Aw 177 p01 98 pages for web ver8

Page 1



รายนามสมาชิก

สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26.

บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จำ�กัด บริษัท แหลมทองสหการ จำ�กัด บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำ�กัด บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จำ�กัด บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำ�กัด (มหาชน) บริษัท กรุงไทยอาหาร จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท คาร์กิลล์สยาม จำ�กัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จำ�กัด บริษัท ฟีดสเปเชียลตี้ จำ�กัด บริษัท โกรเบสท์คอร์โพเรชั่น จำ�กัด บริษัท เอเชี่ยน ฟีด จำ�กัด บริษัท ไทยลักซ์เอ็นเตอร์ไพรส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท อาหารสัตว์ไทยสระบุรี จำ�กัด บริษัท เบทาโกร จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำ�กัด บริษัท คาร์กิลล์มีทส์ (ไทยแลนด์) จำ�กัด บริษัท ยูไนเต็ดฟีดมิลล์ จำ�กัด บริษัท มิตรภาพอาหารสัตว์ จำ�กัด บริษัท เหรียญทอง ฟีด (1992) จำ�กัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จำ�กัด บริษัท อาหารสัตว์ไทยสวนหลวง จำ�กัด บริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จำ�กัด บริษัท อีสเทิร์น ฟีดมิลล์ จำ�กัด บริษัท ซันฟีด จำ�กัด

27. 28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42. 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51. 52.

บริษัท ยูนีโกร อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด บริษัท พนัสโภคภัณฑ์ จำ�กัด บริษัท ยู่สูง จำ�กัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จำ�กัด บริษัท บางกอกแร้นซ์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท กาญจนาอาหารสัตว์ จำ�กัด บริษัท ก้าวหน้าอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ จำ�กัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำ�กัด (มหาชน) บริษัท วี.ซี.เอฟ. กรุ๊ป จำ�กัด บริษัท ชัยภูมิฟาร์มผลิตภัณฑ์การเกษตร จำ�กัด บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จำ�กัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จำ�กัด บริษัท บุญพิศาล จำ�กัด บริษัท เฮกซ่าแคลไซเนชั่น จำ�กัด บริษัท หนองบัว ฟีด มิลล์ จำ�กัด บริษัท ไทย ฟู้ดส์ อาหารสัตว์ จำ�กัด บริษัท โกลด์ คอยน์ สเปเชียลิตี้ส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท วีพีเอฟ กรุ๊ป (1973) จำ�กัด บริษัท อาร์ที อะกริเทค จำ�กัด บริษัท ฟาร์มจงเจริญ จำ�กัด บริษัท เจบีเอฟ จำ�กัด บริษัท อินเว (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท ทีอาร์เอฟ ฟีดมิลล์ จำ�กัด บริษัท บีอาร์เอฟ ฟีด (ไทยแลนด์) จำ�กัด บริษัท เกษมชัยฟาร์มอาหารสัตว์ จำ�กัด บริษัท พนัส ฟีดมิลล์ จ�ำกัด

ิภ ัน น

ร า ก นา


คณะกรรมการบริหาร สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ประจำ�ปี 2560-2561

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17.

นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายชยานนท์ กฤตยาเชวง นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ นายไพศาล เครือวงศ์วานิช นางเบญจพร สังหิตกุล นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ นางสาวสุวรรณี แต้ไพสิฐพงษ์ นายสมภพ เอื้อทรงธรรม นายโดม มีกุล นายวิโรจน์ กอเจริญรัตน์ นายเธียรเทพ ศิริชยาพร นายวิชัย คณาธนะวนิชย์ นายวิศิษฐ คณาธนะวนิชย์ นายสุจิน ศิริมงคลเกษม นางสาวนลิน เหล่าวรวิทย์ นายสุทธิชัย ศักดิ์ชัยเจริญกุล นายจำ�ลอง เติมกลิ่นจันทน์

นายกสมาคม อุปนายก อุปนายก อุปนายก เหรัญญิกสมาคม เลขาธิการ รองเลขาธิการ รองเลขาธิการ ประชาสัมพันธ์ ปฏิคม นายทะเบียน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกร จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จำ�กัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกรโฮลดิ้ง จำ�กัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จำ�กัด บริษัท อาหารสัตว์ไทยสระบุรี จำ�กัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จำ�กัด บริษัท อาหารสัตว์ไทยสวนหลวง จำ�กัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จำ�กัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จำ�กัด บริษัท กรุงไทยอาหาร จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำ�กัด บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำ�กัด บริษัท ซันฟีด จำ�กัด


บรรณาธิการ แถลง นโยบายกากถั่วเหลืองเป็นนโยบายที่ต้องลุ้นกันทุกปี ท�ำให้การวางแผนการผลิต การน�ำเข้าการสต็อกวัตถุดิบ ไม่มีความราบรื่น ต้องหยุดชะงักช่วงรอยต่อของปี เพราะ จะต้องรอการออกประกาศอย่างเป็นทางการจากหลายหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ทัง้ กระทรวง พาณิชย์ กระทรวงการคลัง เพราะการวางแผนการสัง่ ซือ้ การเดินทางของเรือไม่มคี วาม แน่นอน อาจจะต้องมีอปุ สรรคของสภาพอากาศ เรือเดินทางเข้าประเทศช่วงทีร่ ะยะเวลา เกินกว่าทีก่ ำ� หนดไว้ ก็จะผิดระเบียบการน�ำเข้า วัตถุดบิ ในการผลิตอาหารเพือ่ เลีย้ งสัตว์ ก็จะเกิดความขาดแคลน และหากจะน�ำเข้ามามากในช่วงเวลาใดเวลาหนึง่ ก็จะเป็นการ เพิ่มภาระในการจัดเก็บ ทั้งต้นทุน และคุณภาพสินค้า ปัญหาเหล่านี้ คณะกรรมการ นโยบายอาหารและคณะกรรมการพืชน�้ำมันและน�้ำมันพืช รวมทั้งกรมศุลกากร ได้รับรู้ ปัญหาและปรับวิธีการออกระเบียบได้ดีในระดับหนึ่งแล้ว แต่คงด้วยเงื่อนเวลาในการ จัดเวลาการประชุมคณะรัฐมนตรีที่มีระบียบวาระที่มากมายที่มารอการน�ำเสนอเพื่อ พิจารณา รวมทัง้ การปรับเปลีย่ นรัฐมนตรีทดี่ แู ลกระทรวงทีเ่ กีย่ วข้อง จึงเป็นทีม่ าว่า ปีนี้ คงต้องลุ้นกันวินาทีสุดท้ายก่อนที่จะส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ ด้วยความสุข ส�ำราญใจ ภาคปศุสัตว์ ยังต้องแบกภาระของต้นทุนที่สูงขึ้น ทั้งข้าวโพด ที่พ่อค้าพยายาม สร้างเงื่อนไขให้เป็นอุปสรรคและภาระที่หนักหนาในการที่จะต้องหาซื้อข้าวโพดให้ได้มาใช้ ในการเลีย้ งสัตว์ และวัตถุดบิ อืน่ ๆ ก็สงู ขึน้ ทุกตัว ขณะทีป่ ริมาณสัตว์กม็ มี าก ราคาเนือ้ สัตว์ ก็ถกู ลง ก�ำลังซือ้ ก็นอ้ ยลง คนเลีย้ งขาดทุนจะกระทบย้อนกลับไปหาเกษตรกรชาวไร่ชาวนา ในที่สุด รัฐบาลต้องแก้ไขปัญหาด้วยความรวดเร็วและถูกต้อง เอาใจทุกฝ่ายซึ่งเป็นเรื่อง ที่ยากมาก แต่ก็เป็นจังหวะเวลาที่ดีที่รัฐบาลจะสามารถท�ำได้อย่างดีแท้แน่นอน ขอ เอาใจช่วย บก.


ธุรกิจอาหารสัตว์

วารสาร

ปีที่ 34  เล่มที่ 177  ประจำ�เดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม 2560 วัตถุประสงค์

Contents

1. เพื่อส่งเสริมความรู้และเผยแพร่อุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ 2. เพื่อเป็นสื่อกลางระหว่างสมาชิกและผู้ที่เกี่ยวข้องทั่วไป 3. เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ของประเทศให้เจริญรุ่งเรืองในแนวทาง ที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิ จของชาติ 4. ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง

Thailand Focus แผนยุทธศาสตร์การจัดการ การดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564..................................................................5 กรมปศุสัตว์แนะระเบียบ สัตวแพทย์ควบคุมฟาร์ม 2560..................................................................................................... 8 กูรูแนะ  รักษาคุณภาพและมาตรฐาน สร้างความยั่งยืนเนื้อสัตว์ไทย.................................................................................... 12 ถกปมขึ้นภาษีข้าวสาลี 27% วุ่น รัฐหวั่นกระทบต้นทุนผลิต-ส่งออกพุ่ง................................................................................ 17

Food Feed Fuel

สถานการณ์ ถั่วเหลือง........................................................................................................................................................ 20 สถานการณ์ กากถั่วเหลือง.................................................................................................................................................. 23 สถานการณ์ ไก่เนื้อ............................................................................................................................................................. 26 สถานการณ์ ไก่ไข่.............................................................................................................................................................. 28 สถานการณ์ สุกร................................................................................................................................................................ 30 สถานการณ์ กุ้ง.................................................................................................................................................................. 33

Market Leader

เคาะสินเชื่อเก็บข้าวโพด ป้องกันผลผลิตล้นตลาด............................................................................................................... 35 นครสวรรค์รับสมัครชาวนา ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ - พืชไร่ แทนนาปรัง รับเงินสนับสนุนไร่ละ 2 พันบาท........................... 36 ครม. ไฟเขียวงบ 45 ล้านบาท ช่วยเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปี 60/61.................................................................37 พาณิชย์เปิดยื่นคำ�ขอ รับการจัดสรรนำ�เข้าสินค้ากากถั่วเหลือง8������������������������������������������������������������������������������������������� 38 เผย 'โคเด็กซ์' บีบนำ�เข้าหมูมะกัน 'ฉัตรชัย' ถามข้อเท็จจริงกลาง ครม. หวั่นกระทบ4��������������������������������������������������������� 40 กรมการข้าว สนองนโยบาย แปลงสาธิตนาแปลงใหญ่ 4.0 ดึงเทคโนโลยีและเครื่องจักรกลบริหารจัดการแปลงแทนแรงงานคน นำ�ร่องที่สุพรรณบุรี4����������������������������������������������� 42 มั่นใจอุตสาหกรรมประมงไทย ผ่านระบบตรวจสอบย้อนกลับ.............................................................................................. 43 ปศุสัตว์แนะ ดูแลสุขภาพสัตว์ ยกระดับมาตรฐานเลี้ยงสัตว์ปีก............................................................................................. 46 กรมประมง ปกป้องอุตฯ กุ้งแข็งขัน ออกมาตรการเข้ม หวั่นโรคร้ายไอเอ็มเอ็น เข้าประเทศ.................................................47 ทำ�ความรู้จัก โรคไอเอ็มเอ็น5���������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������� 52 ขับเคลื่อนสู่อนาคตทางเศรษฐกิจด้านแหล่งอาหารโปรตีนในภูมิภาคเอเชีย........................................................................... 55

Around The World สหรัฐฯ ส่งออกเนื้อหมูแนวโน้มดีขึ้น.................................................................................................................................. 60 เวียดนาม ประกาศ เลิกแบนไก่ + ไข่เกาหลีใต้......................................................................................................................61 ฮ่องกง ยกเลิกแบน ไก่ - ไข่ เกาหลี...................................................................................................................................... 62 ญี่ปุ่นเลิกแบน ฟัวกราส์จากฝรั่งเศส เหตุเคลียร์ไข้หวัดนก................................................................................................... 63 จีน สนับสนุนยกระดับสวัสดิภาพสัตว์ระดับฟาร์ม................................................................................................................ 64 มะกัน พบโรคตายด่วนในฟาร์มกุ้งยังไม่แถลงวิธีป้องกัน...................................................................................................... 65 ไข่เกาหลีใต้ราคาลดลง หลังฝ่าวิกฤติไข้หวัดนก และไข่ปนเปื้อน.......................................................................................... 66 EU ใบเหลืองเวียดนาม เหตุท�ำประมงผิดกฎหมาย............................................................................................................. 67 เวียดนาม เตรียมแบนเนื้อสุกรไม่ติด QR code................................................................................................................... 68 เวียดนามตั้งเป้า ส่งออกเนื้อไก่ไป EU................................................................................................................................ 69 ฮ่องกง สั่งแบนไก่จากอิตาลี เหตุไข้หวัดนก.........................................................................................................................70 ตารางสถิต.ิ ......................................................................................................................................................................... 71 ขอบคุณ............................................................................................................................................................................. 80   ดำ�เนินการโดย : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย   : นายประเสริฐ พุ่งกุมาร     รองประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายวีรชัย รัตนบานชื่น  นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล     กรรมการที่ปรึกษา : นายสมชาย กังสมุทร  นายพงษ์ เหล่าวรวิทย์  นายประสิทธิ์ ศิริมงคลเกษม  นายอดิเรก ศรีประทักษ์  นายนิพนธ์ ลีละศิธร นางเบญจพร สังหิตกุล  นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง  นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์  นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์     บรรณาธิการ : นายปรีชา กันทรากรกิต ิ    กองบรรณาธิการ : นายไพบูลย์ ขุนทอง  นายอรรถพล ชินภูวดล  นางสาวปัทมา ศรีเที่ยงตรง  นางสาวกรดา พูลพิเศษ  นายธีรพงษ์ ศิริวิทย์ภักดีกุล  

   ประธานกรรมการที่ ป รึ ก ษา

สำ�นักงาน : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 43 ไทย ซีซี ทาวเวอร์ ห้อง 170 ชั้น 17 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2675-6263-4   โทรสาร 0-2675-6265   Email: tfma44@yahoo.com   Website: www.thaifeedmill.com




Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

แผนยุทธศาสตร์การจัดการ

การดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564 เชื้อดื้อยา มหันตภัยคุกคามศตวรรษที่ 21 องค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุว่า ขณะนี้ โลกก�ำลังเผชิญกับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ นั่นคือ เชื้อดื้อยา ซึ่งคร่าชีวิตประชากรในแต่ละปีสูงถึง 700,000 คน และหากไม่เร่งแก้ไขปัญหา คาดว่า ใน พ.ศ. 2593 การเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยาจะสูงถึง 10 ล้านคน ประเทศในทวีปเอเชีย จะมีคนเสียชีวิต มากทีส่ ดุ คือ 4.7 ล้านคน คิดเป็นผลกระทบทางเศรษฐกิจสูงถึงประมาณ 3.5 พันล้านล้านบาท ส�ำหรับ ประเทศไทย การศึกษาเบื้องต้นพบว่า มีการเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยาประมาณปีละ 30,000 คน คิดเป็น การสูญเสียทางเศรษฐกิจโดยรวมสูงถึง 4.2 หมื่นล้านบาท ยุคก่อนยาปฏิชีวนะ (pre-antibiotic era) 90 ปีก่อน มนุษย์ยังไม่รู้จักยาปฏิชีวนะ ทุกครั้งเมื่อเกิดโรคระบาด โอกาสตายจึงมากกว่าหาย ยุคยาปฏิชีวนะ (antibiotic era) ในปี พ.ศ. 2471 มีการค้นพบยาเพนนิซิลลิน ซึ่งเป็นยาปฏิชีวนะชนิดแรก ต่อมามนุษย์สามารถผลิตยาปฏิชีวนะได้มากขึ้น ก็ชะล่าใจว่า โรคติดเชื้อจะไม่เป็นปัญหาสุขภาพ อีกต่อไป แต่หารู้ไม่ว่า แบคทีเรียสามารถพัฒนาตนเองให้ดื้อต่อยาได้ทุกชนิด ยุคหลังยาปฏิชีวนะ (post-antibiotic era) โลกก�ำลังเผชิญกับเชื้อดื้อยาที่ท�ำให้การติดเชื้อแบคทีเรียเพียงเล็กน้อย ก็อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้

5


Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

แผนยุทธศาสตร์การจัดการ

การดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560 - 2564 ยุทธศาสตร์ 6 ด้าน

1. เฝ้าระวังการดื้อยาต้านจุลชีพ ภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว เพื่อตรวจจับเชื้อดื้อยา และป้องกันการระบาดทั้งในคน สัตว์ สิ่งแวดล้อม แจ้งเตือนการ ระบาดได้อย่างทันท่วงที

2. ควบคุมการกระจายยาต้านจุลชีพ สร้างและพัฒนาระบบควบคุมและติดตามการกระจายยาต้านจุลชีพแบบบูรณาการ ทั้งยา ส�ำหรับมนุษย์ และสัตว์ ร่วมกับมาตรการทางกฎหมาย

3. ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในสถานพยาบาล และควบคุมการใช้ยาต้านจุลชีพ อย่างเหมาะสม เน้นการท�ำงานแบบบูรณาการของบุคลากรทางการแพทย์ และควบคุมการใช้ยา ทั้งใน สถานพยาบาล และร้านยา

4. ป้องกันและควบคุมเชื้อดื้อยา และควบคุมก�ำกับดูแลการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม ในภาคการเกษตรและสัตว์เลี้ยง เน้นการเฝ้าระวังและควบคุมการใช้ยาต้านจุลชีพในสัตว์เพื่อการบริโภค สัตว์เลี้ยง และพืช พร้อมสร้างองค์ความรู้ให้เกษตรกรเพื่อลดการใช้ยาในกระบวนการผลิต

5. ส่งเสริมความรู้ด้านเชื้อดื้อยา และความตระหนักด้านการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม แก่ประชาชน สือ่ สารไปยังประชาชนกลุม่ ต่างๆ ให้รเู้ ท่าทันอันตรายจากเชือ้ ดือ้ ยา และเข้าใจว่ายาปฏิชวี นะ ไม่ใช่ยาแก้อักเสบ ห้ามใช้อย่างพร�่ำเพรื่อ

6. บริหาร และพัฒนากลไกระดับนโยบาย เพื่อขับเคลื่อนงานแก้ปัญหาด้านการดื้อยา ต้านจุลชีพอย่างยั่งยืน เน้นการขับเคลื่อน ติดตาม และประเมินผลการด�ำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ ส่งเสริม การวิจัย และการท�ำงานร่วมกับต่างประเทศ เพื่อให้การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาของประเทศ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และยั่งยืน

6


Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

ยุทธศาสตร์ 6 ข้อ น�ำไปสู่ เป้าหมาย 5 ข้อ 1. การป่วยจากเชื้อดื้อยา ลดลงร้อยละ 50 2. การใช้ยาต้านจุลชีพส�ำหรับมนุษย์ ลดลงร้อยละ 20 3. การใช้ยาต้านจุลชีพส�ำหรับสัตว์ ลดลงร้อยละ 30 4. ประชาชนมีความรู้เรื่องเชื้อดื้อยา และตระหนักในการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 5. ประเทศไทยมีระบบการจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพที่มีสมรรถนะตามเกณฑ์สากล

การทำ�งานตามแผนยุทธศาสตร์ ตั้งอยู่บนหลักการ 3 ข้อ 1) เน้นลงมือท�ำ และวัดผลได้ (action-oriented strategy) 2) เน้นการท�ำงานร่วมกันอย่างบูรณาการและเสริมพลัง (synergized and orchestrated strategy)

3) เน้นกระตุน้ ให้เกิดความมุง่ มัน่ ทางการเมือง (political commitment) ซึง่ เป็นหัวใจส�ำคัญ ในการน�ำสูก่ ารจัดการปัญหา และการจัดสรรทรัพยากรอย่างเหมาะสม เพือ่ ให้การจัดการ การดื้อยาต้านจุลชีพของประเทศมีประสิทธิภาพ และยั่งยืน

กล่าวได้ว่า แผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560 - 2564 เป็นยุทธศาสตร์ฉบับแรกของประเทศไทย ทีเ่ น้นการแก้ไขปัญหาการดือ้ ยาต้านจุลชีพเป็นการเฉพาะ โดย มีการวางเป้าหมายที่ชัดเจน และวัดผลได้ และมีกรอบในการจัดการกับปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพ อย่างบูรณาการ เป็นการตอบสนองต่อสถานการณ์ปญ ั หาและนโยบายของประเทศอย่างเป็นระบบ และ เน้นการด�ำเนินการอย่างมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนภายใต้แนวคิด

‘สุขภาพหนึ่งเดียว’ (One Health) อีกทั้งยังเป็นการแสดงความมุ่งมั่นของประเทศไทย ในการร่วมแก้ ไขปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพกับนานาประเทศทั่วโลก

7


Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

กรมปศุสัตว์แนะระเบียบ

สัตวแพทย์ควบคุมฟาร์ม 2560 บริ ษั ท ฮู เ วฟาร์ ม า (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด จั ด สั ม มนา “ลึ ก แต่ ไม่ลับ” เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2560 ณ โรงแรมไมด้า แอร์พอร์ท กรุงเทพฯ (ดอนเมือง) โดยได้รบั เกียรติจาก นายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ ผอ.ส�ำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์ กล่าวเปิดงาน พร้อมบรรยายต่อในหัวข้อ ระเบียบกรมปศุสัตว์ สัตวแพทย์ ควบคุมฟาร์ม 2560 ร่วมด้วย สัตวแพทย์หญิงอัญญารัตน์ ราชประโคน นายสัตวแพทย์ช� ำนาญการ หัวหน้าฝ่ายรับรองมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์ กรมปศุสัตว์ นายสัตวแพทย์สมชวน เริ่มต้นด้วยการเล่าถึงประสบการณ์ของตนเองในการ ท�ำงานในห้องแล็ปที่ผ่านมา ซึ่งการท�ำงานส่วนนั้น ท�ำให้วันนี้รู้ถึงความส�ำคัญว่า เป็นอย่างไรเมื่อมายืนอยู่ตรงนี้ โดยกล่าวว่า จากเดิมที่เป็นคนไม่ชอบการท�ำงาน ในแล็ป แต่พอได้เข้ามาท�ำงาน ได้คลุกคลีอยูก่ บั แล็ปทุกวัน ก็ทำ� ให้รวู้ า่ แล็ปนัน้ มีความ ส�ำคัญมากในการท�ำงานด้านปศุสัตว์ เพราะโรคบางโรค อาการบางอาการ ไม่สามารถมองเห็นได้ ด้วยตาเปล่า หรือถ้าสามารถวินจิ ฉัยได้กไ็ ม่แม่นย�ำเท่ากับการน�ำเข้าห้องแล็ป ซึง่ เป็นการลดข้อผิดพลาด ในการวินิจฉัย หรืออาจจะเรียกได้ว่า แทบจะไม่มีข้อผิดพลาดในการวินิจฉัยโรคต่างๆ ได้เลย เมื่อเรา รู้ว่าสัตว์นั้นเกิดจากโรคอะไร ก็จะท�ำให้เรารักษา หรือป้องกันได้อย่างแม่นย�ำ ท�ำให้เกิดข้อเสียหาย ได้น้อยลง ดังนั้น ส่วนตัวจึงให้ความส�ำคัญกับแล็ปพอสมควร ที่มา : สาส์นไก่ & สุกร ปีที่ 15 ฉบับที่ 175 เดือนตุลาคม 2560

8


Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

จนกระทั่ง ได้ย้ายเข้ามาประจ�ำที่ส�ำนัก พัฒนาระบบ ก็ถือว่าเป็นความท้าทายไปอีกขั้น หนึ่ง เพราะไม่ได้อยู่แค่กับโรคสัตว์ อยู่กับการ วิ นิ จ ฉั ย โรค รั ก ษาโรคกั บ แก้ ป ั ญ หาเรื่ อ งโรค ควบคุมโรคเท่านัน้ แต่ยงั มีเรือ่ งอืน่ ๆ ทีต่ อ้ งเข้าไปดู ซึ่งโดยหลักๆ ก็จะมีอยู่ 2 เรื่อง คือ การส่งออก กั บ เรื่ อ งของฟู ้ ด เซฟตี้ ใ นประเทศ ยอมรั บ ว่ า ในช่วงทีเ่ ข้ามาใหม่ๆ นัน้ ยังไม่รเู้ รือ่ งอะไรมากนัก แต่ด้วยความที่ได้ท�ำงานเกี่ยวกับแล็ปมา จึงน�ำมา ใช้ประโยชน์ในการท�ำงานได้พอสมควร โดยการ อาศัยหลักทางแล็ป และนักวิชาการ ซึง่ นักวิชาการ จากที่สังเกตจะเห็นว่า จะมีการท�ำงานอย่างมี ระเบียบ มีระบบ ก็ทำ� ให้การท�ำงานง่ายขึ้น

นอกจากนี้ ในผู้ประกอบการบางราย ยัง ใช้ ป ระโยชน์ จ ากสั ต วแพทย์ ด ้ ว ยการควบคุ ม สัตวแพทย์อีกที กล่าวคือ จ้างสัตวแพทย์มาเซ็น รับรองในการปฏิบัติงานให้เท่านั้น แต่สัตวแพทย์ ไม่มีสิทธิ์ที่จะควบคุมดูแลฟาร์มได้จริง นอกจากนี้ ก็ยังมีสัตวแพทย์บางราย ใช้หน้าที่ของตัวเองเพื่อ หาผลประโยชน์ให้กบั ตัวเอง กล่าวคือ ตัวเองไม่ได้ ท�ำงานจริง แต่รบั เซ็นรับรองให้กบั ฟาร์มต่างๆ เมือ่ เช็คข้อมูล จะเห็นว่าสัตวแพทย์บางรายมีชอื่ ขึน้ อยู่ ในหลายๆ ฟาร์ม ด้วยปัญหาต่างๆ ทีพ่ บ ทางกรม ปศุสัตว์ได้มีความพยายามแก้ปัญหามาโดยตลอด จนในที่สุดเราก็ได้ทางออกด้วยการท�ำโปรแกรมๆ หนึ่งขึ้นมา

อย่างไรก็ตาม การท�ำงานต่างๆ ไม่ว่าจะมี ระบบระเบียบอย่างไร ก็ย่อมสามารถเกิดปัญหา ได้ตลอดเวลา ซึง่ เราก็ตอ้ งเตรียมพร้อมทีจ่ ะรับมือ และหาทางแก้ปญ ั หาทีจ่ ะเกิดขึน้ ให้ได้ เพือ่ เป็นการ สร้ า งความเชื่ อ มั่ น และพั ฒ นาให้ ภ าพรวมของ ประเทศสามารถเดินไปได้ ดังนั้น งานที่ทำ� ก็จะมี หลายๆ ด้าน รวมถึงการดูแลสัตวแพทย์ด้วย ซึ่ง สัตวแพทย์ก็ถือว่ามีความส�ำคัญไม่น้อยในการ ท�ำฟาร์มปศุสัตว์ เพราะจะต้องมีสัตวแพทย์คอย ควบคุมดูแลฟาร์มให้ปฏิบัติตามข้อก�ำหนด ข้อ บังคับต่างๆ ให้เป็นไปตามกฎหมาย และความ ถูกต้องยุติธรรม

โดยโปรแกรมนี้จะสามารถบันทึกประวัติ ฟาร์ม และจะรูไ้ ด้หมดว่า ฟาร์มมาตรฐานอยูท่ ไี่ หน ใครเป็นสัตวแพทย์ควบคุมฟาร์ม ฐานข้อมูลตรงนี้ จะเป็นข้อมูลดิจติ อล รวมถึงประวัตกิ ารท�ำงาน และ การเข้ารับการอบรมของสัตวแพทย์ ซึง่ สัตวแพทย์ จะสามารถเข้าไปเช็คประวัติของตัวเองได้ แต่ไม่ สามารถเช็คของคนได้ ซึง่ ก็จะท�ำให้ทางหน่วยงาน สามารถตรวจสอบได้ง่ายขึ้นนั่นเอง และเพื่อให้ สัตวแพทย์ด�ำเนินงานเป็นไปตามมาตรฐาน และ เพื่อยกระดับมาตรฐานฟาร์ม สร้างความเชื่อมั่น ให้กับผู้บริโภค นอกจากนี้ เราก็มีโปรแกรมที่จะ พัฒนาไปถึงขั้นการรับรู้ข้อมูลในการสั่งยา หรือ การใส่วัคซีนต่างๆ ด้วย

เดิมทีจะมีการดูแลด้วย หากใครจะเป็น สัตวแพทย์ควบคุมได้ จะต้องผ่านการอบรมจาก กรมปศุสตั ว์กอ่ น ถึงจะได้รบั การรับรอง แต่ภายหลัง พบปัญหา เนื่องจากหลังที่ได้รับการรับรองไปแล้ว เมื่อไปท�ำงานจริงกลับไม่ค่อยน�ำเอาสิ่งที่อบรมไป ใช้ให้เกิดประโยชน์ ท�ำให้เกษตรกรมองว่า กรม ปศุสัตว์ไม่มีมาตรฐานจริง จนในที่สุดก็ขาดความ เชื่อมั่นที่มีต่อกรมปศุสัตว์

ทั้ ง นี้ ส ่ ว นหนึ่ ง ก็ อ ย่ า งที่ ก ล่ า วมาคื อ เพื่ อ สร้างมาตรฐานให้เกิดขึ้นจริง ซึ่งจากข้อมูลนั้น ในไก่เนื้ออาจจะไม่ค่อยมีปัญหามากนัก แต่ที่พบ ปัญหามากก็จะเป็นในส่วนของสุกร ดังนั้น เมื่อ น�ำโปรแกรมตัวนี้เข้ามาใช้ก็คิดว่าน่าจะสามารถ แก้ปัญหาได้ในระดับหนึ่ง ก็จะเป็นการยกระดับ มาตรฐาน เพราะโปรแกรมดังกล่าวจะสามารถ

9


Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

ตรวจเช็คได้ครอบคลุม ทั้งในส่วนของฟาร์ม และ สัตวแพทย์ควบคุมฟาร์ม ดังนั้น การด�ำเนินงาน ของฟาร์มเพื่อความถูกต้อง ก็ต้องท�ำงานตาม ค�ำแนะน�ำของสัตวแพทย์ สัตวแพทย์เองก็ต้อง ท�ำงานให้เป็นไปตามความถูกต้อง ก็จะเป็นการ ยกระดับความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคได้ เพราะฉะนั้น สัตวแพทย์ควบคุมฟาร์มจะ ต้องท�ำตามกฎหมาย และท�ำตาม พ.ร.บ. วิชาชีพ ของท่าน ซึง่ ก็อยากให้ทา่ นดูแลตัวเองอยู่ 2 ประเด็น หลักๆ คือ ตามกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง ในระดับฟาร์ม ก็มีเรื่องของ พ.ร.บ. อาหารสัตว์ และเรื่องของยา กฎหมายที่ 2 คือ เรื่องของ พ.ร.บ. โรคระบาด สัตว์ ซึ่งถ้าหากท่านไม่ท�ำผิด ท่านก็ไม่จ�ำเป็นต้อง รับผิดชอบ ดังนั้น ก็ต้องท�ำตามกฎหมายพวกนี้ เพื่อที่ จะได้ไม่ตอ้ งมีปญ ั หากับตัวเราเอง เพราะมันไม่คมุ้ ถ้าเราไปเซ็นให้เขา เพือ่ ให้เขาท�ำผิดได้งา่ ย เมือ่ ถูก จับได้ ตัวท่านเองก็จะโดนจับไปด้วย อย่างไรก็ตาม จริงๆ แล้ว เราก็อยากให้ทางสมาคมเป็นกลไก และคอยดูแลสมาชิก ซึ่งอาจจะมีส่วนร่วมในการ ตรวจรับรองมาตรฐานฟาร์ม แต่ก่อนจะถึงวันนั้น พวกเราต้องเข้มแข็งก่อน เมื่อเข้มแข็งแล้ว เรา ก็จะผลักดันให้ดูแลกันเอง เราอยากให้สมาชิก สัตวแพทย์ควบคุมฟาร์มมีความเติบโตก้าวหน้า ในทางวิชาชีพของตัวเอง ถ้าเติบโตไปแล้วก็ควรจะ ไปบวกกับรายได้ทเี่ ราควรจะได้รบั ไม่ใช่แค่คา่ จ้าง ให้มาเซ็น ถ้าไม่เซ็นก็จะจ้างคนใหม่มา ไม่อยาก ให้เป็นอย่างนั้น อีกด้านหนึง่ กรมปศุสตั ว์กจ็ ะมุง่ เน้นกดดัน ฟาร์ม ให้ฟาร์มเชื่อฟังสัตวแพทย์ เพื่อให้การ ด�ำเนินงานเป็นไปอย่างถูกต้อง ดังนั้น ก็อยากจะ ฝากไว้ว่า เราอย่าไปท�ำผิดเอง ถ้าพวกเราท�ำถูก

