รายนามสมาชิก
สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25.
บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จำกัด บริษัท แหลมทองสหการ จำกัด บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำกัด บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท กรุงไทยอาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท คาร์กิลล์สยาม จำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท ฟีดสเปเชียลตี้ จำกัด บริษัท โกรเบสท์คอร์โพเรชั่น จำกัด บริษัท เอเชี่ยน ฟีด จำกัด บริษัท ไทยลักซ์เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด (มหาชน) บริษัท อาหารสัตว์ไทยสระบุรี จำกัด บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท คาร์กิลล์มีทส์ (ไทยแลนด์) จำกัด บริษัท ยูไนเต็ดฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท มิตรภาพอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท เหรียญทอง ฟีด (1992) จำกัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จำกัด บริษัท อาหารสัตว์ไทยสวนหลวง จำกัด บริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท อีสเทิร์น ฟีดมิลล์ จำกัด
26. 27. 28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42. 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50.
บริษัท ซันฟีด จำกัด บริษัท ยูนีโกร อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท พนัสโภคภัณฑ์ จำกัด บริษัท ยู่สูงอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จำกัด บริษัท บางกอกแร้นซ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท กาญจนาอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท ก้าวหน้าอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำกัด (มหาชน) บริษัท วี.ซี.เอฟ. กรุ๊ป จำกัด บริษัท ชัยภูมิฟาร์มผลิตภัณฑ์การเกษตร จำกัด บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จำกัด บริษัท บุญพิศาล จำกัด บริษัท เฮกซ่าแคลไซเนชั่น จำกัด บริษัท หนองบัว ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท ไทย ฟู้ดส์ อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท โกลด์ คอยน์ สเปเชียลิตี้ส์ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท วีพีเอฟ กรุ๊ป (1973) จำกัด บริษัท อาร์ที อะกริเทค จำกัด บริษัท ฟาร์มจงเจริญ จำกัด บริษัท เจบีเอฟ จำกัด บริษัท อินเว (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท ทีอาร์เอฟ ฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท บีอาร์เอฟ ฟีด (ไทยแลนด์) จำกัด
อ
ิภ ัน น
ท
ร า ก นา
คณะกรรมการบริหาร สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ประจำปี 2560-2561
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17.
นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายชยานนท์ กฤตยาเชวง นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ นายไพศาล เครือวงศ์วานิช นางเบญจพร สังหิตกุล นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ นางสาวสุวรรณี แต้ไพสิฐพงษ์ นายสมภพ เอื้อทรงธรรม นายโดม มีกุล นายวิโรจน์ กอเจริญรัตน์ นายเธียรเทพ ศิริชยาพร นายวิชัย คณาธนะวนิชย์ นายวิศิษฐ คณาธนะวนิชย์ นายสุจิน ศิริมงคลเกษม นางสาวนลิน เหล่าวรวิทย์ นายสุทธิชัย ศักดิ์ชัยเจริญกุล นายจำลอง เติมกลิ่นจันทน์
นายกสมาคม อุปนายก อุปนายก อุปนายก เหรัญญิกสมาคม เลขาธิการ รองเลขาธิการ รองเลขาธิการ ประชาสัมพันธ์ ปฏิคม นายทะเบียน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกรโฮลดิ้ง จำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จำกัด บริษัท อาหารสัตว์ไทยสระบุรี จำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท อาหารสัตว์ไทยสวนหลวง จำกัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จำกัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จำกัด บริษัท กรุงไทยอาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำกัด บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท ซันฟีด จำกัด
บรรณาธิการ แถลง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (2560-2564) ช่วงเวลา แห่งการวางรากฐานให้เข้มแข็ง การเกิดและการเลี้ยงดูมีคุณภาพ การบริการสุขภาพ ที่มีคุณภาพและทั่วถึง ธุรกิจเอกชนเป็นผู้นำลงทุน R&D เพื่อพาณิชย์ รัฐลงทุน R&D เพือ่ สังคมและวิจยั พืน้ ฐาน ตลาดระบบธุรกิจมีการแข่งขันทีเ่ ป็นธรรม เมืองอุตสาหกรรม และบริการสะอาด มีมาตรฐานตามหลักสากล เกษตรอัจฉริยะระบบอัตโนมัติและ นวัตกรรมในอุตสาหกรรมการผลิต เกิดธุรกิจ บริการ และ SME ใหม่ๆ ที่มีมูลค่าสูง สร้างสรรค์และมีระบบโลจิสติกส์คล่องตัว โครงสร้างพื้นฐานที่เชื่อมโยงเป็นโครงข่าย ภายในที่สมบูรณ์และเชื่อมต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน ดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชั่นที่ดีขึ้น ทุกคนในประเทศต้องช่วยกันดูแลเพือ่ ให้การขับเคลือ่ นแผนฯ ไปสูเ่ ป้าหมาย เพือ่ คนไทย กินดี อยู่ดี มีสุข สถานการณ์การเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว์ ค่อนข้างดี มีเป้าหมายที่ชัดเจน ข่าวสาร ต่างๆ แสดงให้เห็นว่าโอกาสดีของเกษตรกรไทย น่าจะไปได้ดีในหลายตลาด เพราะความ ร่วมมือกันพัฒนาเทคโนโลยีการเลี้ยงสัตว์ที่ได้มาตรฐาน เอาใจใส่ นำมาตรฐานต่างๆ ที่ดี มาปรับใช้ สร้างความเชือ่ มัน่ กับผูบ้ ริโภคทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ ดังนัน้ ห่วงโซ่อปุ ทาน ที่จะมาเชื่อมโยงให้สายธุรกิจปศุสัตว์ไปได้ด้วยดี ต้องเริ่มตั้งแต่ ต้นน้ำ กลางน้ำ และ ปลายน้ำ ไปด้วยกันอย่างดี ไม่มาฉุดกันเอง เพียงเพื่อหวังให้ตัวเองได้ประโยชน์ ทั้งๆ ที่ เมือ่ ความต้องการวัตถุดบิ จากทัว่ โลกของประเทศคูแ่ ข่งขันได้เปรียบในเรือ่ งต้นทุน แต่เรายัง มัวแต่มากีดกัน กันเอง แล้วเมือ่ ไหร่ แผนพัฒนาประเทศจะไปได้ตามเป้าหมาย เพือ่ คนไทย กินดี อยู่ดี มีสุข ได้เมื่อไหร่กัน............ บก.
ธุรกิจอาหารสัตว์
วารสาร
ปีที่ 34 เล่มที่ 175 ประจำเดือนกรกฎาคม - สิงหาคม 2560 วัตถุประสงค์
Contents
1. เพื่อส่งเสริมความรู้และเผยแพร่อุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ 2. เพื่อเป็นสื่อกลางระหว่างสมาชิกและผู้ที่เกี่ยวข้องทั่วไป 3. เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ของประเทศให้เจริญรุ่งเรืองในแนวทาง ที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิ จของชาติ 4. ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง
Thailand Focus
นายกรัฐมนตรี เปิดการประชุมประจำปี 2560 ของ สศช. ขับเคลื่อนแผนฯ 12 สู่อนาคตประเทศไทย โดยกำหนดเป้าหมาย “ประเทศไทยเป็นประเทศพัฒนาแล้ว” เช่นเดียวกับนานาอารยะประเทศ......................................... 5 การขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว...................................................................................................................10
Food Feed Fuel
สถานการณ์ ถั่วเหลือง............................................................................................................................................................14 สถานการณ์ กากถั่วเหลือง......................................................................................................................................................17 สถานการณ์ ปลาป่น..............................................................................................................................................................19 สถานการณ์ ไก่เนื้อ................................................................................................................................................................22 สถานการณ์ สุกร...................................................................................................................................................................24 สถานการณ์ ไข่ไก่.................................................................................................................................................................26 สถานการณ์ กุ้ง.....................................................................................................................................................................28
Market Leader
สวัสดิภาพสัตว์ (Animal Welfare)… เลี้ยงสัตว์ตามหลักการสากล........................................................................................30 ไทย-ญี่ปุ่น “ผนึกกำลังต้านประมงไอยูยู” พร้อมผลักดันด้านเกษตรสองประเทศ....................................................................34 เทคโนโลยีอะไรบ้าง? ที่จะนำไทยไปสู่เกษตร 4.0 : ฟัง 3 องค์กรตอบกันชัดๆ......................................................................36 แฉลักลอบนำเข้าข้าวโพดกว่าล้านตัน สวมสิทธิ์ข้าวโพดไทยขายราคาต่ำ................................................................................38 สวก. และกรมประมง ร่วมกับ เบทาโกร ส่งเสริมเพาะเลี้ยงปลาช่อนในพื้นที่ปลูกข้าว............................................................40 นายกฯ ลงพื้นที่ชมความสำเร็จ “เลี้ยงกุ้งขาว” ตามแนวทาง 3 สะอาดของซีพีเอฟ..................................................................41 นักวิชาการชี้ ควรเร่งลดการใช้ยาปฏิชีวนะกับไก่งวง..............................................................................................................42 ปินส์ เตรียมนำเข้าเนื้อเพิ่มในปีนี้............................................................................................................................................43 บราซิล อนุญาตปลูกอ้อย GMO เชิงพาณิชย์แล้ว....................................................................................................................44 ไข่ไทย ตีตลาดเกาหลีใต้ ครั้งแรก..........................................................................................................................................45 กรมประมง เร่งนำฟาร์มกุ้งแวนนาไมเข้าสู่มาตรฐาน มกษ.7432-2558.................................................................................46 อิหร่าน เปิดตลาดส่งออกไก่ไปอิรัก และอัฟกานิสถานแล้ว................................................................................................... 47 มะกันสั่งแบน เนื้อวัวบราซิลตกมาตรฐานอื้อ.........................................................................................................................48 จีน ตั้งเป้าเร่งลดใช้ยา อุตฯ ปศุสัตว์ และสัตว์ปีก..................................................................................................................49 ญี่ปุ่น - ยุโรป จับมือ เตรียมเว้นภาษีนำเข้าสินค้าหลายรายการ................................................................................................50
Around The World
รายงานการสำรวจข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ครั้งที่ 1/2560................................................................................................51 การศึกษาการตกค้างของ amitraz และ tau-fluvalinate ในน้ำผึ้ง กับระยะเวลาหยุดใช้ในการกำจัดไรผึ้ง................60 ขอบคุณ................................................................................................................................................................80 ดำเนินการโดย : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย : นายประเสริฐ พุ่งกุมาร รองประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายวีรชัย รัตนบานชื่น นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล กรรมการที่ปรึกษา : นายสมชาย กังสมุทร นายพงษ์ เหล่าวรวิทย์ นายประสิทธิ์ ศิริมงคลเกษม นายอดิเรก ศรีประทักษ์ นายนิพนธ์ ลีละศิธร นางเบญจพร สังหิตกุล นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ บรรณาธิการ : นายปรีชา กันทรากรกิติ กองบรรณาธิการ : นายไพบูลย์ ขุนทอง นายอรรถพล ชินภูวดล นางสาวปัทมา ศรีเที่ยงตรง นางสาวกรดา พูลพิเศษ นายธีรพงษ์ ศิริวิทย์ภักดีกุล
ประธานกรรมการที่ ป รึ ก ษา
สำนักงาน : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 43 ไทย ซีซี ทาวเวอร์ ห้อง 170 ชั้น 17 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2675-6263-4 โทรสาร 0-2675-6265 Email: tfma44@yahoo.com Website: www.thaifeedmill.com
Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
นายกรัฐมนตรี เปิดการประชุมประจำปี 2560 ของ สศช.
