุ้ง ปีที่ 31 ฉบับที่ 373-374 เดือนสิงหาคม-กันยายน 2562 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

69


Around the World

โรคกุ้งที่ยังคงเป็นปัญหาในปัจจุบัน และต้องเฝ้าระวัง

1. ตัวแดงดวงขาว โรคตัวแดงดวงขาวเป็นโรคไวรัสที่ส�ำคัญในการเลี้ยงกุ้งที่สร้างความเสียหาย ได้มากกว่าทุกๆ โรค พบได้ในทุกประเทศทีม่ กี ารเลีย้ งกุง้ เมือ่ กุง้ ติดเชือ้ จะสามารถสร้างความเสียหายได้ ภายใน 48 - 96 ชั่วโมง โดยจะท�ำลายอวัยวะที่ส�ำคัญหลายต�ำแหน่ง คือ บริเวณเปลือก (Exoskeleton) เกิดเป็นจุดสีขาว ท�ำลายระบบเหงือก (Gill Tissue) ระบบเลือด (Hematopoietic Tissue) และตับ ปัจจุบันพบว่า อาการดวงขาว (White Spot) ไม่ได้เกิดจากเชื้อไวรัสเพียงอย่างเดียว มีรายงานในหลาย ประเทศ โดยเฉพาะที่ประเทศอินเดีย พบว่าเชื้อแบคทีเรีย Bacillus cereus ท�ำให้กุ้งเกิดจุดขาว และ ดวงขาวขึ้นมาตามตัวกุ้งได้ ลักษณะคล้ายโรคไวรัสตัวแดงดวงขาว แต่อัตราการตายอาจจะต�่ำกว่า ใน ประเทศอินเดียเรียกโรคนี้ว่า White Patch Disease หรือ WPD ซึ่งสามารถสร้างความเสียหายได้ ทั้งกุ้งขาว และกุ้งกุลาด�ำ

รูปที่ 1 ความเสียหายที่เกิดจากโรคตัวแดงดวงขาว

2. อีเอ็มเอส (EMS) อีเอ็มเอส หรือ AHPND เป็นการติดเชื้อแบคทีเรียวิบริโอ พาราฮีโมไลติคัส (Vibrio parahaemolyticus) สายพันธุท์ มี่ สี ารพิษรุนแรง ส่วนใหญ่ อีเอ็มเอสติดกุ้งโดยผ่านการกินเข้าไป โดยเฉพาะการกิน ตะกอนเชือ้ แบคทีเรียสกปรกทีพ่ นื้ บ่อ ไบโอฟิลม์ เป็นต้น แล้ว เกิดการสะสมของเชื้อแบคทีเรียวิบริโอที่บริเวณกระเพาะ อาหาร เชื้ อ แบคที เ รี ย ขยายตั ว รวดเร็ ว ผ่ า นขบวนการ ควอรัม่ เซ้นซิง่ (Quorum sensing) ซึง่ ก็คอื การส่งสัญญาณ เคมีสอื่ สารกันของเชือ้ แบคทีเรียวิบริโอ ท�ำให้เชือ้ แบคทีเรีย มารวมตั ว กั น อย่ า งมากมาย ปกคลุ ม กระเพาะอาหาร เชื้อแบคทีเรียวิบริโอที่หนาแน่นนี้จะปล่อยสารพิษออกมา จ�ำนวนมาก ไหลผ่านจากกระเพาะอาหารเข้าสูต่ บั สารพิษ จะท�ำให้เกิดอาการตับอักเสบ และตับวายอย่างเฉียบพลัน กุ้งจะตายจ�ำนวนมาก หากน�ำลูกกุ้งไปส่องภายใต้กล้อง