10

หมด ถูกขั้นตอน ถูกระเบียบ ไม่ผิด แล้วฟาร์ม ท�ำผิดเอง ฟาร์มก็จะโดนลงโทษ เช่น อาจจะถอน มาตรฐานฟาร์ม พักใช้มาตรฐานฟาร์ม ถ้าผิด กฎหมาย ซึ่งตามกฎหมายคดีอาญา แจ้งความ ด�ำเนินคดีฟาร์ม แต่ถา้ ท่านท�ำผิดด้วย กรมปศุสตั ว์ ก็จะส่งไปสัตวแพทยสภา ไปสอบจรรยาบรรณ และถ้าหลักฐานชัดเจนว่า ท่านเป็นผูแ้ นะน�ำกระท�ำ ผิด เช่น น�ำสารเร่งเนื้อแดงมาขายให้กับฟาร์ม เป็นต้น ท่านก็จะโดนแจ้งความจับถูกด�ำเนินคดีดว้ ย ซึ่งรูปแบบท�ำงานจะเป็นแบบนี้ สุ ด ท้ า ยนี้ อยากให้ สั ต วแพทย์ ค วบคุ ม ฟาร์ม ขอให้มนั่ ใจ รักอาชีพ รักศักดิศ์ รี ท�ำวิชาชีพ ของพวกเราให้เป็นที่ยอมรับ ให้คนยอมรับ พวก เราก็ต้องร่วมมือกับกรมปศุสัตว์ในฐานะที่เป็น หน่วยงานที่ดูแลเรื่องกฎหมายต่างๆ และใช่จะ ดูแค่ฟาร์มใหญ่ๆ เท่านั้น อยากให้มองถึงฟาร์ม รายย่อยด้วย เราจะช่วยกันดูแลยังไงให้สามารถ เดินไปด้วยกันได้ เพราะเราลงเรือล�ำเดียวกันแล้ว ก็อยากให้เดินไปด้วยกัน ถ้าส่วนใดส่วนหนึง่ ล้ม ก็ ส่งผลกระทบต่อภาพรวมได้ สัตวแพทย์หญิงอัญญารัตน์ กล่ า วเพิ่ ม เติ ม ในส่ ว นของ ระเบียบใหม่ที่จะน�ำมาใช้เป็น กฎระเบี ย บในการดู แ ลสั ต วแพทย์ควบคุมฟาร์ม ว่า กฎระเบียบใหม่นี้ จะมี ผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 2 ตุลาคม 2560 โดยมี ใจความส�ำคัญหลักๆ ดังนี้ คือ จากเดิมผูท้ จี่ บใหม่ มีใบประกอบวิชาชีพ สามารถไปรักษาสัตว์ได้ เปิด คลินกิ ได้ แต่ไม่สามารถไปดูแล หรือควบคุมได้ ซึง่ ถ้าหากจะเข้าไปในฟาร์ม เป็นสัตวแพทย์ควบคุม ฟาร์ม จะต้องผ่านการอบรมจากทางกรมปศุสัตว์ และได้รับใบรับรองจากกรมปศุสัตว์ก่อน ถึงจะ สามารถเข้าไปดูแลฟาร์มได้


Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

แต่อย่างไรก็ดี คุณสมบัติที่ระบุขึ้นมาใหม่นั้น ไม่ต้องผ่านการ อบรมก่อน ก็สามารถควบคุมฟาร์มได้เลย เพียงแค่มใี บประกอบโรคศิลป์ แล้วก็เป็นสัตวแพทย์กส็ ามารถเข้าไปยืน่ ทีก่ รมปศุสตั ว์ได้เลย โดยทีไ่ ป ยื่นที่ฝ่ายทะเบียบของกรมปศุสัตว์ แล้วกรมฯ ก็จะน�ำเสนอ แล้วออก ใบรับรองสัตวแพทย์ได้เลย แต่มีเงื่อนไขว่า ภายใน 1 ปี จะต้องมีการ มาอบรมตามหลักสูตรของคณะกรรมการฝึกอบรมที่รับรองไว้ 1 ครั้ง โดยคณะกรรมการก็จะประกอบไปด้วยสมาคม อาจารย์มหาวิทยาลัย และกรมปศุสัตว์ สัตวแพทยสภาที่จะเข้ามาดูแลหลักสูตร เราก็จะท�ำ เมนูหลักสูตรต่างๆ ไว้ แล้วสมาคม หรือมหาวิทยาลัย สัตวแพทยสภา กรมปศุสัตว์ ท�ำการจัดอบรมเท่านั้น จะไม่อนุญาตให้บริษัทอบรม ทางเราจะไม่รับรอง เราจะรับรองจากองค์กรที่เป็นมหาวิทยาลัย หรือ สมาคมเท่านั้น ประเด็นที่สองคือ จากเดิม ใบรับรองของสัตวแพทย์มีอายุ 3 ปี จะเปลี่ยนไปเป็น 5 ปี ซึ่งภายใน 5 ปีนี้ จะต้องเข้ารับการอบรม ทุกปี โดยจะมีการอบรมใหญ่ 2 ปี คือ ภายในปีแรก และปีที่ 5 ส่วน อีก 3 ครั้ง จะเป็นการอบรมเล็กๆ หรือจะเรียกว่า เป็นการประชุม เข้าสัมมนาก็ได้ โดยเราจะมีการขึ้นทะเบียนป้อนข้อมูลเข้าโปรแกรม บีราเคนบีวัน เป็นโปรแกรมที่เก็บประวัติของท่านไว้ โดยสามารถเข้ามาดูได้ว่า ตอนนี้ท่านดูแลฟาร์มที่ไหน ก็จะมี บันทึกไว้ ก็จะพัฒนาไปสู่การเข้าตรวจสอบ โดยใส่พาสเวิร์ดเข้าไป เช็คว่า ตอนนี้ท่านได้อยู่ฟาร์มนี้จริงหรือไม่ และเพื่อบันทึกการเข้ารับ การอบรมของสัตวแพทย์คนนั้น ท่านสามารถตรวจเช็คได้ พอครบ 5 ปี ก็จะมีประวัติว่าท่านมีการอบรมที่ไหน เมื่อครบแล้วก็จะสามารถ เข้ามาต่ออายุได้ทันที ส่วนคนที่ใบรับรองยังไม่หมดอายุ ก็จะอนุญาต ให้ใช้ได้จนกว่าใบรับรองของท่านจะหมดอายุ เมื่อใบรับรองหมดอายุ ท่านจะต้องเข้ามาใช้ระเบียบใหม่ ให้นับเป็นครั้งที่ 1 โดยใช้ข้อปฏิบัติ ตามกฎระเบียบของการขอใบรับรองใหม่นั่นเอง

11


Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

กูรูแนะ  รักษาคุณภาพและมาตรฐาน สร้างความยั่งยืนเนื้อสัตว์ไทย

เมือ่ วันที่ 8 สิงหาคม 2560 สมาคมวิทยาศาสตร์สตั ว์ปกี โลก สาขาประเทศไทย ได้จดั การประชุมใหญ่สามัฐประจ�ำปี 2560 พร้อม ด้วยการเสวนา ณ โรงแรมสวิสโฮเต็ล เลอ คองคอร์ด กรุงเทพฯ ส�ำหรับการจัดเสวนานั้น มีอีกหัวข้อหนึ่งที่น่าสนใจคือเรื่อง “กรณี ศึกษาบราซิล เจ็บนีอ้ กี นาน...เจ็บแล้วไม่ลมื ” โดยมีวทิ ยากรมาร่วม เสวนา ประกอบไปด้วย สพ.ญ. ดร.เพ็ญนภา มัธยมพงศ์ OIE, คุณคึกฤทธิ์ อารีปกรณ์ สมาคมผูผ้ ลิตไก่เพือ่ ส่งออกไทย, คุณพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายกสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ด�ำเนินการ เสวนาโดย น.สพ.สุเมธ ทรัพย์ชูกุล ซึ่งมีสาระส�ำคัญในการเสวนา สรุปได้ดังนี้ สพ.ญ. ดร.เพ็ญนภา กล่าวแนะน�ำ OIE ก่อนกล่าวถึงบทบาท และหน้าที่ของ OIE ที่ เกี่ยวข้องกับการค้าและเคลื่อนย้ายสัตว์อย่างถูก ต้องตามมาตรฐานและปลอดภัยจากโรคระบาด ซึ่ ง เคยเกิ ด ขึ้ น กั บ ประเทศบราซิ ล ส่ ง ผลให้ ป ระเทศบราซิ ล เกิ ด ปัญหาการส่งออกเนื้อไก่ไม่ได้มาแล้ว โดยกล่าวว่า OIE คือองค์การ โรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ (World Organization for Animal Health หรือ Office International des Epizooties, OIE) เป็น องค์กรระหว่างรัฐบาล ตั้งขึ้นตามข้อตกลงของนานาชาติ เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2467 (ค.ศ. 1924) ที่ประเทศฝรั่งเศส ทั้งนี้เพื่อ เป็นองค์กรกลางในการประสานความร่วมมือกันในการปราบปราม และควบคุมโรคระบาดสัตว์ที่สำ� คัญ เพื่อมิให้โรคร้ายท�ำลายชีวิตและ เศรษฐกิจของประเทศ

ที่มา : สาส์นไก่ & สุกร ปีที่ 15 ฉบับที่ 175 เดือนตุลาคม 2560

12


Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

ปัจจุบนั OIE มีสมาชิกทัง้ หมด 81 ประเทศ มีสำ� นักงานใหญ่อยูท่ ปี่ ระเทศฝรัง่ เศส แต่มสี ำ� นักงานสาขาทั้ง 5 ทวีปทั่วโลก และมีส�ำนักงานสาขา ย่อยอีก 7 แห่ง และก�ำลังตั้งขึ้นใหม่ในเดือน ตุลาคมนีอ้ กี 1 แห่ง ทีป่ ระเทศสหรัฐอเมริกา ส่วนที่ กรุงเทพฯ เป็นส�ำนักงานย่อย รับผิดชอบประเทศ ในอาเซียนทั้งหมด 10 ประเทศ ส่วนที่ประเทศ ญี่ปุ่น จะเป็นส�ำนักงานสาขา ดูแลรับผิดชอบ ประเทศในเอเชีย โอเชียเนีย และแปซิฟกิ ส�ำหรับ หน้าที่ความรับผิดชอบ หรือพันธกิจของ OIE มี ด้วยกัน 4 ด้านคือ ประกันความโปร่งใสเกี่ยวกับสภาวะโรค ระบาดสั ต ว์ ทั่ ว โลก (Transparency) คื อ ประเทศสมาชิกจะต้องรายงานโรคสัตว์ทตี่ รวจพบ รวมถึงโรคสัตว์สู่คนต่อ OIE ซึ่ง OIE จะกระจาย ข้อมูลดังกล่าวให้ประเทศอื่นๆ ทราบ เพื่อเตรียม มาตรการป้องกันการป้องกันโรคเท่าที่จ�ำเป็น รวบรวมวิเคราะห์และเผยแพร่ขอ้ มูลด้าน สัตวแพทยศาสตร์ (Scientific Information) โดย OIE จะรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลวิทยาศาสตร์ ด ้ า นสั ต วแพทยศาสตร์ ที่ เ กี่ ย วกั บ การ ควบคุมโรคสัตว์ ซึ่งประเทศสมาชิกสามารถน�ำ ข้อมูลไปใช้เพือ่ การพัฒนาวิธกี ารควบคุมและก�ำจัด โรคต่างๆ ร่วมปฏิบัติและเสริมสร้างความแข็งแกร่ง ให้กบั นานาประเทศในการควบคุมโรคสัตว์ (International Solidarity) โดย OIE จะให้การ สนับสนุนทางเทคนิคกับประเทศสมาชิกที่ร้องขอ ความช่วยเหลือในทางปฏิบตั ิ เพือ่ การควบคุมและ ก�ำจัดโรคสัตว์ รวมทั้งป้องกันการแพร่ระบาดของ โรคสัตว์มาสู่คน และให้ความช่วยเหลือในการ จัดหาผู้เชี่ยวชาญให้กับประเทศยากจน เพื่อให้

สามารถควบคุมโรคสัตว์ที่ท�ำให้เกิดการสูญเสีย ปศุสัตว์ หรือเสี่ยงต่อสุขอนามัยของคน ประกันความปลอดภัยด้านสุขอนามัยที่ เกีย่ วข้องกับการค้าโลก (Sanitary Safety) ด้วย การก�ำหนดกฎเกณฑ์ทเี่ กีย่ วกับสุขอนามัยของสัตว์ และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ เพือ่ ใช้อา้ งอิงในการป้องกัน ประเทศจากโรคระบาดต่างๆ หรือการประกาศกฎ ระเบียบที่ไม่เป็นธรรมด้านสุขอนามัยของสัตว์ คุ ณ คึ ก ฤทธิ์ กล่ า วว่ า ประเทศบราซิลถือว่าเป็นอีก หนึ่ ง ประเทศที่ มี ก ารผลิ ต ไก่ และส่งออกไก่อันดับต้นๆ ของ โลก ซึ่งผู้ผลิตอันดับหนึ่งของโลกก็คือ สหรัฐอเมริกา ส่วนบราซิลจะอยู่อันดับ 2-3 ของโลก แต่เมื่อดูจากอันดับส่งออกแล้ว บราซิลถือว่าเป็น ผู้ส่งออกอันดับ 1 ของโลก สหรัฐอเมริกาเป็น อันดับ 2 และ EU อันดับ 3 รองลงมาคือ ไทย อย่างไรก็ดี ส�ำหรับประเทศหลักๆ ที่ไทย ส่งออกก็จะเป็น ญี่ปุ่น และ EU ส่วนตลาดหลัก ของบราซิลก็จะเป็นซาอุดอิ าระเบีย อย่างไรก็ตาม ถึ ง แม้ ว ่ า ตลาดหลั ก ที่ ส ่ ง ออกนั้ น จะไม่ ใ ช่ ต ลาด เดียวกัน แต่จะมีส่วนที่เหลือที่ใช้ตลาดร่วมกัน เพราะทางบราซิลเองก็ได้รับโควตาในการส่งออก ไก่ไปยังประเทศญีป่ นุ่ เช่นกัน ซึง่ ก็อย่างทีท่ ราบกัน ว่า ญี่ปุ่นเป็นตลาดหลักของไทย ส�ำหรับโควตาที่ส่งออกไปนั้นจะแบ่งเป็น 2 ส่วน คือส่วนของไก่สดและไก่แปรรูป โดยในส่วน ของไก่สด บราซิลถือเป็นผู้ส่งออกรายใหญ่ ซึ่งถ้า คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ก็จะอยู่ที่ 78% ส่วนของไทย นั้นอยู่แค่ 18% เท่านั้น ส่วนอีกประมาณ 5% ก็ จะเป็นตลาดจากประเทศอื่นๆ ส่วนเนื้อไก่แปรรูป ของไทย ถือเป็นอันดับหนึ่ง บราซิลเป็นอันดับ 2

13


Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

อย่างไรก็ดี ตั้งแต่ที่ญี่ปุ่นเปิดตลาด เราก็มีการ ส่งออกเพิม่ ขึน้ และได้มกี ารตัง้ เป้าไว้ในปีนจี้ ะให้ได้ 200,000 ตัน ซึ่งก็คาดว่าน่าจะประมาณ 1-2 ปี คงจะเป็นไปตามเป้าที่ตั้งไว้ เพราะขณะนี้ เรา ส่งออกไปได้ประมาณ 150,000 ตัน เหลืออีกเพียง แค่ 50,000 ตัน จึงคิดว่าอีก 1-2 ปี จะเป็นไปตาม เป้าที่ตั้งไว้ เช่นเดียวกับทางยุโรป ก็จะแบ่งเป็น 2 ส่วน เช่นกัน คือ เนื้อไก่สดและเนื้อไก่แปรรูป บราซิล ก็ถือเป็นผู้ส่งออกรายใหญ่ เพราะเขาได้โควตา เยอะ ส่วนของไทยก็จะเป็นเบอร์ 2 ส่วนเนื้อไก่ แปรรูปของไทย ถือเป็นอันดับ 1 บราซิลเป็นอันดับ 2 ซึ่งจะเห็นว่าตลาดของบราซิล และของไทยนั้น ถือว่ามีความเกี่ยวพันกัน ดังนั้น เมื่อบราซิลเกิด ปัญหาเรือ่ งของคุณภาพในการส่งออก ท�ำให้มอี ยู่ ช่วงหนึ่งตลาดที่บราซิลส่งออกไปถูกตีกลับคืน ท�ำให้บราซิลเกิดปัญหาในการส่งออกขึ้น ทั้งนี้ ส่วนหนึง่ จากข้อมูลทีไ่ ด้รบั มานัน้ เป็นปัญหาทีเ่ กิด จากการเมือง จากเจ้าหน้าที่ภาครัฐที่น�ำเนื้อไก่ ที่ไม่ได้คุณภาพไปขาย ก็เลยท�ำให้เกิดปัญหา จนถูกแบนจากประเทศน�ำเข้า ซึ่งก็ท�ำให้ส่งผล กระทบไปถึงเนือ้ อืน่ ๆ ด้วยเช่นกัน เพราะบราซิล ไม่ได้สง่ ออกไก่เพียงอย่างเดียว แต่ยงั มีทงั้ เนือ้ หมู เนื้อวัว ก็ท�ำให้ได้รับผลกระทบไปหมด แน่ น อน เมื่ อ บราซิ ล เกิ ด ปั ญ หาในการ ส่งออก ประเทศไทยเองก็ได้รบั ทัง้ โอกาส และผล กระทบไปด้วย ซึง่ โอกาสทีว่ า่ ก็คอื เรามีโอกาสที่ สามารถส่งออกได้เพิ่มขึ้น ส่วนผลกระทบที่ว่า ก็คอื เมือ่ บราซิลเกิดปัญหาทางประเทศคูค่ า้ ก็ได้ มีมาตรการในการน�ำเข้าเพิ่มขึ้น มีการตรวจเข้ม ขึน้ และเมือ่ ตลาดไทยกับตลาดบราซิลเป็นตลาด เดียวกัน ก็ทำ� ให้ตอ้ งมีการตรวจเข้มทัง้ หมด ดังนัน้

14

ไทยเองก็ต้องมีการเฝ้าระวังเพิ่มขึ้นเพื่อไม่ให้ เกิดปัญหา แต่อย่างไรก็ตาม ทางบราซิลก็มีการแก้ ปัญหาด้วยการออกมารณรงค์ ทางผู้น�ำก็มีการ บริโภคไก่โชว์เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภค และประเทศผู ้ ค ้ า ว่ า เนื้ อ ไก่ นั้ น มี คุ ณ ภาพและ ปลอดภัย ซึ่งก็ถือเป็นการแก้ปัญหาที่ค่อนข้างเร็ว พอสมควร เพราะใช้เวลาเพียงไม่นานทางประเทศ คูค่ า้ ก็กลับมายกเลิกการแบนสินค้า และให้นำ� เข้า สิ น ค้ า ได้ แต่ ไ ม่ ไ ด้ ห มายความว่ า จะน� ำ เข้ า ได้ ทั้งหมด เพราะจะยังมีการแบนในบางบริษัทที่ เกิดปัญหา กล่าวคือให้มกี ารน�ำเข้าได้เฉพาะบริษทั ที่ไม่เกิดปัญหาเท่านั้น ด้วยเหตุนี้ เราก็อยากให้ดูบราซิลเป็น บทเรียนไว้ ซึ่งประเทศไทยเองจริงๆ ก็มีปัญหา และบทเรียนมาไม่น้อย โดยเฉพาะในช่วงที่เกิด ไข้หวัดนก แต่เราก็มีกระบวนการในการแก้ ปัญหา และปรับปรุงมาเรื่อยๆ จนเป็นที่ยอมรับ ดังนั้น อยากจะบอกว่า ต้องรู้จักปรับปรุงอยู่ ตลอดเวลาอย่าหยุดนิง่ ท�ำให้ดที สี่ ดุ คงคุณภาพ ของเรา สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคให้ได้ และจะท�ำได้ดี ถ้าทุกคนทุกฝ่ายช่วยกัน ต้อง เตรียมการรับมือกับสถานการณ์ทจี่ ะเกิดขึน้ และ ั หา เพราะตลาด ถ้าท�ำได้ คิดว่าตลาดก็คงไม่มปี ญ ยังเปิดกว้างอีกมาก คุ ณ พรศิ ล ป์ กล่ า ว ในฐานะของสมาคมผู้ผลิต อาหารสัตว์ ว่า การแข่งขัน ไม่ได้จะแข่งขันเพียงแค่จุด ใดจุดหนึ่งเท่านั้น แต่จะต้องมองไปถึงห่วงโซ่ของ การผลิตทั้งหมด ทุกอย่างจะต้องก้าวไปด้วยกัน


Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

ต้องพัฒนาไปพร้อมกันถึงจะท�ำให้สินค้าอยู่รอดและเดินไปข้างหน้าได้ ซึ่งส่วนตัว ก็มองว่า อาหารถือเป็นอีกหนึ่งความส�ำเร็จของการผลิตสัตว์ และอาหารที่ดี ก็ต้องมาจากคุณภาพวัตถุดิบที่ดี ซึ่งวัตถุดิบจะดีได้ก็ต้องมาจากการดูแลจัดการของ เกษตรกรผู้เพาะปลูก ดังนั้น จะเห็นว่าทุกอย่างมีความเกี่ยวพันกันหมด เราจะมอง จุดใดจุดหนึ่งไม่ได้ เราต้องมองโดยภาพรวม อย่างไรก็ดี ส�ำหรับปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบันของไทยก็คือ การผลิตวัตถุดิบ อาหารสัตว์ไม่เพียงพอกับความต้องการ นอกจากไม่เพียงพอแล้ว บางส่วนก็ไม่ได้ คุณภาพ เมื่อไม่ได้คุณภาพแล้วน�ำมาผลิตเป็นอาหารสัตว์ อาหารสัตว์ที่ออกมาก็ ไม่ได้คุณภาพตามไปด้วย ก็ท�ำให้ส่งผลกระทบต่อสัตว์ คุณภาพของเนื้อสัตว์ที่ ออกมาไม่ได้คุณภาพ จริงอยู่ที่สมัยก่อนอาจจะไม่ได้มีปัญหา เพราะโลกมันยังไม่เปลี่ยนแปลง ใน อดีตที่ผ่านมา เราซื้อขายแค่ราคาก็จบ อย่างมากก็มีในเรื่องของมาตรฐานความ ปลอดภัยที่แต่ละประเทศจะก�ำหนด แต่วันนี้มันซับซ้อนกว่านั้น เพราะคู่แข่งมีมาก ขึ้น คนมากขึ้น กฎระเบียบต่างๆ มากขึ้น แต่ทรัพยากรน้อยลง ดังนั้น ถ้าเราจับตา ดูไม่ดี จัดการไม่ได้ ปัญหาก็ย่อมเกิดขึ้นแน่นอน แล้วอย่างนี้เราจะไปสู้ใครได้ อดีตอาหารสัตว์ มีการเติบโตได้ถงึ 7-8% แต่ปจั จุบนั อาหารสัตว์มกี ารเติบโต เพียงแค่ 4-5% เท่านั้น ทั้งที่จริงๆ แล้ว เราสามารถเติบโตได้เท่ากับอดีตได้ ถ้า เราสามารถแก้ปัญหาเรื่องของวัตถุดิบได้ ดังนั้น ก็บ่งบอกว่าเราก�ำลังเกิดปัญหา ในการผลิตวัตถุดิบอาหารสัตว์ เพราะจะเห็นได้ว่า ปัจจุบันการเพาะปลูกของไทย ไม่เพียงพอกับความต้องการในการผลิตอาหารสัตว์ ท�ำให้ต้องมีการน�ำเข้าจาก ต่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็น กากถั่วเหลือง ข้าวโพด ข้าวสาลี เกินครึ่ง และคิดว่า ในอนาคตจะมีการน�ำเข้ามากกว่านี้ ซึง่ ก็แสดงให้เห็นว่าศักยภาพในการผลิตวัตถุดบิ ของเราลดลง โตไม่ทันกับการเติบโตของอาหารสัตว์ แต่อย่างไรก็ตาม ทางภาครัฐก็ได้มคี วามพยายามในการแก้ปญ ั หาให้ ด้วยการ แปลงนาข้าวให้เป็นไร่ขา้ วโพด ทัง้ นี้ เพือ่ เป็นการแก้ปญ ั หาให้กบั เกษตรกรผูป้ ลูกข้าว ไม่ได้ราคา และแก้ปัญหาในเรื่องของวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่ขาดแคลน ดังนั้น คิดว่า ถ้าเราเพิ่มได้จริง อนาคตก็จะดีขึ้น แต่ถ้าให้ดี อยากจะให้ใส่ในเรื่องของมาตรฐาน เข้าไปด้วย เพราะมันจะหมายถึงการสร้างความเชือ่ มัน่ ให้กบั ผูบ้ ริโภคได้ดว้ ย รวมถึง ประเทศคู่ค้าด้วย ที่ส�ำคัญจะสามารถกีดกันทางการค้าได้อีกด้วย

15


Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

กล่าวคือ หากประเทศไหนจะน�ำเข้ามา จะต้องได้รับมาตรฐานที่เราก�ำหนด ซึง่ คิดว่าส่วนนีน้ า่ จะช่วยลดปัญหาการลักลอบการน�ำเข้าจากชายแดนได้ในระดับหนึง่ และเพื่อให้ทุกฝ่ายอยู่รอด เราต้องท�ำให้ทั้ง 3 นี้อยู่ได้ คือ ทั้งเกษตรกร พ่อค้า อาหารสัตว์ ในราคาทีแ่ ข่งกันได้ แต่คงซึง่ ประสิทธิภาพในการผลิตและสามารถรักษา พื้นที่สิ่งแวดล้อมและมลภาวะได้ และคิดว่าในอนาคตยังต้องมีอะไรที่เข้ามาให้เรา ต้องแก้อยู่เรื่อยๆ ให้ต้องค�ำนึงอยู่เรื่อยๆ ดังนั้น เราต้องเตรียมตัวรับมือให้ดี สรุปก็คือ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องตลอดทั้งห่วงโซ่การผลิต ต้องร่วมมือกัน ช่วยกันสร้างความยั่งยืนให้ได้ และต้องสร้างมาตรฐานของเราให้ได้ เพื่อเป็น ก�ำแพงไม่ให้ใครเข้ามาหาเรา เพราะตอนนี้ไม่ได้แข่งขันกันที่เรื่องของราคาเพียง อย่างเดียวเท่านัน้ แต่ยงั มีในเรือ่ งของมาตรฐานตลอดทัง้ ห่วงโซ่การผลิต ก็จะเป็น การสร้างโอกาสให้กับตัวเราได้โดยที่ไม่ต้องไปรอให้ใครเกิดวิกฤต

16




Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

ถกปมขึ้นภาษีข้าวสาลี 27% วุ่น

รัฐหวั่นกระทบต้นทุนผลิต-ส่งออกพุ่ง

พาณิชย์ถกเกษตรฯ - คลัง แก้ปมวัตถุดบิ อาหารสัตว์ หากขึน้ ภาษีนำ� เข้าข้าวสาลี 27% ยกเลิก มาตรการ 3 ต่อ 1 ปลายปีนี้ ดันต้นทุนอาหารสัตว์พุ่ง หวั่นกระทบผู้ส่งออกกุ้ง - เกษตรกร - ผู้ผลิต อาหารคน "อภิรดี" น�ำคณะลง พื้นที่ จ.เพชรบูรณ์ ติดตามสถานการณ์ผลผลิตข้าวโพดปี'60/61 รายงานข่าวระบุว่า เมื่อเร็วๆ นี้ กรมการค้าภายในได้เชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งส�ำนักงาน เศรษฐกิจการคลัง กรมประมง ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมศุลกากร กรมปศุสัตว์ เพื่อให้ ความเห็นกรณีพิจารณายกเลิกมาตรการบังคับให้ซื้อข้าวโพด 3 ส่วน เพื่อน�ำเข้าข้าวสาลี 1 ส่วน หรือ (มาตรการ 3 ต่อ 1) ในปลายปีนี้ แล้วให้มีการปรับขึ้นภาษีน�ำเข้าข้าวสาลี 27% เท่าเดิม แต่ที่ประชุม ยังไม่ได้ข้อสรุป

ที่มา : หนังสือพิมพ์ข่าวสด ฉบับที่ 4989 วันพุธที่ 1 พฤศจิกายน 2560

17


Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

แหล่งข่าวจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระบุว่า กรมการค้าภายในวิเคราะห์ว่า หากปรับ เพิ่มอัตราภาษีน�ำเข้าข้าวสาลีเป็น 27% จะส่ง ผลกระทบต่อต้นทุนการผลิตอาหารสุนัขและแมว จากปัจจุบันใช้ข้าวสาลี กก. ละ 11.18 บาท หาก รวมภาษีน�ำเข้าเพิ่มเป็น 14.20 บาท ซึ่งมีปริมาณ การใช้ข้าวสาลีในสูตรอาหารสัตว์ 8 - 45% จะท�ำ ให้ตน้ ทุนอาหารสุนขั และแมวทีจ่ ำ� หน่ายในประเทศ เพิ่มขึ้นตันละ 338.74 บาท อาหารสุนัข ส่งออก เพิ่มขึ้นตันละ 1,491.90 บาท และอาหารแมว ส่งออกเพิ่มขึ้นตันละ 571.46 บาท ส่วนอาหาร สัตว์อื่นจะมีต้นทุนเพิ่มขึ้นจาก กก. ละ 7 บาท รวมภาษีเป็น กก. ละ 8.89 บาท ปริมาณการใช้ ข้าวสาลีในสูตรอาหารสุกร 30 - 40% ท�ำให้ตน้ ทุน เพิ่มขึ้นตันละ 756 บาท และส่วนอาหารสัตว์ปีก ใช้ 20 - 30% ท�ำให้ตน้ ทุนเพิม่ ขึน้ ตันละ 567 บาท ส่วนกรมประมงวิเคราะห์ว่า การขึ้นภาษี น�ำเข้าข้าวสาลีจะกระทบต่อการเลีย้ งกุง้ และสัตว์นำ�้ วัยอ่อน เนือ่ งจากเป็นแหล่งโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และเป็นสารยึดเกาะ หากมีการเก็บภาษีน�ำเข้า ข้าวสาลีตามอัตราตามสภาพ (specific rate) กก. ละ 2.75 บาท จะส่งผลกระทบต่อต้นทุนการผลิต อาหารกุ้ง ซึ่งใช้ข้าวสาลีสัดส่วน 10% และ 20% ราคาเพิ่มขึ้น 0.28 และ 0.55 บาทขึ้นไป ซึ่งจะ ส่งผลกระทบต่อรายได้ของผู้เลี้ยงกุ้ง ขณะที่ผลผลิตกุ้ง 80% ส่งออก ที่เหลือ 20% บริโภคภายในประเทศ ดังนั้น จะส่งผลให้ ต้นทุนส่งออกสูงขึ้น แต่ผู้ประกอบการสามารถ น�ำเข้าวัตถุดบิ ตามความตกลงจัดท�ำเขตการค้าเสรี (FTA) ซึ่งภาษีน�ำเข้าเป็น 0%