ขับเคลื่อนแผนฯ 12 สู่อนาคตประเทศไทย โดยกำหนดเป้าหมาย “ประเทศไทยเป็นประเทศพัฒนาแล้ว” เช่นเดียวกับนานาอารยะประเทศ
วันนี้ (3 ก.ค. 60) เวลา 09.00 น. พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน ในพิธีเปิดการประชุมประจำปี 2560 ของ สศช. เรือ่ ง “ขับเคลือ่ นแผนฯ 12 สูอ่ นาคตประเทศไทย” ในโอกาสเปิดการประชุมประจำปี 2560 ของ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี เพื่อนำ เสนอและรับฟังความคิดเห็นจากทุกภาคส่วนของ สังคมในเรือ่ งทีม่ คี วามสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ โดยมีผู้แทนทุกภาคส่วนเข้าร่วมงาน จำนวนกว่า 2,000 คน ประกอบด้วย คณะรัฐมนตรี สมาชิก สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สมาชิกสภาขับเคลื่อน การปฏิรูปประเทศ คณะผู้บริหาร ข้าราชการและ เจ้าหน้าทีท่ เี่ กีย่ วข้องของสำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ องค์กร พัฒนาเอกชน ภาคเอกชน นักวิชาการ ผูน้ ำชุมชน ผูแ้ ทนจากภาครัฐ และสือ่ มวลชน ณ ห้องแกรนด์ ไดมอนด์ บอลรูม ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพค เมืองทองธานี อำเภอปากเกร็ด จังหวัด นนทบุรี
นายปรเมธี วิมลศิริ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้ กล่าวถึงวัตถุประสงค์การประชุมประจำปี ประจำปี 2560 ของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในหัวข้อเรื่อง “ขับ เคลื่อนแผนฯ 12 สู่อนาคตประเทศไทย” ว่า เพื่อนำเสนอการขับเคลื่อนประเด็นการพัฒนาที่มี ความสำคัญภายใต้ 10 ยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ทั้งที่ได้ ดำเนินการไปแล้ว และต้องเร่งรัดดำเนินการต่อไป รวมทั้งวางกลไกการขับเคลื่อนไปสู่ระดับปฏิบัติ ในมิติต่างๆ เพื่อสร้างรากฐานที่แข็งแกร่งของ ประเทศในช่วงระยะ 5 ปี ของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี อีกทัง้ ยังเป็นการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กบั ทุกภาคส่วนเห็นความสำคัญของการร่วมมือร่วมใจ ในการขับเคลือ่ นการพัฒนาประเทศสูอ่ นาคต และสู่ การปฏิบตั ไิ ด้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ที่มา : กลุ่มประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ สำนักโฆษก 3 กรกฎาคม 2560
5
Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
โอกาสนี้ นายกรัฐมนตรี ได้กล่าวถึง เรื่อง “ขับเคลือ่ นแผนฯ 12 สูอ่ นาคตประเทศไทย” ว่า เป็นเรื่องที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการผลักดันให้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ได้ถูกนำไปปฏิบัติ ให้เกิดผลเป็นรูปธรรมและ ประเทศสามารถบรรลุเป้าหมายการพัฒนาในมิติ ต่างๆ ได้อย่างแท้จริง โดยขณะนีเ้ ป็นช่วงเวลาทีจ่ ะ ต้องเร่งขับเคลื่อนประเทศไปสู่เป้าหมายที่กำหนด ตามโรดแมปที่รัฐบาลและคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ (คสช.) ได้วางไว้ โดยเฉพาะหลักคิด วิสยั ทัศน์ทจี่ ะนำประเทศไปสูค่ วามมัน่ คง มัง่ คัง่ และ ยั่งยืน ซึ่งทุกอย่างต้องมีการเปลี่ยนแปลงทั้งหมด แต่หากยังติดกับปัญหาเดิมๆ ก็จะทำให้ประเทศ ไม่สามารถเดินหน้าต่อไปได้ ขณะที่ประชากรก็มี จำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่ทรัพยากรธรรมชาติมีจำนวนจำกัด ถึงเวลาแล้วที่ทุกคนจะต้องมา คิดร่วมกันในการทีจ่ ะนำพาประเทศไทยไปสูค่ วาม มัน่ คง มัง่ คัง่ และยัง่ ยืน ตามวิสยั ทัศน์ทไี่ ด้กำหนด ไว้ นายกรัฐมนตรี กล่าวว่า การขับเคลือ่ นการ พัฒนาประเทศในช่วง 5 ปี ของแผนฯ ฉบับที่ 12 นับเป็นก้าวแรก และก้าวย่างที่สำคัญของการวาง
6
รากฐานที่แข็งแกร่งของประเทศ ซึ่งต้องเร่งกำจัด จุดอ่อนก่อนทีจ่ ะเร่งพัฒนาและเสริมจุดแข็งในช่วง เวลาต่อไป ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของภูมิศาสตร์ที่ตั้ง ประเทศ การเชื่อมโยงกับ CLMV และประชาคม อาเซียน ฯลฯ โดยมียุทธศาสตร์ระยะยาว 20 ปี เป็นเป้าหมายสำคัญที่ต้องบรรลุเป็นเป้าหมายให้ ประเทศไทยเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วตามเกณฑ์ มาตรฐานนานาประเทศ และเป็นสังคมที่คนไทย มีความสุข กินอิม่ นอนหลับ ปลอดภัยในชีวติ และ ทรัพย์สนิ สังคมมีความปรองดองสมานฉันท์ ทุกคน มีที่ยืนสมศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ อย่างไร ก็ตามการดำเนินการต่างๆ ต้องมีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจนเพื่อให้การดำเนินงานและบริหาร จั ด การการใช้ จ่ า ยงบประมาณเป็ น ไปอย่ า งมี ประสิทธิภาพ เกิดผลสัมฤทธิ์เป็นรูปธรรม ทั้งใน ระดับบุคคล ภูมิภาค และพื้นที่ น้อมนำศาสตร์ พระราชา เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา ไปปฏิบัติ เพื่อให้เกิดความเข้าใจทั้งคนและพื้นที่ ซึ่งจะทำให้ สามารถเข้าถึงปัญหาและแก้ไขได้ถูกต้องและตรง จุด อันจะนำไปสูก่ ารพัฒนาทัง้ ภายใน คือประชากร ของประเทศในระดับต่างๆ และภายนอกอย่างแท้ จริง โดยเน้นประชาชนในระดับฐานรากให้มรี ายได้
Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
อย่างเพียงพอสามารถเลี้ยงตนเองและครอบครัว ได้ รวมทัง้ รูจ้ กั ใช้ชวี ติ และบริหารจัดการใช้จา่ ยเงิน อย่างพอเพียง พอประมาณ ตามแนวทางหลัก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งในพระบาทสมเด็ จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ซึ่งจะทำให้ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ทั้งนี้ เป้าหมายที่ต้องการเห็นคือ “ประเทศไทยเป็น ประเทศพัฒนาแล้ว” เหมือนกับนานาอารยะประเทศ ทั้ ง ทางด้ า นกายภาพ เช่ น เส้ น ทาง คมนาคม ที่อยู่อาศัย รวมทั้งการพัฒนาด้านจิตใจ ความคิด การสร้างแรงบันดาลใจให้ตนเอง และ ศักยภาพของคน เป็นต้น พร้อมกันนี้ นายกรัฐมนตรี ได้กล่าวถึง ภาพอนาคตประเทศไทยในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ภายหลังสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้ผ่านร่าง พระราชบัญญัตกิ ารจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. .... และร่างพระราชบัญญัตแิ ผนและขัน้ ตอนการปฏิรปู ประเทศ พ.ศ. .... ซึ่งภายใต้พระราชบัญญัติทั้ง 2 ฉบับ จะมีการจัดตั้งกรรมการเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนปฏิรูปประเทศไทยใน ด้านต่างๆ ว่า รัฐบาลต้องการจะสร้างความเข้าใจ และเน้นย้ำว่ายุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ซึ่งรัฐบาลนี้ได้พยายามผลักดันให้ เกิดขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อการพัฒนาประเทศ และสร้างความสุขให้กับคนไทยทุกคนได้อย่าง ยั่งยืน โดยมีเป้าหมายอนาคตของประเทศเป็น หลักชัยทีป่ ระชาชนชาวไทยทุกคนต้องร่วมกันผลัก ดันให้เกิดขึน้ โดยมองถึงภาพของอนาคตทีต่ อ้ งการ จะให้เกิดขึน้ ในระยะยาว ซึง่ การกำหนดเป้าหมาย ระยะยาวสำหรับการพัฒนาประเทศมีประโยชน์ อย่างมาก ทั้งเพื่อเป็นเป้าหมายร่วมที่ทุกภาคส่วน ในสังคมไทยต้องร่วมมือกันผลักดันอย่างต่อเนื่อง เป็นกรอบในการจัดลำดับความสำคัญ ประเด็น