70

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

รูปที่ 2 กุ้งกุลาด�ำทีเป็นโรค AHPND ในมาเลเซีย

รูปที่ 3 โรค RMS ในประเทศอินเดีย


Around the World

จุลทรรศน์ จะพบว่าลักษณะของพูตบั เปลีย่ นแปลงรูปร่างไป อาจมีลกั ษณะคอดเป็นปล้องๆ (Constriction) มีจุด หรือรอยเปื้อนสีด�ำ (Melanization) ที่เกิดจากเนื้อตายของเซลล์ท่อตับ เม็ดไขมันในตับอาจจะมี จ�ำนวนน้อยลง/ไม่สมบูรณ์ ลักษณะเหล่านี้สามารถน�ำมาใช้ในการคัดกรอง หรือตรวจสอบลูกกุ้ง ก่อน/หลัง ปล่อยลงบ่อเลี้ยงได้ว่ามีการสัมผัสสารพิษจากเชื้อแบคทีเรียวิบริโอหรือไม่ โชคดีที่ปัจจุบันนี้ สายพันธุ์ลูกกุ้งขาวในประเทศไทยเป็นสายพันธุ์ที่พัฒนาจนทนต่อเชื้อแบคทีเรียอีเอ็มเอสที่ก่อโรคได้ ในระดับหนึ่ง ขณะที่ประเทศอื่นๆ ยังมีปัญหาโรคอีเอ็มเอสอยู่อย่างหนักมากทั้งในกุ้งขาว และกุ้งกุลาด�ำ ในประเทศอินเดียไม่ได้ประกาศว่ามีโรคอีเอ็มเอสเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ แต่พบว่ากุ้งมีการ ติดเชื้อแบคทีเรียวิบริโอจ�ำนวนมาก รวมทั้งเชื้อแบคทีเรีย พาราฮีโมไลติคัส และมีกลุ่มอาการที่กุ้ง มีอาการทยอยตายทุกวันต่อเนื่องไปเรื่อยๆ เรียกว่า Running Mortality Syndrome (RMS) หรือ อาร์เอ็มเอส มีรายงานว่ากลุ่มอาการดังกล่าว เกิดได้จากหลายๆ สาเหตุร่วมกัน เช่น ความเสื่อมโทรม ของแหล่งน�้ำ คุณภาพน�้ำ และพื้นบ่อที่เสื่อมโทรม การปนเปื้อนของเชื้อโรค สารพิษ ก๊าซพิษ เช่น ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ในน�ำ้ และก๊าซพิษอืน่ ๆ เป็นต้น การจัดการทีไ่ ม่เหมาะสม เช่น ออกซิเจนในน�ำ้ ต�ำ่ แร่ธาตุไม่เพียงพอ ระบบสุขาภิบาลที่ไม่ดี รวมทั้งมีการติดเชื้อต่างๆ มากมายหลายชนิด เช่น เชื้อไวรัส เชือ้ แบคทีเรีย เชือ้ รา เชือ้ โปรโตซัว เป็นต้น เหล่านีส้ ามารถตรวจพบได้ในกุง้ ทีเ่ ป็นอาร์เอ็มเอสได้เช่นกัน 3. อีเอชพี (EHP) เกษตรกรในประเทศไทย รวมทั้งหลายๆ ประเทศในอาเซียน โดยเฉพาะ ประเทศอินเดีย ก�ำลังเผชิญปัญหาอีเอชพีอย่างรุนแรง ซึ่งท�ำให้กุ้งโตช้า แคระแกร็น ผอมกรอบแกรบ ตัวหลวม แตกไซส์ และได้กงุ้ ขนาดเล็ก มี ADG ต�ำ่ FCR สูง ท�ำให้ตอ้ งจับกุง้ ทีข่ นาดต�ำ่ กว่า 10 - 15 กรัม เพราะเลีย้ งไม่โต โดยเฉพาะทางรัฐอานธรประเทศทีอ่ ยูท่ างตอนกลางของประเทศอินเดีย และในหลายๆ พื้นที่ของประเทศไทย ทั้งภาคตะวันออก และภาคใต้ ซึ่งเคยเป็นพื้นที่ที่มีการเลี้ยงกุ้งหนาแน่นมาก่อน และมีความเสื่อมโทรมของพื้นที่เลี้ยง ความเสื่อมโทรมของบ่อ รวมทั้งความเสื่อมโทรม และการ ปนเปื้อนของแหล่งน�้ำ สามารถพบเชื้อ และสปอร์ของเชื้ออีเอชพีเป็นจ�ำนวนมากในแหล่งน�้ำธรรมชาติ ใต้พื้นพีอี รวมทั้งในบ่อดิน

รูปที่ 4 กุ้งที่ติดเชื้ออีเอชพี จะมีอาการแคระแกร็น โตช้า แตกไซส์ ตัวกรอบแกรบ ขี้ขาว

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

71


Around the World

อีเอชพี คือเชือ้ ราทีเ่ คยจัดอยูใ่ นกลุม่ เชือ้ ไมโครสปอริเดียมาก่อน มีชื่อเรียกว่า Enterocytozoon hepatopenaei การติดเชื้อส่วนใหญ่เกิด จากกุ้งกินสปอร์ที่มีอีเอชพีเกาะอยู่เข้าไปในทาง เดินอาหาร สปอร์อีเอชพีสามารถยื่นโพลาร์ทิวบ์ (Polar Tube) เพือ่ ถ่ายทอดสารพันธุกรรมเข้าไปใน เซลล์บุผนังท่อตับ หลังจากนั้นจะเกิดการแบ่งตัว เพิ่มจ�ำนวนสปอร์จนเต็มเซลล์ แล้วแตกออกมา จากเซลล์ ท�ำให้เกิดความเสียหาย และเซลล์ลอก หลุด (Sloughing) สปอร์บางส่วนอาจหลุดออก มากับขี้กุ้ง ปะปนแขวนลอยไปกับน�้ำ ในบางครั้ง หากเกิดการติดเชื้ออย่างรุนแรง และมีเชื้ออื่นๆ ร่วมด้วย เช่น เชื้อแบคทีเรียทั่วๆ ไป หรือเชื้อ แบคทีเรียแบบไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic Bacteria) อาจมีกลุ่มอาการขี้ขาวเกิดขึ้นด้วย ความ หนาแน่นของกุง้ มีความสัมพันธ์โดยตรงกับปริมาณ สปอร์ที่ผลิตในตับกุ้ง กุ้งที่เลี้ยงหนาแน่นมากขึ้น หากมี ก ารติ ด เชื้ อ ก็ จ ะท� ำ ให้ ส ปอร์ อี เ อชพี เ พิ่ ม จ�ำนวนได้มากยิ่งขึ้นไปด้วย จากงานวิจัยของซีพีพบว่า กุ้งที่ไม่ติด อีเอชพี หากปล่อยความหนาแน่น 30 ตัว/ตาราง เมตร สามารถเลีย้ งได้ขนาด 21 กรัม/ตารางเมตร หากปล่อย 100 ตัว/ตารางเมตร สามารถเลี้ยงได้ ขนาด 19 กรัม ซึ่งไม่แตกต่างกันมาก แต่ถ้ากุ้งที่ ติดเชือ้ อีเอชพีปล่อยความหนาแน่น 30 ตัว/ตาราง เมตร สามารถเลีย้ งได้กงุ้ ขนาด 14.8 กรัม แต่หาก ปล่อยความหนาแน่น 100 ตัว/ตารางเมตร จะ สามารถเลี้ยงกุ้งเหลือเพียง 9 กรัมเท่านั้น มี ร ายงานจากที ม งาน ดร.ทิ ม และ ดร.กัลยาณ์ จากมหาวิทยาลัยมหิดล ในปี 2562 พบว่าสามารถตรวจพบอีเอชพีในหอย ทั้งหอย สองฝา และหอยฝาเดียวได้เป็นจ�ำนวนมาก จาก การตรวจด้วยวิธีพีซีอาร์ อีเอชพีสามารถติดใน