18

ส่วนมาตรการดูแลการน�ำเข้ากากข้าวโพด ที่เหลือจากการผลิตเอทานอล (DDGS) ได้มีการ สอบถามไปยังส�ำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่าง ประเทศ ณ กรุงปักกิง่ ซึง่ ให้ความเห็นว่า จีนไม่ได้ มีมาตรการห้าม/ระงับการน�ำเข้า DDGS แต่ต้อง ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบตามประกาศ 118 เรือ่ งการ ตรวจสอบกั ก กั น โรคควบคุ ม ดู แ ลคุ ณ ภาพของ อาหารสัตว์ และวัตถุเจือปนในอาหารสัตว์น�ำเข้า ส่งออก ขณะที่ส�ำนักงานส่งเสริมการค้าในต่าง ประเทศ ณ กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม ระบุวา่ ปัจจุบนั ภาษีนำ� เข้า DDGS ของเวียดนามอยูท่ ี่ 0% แต่มีบางประเทศเก็บภาษี 1 - 5% และกระทรวง เกษตรและพัฒนาชนบทเวียดนาม ได้ออกประกาศ ระงับการน�ำเข้า DDGS จากสหรัฐฯ เนื่องจาก ตรวจสอบพบศัตรูพชื กักกันทีต่ อ้ งควบคุม นับตัง้ แต่ เดือนธันวาคม 2559 ถึงเดือนกันยายน 2560 จึงออกประกาศอนุญาตให้มกี ารน�ำเข้าได้ตามปกติ อย่างไรก็ตาม ในทีป่ ระชุมได้พจิ ารณาข้อดี -  ข้อเสีย 2 ด้าน คือ หากขึน้ ภาษีแล้ว ราคาข้าวสาลี น�ำเข้าสูงกว่าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศ จะส่ง ผลให้ผู้ประกอบการหันมาใช้ข้าวโพดในประเทศ มากขึน้ เกษตรกรทีป่ ลูกข้าวโพดจะมีรายได้เพิม่ ขึน้ ท�ำให้มกี ารปลูกมากขึน้ หรือไม่ ผูผ้ ลิตอาหารสัตว์ อาจจะไม่ใช้ขา้ วโพด แต่หนั ไปใช้วตั ถุดบิ DDGS แทน ก็ได้ แต่ข้อเสียคือ ผู้ใช้ข้าวสาลีน�ำเข้าเพื่อผลิต อาหารคนทีไ่ ม่สามารถหาวัตถุดบิ อืน่ มาแทนได้ จะ มีตน้ ทุนเพิม่ ขึน้ อาจท�ำให้สนิ ค้าปลายทางมีราคาสูง ตาม ผู้ผลิตกุ้งแปรรูปจะสูญเสียขีดความสามารถ ในการแข่งขัน


Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

หรือกรณีที่ 2 หากขึ้นภาษีข้าวสาลีแล้ว ราคาข้าวสาลีน�ำเข้ายังต�ำ่ กว่าราคา ในประเทศ รัฐเสียรายได้จากภาษีนำ� เข้า ปริมาณการน�ำเข้าข้าวสาลียังเพิ่มขึ้น ทั้ง จากผูน้ ำ� เข้ารายเดิม และผูใ้ ช้รายใหม่ทหี่ นั มาน�ำเข้าข้าวสาลีเพิม่ ขึน้ ท�ำให้เกษตรกร ที่ปลูกข้าวโพดมีรายได้ลดลง ผลกระทบด้านศักยภาพในการแข่งขันของผู้ผลิตกุ้ง ผลกระทบต่อผูผ้ ลิตอาหารทีไ่ ม่สามารถใช้วตั ถุดบิ อืน่ ทดแทนข้าวสาลีมตี น้ ทุนสูงขึน้ ราคาสินค้าปลายทางสูงขึ้น (ตาราง) นายบุณยฤทธิ์ กัลยาณมิตร อธิบดีกรมการค้าภายใน กล่าวว่า มาตรการ ดูแลการน�ำเข้าข้าวสาลีส�ำหรับใช้เป็นวัตถุดิบผลิตอาหารสัตว์ ที่มีการตั้งประเด็นว่า ควรจะปรับขึ้นภาษีน�ำเข้าข้าวสาลีกลับไปที่ระดับเดิม และยกเลิกมาตรการ 3 ต่อ 1 นั้น อยู่ระหว่างการศึกษา ยังไม่ได้ข้อสรุป เพราะเรื่องนี้มีความเกี่ยวข้องกับ หน่วยงานจึงต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ ส�ำหรับสถานการณ์ราคาข้าวโพดปี 2560/2561 ขณะนีย้ งั ทรงตัวอยูใ่ นระดับ กก. ละ 8 บาท ตามที่กรมการค้าภายในได้ขอความร่วมมือ โดยตนจะเดินทาง พร้อมคณะ นางอภิรดี ตันตราภรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งจะลง พื้นที่ จ.เพชรบูรณ์ ระหว่างวันที่ 2 - 3 พฤศจิกายน 2560 เพื่อติดตามสถานการณ์ การผลิต การจ�ำหน่ายข้าวโพด โดยขณะนี้เป็นช่วงที่ผลผลิตออกสู่ตลาด แต่เท่าที่ ติดตามสถานการณ์ราคาจ�ำหน่ายข้าวโพดขณะนี้ยังอยู่ในระดับ กก. ละ 8.00 บาท ตามที่กระทรวงพาณิชย์ได้ขอความร่วมมือ

19


Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

ถั่วเหลือง

สถานการณ์

1. ผลผลิตและการใช้ (ล้านตัน) 1.1 ผลผลิตพืชน�ำ้ มันโลก 1.2 ผลผลิตถั่วเหลือง 1.2.1 โลก 1.2.2 ไทย - ถั่วฤดูแล้ง - ถั่วฤดูฝน 1.3 ความต้องการใช้ 1.3.1 โลก 1.3.2 ไทย 1.4 ต้นทุนการผลิต (บาท/กก.) 1.5 นำ�เข้า 1.6 ส่งออก ไทยนำ�เข้าจาก ไทยส่งออกไป 2. ราคา (บาท/กก.) 2.1 เกษตรกรขายได้ (คละ) 2.2 ขายส่ง กทม. - เกรดแปรรูปอาหาร - เกรดผลิตอาหารสัตว์ - เกรดสกัดน�้ำมัน 2.3 ซื้อขายล่วงหน้าตลาดชิคาโก - บาท/กก. - เหรียญสหรัฐฯ/ตัน

ปี 57

ปี 58

ปี 59

ปี 60

(ประมาณการ)

504.220

537.580

521.350

573.070

282.751 0.056 0.035 0.023

320.013 0.058 0.034 0.023

313.709 0.057 0.034 0.022

351.250 0.056

276.670 302.320 314.350 330.280 1.944 2.605 2.657 2.705* 15.48 13.52 15.75 1.898 2.557 2.957 2.650* 0.012 0.009 0.005 0.010* บราซิล 67% สหรัฐอเมริกา 30% แคนาดา 2% อาร์เจนตินา 1% ลาว 70% ไนจีเรีย 12% เวียดนาม 11% กัมพูชา 2% มัลดิฟส์ 2% ปี 58 ปี 59 ก.ย. 60 ต.ค. 60 15.46 14.47 13.17 13.16 19.63 18.21 16.49

19.63 18.02 16.64

21.12 19.12 18.50

20.50 18.50 18.50

11.93 347.51

12.86 362.84

11.78 353.68

11.97 358.24

ที่มา : 1.1, 1.2.1, 131.1 กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ 1.2.2, 13.2, 1.4 สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร 1.5, 1.6 กรมศุลกากร 2.1 สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร  2.2 กรมการค้าภายใน  2.3 www.cmegroup.com *ประมาณการโดยสำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

1. สถานการณ์ ปี 2560 1.1 เดือนตุลาคม ราคาเกษตรกรขายได้ชนิดคละลดลงเล็กน้อย ราคาขายส่งตลาด กทม. เกรด สกัดน�้ำมันทรงตัว ส่วนเกรดแปรรูปอาหารและเกรดผลิตอาหารสัตว์ลดลง ในช่วงเดือน ม.ค. - ก.ย. 60 น�ำเข้าเมล็ดถั่วเหลือง 2,158,578 ตัน สูงขึ้นจากช่วงเดียวกัน ของปีก่อนร้อยละ 2 แหล่งน�ำเข้าที่สำ� คัญ ได้แก่ บราซิล สหรัฐอเมริกา อาร์เจนตินา แคนาดา

20


Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดชิคาโกสูงขึ้นจากเดือนก่อนตันละ 4.56 US$ กระทรวงเกษตร สหรัฐอเมริกา (USDA) รายงานว่า ยอดการส่งออกถั่วเหลืองของสหรัฐอเมริกาสูงกว่าคาดการณ์ และ ฝนตกที่ต่อเนื่องในแถบมิดเวสต์ ส่งผลให้การเก็บเกี่ยวผลผลิตของเกษตรกรล่าช้าออกไป 1.2 แนวโน้ม คาดว่าผลผลิตถั่วเหลืองของไทยมีแนวโน้มสูงขึ้น เนื่องจากกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ มียุทธศาสตร์เพิ่มผลผลิตถั่วเหลืองเพื่อความมั่นคงทางอาหาร ปี 2561 - 2564 กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน พฤศจิกายน 2560

ราคา เมล็ดถั่วเหลือง ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. 1. ราคาที่เกษตรกรขายได้ เมล็ดถั่วเหลืองชนิดคละ 2555 14.85 - 14.21 15.50 17.28 2556 - 18.03 18.61 19.60 2557 19.36 - 18.16 19.27 20.00 - 17.35 2558 - 15.52 15.62 15.25 2559 - 15.00 14.50 14.02 14.22 2560 - 16.45 16.78 16.95 - 12.90 13.45 2. ราคาขายส่ง เมล็ดถั่วเหลืองเกรดแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร ตลาด กทม. 2555 22.00 22.00 22.00 22.00 22.00 22.20 23.55 25.85 2556 24.73 24.50 24.50 24.38 24.80 24.00 24.00 24.07 2557 24.50 24.50 24.50 24.50 24.50 24.50 24.50 24.50 2558 20.50 20.50 19.79 19.89 20.50 18.77 18.50 19.15 2559 19.50 18.90 18.50 18.50 18.50 19.27 19.50 19.50 2560 18.50 20.39 20.50 20.50 20.50 20.59 21.50 21.50 3. ราคาขายส่ง เมล็ดถั่วเหลืองเกรดผลิตอาหารสัตว์ ตลาด กทม. 2555 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 21.03 22.55 24.85 2556 23.73 23.50 23.50 23.38 23.00 23.00 23.00 23.07 2557 23.50 23.50 23.50 23.50 23.50 23.50 23.50 23.50 2558 18.50 18.50 17.79 17.89 18.50 17.64 17.50 18.15 2559 18.50 17.90 17.50 17.50 17.50 18.27 18.50 18.50 2560 17.50 18.45 18.50 18.50 18.50 18.59 19.50 19.50 4. ราคาขายส่ง เมล็ดถั่วเหลืองเกรดสกัดน�้ำมัน ความชื้น 13.0% ตลาด กทม. 2555 16.26 16.35 16.49 16.85 16.85 17.05 17.97 20.08 2556 19.65 19.33 18.96 19.03 18.65 18.65 19.20 20.15 2557 19.65 19.65 19.65 19.72 20.95 20.95 20.85 20.65 2558 16.53 16.49 16.36 16.49 16.50 16.50 16.50 16.50 2559 16.50 16.50 16.50 16.50 16.50 16.99 17.25 16.80 2560 16.50 18.39 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50

หน่วย : บาท/กก. ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

เฉลี่ย

18.35 17.35 15.41 14.17 13.17

17.50 18.35 14.93 13.20 13.16

19.85 18.35 15.75 17.52 17.85 18.24 15.26 13.85 18.08 15.35 - 15.46 14.00 - 14.47 - 15.79

26.50 24.50 24.09 19.50 19.50 21.12

26.50 24.50 23.00 19.50 19.50 20.50

25.91 24.50 21.60 19.50 18.55 -

25.50 24.50 21.00 19.50 18.50 -

23.83 24.42 23.81 19.63 19.02 20.56

25.50 23.50 23.09 18.50 18.50 19.12

25.50 23.50 21.50 18.50 18.50 18.50

24.91 23.50 19.60 18.50 17.55 -

24.50 23.50 19.00 18.50 17.50 -

22.61 23.35 22.60 18.21 18.02 18.67

20.55 20.48 18.67 16.50 16.60 18.50

20.55 19.81 17.51 16.50 16.50 18.50

20.25 19.65 16.66 16.50 16.50 -

19.65 19.65 16.63 16.50 16.50 -

18.24 19.43 19.30 16.49 16.64 18.29

›››

21


Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

‹‹‹

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. 5. ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง ตลาดชิคาโก 2555 14.00 14.23 15.30 16.44 16.36 16.61 19.38 2556 15.90 16.08 15.90 15.13 16.20 17.37 17.14 2557 15.75 16.29 16.98 17.77 17.81 17.24 14.93 2558 12.09 11.93 11.78 11.66 11.79 12.02 12.83 2559 11.74 11.44 11.57 12.54 13.81 14.94 13.76 2560 13.52 13.41 12.85 12.04 12.15 11.10 12.39 6. ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง ตลาดชิคาโก (เหรียญสหรัฐฯ/ตัน) 2555 441.70 461.16 496.25 529.56 521.09 522.30 609.41 2556 526.00 536.67 536.04 517.75 541.92 560.12 548.31 2557 476.07 496.76 521.96 547.15 545.91 527.96 463.19 2558 367.46 364.70 359.58 356.89 351.92 354.79 372.29 2559 323.17 319.90 326.91 355.65 388.47 421.20 390.37 2560 379.56 381.13 366.07 347.82 350.15 324.94 365.41

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

เฉลี่ย

19.67 15.80 13.93 12.34 12.92 11.58

19.15 16.08 11.92 11.69 12.43 11.78

17.44 14.82 11.55 11.74 12.62 11.97

16.44 15.13 12.49 11.47 13.09 -

16.48 15.87 12.52 11.78 13.49 -

16.79 15.95 14.93 11.93 12.86 12.28

622.88 498.01 432.94 346.99 370.28 345.50

615.19 505.03 368.81 323.51 355.64 353.68

565.66 472.80 354.41 327.39 358.35 358.24

532.99 476.63 379.32 318.84 368.87 -

535.36 488.63 378.75 325.78 375.25 -

537.80 517.33 457.77 347.51 362.84 357.25

ที่มา : 1.ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเฉลี่ยทั้งปีแบบถ่วงน�้ำจ�ำนวนผลผลิต, 2-4 กรมการค้าภายใน, 5-6 Chicago Board of Trade

ปริมาณการน�ำเข้าและส่งออก เมล็ดถั่วเหลือง ม.ค. ปริมาณน�ำเข้า 2555 206,305 2556 107,117 2557 120,990 2558 128,352 2559 308,363 2560 123,617 ปริมาณส่งออก 2555 198 2556 93 2557 187 2558 3,344 2559 599 2560 486

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

หน่วย : ตัน ธ.ค. รวม

34,126 44,655 112,297 148,493 104,921 331,674

220,894 21,663 187,768 154,784 254,770 214,215

230,559 212,474 173,079 289,615 250,275 266,820

97,966 152,174 235,295 247,945 222,404 291,089

225,911 175,330 104,481 144,371 299,465 270,122

174,526 183,661 135,400 344,892 187,572 354,438

118,267 158,525 105,794 229,067 300,477 195,851

154,393 120,304 203,060 244,003 278,178 110,752

178,088 78,920 161,897 173,423 224,440 -

315,949 177,424 175,784 158,263 162,008 -

162,959 246,430 182,448 294,175 364,856 -

2,119,941 1,678,678 1,898,295 2,557,384 2,957,729 2,158,578

213 215 49 144 218 271

181 145 158 139 640 317

118 132 218 254 744 269

335 166 124 488 390 516

266 48 856 781 222 529

127 552 1,691 1,416 287 458

103 66 2,229 778 600 117

33 181 142 200 608 219

120 70 119 908 157 -

99 240 4,567 418 523 -

124 82 1,252 447 488 -

1,918 1,989 11,595 9,317 5,477 3,181

ที่มา : กรมศุลกากร : ปี 2553 - 54 พิกดั 12010090001 12010010000 และ 12010090090 : ปี 2555 - 60 พิกดั 12011009000 12019010001 และ 12019090090

22




Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

กากถั่วเหลือง

สถานการณ์

1. ผลผลิตและการใช้ (ล้านตัน) 1.1 ผลผลิตโลก 1.2 ผลผลิตในประเทศ - เมล็ดในประเทศ - เมล็ดน�ำเข้า 1.3 ความต้องการใช้ 1.3.1 โลก 1.3.2 ไทย 1.4 น�ำเข้า 1.5 ส่งออก (ตัน) ไทยน�ำเข้าจาก ไทยส่งออกไป 2. ราคา (บาท/กก.) 2.1 ขายส่ง กทม. - กากถั่วเหลืองในประเทศ - เมล็ดในประเทศโปรตีน 44-48% - เมล็ดน�ำเข้าโปรตีน 44-46% - กากถั่วเหลืองน�ำเข้า - โปรตีน 46-48% 2.2 ซื้อขายล่วงหน้าตลาดชิคาโก - บาท/กก. - เหรียญสหรัฐฯ/ตัน

ปี 57

ปี 58

ปี 59

ปี 60

(ประมาณการ)

190.458 1.020 0.016 1.004

209.129 1.241 0.014 1.227

215.764 1.434 0.011 1.423

226.19 1.592 0.014 1.578

186.829 4.041 2.888

201.700 4.348 2.695

213.530 4.114 2.578

222.202 4.463 2.789

(ม.ค. - ก.ย. 60)

5,747 บราซิล 57% สหรัฐอเมริกา 20% อาร์เจนตินา 18% ปารากวัย 3% ลาว 80% กัมพูชา 18% ปี 58 ปี 59 ก.ย. 60 ต.ค. 60 18.37 15.81

19.54 15.74

20.50 13.51

20.50 13.64

15.60

15.30

13.31

13.39

12.12 353.17

12.42 350.48

11.21 336.64

11.64 348.42

ที่มา : 1.1 กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA), 1.2 โรงงานสกัดน�้ำมันรายงานตามบันทึกข้อตกลงการรับซื้อกากถั่วเหลือง 1.3.1 กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA), 1.3.2 ปี 57 - 58 สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย, ปี 59 - 60 กรมปศุสัตว์ (เฉลี่ย) 1.4, 1.5 กรมศุลกากร, 2.1 กรมการค้าภายใน, 2.2 www.cmegroup.com

1. สถานการณ์ ปี 2560 1.1 เดื อ นตุ ล าคม ราคาขายส่ ง ตลาด กทม. กากถั่ ว เหลื อ งจากเมล็ ด ในประเทศทรงตั ว ส่วนกากถั่วเหลืองจากเมล็ดน�ำเข้า และกากถั่วเหลืองน�ำเข้าสูงขึ้น ช่วงเดือน ม.ค. - ก.ย. 60 น�ำเข้ากากถั่วเหลือง 2,242,440 ตัน สูงขึ้นจากช่วงเดียวกัน ของปีก่อนร้อยละ 12 แหล่งน�ำเข้าที่สาคัญ ได้แก่ บราซิล สหรัฐอเมริกา อาร์เจนตินา ปารากวัย

23


Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดชิคาโกสูงขึ้นจากเดือนก่อนตันละ 11.78 US$ เนื่องจากบราซิลผู้ส่งออกกากถั่วเหลือง อันดับสอง ของโลก ได้รับผลกระทบจากสภาพอากาศที่แห้งแล้งและอุณหภูมิ สู ง ผิ ด ปกติ ขณะที่ ส หรั ฐ อเมริ ก าได้ รั บ ผลกระทบจากฝนที่ ต ก ต่อเนื่อง ท�ำให้การเก็บเกี่ยวผลผลิตล่าช้ากว่าที่คาดการณ์ 1.2 แนวโน้ม คาดว่าราคากากถั่วเหลืองของไทยจะปรับตัวตามตลาดโลกที่มีแนว โน้มสูงขึ้น กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน พฤศจิกายน 2560

ราคา กากถั่วเหลือง

หน่วย : บาท/กก.

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. เฉลี่ย 1. ราคาขายส่ง กากถั่วเหลืองผลิตในประเทศจากเมล็ดในประเทศ โปรตีน 44-48% ณ หน้าโรงงานสกัดน�้ำมัน ตลาด กทม. 2555 13.43 15.47 16.43 16.49 16.70 17.99 19.76 21.90 21.98 21.98 21.43 20.31 18.66 2556 20.23 20.23 20.53 20.61 20.12 19.93 19.73 19.33 19.33 19.33 19.33 19.33 19.84 2557 19.33 19.18 19.85 20.45 20.45 20.45 20.45 20.45 19.33 - 19.99 2558 18.63 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.37 2559 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 19.78 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 19.54 2560 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 - 20.50 2. ราคาขายส่ง กากถั่วเหลืองผลิตในประเทศจากเมล็ดน�ำเข้า โปรตีน 44-46% ณ หน้าโรงงานสกัดน�้ำมัน ตลาด กทม. 2555 13.65 14.73 15.51 15.90 15.94 16.07 18.67 21.50 21.81 21.09 20.25 18.82 17.83 2556 17.87 17.61 18.82 19.33 18.01 17.20 17.00 16.67 17.37 17.74 18.69 19.28 17.97 2557 19.40 18.93 19.53 20.13 19.97 19.73 19.48 19.23 18.66 18.16 18.08 17.40 19.06 2558 17.20 17.47 16.38 15.88 15.05 14.86 14.39 15.48 15.75 15.75 15.75 15.75 15.81 2559 15.67 15.55 15.33 15.05 15.58 17.18 17.75 16.30 15.19 14.45 15.40 15.40 15.74 2560 15.19 15.03 14.59 14.30 14.18 13.47 13.57 13.52 13.51 13.64 - 14.10 3. ราคาขายส่ง กากถั่วเหลืองนำ�เข้าจากต่างประเทศ โปรตีน 46-48% ณ โกดังผู้นำ�เข้า ตลาด กทม. 2555 12.90 14.15 14.15 14.15 14.15 15.28 17.16 21.30 21.93 21.32 20.66 19.45 17.22 2556 19.10 19.10 19.34 19.75 18.36 17.17 16.85 16.52 17.71 18.29 18.60 19.42 18.35 2557 19.53 19.04 19.50 20.05 19.90 19.65 19.41 19.15 18.45 17.65 17.56 17.55 18.95 2558 17.29 17.17 16.45 16.10 14.54 14.43 13.94 15.49 15.78 15.35 15.25 15.39 15.60 2559 15.26 15.05 14.83 14.55 14.75 16.41 16.75 15.89 15.19 14.45 15.31 15.13 15.30 2560 14.93 14.81 14.51 14.16 14.03 13.30 13.46 13.32 13.31 13.39 - 13.92

›››

24


Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

‹‹‹

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. 4. ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง ตลาดชิคาโก 2555 11.02 11.25 12.49 13.67 14.43 14.75 17.57 2556 13.80 14.06 13.91 13.04 14.19 15.62 16.52 2557 15.66 16.37 16.48 17.33 17.72 16.96 14.54 2558 12.47 12.24 11.95 11.42 11.41 11.99 13.61 2559 10.79 10.42 10.48 11.65 14.52 15.73 14.21 2560 12.99 13.07 12.53 11.86 11.36 10.80 12.11 5. ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง ตลาดชิคาโก (เหรียญสหรัฐฯ/ตัน) 2555 347.57 364.49 405.23 440.43 459.58 463.70 552.53 2556 456.81 469.15 468.97 446.36 474.60 503.56 528.33 2557 473.37 499.18 506.69 533.63 543.20 519.27 451.02 2558 379.04 374.25 364.86 349.71 340.47 353.90 394.90 2559 297.17 291.33 296.07 330.53 408.26 443.41 403.28 2560 364.70 371.52 356.88 342.63 327.30 316.02 357.23

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

เฉลี่ย

18.49 14.95 14.40 13.17 12.72 11.21

17.42 15.61 13.22 12.39 11.97 11.21

16.00 14.45 12.34 12.11 11.87 11.64

15.14 14.64 13.94 11.52 12.27 -

15.10 16.12 13.82 11.19 12.44 -

14.78 14.74 15.23 12.12 12.42 11.88

585.75 470.98 447.82 370.40 364.48 334.55

559.67 490.19 409.10 342.95 342.40 336.64

519.03 460.82 378.82 337.64 337.13 348.42

490.83 461.06 423.25 320.34 345.84 -

490.64 496.25 418.08 309.54 345.83 -

473.29 477.26 466.95 353.17 350.48 345.59

ที่มา : 1 - 3 กรมการค้าภายใน 4 - 5 Chicago Board of Trade

ปริมาณการน�ำเข้า กากถั่วเหลือง 2555 2556 2557 2558 2559 2560

ม.ค. 158,047 408,982 300,017 334,956 156,369 326,955

ก.พ. 257,407 111,011 192,330 155,171 183,446 124,199

มี.ค. 279,867 103,198 264,309 134,282 230,664 230,786

เม.ย. 92,488 160,108 171,348 288,818 333,744 200,099

พ.ค. 362,893 422,162 309,139 316,874 267,025 387,340

มิ.ย. 136,408 315,033 126,354 253,597 239,435 257,665

หน่วย : ตัน ก.ค. 331,083 181,605 240,352 289,297 254,968 166,023

ส.ค. 317,342 291,258 232,571 241,220 84,030 256,745

ก.ย. 81,927 304,148 385,673 107,049 243,874 292,628

ต.ค. 209,086 192,361 237,304 114,604 97,205 -

พ.ย. 345,827 94,557 259,811 240,591 263,869 -

ธ.ค. 242,541 236,010 168,802 218,290 223,371 -

รวม 2,814,917 2,820,433 2,888,009 2,694,748 2,578,000 2,242,440

ที่มา : กรมศุลกากร : ปี 2553 - 54 พิกัด 23040000000 : ปี 2555 - 60 พิกัด 23040090000 (ใช้ถึง พ.ค. 60) พิกัด 23040090001 (เริ่ม มิ.ย. 60)

25


Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

ไก่เนื้อ

สถานการณ์

2556

2557

2558

2559

1. ผลผลิต ไก่มีชีวิต (ล้านตัว) ซากบริโภค (ล้านตัน) 2. ใช้ในประเทศ (ล้านตัน) 3. ส่งออก - ปริมาณ (ล้านตัน) - มูลค่า (ล้านบาท)

1,274 1.92 1.41 0.50 66,805

1,321 2.09 1.54 0.55 73,963

1,441 2.31 1.68 0.62 81,176

1,550 2.48 1.79 0.69 89,202

4. ต้นทุนการผลิต : (บาท/กก.)

34.27

34.97

33.14

31.82

5. ราคาไก่มีชีวิต หน้าโรงฆ่า กทม. (บาท/กก.)

41.84

41.37

35.84

36.09

2560

(ประมาณการ)

1,594 2.55 2.00 0.55 71,013

(ม.ค. - ก.ย. 60)

31.97

(ก.ค. 60)

33.13

(ต.ค. 60)

ที่มา : ผลผลิต, การใช้ : กรมปศุสัตว์/ต้นทุน : สศก./ส่งออก : กรมศุลกากร/ราคา : คน.