การพัฒนาในระยะสั้น และระยะกลางได้อย่าง เหมาะสม รวมทั้งการจัดทำแผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ จะช่วยวางแนวทางสำหรับการจัด ประเด็นการบูรณาการในการจัดสรรงบประมาณ ตลอดจนการแก้ปัญหาพื้นฐานสำคัญและพัฒนา เพื่อเสริมจุดแข็งสำคัญของประเทศจะได้รับการ จัดสรรงบประมาณอย่างเหมาะสม โดยหลีกเลี่ยง การจัดทำแผนการจัดสรรงบประมาณอย่างเร่งรีบ สำหรับวาระสำคัญๆ ของประเทศภายใต้เวลาที่ จำกัด พร้อมทั้ง ขอให้ทุกคนคิดร่วมกันถึงภาพ อนาคตของประเทศไทยว่า ควรมีลักษณะ หรือ โฉมหน้าอย่างไร เช่น คนไทยที่ตื่นรู้ มีการเจริญ เติบโตทั้งร่างกายและจิตใจ จิตวิญญาณ เป็น พลเมืองไทย พลเมืองอาเซียน และพลเมืองโลก มีรายได้ต่อหัวตามเกณฑ์ของประเทศรายได้สูง คนไทยเป็นนวัตกร ทำเองได้ และขายเป็น โดย ทำให้ครบวงจรทั้งระบบตั้งแต่กระบวนการผลิต แปรรูป และการตลาด สังคมแห่งโอกาส เป็นธรรม มีคุณธรรม และเกื้อกูลกันความเจริญกระจายสู่ ทุกพื้นที่อย่างทั่วถึง มีการใช้พื้นที่อย่างเหมาะสม ตามศักยภาพและเกิดความโดดเด่นของเมืองที่ น่าอยู่ เมืองที่แข่งขันได้ เมืองอัจฉริยะ แต่ละภาค มีความโดดเด่นด้วยเอกลักษณ์และจุดเด่น มีความ ร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านและมิตรประเทศ ภาครั ฐ ดิ จิ ทั ล กระทั ด รั ด ทั น สมั ย โปร่ ง ใส ประสิทธิภาพ เป็นระบบเปิดและเชื่อมโยงถึงกัน (Open and Connected) เป็นประเทศที่มีความ มั่นคงด้านอาหาร น้ำ และพลังงาน ทั้งนี้ เพื่อไปสู่ เป้าหมายดังกล่าว รัฐบาลจึงได้เริ่มต้นวางกรอบ การจัดทำยุทธศาสตร์ชาติมาตั้งแต่ปี 2558 โดย นำนโยบายของรัฐบาล ประเด็นปฏิรูป รวมถึง ข้อคิดเห็นจากภาคส่วนต่างๆ มาใช้เป็นกรอบใน
7
Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
การจัดทำ จนสามารถจัดทำร่างกรอบยุทธศาสตร์ ชาติระยะ 20 ปี แล้วเสร็จในปี 2559 ซึ่งกรอบ ยุทธศาสตร์ชาติจะประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ สำคัญ ได้แก่ (1) ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง (2) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความมั่นคงในการ แข่งขัน (3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพคน (4) ยุทธศาสตร์ดา้ นการสร้างโอกาส ความเสมอภาคและเท่าเทียมกันในสังคม (5) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพ ชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยให้เป็นการ พัฒนาที่เป็นการผสมผสานความเจริญระหว่าง ตะวันตก และตะวันออก เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ สมดุลและยั่งยืน และ (6) ยุทธศาสตร์ด้านการ ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ภาค รัฐ ซึ่งกรอบยุทธศาสตร์ชาติทั้ง 6 ด้านนี้ จะเป็น กรอบทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะยาวที่มี ผลในทางปฏิ บั ติ โดยในปี 2560 ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการเตรี ย มการยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ขึ้ น ภายใต้คณะกรรมการเพือ่ พิจารณากลัน่ กรองเรือ่ ง เสนอคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตาม กรอบการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และ การสร้างความปรองดอง (ป.ย.ป.) เพื่อทำหน้าที่ จั ด เตรี ย มสาระของยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ใ ห้ มี ค วาม สมบู ร ณ์ ที่ สุ ด และตรงกั บ ความต้ อ งการของ ประชาชน และจะส่งมอบต่อให้คณะกรรมการ ยุทธศาสตร์ชาติที่จะเกิดขึ้นตามพระราชบัญญัติ การจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ ซึง่ คาดว่าจะมีผลบังคับ ใช้ในช่วงเดือนสิงหาคม 2560 ขณะเดี ย วกั น นายกรั ฐ มนตรี กล่ า วว่ า เครื่ อ งมื อ สำคั ญ ที่ จ ะช่ ว ยในการขั บ เคลื่ อ นการ ทำงานให้ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี เกิดผล สัมฤทธิ์ตามเป้าหมายที่วางไว้ ได้แก่ แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ระยะ 5 ปี ทั้ง
8
ในส่วนของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ที่ประกาศใช้ ไปเมื่อเดือนตุลาคม 2559 และแผนพัฒนาฉบับ ต่อๆ ไป เพราะยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา ทีก่ ำหนดไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ง ชาติ จะเป็นการเริ่มต้น สานต่อ และรองรับการ พัฒนาที่ต่อเนื่องกันไปตลอด 20 ปี โดยเฉพาะ แผนพั ฒ นาฉบั บ ที่ 12 ที่ เ ป็ น เหมื อ นก้ า วแรก ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงที่ดีในอนาคต เป็น การวางรากฐานการพัฒนาในด้านต่างๆ เพือ่ บรรลุ เป้าหมายระยะยาวที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ใน ระยะยาวทั้ง 6 ด้านของยุทธศาสตร์ชาติ ทั้งนี้ ยุทธศาสตร์การพัฒนาทั้ง 10 ด้าน ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 สะท้อนการไปถึง เป้าหมายในระยะ 20 ปี ของยุทธศาสตร์ชาติ อย่างชัดเจน ไม่วา่ จะเป็นใน 6 ยุทธศาสตร์แรกของ แผนฯ ที่ ต อบสนอง 6 ยุ ท ธศาสตร์ ห ลั ก ของ ยุทธศาสตร์ชาติโดยตรง ได้แก่ (1) การเสริมสร้าง และพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ (2) การสร้างความ เป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม (3) การ สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้ อย่างยัง่ ยืน (4) การเติบโตทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม เพือ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน (5) การเสริมสร้างความ มัน่ คงแห่งชาติเพือ่ การพัฒนาประเทศสูค่ วามมัง่ คัง่ และยั่งยืน และ (6) การบริหารจัดการในภาครัฐ ป้องกันการทุจริตประพฤติมชิ อบ และธรรมาภิบาล ในสังคมไทย รวมถึงอีก 4 ยุทธศาสตร์ที่จะสนับสนุนการพัฒนาประเทศให้ขับเคลื่อนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ได้แก่ (7) การพัฒนาโครงสร้าง พื้ น ฐานและระบบโลจิ ส ติ ก ส์ (8) การพั ฒ นา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และนวัตกรรม (9) การพัฒนาภาคเมืองและพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจ และ (10) การสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการ พัฒนา
Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
นอกจากนี้ นายกรั ฐ มนตรี ได้ ก ล่ า วถึ ง หัวใจสำคัญของการนำพาประเทศไปสู่จุดเปลี่ยน แห่งอนาคต ได้แก่ การสร้างคนพันธุ์ใหม่ ใช้ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ขับเคลือ่ น การพัฒนาในทุกมิติ การเพิ่มประสิทธิภาพภาค รัฐ และป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอรัปชัน่ อย่างไรก็ตาม ความสำเร็จของการขับเคลื่อนแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติจะเกิดขึ้นได้ ต้องเกิดจากการบูรณาการการทำงานร่วมกันของ ทุกฝ่ายที่เป็นพลังประชารัฐเข้ามาร่วมรับผิดชอบ และลงมือปฏิบัติอย่างจริงจังในการดำเนินการให้ ประสบผลเป็นรูปธรรมตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ และเพือ่ ให้พลังประชารัฐเป็นพลังทีส่ ามารถนำพา ประเทศไปสู่เป้าหมายได้ รวมถึงการปรับเปลี่ยน วัฒนธรรมในหลายเรือ่ งในสังคมไทย ไม่วา่ จะเป็น วัฒนธรรมการดำเนินชีวิต วัฒนธรรมการเรียนรู้ วัฒนธรรมการทำงาน และวัฒนธรรมการดำเนิน ธุรกิจ ขณะเดียวกัน ภาครัฐต้องปรับเปลี่ยนไปสู่ รัฐบาลดิจิทัล ที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง เป็น ภาครัฐทีเ่ ปิดกว้างและเชือ่ มโยงกัน และเป็นภาครัฐ ทีม่ สี มรรถนะสูง เพือ่ ให้การบริหารราชการแผ่นดิน และการให้บริการสาธารณะมีประสิทธิภาพ มีความ โปร่งใส เป็นธรรม ส่วนภาคธุรกิจเอกชน ต้องให้ ความสำคัญกับการเชื่อมโยงธุรกิจกับการพัฒนา สร้างสรรค์สิ่งใหม่ควบคู่กับความรับผิดชอบต่อ สังคม ทำงานร่วมกับภาคีตา่ งๆ อย่างเป็นพันธมิตร ตามแนวทางประชารัฐ ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรม
ไปสู่การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม วัฒนธรรมการ ขับเคลื่อนสู่ความยั่งยืน ขณะที่ประชาชน ต้อง ปรับตัวให้เรียนรูต้ นื่ รูอ้ ยูต่ ลอดเวลา เรียนรูอ้ ย่างมี เป้าหมาย เรียนรูอ้ ย่างสร้างสรรค์ เรียนรูเ้ พือ่ นำไป ปฏิบตั อิ ย่างจริงจัง และเรียนรูใ้ นการทีจ่ ะมีสว่ นร่วม ในการพัฒนา ตลอดจนตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ เคารพกฎหมาย สิทธิเสรีภาพ ของผู้อื่น มีจิตสาธารณะ พร้อมกันนี้ นายกรัฐมนตรี ได้ขอให้ทุก ภาคส่วนของประเทศทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชน ประชาสั ง คม ประชาชน และNGOs ร่ ว มมื อ กันในการที่จะมุ่งมั่นปรับเปลี่ยนไปสู่การปฏิรูป ประเทศให้ ไ ด้ ต ามเป้ า หมายที่ ก ำหนด โดยขั บ เคลื่อนจากแผนฯ 12 ไปสู่แผนฯ อื่นๆ สอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี รองรับการพัฒนา ประเทศในอนาคต โดยประชาชนทุกกลุ่ม ทั้ง ในส่ ว นของ 1.0 2.0 และ 3.0 ต้ อ งพั ฒ นา ตนเองเพื่อขับเคลื่อนไปข้างหน้าและก้าวไปสู่ 4.0 ด้วยกัน โดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง รวมทั้ง ขอให้ ทุ ก ฝ่ า ยช่ ว ยกั น เป็ น ผู้ น ำแห่ ง การเปลี่ ย นแปลง ประเทศไทยร่วมกับประชาชนทุกระดับ ไปสูค่ วาม มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน พร้อมน้อมนำศาสตร์ พระราชา เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา และแนวทาง หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช มาปฏิ บั ติ ให้เกิดผลเป็นรูปธรรม เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ ประชาชนและประเทศชาติอย่างแท้จริง
9
Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
การขับเคลื่อนประเทศไทย
สู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว
๏ สร้างคนคุณภาพ ตื่นรู้ มีความรู้ มีทักษะ มีวินัย และคำนิยมที่ดี ๏ สร้าง และใช้นวัตกรรม คนไทยทำเองได้ และขายเองเป็น ๏ พัฒนาเมืองน่าอยู่ และแข่งขันได้ พัฒนาภาค และพื้นที่ให้โดดเด่น กระจายความเจริญให้ทั่วถึง ๏ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และระบบโลจิสติกส์คุรภาพ เชื่อมโยงทั่วถึง ๏ ส่งเสริมความร่วมมือกับนานาประเทศให้เข้มข้นเพื่อการพัฒนา ๏ ปฏิรูปสู่รัฐบาลดิจิทัล กะทัดรัด โปร่งใส เข้าถึงได้ มีประสิทธิภาพ และเป็นธรรม
โฉมหน้าประเทศไทยอีก 20 ปีข้างหน้า จะเป็นอย่างไร ในฐานะคนไทยคนหนึง่ เราอาจใช้เวลากับการดำเนินชีวติ และงานประจำวัน จนลืมมองออกไปถึง อนาคตอันยาวไกลว่า จากนีไ้ ป ตัวเรา ครอบครัว สังคมรอบข้าง และประเทศไทยของเราจะเปลีย่ นแปลง ไปอย่างไร เราจะใช้ชีวิตแบบไหน ลูกหลานเราวิ่งทันการแข่งขันกับคนชาติอื่นได้ไหม เราจะสร้างคุณค่า และพื้นฐานการพัฒนาที่แข็งแกร่งเพื่อให้ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนต่อไปได้อย่างไร และเราจะตั้งเป้าหมายการพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วในอนาคตได้อย่างไร
อนาคตที่ต้องเผชิญ • เทคโนโลยีจะพลิกโฉมในทุกด้าน เกิดเศรษฐกิจและสังคมโลกโฉมใหม่ การดำเนินชีวิต และ คุณภาพชีวิตจะเปลี่ยนไปโดยสิ้นเชิง • ทรัพยากรมีจำกัด กฎเกณฑ์การดูแลสิง่ แวดล้อมเข้มงวด ต้องการการบริหารจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างชาญฉลาด และมี SDGs เป็นเป้าหมายที่ต้องยึดเป็นแนวทางปฏิบัติให้ บรรลุผล • โลกมีความเสีย่ งจากภัยรูปแบบใหม่ทหี่ ลากหลาย ภายใต้โลกไร้พรมแดน มีความเสีย่ งเรือ่ งความ มัน่ คงด้านอาหาร น้ำ และพลังงาน ทีเ่ กิดจากสภาพภูมอิ ากาศทีเ่ ปลีย่ นแปลงผันผวน ประชากรโลกทีเ่ พิม่ ขึน้ ต้องใช้เทคโนโลยีและกฎระเบียบในการบริหารจัดการ ที่มา : การประชุมประจำปี 2560 ของ สศช.
10
Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
• เกิดการหลั่งไหล และเคลื่อนย้ายของ สินค้า บริการ คน องค์ความรู้ และข้อมูลข่าวสาร อย่างเสรีในโลกไร้พรมแดน การแข่งขันรุนแรงขึน้ ต้องสูก้ นั ด้วยคนคุณภาพ ประสิทธิภาพ สร้างสรรค์ และนวัตกรรม
• กำลังคน: การขาดแคลนประชากรวัย แรงงาน และการเข้าสังคมผู้สูงวัยอย่างรวดเร็ว
• ประชาคมอาเซียน และอนุภูมิภาคไทย กับประเทศเพื่อนบ้านมีความร่วมมือใกล้ชิด เกิด พลังและอำนาจต่อรองร่วมกัน ไทยใช้ และได้ ประโยชน์จากการเป็นประตูสู่เอเชีย
• เศรษฐกิจ: ประเทศไทยเป็นเพียงผู้ซื้อ และใช้นวัตกรรม การวิจัยและพัฒนามีน้อย ขาด การลงทุนพัฒนาเทคโนโลยีอย่างเข้มข้นและต่อ เนือ่ ง เป็นข้อจำกัดต่อการยกระดับศักยภาพเศรษฐกิจไปสูก่ ารเป็นผูน้ ำการผลิตสินค้า และบริการทีม่ ี มูลค่าสูง
• สั ง คมไทยเข้ า สู่ สั ง คมสู ง วั ย สมบู ร ณ์ ปี 2564 สังคมสูงวัยสุดยอดปี 2579 ประชากรไทย จะลดลงตั้งแต่ปี 2570 กลุ่มเด็ก และวัยแรงงาน ลดลง เป็นความเสี่ยงด้านการคลัง การออมศักยภาพทางเศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตในสังคม • ประชาชนจะเป็นผู้กำหนดทิศทางการ พัฒนาประเทศ รัฐจะเป็นผู้อำนวยความสะดวก พลังร่วมรัฐ เอกชน และประชาชนจะเป็นกลไก หลักในการพัฒนา
กำจัดจุดอ่อนก่อนเร่งพัฒนาประเทศ การพัฒนาประเทศไทยสู่อนาคตอย่างมี ทิศทาง จำเป็นทีจ่ ะต้องแก้ปญ ั หาและกำจัดจุดอ่อน ของประเทศอย่างจริงจัง แก้ปัญหาพื้นฐานสำคัญ ให้ตรงจุด และวางรากฐานการพัฒนาประเทศที่ ต้องทำจริง ปฏิบัติจริงอย่างต่อเนื่องให้เกิดผล อุปสรรคของการพัฒนาที่จะต้องข้ามผ่านไปให้ได้ เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายความอยู่ดีมีสุขของคนไทยทุก คนโดยไม่ทิ้งใครข้างหลัง มีดังนี้ • คุณภาพคน: การขาดความรู้ ทักษะ และ ทัศนคติทจี่ ะสร้างคุณค่าของงาน ขาดวิจยั และการ คิดวิเคราะห์อย่างเป็นเหตุและผล มีวิกฤติค่านิยม และมีพฤติกรรมในการใช้ชีวิตที่ไม่เหมาะสม มี ปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
• สังคม: ความเหลื่อมล้ำสูงในสังคมไทย ทัง้ รายได้ การเข้าถึงทรัพยากร คุณภาพการบริการ ทางสังคม และกระบวนการยุติธรรม
• ทรัพยากรธรรมชาติ: การใช้ทรัพยากร ธรรมชาติอย่างสิน้ เปลือง ไม่คำนึงถึงผลกระทบใน ระยะยาว มีผลเสียบั่นทอนสุขภาพและชีวิตความ เป็นอยู่ของคนไทยในปัจจุบัน และอนาคต สร้าง ข้อจำกัด ต่อคนรุ่นลูกรุ่นหลาน • ภาครัฐ: ขนาดใหญ่ การบริหารจัดการ ขาดประสิทธิภาพ ขาดความโปร่งใส ขาดการ รับผิดชอบ และมีปัญหาคอร์รัปชั่นเป็นวงกว้าง
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 (2560-2564) ช่วงเวลาแห่งการวางรากฐานให้เข้มแข็ง จะเกิดอะไร
• การเกิ ด และการเลี้ ย งดู มี คุ ณ ภาพ ครู และการศึกษาไทยมีคณ ุ ภาพ การใช้ STEMA เป็น รูปธรรม คนไทยสายพันธุใ์ หม่มหี ลากหลายทักษะ พูดได้หลายภาษา รู้จักดิจิทัล เรียนรู้เป็น มีวินัย ใฝ่ดี มีจิตสาธารณะ ยึดประโยชน์ส่วนรวม และ ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเองได้ • การบริการสุขภาพที่มีคุณภาพทั่วถึงทุก พื้นที่ เข้าสู่ระบบสุขภาพแบบมีส่วนร่วม ภายใต้ ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพที่ยั่งยืน
11
Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
• ธุรกิจเอกชนเป็นผู้นำลงทุน R&D เพื่อ พาณิชย์ รัฐลงทุน R&D เพือ่ สังคมและวิจยั พืน้ ฐาน เริ่มเข้าสู่สังคมผู้ประกอบการและนวัตกรรม
นำไปปฏิบตั ไิ ด้จริง การบริการสุขภาพทีม่ คี ณ ุ ภาพ ทั่วถึงทุกพื้นที่ และพัฒนาระบบสุขภาพอย่างมี ส่วนร่วมภายใต้ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ
• ความยาก-ง่าย การประกอบธุรกิจ อันดับ 2 ของอาเซียน ตลาดระบบธุรกิจมีการแข่งขัน ที่เป็นธรรม
2. การพัฒนาและการใช้นวัตกรรมเพื่อ อนาคตประเทศไทย
• เมืองอุตสาหกรรม และบริการสะอาด มีมาตรฐานตามหลักสากล • เกษตรอัจฉริยะ ระบบอัตโนมัติ และ นวัตกรรมในอุตสาหกรรมการผลิต เกิดธุรกิจ บริการ และ SME ใหม่ๆ ทีม่ มี ลู ค่าสูง สร้างสรรค์ และมีระบบโลจิสติกส์คล่องตัว • โครงสร้างพื้นฐานที่เชื่อมโยงเป็นโครงข่ายภายในประเทศที่สมบูรณ์ และเชื่อมต่อกับ ประเทศเพื่อนบ้าน ความเชื่อมโยงกับประเทศ เพื่อนบ้านและอาเซียนแล้วเสร็จสมบูรณ์ • ดัชนีภาพลักษณ์คอร์รปั ชัน่ (CPI) อันดับ 2 ในอาเซียน บทบาทรัฐในฐานะผูก้ ำกับ ผูอ้ ำนวย ความสะดวก และผู้ดำเนินการ จำแนกชัดเจน อำนาจและความรับผิดชอบของท้องถิ่นเพิ่มขึ้น มีกระบวนการจัดทำกฎหมาย กฎระเบียบ และ นโยบายสาธารณะที่ได้มาตรฐานสากล