72

หอย และหอยสามารถเป็นพาหะของอีเอชพีได้ มีการทดลองเลี้ยงกุ้ง และหอยร่วมกัน โดยเอากุ้ง ที่เป็นปกติ 15 ตัว ใส่ลงไปในตู้ที่มีหอยที่ติดเชื้อ อีเอชพี 40 ตัว เลี้ยงร่วมกัน ปรากฏว่าภายใน 10 วัน กุ้งที่เป็นปกติสามารถติดเชื้ออีเอชพีจาก หอยได้ทั้งหมด ดังนั้น เกษตรกรต้องระมัดระวัง หอยทีอ่ าจปนเปือ้ นเชือ้ อีเอชพี รวมทัง้ สัตว์หน้าดิน หลายๆ ชนิด ที่สามารถเป็นพาหะของเชื้ออีเอชพี ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากมีการปล่อยเลน หรือ น�้ำทิ้งที่มีเชื้ออีเอชพีลงสู่แหล่งน�้ำธรรมชาติโดย ไม่ผ่านการบ�ำบัดด้วยวิธีการที่ถูกต้อง ก็จะท�ำให้ แหล่งน�้ำรวมถึงสัตว์น้�ำในบริเวณนั้นปนเปื้อนเชื้อ อีเอชพีไปด้วย ซึ่งสปอร์ของอีเอชพีสามารถคงอยู่ ในสิง่ แวดล้อมได้นานมากเป็นเวลาหลายเดือน หรือ อาจเป็นปี ทั้งนี้ขึ้นกับสิ่งแวดล้อม สภาพอากาศ และฤดูกาลทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป และความคงทนของ สปอร์ ฯลฯ 4. อาการขี้ขาว เป็นลักษณะของการหลุด ลอกของผนั ง เยื่ อ บุ ท ่ อ ตั บ และทางเดิ น อาหาร เกิดการจับตัวรวมตัวกันเป็นขีข้ าวหลุดออกมาจาก ตัวกุ้ง อาการขี้ขาวอาจมาจากหลายสาเหตุ เช่น อาจเกิดจากเชื้อโรคเพียงชนิด หรือหลายๆ ชนิด ร่วมกัน อาจเกิดจากปัจจัยทีโ่ น้มน�ำให้กงุ้ เกิดความ เครียด หรือความอ่อนแอของตัวกุ้ง อาจเกิดจาก สาเหตุหลายๆ อย่างร่วมกัน จากการเก็บตัวอย่าง กุ้งป่วยเป็นจ�ำนวนมากของศูนย์วิจัยโรคกุ้ง เครือ เจริญโภคภัณฑ์ พบว่า ตรวจพบเชื้อโรคหลายๆ ชนิดในกุ้งที่มีอาการขี้ขาว เช่น เชื้ออีเอชพี พบว่า กุ้งมีอาการขี้ขาวประมาณร้อยละ 90 มีอีเอชพี ในกุ้งเหล่านั้น นอกจากนี้ยังพบเชื้อแบคทีเรีย ทั้ง แบบใช้ออกซิเจน และแบคทีเรียแบบไม่ใช้ออกซิเจนอีกประมาณร้อยละ 10 ในกุ้งกลุ่มที่มีอาการ ขี้ขาว อีกทั้งความเสื่อมโทรมของบ่อเลี้ยง พื้นบ่อ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562


Around the World

รูปที่ 5 อาการขี้ขาว

และน�้ำ รวมทั้งการจัดการที่ล้มเหลว โดยเฉพาะ พื้นที่บ่อที่มีการหมักหมมสะสมของอินทรีย์สาร บ่อที่ตากไม่แห้ง หรือใต้พีอีเก่าที่เปียกแฉะตลอด เวลา เพราะมีรอยรั่ว/น�้ำซึม พื้นบ่อที่มีเลนด�ำ มีก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ แอมโมเนีย ไนไตรท์ ออกซิเจนต�ำ่ แพลงก์ตอนบลูม และตายเป็นจ�ำนวน มาก น�้ำข้นหนืด ถ่ายน�้ำได้น้อย หรือถ่ายน�้ำ ไม่เพียงพอ ซึง่ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพน�ำ้ พืน้ ฐาน เป็นต้น ปัจจัยเหล่านี้สามารถพบในบ่อที่มีอาการ ขี้ขาวได้อีกประมาณร้อยละ 10 มี ร ายงานจากที ม งาน ดร.ทิ ม และ ดร.กัลยาณ์ จากมหาวิทยาลัยมหิดล ในปี 2562 พบว่าสามารถทดลองท�ำให้กุ้งเกิดอาการขี้ขาวได้ ในห้องปฏิบตั กิ าร โดยการทดลองใส่กงุ้ ทีต่ ดิ อีเอชพี อย่างรุนแรงโดยประมาณความเข้มข้นเชื้ออีเอชพี 104 ก๊อปปีต้ อ่ ไมโครลิตร แต่กงุ้ ยังไม่มอี าการขีข้ าว จากนั้นใส่เชื้อแบคทีเรียชีวาเนลลา (Shewanella spp.) ประมาณ 104 ซึ่งแบคทีเรียชนิดนี้เป็น แบคทีเรียทีไ่ ม่ใช้ออกซิเจน โดยให้เชือ้ แบคทีเรียนี้ ผ่านการกินไปยังกุ้งที่ติดเชื้ออีเอชพีอย่างรุนแรง ดังกล่าวข้างต้น ปรากฏว่า หลังจากให้กุ้งกินแบคทีเรียชีวาเนลลาเข้าไปภายใน 2 - 3 วัน กุ้งมีขี้ขาว หลุดออกมาให้เห็นในตู้ห้องปฏิบัติการได้ ดังนั้น จากการทดลองนี้ จึงสามารถสรุปเบื้องต้นได้ว่า