1. สรุปสถานการณ์ เดือนตุลาคม 2560 การผลิต ผลผลิตที่โตได้ขนาดจ�ำหน่ายออกสู่ตลาด มีปริมาณมากกว่าความต้องการใช้ และ บริโภคในประเทศ การค้า ภาวะการค้าชะลอตัวต่อเนือ่ ง เนือ่ งจากโรงเรียนปิดภาคเรียน และตรงกับช่วงเทศกาลกินเจ (20 - 28 ต.ค. 60) ด้านราคาไก่มชี วี ติ หน้าโรงฆ่า ราคาขายส่งไก่สดทัง้ ตัวรวมเครือ่ งใน และราคาขายปลีก ไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน ชิ้นส่วนเนื้อไก่ช�ำแหละ ส่วนใหญ่ปรับลดลงกิโลกรัมละ 1 - 5 บาท การส่งออกเนื้อไก่ เดือนมกราคม - กันยายน 2560 มีการส่งออกเนื้อไก่สดแช่เย็นแช่แข็ง และ เนื้อไก่แปรรูป รวม 555,481 ตัน มูลค่า 71,013 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน ที่มีการ ส่งออกจ�ำนวน 500,009 ตัน มูลค่า 64,926 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 11.09% และ 9.38% ตามล�ำดับ โดยประเทศคู่ค้าส�ำคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่น (52.38%) อังกฤษ (18.95%) อื่นๆ (28.67%)

2. แนวโน้มสถานการณ์ เดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม 2560 ผลผลิตทีอ่ อกสูต่ ลาดมีปริมาณเพียงพอกับความต้องการของตลาด ภาวะการค้ามีแนวโน้มคล่องตัว ขึน้ เนือ่ งจากโรงเรียนเปิดภาคเรียน ประกอบกับเป็นช่วงฤดูกาลท่องเทีย่ ว คาดว่าความต้องการใช้ จะเพิม่ ขึน้ อีกระดับหนึง่ ซึง่ อาจส่งผลให้ราคาขายส่งและราคาขายปลีกในตลาดสดทัว่ ไปปรับสูงขึน้ ตามภาวะ อุปสงค์ อุปทาน กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน พฤศจิกายน 2560

26


Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

สถิติราคาขายส่ง ขายปลีก สินค้าไก่เนื้อ ปี 2554 - 2560 ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า กทม. 2554 45.10 47.66 47.59 52.71 2555 39.25 35.38 26.29 31.47 2556 42.18 36.13 38.71 45.33 2557 44.00 44.00 39.95 39.89 2558 38.80 35.50 35.00 35.33 2559 36.50 36.50 36.50 36.50 2560 35.70 37.84 36.22 38.75 ราคาขายส่ง ไก่สดทั้งตัว (รวมเครื่องใน) 2554 57.80 59.11 59.43 65.15 2555 54.30 51.33 43.29 47.35 2556 53.84 48.26 51.62 58.61 2557 56.68 59.00 55.67 51.00 2558 53.45 47.50 47.00 47.67 2559 53.00 53.00 53.00 51.59 2560 49.35 51.00 51.00 52.31 ราคาขายปลีก ไก่สดทั้งตัว (รวมเครื่องใน) 2554 65.95 69.00 69.00 72.00 2555 65.20 62.26 53.88 57.68 2556 63.50 62.71 62.50 66.86 2557 69.41 72.50 68.69 62.50 2558 69.25 63.75 62.50 62.50 2559 67.50 67.50 67.50 67.50 2560 64.50 67.50 67.50 69.69

หน่วย : บาท/กก. พ.ย. ธ.ค. เฉลี่ย

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

55.33 39.50 46.10 41.00 36.00 36.00 40.00

50.18 39.10 45.25 41.00 36.00 35.18 39.09

41.13 35.50 46.00 41.00 36.00 35.78 37.55

40.68 35.00 46.86 42.95 36.45 41.32 37.59

41.36 34.00 40.02 43.68 37.23 37.91 37.88

39.50 31.27 37.00 40.91 34.17 33.32 33.13

39.50 38.73 37.00 39.00 34.26 33.55 -

39.50 42.28 41.50 39.00 35.30 34.00 -

45.02 35.65 41.84 41.37 35.84 36.09 37.38

67.33 53.50 60.50 51.47 49.00 50.22 53.50

63.86 53.10 59.50 54.00 49.00 48.05 51.23

55.79 49.98 61.00 56.86 49.00 48.69 49.26

53.36 46.00 61.00 58.53 49.60 55.09 48.59

55.32 46.00 58.52 59.00 49.61 54.73 49.50

54.50 46.41 51.68 57.27 46.50 47.00 47.18

54.50 52.86 51.00 57.00 48.86 47.55 -

54.50 55.11 53.50 57.00 51.80 48.00 -

58.39 49.94 55.75 56.12 49.08 50.83 50.29

73.33 63.50 69.00 63.29 62.50 67.50 72.50

71.36 63.30 69.88 67.50 62.50 67.50 67.95

66.34 61.39 72.50 71.07 62.50 68.89 67.50

65.50 59.00 72.50 72.50 64.00 72.50 67.50

65.50 59.00 68.74 72.50 66.82 68.18 67.50

65.50 59.27 64.95 72.50 62.50 62.50 64.87

65.50 62.70 67.50 72.50 65.12 62.50 -

65.50 63.50 67.67 72.50 67.50 62.50 -

67.87 60.89 67.36 69.79 64.29 66.84 67.70

กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน

27


Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

ไข่ ไก่

สถานการณ์

2556 1. ผลผลิต (ล้านฟอง) 2. คงเหลือใช้ในประเทศ (ล้านฟอง) 3. ส่งออก - ปริมาณ (ล้านฟอง) - มูลค่า (ล้านบาท)

2557

2558

2559

13,519 13,244 275 777

14,265 14,037 228 708

15,103 14,818 285 936

15,560 15,413 147 530

4. ต้นทุนการผลิต : (บาท/ฟอง)

2.86

2.99

2.83

2.89

5. ราคา ไข่ไก่สดคละ (บาท/ฟอง)

3.03

2.89

2.57

2.89

2560

(ประมาณการ)

16,473 16,380 93.16 315

(ม.ค. - ก.ย. 60)

2.88

(f ต.ค. 60)

2.35

(ต.ค. 60)

ที่มา : ผลผลิต การใช้ : กรมปศุสัตว์/ส่งออก : กรมศุลกากร/ต้นทุน : สศก./ราคา : คน

1. สรุปสถานการณ์ เดือนตุลาคม 2560 การผลิต ผลผลิตมีปริมาณมากกว่าความต้องการของตลาด การค้า ภาวะการค้าชะลอตัวลงค่อนข้างมาก เนื่องจากความต้องการใช้ที่ลดลงจากโรงเรียน ปิดภาคเรียน และตรงกับช่วงเทศกาลกินเจ (20 - 28 ต.ค. 60) ส่งผลให้ราคาไข่ไก่คละหน้าฟาร์มเฉลีย่ เดือนตุลาคม 2560 ปรับลดลงมาอยู่ที่ฟองละ 2.35 บาท เมื่อเทียบกับเดือนก่อนที่เฉลี่ยฟองละ 2.71 บาท ตามภาวะอุปสงค์อุปทาน การส่งออกไข่ไก่ เดือนมกราคม - กันยายน 2560 มีการส่งออกจานวน 93.16 ล้านฟอง มูลค่า 314.94 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนที่มีการส่งออกจ�ำนวน 112.50 ล้านฟอง มูลค่า 408.17 ล้านบาท หรือลดลง 17.19% และ 22.84% ตามล�ำดับ โดยประเทศคูค่ า้ ทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ ฮ่องกง (92.75%) เกาหลีใต้ (3.52%) พม่า (1.88%) อื่นๆ (1.85%)

2. แนวโน้มสถานการณ์เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2560 ผลผลิตออกสู่ตลาดต่อเนื่อง คาดว่าปริมาณผลผลิตคงเหลือสะสมอยู่ในระบบจากช่วงเดือนก่อน จะมีปริมาณลดลง เนื่องจากความต้องการใช้กลับเข้าสู่ภาวะปกติจากโรงเรียนเปิดภาคเรียน ภาวะ ดังกล่าว อาจส่งผลให้ราคาไข่ไก่คละหน้าฟาร์มมีแนวโน้มปรับสูงขึ้นระดับหนึ่ง กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน พฤศจิกายน 2560

28


Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

สถิติราคาขายส่ง - ขายปลีก ไข่ ไก่ ปี 2554 - 2560 ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ราคาขายส่ง ไข่ไก่สด คละ ณ แหล่งผลิต (บาท/ฟอง) 2554 2.65 2.70 2.90 3.09 2.94 2.81 2555 2.14 2.58 2.51 2.18 2.54 2.67 2556 2.69 2.80 2.70 2.76 3.14 3.20 2557 3.10 3.09 2.85 2.71 3.18 3.04 2558 2.44 2.31 2.06 2.36 2.50 2.50 2559 2.62 2.78 2.88 2.67 2.89 3.16 2560 2.52 2.36 2.24 2.24 2.57 2.60 ราคาขายส่ง ไข่ไก่ เบอร์ 3 ณ ตลาด กทม. (บาท/ฟอง) 2554 2.80 2.85 3.05 3.24 3.11 2.96 2555 2.33 2.73 2.66 2.33 2.69 2.82 2556 2.79 2.90 2.80 2.83 3.24 3.30 2557 3.25 3.24 3.00 2.86 3.33 3.19 2558 2.59 2.46 2.21 2.51 2.65 2.65 2559 2.77 2.93 3.03 2.82 2.84 3.31 2560 2.67 2.51 2.39 2.39 2.72 2.75 ราคาขายปลีก ไข่ไก่ เบอร์ 3 ณ ตลาด กทม. (บาท/ฟอง) 2554 3.00 3.05 3.25 3.47 3.42 3.26 2555 2.63 3.03 2.96 2.63 2.99 3.12 2556 3.09 3.20 3.10 3.13 3.54 3.60 2557 3.55 3.54 3.30 3.16 3.63 3.49 2558 2.89 2.76 2.51 2.81 2.95 2.95 2559 3.07 3.23 3.33 3.12 3.34 3.61 2560 2.97 2.81 2.69 2.69 3.02 3.05

ก.ค.

ส.ค.

2.84 2.29 2.92 2.97 2.68 3.20 2.58

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

เฉลี่ย

3.00 3.00 2.46 2.31 3.23 3.49 3.28 2.86 2.93 3.00 3.28 3.23 2.73 2.71

3.02 2.15 3.22 2.50 2.80 2.86 2.35

3.19 2.41 3.07 2.75 2.70 2.67 -

2.52 2.40 3.10 2.31 2.53 2.42 -

2.89 2.39 3.03 2.89 2.57 2.89 2.49

2.99 2.44 3.02 3.12 2.83 3.35 2.73

3.15 2.61 3.33 3.43 3.08 3.43 2.88

3.15 2.41 3.63 3.01 3.15 3.38 2.86

3.22 2.25 3.37 2.65 2.95 3.01 2.50

3.46 2.51 3.22 2.90 2.85 2.82 -

2.77 2.50 3.25 2.46 2.68 2.57 -

3.06 2.52 3.14 3.04 2.72 3.02 2.64

3.26 2.74 3.32 3.42 3.13 3.65 3.03

3.35 2.91 3.63 3.73 3.38 3.73 3.18

3.35 2.71 3.93 3.31 3.45 3.68 3.16

3.46 2.55 3.67 2.95 3.25 3.31 2.80

3.84 2.81 3.52 3.20 3.15 3.12 -

3.07 2.80 3.55 2.76 2.98 2.87 -

3.32 2.82 3.44 3.34 3.02 3.34 2.94

กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน

29


Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

สุกร

สถานการณ์

2556

2557

2558

2559

16.80 15.96 15,957 2,664 243,261 925

15.89 15.25 17,227 2,810 410,195 1,765

16.95 16.16 17,077 2,746 560,350 2,539

17.70 16.60 13,660 2,353 920,481 4,603

4. ต้นทุนการผลิต (บาท/กก.)

59.48

69.72

67.54

69.49

5. ราคาสุกรมีชีวิตแหล่งผลิต (บาท/กก.)

67.00

75.17

67.68

68.82

1. ผลผลิต (ล้านตัว) 2. ใช้ในประเทศ (ล้านตัว) : ประมาณการ 3. ส่งออกเนื้อสุกร - ปริมาณ (ตัน) - มูลค่า (ล้านบาท) ส่งออกสุกรมีชีวิต - ปริมาณ (ตัว) - มูลค่า (ล้านบาท)

2560

(ประมาณการ)

18.53 18.15 7,785 1,497 236,775 1,169

(ม.ค. - ก.ย. 60)

62.25

(f ต.ค. 60)

50.24

(f ต.ค. 60)

ที่มา : ผลผลิต การใช้ : กรมปศุสัตว์/ต้นทุน : สศก./ส่งออก : กรมศุลกากร/ราคา : คน

1. สรุปสถานการณ์ เดือนตุลาคม 2560 ภาวะการผลิตปกติ มีผลผลิตสุกรออกสู่ตลาดในปริมาณมาก ในขณะที่ภาวะการค้าในประเทศ ค่อนข้างชะลอตัวเนื่องจากอยู่ในช่วงโรงเรียนปิดภาคเรียน และตรงกับช่วงเทศกาลกินเจ (20 - 28 ต.ค. 60) ประกอบกับการส่งออกสุกรมีชีวิตไปยังประเทศเพื่อนบ้านลดลง ภาวะดังกล่าว ส่งผลให้ราคาสุกร มีชีวิตหน้าฟาร์ม ปรับลดลงจากเฉลี่ยกิโลกรัมละ 61.60 บาท (ก.ย. 60) เป็นกิโลกรัมละ 50.24 บาท (ต.ค. 60) และราคาขายปลีกเนือ้ แดง (ตัดแต่ง) ปรับลดลงจากเฉลีย่ กิโลกรัม 129.40 บาท (ก.ย. 60) เป็นกิโลกรัมละ 115.92 บาท (ต.ค. 60) การส่งออก ปี 2560 (ม.ค. - ก.ย. 60) มีการส่งออกสุกรมีชีวิตและเนื้อสุกร ดังนี้ 1) สุกรมีชีวิต จ�ำนวน 236,775 ตัว ลดลง 69% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ประเทศ คู่ค้าส�ำคัญ ได้แก่ ลาว (80%) กัมพูชา (14%) พม่า (6%) 2) เนื้อสุกร รวม 7,785 ตัน แบ่งเป็นเนื้อสุกรสด จ�ำนวน 1,651 ตัน และเนื้อสุกรแปรรูป จ�ำนวน 6,133 ตัน ลดลง 27% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ประเทศคู่ค้าส�ำคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่น (56%) ลาว (13%) พม่า (10%)

30


Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

2. แนวโน้มเดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม 2560 สภาพอากาศที่เย็นลงจะส่งผลให้สุกรโตเร็ว คาดว่าผลผลิตสุกรจะมีปริมาณเพียงพอกับความ ต้องการของตลาดที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเพื่อรองรับเทศกาลและการท่องเที่ยว ภาวะการค้ามีแนวโน้ม คล่องตัวต่อเนื่องจนถึงช่วงปลายเดือนธันวาคม ด้านราคาสุกรมีชีวิตหน้าฟาร์มมีแนวโน้มปรับสูงขึ้น กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน พฤศจิกายน 2560

สถิติราคาขายส่ง - ขายปลีก สุกร ปี 2553 - 2560 ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต (ฟาร์ม) ณ แหล่งผลิต (บาท/กก.) 2553 58.30 61.25 61.50 61.50 61.50 61.50 2554 53.25 60.18 62.07 68.09 69.50 69.50 2555 55.05 51.07 50.69 62.15 61.79 57.50 2556 62.09 66.03 60.93 67.94 65.60 67.50 2557 74.41 74.92 75.74 80.50 81.24 82.40 2558 63.10 62.50 63.45 68.17 69.83 71.50 2559 67.00 67.10 67.59 74.21 77.50 76.50 2560 60.80 58.66 57.85 63.75 68.83 62.95 ราคาขายส่ง สุกรช�ำแหละ (ซีก) ตลาด กทม. (บาท/กก.) 2553 69.13 71.25 71.50 71.50 71.50 71.50 2554 62.60 70.03 71.85 78.91 81.50 81.50 2555 67.30 64.07 63.60 74.09 72.40 69.40 2556 73.91 78.13 73.12 79.50 76.79 78.50 2557 85.41 85.92 86.74 91.50 92.61 94.40 2558 75.10 74.50 75.45 80.17 81.83 83.50 2559 79.00 79.10 79.59 86.21 89.50 88.50 2560 72.80 70.66 69.85 75.75 80.83 74.95

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

เฉลี่ย

61.36 73.61 56.41 69.12 80.69 68.07 70.61 58.03

59.31 79.86 58.40 73.40 79.55 72.20 69.50 62.14

55.73 70.32 54.50 68.64 73.77 74.50 68.14 61.60

52.40 59.30 49.55 67.50 66.23 67.88 63.50 50.24

53.50 55.82 56.14 67.50 66.10 65.50 63.50 -

52.25 61.80 53.83 67.72 66.50 65.50 60.70 -

58.34 65.28 55.59 67.00 75.17 67.68 68.82 60.49

71.50 84.39 68.41 80.12 92.69 80.07 82.61 70.03

70.40 90.23 70.80 84.40 91.55 84.20 81.50 74.14

66.05 83.36 67.50 79.64 85.77 86.50 80.14 73.60

61.50 70.80 62.55 78.50 78.23 79.88 75.50 62.24

62.50 68.27 67.68 78.50 78.10 77.50 75.50 -

61.30 74.05 66.28 78.72 78.50 77.50 72.70 -

68.30 76.46 67.84 78.32 86.78 79.68 80.82 72.49

›››

31


Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

‹‹‹

ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ราคาขายปลีก เนื้อแดง (ตัดแต่ง) ตลาด กทม. (บาท/กก.) 2553 115.00 118.75 115.00 115.00 115.00 115.00 2554 105.75 116.32 116.63 131.91 134.86 130.00 2555 119.75 112.98 106.43 122.79 123.45 117.50 2556 129.09 134.87 124.17 131.67 130.60 132.50 2557 145.45 148.55 150.60 162.50 162.50 162.26 2558 129.00 127.50 127.98 136.67 140.28 142.50 2559 132.50 132.50 132.72 146.32 152.50 151.82 2560 125.75 123.29 123.37 132.81 140.83 130.68 ราคาขายปลีก เนื้อแดง (ไม่ตัดแต่ง) ตลาด กทม. (บาท/กก.) 2555 111.00 108.55 110.88 104.63 95.86 107.05 2556 116.41 120.74 112.76 122.33 120.38 122.00 2557 137.32 137.84 140.60 152.50 152.50 152.26 2558 117.90 117.00 117.43 125.25 129.61 132.50 2559 122.50 122.50 122.72 136.32 142.50 141.82 2560 115.75 113.29 113.37 122.81 130.83 120.68

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

เฉลี่ย

115.00 137.63 115.45 134.88 157.98 138.93 144.72 123.82

115.00 150.86 119.75 142.50 155.13 141.50 142.50 131.36

110.23 137.39 112.50 135.36 145.45 146.82 140.23 129.40

105.00 120.25 106.14 132.50 134.09 136.55 132.50 115.92

105.00 118.18 117.05 132.50 132.50 132.50 132.50 -

105.00 125.75 113.89 133.06 132.50 132.50 125.50 -

112.42 127.13 115.64 132.81 149.13 136.06 138.86 127.72

104.36 124.76 147.98 128.93 134.72 113.82

106.05 132.50 145.13 131.50 132.50 121.36

125.36 134.46 136.82 130.23 119.40

122.50 122.89 126.55 122.50 105.92

122.50 123.20 122.50 122.50 -

123.06 124.00 122.50 115.50 -

122.11 139.22 125.71 128.86 117.72

กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน

32


Plexomin Cu24 Plexomin Fe20 Plexomin Mn22 Plexomin Zn26

Phytobiotics (Thailand) Co., LTd.

202 Le Concorde Tower, Rajchadapisek Road, Huaykwang, Huaykwang, Bangkok 10320 Tel. 02-6942498 Fax. 02-6942499 www.phytobiotics.com


AUTOMATION DOESN'T HAVE TO BE EXPENSIVE Premier Tech Chronos reveals a new generation of budget conscious bagger, the PTA-100. Take your ďŹ rst leap into automation with this reliable, affordable and easy to install bagging system. Visit PTCHRONOS.COM for more details.

PTCHRONOS.COM


Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

กุ้ง

สถานการณ์

1. ผลผลิต (ตัน) - กุ้งขาวแวนนาไม - กุ้งกุลาดา 2. ใช้ในประเทศ (ตัน) 3. น�ำเข้า ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) 4. ส่งออก ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) 5. ราคากุ้งขาว (บาท/กก.) (ขนาด 60 ตัว/กก.)

ปี 2556

ปี 2557

256,765 246,051 10,714 46,237 22,424 3,442 210,528 68,709 219

217,438 204,385 13,053 52,834 20,722 3,981 164,604 64,274 222

ปี 2558 263,123 254,181 8,942 93,313 21,031 3,240 169,810 57,036 169

ปี 2559 310,979 300,404 10,575 103,786 22,336 3,645 207,193 69,204 180

ปี 2560

(ม.ค. - ส.ค. 60)

179,470 172,598 6,872 55,152 21,087 2,873 124,318 42,027 173

(ก.ย. 60)

หมายเหตุ : กรมประมงคาดการณ์ผลผลิตปี 2560 จำ�นวน 329,976 ตัน (กุ้งขาว 318,955 ตัน กุ้งกุลาดำ� 11,021 ตัน) ที่มา : 1. ผลผลิตไทย : กรมประมง 2. นำ�เข้า - ส่งออก : กรมศุลกากร 3. ราคากุ้งขาว : ตลาดทะเลไทย

1. สรุปสถานการณ์ เดือนกันยายน 2560 ปริมาณผลผลิตกุง้ ทีเ่ ข้าสูต่ ลาดรวม 1,929 ตู้ เพิม่ ขึน้ จากสิงหาคม 2560 จ�ำนวน 113 ตู้ (เพิม่ ขึน้ 6.22%) ส่วนใหญ่เป็นกุง้ ขนาดกลางและเล็ก ภาวะการค้าชะลอตัวลงเล็กน้อย จากความต้องการบริโภค ในประเทศลดลง ส่วนห้องเย็นยังมีความต้องการกุ้งขนาดใหญ่เพื่อส่งมอบตามค�ำสั่งซื้อเพื่อใช้ในช่วง เทศกาลสิน้ ปี ภาวะดังกล่าว ส่งผลให้ราคาขายส่งกุง้ ขาวทุกขนาด ปรับลดลงจากเดือนทีผ่ า่ นมา กก. ละ 3-5 บาท ยกเว้นขนาด 50 ตัว/กก. ราคาปรับสูงขึ้น กก. ละ 3 บาท การส่งออกกุ้ง (ม.ค. - ส.ค. 60) มีปริมาณรวม 124,318 ตัน มูลค่า 42,027 ล้านบาท ปริมาณ และมูลค่าลดลงจากช่วงเดียวกันของปีกอ่ น 2,787 ตัน และ 6 ล้านบาท หรือลดลง 2.19% และ 0.01% ตามล�ำดับ (ม.ค. - ส.ค. 59 ปริมาณ 127,105 ตัน มูลค่า 42,033 ล้านบาท) โดยประเทศคู่ค้าที่ส�ำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา (41%) ญี่ปุ่น (16%) เวียดนาม (9%) แคนาดา (6%) อื่นๆ (28%)

2. แนวโน้ม เดือนตุลาคม-พฤศจิกายน 2560 เนือ่ งจากเป็นช่วงปลายฤดูฝนของภาคตะวันออก ซึง่ สภาพอากาศจะเอือ้ อ�ำนวยต่อการเจริญเติบโต ของกุ้งมากขึ้น คาดว่าจะท�ำให้ปริมาณผลผลิตภาคตะวันออกออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้นมากกว่าภาคใต้ซึ่งเป็น ช่วงทีม่ ฝี นตกหนักและมีความเสีย่ งในการเลีย้ งมากกว่า ด้านภาวะการค้ามีแนวโน้มคล่องตัวขึน้ จากความ ต้องการของห้องเย็นทีม่ อี ย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะกุง้ ขนาดกลางและใหญ่เพือ่ ส่งมอบตามค�ำสัง่ ซือ้ ซึง่ อาจ ส่งผลให้ราคากุง้ ขาวขนาดกลางและใหญ่ปรับสูงขึน้ ส่วนขนาดเล็กอาจทรงตัว หรือปรับลดลงในระดับหนึง่ กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน ตุลาคม 2560

33


Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

สถิติราคาเกษตรกรขายได้ และราคา ณ ตลาดทะเลไทย กุ้งขาวแวนนาไม ปี 2555 - 2560 ณ เดือนมิถุนายน 2560 ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ราคาที่เกษตรกรขายได้ (ขนาด 51-60 ตัว/กก.) ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2555 143.00 145.00 143.00 130.00 120.00 120.00 126.00 140.00 149.00 2556 161.00 163.00 181.00 195.00 199.00 211.00 215.00 220.00 241.00 2557 275.00 278.00 270.00 263.00 227.00 209.00 216.00 225.00 227.00 2558 216.00 223.00 221.00 202.00 198.00 199.00 204.00 192.50 186.00 2559 187.00 200.00 197.00 195.00 187.00 194.00 199.00 196.00 194.00 2560 212.00 223.00 226.00 204.00 182.00 181.00 183.00 187.00 186.00 ราคา ณ ตลาดทะเลไทย (ขนาด 60 ตัว/กก.) ที่มา : ชมรมผู้ค้ากุ้งสมุทรสาคร 2555 147.37 147.86 137.14 119.33 118.20 120.50 120.00 143.95 149.00 2556 167.00 161.18 184.00 202.00 204.00 214.75 215.00 221.00 247.00 2557 271.11 274.21 266.90 242.94 205.28 197.75 203.57 217.57 214.32 2558 191.75 206.25 184.76 155.88 157.65 161.81 165.24 165.00 160.00 2559 190.00 197.25 185.22 165.00 156.89 180.23 186.39 180.00 182.05 2560 214.25 220.79 218.04 173.44 164.05 173.32 177.11 177.50 173.10

ต.ค.

หน่วย : บาท/กก. พ.ย. ธ.ค. เฉลี่ย

151.00 269.00 228.00 175.00 188.00 -

148.00 275.00 226.00 176.00 191.00 -

152.00 275.00 217.00 183.00 199.00 -

138.92 217.08 238.42 197.96 193.92 198.22

148.00 275.00 199.29 149.00 170.53 -

147.00 268.57 195.50 156.90 178.64 -

146.25 271.76 178.89 175.00 193.25 -

137.05 219.27 222.28 169.10 180.45 187.96

กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน ตุลาคม 2560

34


Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

เคาะสินเชื่อเก็บข้าวโพด ป้องกันผลผลิตล้นตลาด

ครม.อนุมัติโครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ปี 2560/2561 วงเงิน 45 ล้าน กันข้าวโพดล้นตลาด นายณัฐพร จาตุศรีพิทักษ์ ที่ปรึกษา รมว.พาณิชย์ เปิดเผยว่า ที่ประชุม คณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบโครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปี 2560/2561 วงเงิน 45 ล้านบาท เพือ่ ชดเชยดอกเบีย้ ตามทีก่ ระทรวงพาณิชย์เสนอ เนือ่ งจากส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) คาดว่าจะมีปริมาณข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ ออกสู่ตลาด 4.43 ล้านตัน ทั้งนี้ คาดว่าผลผลิตจะออกมาในเดือน ก.ย. - พ.ย. มากที่สุด ประมาณ 3.07 ล้านตัน หรือประมาณ 69.3% ของผลผลิตประเทศ โดยเดือน ต.ค. จะออกมากทีส่ ดุ 1.14 ล้านตัน ส่งผลกระทบต่อราคาจ�ำหน่าย จึงอนุมัติงบให้สถาบันเกษตร สหกรณ์ การเกษตร กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เพื่อด�ำเนินการรวบรวมผลผลิต โดยระยะเวลาด�ำเนินโครงการเริม่ 1 พ.ย. 2560 - 30 มี.ค. 2562 ระยะเวลาจ่ายเงินกู้ ตั้งแต่ 1 พ.ย. 2560 - 31 มี.ค. 2561 ก�ำหนดช�ำระคืนไม่เกิน 12 เดือน และต้อง ช�ำระให้เสร็จสิ้นไม่เกิน 28 ก.พ. 2562 โดยธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร เป็นผู้ให้กู้วงเงินทั้งสิ้น 1,500 ล้านบาท ส�ำหรับปัจจุบนั ราคาข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ ณ วันที่ 5 ต.ค. 2560 ที่ จ.เพชรบูรณ์ เกษตรกรขายได้ 7.15 บาท/กิโลกรัม (กก.) ที่ความชื้น 14.5% ลดลงจากเดือน ก.ย. ที่ขายได้ 7.40 บาท/กก. โรงงานอาหารสัตว์ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล รับซื้อที่ความชื้น 14.5% ที่ราคา 7.90 บาท/กก. ลดลงจากเดือน ก.ย. ที่รับซื้อ ในราคา 8.28 บาท/กก.

ภาพประกอบ : @JAP_TENFAM

ที่มา : โพสต์ทูเดย์ ฉบับวันที่ 01 พฤศจิกายน 2560

35


Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

นครสวรรค์รับสมัครชาวนา ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ - พืชไร่ แทนนาปรัง

รับเงินสนับสนุนไร่ละ 2 พันบาท

เกษตรจังหวัดนครสวรรค์ ให้สำ� นักงานเกษตรอ�ำเภอทุกแห่งเปิดรับสมัครชาวนาที่จะเข้าร่วม โครงการปลูกข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ และข้าวฟ่าง ถัว่ ลิสง ถัว่ เขียว หรือพืชไร่อนื่ แทนการท�ำนาปรัง โดย รัฐบาลให้การสนับสนุนไร่ละ 2,000 บาท เพื่อลดพื้นที่การท�ำนาปรังในฤดูแล้ง และบริษัทเอกชน ได้เปิดสถานที่รับซื้อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ก.ก. ละ 7 บาท ความชื้นไม่เกิน 15% ด้วย เมื่อวันที่ 8 พ.ย. นายณัฎฐกิตติ์ ของทิพย์ เกษตรจังหวัดนครสวรรค์ กล่าวว่า เวลานี้จังหวัด นครสวรรค์ ให้ส�ำนักงานเกษตรอ�ำเภอทั้ง 15 อ�ำเภอ เปิดรับสมัครชาวนาทั้ง 15 อ�ำเภอ สมัครเข้า โครงการส่งเสริมการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และปลูกข้าวฟ่าง ถั่วเขียว ถั่วลิสง หรือพืชตระกูลถั่ว แทนการท�ำนาปรัง เพื่อรับเงินสนับสนุนจากรัฐบาลแทนการท�ำนาปรังในฤดูแล้ง ในฤดูการผลิต 2560/ 2561 โดยรัฐบาลให้การสนับสนุนไร่ละ 2,000 บาท ส�ำหรับชาวนาทีง่ ดท�ำนาปรังมาปลูกข้าวฟ่าง ถัว่ ลิสง ถั่วเขียว หรือพืชตระกูลถั่ว รายละไม่เกิน 10 ไร่ ส่วนชาวนาที่เปลี่ยนการท�ำนาปรังมาปลูกข้าวโพด เลี้ยงสัตว์แทน จะได้เงินสนับสนุนไร่ละ 2,000 บาท ไม่เกิน 15 ไร่ ต่อ 1 รายเช่นกันทั้งหมดเป็นไป ตามมติการประชุม ครม. เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2560 ส�ำหรับข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จากโครงการนี้ บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด ได้เปิดรับซื้อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ในโครงการในราคาประกัน ก.ก. ละ 7 บาท ความชื้น 15% ด้วย ที่มา : https://www.prachachat.net/economy/news-67952

36


Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

ครม. ไฟเขียวงบ 45 ล้านบาท

ช่วยเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปี 60/61 วันที่ 31 ตุลาคม 2560 เวลา 11.30 น. ผู้สื่อข่าวรายงานจาก ตึกนารีสโมสร ท�ำเนียบรัฐบาลว่า นายณัฐพร จาตุศรีพิทักษ์ ที่ปรึกษา รัฐมนตรี ประจ�ำส�ำนักนายกรัฐมนตรี แถลงภายหลังจากการประชุม ในวันนี้ ว่าด้วยเรือ่ งแนวทางการช่วยเหลือเกษตรกรผูป้ ลูกข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ ปี 2560/61 โดยในวันนี้ได้อนุมัติให้กระทรวงพาณิชย์ เกี่ยวกับแนวทาง การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เป็นโครงการสินเชื่อเพื่อ รวบรวมข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และสร้างมูลค่าเพิม่ โดยสถาบันเกษตรกร ปี 60/61 วงเงินงบประมาณ 45 ล้านบาท ขณะนี้ส�ำนักงานเศรษฐกิจทางเกษตรคาดว่าในปี 2560 จะมีปริมาณผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ออกมาจ�ำนวนทั้งสิ้น 4.43 ล้านตัน อย่างไรก็ตาม ยังคงไม่เพียงพอต่อความต้องการการใช้ข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ซึ่งปกติต้องการปีละ 8.1 ล้านตัน นายณัฐพร กล่าวต่อว่า ช่วงเดือนกันยายน - พฤศจิกายน เป็นช่วงที่ผลผลิตออกสู่ท้องตลาด ประมาณ 3.07 ล้านตัน หรือคิดเป็นร้อยละเกือบ 70% ของผลผลิตทั้งประเทศ ประกอบกับผล กระทบจากฝนตกชุกในหลายพื้นที่ในช่วงนี้ จึงส่งผลให้ผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีความชื้นสูง และ เกษตรกร หรือผูร้ บั ซือ้ บางรายไม่สามารถปรับปรุงคุณภาพได้ทนั พร้อมทีจ่ ะจ�ำหน่ายผลผลิตเข้าสูโ่ รงงาน อาหารสัตว์ ท�ำให้ราคาอาจมีแนวโน้มปรับตัวลดลง ดังนัน้ จึงได้เสนอโครงการเพือ่ สนับสนุนสินเชือ่ ให้กบั สถาบันเกษตรกร ได้แก่ สหกรณ์การเกษตร กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เป็นเงินทุนหมุนเวียนในการรวบรวม หรือรับซื้อข้าวโพด เลี้ยงสัตว์จากเกษตรกร ซึ่งขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์กับกรมส่งเสริมการเกษตร นอกจากนี้ ยังช่วยดูดซับปริมาณผลผลิตข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ในช่วงทีผ่ ลผลิตออกมาก โดยเป้าหมายจะเป็น วงเงินสินเชื่อทั้งหมดจ�ำนวน 1,500 ล้านบาท ทาง ธ.ก.ส จะคิดดอกเบี้ยเงินกู้ในอัตราร้อยละ 4 ต่อปี โดยคิดจากสถาบันเกษตรกรร้อยละ 1 และทางรัฐบาลจะชดเชยส่วนที่เหลือร้อยละ 3 เป็นระยะเวลา ไม่เกิน 12 เดือน นับจากวันที่ได้รับเงินกู้ ที่มา : https://www.prachachat.net/economy/news-63218