6 ประเด็นการขับเคลื่อนที่มีความสำคัญ
เร่งด่วน เพื่อคนไทย กินดี อยู่ดี มีสุข
1. การเพิ่มศักยภาพคนไทย เพื่ออนาคต ประเทศไทย
ส่งเสริมคนไทยให้สามารถปรับตัวกับ การเปลี่ ย นแปลง และกำหนดเส้ น ทางชี วิ ต ใน อนาคต มีระบบการศึกษาและกระบวนการเรียนรู้ อย่างมีเป้าหมาย สร้างสรรค์ มีส่วนร่วม และ
12
ส่งเสริมระบบนิเวศนวัตกรรม รวมถึง สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการนำนวัตกรรมมา ประยุกต์ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะนำไปสูก่ าร เพิ่มผลิตภาพให้ภาคการผลิต การค้า และบริการ สร้างความเจริญทางเศรษฐกิจ สร้างงาน สร้าง รายได้ และยกระดับคุณภาพชีวติ ประชาชนทุกกลุม่ อย่างยั่งยืน
3. การพัฒนาเกษตรยุคใหม่ เพื่ออนาคต ประเทศไทย
เน้นการยกระดับความสามารถในการ แข่งขัน โดยการสนับสนุนเกษตรกรรุ่นใหม่ให้มี การวางแผนอย่างมีระบบ มีองค์ความรู้ สามารถ นำนวัตกรรม เทคโนโลยี มาปรับใช้อย่างเหมาะสม เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 4. การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานเพือ่ อนาคต ประเทศไทย มุ่งเน้นเป้าหมายหลัก 4 ประการ ได้แก่ การขยายขีดความสามารถและพัฒนาคุณภาพการ ให้บริการ การเชื่อมโยงอนุภูมิภาค และอาเซียน อย่ า งเป็ น ระบบ เพื่ อ การพั ฒ นาพื้ น ที่ ต ามแนว ระเบียงเศรษฐกิจ การพัฒนาระบบบริหาร และการ ประยุกต์ใช้นวัตกรรม และการพัฒนาอุตสาหกรรมต่อเนื่อง เพื่อสนับสนุนให้ผู้ประกอบการ ที่มีศักยภาพออกไปลงทุนในต่างประเทศ
5. การพัฒนาภาครัฐดิจิทัล เพื่อนาคต ประเทศไทย ยกระดับการบริหารจัดการราชการแผ่นดิน
Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
และการบริการประชาชนด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีประสิทธิภาพ ทำให้ติดต่อสื่อสารได้รวดเร็ว เปิด โอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดและสะท้อนความต้องการต่อบริการของภาครัฐ รวมทั้ง ตรวจสอบการทำงานของภาครัฐเพื่อให้เกิดความโปร่งใสมากขึ้น 6. การขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่ ภาค และเมือง สู่อนาคตประเทศไทย กำหนดแนวทาง กลไก และมาตรการในการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่ภาคและเมือง เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการพื้นที่เศรษฐกิจ สนับสนุนการกระจายความเจริญสู่ภูมิภาค
ขับเคลื่อนแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12
เพื่อวางรากฐานการพัฒนาสู่อนาคตประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ “คนไทยใฝ่ดี มีวินัย สร้างสรรค์นวัตกรรม พึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน” ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม “ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง สร้างสังคมเป็นธรรมและเข้มแข็ง” ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรฐกิจ และแข่งขันได้อย่างยั่งยืน “พัฒนาเศรษฐกิจให้เข้มแข็ง และทั่วถึงเพื่อมุ่งสู่การมีรายได้สูงอย่างมีเสถียรภาพ เป็นธรรม และยั่งยืนด้วยนวัตกรรม” ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน “คืนสมดุลสู่ธรรมชาติ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศ สู่ความมั่งคั่ง และยั่งยืน “เสริมสร้างพื้นฐานที่มั่นคงในการพัฒนาประเทศ” ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ และธรรมาภิบาล ในสังคมไทย “ประสิทธิภาพ ทันสมัย โปร่งใส เป็นธรรม” ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ “โครงสร้างพื้นฐานก้าวไกล พัฒนาไทยสู่ทศวรรษหน้า” ยุทธศาสตร์ที่ 8 การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม “รุกไปข้างหน้าด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม” ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ “กระจายความเจริญสู่ภูมิภาคอย่างสมดุล” ยุทธศาสตร์ที่ 10 ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา “ใช้จุดเด่นให้เป็นประโยชน์ ขยายความร่วมมือระหว่างประเทศให้เข้มข้น เพื่อให้เกิดผลต่อ การพัฒนาอย่างเต็มที่”
13
Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
ถั่วเหลือง
สถานการณ์ 1. ผลผลิตและการใช้ (ล้านตัน)
ปี 57
ปี 58
ปี 59
ปี 60 (ประมาณการ)
1.1 ผลผลิตพืชน้ำมันโลก 1.2 ผลผลิตถั่วเหลือง 1.2.1 โลก 1.2.2 ไทย - ถั่วฤดูแล้ง - ถั่วฤดูฝน 1.3 ความต้องการใช้ 1.3.1 โลก 1.3.2 ไทย 1.4 ต้นทุนการผลิต (บาท/กก.) 1.5 นำเข้า 1.6 ส่งออก ไทยนำเข้าจาก ไทยส่งออกไป 2. ราคา (บาท/กก.) 2.1 เกษตรกรขายได้ (คละ) 2.2 ขายส่ง กทม. - เกรดแปรรูปอาหาร - เกรดผลิตอาหารสัตว์ - เกรดสกัดน้ำมัน 2.3 ซื้อขายล่วงหน้าตลาดชิคาโก - บาท/กก. - เหรียญสหรัฐฯ/ตัน ที่มา :
14
504.000
537.300
521.220
570.190
282.474 0.056 0.035 0.023
319.557 0.058 0.034 0.023
312.854 0.057 0.034 0.022
351.311 0.056
276.47 302.07 314.29 331.23 1.944 2.605 2.657 2.705* 15.48 13.52 15.75 1.898 2.557 2.957 2.650* 0.012 0.009 0.005 0.01* บราซิล 67% สหรัฐอเมริกา 30% แคนาดา 2% อาร์เจนตินา 1% ลาว 70% ไนจีเรีย 12% เวียดนาม 11% กัมพูชา 2% มัลดิฟส์ 2% ปี 58 ปี 59 พ.ค. 60 มิ.ย. 60 15.46 14.47 16.95 19.63 18.21 16.49
19.63 18.02 16.64
20.50 18.50 18.50
20.59 18.59 18.50
11.93 347.51
12.86 362.84
12.15 350.15
11.10 324.94
1.1. 1.2.1, 131.1 กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ 1.2.2, 13.2, 1.4 สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 1.5, 1.6 กรมศุลกากร 2.1 สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2.2 กรมการค้าภายใน 2.3 www.cmegroup.com *ประมาณการโดยสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
1. สถานการณ์ ปี 2560 1.1 เดือนมิถุนายน ราคาขายส่งตลาด กทม. เกรดแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร และเกรดผลิตอาหารสัตว์สูงขึ้น ส่วนเกรดสกัดน้ำมันทรงตัว ผลผลิตถั่วเหลืองของ ไทย มีแนวโน้มลดลงต่อเนื่อง ทำให้ต้องนำเข้าเพื่อให้เพียงกับความต้องการใช้ที่ สูงขึ้น ในช่วงเดือน ม.ค. - พ.ค. 60 นำเข้าเมล็ดถัว่ เหลือง 1,227,420 ตัน สูงขึน้ จากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 8 แหล่งนำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ บราซิล สหรัฐอเมริกา อาร์เจนตินา แคนาดา ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดชิคาโกลดลงจากเดือนก่อน กระทรวงเกษตร สหรัฐอเมริกา (USDA) คาดการณ์ว่าสต็อกสิ้นปี 2560/61 จะทำสถิติสูงสุดเป็น ประวัติการณ์ เนื่องจากคาดว่าจะเก็บเกี่ยวผลผลิตถั่วเหลืองได้มากในปีนี้ 1.2 แนวโน้ม คาดว่าภาวะราคาถั่วเหลืองของไทยจะปรับตัวสูงขึ้น เนื่องจาก ผลผลิตมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน กรกฎาคม 2560
ราคา เมล็ดถั่วเหลือง ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. 1. ราคาที่เกษตรกรขายได้ เมล็ดถั่วเหลืองชนิดคละ 2555 14.85 - 14.21 15.50 17.28 2556 - 18.03 18.61 19.60 2557 19.36 - 18.16 19.27 20.00 2558 - 15.52 15.62 15.25 2559 - 15.00 14.50 14.02 14.22 2560 - 16.45 16.78 16.95 2. ราคาขายส่ง เมล็ดถั่วเหลืองเกรดแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร 2555 22.00 22.00 22.00 22.00 22.00 22.20 2556 24.73 24.50 24.50 24.38 24.80 24.00 2557 24.50 24.50 24.50 24.50 24.50 24.50 2558 20.50 20.50 19.79 19.89 20.50 18.77 2559 19.50 18.90 18.50 18.50 18.50 19.27 2560 18.50 20.39 20.50 20.50 20.50 20.59
ก.ค.