อาการขีข้ าวอาจมีความสัมพันธ์กบั การติดเชือ้ (Infection Oriented) และอาจมีเชื้อโรคมากกว่า หนึ่งชนิด หรือาจมีหลายๆ ชนิดร่วมกันในการ ท�ำให้เกิดอาการขีข้ าวขึน้ มา ดังนัน้ หากเทียบเคียง งานทดลองนีก้ บั บ่อเลีย้ งจริง นอกจากเรือ่ งเชือ้ โรค หลายๆ ชนิดจะมีความสัมพันธ์กับการท�ำให้เกิด อาการขี้ขาวแล้ว สภาพของบ่อ สภาพน�้ำ จุดอับ มุมอับในบ่อที่ออกซิเจนลงไปไม่ถึง ท�ำให้เอื้อต่อ การเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่ไม่ใช้ออกซิเจน ก็อาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่เราต้องเฝ้าระมัดระวังเพื่อ ไม่ให้เกิดอาการขี้ขาวด้วย สอดคล้องกับงานวิจัยในต่างประเทศ ซึ่งปัจจุบันมีวิธีการตรวจเพื่อวิเคราะห์หาชนิดของ แบคทีเรียที่เป็นสาเหตุของอาการขี้ขาว นิยมใช้ วิธีการตรวจไมโครไบโอม (Microbiome) ซึ่งเป็น การวิเคราะห์ทางยีน หาความหลากหลายของ ดีเอ็นเอของแบคทีเรียทั้งหมดในร่างกายกุ้ง หรือ ในน�้ำ ซึ่งพบว่ามีความแม่นย�ำ และเฉพาะเจาะจง มากกว่าวิธีการทางแบคทีเรียวิทยาแบบเดิมๆ ใน ประเทศมาเลเซีย และเวียดนาม พบว่ากุ้งที่เป็น ขี้ขาวจ�ำนวนมาก เมื่อท�ำการวิเคราะห์กุ้ง และน�้ำ ด้วยวิธีดังกล่าว พบแบคทีเรียวิบริโอที่เป็นที่รู้จัก กันทั่วไปประมาณร้อยละ 50 ในกุ้งที่เป็นขี้ขาว และอีกประมาณร้อยละ 50 พบแบคทีเรียที่เรา

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

73


Around the World

ไม่คนุ้ ชือ่ ในกลุม่ ฟูโซแบคทีเรียม (Fusobacterium spp.) ซึง่ เป็นแบคทีเรียทีไ่ ม่ใช้ออกซิเจนอย่างรุนแรง (Strictly Anaerobic Bacteria) ปัจจุบัน ทีมงาน ดร.ทิม และดร.กัลยณ์ ก�ำลังสนใจเฝ้าจับตาดู เชื้อแบคทีเรีย 3 กลุ่ม ที่น่าสงสัย และคาดว่าอาจเป็นสาเหตุร่วมที่ท�ำให้เกิดอาการขี้ขาวในการเลี้ยงกุ้ง ได้แก่ กลุ่มเชื้อวิบริโอ กลุ่มเชื้อพรอพิโอนิจิเนียม (Propionigenium) และกลุ่มเชื้อรอมโบทเซีย (Romboutsia) เป็นต้น 5. โรคไอเอ็มเอ็นวี (IMNV) ยังไม่พบในไทย โรคหางสุก หรือกล้ามเนื้อตายบริเวณปลายหาง หรือไอเอ็มเอ็นวี พบมีการรายงานในประเทศบราซิล มาเลเซีย และอินโดนีเซีย โดยเฉพาะอินโดนีเซีย ท�ำให้ผลผลิตกุ้งลดลงจากเดิมอย่างมากในช่วง 4 - 5 ปีที่ผ่านมา และมีรายงานพบว่ากุ้งกุลาด�ำเป็น พาหะน�ำเชื้อไอเอ็มเอ็นวีที่ดี เพราะกุ้งกุลาด�ำที่ติดเชื้อไอเอ็มเอ็นวีจะไม่มีอาการกล้ามเนื้อตายบริเวณ ปลายหาง และไม่แสดงอาการเจ็บป่วย ซึ่งสามารถถ่ายทอดเชื้อไปยังกุ้งขาวได้หากมีการเลี้ยงร่วมกัน แต่ในกุ้งขาว หากรับเชื้อชนิดนี้ จะพบอาการหางสุก หรือกล้ามเนื้อตายบริเวณปลายหางอย่างรุนแรง และสร้างความเสียหายในกุ้งขาวได้มาก อัตราการตายอาจสูงถึงร้อยละ 30 - 50 ขึ้นกับความเครียด ของกุ้ง มีการส�ำรวจพ่อแม่พันธุ์กุ้งที่จับจากธรรมชาติแถบทะเลอันดามัน และช่องแคบมะละกา บริเวณ นอกเขตประเทศไทย แถวชายแดนไทย - มาเลเซีย พบว่าพ่อแม่พันธุ์กุ้งที่จับจากธรรมชาติ โดยเฉพาะ พ่อแม่พันธุ์กุ้งกุลาด�ำ ตรวจพบเชื้อไอเอ็มเอ็นวีจ�ำนวนมาก ดังนั้น เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งที่ต้องการ ปรับเปลี่ยนการเลี้ยงให้มีทั้งกุ้งกุลาด�ำ และกุ้งขาวอยู่ในฟาร์ม หรือในระบบเดียวกัน ควรเลือกใช้ลูกกุ้ง ทั้งสองชนิดที่ผลิตจากโรงเพาะฟักที่มีมาตรฐาน มีการคัดกรองพ่อแม่พันธุ์ท่ีดีด้วยวิธีพีซีอาร์ และต้อง มั่นใจว่าลูกกุ้งที่ใช้ต้องปลอดเชื้อไอเอ็มเอ็นวี รวมทั้งเชื้อแฝงอื่นๆ แล้วเท่านั้น ที่ส�ำคัญโรงเพาะฟัก เหล่านัน้ ต้องไม่ใช้อาหารสดทีไ่ ม่ผา่ นการคัดกรองโรค เพราะอาจเป็นการน�ำโรคสูพ่ อ่ แม่พนั ธุไ์ ด้ ควรเลือก ใช้ลูกกุ้งจากโรงเพาะฟักที่สะอาด มีมาตรฐานในการผลิต ผ่านการตรวจสอบของกรมประมง เพื่อไม่ให้ เกิดปัญหา หรือความเสียหายต่อการเลี้ยงกุ้งของเรา