37


Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

พาณิชย์เปิดยื่นคำ�ขอ

รับการจัดสรรนำ�เข้าสินค้ากากถั่วเหลือง พาณิชย์เปิดยื่นค�ำขอรับการจัดสรรน�ำเข้า สินค้ากากถัว่ เหลืองเพือ่ ใช้ในอุตสาหกรรมผลิต เพื่อมนุษย์บริโภค และเพื่อใช้ในอุตสาหกรรม อื่นๆ ตามความตกลงการเกษตรตามโควตา WTO ปี 2560 ปริมาณ 2.3แสนตัน นายวันชัย วราวิทย์ รองอธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ เปิดเผยว่า ตามที่ ประเทศไทยได้ด�ำเนินการเปิดตลาดสินค้าเกษตรตามพันธกรณีตามความตกลง องค์การการค้าโลก (WTO) โดยคณะกรรมการพืชน�้ำมันและน�้ำมันพืช ในคราว ประชุมครั้งที่ 1/2560 เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2560 และคณะรัฐมนตรีในคราว ประชุม เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2560 มีมติเห็นชอบก�ำหนดปริมาณเปิดตลาด และอัตราภาษีในและนอกโควตาสินค้ากากถั่วเหลืองเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมผลิต เพื่อมนุษย์บริโภค ตามพิกัดอัตราศุลกากร 2304.00.90.002 และเพื่อใช้ใน อุตสาหกรรมอื่นๆ ตามพิกัดอัตราศุลกากร 2304.00.90.090 ส�ำหรับปี 2560 ซึ่งกระทรวงพาณิชย์ได้ออกระเบียบเปิดตลาดเพื่อจัดสรรปริมาณน�ำเข้าในโควตา สินค้าดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว ปัจจุบันอยู่ระหว่างส่งระเบียบฉบับดังกล่าวไปประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา โดยปี 2560 ได้ก�ำหนดปริมาณที่จะจัดสรรส�ำหรับสินค้ากากถั่วเหลืองเพื่อ ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตเพื่อมนุษย์บริโภค และเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมอื่นๆ รวม 230,559 ตัน

ที่มา : https://www.prachachat.net/economy/news-56576

38


Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

ส�ำหรับคุณสมบัตขิ องผูย้ นื่ ขอรับการจัดสรร เป็นนิตบิ คุ คลทีใ่ ช้กากถัว่ เหลืองเป็นวัตถุดบิ ในการ ผลิตในกิจการของตนเอง และด�ำเนินกิจการอยู่ ในปัจจุบัน โดยผูป้ ระสงค์จะขอรับการจัดสรร สามารถ ยื่นแบบค�ำขอรับการจัดสรรได้ภายใน 15 วัน ท�ำการ ในวันและเวลาราชการ นับตัง้ แต่วนั ถัดจาก วั น ที่ ร ะเบี ย บกระทรวงพาณิ ช ย์ ฯ ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา ทีก่ องบริหารสินค้าข้อตกลงและ มาตรการการค้า ชั้น 13 กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เลขที่ 563 ถ.นนทบุรี ต.บางกระสอ อ.เมือง จ.นนทบุรี ทั้ ง นี้ ผู ้ ป ระกอบการต้ อ งน� ำ หลั ก ฐาน ประกอบการยื่นขอรับการจัดสรร ได้แก่ 1) แบบ ค�ำขอรับการจัดสรรที่กรอกรายละเอียดถูกต้อง ครบถ้วน 2) ส�ำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียน นิติบุคคล ซึ่งออกโดยกรมพัฒนาธุรกิจการค้า

ไม่เกิน 6 เดือน นับถึงวันยื่นค�ำขอ 3) ส�ำเนา ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (ร.ง. 4) หรือ ส�ำเนาใบรับแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจ�ำพวก ที่ 2 (ร.ง. 2) หรือเอกสารหลักฐานอื่นที่แสดงว่า เป็นโรงงานที่ใช้กากถั่วเหลืองเป็นวัตถุดิบในการ ผลิตและด�ำเนินกิจการอยูใ่ นปัจจุบนั 4) ส�ำเนาบัตร ประจ�ำตัวประชาชน/หนังสือเดินทางของกรรมการ ผูม้ อี ำ� นาจ 5) หนังสือมอบอ�ำนาจ (กรณีกรรมการ ผู้มีอ�ำนาจลงนามไม่ได้มาด�ำเนินการด้วยตนเอง) 6) ส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวประชาชนผูร้ บั มอบอ�ำนาจ (ถ้ามี) นายวันชัย กล่าวเพิ่มเติมว่า ผู้ที่มีความ ประสงค์จะขอรับการจัดสรรโควตาฯ ให้ยื่นแบบ ค�ำขอรับการจัดสรรภายในระยะเวลาที่ก�ำหนด ทั้ ง นี้ สามารถศึ ก ษารายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม และ ดาวน์โหลดแบบค�ำขอรับการจัดสรร และหนังสือ มอบอ�ำนาจได้ที่เว็บไซต์ www.dft.go.th

39


Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

เผย 'โคเด็กซ์' บีบนำ�เข้าหมูมะกัน 'ฉัตรชัย' ถามข้อเท็จจริงกลาง ครม. หวั่นกระทบ

เปิดต้นตอน�ำเข้าหมูสหรัฐ มติโคเด็กซ์ตั้งแต่ปี 2555 ก�ำหนดสารเร่งเนื้อแดงไม่เกินมาตรฐาน ท�ำให้มะกันกดดันไทย น�ำเข้าหมู "ฉัตรชัย" ชงถามพาณิชย์ใน ครม. เรือ่ งเจรจากับสหรัฐฯ ค้านน�ำเข้า หวั่นกระทบผู้เลี้ยงหมู นางอรมน ทรัพย์ทวีธรรม รองอธิบดีกรมเจรจาการค้า ระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ (พณ.) เปิดเผยกรณีกระแส ข่าวไทยถูกกดดันจากประเทศผู้ส่งออก ประเด็นน�ำเข้าเนื้อสุกร ที่มีสารเร่งเนื้อแดงนั้น กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศขอชี้แจง ว่า สืบเนื่องจากคณะกรรมาธิการ CODEX (โคเด็กซ์) หรือ Codex Alimentarius Commission หน่วยงานขององค์การอาหารและเกษตรสหประชาชาติ (FAO) และ องค์การอนามัยโลก (WHO) มีสมาชิก 187 ประเทศ รวมทั้งไทย ท�ำหน้าที่ก�ำหนด มาตรฐานอาหารที่ปลอดภัยต่อการบริโภค โดย โคเด็กซ์ มีมติเมือ่ เดือน ก.ค. 2555 ก�ำหนดค่าปริมาณ สารเร่งเนือ้ แดง ในสุกรตกค้างที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคในเนื้อสุกร 4 ชนิด คือ กล้ามเนื้อ ไขมัน ตับ และไต ท�ำให้ประเทศผู้ส่งออก เช่น สหรัฐฯ และแคนาดา ผลักดันให้ไทยเร่ง ด�ำเนินการยกเลิกการห้ามน�ำเข้าเนื้อสุกร และผลิตภัณฑ์ที่มีสารเร่งเนื้อแดงตกค้าง และให้เปิดให้มกี ารน�ำเข้าได้ในระดับทีไ่ ม่เกินมาตรฐานทีโ่ คเด็กซ์กำ� หนด ขอให้ไทย เร่งปรับมาตรฐานโดยเร็ว

ที่มา : ข่าวสด ฉบับวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2560

40


Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

"ส่งผลให้ไทยต้องปฏิบัติตามในฐานะเป็น สมาชิกของ Codex และองค์การการค้าโลก (WTO) หากไม่ปฏิบัติตามอาจจะถูกประเทศคู่ค้าฟ้องร้อง ได้ ปัจจุบันไทยไม่มีข้อจ�ำกัดเรื่องการน�ำเข้าหมู ปลอดสาร หากจะน�ำเข้าต้องมาขออนุญาตด้าน สุขอนามัยก่อนจึงจะน�ำเข้าได้ ส่วนการน�ำเข้าหมู ทีม่ สี ารเร่งเนือ้ แดงตกค้างจากสหรัฐฯ ขณะนีย้ งั ไม่ ได้มีการอนุญาตให้น�ำเข้า เพราะจะต้องปรับปรุง แก้ไขกฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องก่อน" ด้านพล.อ.ฉัตรชัย สาริกลั ยะ รมว.เกษตร และสหกรณ์ เปิดเผยว่า การประชุม ครม. วันที่ 10 ต.ค. นี้ จะถือโอกาสสอบถามความชัดเจน เกีย่ วกับการน�ำเข้าหมูสหรัฐอเมริกา จากกระทรวง พาณิชย์ และกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) เพราะ หากมีการน�ำเข้า จะกระทบโดยตรงกับเกษตรกร ผู ้ เ ลี้ ย งหมู และได้ ตั้ ง ข้ อ สั ง เกตในเรื่ อ งนี้ ไ ปยั ง กระทรวงพาณิชย์แล้วว่า ให้คิดให้ดีๆ เรื่องการน�ำ เข้า เพราะหวั่นกระทบต่อเกษตรกรผู้เลี้ยงหมู

นายอภัย สุทธิสังข์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ กล่ า วว่ า กฎหมายสาธารณสุ ข ไม่ ใ ห้ มี ส ารเร่ ง เนื้อแดงในอาหาร หากพาณิชย์จะน�ำเข้า ต้องมี การแก้กฎหมาย ไทยแจ้งสหรัฐฯ ไว้นานแล้วว่า หากจะให้ไทยน�ำเข้าหมู ซึ่งทุกฟาร์มมีการใช้สาร เร่งเนื้อแดง ไทยต้องมีการตั้งคณะท�ำงานหารือ เรื่องเทคนิควิชาการ ผลกระทบทั้ง 2 ฝ่ายก่อน จึงจะสรุปได้ ต้องใช้เวลานานพอสมควร แหล่งข่าวจาก สธ. กล่าวว่า การเจรจาน�ำ เข้าหมูจากสหรัฐฯ มีบางหน่วยล็อบบี้ให้กระทรวง เกษตรฯ และสธ. เปิดทางอนุมัติการน�ำเข้าหมู จากสหรัฐฯ แต่กระทรวงเกษตรฯ ยืนยันผลกระทบ ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เลี้ยงหมู อาจไม่คุ้มกับการน�ำเข้า ขณะที่ สธ. กังวลเรื่องสารเร่งเนื้อแดง

41


Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

กรมการข้าว สนองนโยบาย แปลงสาธิตนาแปลงใหญ่ 4.0 ดึงเทคโนโลยีและเครื่องจักรกลบริหารจัดการแปลงแทนแรงงานคน นำ�ร่องที่สุพรรณบุรี นายอนันต์ สุวรรณรัตน์ อธิบดีกรมการข้าว เปิดเผยว่า จากนโยบาย พลเอกฉัตรชัย สาริกลั ยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้มีการด�ำเนินการจัดท�ำแปลงสาธิต แปลงใหญ่ เกษตร 4.0 น�ำร่อง 7 แปลง ท�ำเกษตรสมัยใหม่ เป็นต้นแบบการท�ำเกษตรเพื่อรองรับการเข้าสู่ สังคมผู้สูงอายุ และขาดแคลนแรงงานของไทย โดยสินค้าข้าวเป็น 1 ใน 7 แปลงน�ำร่อง ทัง้ นี้ กรม การข้าวได้คัดเลือกพื้นที่ที่ดำ� เนินการไว้คือ แปลง ใหญ่ข้าว ต�ำบลเขาพระ อ�ำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งเป็นแปลงใหญ่ประชารัฐ (เกษตรสมัยใหม่) ทีก่ รมการข้าวบูรณาการร่วมกับ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง และภาคเอกชน ได้แก่ บริษทั ซีพี อินเตอร์เทรด จ�ำกัด โดยแปลงนาสาธิตนี้ จะมุ่งเน้นในการน�ำ เทคโนโลยีสมัยใหม่ หรือเทคโนโลยีเกษตรแม่นย�ำ (Precision Farming) และเครื่องจักรกลทางการ เกษตรมาใช้ในการบริหารจัดการระบบการผลิต ทั้งหมด ตั้งแต่การเตรียมดิน การปลูก วางแผน การใส่ปยุ๋ ให้นำ�้ ระยะเวลาการเก็บเกีย่ ว ซึง่ ขณะนี้ อยู่ระหว่างขั้นตอนขอความร่วมมือกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เช่น ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์ ที่มา : มติชน ฉบับวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2560

42

และเทคโนโลยี (NECTEC สวทช.) ซึง่ มีเทคโนโลยี หรือระบบสารสนเทศที่ทันสมัยเพื่อการจัดการ ดิน จัดการน�ำ้ จัดการระบบการผลิตพืช นอกจากนี้ ต้องมีการพัฒนาระบบซอฟแวร์ใช้ควบคุมเครื่อง จักรกลในการส่งน�ำ้ ตามเวลาทีพ่ ชื ต้องการ เป็นต้น เบือ้ งต้นคาดการณ์วา่ จะสามารถเริม่ ด�ำเนิน การได้ภายในช่วงฤดูนาปรังนี้ จะเริ่มจากพื้นที่ ประมาณ 500 ไร่ จาก 1,000 ไร่ โดยช่วงแรก คงจะน�ำแอพพลิเคชั่นหรือระบบไอทีที่มีอยู่ เช่น แอพพลิเคชั่นการจัดการดินปุ๋ยของกรมพัฒนา ทีด่ นิ การจัดการพันธุข์ า้ ว และเทคโนโลยีการผลิต ของกรมการข้าว มาใช้วางระบบปฏิบัติการแต่ละ ช่วงการผลิตว่าต้องท�ำอะไรบ้าง จะทราบถึงต้นทุน และผลผลิต รวมถึงมีการใช้โดรนในการฉีดพ่น ยาฆ่าแมลง ทัง้ นี้ เชือ่ มัน่ ว่าหากมีการน�ำเทคโนโลยี ที่เหมาะสมและเครื่องจักรกลการเกษตรเข้ามาใช้ ในการเกษตร จะสามารถควบคุมคุณภาพการผลิต และลดความสูญเสีย น�ำไปสูต่ น้ ทุนทีล่ ดลง รายได้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างไรก็ตาม ถ้าแปลงสาธิตเกษตร 4.0 ประสบผลส�ำเร็จ จะสามารถเป็นโมเดลการท�ำ เกษตรสมัยใหม่ที่ชาวนารุ่นใหม่ใช้เป็นแนวทาง ในการท�ำการเกษตรอย่างมั่นคงได้


Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

มั่นใจอุตสาหกรรมประมงไทย ผ่านระบบตรวจสอบย้อนกลับ

รมว.เกษตรและสหกรณ์ ลงพื้นที่สมุทรสาคร ดูความพร้อมระบบตรวจสอบย้อนกลับสินค้า ประมงไทย เตรียมรับอียูตรวจเข้มพฤศจิกายนนี้ พร้อมมั่นใจอุตสาหกรรมประมงไทยต้องปลอด IUU ทั้งระบบ เมื่ อ วั น ที่ 16 ตุ ล าคม พลเอกฉั ต รชั ย สาริกัลยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ พร้อมนายอดิศร พร้อมเทพ อธิบดี กรมประมง น� ำ คณะ และสื่ อ มวลชนลงพื้ น ที่ จังหวัดสมุทรสาคร เพื่อตรวจติดตามการปฏิบัติ งานระบบตรวจสอบย้อนกลับสินค้าสัตว์น�้ำ ก่อน คณะกรรมาธิการยุโรปด้านประมงและทะเล (DG MARE) ของสหภาพยุโรป (EU) จะเดินทางมา ตรวจประเมินในช่วงต้นเดือนพฤศจิกายน 2560 เพื่อสร้างความมั่นใจให้อุตสาหกรรมประมงไทย ปราศจากการท� ำ ประมงผิ ด กฎหมายทั้ ง ระบบ (IUU) โดยคณะ รมว.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้เดินทางมาที่องค์การสะพานปลาสมุทรสาคร ต.มหาชัย อ.เมืองสมุทรสาคร เพื่อรับฟังการสรุป ระบบตรวจสอบย้อนกลับสัตว์น�้ำจากเรือประมง ไทย และตรวจการปฏิบัติงานการควบคุมการ เข้ า ออกของเรื อ ประมง พร้ อ มตรวจสอบการ

ด�ำเนินงานทางระบบสารสนเทศ จากนัน้ ได้เดินทาง ไปที่ท่าเรือประมงพรพีระพัฒน์ ต.บางหญ้าแพรก อ.เมืองสมุทรสาคร ตรวจสอบการขนถ่ายสัตว์น�้ำ จากเรื อ ประมงขึ้ น สู ่ ท ่ า เรื อ เพื่ อ คั ด แยกสั ต ว์ น�้ ำ โดยใช้กระบะ สเตนเลส ยกสูงจากพื้นในการ คัดแยกสัตว์นำ�้ เพื่อความสะอาด พลเอกฉั ต รชั ย กล่ า วว่ า ประเทศไทย นับเป็นผู้ผลิตและส่งออกสินค้าสัตว์น�้ำรายใหญ่ ของโลก กระทรวงเกษตรฯ จึงให้ความส�ำคัญใน กระบวนการผลิตสินค้าประมงให้ได้คุณภาพและ มาตรฐาน สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ในทุก ขั้นตอนตามหลักปฏิบัติสากล ปัจจุบันกระทรวง เกษตรฯ โดยกรมประมงได้ปรับปรุงระบบตรวจ สอบย้อนกลับของประเทศไทย เพื่อไม่ให้มีสัตว์น�้ำที่มาจากการท�ำประมงผิดกฎหมาย ขาดการ รายงานและไร้การควบคุมเข้ามาในประเทศไทย รวมถึงไม่ให้มีการส่งออกสัตว์น�้ำที่มาจากการท�ำ ประมงแบบ IUU อย่างเด็ดขาด ซึง่ ได้พฒ ั นาระบบ ตรวจสอบย้อนกลับสินค้าสัตว์นำ�้ ให้มปี ระสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น โดยแยกเป็น 2 ส่วนคือ ระบบตรวจสอบ ย้อนกลับส�ำหรับสัตว์น�้ำที่จับโดยเรือประมงไทย และสัตว์นำ�้ ที่น�ำเข้าจากต่างประเทศ

ที่มา : ไทยโพสต์ ฉบับวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2560

43


Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

ส�ำหรับสัตว์นำ�้ ทีจ่ บั โดยเรือประมงไทย ได้มี การจัดวางระบบตรวจสอบย้อนกลับเพื่อให้ทราบ ถึงแหล่งทีม่ าของสินค้าและผลิตภัณฑ์ประมงทะเล ได้ตลอดสายการผลิต โดยก�ำหนดให้เรือประมง ที่จับสัตว์น�้ำ ต้องจดบันทึกการท�ำการประมงตาม ความเป็นจริงทุกครั้ง และมีรายละเอียดของชนิด สัตว์นำ�้ ปริมาณสัตว์นำ�้ บริเวณทีจ่ บั และเครือ่ งมือ การท�ำประมง เมื่อน�ำสัตว์น�้ำขึ้นที่ท่าเทียบเรือ ก�ำหนดให้ท่าเทียบเรือต้องคัดแยกและชั่งน�้ำหนัก สัตว์นำ�้ รายชนิด

ส่วนสัตว์น�้ำที่น�ำเข้าจากต่างประเทศ ผู้ ประกอบการน�ำเข้า ต้องขออนุญาตน�ำเข้าสัตว์น�้ำ โดยด่านตรวจสัตว์นำ�้ ของกรมประมงจะด�ำเนินการ ตรวจสอบสัตว์นำ�้ และเอกสาร เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าสัตว์นำ�้ ไม่ได้มาจากการท�ำการประมง IUU โดยท�ำการ ตรวจสอบเอกสารต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น ใบอนุญาต ท�ำการประมง ใบอนุญาตขนถ่าย แหล่งท�ำการ ประมง พฤติกรรมเรือและเส้นทางเดินเรือ เป็นต้น หากข้อมูลถูกต้องจะอนุญาตให้เรือเทียบท่า และ ขนถ่ายสัตว์นำ�้ ได้

กรณีขนส่งไปขายที่ตลาดกลางโดยยังไม่มี การคัดแยกและชั่งน�้ำหนัก ต้องชั่งน�้ำหนักโดย ประมาณของสัตว์น�้ำที่ขนส่ง และเมื่อถึงตลาด กลาง ต้องคัดแยกและชั่งน�้ำหนักสัตว์น�้ำรายชนิด และเมือ่ มีการซือ้ ขายสัตว์นำ�้ ผูซ้ อื้ ผูข้ ายต้องกรอก ข้อมูลชนิดสัตว์นำ�้ และปริมาณทีซ่ อื้ ขายในเอกสาร ก�ำกับการซื้อขายสัตว์น�้ำ เพื่อให้มีข้อมูลในการ ตรวจสอบย้อนกลับถึงแหล่งทีม่ าของสัตว์นำ�้ ได้ทกุ ขั้นตอนตลอดสายการผลิต

นอกจากนี้ ยังมีการควบคุมการขนถ่าย และชั่งน�้ำหนักสัตว์น�้ำที่ขนขึ้นรถบรรทุก และ จัดท�ำเอกสาร Tally sheet เพื่อก�ำกับรถบรรทุก ทุ ก คั น ที่ ข นส่ ง ไปยั ง โรงงาน และบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ลงในระบบคอมพิวเตอร์ เมื่อสัตว์นำ�้ ไปถึงโรงงาน จะมีการคัดแยกและชั่งน�้ำหนักสัตว์น�้ำรายชนิด และออกหนังสือก�ำกับการจ�ำหน่ายสัตว์น�้ำน�ำเข้า ให้กับผู้น�ำเข้าสัตว์น�้ำ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของ ระบบตรวจสอบย้อนกลับ

44


Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

กรมประมง ได้ มี ร ะบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ใน 2 รูปแบบ ได้แก่ 1. ระบบตรวจสอบย้อนกลับ สัตว์น�้ำที่จับจากเรือประมงไทย และ 2. ระบบ ตรวจสอบย้อนกลับสัตว์นำ�้ น�ำเข้า เพื่อให้สามารถ ตามสอบเส้ น ทางไหลของสั ต ว์ น�้ ำ ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพตลอดสายการผลิต ตัง้ แต่การน�ำเข้า สัตว์น�้ำ การขึ้นท่าสัตว์น�้ำ การกระจายสัตว์น�้ำ การแปรรูป การออกใบรับรองการจับสัตว์นำ�้ การ ออกใบรับรองการแปรรูปสัตว์น�้ำ ตลอดจนถึง กระบวนการสุดท้าย คือการส่งออกผลิตภัณฑ์ สัตว์นำ�้ นั่นเอง นอกจากนี้ ยั ง ได้ เ พิ่ ม ความเข้ ม งวดใน กระบวนการตรวจสอบอื่นๆ ทั้งระบบ อาทิ เพิ่ม การตรวจสอบเรือประมงที่แจ้งเข้า - แจ้งออกให้ได้ 100 เปอร์เซ็นต์ เพิ่มความเข้มงวดในการตรวจ สอบการน� ำ สั ต ว์ น�้ ำ ขึ้ น ท่ า ควบคุ ม การขนถ่ า ย สัตว์นำ�้ และลูกเรือกลางทะเล สร้างความตระหนัก ให้ผู้ประกอบการประมงตลอดสายการผลิตให้ ความร่วมมือ และก�ำชับให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด�ำเนินการให้เป็นไปตามระเบียบและกฎหมายที่

ก�ำหนดไว้อย่างเข้มงวด และเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ ของระบบตรวจสอบย้ อ นกลั บ สั ต ว์ น�้ ำ ที่ จั บ จาก เรือประมงไทย ได้มีการน�ำระบบเครื่องชั่ง Smart scale ที่สามารถส่งข้อมูลชนิดและน�้ำหนักที่ชั่ง เข้าระบบตรวจสอบย้อนกลับสัตว์น�้ำที่จับจากเรือ ประมงไทย โดยได้มีการน�ำร่องใช้กับท่าเทียบเรือ ขององค์การสะพานปลา ท�ำให้ข้อมูลชนิด และ น�้ำหนักสัตว์น�้ำมีความโปร่งใส และสอดคล้องกับ ข้อเท็จจริง รมว. กระทรวงเกษตรฯ กล่าวในตอนท้าย ว่ า การลงพื้ น ที่ ใ นครั้ ง นี้ เ พื่ อ ตรวจติ ด ตามการ ปฏิบัติงานของระบบตรวจสอบย้อนกลับสินค้า ประมง เป็นส่วนหนึ่งในการเตรียมความพร้อม ก่อนทีค่ ณะกรรมาธิการยุโรปด้านประมงและทะเล ของสหภาพยุโรปจะเดินทางมาตรวจสอบในช่วง ต้นเดือนพฤศจิกายนนี้ โดยเฉพาะในประเด็นของ ระบบการตรวจสอบย้อนกลับ ซึ่งขณะนี้ ไทยได้ เตรียมความพร้อมในด้านต่างๆ อย่างเต็มที่ เพือ่ ให้ อุตสาหกรรมประมงไทยปราศจากการท�ำประมง ผิดกฎหมาย.

45


Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

ปศุสัตว์แนะ ดูแลสุขภาพสัตว์

ยกระดับมาตรฐานเลี้ยงสัตว์ปีก นายสัตวแพทย์อภัย สุทธิสงั ข์ อธิบดีกรมปศุสตั ว์ เปิดเผยว่า ระบบการเลีย้ ง สัตว์ปีกในประเทศไทย ส่วนใหญ่เป็นการเลี้ยงเชิงอุตสาหกรรมภายใต้ระบบฟาร์ม มีการก�ำหนดมาตรฐานฟาร์มอย่างชัดเจน แต่มบี างส่วนทีเ่ ลีย้ งสัตว์ปกี แบบรายย่อย ซึ่งเป็นการเลี้ยงแบบปล่อย เลี้ยงหากินเองตามธรรมชาติบริเวณบ้าน สวนผลไม้ ไม่มีการก�ำหนดมาตรฐานฟาร์มที่ชัดเจน ท�ำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคระบาด ในสัตว์ปีกได้ง่าย มีอัตราการป่วยและตายสูง ดังนั้น กรมปศุสัตว์ จึงจัดท�ำโครงการ ยกระดับมาตรฐานการเลีย้ งสัตว์ปกี พืน้ เมือง (Good Farming Management, GFM) ซึง่ เป็นความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เอกชน และประชาชน ในการยกระดับมาตรฐาน การเลี้ยงสัตว์ปีกรายย่อยไปสู่มาตรฐานได้อย่างยั่งยืน ตามนโยบายของ พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รวมทั้งป้องกัน และลดความเสี่ยงต่อโรคระบาดในสัตว์ปีก ตลอดจนการเพิ่มผลผลิตจากการเลี้ยง สัตว์ปีกพื้นเมือง และยังช่วยให้เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจในการเลี้ยง การ จัดการทีถ่ กู ต้องเป็นไปตามหลักวิชาการ ตลอดจนเพิม่ ช่องทางในการจ�ำหน่ายสินค้า ให้กับเกษตรกรในระดับ Modern trade ต่อไป อธิบดีกรมปศุสัตว์ กล่าวว่า ทั้งนี้ ขอความร่วมมือเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ปีก ให้หมั่นดูแลสุขภาพสัตว์ปีกของตน เนื่องจากปัจจุบันเป็นช่วงมีอากาศแปรปรวน ควรจัดให้มีเล้า หรือโรงเรือนส�ำหรับสัตว์ปีกนอนในตอนกลางคืนที่สามารถป้องกัน พาหะน�ำโรคระบาดสัตว์ได้ ทั้งยังง่ายต่อการดูแลสุขภาพสัตว์ปีก โดยสามารถ ขอค�ำแนะน�ำ และสอบถามข้อมูลต่างๆ ได้ที่ส�ำนักงานปศุสัตว์อ�ำเภอ ส�ำนักงาน ปศุสัตว์จังหวัด ใกล้บ้าน ในวันและเวลาราชการ

ที่มา : สยามรัฐ ฉบับวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2560

46




Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

กรมประมง ปกป้องอุตฯ กุ้งแข็งขัน

ออกมาตรการเข้ม หวั่นโรคร้ายไอเอ็มเอ็น เข้าประเทศ ทำ�ไมต้องไม่ให้มี เชื้อโรคร้าย ไอเอ็มเอ็นในไทย? เชื้อไวรัสไอเอ็มเอ็น (IMN) นี้ เดิมไม่มี ในเอเชีย แต่เป็นเชื้อที่มาจากประเทศบราซิล มี รายงานว่า สร้างความเสียหายอย่างหนักให้กบั การ เลี้ยงกุ้งของบราซิลเมื่อปี 2545/2546 และได้รับ การยืนยันจากทีมงานของ ดร.โดนัล ไลท์เนอร์ ผู้เชี่ยวชาญระดับโลกด้านโรคสัตว์น�้ำ - กุ้ง ว่าเป็น ไวรัสเชือ้ ตัวใหม่ชอื่ ว่าไอเอ็มเอ็นวี (IMNV –Infectious Myonecrosis Virus) เมื่อปี 2548 โดย ในปี 2548-2551 พบโรคไอเอ็มเอ็นแพร่ระบาด ในอินโดนีเซีย สร้างความเสียหายอย่างรุนแรงต่อ อุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงกุ้งของอินโดนีเซีย ท�ำให้ผลผลิตกุ้งลดลงเกือบร้อยละ 40 ที่ส�ำคัญ เชื้ อ ไวรั ส อั น ตรายนี้ เป็ น สาเหตุ ส� ำ คั ญ ที่ ท� ำ ให้ การเพาะเลีย้ งกุง้ ของอินโดนีเซียไม่สามารถฟืน้ ตัว เป็นผูน้ ำ� การผลิตกุง้ ได้ ทัง้ ทีอ่ นิ โดนีเซียมีศกั ยภาพ ในการผลิตกุง้ เลีย้ งมาก เพราะมีพนื้ ทีช่ ายฝัง่ ทะเล แหล่งน�้ำจ�ำนวนมาก มีสภาพภูมิประเทศ และ ภูมิอากาศที่เอื้ออ�ำนวยต่อการเลี้ยงกุ้งอย่างยิ่ง มี อุ ณ หภู มิ ที่ พ อเหมาะ ด้ ว ยตั้ ง อยู ่ บ ริ เ วณเส้ น ศูนย์สตู ร เป็นต้น โรคไอเอ็มเอ็น หรือโรคกล้ามเนือ้ ตาย/ขาวขุ่นนี้ ไม่เพียงท�ำให้การเลี้ยงกุ้งยากแล้ว ผลผลิตกุ้งที่ได้คุณภาพจะต�่ำ เพราะไวรัสชนิดนี้

จะเข้าไปท�ำลายกล้ามเนื้อของกุ้ง/เนื้อกุ้ง ราคากุ้ง จะถูกลงกว่ากุง้ ปกติ เกษตรกรขายไม่ได้ราคา และ เป็ น โรคที่ อ ยู ่ ใ นรายชื่ อ โรคระบาดขององค์ ก าร โรคระบาดสัตว์ (OIE) ส�ำหรับประเทศไทย ต้องขอขอบคุณ กรม ประมง ขณะนั้ น ซึ่ ง น� ำ โดยท่ า น ดร.สมหญิ ง เปี่ยมสมบูรณ์ อธิบดีกรมประมงและคณะ ที่เห็น วิกฤติปัญหาโรคไอเอ็มเอ็นในอินโดนีเซีย เกรงว่า หากปล่อยให้เชื้อตัวนี้เล็ดลอดเข้ามาในประเทศ ไทยแล้ ว อุ ต สาหกรรมการเพาะเลี้ ย งกุ ้ ง และ อุตสาหกรรมต่อเนื่องของไทยอาจต้องถึงกาลล่ม สลายได้ เดือนมกราคม ปี 2553 กรมประมง จึงได้ออกประกาศเตือนระวังโรคไอเอ็มเอ็น พร้อม คุมเข้มไม่ให้กุ้งจากประเทศที่พบเชื้อไวรัสไอเอ็มเอ็นเข้าประเทศ โดยได้ออกประกาศกรมประมง 3 ฉบับ คือ 1) การน�ำเข้ากุ้งทะเลเข้ามาในราชอาณาจักร พ.ศ. 2553 2) การขออนุญาตน�ำ ลูกกุ้งทะเลเข้ามาในราชอาณาจักร ฉบับที่ 2 และ 3) ก�ำหนดชนิดของโรคที่ต้องมีหนังสือรับรอง การปลอดเชื้อเอสพีเอฟ (SPF) โดยกรมประมง ได้กำ� หนดเพิม่ เติมในประกาศ ให้กงุ้ ทีจ่ ะน�ำเข้ามา ในประเทศ ต้องมีหนังสือรับรองการปลอดเชือ้ โรค ไอเอ็มเอ็นด้วย