หน่วย : บาท/กก. ธ.ค. เฉลี่ย
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค.
พ.ย.
17.35 -
18.35 17.35 15.41 14.17
17.50 18.35 14.93 13.20
19.85 17.52 15.26 15.35 14.00
18.35 17.85 13.85 -
ตลาด กทม. 23.55 25.85 24.00 24.07 24.50 24.50 18.50 19.15 19.50 19.50
15.75 18.24 18.08 15.46 14.47 16.61
26.50 24.50 24.09 19.50 19.50
26.50 24.50 23.00 19.50 19.50
25.91 24.50 21.60 19.50 18.55
25.50 24.50 21.00 19.50 18.50
23.83 24.42 23.81 19.63 19.02 20.16
-
>>>
15
Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
<<<
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. 3. ราคาขายส่ง เมล็ดถั่วเหลืองเกรดผลิตอาหารสัตว์ ตลาด กทม. 2555 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 21.03 22.55 24.85 25.50 25.50 24.91 2556 23.73 23.50 23.50 23.38 23.00 23.00 23.00 23.07 23.50 23.50 23.50 2557 23.50 23.50 23.50 23.50 23.50 23.50 23.50 23.50 23.09 21.50 19.60 2558 18.50 18.50 17.79 17.89 18.50 17.64 17.50 18.15 18.50 18.50 18.50 2559 18.50 17.90 17.50 17.50 17.50 18.27 18.50 18.50 18.50 18.50 17.55 2560 17.50 18.45 18.50 18.50 18.50 18.59 4. ราคาขายส่ง เมล็ดถั่วเหลืองเกรดสกัดน้ำมัน ความชื้น 13.0% ตลาด กทม. 2555 16.26 16.35 16.49 16.85 16.85 17.05 17.97 20.08 20.55 20.55 20.25 2556 19.65 19.33 18.96 19.03 18.65 18.65 19.20 20.15 20.48 19.81 19.65 2557 19.65 19.65 19.65 19.72 20.95 20.95 20.85 20.65 18.67 17.51 16.66 2558 16.53 16.49 16.36 16.49 16.50 16.50 16.50 16.50 16.50 16.50 16.50 2559 16.50 16.50 16.50 16.50 16.50 16.99 17.25 16.80 16.60 16.50 16.50 2560 16.50 18.39 18.50 18.50 18.50 18.50 5. ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง ตลาดชิคาโก 2555 14.00 14.23 15.30 16.44 16.36 16.61 19.38 19.67 19.15 17.44 16.44 2556 15.90 16.08 15.90 15.13 16.20 17.37 17.14 15.80 16.08 14.82 15.13 2557 15.75 16.29 16.98 17.77 17.81 17.24 14.93 13.93 11.92 11.55 12.49 2558 12.09 11.93 11.78 11.66 11.79 12.02 12.83 12.34 11.69 11.74 11.47 2559 11.74 11.44 11.57 12.54 13.81 14.94 13.76 12.92 12.43 12.62 13.09 2560 13.52 13.41 12.85 12.04 12.15 11.10 6. ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง ตลาดชิคาโก (เหรียญสหรัฐฯ/ตัน) 2555 441.70 461.16 496.25 529.56 521.09 522.30 609.41 622.88 615.19 565.66 532.99 2556 526.00 536.67 536.04 517.75 541.92 560.12 548.31 498.01 505.03 472.80 476.63 2557 476.07 496.76 521.96 547.15 545.91 527.96 463.19 432.94 368.81 354.41 379.32 2558 367.46 364.70 359.58 356.89 351.92 354.79 372.29 346.99 323.51 327.39 318.84 2559 323.17 319.90 326.91 355.65 388.47 421.20 390.37 370.28 355.64 358.35 368.87 2560 379.56 381.13 366.07 347.82 350.15 324.94 ที่มา : 1. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเฉลี่ยทั้งปีแบบถ่วงน้ำจำนวนผลผลิต, 2-4 กรมการค้าภายใน, 5-6 Chicago Board of Trade
ปริมาณการนำเข้าและส่งออก เมล็ดถั่วเหลือง
ธ.ค.
เฉลี่ย
24.50 23.50 19.00 18.50 17.50
22.61 23.35 22.60 18.21 18.02 18.34
19.65 19.65 16.63 16.50 16.50
18.24 19.43 19.30 16.49 16.64 18.15
16.48 15.87 12.52 11.78 13.49
16.79 15.95 14.93 11.93 12.86 12.51
535.36 488.63 378.75 325.78 375.25
537.80 517.33 457.77 347.51 362.84 358.28
หน่วย : ตัน
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม ปริมาณนำเข้า 2555 206,305 34,126 220,894 230,559 97,966 225,911 174,526 118,267 154,393 178,088 315,949 162,959 2,119,941 2556 107,117 44,655 21,663 212,474 152,174 175,330 183,661 158,525 120,304 78,920 177,424 246,430 1,678,678 2557 120,990 112,297 187,768 173,079 235,295 104,481 135,400 105,794 203,060 161,897 175,784 182,448 1,898,295 2558 128,352 148,493 154,784 289,615 247,945 144,371 344,892 229,067 244,003 173,423 158,263 294,175 2,557,384 2559 308,363 104,921 254,770 250,275 222,404 299,465 187,572 300,477 278,178 224,440 162,008 364,856 2,957,729 2560 123,617 331,674 214,215 266,820 291,094 1,227,420 ปริมาณส่งออก 2555 198 213 181 118 335 266 127 103 33 120 99 124 1,918 2556 93 215 145 132 166 48 552 66 181 70 240 82 1,989 2557 187 49 158 218 124 856 1,691 2,229 142 119 4,567 1,252 11,595 2558 3,344 144 139 254 488 781 1,416 778 200 908 418 447 9,317 2559 599 218 640 744 390 222 287 600 608 157 523 488 5,477 2560 486 271 317 269 516 1,859 ที่มา : กรมศุลกากร : ปี 2553-54 พิกัด 12010090001 12010010000 และ 12010090090 : ปี 2555-60พิกัด 12011009000 12019010001 และ 12019090090
16
Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
กากถั่วเหลือง
สถานการณ์ 1. ผลผลิตและการใช้ (ล้านตัน) 1.1 ผลผลิตโลก 1.2 ผลผลิตในประเทศ - เมล็ดในประเทศ - เมล็ดนำเข้า 1.3 ความต้องการใช้ 1.4 นำเข้า ไทยนำเข้าจาก 2. ราคา (บาท/กก.) 2.1 ขายส่ง กทม. - กากถั่วเหลืองในประเทศ - เมล็ดในประเทศโปรตีน 44-48% - เมล็ดนำเข้าโปรตีน 44-46% - กากถั่วเหลืองนำเข้า - โปรตีน 46-48% 2.2 ซื้อขายล่วงหน้าตลาดชิคาโก - บาท/กก. - เหรียญสหรัฐฯ/ตัน
ปี 57
ปี 58
ปี 59
ปี 60
(ประมาณการ)
190.377 208.029 215.969 227.728 1.020 1.241 1.434 1.422 0.016 0.015 0.011 0.011 1.004 1.227 1.423 1.411 4.041 4.348 4.503 4.698 2.888 2.695 2.578 2.789 บราซิล 57% สหรัฐอเมริกา 20% อาร์เจนตินา 18% ปารากวัย 3% ปี 58 ปี 59 พ.ค. 60 มิ.ย. 60 18.37 15.81
19.54 15.74
20.50 14.18
20.50 13.47
15.60
15.30
14.03
13.30
12.12 353.17
12.42 350.48
11.36 327.30
10.80 316.02
ที่มา : 1.1 กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ, 1.2 โรงงานสกัดน้ำมันรายงานตามบันทึกข้อตกลงการรับซื้อกากถั่วเหลือง 1.3 สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย, 1.4 กรมศุลกากร, 2.1 กรมการค้าภายใน, 2.2 www.cmegroup.com