รูปที่ 6 กุ้งที่ติดเชื้อ IMNV จะมีลักษณะหางสุก และกล้ามเนื้อตายบริเวณปลายหาง

74

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562




Around the World

รูปที่ 7 ความเสียหายจากโรค SHIV ที่ประเทศจีน

รูปที่ 8 การปนเปื้อนของเชื้อโรค SHIV และ IMNV ในพ่อแม่พันธุ์กุ้งที่จับจากธรรมชาติ และอาหารสดที่ใช้เลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ เป็นสิ่งที่ต้องระวัง

6. โรคเอสเอชไอวี (SHIV) มีการรายงานโรคเอสเอชไอวี หรือโรคอิริโดไวรัสที่เม็ดเลือดกุ้ง (Shrimp Hemocyte Iridescent Virus) พบครั้งแรกที่ประเทศจีน เป็นเชื้อไวรัสขนาดใหญ่ที่ท�ำลาย เม็ดเลือดกุ้งอย่างรุนแรง ท�ำให้กุ้งมีสีซีดขาว และมีอัตราการตายสูง โดยเฉพาะในกุ้งขนาดเล็ก จะเกิด ความเสียหายรุนแรงมาก มีการตายคล้ายโรคอีเอ็มเอส สามารถติดต่อได้ในกุง้ หลายชนิด เช่น กุง้ กุลาด�ำ กุ้งก้ามกราม กุ้งก้ามแดง กุ้งธรรมชาติหลายๆ ชนิด และพบว่ากุ้งเหล่านี้สามารถเป็นพาหะน�ำโรคไวรัส เอสเอชไอวีมายังกุ้งขาวได้ดีมาก เชื้อไวรัสตัวนี้มีส่วนท�ำให้ผลผลิตกุ้งของจีนลดลงอย่างมาก และ กลายเป็นประเทศผูซ้ อื้ กุง้ อย่างสมบูรณ์แบบ เพือ่ เป็นการเฝ้าระวังโรคนีอ้ ย่างใกล้ชดิ ประเทศไทยจ�ำเป็น ต้องมีการเฝ้าระวังและตรวจสอบคัดกรองพ่อแม่พนั ธุจ์ ากธรรมชาติ ตรวจสอบเฝ้าระวังกุง้ ทีส่ ามารถเป็น พาหะโรคนี้อย่างสม�่ำเสมอ และตรวจสอบเฝ้าระวังอาหารสดที่น�ำมาใช้ในพ่อแม่พันธุ์ รวมทั้งการให้ ความร่วมมือในการพัฒนาโรงเพาะฟักขนาดเล็กให้มคี วามสะอาดและได้มาตรฐาน และห้ามการลักลอบ น�ำเข้าพ่อแม่พันธุ์อย่างเข้มงวด เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้การเลี้ยงกุ้งของไทยเกิดปัญหาได้

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

75


Around the World

ทำ�ไมปัญหาเรื่องโรคจึงไม่หมด ไปจากประเทศไทย และหลายๆ พืน ้ ที่ ของโลกเสียที

จะเห็นว่าในสิง่ แวดล้อมรอบฟาร์ม แหล่งน�ำ้ ธรรมชาติ รวมถึงสัตว์นำ�้ หรือสัตว์พาหะต่างๆ ใน ธรรมชาติล้วนมีการปนเปื้อนไปด้วยเชื้อโรคต่างๆ เช่น ตัวแดงดวงขาว แบคทีเรียที่ท�ำให้ก่อโรค อีเอ็มเอส ไมโครสปอริเดีย หรือเชือ้ ราอีเอชพี ฯลฯ เพราะเกิดความเสื่อมโทรมของแหล่งน�้ำ และ สิ่งแวดล้อมจากการปล่อยของเสีย หรือน�้ำทิ้ง จากการเลีย้ งกุง้ ท�ำให้เกิดการปนเปือ้ นในแหล่งน�ำ้ ธรรมชาติมาเป็นเวลานานหลายปี จะเห็นได้ว่า พื้นที่ใดที่เคยมีความหนาแน่นของบ่อ หรือฟาร์ม เลี้ยงกุ้งสูง ปัญหาการเลี้ยงก็จะชัดเจนเด่นชัด ขึ้ น มาก ทั้ ง นี้ ส ภาพปั ญ หาจะแปรเปลี่ ย นไป ตามคุณภาพของแหล่งน�้ำ ความหนาแน่นฟาร์ม อากาศและฤดูกาล รวมทั้งการจัดการฟาร์มด้วย ขณะเดียวกัน หากเกษตรกรในพื้นที่เหล่านั้นมี การน�ำน�ำ้ จากแหล่งน�ำ้ ดังกล่าวมาใช้โดยปราศจาก การจัดการน�้ำที่ดีเพียงพอ หรือปราศจากความ เข้ า ใจในขั้ น ตอน/วิ ธี ก ารเตรี ย มน�้ ำ - เตรี ย มบ่ อ ที่ ดี เ พี ย งพอ แล้ ว วนเวี ย นน�้ ำ ที่ มี ก ารปนเปื ้ อ น เหล่านัน้ เข้ามาใช้ ก็จะยิง่ เสมือนการน�ำเชือ้ โรคเข้า มาสูฟ่ าร์ม หรือระบบการเลีย้ งตลอดเวลา กอปรกับ บางครั้งหลายๆ พื้นที่ไม่ได้ใช้น�้ำโดยตรงจากทะเล ในการเลีย้ งกุง้ แต่ใช้นำ�้ จากบริเวณปากแม่นำ�้ หรือ แม่น�้ำล�ำคลองสาขาที่ไหลเข้าสู่พื้นที่ตั้งของฟาร์ม หรือสูบน�้ำเหล่านี้เข้ามาใช้ภายในฟาร์ม ความ ตื้นเขินของแหล่งน�้ำ แม่น�้ำล�ำคลองเหล่านี้ แต่ ไม่ เ คยมี ผู ้ ใ ดตระหนั ก ถึ ง ของเสี ย สารอิ น ทรี ย ์ เชื้อโรค และสปอร์ของเชื้อต่างๆ เหล่านี้ ยังคง ถูกปล่อยออกจากฟาร์ม และยังคงสะสมหมักหมม