ที่มา : ข่าวกุ้ง ปีที่ 29 ฉบับที่ 350 เดือนกันยายน พ.ศ. 2560

47


Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

ตรวจสอบให้มนั่ ใจว่า ลูกกุง้ ทีซ่ อื้ มาลงเลีย้ งในฟาร์ม ไม่ติดเชื้อไวรัสไอเอ็มเอ็น ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ต้องช่วยกันสอดส่อง เพื่อไม่ให้เกิดการลักลอบ น�ำเข้ากุ้งที่มีเชื้อไวรัสไอเอ็มเอ็นจากประเทศที่มี การระบาดของเชื้อไวรัสไอเอ็มเอ็น ฯลฯ ตามที่ ทราบกัน ดร.อดิศร พร้อมเทพ อธิบดีกรมประมง

นอกจากนั้ น กรมประมงยั ง ได้ ข อความ ร่วมมือหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องต่างๆ เช่น กรมศุลกากร (ประจ�ำด่านตรวจปล่อยสินค้า) กรม ปศุสัตว์ กองทัพเรือ กรมเจ้าท่า ส�ำนักงานต�ำรวจ แห่งชาติ (ต�ำรวจน�้ำ) และกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช ป้องกัน ปราบปราม การ ลักลอบน�ำเข้ากุ้ง โดยเฉพาะจากประเทศที่มีโรค ไอเอ็มเอ็น ฯลฯ อีกด้วย แต่เนื่องปัจจุบันมีการพบโรคไอเอ็มเอ็น เพิ่มขึ้นอีก 2 ประเทศ กรมประมงจึงได้ออก ประกาศห้ามน�ำเข้ากุ้งจากประเทศอินเดีย และ มาเลเซียเป็นการเพิม่ เติม นอกจากนี้ กรมประมง ยังได้ออกมาตรการเพิ่มเติมให้โรงเพาะฟักลูกกุ้ง ส�ำแดงแหล่งที่มาของนอเพลียส พ่อแม่พันธุ์ ทั้งที่ ซื้อขายในประเทศ และจากต่างประเทศ โดยให้มี การจัดท�ำใบซื้อขายพ่อแม่พันธุ์กุ้ง มีการตรวจหา เชื้อไอเอ็มเอ็นจากพ่อแม่พันธุ์ก่อนน�ำไปเพาะ เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้โรคไอเอ็มเอ็น แพร่เข้ามาในประเทศไทย กรมประมงได้ขอความ ร่วมมือทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ต้องไม่มีการลักลอบ น�ำเข้าพ่อแม่พันธุ์ และลูกพันธุ์กุ้งจากประเทศที่มี เชื้อไวรัสไอเอ็มเอ็น โรงเพาะฟักที่ผลิตนอเพลียส ต้องตรวจสอบให้มนั่ ใจว่าพ่อแม่พนั ธุท์ นี่ ำ� มาใช้ จะ ต้องไม่มเี ชือ้ ไวรัสไอเอ็มเอ็น เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งต้อง

48

มาตรการทีก่ ล่าวมาข้างต้นของกรมประมง และด้วยความร่วมมือร่วมใจกันของทุกภาคส่วน อย่างเข้มแข็ง ท�ำให้วันนี้ประเทศไทยยังโชคดีที่ ยังไม่มีโรคร้ายไอเอ็มเอ็นที่ว่านี้ในประเทศ ซึ่ง ต้องขอขอบคุณกรมประมง และทุกท่าน

กรมประมง-สมาคมผูเ้ ลีย้ งกุง้ ไทยสมาพันธ์เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้ง ห่วง IMNV เล็ดลอดเข้า ปท. เร่งหาทางป้องกันด่วน เกี่ยวกับเรื่องนี้ มีรายงานว่า เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2560 ที่ผ่านมา กรมประมง ร่วมกับ สมาพันธ์เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งกุง้ ไทย สมาคมผูเ้ ลีย้ งกุง้ ทะเลไทย มีการประชุมหารือแนวทางการป้องกัน โรคไอเอ็มเอ็นขึ้นที่โรงแรมบุรีศรีภู อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ในที่ประชุม คุณเจนจิตต์ คงก�ำเนิด ผู้อ�ำนวยการกองวิจัยและพัฒนาสุขภาพสัตว์น�้ำ กรมประมง อ้างถึง กรมประมงได้รับหนังสือ เรื่อง การเฝ้าระวังป้องกันโรคกล้ามเนื้อตายจาก เชื้อไอเอ็มเอ็นวี เป็นกรณีเร่งด่วน จากสมาคม ผู้เลี้ยงกุ้งทะเลไทย ที่ห่วงกังวล/รายงานข้อมูลว่า มีการพบกุ้งกุลาด�ำติดเชื้อไอเอ็มเอ็นวีในฟาร์ม เลี้ยงกุ้งประเทศมาเลเซีย แถวเกาะปีนัง ท�ำให้มี ความกังวลว่าเชื้ออาจมีการปนเปื้อนลงแหล่งน�้ำ และแม่กงุ้ ในธรรมชาติ นอกจากนี้ ประเทศอินเดีย มีการตรวจเจอในฟาร์มกุ้ง และได้รับการยืนยัน


Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

“...อันดับแรกต้องยอมรับว่า ปัญหา IMNV หนัก ถ้าเข้ามาได้จะอยู่นาน แบบเข้ามา เหมื อ นไม้ ขี ด ไฟก้ า นเดี ย ว...? ที่ ห ่ ว งและกลั ว ที่ สุ ด คื อ พ่ อ แม่ พั น ธุ ์ กุ ้ ง กุ ล าด� ำ จากธรรมชาติ ซึ่งมีโอกาสติดเชื้อตัวนี้สูงมาก ถ้าจ�ำเป็นต้องใช้ ต้องตรวจเข้มเรื่องโรค ตรวจแบบ 100% เพราะหากติดผ่านลูกกุ้งมา จะควบคุมยากมากที่จะไม่ให้มีการแพร่ระบาด จะท�ำให้การเลี้ยงกุ้ง ของประเทศไทยต้องประสบวิกฤติปัญหาแบบอินโดนีเซียได้ ...ที่สำ� คัญ นอกจากท�ำให้กุ้งตายแล้ว ยั ง ท� ำ ลายเซลล์ เ นื้ อ กุ ้ ง ท� ำ ให้ คุ ณ ภาพกุ ้ ง ที่ ไ ด้ ไ ม่ ดี อี ก อย่ า งหนึ่ ง วงจรชี วิ ต ของเชื้ อ ตั ว นี้ สามารถอยู ่ ใ นธรรมชาติ เ ป็ น Free Living ได้ น านเกื อ บ 2 เดื อ น (เชื้ อ ตั ว แดงดวงขาว แค่ 3 - 4 วัน) และมันสามารถอยู่ในกุ้งโดยไม่แสดงอาการ โดยเฉพาะกุ้งกุลาด�ำเป็นพาหะน�ำโรค หรือ (Carrier) ได้อย่างทีท่ ราบตอนนี้ พบเชือ้ นีร้ ะบาดในแหล่งน�ำ้ มาเลเซียแล้ว กุง้ กุลาด�ำในน่านน�ำ้ มาเลย์มโี อกาสติดเชือ้ สูง ...ยังมี โรงเพาะฟักลูกกุ้งกุลาด�ำจ�ำนวนหนึ่งที่ใช้พ่อแม่พันธุ์จากธรรมชาติอยู่ ...จึงเป็นเรื่องที่น่าห่วงมากๆ ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ต้องช่วยกันนะครับ ...เชื้อตัวนี้เข้าประเทศเมื่อไร ...พังกันทั้งอุตสาหกรรมฯ หละครับ” ท.พ.สุรพล ประเทืองธรรม นายกสมาคมผู้ผลิตกุ้งทะเลไทย

ว่าเป็นไอเอ็มเอ็นวี เมื่อปี 2559 หลังจากได้รับ ข้อมูล/หนังสือดังกล่าว กรมประมง โดยท่าน อดิศร พร้อมเทพ อธิบดีกรมประมง ผูเ้ ชีย่ วชาญฯ และทีม ไม่นงิ่ นอนใจ ได้จดั ประชุมไปแล้ว 2 ครัง้ คือเมื่อวันที่ 31 ส.ค. 2560 ประชุมร่วมกับกลุ่ม ผู้ประกอบการเพาะเลี้ยง และวันที่ 7 ก.ย. 2560 ประชุมร่วมกับสมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทย โดย เบื้องต้นมีมติแนวทางป้องกันโรคไอเอ็มเอ็น คือ 1. กรมประมงจัดท�ำประกาศห้ามน�ำเข้ากุ้ง มีชีวิต และกุ้งแช่เย็นแช่แข็งเพิ่มเติมจากประกาศ เดิมทีห่ า้ มกุง้ จากอินโดนีเซีย และบราซิล โดยจะเพิม่ อินเดีย และมาเลเซีย รวมเป็น 4 ประเทศ และเพิม่ ชนิดกุ้งอีก 2 ชนิด คือ กุ้งแชบ๊วย (Fenneropenaeus merguiensis) และกุง้ น�ำ้ ตาล (Penaeus esculentus) จากเดิมที่ประกาศไว้ 3 ชนิด ได้แก่ กุ้งฟ้า (Penaeus stylirostris), กุ้งขาว (Penaeus vannaamei) และกุง้ กุลาด�ำ (Penaeus monodon) 2. มี ก ารควบคุ ม พ่ อ แม่ กุ ้ ง กุ ล าด� ำ จาก ธรรมชาติ โดยกรมประมงจะออกประกาศ เรื่อง ข้อปฏิบัติส�ำหรับโรงเพาะฟักกุ้งกุลาด�ำที่นำ� พ่อแม่ พันธุจ์ ากธรรมชาติมาใช้ในการเพาะพันธุ์ มีมาตรการกักกันเพื่อควบคุมโรค และตรวจวิเคราะห์ว่า ปลอดโรคก่อนน�ำไปเพาะพันธุ์ เป็นต้น

การประชุ ม เมื่ อ 15 ก.ย. ที่ ผ ่ า นมานี้ นอกจากกรมประมงต้องการเชิญผู้ประกอบการ โรงเพาะฟักและอนุบาลกุ้งกุลาด�ำในพื้นที่ภาคใต้ เข้าร่วมประชุมหารือ และรับทราบแนวทางปฏิบตั ิ ในการขึ้ น ทะเบี ย นโรงเพาะฟั ก และอนุ บ าลกุ ้ ง กุลาด�ำเพื่อป้องกันผลกระทบจากโรคไอเอ็มเอ็น จากประเทศอินเดีย และมาเลเซีย และให้ความรู้ เกี่ยวกับโรคดังกล่าวแล้ว ยังมารับฟังข้อคิดเห็น/ เสนอแนะจากผู้เข้าร่วมประชุม และร่วมพิจารณา ร่างประกาศกรมฯ ในเรือ่ งดังกล่าว อีกทัง้ ขอความ เห็นเพื่อปรับปรุงการด�ำเนินการเพิ่มเติมด้วยฯ โดยในส่วนของเกษตรกรได้เสนอให้มีการ ตรวจพ่อแม่พนั ธุก์ งุ้ กุลาด�ำจากธรรมชาติทกุ ตัว จาก เดิมท�ำเพียงการสุม่ ตรวจ และขอให้เฝ้าระวังในบาง จังหวัดเป็นพิเศษ ซึ่งเป็นจังหวัดที่มีการน�ำเข้าพ่อ แม่พันธุ์กุ้งกุลาด�ำจากธรรมชาติ และบริเวณใกล้ เคียงประเทศมาเลเซีย จะเห็ น ว่ า ภาครั ฐ โดยกรมประมงไม่ ไ ด้ นิ่งนอนใจ เดินหน้าปฏิบัติการเข้มแข็ง ป้องกัน ปัญหาดังกล่าวอย่างจริงจัง รวดเร็ว ฉับไว เพื่อ ไม่ให้โรคไอเอ็มเอ็นลุกลามระบาดเข้าประเทศ สร้ า งความเสี ย หายต่ อ อุ ต สาหกรรมกุ ้ ง ไทยใน อนาคต ซึ่งต้องขอขอบคุณ ดร.อดิศร พร้อมเทพ

49


Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

“...IMN นั้ น เป็ น โรคที่ ทุ ก ประเทศไม่ อ ยากให้ เ กิ ด ในประเทศของตั ว เอง การที่ กรมประมงได้ ใ ห้ ค วามสนใจในเรื่ อ งนี้ เ ป็ น อย่ า งมาก ตั้ ง แต่ อ ดี ต ท่ า นอธิ บ ดี ส มหญิ ง ที่ ไ ด้ ป ระกาศห้ า มน� ำ เข้ า กุ ้ ง จากอิ น โดนี เ ซี ย และบราซิ ล ซึ่ ง ท� ำ ให้ ป ระเทศไทยรอดพ้ น จาก การเกิ ด IMN จนมาถึ ง ท่ า นอธิ บ ดี อ ดิ ศ ร พร้ อ มเทพ ได้ รั บ ข้ อ มู ล จากสมาคมผู ้ เ ลี้ ย งกุ ้ ง ทะเลไทยเรื่ อ ง IMN เริ่ ม ระบาดในมาเลเซี ย กรมประมงก็ รี บ จั ด การออกประกาศ ห้ า มน� ำ กุ ้ ง เข้ า กุ ้ ง มี ชี วิ ต และกุ ้ ง ดิ บ จากมาเลเซี ย ทั น ที นั บ เป็ น การปฏิ บั ติ ก ารจาก ความร่วมมือระหว่างภาครัฐ และเอกชนอย่างฉับไว หลังจากมีการประชุมสมาพันธ์เกษตรกร ผู ้ เ ลี้ ย งกุ ้ ง ไทยที่ ใ ห้ ป ระกาศห้ า มน� ำ กุ ้ ง เข้ า จากมาเลเซี ย เพิ่ ม และการป้ อ งกั น การเลี้ ย งใน ประเทศก็ ใ ห้ ต รวจเข้ ม พ่ อ แม่ พั น ธุ ์ กุ ล าด� ำ ธรรมชาติ ที่ ไ ด้ จ ากทะเล โดยเฉพาะกุ ้ ง ที่ ไ ด้ จ ากทะเลอั น ดามั น ที่ มี แ ดนติ ด ต่ อ กับมาเลเซีย ให้มีการตรวจ 100% ก่อนน�ำกุ้งมาใช้เป็นพ่อแม่พันธุ์ ซึ่งการนี้ ผมต้องขอขอบคุณความกระตือรือร้นของสมาคม ผู ้ เ ลี้ ย งกุ ้ ง ทะเลไทย ที่ ค อยสอดส่ อ งดู แ ลเกษตรกรมาตลอด และที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด คื อ กรมประมง ที่ ต อบรั บ มาตรการ อย่ า งแข็ ง ขั น จนท� ำ ให้ ผ มคิ ด ว่ า ถ้ า IMN จะเข้ า มาประเทศไทยได้ คงต้ อ งใช้ เ วลาสั ก หน่ อ ยครั บ และขอบคุ ณ โรงเพาะฟักกุ้งกุลาด�ำ ที่แสดงสปิริตให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีครับ และหวังว่ากุ้งไทยจะปลอด IMN นานที่สุดเท่าที่จะ นานได้นะครับ...” นายบรรจง นิสภวาณิชย์ ประธานสมาพันธ์เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งไทย

ท่านอธิบดีกรมประมง ดร.จิราพร เกสรจันทร์ และคณะเจ้าหน้าที่ส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน รวมถึง เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งทั่วประเทศ ผู้ประกอบการ โรงเพาะฟักฯ และผู้เกี่ยวข้องต่างๆ ในอุตสาหกรรมกุง้ ไทยต่างตืน่ ตัว เห็นความส�ำคัญต่อปัญหา ดังกล่าว กระตือรือร้น ขานรับแนวทางปฏิบัติฯ นี้ พร้อมทั้งน�ำเสนอแนวทางปฏิบัติที่เข้มข้น เพื่อ ปกป้องอุตสาหกรรมกุ้งอย่างเต็มก�ำลัง อย่าลืมว่า ที่ผ่านมา โรคกุ้งส�ำคัญที่ท�ำให้ การเลี้ยงกุ้งของประเทศไทยเราประสบปัญหา อย่างรุนแรง เช่น โรคหัวเหลือง โรคตัวแดงดวงขาว อีเอชพี (EHP) อีเอ็มเอส (EMS) ส่วนใหญ่เป็นเชือ้ โรคทีไ่ ม่เคยมีในประเทศมาก่อน เป็นเชือ้ ทีเ่ ราล้วน น�ำเข้าประเทศกันมาเองแทบทั้งสิ้น ท�ำให้การ เลีย้ งกุง้ ของเราเสียหาย เลีย้ งยาก ต้นทุนการเลีย้ ง สูงลิบลิ่ว เพราะเชื้อฯ พวกนี้ เมื่อหลุดเข้ามาใน ระบบการเลี้ยงในประเทศไทยแล้ว ในที่สุด เชื้อ เหล่ า นี้ ก็ จ ะอยู ่ กั บ เราตลอดไป กลายเป็ น เชื้ อ ประจ�ำถิ่น ที่จะท�ำความเสียหายให้กับพวกเรา จนไม่สามารถค�ำนวณ/ประเมินค่าได้

50

เพื่ อ ไม่ ใ ห้ ป ระวั ติ ศ าสตร์ ซ�้ ำ รอย/เกิ ด ขึ้ น ซ�ำ้ แล้วซ�้ำอีก ทางกรมประมงจึงมีนโยบายออกมา อย่างรวดเร็ว และชัดเจนในการพยายามป้องกัน อย่างเต็มที่ ไม่ให้เชื่อตัวใหม่นี้เข้ามาในระบบการ เลี้ยงกุ้งของไทย เชื่อมั่นในปฏิบัติการเชิงรุกของกรมประมง นี้ และเชื่อว่าด้วยความร่วมมือร่วมใจกันของทุก ภาคส่วนในอุตสาหกรรมกุ้ง จะน�ำพาให้ทุกอย่าง ลุล่วงไปด้วยดี และสร้างความมั่นคงและยั่งยืนต่อ อุ ต สาหกรรมกุ ้ ง ไทยสื บ ไป แต่ ก ่ อ นอื่ น  ขอให้ ทุกท่านที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะในวงการกุ้ง ต้อง ตระหนักว่า ...โรคไวรัสไอเอ็มเอ็นนี้ อันตราย อย่างยิ่ง ...สามารถท�ำให้อุตสาหกรรมการเพาะ เลี้ ย งกุ ้ ง ของประเทศถึ ง กาลล่ ม สลายได้ ต้ อ ง ร่วมมือร่วมใจของทุกภาคส่วน ...ป้องกันไม่ให้ โรคร้ายนี้เข้าประเทศ


Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

51


Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

ทำ�ความรู้จัก โรคไอเอ็มเอ็น ในระยะหลังนี้ มีรายงานที่พบการระบาด ของเชื้ออินเฟ็กเซียสไมโอเนโครซิสไวรัส หรือ เรียกย่อๆ ว่า เชือ้ ไอเอ็มเอ็นวี (Infectious Myonecrosis Virus, IMNV) ในหลายประเทศทีอ่ ยู่ ใกล้เคียงกับประเทศไทย ทั้งประเทศอินเดีย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ซึง่ ได้สร้างความกังวล แก่ทกุ ภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้องเป็นอย่างมาก โดยเกรง ว่า ถ้าปล่อยให้เชือ้ นีห้ ลุดรอดเข้ามาสูบ่ า้ นเราได้ จะสร้างผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการเลี้ยงกุ้ง ของไทยดังเช่นที่เราเคยประสบปัญหาจากโรค อีเอ็มเอสในช่วงหลายปีทผี่ า่ นมา จึงท�ำให้ทกุ ฝ่าย ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งกรมประมง ได้ ก�ำหนดแนวทางอย่างรัดกุมและเร่งด่วน เพื่อ ป้องกันไม่ให้เชื้อนี้เข้ามาสู่ประเทศไทย จึงขอ น�ำเสนอรายละเอียดของโรคนี้ เพือ่ เป็นข้อมูลให้ เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งได้มีความเข้าใจและเห็นถึง ผลกระทบที่เกิดจากโรคนี้ได้ดียิ่งขึ้น โรคไอเอ็มเอ็นพบการระบาดเป็นครั้งแรก ที่ฟาร์มกุ้งทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ บราซิล ตั้งแต่ปลายปี 2545 หลังจากนั้นเกิดการ แพร่กระจายของเชื้อนี้ไปยังพื้นที่การเลี้ยงอื่นๆ ที่ อยู่ถัดๆ ออกไปทางด้านใต้ ในระยะแรกของการ เกิดโรค ยังไม่ทราบสาเหตุทแี่ น่ชดั ว่าเกิดจากอะไร จนกระทั่งปี 2547 จึงได้พบว่าสาเหตุของโรคนี้ เกิดจากเชื้อไวรัส โดย ดร.โดนัลด์ ไลท์เนอร์ (Dr. ที่มา : ข่าวกุ้ง ปีที่ 29 ฉบับที่ 351 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2560

52

รูปที่ 1 ผลผลิตกุ้งของประเทศบราซิล ตั้งแต่ปี 2545 ที่เริ่มพบการระบาดของโรคไอเอ็มเอ็น

Donald Lightner) และทีมงานจากมหาวิทยาลัย อริโซน่า หลังจากนัน้ ในปี 2549 ก็พบการเกิดโรคนี้ ที่ประเทศอินโดนีเซีย ในฟาร์มเลี้ยงกุ้งที่จังหวัด ชวาตะวันออก (East Java) ในระยะต่อมา โรคนี้ ก็ได้แพร่กระจายไปยังพื้นที่การเลี้ยงกุ้งอื่นๆ ใน ประเทศ ทัง้ ในเกาะชวา (Java) สุมาตรา (Sumatra) กาลิมนั ตัน (Kalimantan) และสุลาเวสี (Sulawesi) จากการตรวจสอบล�ำดับเบสของสารพันธุกรรม ทัง้ หมดของเชือ้ ไอเอ็มเอ็นวีจากทัง้ 2 แหล่ง พบว่า มีความเหมือนกันถึงร้อยละ 99.6 จึงเชื่อว่า เชื้อ ที่ระบาดในประเทศอินโดนีเซียนั้น เกิดจากการ ลักลอบน�ำเข้าพ่อแม่พันธุ์ หรือลูกพันธุ์ที่มีการติด เชือ้ จากประเทศบราซิล อย่างไรก็ตาม การระบาด ของโรคนี้ก็ยังจ�ำกัดอยู่แค่ 2 ประเทศนี้เท่านั้น แม้ว่าจะมีข่าวการพบกุ้งป่วยที่มีลักษณะคล้ายกับ โรคนี้ ใ นหลายๆ ประเทศ เช่ น อิ น เดี ย จี น


Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

มาเลเซีย เวียดนาม รวมทั้งประเทศไทยด้วย แต่ จากการตรวจสอบอย่างละเอียดแล้ว ก็ยืนยันได้ อย่างชัดเจนว่า ไม่ได้เกิดจากเชื้อไอเอ็มเอ็นวี จนกระทั่งในกลางปี 2559 จึงได้พบการติดเชื้อนี้ ของกุง้ ขาวในรัฐเบงกอลตะวันตก (West Bengal) ประเทศอินเดีย และในปีนี้ก็ได้มีรายงานการพบ โรคนี้อีกครั้งในประเทศมาเลเซีย ผลกระทบต่อผลผลิตกุ้งหลังจากที่มีการ ระบาดของโรคนี้แล้วนั้น พบว่าผลผลิตกุ้งของ บราซิลได้ลดลง จากประมาณ 90,000 ตันในปี แรกๆ ทีพ่ บการระบาดของโรคนีล้ งเหลือ 65,000 ตัน ในอีกหลายปีต่อมา (ดังกราฟในรูปที่ 1) ส่วน ผลผลิตกุ้งของประเทศอินโดนีเซียก็เช่นเดียวกัน โดยผลผลิตกุง้ ได้ลดลงกว่าร้อยละ 40 ในอีก 4 - 5 ปีถดั มาหลังจากทีเ่ ริม่ พบการระบาดของโรคนี้ โดย มีการประเมินความเสียหายทางด้านเศรษฐกิจ ที่เกิดจากการระบาดของโรคนี้ ทั้งในบราซิล และ อินโดนีเซียรวมกัน พบว่า มีมลู ค่ามากกว่า 1,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ จะเห็นได้วา่ โรคนีส้ ง่ ผลกระทบ ต่ออุตสาหกรรมการเลี้ยงกุ้งของทั้งสองประเทศ ค่อนข้างมาก โดยจะต้องใช้เวลาอีกหลายปี การ เลี้ยงกุ้งจึงจะสามารถฟื้นตัวได้ ทั้งที่เป็นประเทศ ที่มีศักยภาพในการผลิตกุ้งค่อนข้างมาก ทั้งในแง่ ของพืน้ ทีก่ ารเลีย้ งและสภาพภูมอิ ากาศทีเ่ หมาะสม ชนิดของกุ้งที่ไวต่อการรับและเกิดการติด เชื้อนี้ ได้แก่ กุ้งขาว (Penaeus vannamei) กุ้ง แชบ๊วย (Penaeus merguiensis) กุง้ น�ำ้ ตาล (Penaeus esculentus) ซึ่งกุ้งทั้ง 3 ชนิดนี้ ได้รับการ พิสจู น์แล้วว่ามีคณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนตามหลักเกณฑ์ ขององค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ ส่วน กุ้งกุลาด�ำ (Penaeus monodon) และกุ้งฟ้า (Penaeus stylirostris) ยังขาดคุณสมบัติบางอย่าง

จึงไม่ครบถ้วนตามข้อก�ำหนดทั้งหมด อย่างไร ก็ตาม ทั้งกุ้งกุลาด�ำ และกุ้งฟ้าก็ยังมีความเสี่ยง ในระดับหนึง่ ทีจ่ ะเป็นตัวน�ำและแพร่กระจายเชือ้ ได้ ซึง่ กุง้ ทัง้ 5 ชนิดนี้ ทางกรมประมงได้ออกประกาศ ห้ามน�ำเข้ากุง้ ทัง้ ทีม่ ชี วี ติ และกุง้ แช่เย็นแช่แข็งจาก ประเทศทีม่ กี ารระบาดของโรคนีแ้ ล้ว ส่วนอายุของ กุ้งที่พบโรคการเกิดโรคนี้ สามารถพบได้ตั้งแต่กุ้ง ในระบบพีแอล (Post Larva) จนกระทั่งกุ้งใหญ่ ส่วนใหญ่มกั พบการป่วยหลังจากลงลูกกุง้ ไปในบ่อ แล้วมากกว่า 40 วัน ส�ำหรับช่องทางการติดต่อ ของเชื้อนี้นั้น ได้มีการพิสูจน์อย่างชัดเจนว่า การ ติดตามระหว่างกุ้งสู่กุ้งนั้นสามารถเกิดขึ้นได้จาก การกินกุ้งป่วยที่ติดเชื้อ ส่วนการติดต่อผ่านทาง น�้ำที่เลี้ยงกุ้ง หรือการติดต่อจากพ่อแม่พันธุ์สู่ลูก นัน้ เชือ่ ว่าน่าจะเกิดขึน้ ได้ แม้วา่ จะยังไม่มขี อ้ พิสจู น์ ที่ชัดเจนก็ตาม ส�ำหรับอาการของกุ้งที่ติดเชื้อ และป่วยนั้น มักจะพบกุ้งตายอย่างฉับพลันหลังจากกุ้งได้รับ ความเครียดต่างๆ เช่น การสุ่มกุ้งด้วยแห การ จัดการอาหารที่ไม่เหมาะสม รวมทั้งการเปลี่ยน แปลงของสภาพแวดล้อมในบ่ออย่างฉับพลัน ทั้ง ในแง่ของความเค็ม และอุณหภูมิ โดยอัตราการตาย ของกุ้งจะอยู่ในช่วงร้อยละ 40-70 โดยจะทยอย ตายเป็นระยะเวลาหลายๆ วัน กุง้ ป่วยจะมีลกั ษณะ กล้ามเนื้อขาวขุ่น ซึ่งมักพบที่บริเวณปล้องท้ายๆ และแพนหาง (ดังแสดงในรูปที่ 2) โดยในกุ้ง บางตัว กล้ามเนื้อที่ขาวขุ่นอาจพบการเปลี่ยนเป็น สีแดงได้ เมือ่ เปิดส่วนหัวของกุง้ ออกจะพบว่า ส่วน ของลิมฟอยด์ออร์แกน (Lymphoid Organ) จะมี ขนาดขยายใหญ่กว่าปกติ 3 - 4 เท่า แม้วา่ ลักษณะ กล้ามเนื้อขาวขุ่นจะเป็นลักษณะที่เด่นชัดส�ำหรับ โรคนี้ แต่ในหลายๆ ครัง้ ก็พบว่า กุง้ ป่วยทีล่ กั ษณะ กล้ า มเนื้ อ ขาวขุ ่ น ก็ ไ ม่ ไ ด้ เ กิ ด จากการติ ด เชื้ อ

53


Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

รูปที่ 2 กุ้งที่ติดเชื้อ ไอเอ็มเอ็นวี ซึ่งแสดง อาการกล้ามเนื้อขาวขุ่น ภาพจากวารสาร Journal of General Virology (2006) ปีที่ 87 ฉบับที่ 3 หน้า 991 เรื่อง Purification and Characterization of Infectious Myonecrosis Virus of Penaeid Shrimp โดย Bonnie T. Poulos และคณะ

ไอเอ็มเอ็นวีแต่อย่างใดดังที่กล่าวไว้แล้วในข้าง ต้น เนื่องจากยังมีอีกหลายสาเหตุที่ท�ำให้กุ้งแสดง อาการกล้ามเนื้อขาวขุ่นได้ ซึ่งอาจจะเกิดจากการ ตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดล้อม เช่น ปริมาณออกซิเจนในน�ำ้ ต�่ำ การเปลี่ยนแปลง ของอุณหภูมิ หรือความเค็มน�ำ้ อย่างฉับพลัน หรือ ความเครียดอืน่ ๆ รวมทัง้ โรคติดเชือ้ บางอย่างทีท่ ำ� ให้เนื้อเยื่อขาดออกซิเจน ก็จะท�ำให้เกิดลักษณะ ของกล้ามเนื้อขาวขุ่นได้เช่นเดียวกัน ดังนั้น ถ้า พบกุ้งป่วยที่มีลักษณะกล้ามเนื้อขาวขุ่น จะต้อง ยืนยันว่ากุ้งป่วยด้วยโรคนี้หรือไม่ โดยการตรวจ ในห้องปฏิบตั กิ ารด้วยเทคนิคพีซอี าร์ ซึง่ เนือ้ เยือ่ ที่ เหมาะสมในการตรวจคือ ส่วนของกล้ามเนื้อที่มี ลักษณะขาวขุ่น ในกรณีที่ต้องการเก็บตัวอย่างส่ง ตรวจโดยไม่ทำ� ให้สตั ว์ตาย เช่น ในกรณีของพ่อแม่ พันธุ์ เนื้อเยื่อที่เหมาะสมคือ ขาว่ายน�้ำ (Plepods) ส�ำหรับการควบคุมโรคนี้ ดังที่ได้กล่าวใน ข้างต้นแล้วว่า โรคนี้มักจะพบการตายหลังจากกุ้ง ได้รับความเครียด ดังนั้น แนวทางการลดความ เสี่ยงของการเกิดโรคจึงต้องควบคุมให้กุ้งได้รับ ความเครียดที่จะโน้มน�ำให้กุ้งแสดงอาการป่วยให้ น้อยทีส่ ดุ ซึง่ ประกอบด้วย การลดความหนาแน่น