76

อยูใ่ นแหล่งน�ำ้ มากยิง่ ขึน้ ทุกๆ วัน โดยเฉพาะในพืน้ ที่ ที่ มี ค วามหนาแน่ น ของบ่ อ เลี้ ย งกุ ้ ง จ� ำนวนมาก ฟาร์มที่ไม่มีระบบการเก็บเลนไปไว้ในบ่อเก็บเลน (Sludge Pond) ไม่มีระบบการบ�ำบัดน�้ำทิ้ง หรือ Effluent Treatment Plant (ETP) ที่ดีเพียงพอ ปัญหาก็จะยิ่งหนักหน่วงและรุนแรงขึ้น นอกจากนี้ แหล่งเลีย้ ง (ถ้ามองหน่วยเล็กลง เฉพาะฟาร์ม หมายถึง บ่อเลี้ยงรวมทั้งระบบน�้ำ ภายในฟาร์ม) ก็มีความเสื่อมโทรมจากการสะสม ของสารอินทรีย์ เชื้อโรคชนิดต่างๆ สปอร์ของ อีเอชพีในชัน้ ดิน ใต้พนื้ พีอที หี่ มักหมม ในสัตว์พาหะ ในผ้ากรอง มีจำ� นวนมากด้วยเช่นกัน ซึง่ เกษตรกร สามารถแก้ไขด้วยการเตรียมพื้นบ่อ และให้ความ ส�ำคัญกับการตากบ่อ และพักบ่อให้ยาวนานขึ้น ควรมีการหมุนเวียนหยุดพัก การท�ำความสะอาด โดยเฉพาะใต้พื้นพีอีที่มีการใช้งานมานาน ควร ตรวจสอบใต้พื้นพีอีไม่ให้เปียกแฉะก่อนการลงกุ้ง การเอาของเสียออกจากพื้นบ่อหลังจบการเลี้ยง กุ้ง การไถพรวน การปรับหน้าดิน การตากบ่อให้ แห้งสนิท การใช้วัสดุปูนร้อนเพื่อเพิ่มพีเอชให้สูง ขึ้น และมีประโยชน์ในการฆ่าเชื้อโรค และท�ำลาย สปอร์ของอีเอชพี การท�ำระบบไบโอซีเคียว ระบบ สุ ข าภิ บ าลที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น และหมั่ น ตรวจสอบตลอดเวลา ฯลฯ ระบบน้ำ�หมุนเวียน...ทางออกที่ยั่งยืน

ระบบน�้ำหมุนเวียน คือ ระบบการเลี้ยงที่ พยายามไม่พงึ่ พาน�ำ้ จากภายนอกฟาร์มตลอดเวลา ไม่นำ� น�ำ้ ทีม่ คี วามเสีย่ งเข้ามาภายในฟาร์ม และไม่ ปล่อยของเสียจากการผลิตออกไปสู่สิ่งแวดล้อม แต่จะใช้น�้ำที่มีการทรีต และบ�ำบัดอย่างดี แล้ว หมุนเวียนใช้อย่างต่อเนือ่ งภายในฟาร์ม/ระบบของ ตัวเองเท่านั้น

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562


การเลี้ยงระบบน�้ำหมุนเวียน (Recirculating Aquaculture System: RAS) สามารถตอบ โจทย์ แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมภายนอก หรือแหล่ง น�้ำสาธารณะที่ปนเปื้อนเต็มไปด้วยเชื้อโรคต่างๆ ได้ดีมาก อีกทั้งยังช่วยลดความเสี่ยงในการเลี้ยง และเป็นการรักษาสิ่งแวดล้อมอีกด้วย (ไม่ซ�้ำเติม แหล่งน�้ำด้วยการเพิ่มเชื้อโรค/สารอินทรีย์ลงไป ในแหล่งน�้ำ) การเลี้ยงกุ้งในระบบน�้ำหมุนเวียน ก่อนอื่น เกษตรกรต้องเข้าใจก่อนว่า ของเสีย สารอินทรีย์ และเชื้อโรค รวมทั้งสปอร์ของเชื้อส่วนใหญ่ มัก พบในปริมาณสูงในของเสียที่เป็นของแข็ง (Solid Wastes) เป็นระบบการเลี้ยงที่พยายามแยกของ เสียที่เป็นของแข็ง และของเสียที่เป็นของเหลว ออกจากกันเสียก่อน ท�ำให้ง่ายต่อการจัดการของ เสีย และการบริหารจัดการระบบน�ำ้ หมุนเวียน ท�ำ

Around the World

รูปที่ 9 ฟาร์มเลี้ยงกุ้งที่อยู่อย่างหนาแน่น และการใช้แหล่งน�้ำ ร่วมกัน ท�ำให้โรคต่างๆ ยังคงวนเวียนอยู่

ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากยิ่ ง ขึ้ น การบ� ำ บั ด ของเสียทั้ง 2 รูปแบบ มีวิธีการจัดการที่แตกต่าง กัน การน�ำน�้ำที่หมุนเวียนกลับมาใช้ในการเลี้ยง กุง้ ใหม่ จ�ำเป็นต้องมีการวางแผนออกแบบผังฟาร์ม ให้เหมาะสม เช่น ต้องออกแบบให้มีบ่อพักน�้ำ (Reservoir) บ่อตกตะกอน (Settling and Clarifying Pond) บ่อทรีตน�ำ้ และฆ่าเชือ้ (Disinfection or Treatment Pond) บ่อเก็บน�ำ้ พร้อมใช้ (Ready to Use Pond) บ่อเลี้ยง (Culture Pond) ที่มี ขนาดเหมาะสม และสามารถเอาของเสียออกได้ดี ตลอดเวลา บ่อเก็บเลน (Sludge Pond) บ่อบ�ำบัด น�ำ้ (Effluent Treatment Plant) คลองหมุนเวียนน�ำ้ (Recycled Canal) เป็นต้น เหล่านี้จึงจะสามารถ ท�ำให้น�้ำที่หมุนเวียนกลับมาใช้มีประสิทธิภาพดี โดยวิธกี ารคือ ของเสียแข็ง (Solid Wastes) หรือเลนกลางบ่อที่ดูดออกมาทุกวัน ต้องแยกดูด ด้วยปั๊มอีกตัวหนึ่ง แล้วแยกของเสียเหล่านั้นไป เก็บในบ่อเก็บเลนโดยเฉพาะ ส่วนน�้ำที่ผ่านการ เลีย้ ง หรือน�ำ้ ทีถ่ า่ ยออกจากบ่อกุง้ ระหว่างการเลีย้ ง ทั้งหมด ต้องน�ำมาผ่านการตกตะกอน เพื่อแยก ของเสียของแข็งที่แขวนลอย (Solid suspension) และน�้ำออกจากกันอีกครั้งหนึ่ง เพื่อให้น�้ำมีความ สะอาดมากยิง่ ขึน้ ก่อนน�ำไปบ�ำบัดเพือ่ น�ำกลับมาใช้ ต่อไป

รูปที่ 10 บ่อเลี้ยงมีความเสื่อมโทรมจากการสะสมของสารอินทรีย์ เชื้อโรค แก๊สพิษ ฯลฯ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

77


Around the World

รูปที่ 11 เลนในบ่อเก็บเลนมีประโยชน์ น�ำไปแปรรูปใช้ประโยชน์ ได้หลากหลาย

การตกตะกอนน�้ำ เป็นวิธีทางกายภาพใน การแยกของเสียของแข็งออกจากน�้ำ วิธีการตก ตะกอนโดยทั่วไปในระบบการเลี้ยงกุ้งมี 2 แบบ คือ 1. การตกตะกอนในแนวราบ (Horizontal Precipitation) โดยอาศัยบ่อหลายๆ บ่อทีอ่ อกแบบ ให้นำ�้ มีการพักตัว (Retention and Aging Water) หรือบ่อยาว ให้น�้ำไหลผ่านช้าๆ และเกิดการตก ตะกอนด้วยตัวมันเอง (Self Setting) อาจมีการ ใช้ ส ารเคมี บ างชนิ ด เพื่ อ ช่ ว ยในการตกตะกอน (Chemical Setting) 2. การตกตะกอนในแนวดิ่ง (Vertical Precipitation) โดยใช้เครื่องกรองตาม แรงโน้มถ่วง (Sand Gravity Filter) ทีม่ ขี นาดใหญ่ และเหมาะสม โดยสูบน�้ำเข้าผ่านเครื่องกรองที่มี ตัวกรองเพื่อจัดการกับตะกอนที่แขวนลอยในน�้ำ และมีขนั้ ตอนการล้างตะกอนโดยอัตโิ นมัติ (Automatic Back Wash) ระบบจะมีการแยกตะกอน ในถังกรอง และน�ำตะกอนไปเก็บในบ่อเก็บเลน โดยไม่ไปปนเปื้อนกับระบบน�้ำที่จะน�ำกลับมาใช้ ใหม่ อาจมีระบบการฆ่าเชือ้ โรคอีกครัง้ หลังผ่านการ กรอง เพื่อให้มั่นใจว่าน�้ำมีความสะอาดเพียงพอ จะเห็นว่าในส่วนของบ่อเก็บเลนเป็นส่วนที่มีความ ส�ำคัญอย่างยิ่ง เนื่องจากมีความจ�ำเป็นและต้อง ใช้งานหนักตลอดเวลา จึงควรออกแบบให้มีพื้นที่ เพียงพอต่อการเก็บ และสามารถน�ำเลนที่เต็ม