54

ในการลงลูกกุง้ ควบคุมคุณภาพน�้ำให้อยูใ่ นเกณฑ์ ที่เหมาะสมตลอดระยะเวลาการเลี้ยง โดยต้องมี ระดับออกซิเจนในน�้ำที่เพียงพอ ค่าคุณภาพน�้ำ ไม่ว่าจะเป็นความเค็ม อุณหภูมิ และพีเอช ไม่ให้ แกว่งมาก รวมทั้งจัดการสภาพพื้นบ่อให้สะอาด ตลอดระยะเวลาการเลี้ยงร่วมกับการใช้ระบบไบโอซีเคียว เพือ่ ป้องกันเชือ้ เข้าสูร่ ะบบการเลีย้ ง และ ใช้ลูกกุ้งที่ปลอดเชื้อ (SPF) โรคไอเอ็มเอ็น เป็นโรคระบาดทีส่ ร้างความ เสียหายที่รุนแรงต่อผลผลิตกุ้ง ซึ่งนอกจากจะมี ผลต่ออัตรารอดของกุ้งที่ต�่ำ และอัตราแลกเนื้อ สูงแล้ว การที่เชื้อนี้เข้าไปท�ำลายส่วนกล้ามเนื้อกุ้ง จะส่งผลให้ผลผลิตกุ้งที่ได้มีคุณภาพต�ำ่ จึงท�ำให้มี ผลกระทบต่อราคาขายของกุง้ อีกด้วย จากการทีม่ ี รายงานการแพร่กระจายของเชือ้ นีใ้ นประเทศต่างๆ เพิ่มมากขึ้นในระยะหลังนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประเทศที่ มี พ รมแดนติ ด กั บ ประเทศไทย หลั ง จากที่โรคนี้จ�ำกัดการระบาดอยู่เฉพาะที่ประเทศ บราซิล และอินโดนีเซีย อยู่เป็นระยะเวลานาน จึงท�ำให้ประเทศไทยมีความเสี่ยงไม่น้อยที่เชื้อนี้ จะแพร่กระจายเข้ามา ดังนั้น การป้องกันไม่ให้ เชื้อนี้เข้ามาในประเทศ จึงเป็นมาตรการที่ส�ำคัญ และมีความจ�ำเป็นอย่างยิง่ ยวด ซึง่ จะมีความส�ำเร็จ มากน้อยแค่ไหนก็ขนึ้ อยูก่ บั การได้รบั ความร่วมมือ จากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในกรณีของการไม่ลักลอบน�ำเข้าพ่อแม่พันธุ์ และ ลูกพันธุก์ งุ้ จากประเทศทีม่ รี ายงานการระบาดของ โรคนี้ ถ้าผูท้ เี่ กีย่ วข้องทุกภาคส่วนมีความตระหนัก และให้ความร่วมมืออย่างเต็มที่ ก็เชื่อว่าปัญหานี้ จะสามารถป้องกันได้อย่างแน่นอน และท�ำให้ ประเทศไทยจะยังคงปลอดจากเชื้อนี้


Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

ขับเคลื่อนสู่อนาคตทางเศรษฐกิจ ด้านแหล่งอาหารโปรตีนในภูมิภาคเอเชีย ไบโอมิน น�ำลูกค้าเข้าร่วมงานประชุมวิชาการด้านโภชนศาสตร์แห่งภูมภิ าค เอเชีย (Asian Nutrition Forum 2017) ซึง่ จะส�ำรวจแนวโน้มทีเ่ กีย่ วข้องกับการ เลีย้ งสัตว์แบบปลอดการใช้ยาปฏิชวี นะในภูมภิ าคเอเชีย เมือ่ วันที่ 26-30 ตุลาคม พ.ศ. 2560 ณ เมืองไทเป ประเทศไต้หวัน ‘การขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้านแหล่งอาหารโปรตีนในภูมิภาคเอเชีย’ เป็น หัวข้อของงานประชุมในปีนี้ “ในขณะทีโ่ ลกก�ำลังเผชิญหน้ากับประชากรทีค่ าดการณ์ ว่าจะเพิ่มขึ้นจาก 7.5 พันล้านคนในปัจจุบัน เป็น 9 พันล้านคนในปี พ.ศ. 2593 ความต้องการแหล่งอาหารโดยเฉพาะโปรตีนก�ำลังเพิม่ สูงขึน้ โดยความต้องการสูงสุด ในปัจจุบันมาจากภูมิภาคเอเชีย ซึ่งมีพื้นที่คิดเป็น 30% ของพื้นที่ทั้งหมดของ โลก และคิดเป็น 60% ของประชากรโลก ดังนั้นจึงเป็นเรื่องจ�ำเป็นส�ำหรับอุตสาหกรรมในการรับทราบถึงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีล่าสุดและผลักดันการผลิตที่มี คุณภาพ และเป็นแหล่งโปรตีนทีย่ งั่ ยืนในภูมภิ าคเอเชีย” มาร์ค เกนเนเมนท์ กรรมการ ผู้จัดการบริษัทไบโอมิน ประจ�ำภาคพื้นเอเชียแปซิฟิค กล่าว

55


Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

เราได้เชิญผู้เชี่ยวชาญหลากหลายท่านเข้าร่วมงานประชุมวิชาการนี้ เพื่อ แสดงวิสัยทัศน์เกี่ยวกับความท้าทายที่เพิ่มขึ้นในอุตสาหกรรมปศุสัตว์ : แนวโน้มที่ เพิ่มขึ้นของการผลิตสัตว์โดยปราศจากการใช้ยาปฏิชีวนะในภูมิภาคเอเชีย

การผลิตอาหารโปรตีนจากสัตว์ สามารถทำ�ได้โดยปราศจากการใช้ยาปฏิชีวนะ “อาหารโปรตีนทีม่ ปี ระสิทธิภาพ มักจะมาจากการผลิตทีม่ กี ารใช้ยาปฏิชวี นะ หรือยาต้านจุลชีพ ซึง่ เป็นสิง่ ทีไ่ ม่ตอ้ งการ” กล่าวโดย ดร.ธีโอ เอ.นีโวล์ด ศาสตราจารย์ ด้านโภชนาการและสาธารณสุข จากมหาวิทยาลัยลูเวน ประเทศเบลเยีย่ ม และเป็น หนึ่งในวิทยาการผู้บรรยาย “เราสามารถแสดงให้เห็นว่า สามารถคงประสิทธิภาพของอาหารโปรตีนไว้ได้ โดยไม่ใช้ยาปฏิชวี นะ โดยเลือกใช้สารประกอบทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการลดการอักเสบ ร่วมกับกลยุทธ์การให้อาหาร วิธกี ารนีจ้ ะช่วยลดการใช้ยาปฏิชวี นะ ในขณะเดียวกัน ก็ช่วยประหยัดทรัพยากรโปรตีนอันมีค่าและมีความส�ำคัญอย่างยิ่งในสภาวะที่มีการ เพิ่มขึ้นของประชากรมนุษย์” ดร. นีโวล์ด กล่าวเสริม

การแก้ปัญหาในกระบวนการผลิตไก่เนื้อยุคใหม่ ไก่ เป็นหนึ่งในโปรตีนจากเนื้อสัตว์ที่หาได้ง่ายที่สุดและราคาไม่แพง จึงเป็น แหล่งอาหารโปรตีนที่เข้าถึงได้ส�ำหรับมนุษย์ การใช้โปรแกรมการเลี้ยงที่ปลอดจาก การใช้ยาปฏิชีวนะในการผลิตไก่เนื้อยุคใหม่ อาจเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก เนื่องจากผู้ผลิต มักจะถูกท้าทายด้วยปัญหาต่างๆ รวมถึงปัญหาประสิทธิภาพการผลิต ความสม�ำ่ เสมอ ของฝูง และอุบัติการณ์การของโรค จากสถานการณ์ทวั่ โลก สัตว์ปกี มีแนวโน้มของการเกิดภาวะขากะเผลกทีเ่ พิม่ ขึน้ ซึง่ จะไปลดผลก�ำไรและประสิทธิภาพการผลิตสัตว์ปกี รวมถึงอัตราการตายของ ฝูงที่เพิ่มขึ้น อัตราการแลกเนื้อแย่ลง น�้ำหนักและความสม�่ำเสมอของฝูงต�่ำลง “การติดเชือ้ แบคทีเรีย เป็นสาเหตุสำ� คัญของการเกิดภาวะขากะเผลกในสัตว์ปกี กระดูกทีม่ กี ารติดเชือ้ ในไก่เนือ้ ไก่งวง และเป็ด จะส่งผลเสียต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และส่งผลต่อความเชื่อมั่นด้านความปลอดภัยของอาหาร” ดร. โรเบิร์ต เอฟ. ไวด์แมน จูเนียร์ ศาสตราจารย์กิตติมศักดิ์แห่งศูนย์ความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์ สัตว์ปีกแห่งมหาวิทยาลัยอาร์คันซอ ฟาเยตต์วิลล์ เออาร์ ประเทศสหรัฐอเมริกา กล่าว “งานวิจัยของเรา แสดงให้เห็นว่าโปรไบโอติก สามารถช่วยป้องกันแบคทีเรีย

56


Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

ที่ท�ำให้เกิดโรคจากผนังล�ำไส้ที่ท�ำให้เกิดการติดเชื้อในกระดูกได้ ดังนั้นจึงช่วย ลดการเกิดภาวะขากะเผลกและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตได้อย่างมีนัยส�ำคัญ” ดร.ไวด์แมน อธิบายเพิ่มเติม

ขับเคลื่อนประสิทธิภาพการผลิตสัตว์ โดยการส่งเสริมสุขภาพของระบบทางเดินอาหาร “เราได้เห็นการเปลี่ยนแปลงด้านโภชนาการสัตว์ ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา” ดร.ดาเนียล เปตรี ผู้อ�ำนวยการทั่วโลก กลุ่มผลิตภัณฑ์จุลชีพ บริษัทไบโอมิน กล่าว “การจัดการด้านการให้อาหาร ได้รับการพัฒนาจนถึงสามารถตอบสนอง ความต้องการด้านโภชนะของสัตว์ และยังรวมถึงตอบสนองความต้องการด้าน ส่งเสริมสุขภาพระบบทางเดินอาหารแล้ว ปัจจุบัน ความรู้ด้านสุขภาพระบบทางเดิน อาหาร ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อประสิทธิภาพการผลิตสัตว์ ได้มีการขยายตัวอย่างมาก ในช่วงเวลาสั้นๆ” งานประชุมวิชาการด้านโภชนศาสตร์แห่งทวีปเอเชียในปี 2560 นี้ ช่วยให้ ผู้เชี่ยวชาญชั้นน�ำในอุตสาหกรรมมีโอกาสส�ำรวจปัจจัยต่างๆ ที่จะผลักดันอนาคต ทางเศรษฐกิจด้านแหล่งอาหารโปรตีนในภูมิภาคเอเชีย และตอบสนองต่อความ ท้าทายทีส่ ำ� คัญในอุตสาหกรรมปศุสตั ว์ โดยให้ความส�ำคัญในเรือ่ งของการเลีย้ งสัตว์ แบบปลอดการใช้ยาปฏิชีวนะในภูมิภาคเอเชีย

57


Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

58


Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

59


Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

สหรัฐฯ ส่งออกเนื้อหมู

แนวโน้มดีขึ้น

สหรัฐฯ ส่งออกเนื้อหมูเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในช่วงเดือนกันยายน 2560 มีปริมาณการส่งออก เนื้อหมู อยู่ที่ 183,481 เมตริกตัน ซึ่งมีปริมาณการ ส่งออกใกล้เคียงกับเดือนกันยายน 2559 ในขณะที่ปริมาณการส่งออกโดยรวม ในช่วง 3 ไตรมาสแรกของปี 2560 พบว่าเพิม่ ขึน้ 8% เมือ่ เทียบกับช่วงเวลาเดียวกัน ของปี 2559 ที่มีปริมาณการส่งออกอยู่ที่ 1.79 ล้านเมตริกตัน ในขณะที่มูลค่า การส่งออกช่วง 3 ไตรมาสแรกของปี 2560 อยู่ที่ 4.71 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มจาก 3 ไตรมาสแรกของปี 2559 ถึง 10% ทั้งนี้ การส่งออกเนื้อหมูในเดือนกันยายน 2560 สูงขึ้นจากปีก่อนเล็กน้อย เนื่องจากมีการส่งออกไปยังตลาดส�ำคัญ ได้แก่ เกาหลีใต้ แคนาดา โคลัมเบีย และ ฟิลิปปินส์ เพิ่มขึ้น 27%, 9%, 43% และ64% คิดเป็นมูลค่า 25.9, 77.6, 21.6 และ 17 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ตามล�ำดับ แต่ในทางกลับกันพบว่าการส่งออกเนื้อหมู ไปยังเม็กซิโก ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย จีน และฮ่องกง ลดลงถึง 7%, 2%, 11% และ 1% คิดเป็นมูลค่า 122.1, 750 ,147.4 และ 781.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ตามล�ำดับ ทั้งนี้แม้การส่งออกบางประเทศจะมีมูลค่าลดลง แต่มูลค่าการส่งออกโดยรวม ยังถือว่าอยู่ในเกณฑ์ที่ดี

ที่มา : www.thepigsite.com สรุปโดย : มกอช. (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560)

60



1.R&D µ¦ª· ´¥Â¨³¡´ µ 2.Consultation µ¦Ä®o µÎ ¦¹ ¬µ 3.Design µ¦°°  4.Manufacture µ¦ ¨· 5.Logistics µ¦ ¦·®µ¦ o µ µ¦ ´ Á È Â¨³ ­n 6.Installation µ¦ · ´ Ê 7.Commissioning µ¦ ­° 8.Training µ¦ ¹ ° ¦¤ 9.Service µ¦Ä®o ¦· µ¦®¨´ µ¦ µ¥

Pellet mill Dryer

Extruder

Pulverizer

Mixer

Hammer mill


Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

เวียดนาม ประกาศ

เลิกแบนไก่ + ไข่เกาหลีใต้ กระทรวงเกษตร อาหารและกิจการชนบทของเกาหลีใต้ เผยเวียดนาม ประกาศยกเลิกมาตรการระงับน�ำเข้าเนือ้ ไก่จากเกาหลีใต้ จึงท�ำให้เกาหลีใต้สามารถ ส่งออกเนื้อไก่ และเป็ดมายังเวียดนามได้ หลังจากถูกสั่งระงับห้ามน�ำเข้าเป็น ระยะเวลา 1 ปี เหตุพบไข้หวัดนกแพร่ระบาดรุนแรง และสั่งก�ำจัดสัตว์ปีก 33 ล้านตัว โดยล่าสุด เกาหลีใต้ได้ดำ� เนินการฆ่าเชือ้ พร้อมแจ้งไปยังองค์การโรคระบาด สัตว์ (OIE) และได้รับสถานะปลอดจากการระบาดของโรคไข้หวัดนกเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2560 ที่ผ่านมา ทั้งนี้ เวียดนามนับเป็นตลาดส�ำคัญต่อการส่งออกเนื้อไก่ของเกาหลีใต้ โดย ในปี 2559 เวียดนามได้นำ� เข้าไก่จากเกาหลีใต้มมี ลู ค่ากว่า 25 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 800 ล้านบาท)

ที่มา : www.koreaherald.com สรุปโดย : มกอช. (6 มิถุนายน พ.ศ. 2560)

61


Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

ฮ่องกง ยกเลิกแบน

ไก่ - ไข่เกาหลี

ภาพประกอบ : Teerawut Masawat

เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2560 ฮ่องกงประกาศยกเลิก มาตรการระงับน�ำเข้าเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ รวมถึงไข่จาก เกาหลีใต้ที่ใช้มากว่า 1 ปี หลังจากเกาหลีใต้ได้รับสถานะ ปลอดจากการระบาดของโรคไข้หวัดนกเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2560 ที่ผ่านมา โดยก่อนหน้านี้ เมื่อช่วงปลายเดือนพฤศจิกายน 2559 ฮ่องกงได้ระงับการน�ำเข้าเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ รวมถึงไข่จาก เกาหลีใต้ เนือ่ งจากการระบาดของไข้หวัดนกสายพันธุร์ นุ แรง (H5N6 และ H5N8) อย่างต่อเนื่อง ท�ำให้ต้องก�ำจัดไก่ไปมากกว่า 33 ล้านตัว

ที่มา : www.thepoultrysite.com สรุปโดย : มกอช. (3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560)

62


Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

ญี่ปุ่นเลิกแบน ฟัวกราส์จากฝรั่งเศส เหตุเคลียร์ไข้หวัดนก

ภาพประกอบ : https://www.leader-boeuf.com/ le-foie-gras-frais-est-deja-en-vente-chez-leader-boeuf/

กระทรวงเกษตรของฝรัง่ เศส เผย ขณะนีส้ ามารถส่งออก ฟัวกราส์ไปยังญี่ปุ่นได้แล้ว หลังถูกระงับห้ามส่งออกสินค้า ดังกล่าวเป็นระยะเวลา 2 ปี หลังจากพบการระบาดของไข้หวัดนก สายพันธุ์ H5N1 อย่างรุนแรงในสหภาพยุโรปช่วงปลายปี 2558 และปี 2559 ที่ผ่านมา โดยฝรั่งเศสได้มีการด�ำเนินการแก้ไข ตามข้อก�ำหนดขององค์การโรคระบาดสัตว์ (OIE) พร้อมแจ้ง การปลอดเชื้อไข้หวัดนกสายพันธุ์ดังกล่าวแล้ว ทั้งนี้ ฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ผลิตฟัวกราส์รายใหญ่ระดับ โลก มีมลู ค่าการค้าหลายสิบล้านยูโรต่อปี ซึง่ การประกาศยกเลิก ห้ามน�ำเข้าดังกล่าว จึงนับว่าเป็นข่าวดีของฝรัง่ เศสทีจ่ ะได้กลับมา เปิดตลาดส่งออกฟัวกราส์ไปยังญี่ปุ่นได้อีกครั้ง เนื่องจากญี่ปุ่น เป็นประเทศผู้นำ� เข้าฟัวกราส์ที่สำ� คัญที่สุดแห่งหนึ่ง

ที่มา : www.japantoday.com สรุปโดย : มกอช. (1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560)

63


Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

จีน สนับสนุนยกระดับ สวัสดิภาพสัตว์ระดับฟาร์ม จีนสัญญาจะปฏิบัติงานเพื่อยกระดับสวัสดิภาพสัตว์ในประเทศอย่างเป็น ทางการในทีป่ ระชุมขององค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) โดย รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงเกษตรจีนเผยในทีป่ ระชุมถึงการส่งเสริมสวัสดิภาพสัตว์ ให้กลายเป็นตัวเลือกส�ำคัญในการสร้างความมัน่ ใจในความปลอดภัยของอาหารและ การบริโภคที่ดีต่อสุขภาพ ทัง้ นีร้ ฐั มนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงเกษตรจีน ได้เสนอข้อแนะน�ำหลายประการ เพื่อส่งเสริมสวัสดิภาพสัตว์ ดังนี้

• ก�ำหนดมาตรฐานทางเทคนิคและระเบียบสวัสดิภาพสัตว์เพือ่ ผลักดันให้เกิด การตรวจสอบการประเมินผลและให้บริการก�ำกับดูแล • สนับสนุนหลักกฎหมายในการส่งเสริมสวัสดิภาพสัตว์ • พัฒนาด้านการเกษตรและสัตว์เพื่อค�ำนึงถึงสวัสดิภาพสัตว์ • ด�ำเนินการแลกเปลีย่ นความรูร้ ะหว่างประเทศเพือ่ ท�ำความเข้าใจในปรัชญา ของประเทศอื่นๆ

นอกจากนี้ การประชุมก็ยังพูดถึงการจัดการด้านสวัสดิภาพสัตว์ในสัตว์ปีก จากคณะกรรมการความร่วมมือต่างประเทศด้านสวัสดิภาพสัตว์ (ICCAW) และ องค์กรรณรงค์ความเป็นธรรมในการเลี้ยงสัตว์ (CIWF) ซึ่งอภิปรายเกี่ยวกับการ ผลิตสัตว์ปีกที่มีคุณภาพสูงในอนาคต โดยในปี 2560 นี้ มีผู้ผลิตถึง 29 ราย ในประเทศจีน ได้รบั การยอมรับเรือ่ งความก้าวหน้าในการปรับปรุงสวัสดิภาพเนือ้ ไก่ ไข่ และหมู ที่มา : www.thepoultrysite.com สรุปโดย : มกอช. (1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560)

64


Around the World

มะกัน พบ

โรคตายด่วนในฟาร์มกุ้ง

ยังไม่แถลงวิธีป้องกัน

EMS

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

ส�ำนักงานตรวจสอบสุขภาพสัตว์และพืช กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (APHIS) พบการระบาดของโรคตายด่วน (Early Mortality Syndrome: EMS) ซึ่งมีอัตราการตายเกือบร้อยละ 100 ในกุ้งฟาร์มสายพันธุ์ Penaeid Shrimp โดยมีการตรวจพบครั้งแรกในรัฐเท็กซัสเมื่อช่วง ปลายเดือนกรกฎาคม 2560 ที่ผ่านมา ทั้งนี้ในเบื้องต้น ฟาร์มกุ้ง ดังกล่าว ได้ทำ� การถ่ายน�ำ้ จากบ่อทีเ่ กิดโรคไปยังบ่อพักน�ำ้ และยังไม่มี การปล่ อ ยน�้ ำ จากบ่ อ ที่ เ กิ ด โรคลงสู ่ แ หล่ ง น�้ ำ สาธารณะ ทางด้ า น หน่วยงานของสหรัฐฯ ที่เกี่ยวข้อง ยังไม่มีการแถลงวิธีการป้องกัน การระบาดของโรค แต่กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA) ได้รายงาน สถานการณ์การระบาดไปยังองค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ (World Organization for Animal Health) แล้ว ส่วนทาง APHIS ได้ เก็บตัวอย่างโคลนเพื่อวิจัยหาสาเหตุ และหารือด้านผลกระทบทาง การค้าที่อาจเกิดขึ้น

ที่มา : สปศ. ดี.ซี. สรุปโดย : มกอช. (30 ตุลาคม พ.ศ. 2560)

65


Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

ไข่เกาหลีใต้ราคาลดลง

หลังฝ่าวิกฤติไข้หวัดนก และไข่ปนเปื้อน องค์กรการค้าเกษตรและประมงของเกาหลีใต้ รายงาน ล่าสุดราคากลางจ�ำหน่ายไข่ไก่ในเกาหลีใต้ เริ่มปรับลดลงจากที่เคยมีราคาสูง ในช่วงที่เริ่มเกิดวิกฤติไข้หวัดนกอย่างรุนแรง และพบไข่ไก่ปนเปื้อน สารก�ำจัดศัตรูพืชเป็นจ�ำนวนมาก ล่าสุดในเดือน กันยายน 2560 ราคาไข่ไก่ขายปลีกในเกาหลีใต้อยู่ที่ 5,655 วอน / 30 ฟอง จากราคา 7,233 วอน / 30 ฟอง ช่วงเดือนสิงหาคม ลดลงถึงร้อยละ 20 ซึ่งก่อนหน้านี้ ราคาไข่ไก่ ในเกาหลีใต้เคยมีการผันผวนอย่างรุนแรง ตั้งแต่ปลายปี 2559 ที่ผ่านมา และเคยวางขายภายใน ซุปเปอร์มาร์เก็ตกว่า 60 แห่งทั่วประเทศ ด้วยราคาที่สูงถึง 9,096 วอน / 30 ฟอง ทั้งนี้ แม้เกาหลีใต้จะแก้ปัญหาไข้หวัดนกระบาดแล้วก็ตาม แต่ยังคงพบปัญหาไข่ไก่ปนเปื้อน Fipronil ซึง่ ท�ำให้ขณะนีร้ าคาไข่ไก่โดยเฉลีย่ ยังคงมีราคาสูงถึง 7000 วอน / 30 ฟอง โดยตามร้านค้าปลีก วางจ�ำหน่ายไข่ไก่มีราคาอยู่ที่ 7,600 วอน / 30 ฟอง และในซุปเปอร์มาร์เก็ตขนาดเล็ก และกลาง อาจ มีราคาสูงถึง 10,000 วอน / 30 ฟอง

ที่มา : www.thepoultrysite.com สรุปโดย : มกอช. (27 ตุลาคม พ.ศ. 2560)

66


Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

EU ใบเหลืองเวียดนาม เหตุท�ำประมงผิดกฎหมาย

เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม 2560 คณะกรรมาธิการยุโรป ประกาศให้ใบเหลืองแก่เวียดนาม พร้อม เตือนอาจด�ำเนินการคว�่ำบาตรการส่งออกอาหารทะเลของเวียดนาม เนื่องจากพบการกระท�ำที่ผิด กฎหมายของเรือประมงเวียดนามแถบน่านน�ำ้ ของประเทศเพื่อนบ้าน ในมหาสมุทรแปซิฟิก รวมถึงขาด ระบบในการลงโทษการท�ำประมงผิดกฎหมายที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งสภาพยุโรปไม่สามารถเพิกเฉยต่อ การกระท�ำผิดกฎหมาย ที่อาจส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศทางทะเลได้ โดยคณะกรรมาธิการยุโรป ระบุ เวียดนามควรเร่งด�ำเนินการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ในกรอบเวลาที่สมเหตุผล ทั้งนี้ EU ยังไม่ขีดเส้นตาย แต่เรียกร้องให้เจ้าหน้าที่เวียดนามเร่งด�ำเนินการแก้ไข จากข้อมูลองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) เวียดนามอยูใ่ นกลุม่ ประเทศ ผูผ้ ลิตอาหารทะเล 10 อับดับสูงสุดของโลก ขณะทีส่ ภาพยุโรปซึง่ เป็นประเทศผูน้ ำ� เข้าอาหารทะเลรายใหญ่ ของโลก ได้ออกกฎเกณฑ์ที่มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ปี 2553 หลีกเลี่ยงการท�ำประมงแบบผิดกฎหมาย และ ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน

ที่มา : dailynews.co.th สรุปโดย : มกอช. (30 ตุลาคม พ.ศ. 2560)

67


Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

เวียดนาม เตรียมแบน

เนื้อสุกรไม่ติด QR code เวียดนาม สั่งแบนเนื้อสุกรที่ไม่ปฏิบัติ ตามข้อก�ำหนดของโครงการส่งเสริมการ ติ ด ฉลากตรวจสอบย้ อ นกลั บ โดยใช้ สติ๊กเกอร์วงแหวน QR code หากวาง จ�ำหน่ายภายในตลาด Binh Dien และ Hoc Mon นครโฮจิ มิ น ห์ ตั้ ง แต่ วั น ที่ 16 ตุลาคม 2560 เป็นต้นไป โดยกระทรวงยุตธิ รรม กระทรวงอุตสาหกรรม และการค้าเวียดนาม เข้าร่วมตรวจสอบและติดตามความปลอดภัยอาหารอย่างใกล้ชิด พร้อมสั่งระงับการวาง จ�ำหน่ายเนื้อสุกรที่ไม่ด�ำเนินการตามข้อก�ำหนดโครงการดังกล่าว นอกจากนี้ ภาครัฐจะยุติ การสนับสนุนเงินทุนด�ำเนินการร้อยละ 50 ให้เกษตรกรตั้งแต่ปี 2561 เป็นต้นไป ทัง้ นี้ เจ้าหน้าทีไ่ ด้เร่งตรวจสอบ และติดตามผูป้ ระกอบการ และการขนส่งหมูภายในเมือง โดยไม่ได้รับอนุญาต และเร่งปราบปรามผู้ประกอบการที่เพิ่มน�้ำหนักเนื้อสุกรที่จ�ำหน่าย โดย ผิดกฎหมายเช่น การลักลอบฉีดน�้ำเข้าไปเพิ่มน�้ำหนักเนื้อ เพื่อป้องกันความปลอดภัยอาหาร และคุ้มครองผู้บริโภค

ที่มา : www.thepigsite.com สรุปโดย : มกอช. (12 ตุลาคม พ.ศ. 2560)

68


Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

เวียดนามตั้งเป้า ส่งออกเนื้อไก่ไป EU กระทรวงเกษตรและพัฒนาชนบทของเวียดนาม (MARD) และผูป้ ระกอบการ ตัง้ เป้า ผลิตสินค้าปศุสตั ว์สง่ ออกไปยังสหภาพยุโรป หลังผูป้ ระกอบการจากสหภาพ ยุโรปชีป้ ระชากรกว่า 500 ล้านคน มีความต้องการบริโภคเนือ้ ไก่สงู โดยในปี 2560 มีความต้องการเนื้อไก่มากถึง 950,000 ตัน ซึ่งกว่าร้อยละ 85 เป็นเนื้ออกไก่ โดยมีผู้ส่งออกรายใหญ่ได้แก่ บราซิล ไทย และยูเครน ทั้งนี้ กลุ่มประกอบการในสหภาพยุโรปได้แนะน�ำให้เวียดนามเน้นการผลิต และส่งออกผลิตภัณฑ์เนือ้ ไก่แปรรูป โดยเมือ่ ข้อตกลงทางค้าระหว่างเวียดนาม และ สหภาพยุโรปมีผลบังคับใช้ภาษีน�ำเข้าของสินค้าดังกล่าวจะลดลงเหลือร้อยละ 0 และจะไม่ถกู จ�ำกัดโควต้าน�ำเข้าตามทีก่ ำ� หนดไว้ โดยเวียดนามเร่งก�ำหนดกฎระเบียบ ด้านความปลอดภัยอาหาร และโรคติดต่อ ให้เป็นไปตามเงื่อนไขการน�ำเข้าของ สหภาพยุโรป พร้อมหวังจะส่งเนือ้ ไก่ไปยังประเทศอืน่ ๆ หลังจากก่อนหน้านีส้ ามารถ ส่งออกเนื้อไก่ไปยังญี่ปุ่นตามกฎระเบียบความปลอดภัยอาหารอย่างเข้มงวดได้

ที่มา : www.thepoultrysite.com สรุปโดย : มกอช. (30 ตุลาคม พ.ศ. 2560)

69


Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

ฮ่องกง สั่งแบนไก่จากอิตาลี เหตุไข้หวัดนก เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยอาหาร ของหน่วยงานตรวจคน เข้าเมืองของเขตการปกครองพิเศษฮ่องกง (HKSAR) สั่งระงับ การน�ำเข้า เนื้อไก่ และไข่ จากอิตาลี เนื่องจากมีรายงานจาก องค์การอนามัยโลก (WHO) พบไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5N8 (HPAI) รุนแรงระบาดในแถบจังหวัด Padua ของอิตาลี โดยศูนย์ความปลอดภัยอาหาร ของฮ่องกง (CFS) ได้สั่งระงับการน�ำเข้าสินค้าดังกล่าว เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของ ไข้หวัดนก ทัง้ นี้ ปี 2560 เป็นระยะเวลา 6 เดือน ฮ่องกงมีการน�ำเข้าเนือ้ ไก่แช่แข็งปริมาณ 1,000 ตัน และ ไข่ไก่ปริมาณกว่า 10,000 ตัน จากอิตาลี

ที่มา : www.thepoultrysite.com สรุปโดย : มกอช. (19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560)