78

ออกไปทิ้ง หรือบ�ำบัดได้ เพื่อน�ำไปใช้ประโยชน์ อย่างอื่น เช่น ไบโอแก๊ส ท�ำปุ๋ย ท�ำอีเอ็ม ฯลฯ เป็นต้น การบ�ำบัดน�ำ้ (Effluent Treatment Plant: ETP) (ดังแสดงในรูปที่ 12) ถ้าเป็นฟาร์มขนาด ใหญ่ และมีบ่อจ�ำนวนมาก สามารถใช้การบ�ำบัด ทางธรรมชาติแบบปล่อยให้เกิดการตกตะกอน ของสารอินทรีย์ เชื้อโรค และสปอร์ช้าๆ ไปตาม บ่ อ ที่ มี อ ยู ่ ม าก และเกิ ด การบ� ำบั ด สารอิ น ทรี ย ์ ไนโตรเจนด้วยตัวเอง (Self Nitrification) หรือ สามารถใช้การบ�ำบัดทางธรรมชาติช่วยด้วย เช่น การใช้ปลากินพืชในการเก็บกินตะกอน การใช้ จุลินทรีย์ย่อยสลายช่วยในการบ�ำบัดน�้ำ ฯลฯ เมื่อ ผ่านขั้นตอนการบ�ำบัดน�้ำ จนได้น�้ำที่สะอาดเพียง พอตามมาตรฐานของกรมควบคุมมลพิษแล้ว จึง จะสามารถปล่อยน�ำ้ เหล่านัน้ ออกสูค่ ลองสาธารณะ หรือแหล่งน�้ำธรรมชาติได้ หรืออาจจะพิจารณา น�ำน�้ำที่ผ่านการบ�ำบัดนี้กลับไปใช้หมุนเวียนเลี้ยง กุ้งในรอบต่อๆ ไป ก็สามารถท�ำได้ โดยอาจต้อง พิจารณาท�ำการเตรียมน�้ำ และปรับปรุงคุณภาพ น�้ำ รวมทั้งการฆ่าเชื้อโรคในน�้ำอย่างถูกต้องและ มีประสิทธิภาพอีกครั้ง แล้วจึงน�ำไปเก็บยังบ่อน�้ำ พร้อมใช้ต่อไป

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562


Around the World รูปที่ 12 หลักการทั่วไปในการจัดการน�้ำทิ้งมีทั้งหมด 6 ขั้นตอน (1) เริ่มโดยน�ำน�้ำทิ้งเข้าสู่ระบบบ�ำบัด (2) ผ่านการบ�ำบัดแบบเติมออกซิเจน หรือไม่เติมออกซิเจน (3) ต่อมาเข้าสู่กระบวนการตกตะกอน เพื่อให้ของเสียที่หลงเหลือตกตะกอนอีกครั้ง (4) รินน�้ำใสๆ ที่อยู่ด้านบนออกมาโดยไม่รบกวนตะกอน (5) จัดเก็บน�้ำ หรือพักน�้ำเพื่อตรวจสอบคุณภาพน�้ำให้ ได้มาตรฐานน�้ำทิ้ง (6) น�้ำที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพแล้ว สามารถทิ้งได้ หรือถ้าจะน�ำกลับมาใช้ ใหม่ต้องผ่าน กระบวนการฆ่าเชื้อและปรับปรุงคุณภาพน�้ำให้เหมาะสม ปลอดภัยต่อการเลี้ยงกุ้ง

จะเห็นว่าถึงเวลาแล้วที่ประเทศไทยต้องปรับระบบการเลี้ยงให้เหมาะสม และเป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม เพื่อให้การเลี้ยงกุ้งสามารถเป็นอาชีพที่ยั่งยืน ทั้งนี้เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งต้องพิจารณา ปรับเปลี่ยนระบบการเลี้ยงให้เหมาะสมต่อความสามารถและศักยภาพการผลิตของตัวเอง (Carrying Capacity) โดยต้องค�ำนึงถึงความยั่งยืน (Sustainability) เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Environmental Friendly) ต้องผลิตกุ้งที่มีคุณภาพดี สด สะอาด ไม่มีสาร/ยาตกค้าง มีการตรวจสอบย้อนกลับได้ (Traceability) และมีมาตรฐานการผลิตที่ผู้ซื้อต้องการ เช่น GAP ASC ฯลฯ เพื่อสามารถแข่งขันได้ ในตลาดโลก

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 189 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

79


ขอขอบคุณบริษัทที่ให้ความสนับสนุน และความร่วมมือในการจัดท�ำวารสารธุรกิจอาหารสัตว์

1 บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน) 2 บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) สมุทรปราการ 3 บริษัท กรุงไทยอาหาร จ�ำกัด (มหาชน) 4 บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จ�ำกัด 5 บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จ�ำกัด (มหาชน) 6 บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) สระบุรี 7 บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จ�ำกัด 8 บริษัท แลบอินเตอร์ จ�ำกัด 9 บริษัท ฮูเวฟาร์มา (ประเทศไทย) จ�ำกัด 10 บริษัท เออร์เบอร์ ไบโอเทค (ประเทศไทย) จ�ำกัด 11 บริษัท ยูนีโกรอินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด 12 บริษัท อดิสสิโอ เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด 13 บริษัท เกษตรภัณฑ์อุตสาหกรรม จ�ำกัด 14 บริษัท ไฟโตไบโอติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 15 ลา เมคคานิค่า เอส.อาร์.ดิเรฟโฟ 16 VNU Exhibition Asia Pacific Co.,Ltd.

โทร. 0-2833-8000 โทร. 0-2680-4580 โทร. 0-2473-8000 โทร. 0-2814-3480 โทร. 0-2632-7232 โทร. 0-2680-4500 โทร. 0-2194-5678-96 โทร. 0-3488-6140-48 โทร. 0-2937-4355 โทร. 0-2993-7500 โทร. 0-3430-5101-3 โทร. 0-2681-1329 โทร. 0-2817-6410 โทร. 0-2694-2498 โทร. 098-248-9771 โทร. 02-670-0900 Ext. 113




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.