70




ม.ค. 10.14 10.23 7.49 9.44 9.01 8.00

ม.ค. 27.64 32.49 26.20 37.14 36.70 36.70

เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 2560

ม.ค. 9.43 10.16 8.18 10.08 8.27 7.85

ราคาร�ำสด

เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 2560

ราคาปลาป่น

เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 2560

ก.พ. 9.20 10.03 8.36 10.31 8.31 8.36

ก.พ. 28.81 31.30 30.92 39.83 36.27 37.29

ก.พ. 10.19 10.19 8.43 9.39 8.85 8.00

ราคาข้าวโพดอาหารสัตว์

มี.ค. 8.62 8.63 9.31 10.92 9.39 8.01

มี.ค. 32.21 31.30 31.12 42.26 33.96 39.48

มี.ค. 10.35 10.15 8.75 9.48 8.85 8.00

เม.ย. 8.72 7.71 9.15 10.79 10.01 7.86

เม.ย. 33.24 29.94 33.93 42.74 32.70 39.70

เม.ย. 10.51 10.21 9.20 9.55 8.85 8.00

พ.ค. 8.09 8.92 10.63 10.70 9.73 7.72

พ.ค. 30.26 26.74 30.24 37.58 33.61 39.14

พ.ค. 10.24 9.89 9.33 9.46 8.83 8.00

มิ.ย. 7.76 10.32 10.96 11.15 9.82 8.05

มิ.ย. 29.38 24.80 29.74 36.70 36.66 38.70

มิ.ย. 10.76 10.24 10.23 10.05 9.51 8.33

ก.ค. 8.22 10.09 11.41 11.64 10.19 8.29

ก.ค. 31.53 29.84 29.70 36.85 36.70 38.70

ก.ค. 10.86 9.94 10.50 10.75 9.32 8.45

ส.ค. 10.55 10.53 11.15 11.27 10.43 8.36

ส.ค. 37.70 30.78 37.70 36.70 38.90 38.70

ส.ค. 11.60 9.26 9.87 10.32 8.75 8.32

ก.ย. 10.88 9.71 9.42 8.87 10.30 7.76

ก.ย. 35.06 29.00 37.70 40.32 38.39 38.70

ก.ย. 10.57 8.39 8.79 9.21 8.08 8.10

ต.ค. 10.80 8.59 8.83 8.66 7.89 7.99

ต.ค. 30.95 31.90 36.47 43.39 34.93 38.70

ต.ค. 10.14 8.06 8.26 8.67 8.00 8.00

พ.ย. 11.15 9.17 8.80 8.23 7.05 8.22

พ.ย. 32.83 26.59 34.78 44.50 35.63 39.22

พ.ย. 10.49 7.95 9.09 8.69 8.00 8.35

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 9.52 7.76 11.15 9.34 7.71 10.53 9.59 8.18 11.41 10.04 7.89 11.64 9.07 7.05 10.43 8.04 7.72 8.36 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 10.81 8.22 8.85 7.89 7.46

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 31.95 27.64 37.70 29.12 24.72 32.49 32.83 26.20 37.70 39.73 36.70 44.50 35.81 32.70 38.90 38.64 36.70 39.70 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 33.80 24.72 35.45 38.70 35.28

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 10.51 10.14 10.65 9.32 7.32 11.60 9.10 7.49 10.24 9.45 8.44 10.50 8.67 8.00 10.75 8.14 8.00 8.45 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 10.25 7.32 9.21 8.44 8.00

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

71


72

ม.ค. 13.95 18.77 18.75 18.12 16.57 15.92

ก.พ. 13.85 18.41 19.47 18.10 16.63 15.69

มี.ค. 12.88 18.25 20.52 18.01 15.81 15.52

ม.ค. 14.12 18.22 19.14 17.98 15.90 15.55

ก.พ. 15.13 18.15 18.88 17.55 15.90 15.55

มี.ค. 15.75 19.07 20.15 17.19 15.90 15.55

เม.ย. 16.06 19.36 20.25 16.45 15.90 14.85

เม.ย. 12.73 17.96 19.88 17.83 15.13 15.54

พ.ค. 16.23 17.89 20.03 15.85 16.02 14.85

พ.ค. 13.31 17.23 20.98 16.98 14.27 15.21

เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 2560

ม.ค. 14.99 19.47 20.62 19.20 16.98 16.55

ก.พ. 16.01 19.35 20.38 18.95 16.90 16.55

มี.ค. 16.75 20.14 21.68 18.59 16.90 16.55

เม.ย. 17.01 20.47 21.75 18.11 16.90 15.85

พ.ค. 17.20 19.35 21.58 17.35 17.02 15.85

ราคากากถั่วเหลืองกะเทาะเปลือก (Dehulled)

เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 2560

ราคากากถั่วเหลืองเมล็ดนำ�เข้า

เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 2560

ราคากากถั่วเหลืองต่างประเทศ

มิ.ย. 17.73 18.48 21.5 16.63 18.68 15.45

มิ.ย. 16.98 17.15 20.00 15.13 17.49 14.45

มิ.ย. 12.79 16.43 21.06 15.78 13.49 14.70

ก.ค. 20.02 18.30 20.90 16.62 18.85 15.30

ก.ค. 19.00 17.20 19.40 15.10 17.75 14.30

ก.ค. 14.23 16.16 20.84 15.38 13.94 14.33

ส.ค. 22.65 18.29 20.55 17.13 17.99 15.35

ส.ค. 21.80 17.29 19.05 15.94 16.89 14.35

ส.ค. 15.21 16.63 20.77 15.39 14.24 13.92

ก.ย. 22.69 18.89 20.55 17.25 17.95 15.35

ก.ย. 21.80 17.89 19.05 16.10 16.85 14.35

ก.ย. 17.17 17.30 20.45 15.38 14.53 13.67

ต.ค. 22.34 19.30 20.00 17.25 16.99 15.35

ต.ค. 21.09 18.05 18.50 16.10 15.89 14.35

ต.ค. 17.41 17.84 19.75 16.30 14.94 13.56

พ.ย. 21.48 20.23 19.95 17.77 16.95 15.35

พ.ย. 20.28 18.77 18.47 16.72 15.85 14.35

พ.ย. 18.85 18.26 19.41 16.55 15.65 13.38

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 19.08 14.99 22.69 19.43 18.29 20.85 20.78 19.95 21.75 17.68 16.62 19.20 17.41 16.79 18.85 15.77 15.30 16.55 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 20.08 20.85 19.95 17.25 16.79

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 18.09 14.12 21.80 18.21 17.15 19.45 19.28 18.45 20.25 16.35 15.10 17.98 16.34 15.73 17.75 14.77 14.30 15.55 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 18.88 19.45 18.45 16.10 15.73

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 15.20 12.73 20.06 17.64 16.16 18.77 20.08 18.75 21.06 16.68 15.38 18.12 15.11 13.49 16.63 14.68 13.38 15.92 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 20.06 18.47 19.02 16.30 16.08

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560


ม.ค. 8.09 8.93 6.76 8.59 7.38 7.11

ม.ค. 16.31 14.98 9.45 9.82 10.51 10.77

ก.พ. 15.74 15.00 9.43 9.72 10.59 10.77

ก.พ. 7.45 8.96 6.71 8.62 7.29 7.66

เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 2560

ม.ค. 7.53 6.79 6.64 6.89 6.08 5.81

ก.พ. 7.13 6.85 6.85 6.59 5.84 5.72

ราคามันสำ�ปะหลังเส้น

เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 2560

ราคาปลายข้าว

เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 2560

ราคากากรำ�สกัดน้ำ�มัน

มี.ค. 6.59 7.07 6.90 6.74 5.93 5.74

มี.ค. 15.78 15.06 9.49 9.75 10.74 10.53

มี.ค. 6.49 7.90 7.06 8.60 8.02 7.60

เม.ย. 7.00 7.18 6.87 6.74 6.09 5.53

เม.ย. 15.94 15.39 9.52 9.81 10.96 10.36

เม.ย. 6.42 7.32 6.78 8.49 8.57 7.30

พ.ค. 7.29 7.19 6.88 7.02 6.51 5.40

พ.ค. 16.33 15.11 9.40 9.85 11.28 9.83

พ.ค. 6.21 8.16 8.67 8.32 8.55 7.01

มิ.ย. 7.25 7.26 6.93 7.46 6.72 5.32

มิ.ย. 16.44 15.10 9.75 10.02 11.69 9.92

มิ.ย. 5.82 9.58 9.14 8.90 8.35 7.10

ก.ค. 7.13 7.31 7.00 7.74 6.69 5.41

ก.ค. 16.27 14.26 10.46 10.38 11.69 10.04

ก.ค. 6.14 8.94 9.84 9.37 8.01 7.12

ส.ค. 7.39 7.32 7.25 7.74 6.48 5.47

ส.ค. 15.86 13.98 10.28 10.50 11.68 10.01

ส.ค. 8.43 9.33 10.58 9.40 8.20 7.47

ก.ย. 7.67 7.27 7.34 7.66 6.28 5.61

ก.ย. 15.67 13.09 9.69 10.50 11.60 10.01

ก.ย. 8.67 9.00 9.42 7.94 8.01 7.52

ต.ค. 7.65 7.15 7.38 7.25 6.12 6.12

ต.ค. 15.46 11.91 9.94 10.28 11.00 10.15

ต.ค. 8.81 7.74 8.67 7.45 6.57 7.57

พ.ย. 7.48 7.00 7.39 6.74 6.10 6.37

พ.ย. 15.45 10.55 9.94 10.44 10.56 9.98

พ.ย. 9.31 8.04 8.39 7.04 5.87 7.75

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 7.28 6.59 7.67 7.10 6.78 7.32 7.04 6.64 7.39 7.08 6.40 7.74 6.24 5.84 6.72 5.68 5.32 6.37 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 7.25 6.78 7.09 6.40 6.02

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 15.88 15.30 16.44 13.68 9.75 15.39 9.77 9.40 10.46 10.13 9.72 10.52 11.08 10.51 11.69 10.22 9.83 10.77 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 15.30 9.75 9.84 10.52 10.60

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 7.59 5.82 9.31 8.41 7.05 9.58 8.34 6.71 10.58 8.30 6.90 9.40 7.60 5.87 8.57 7.38 7.01 7.75 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 9.23 7.05 8.00 6.90 6.43

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

73


74

ม.ค. 28.00 31.00 31.50 32.50 36.00 36.00

ก.พ. 28.00 30.00 31.74 32.50 35.00 36.00

ม.ค. 49.83 52.88 59.27 92.89 76.00 68.97

ก.พ. 48.89 62.57 59.88 89.81 75.23 68.07

เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 2560

ม.ค. 50.60 60.00 60.00 60.00 60.00 60.00

ก.พ. 50.60 60.00 60.00 60.00 60.00 60.00

ราคาน้ำ�มันปลา FO

เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 2560

ราคาปลาป่นนำ�เข้า

เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 2560

ราคาตับปลาหมึก SLP

มี.ค. 50.60 60.00 60.00 60.00 60.00 62.00

มี.ค. 47.99 63.11 61.65 85.62 74.58 67.92

มี.ค. 28.00 30.00 32.00 32.50 35.00 34.50

เม.ย. 51.55 60.00 60.00 60.00 60.00 62.00

เม.ย. 48.12 62.66 61.91 77.01 77.15 67.09

เม.ย. 25.00 29.50 32.00 32.50 35.00 34.50

พ.ค. 54.45 60.00 60.00 60.00 60.00 65.80

พ.ค. 55.35 59.57 63.10 74.37 77.58 67.23

พ.ค. 26.89 29.50 33.00 34.50 35.00 34.50

มิ.ย. 55.11 60.00 60.00 60.00 60.00 65.80

มิ.ย. 59.24 56.76 70.17 69.15 82.73 64.83

มิ.ย. 28.58 30.00 33.50 36.00 35.00 34.50

ก.ค. 53.54 60.00 60.00 60.00 60.00 65.80

ก.ค. 61.16 55.32 75.81 66.27 79.54 60.35

ก.ค. 33.70 30.00 33.00 35.80 35.00 35.00

ส.ค. 52.28 60.00 60.00 60.00 60.00 65.80

ส.ค. 63.33 56.79 78.17 68.89 75.99 60.74

ส.ค. 30.80 31.00 33.00 36.10 35.00 35.00

ก.ย. 55.85 60.00 60.00 60.00 60.00 68.00

ก.ย. 56.80 54.69 77.96 71.78 74.86 60.61

ก.ย. 35.04 31.50 33.00 36.79 35.00 35.00

ต.ค. 55.98 60.00 60.00 60.00 60.00 68.50

ต.ค. 54.22 53.43 76.86 71.81 66.61 60.75

ต.ค. 36.13 31.50 33.00 36.35 35.00 35.00

พ.ย. 55.71 60.00 60.00 60.00 60.00 69.00

พ.ย. 68.37 56.31 87.54 72.56 63.79 62.39

พ.ย. 36.13 31.50 33.50 35.50 35.00 35.00

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 53.45 50.60 55.98 60.00 60.00 60.00 60.00 60.00 60.00 60.00 60.00 60.00 60.00 60.00 60.00 64.79 60.00 69.00 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 55.08 60.00 60.00 60.00 60.00

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 57.30 47.99 74.33 57.71 52.88 63.11 72.01 59.27 91.82 76.00 66.27 92.89 74.26 63.79 82.73 64.45 60.35 68.97 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 74.33 58.46 91.82 71.79 67.04

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 31.03 25.00 36.13 30.58 29.50 31.50 32.69 31.50 33.50 34.75 32.50 36.79 35.08 35.00 36.00 35.00 34.50 36.00 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 36.13 31.50 33.00 36.00 35.00

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560


ม.ค. 48.00 53.58 56.71 52.00 54.10 57.00

ก.พ. 48.00 58.85 53.00 52.00 54.00 60.00

ม.ค. 7.73 8.94 6.79 8.20 6.72 6.81

ก.พ. 7.45 9.15 6.67 8.23 6.96 7.35

เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 2560

ม.ค. 18.73 17.75 16.40 16.60 14.94 13.21

ก.พ. 18.51 17.68 16.33 16.26 14.70 13.21

WHEAT FLOUR

เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 2560

WHEAT BRAN

เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 2560

WHEAT GLUTEN

มี.ค. 17.89 16.47 16.55 16.00 14.70 13.21

มี.ค. 6.67 7.66 6.88 8.36 7.80 7.33

มี.ค. 48.00 58.85 54.00 52.00 53.00 62.00

เม.ย. 17.80 16.70 16.33 16.13 14.70 13.07

เม.ย. 6.41 7.29 6.86 8.30 8.21 7.17

เม.ย. 46.50 58.85 58.85 52.00 53.00 58.00

พ.ค. 17.50 17.00 16.77 15.98 14.71 13.13

พ.ค. 6.23 8.75 8.03 8.33 7.80 6.76

พ.ค. 46.50 58.85 57.25 52.00 53.50 58.00

มิ.ย. 17.20 16.90 16.72 15.81 14.71 13.57

มิ.ย. 5.86 8.82 8.39 8.35 7.71 6.78

มิ.ย. 48.54 58.85 56.71 52.00 55.00 58.00

ก.ค. 17.15 16.70 16.59 15.57 14.71 13.58

ก.ค. 5.93 8.62 8.99 8.49 7.15 6.83

ก.ค. 51.00 55.64 56.71 50.00 55.00 60.00

ส.ค. 17.73 16.51 16.60 15.38 14.71 14.08

ส.ค. 7.93 8.81 9.60 8.58 6.43 7.00

ส.ค. 50.05 58.85 56.71 52.52 55.00 60.00

ก.ย. 17.38 16.80 16.59 15.11 14.70 14.86

ก.ย. 8.79 8.55 9.43 7.90 6.29 6.87

ก.ย. 48.13 58.85 56.00 53.50 55.00 60.00

ต.ค. 17.58 16.57 16.59 15.12 13.61 14.83

ต.ค. 9.24 7.85 8.62 7.21 6.72 7.13

ต.ค. 47.50 60.99 52.00 54.25 55.00 60.00

พ.ย. 17.98 16.34 16.59 15.12 13.34 14.75

พ.ย. 8.80 7.87 8.27 6.62 6.42 7.62

พ.ย. 47.50 60.99 52.00 54.00 55.00 60.00

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 17.79 17.15 18.73 16.84 16.34 17.75 16.57 16.33 16.77 15.68 15.04 16.60 14.39 13.18 14.94 13.77 13.07 14.86 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 18.02 16.71 16.73 15.04 13.18

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 7.51 5.86 9.24 8.30 7.29 9.15 8.05 6.67 9.60 7.90 6.24 8.58 7.05 6.29 8.21 7.06 6.76 7.62 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 9.10 7.29 8.03 6.24 6.42

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 48.10 46.50 51.00 58.23 53.58 60.99 55.16 52.00 58.85 52.48 50.00 54.25 54.55 53.00 57.00 59.36 57.00 62.00 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 47.50 55.64 52.00 53.50 57.00

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

75


76

ม.ค. 28.01 27.44 25.79 28.00 27.00 27.75

ก.พ. 27.73 25.79 25.79 28.00 27.00 27.75

ม.ค. 86.67 120.00 120.00 120.00 120.00 150.00

ก.พ. 93.67 120.00 120.00 120.00 120.00 150.00

เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 2560

ม.ค. 4.90 5.91 6.65 6.40 5.27 5.64

ก.พ. 4.80 5.42 6.83 6.20 5.38 5.66

ราคากากปาล์มเมล็ดใน

เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 2560

ราคาปลาหมึกป่น SLM

เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 2560

ราคาเปลือกกุ้ง

มี.ค. 4.75 5.02 6.60 5.17 5.04 5.26

มี.ค. 98.33 120.00 120.00 120.00 120.00 150.00

มี.ค. 27.45 25.79 25.79 28.00 27.00 27.75

เม.ย. 4.71 4.94 5.52 4.90 4.96 4.88

เม.ย. 98.33 120.00 120.00 120.00 120.00 150.00

เม.ย. 31.30 25.79 25.79 28.00 27.00 27.75

พ.ค. 4.63 5.14 5.14 4.90 5.08 4.67

พ.ค. 98.33 120.00 120.00 120.00 120.00 150.00

พ.ค. 31.30 25.79 27.34 28.00 27.00 27.75

มิ.ย. 4.67 5.32 5.00 4.90 5.30 4.39

มิ.ย. 98.33 120.00 120.00 120.00 120.00 150.00

มิ.ย. 30.44 25.79 27.34 28.00 27.25 28.25

ก.ค. 4.85 5.38 5.05 4.92 5.30 4.40

ก.ค. 96.67 120.00 120.00 120.00 130.00 150.00

ก.ค. 26.85 25.79 27.34 28.00 27.25 28.25

ส.ค. 5.96 5.40 5.00 4.97 5.37 4.50

ส.ค. 98.33 120.00 120.00 120.00 130.00 160.00

ส.ค. 29.16 24.69 28.20 28.00 26.50 28.25

ก.ย. 5.96 5.42 5.06 5.07 5.36 4.50

ก.ย. 120.00 120.00 120.00 120.00 130.00 170.00

ก.ย. 27.24 25.79 28.25 28.00 27.50 28.25

ต.ค. 5.59 5.42 5.24 5.07 5.25 4.50

ต.ค. 120.00 120.00 120.00 120.00 130.00 170.00

ต.ค. 26.58 25.89 28.25 28.00 27.50 28.25

พ.ย. 5.81 5.81 5.66 5.18 5.32 4.50

พ.ย. 120.00 120.00 120.00 120.00 130.00 170.00

พ.ย. 26.72 25.79 28.45 27.00 27.75 28.75

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 5.22 4.63 6.00 5.46 4.94 6.37 5.65 5.00 6.83 5.23 4.90 6.40 5.26 4.96 5.44 4.81 4.39 5.66 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 6.00 6.37 6.04 5.13 5.44

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 104.06 86.67 120.00 120.00 120.00 120.00 120.00 120.00 120.00 120.00 120.00 120.00 125.83 120.00 140.00 156.36 150.00 170.00 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 120.00 120.00 120.00 120.00 140.00

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 28.29 26.58 31.30 25.84 24.69 27.44 27.19 25.79 28.45 27.83 27.00 28.00 27.19 26.50 27.75 28.07 27.75 28.75 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 26.74 2 5.79 28.00 27.00 27.50

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560


ม.ค. 10.00 14.85 23.00 8.00 21.50 19.00

ม.ค. 110.50 116.65 150.50 125.50 146.75 140.50

เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 2560

ม.ค. 213.00 267.00 313.00 248.00 263.00 253.00

ราคาไข่ไก่คละ

เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 2560

ราคาไก่รุ่น-ไก่สาว

เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 2560

ราคาลูกไก่ไข่

ก.พ. 254.00 280.00 317.00 233.00 279.00 236.00

ก.พ. 110.50 128.91 150.50 120.72 151.80 138.68

ก.พ. 10.00 16.00 23.00 8.00 23.52 18.27

มี.ค. 260.00 270.00 285.00 202.00 289.00 222.00

มี.ค. 106.67 135.00 148.96 98.70 155.50 133.46

มี.ค. 8.68 16.00 22.38 6.88 25.00 16.19

เม.ย. 227.00 276.00 267.00 239.00 268.00 223.00

เม.ย. 93.50 138.81 135.00 95.50 155.50 130.50

เม.ย. 7.00 18.57 17.00 6.00 25.00 15.00

พ.ค. 254.00 313.00 319.00 250.00 288.00 257.00

พ.ค. 97.67 154.17 143.20 103.79 155.89 135.50

พ.ค. 8.67 23.25 20.28 8.50 25.00 17.00

มิ.ย. 268.00 323.00 307.00 250.00 316.00 260.00

มิ.ย. 103.50 159.30 145.50 110.50 160.50 135.50

มิ.ย. 11.00 25.00 21.00 10.00 27.00 17.00

ก.ค. 229.00 291.00 297.00 267.00 320.00 257.00

ก.ค. 98.33 150.50 142.30 120.50 160.50 135.50

ก.ค. 7.50 23.00 19.40 13.00 27.00 17.00

ส.ค. 246.00 320.00 329.00 292.00 328.00 270.00

ส.ค. 93.50 153.87 148.83 140.50 162.30 137.50

ส.ค. 6.00 24.31 20.33 19.48 27.72 17.80

ก.ย. 240.00 348.00 289.00 300.00 324.00 272.00

ก.ย. 99.50 155.50 148.58 145.50 165.50 140.50

ก.ย. 8.40 25.00 18.69 21.00 29.00 19.00

ต.ค. 235.00 326.00 253.00 284.00 287.00 237.00

ต.ค. 105.50 153.77 137.35 145.50 160.50 130.50

ต.ค. 11.00 24.31 13.74 21.00 27.00 14.45

พ.ย. 236.00 300.00 273.00 264.00 267.00 231.00

พ.ย. 108.77 150.50 135.50 145.50 154.92 130.50

พ.ย. 11.88 23.00 13.00 21.00 24.77 11.77

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 241.83 213.00 268.00 302.25 267.00 348.00 290.25 234.00 329.00 256.92 202.00 300.00 289.50 245.00 328.00 247.09 222.00 272.00 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 240.00 313.00 234.00 254.00 245.00

หน่วย : บาท / 100 ฟอง

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 103.20 93.50 110.50 145.62 116.65 159.30 143.01 129.88 150.50 124.81 95.50 145.50 156.04 142.77 165.50 135.33 130.50 140.50 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 110.50 150.50 129.88 145.50 142.77

หน่วย : บาท/ตัว

หน่วย : บาท/ตัว

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 9.43 6.00 13.00 21.36 14.85 25.00 18.48 9.96 23.00 13.66 6.00 21.00 25.20 19.91 29.00 16.59 11.77 19.00 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 13.00 23.00 9.96 21.00 19.91

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

77


78

ม.ค. 14.50 16.19 19.50 15.50 10.50 16.14

ก.พ. 12.94 11.20 19.50 10.54 10.50 17.50

ม.ค. 36.20 42.69 40.80 38.10 35.50 29.92

ก.พ. 34.70 37.91 42.00 35.26 35.36 33.82

เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 2560

ม.ค. 54.47 58.22 69.22 59.46 63.75 58.08

ก.พ. 49.63 68.28 72.00 57.65 63.61 60.64

ราคาสุกรขุนหน้าฟาร์ม

เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 2560

ราคาไก่เนื้อหน้าฟาร์ม

เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 2560

ราคาลูกไก่เนื้อ

มี.ค. 48.85 59.70 72.54 58.33 63.28 59.00

มี.ค. 27.53 38.97 38.85 35.00 36.81 32.00

มี.ค. 6.18 10.96 18.50 7.50 10.87 15.50

เม.ย. 59.63 64.06 75.73 59.64 67.92 61.00

เม.ย. 33.13 44.88 39.50 33.52 37.00 35.48

เม.ย. 6.31 18.17 17.50 8.41 11.50 17.41

พ.ค. 62.50 64.53 77.00 62.42 73.00 67.58

พ.ค. 39.33 45.97 42.00 36.83 36.43 37.57

พ.ค. 11.33 18.67 17.50 9.50 12.50 18.50

มิ.ย. 55.15 65.15 79.52 65.00 75.69 63.81

มิ.ย. 38.22 43.04 43.00 35.33 36.00 36.68

มิ.ย. 12.50 17.50 17.50 11.10 12.50 18.50

ก.ค. 54.95 65.92 78.00 65.65 71.36 58.09

ก.ค. 35.20 44.00 43.00 36.27 35.40 36.13

ก.ค. 12.50 17.50 17.50 11.50 12.74 18.50

ส.ค. 54.31 70.54 77.50 66.77 69.28 60.60

ส.ค. 35.53 44.05 45.08 35.25 39.76 36.00

ส.ค. 12.50 19.27 19.33 11.50 17.62 18.50

ก.ย. 54.13 67.64 74.08 69.53 67.10 60.15

ก.ย. 33.58 37.64 44.69 36.87 38.54 36.23

ก.ย. 12.02 16.38 21.50 12.50 17.35 18.50

ต.ค. 47.65 65.00 65.72 65.96 62.41 50.36

ต.ค. 31.37 35.58 42.33 32.96 31.95 33.27

ต.ค. 6.96 13.50 18.17 10.36 14.54 14.95

พ.ย. 54.31 65.32 63.20 60.68 61.77 50.65

พ.ย. 40.73 35.31 40.24 33.85 30.00 32.74

พ.ย. 10.42 14.42 15.50 10.02 14.50 13.50

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 53.99 47.65 62.50 64.93 58.22 70.54 72.38 63.20 79.52 62.79 57.65 69.53 66.58 59.82 75.69 59.09 50.36 67.58 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 52.33 64.75 63.99 62.33 59.82

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 35.52 27.53 40.75 40.96 35.31 45.97 41.77 38.85 45.08 35.25 32.96 38.10 35.12 28.64 39.76 34.53 29.92 37.57 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 40.75 41.52 39.69 33.71 28.64

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

หน่วย : บาท/ตัว

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 11.02 6.18 14.50 15.92 10.96 19.27 18.13 15.50 21.50 10.74 7.50 15.50 13.37 10.50 17.62 17.05 13.50 18.50 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 14.07 17.24 15.50 10.50 15.36

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560


ม.ค. 1,734.80 1,476.92 2,056.00 1,875.00 2,000.00 1,800.00

ก.พ. 1,552.00 1,786.96 2,269.57 1,800.00 2,000.00 1,763.64

มี.ค. 1,312.00 1,561.54 2,400.00 1,800.00 2,081.48 1,700.00

ม.ค. 18.00 18.00 20.00 19.00 23.50 26.00

ก.พ. 18.00 17.22 20.00 15.48 20.00 26.00

เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 2560

ม.ค. 60.00 60.00 60.00 61.00 61.00 61.00

ก.พ. 60.00 60.00 60.00 61.00 61.00 61.00

ราคาเป็ดเชอร์รี่หน้าฟาร์ม

เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 2560

มี.ค. 60.00 60.00 60.00 61.00 61.00 61.00

มี.ค. 18.00 16.00 20.00 14.00 20.00 26.00

ราคาลูกเป็ดไข่ ซี พี โกลด์เด้น

เดือน 2555 2556 2557 2558 2559 2560

ราคาลูกสุกรขุน

เม.ย. 60.00 60.00 60.00 61.00 61.00 61.00

เม.ย. 18.00 16.00 20.00 14.00 20.00 26.00

เม.ย. 1,452.38 1,866.67 2,600.00 1,859.09 2,294.12 1,750.00

พ.ค. 60.00 60.00 60.00 61.00 61.00 61.00

พ.ค. 18.00 18.00 20.00 15.50 20.00 26.00

พ.ค. 1,666.67 1,600.00 2,600.00 1,925.00 2,600.00 1,900.00

มิ.ย. 60.00 60.00 60.00 61.00 61.00 61.00

มิ.ย. 18.00 18.00 20.00 16.00 20.00 26.00

มิ.ย. 1,500.00 1,600.00 2,600.00 2,000.00 2,584.62 1,769.23

ก.ค. 60.00 60.00 60.00 61.00 61.00 61.00

ก.ค. 18.00 18.00 22.40 16.77 24.08 26.00

ก.ค. 1,500.00 1,676.92 2,600.00 2,000.00 2,340.00 1,600.00

ส.ค. 60.00 60.00 61.00 61.00 61.00 61.00

ส.ค. 18.00 18.00 23.00 20.48 26.00 26.00

ส.ค. 1,500.00 1,965.38 2,600.00 2,027.33 2,300.00 1,616.00

ก.ย. 60.00 60.00 61.00 61.00 61.00 61.00

ก.ย. 18.00 19.52 23.00 24.00 26.00 26.00

ต.ค. 60.00 60.00 61.00 61.00 61.00 61.00

ต.ค. 18.00 20.00 23.00 24.00 26.00 26.00

พ.ย. 60.00 60.00 61.00 61.00 61.00 61.00

พ.ย. 18.00 21.85 23.00 24.00 26.00 26.00

ก.ย. ต.ค. พ.ย. 1,476.00 1,200.00 1,376.92 1,796.00 1,700.00 1,746.15 2,484.62 2,240.74 2,200.00 2,200.00 2,069.23 2,000.00 2,257.69 2,008.00 1,919.23 1,700.00 1,418.18 1,300.00

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 60.00 60.00 60.00 60.00 60.00 60.00 60.42 60.00 61.00 60.92 60.00 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 60.00 60.00 61.00 60.00 61.00

หน่วย : บาท/กิโลกรัม

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 18.00 18.00 18.00 18.55 16.00 22.00 21.26 20.00 23.00 18.94 14.00 24.00 23.13 20.00 26.00 26.00 26.00 26.00 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 18.00 22.00 20.75 24.00 26.00

หน่วย : บาท/ตัว

หน่วย : บาท/ตัว

เฉลี่ย ต�่ำสุด สูงสุด 1,460.61 1,200.00 1,734.80 1,714.71 1,476.92 1,965.38 2,401.47 2,056.00 2,600.00 1,962.97 1,800.00 2,200.00 2,184.75 1,831.82 2,600.00 1,665.19 1,300.00 1,900.00 ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

ธ.ค. 1,256.52 1,800.00 2,166.67 2,000.00 1,831.82

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 177 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2560

79


ขอขอบคุณบริษัทที่ให้ความสนับสนุน

และความร่วมมือในการจัดทำ�วารสารธุรกิจอาหารสัตว์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17

บริษัท เบทาโกร จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) สมุทรปราการ บริษัท กรุงไทยอาหาร จำ�กัด (มหาชน) บริษัท อาหารสัตว์ไทยสวนหลวง จำ�กัด บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) สระบุรี บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำ�กัด บริษัท แลบอินเตอร์ จำ�กัด บริษัท ฮูเวฟาร์มา (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท เชฟเฟิร์ด เทค คอนซัลแตนซี่ ไพรเวท จำ�กัด บริษัท เออร์เบอร์ ไบโอเทค (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท เกษตรภัณฑ์อุตสาหกรรม จำ�กัด บริษัท ยูนีโกรอินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด บริษัท อดิสสิโอ เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท โนวัส อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท ไฟโตไบโอติกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท พรีเมียร์ เทค โครโนส จำ�กัด

โทร. 0-2833-8000 โทร. 0-2680-4580 โทร. 0-2473-8000 โทร. 0-2814-3480 โทร. 0-2632-7232 โทร. 0-2680-4500 โทร. 0-2194-5678-96 โทร. 0-3488-6140-48 โทร. 0-2937-4355 โทร. 09-2089-1601 โทร. 0-2993-7500 โทร. 0-2817-6410 โทร. 0-3430-5101-3 โทร. 0-2681-1329 โทร. 0-2661-8700 โทร. 0-2694-2498 โทร. 0-2740-5001




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.