3. สถานการณ์ ปี 2560 3.1 เดือนมิถุนายน ราคาขายส่งตลาด กทม. กากถั่วเหลืองจากเมล็ดในประเทศทรงตัว ส่วน กากถั่วเหลืองจากเมล็ดนำเข้า และกากถั่วเหลืองนำเข้า ลดลงตามราคาต่างประเทศ ในช่วงเดือน ม.ค. - พ.ค. 60 นำเข้ากากถัว่ เหลือง 1,269,378 ตัน สูงขึน้ จากช่วงเดียวกันของ ปีก่อน ร้อยละ 8 แหล่งนำเข้าที่สาคัญ ได้แก่ บราซิล สหรัฐอเมริกา อาร์เจนตินา ปารากวัย ราคาซือ้ ขายล่วงหน้าตลาดชิคาโกลดลงจากเดือนก่อน เนือ่ งจากความกังวลเกีย่ วกับปริมาณ ผลผลิตถั่วเหลืองปีนี้จะมากเกินความต้องการ และพยากรณ์อากาศว่าฝนจะตกซึ่งช่วยบรรเทาอากาศที่ แห้งแล้งของสหรัฐอเมริกาในช่วงก่อนหน้านี้ 3.2 แนวโน้ม คาดว่าราคากากถั่วเหลืองของไทยจะปรับตัวตามตลาดโลก เนื่องจากผลผลิต ถั่วเหลือง และกากถั่วเหลืองในตลาดโลกมีแนวโน้มสูงขึ้น กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน กรกฎาคม 2560
17
Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
กากถั่วเหลือง
ราคา หน่วย : บาท/กก. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. เฉลี่ย 1. ราคาขายส่ง กากถั่วเหลืองผลิตในประเทศจากเมล็ดในประเทศ โปรตีน 44-48% ณ หน้าโรงงานสกัดน้ำมัน ตลาด กทม. 2555 13.43 15.47 16.43 16.49 16.70 17.99 19.76 21.90 21.98 21.98 21.43 20.31 18.66 2556 20.23 20.23 20.53 20.61 20.12 19.93 19.73 19.33 19.33 19.33 19.33 19.33 19.84 2557 19.33 19.18 19.85 20.45 20.45 20.45 20.45 20.45 19.33 - -19.99 2558 18.63 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.37 2559 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 19.78 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 19.54 2560 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 2. ราคาขายส่ง กากถั่วเหลืองผลิตในประเทศจากเมล็ดนำเข้า โปรตีน 44-46% ณ หน้าโรงงานสกัดน้ำมัน ตลาด กทม. 2555 13.65 14.73 15.51 15.90 15.94 16.07 18.67 21.50 21.81 21.09 20.25 18.82 17.83 2556 17.87 17.61 18.82 19.33 18.01 17.20 17.00 16.67 17.37 17.74 18.69 19.28 17.97 2557 19.40 18.93 19.53 20.13 19.97 19.73 19.48 19.23 18.66 18.16 18.08 17.40 19.06 2558 17.20 17.47 16.38 15.88 15.05 14.86 14.39 15.48 15.75 15.75 15.75 15.75 15.81 2559 15.67 15.55 15.33 15.05 15.58 17.18 17.75 16.30 15.19 14.45 15.40 15.40 15.74 2560 15.19 15.03 14.59 14.30 14.18 13.47 14.46 3. ราคาขายส่ง กากถั่วเหลืองนำเข้าจากต่างประเทศ โปรตีน 46-48% ณ โกดังผู้นำเข้า ตลาด กทม. 2555 12.90 14.15 14.15 14.15 14.15 15.28 17.16 21.30 21.93 21.32 20.66 19.45 17.22 2556 19.10 19.10 19.34 19.75 18.36 17.17 16.85 16.52 17.71 18.29 18.60 19.42 18.35 2557 19.53 19.04 19.50 20.05 19.90 19.65 19.41 19.15 18.45 17.65 17.56 17.55 18.95 2558 17.29 17.17 16.45 16.10 14.54 14.43 13.94 15.49 15.78 15.35 15.25 15.39 15.60 2559 15.26 15.05 14.83 14.55 14.75 16.41 16.75 15.89 15.19 14.45 15.31 15.13 15.30 2560 14.93 14.81 14.51 14.16 14.03 13.30 14.29 4. ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง ตลาดชิคาโก 2555 11.02 11.25 12.49 13.67 14.43 14.75 17.57 18.49 17.42 16.00 15.14 15.10 14.78 2556 13.80 14.06 13.91 13.04 14.19 15.62 16.52 14.95 15.61 14.45 14.64 16.12 14.74 2557 15.66 16.37 16.48 17.33 17.72 16.96 14.54 14.40 13.22 12.34 13.94 13.82 15.23 2558 12.47 12.24 11.95 11.42 11.41 11.99 13.61 13.17 12.39 12.11 11.52 11.19 12.12 2559 10.79 10.42 10.48 11.65 14.52 15.73 14.21 12.72 11.97 11.87 12.27 12.44 12.42 2560 12.99 13.07 12.53 11.86 11.36 10.80 12.10 5. ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง ตลาดชิคาโก (เหรียญสหรัฐฯ/ตัน) 2555 347.57 364.49 405.23 440.43 459.58 463.70 552.53 585.75 559.67 519.03 490.83 490.64 473.29 2556 456.81 469.15 468.97 446.36 474.60 503.56 528.33 470.98 490.19 460.82 461.06 496.25 477.26 2557 473.37 499.18 506.69 533.63 543.20 519.27 451.02 447.82 409.10 378.82 423.25 418.08 466.95 2558 379.04 374.25 364.86 349.71 340.47 353.90 394.90 370.40 342.95 337.64 320.34 309.54 353.17 2559 297.17 291.33 296.07 330.53 408.26 443.41 403.28 364.48 342.40 337.13 345.84 345.83 350.48 2560 364.70 371.52 356.88 342.63 327.30 316.02 346.51 ที่มา : 1-3 กรมการค้าภายใน 4-5 Chicago Board of Trade
ปริมาณการนำเข้า กากถั่วเหลือง
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. 2555 158,047 257,407 279,867 92,488 362,893 136,408 331,083 317,342 2556 408,982 111,011 103,198 160,108 422,162 315,033 181,605 291,258 2557 300,017 192,330 264,309 171,348 309,139 126,354 240,352 232,571 2558 334,956 155,171 134,282 288,818 316,874 253,597 289,297 241,220 2559 156,369 183,446 230,664 333,744 267,025 239,435 254,968 84,030 2560 326,955 124,199 230,786 200,099 387,340 ที่มา : กรมศุลกากร : ปี 2553-54 พิกัด 23040000000 : ปี 2555-60 พิกัด 23040090000
18
ก.ย. 81,927 304,148 385,673 107,049 243,874
ต.ค. 209,086 192,361 237,304 114,604 97,205
หน่วย : ตัน พ.ย. ธ.ค. รวม 345,827 242,541 2,814,917 94,557 236,010 2,820,433 259,811 168,802 2,888,009 240,591 218,290 2,694,748 263,869 223,371 2,578,000 1,269,378
Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
ปลาป่น
สถานการณ์ 1. ผลผลิตและการใช้ (ล้านตัน) 1.1 ผลผลิต - โลก - ไทย 1.2 ความต้องการใช้ 1.3 นำเข้า 1.4 ส่งออก
ปี 2556
ปี 2557
4.010 0.497 0.579 0.008 0.126
ปี 2558
4.270 0.478 0.646 0.021 0.172
ปี 2559
4.220 0.381 0.704 0.031 0.156
ปี 2560* (ม.ค.)
4.230 0.360 0.734 0.072 0.154
4.230 0.784
* = ประมาณการ
2. ราคาปลาเป็ดและปลาป่น 2.1 ปลาเป็ด (บาท/กก.) (1) ดี (สด) (2) รอง (ไม่สด) 2.2 ปลาป่น_ขายส่ง (บาท/กก.) (1) เกรดกุ้ง (2) โปรตีน 60% ขึ้นไป - เบอร์ 1 - เบอร์ 2 (3) โปรตีน 60% ลงมา - เบอร์ 1 - เบอร์ 2 2.3 ปลาป่นตลาดเปรู โปรตีน 65% ขึ้นไป - เหรียญสหรัฐฯ/ตัน (คิดเป็น โปรตีน 60% - บาท/กก.)
ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559
ปี 2560 ธ.ค. 59 ม.ค. 60
7.90 5.67
7.90 5.47
8.97 6.51
8.87 6.64
9.14 6.89
9.29 6.92
34.93
35.61
43.19
41.49
39.15
39.00
32.93 29.13
33.55 31.91
41.10 39.31
38.49 33.78
36.15 33.15
36.25 33.25
32.17 26.93
31.66 29.26
39.18 36.94
36.19 31.13
33.15 30.00
33.25 30.25
1,553 1,694 1,622 1,432 1,333 1,277 (43.52) (50.04) (51.31) (46.87) (44.22) (41.99)
ที่มา : 1.1 กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ และสมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย 1.2 สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 1.3 - 1.4 กรมศุลกากร 2.1 - 2.2 สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย 2.3 http://hammersmithltd.blogspot.com
3. สถานการณ์ ปี 2560 3.1 เดือนมกราคม 2560 ราคาปลาป่นในประเทศปรับตัวสูงขึ้นจากเดือนที่ผ่านมา เนื่องจาก ผลผลิตในปีนี้ลดลง ขณะที่ความต้องการใช้เพิ่มขึ้น จากอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ทั้งภาคปศุสัตว์ และ ประมงขยายตัว สำหรับการนำเข้า - ส่งออก ปี 2559 มีการนำเข้าปลาป่น 72,394 ตัน สูงขึน้ จากปีกอ่ น คิดเป็น ร้อยละ 133 ส่วนการส่งออกมีปริมาณ 153,894 ตัน ลดลงจากปีก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.30
19
Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
ราคาปลาป่นตลาดโลก (เหรียญสหรัฐฯ/ตัน) ปรับตัวลดลงจากเดือนก่อน จากการคาดการณ์ ผลผลิตปลาป่นในตลาดโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ประกอบกับความต้องการซื้อจากจีนชะลอตัวช่วงปลาย เดือนที่มีวันหยุดยาวในเทศกาลปีใหม่ของจีน 3.2 แนวโน้ม คาดว่าราคาปลาป่นในประเทศจะเคลือ่ นไหวในทิศทางปรับตัวลดลงตามราคาตลาด โลกที่ปรับตัวลดลง เนื่องจากปริมาณผลผลิตปลาป่นในตลาดโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน กุมภาพันธ์ 2560
ราคา ปลาเป็ดและปลาป่น เดือน/ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. 1. ราคาปลาเป็ด (ดี/สด) (บาท/กก.) 2556 7.71 7.90 8.04 8.12 7.81 7.52 7.98 8.46 2557 7.00 7.51 7.69 7.87 7.44 7.46 7.65 7.92 2558 9.27 9.22 9.70 9.81 8.27 7.95 8.17 8.36 2559 8.38 8.34 8.41 8.44 8.51 8.77 9.09 9.38 2560 9.29 2. ราคาปลาเป็ด (รอง/ไม่สด) (บาท/กก.) 2556 5.89 5.92 5.92 5.91 5.69 5.43 5.63 5.80 2557 4.95 5.38 5.49 5.59 5.31 5.31 5.28 5.30 2558 6.18 6.26 6.44 6.48 6.24 6.07 5.91 6.46 2559 6.53 6.24 6.20 6.22 6.34 6.58 6.81 7.07 2560 6.92 3. ราคาขายส่ง ปลาป่น เกรดกุ้ง ตลาด กทม. (บาท/กก.) 2556 36.48 35.30 35.30 34.80 32.38 29.93 34.25 36.80 2557 30.85 32.64 33.25 35.87 31.51 31.14 31.50 31.50 2558 47.90 48.50 48.50 46.75 38.71 37.10 38.19 38.00 2559 40.30 40.00 40.00 40.71 41.72 43.09 44.00 44.64 2560 39.00 4. ราคาขายส่ง ปลาป่นโปรตีน 60% ขึ้นไป เบอร์ 1 ตลาด กทม. (บาท/กก.) 2556 35.78 34.60 34.60 34.10 31.68 29.23 33.55 35.86 2557 26.74 31.74 32.35 34.99 31.09 29.94 29.70 29.70 2558 43.55 44.70 45.27 44.31 37.70 36.70 36.89 36.70 2559 37.30 37.00 37.00 37.71 38.72 40.09 41.00 41.64 2560 36.25 5. ราคาขายส่ง ปลาป่นโปรตีน 60% ลงมา เบอร์ 1 ตลาด กทม. (บาท/กก.) 2556 35.08 33.90 33.90 33.40 30.98 28.53 32.85 35.16 2557 26.54 31.54 32.15 34.65 31.09 29.94 29.70 29.70 2558 39.70 40.65 35.00 42.81 37.70 36.70 36.89 36.70 2559 35.30 35.00 35.00 35.71 36.72 38.09 39.00 39.64 2560 33.25
20
ก.ย.
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
เฉลี่ย
8.31 8.04 8.74 9.34
8.18 8.59 9.32 9.27
7.62 8.68 9.77 9.33
7.09 8.98 9.01 9.14
7.90 7.90 8.97 8.87 9.29
5.71 5.50 6.72 7.01
5.73 5.76 7.13 6.92
5.38 5.84 7.27 6.89
5.01 5.93 6.97 6.89
5.67 5.47 6.51 6.64 6.92
36.80 39.00 41.55 43.55
36.80 42.50 44.43 40.10
36.42 42.50 46.00 40.64
33.85 45.00 42.60 39.15
34.93 35.61 43.19 41.49 39.00
34.30 36.52 40.25 40.55
34.00 39.70 43.13 37.10
30.46 39.70 44.20 37.64
26.95 40.38 39.85 36.15
32.93 33.55 41.10 38.49 36.25
33.60 29.70 40.25 37.95
33.30 29.70 43.13 34.10
29.31 36.25 42.82 34.64
26.02 38.93 37.85 33.15
32.17 31.66 39.18 36.19 33.25
>>>
Food feed fuel <<<
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
เดือน/ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 6. ราคาขายส่ง ปลาป่นโปรตีน 60% ขึ้นไป เบอร์ 2 ตลาด กทม. (บาท/กก.) 2556 32.48 31.30 31.30 30.30 26.88 24.73 29.44 30.85 29.08 31.87 26.62 24.67 2557 26.43 30.91 31.15 33.86 30.06 29.70 29.70 29.70 35.15 36.34 34.79 35.15 2558 37.10 39.65 42.18 42.81 37.41 36.70 36.89 36.70 40.25 43.13 42.10 36.85 2559 33.45 33.00 33.00 33.00 33.28 34.00 34.00 34.64 35.09 34.00 34.77 33.15 2560 33.25 7. ราคาขายส่ง ปลาป่นโปรตีน 60% ลงมา เบอร์ 2 ตลาด กทม. (บาท/กก.) 2556 30.60 28.80 28.57 27.00 24.93 22.93 27.64 29.05 26.53 28.18 25.31 23.67 2557 25.43 28.94 29.15 31.69 27.86 28.02 28.50 28.50 28.50 28.50 32.28 33.70 2558 33.70 35.65 39.80 40.81 35.23 34.18 34.89 34.70 38.25 41.13 40.10 34.85 2559 31.45 31.00 31.00 31.00 31.28 32.00 31.44 31.64 31.95 30.00 30.77 30.00 2560 30.25 8. ราคาปลาป่นโปรตีน 60% F.O.B. ตลาดเปรู (บาท/กก.) 2556 51.54 45.83 45.44 45.45 46.79 47.05 40.31 41.95 39.30 38.16 40.45 39.98 2557 41.55 42.83 43.69 44.90 45.94 52.70 52.43 52.08 51.60 55.86 57.99 58.91 2558 62.41 59.31 54.21 51.55 48.63 45.54 42.69 44.65 47.24 49.92 55.83 53.77 2559 51.99 44.00 44.66 44.35 44.37 54.19 52.21 49.92 43.16 44.37 44.99 44.22 2560 41.99 9. ราคาปลาป่นโปรตีน 65% F.O.B. ตลาดเปรู (เหรียญสหรัฐฯ/ตัน) 2556 1,849 1,750 1,660 1,686 1,782 1,645 1,463 1,432 1,336 1,318 1,380 1,334 2557 1,361 1,415 1,455 1,498 1,524 1,748 1,761 1,755 1,730 1,857 2,099 2,125 2558 2,056 1,964 1,791 1,710 1,569 1,456 1,345 1,360 1,416 1,508 1,681 1,610 2559 1,550 1,333 1,366 1,363 1,350 1,655 1,605 1,550 1,340 1,365 1,373 1,333 2560 1,277 ที่มา : 1 สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย 2 สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 3, 4, 5, 6 กรมการค้าภายใน 7, 8 http://hammersmithltd.blogspot.com
เฉลี่ย 29.13 31.91 39.31 33.78 33.25 26.93 29.26 36.94 31.13 30.25 43.52 50.04 51.31 46.87 41.99 1,553 1,694 1,622 1,432 1,277
ปริมาณนำเข้าและส่งออก ปลาป่น ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม ปริมาณนำเข้า (ตัน) 2555 1,993 812 1,502 2,524 1,027 1,528 821 1,186 1,883 1,692 1,754 1,184 17,907 2556 693 142 960 566 1,170 270 401 949 245 1,124 1,222 260 8,002 2557 468 238 255 427 184 954 2,336 3,304 4,038 5,525 2,438 1,223 21,391 2558 1,674 1,215 1,083 3,257 1,777 2,158 1,984 1,943 4,869 4,016 4,514 2,615 31,106 2559 8,557 5,941 5,857 6,570 5,615 6,475 6,890 5,702 5,546 7,753 4,641 2,846 72,394 ปริมาณส่งออก (ตัน) 2555 1,225 2,335 2,598 2,228 4,771 6,083 5,954 6,566 4,051 4,601 13,013 9,758 63,184 2556 4,477 7,471 14,349 15,146 21,255 13,785 14,709 11,038 6,008 5,740 5,988 6,001 125,967 2557 6,892 11,429 15,048 14,632 11,163 21,670 21,997 12,844 12,326 14,144 14,933 15,059 172,138 2558 13,265 15,626 19,655 16,201 15,822 11,155 12,527 9,990 7,731 10,359 13,309 10,273 155,914 2559 7,041 15,215 18,941 13,158 18,436 19,991 16,713 12,005 7,953 8,517 9,139 6,785 153,894 ที่มา : กรมศุลกากร : ปี 2555-59 พิกัด 23012010000, 23012020000, 23012090001, 23012090090 และ 23011000000
21
Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
ไก่เนื้อ
สถานการณ์
2556
2557
2558
2559
2560 (ประมาณการ)
1. ผลผลิต ไก่มีชีวิต (ล้านตัว) ซากบริโภค (ล้านตัน) 2. ใช้ในประเทศ (ล้านตัน) 3. ส่งออก - ปริมาณ (ล้านตัน) - มูลค่า (ล้านบาท)
1,274 1.92 1.41 0.50 66,805
1,321 2.09 1.54 0.55 73,963
1,441 2.31 1.68 0.62 81,176
1,550 2.48 1.79 0.69 89,202
4. ต้นทุนการผลิต : (บาท/กก.)
34.27
34.97
33.14
31.82
5. ราคาไก่มีชีวิต หน้าโรงฆ่า กทม. (บาท/กก.)
41.84
41.37
35.84
36.09
1,594 2.55 2.26 0.29 37,600
(ม.ค.-พ.ค. 60)
32.31
(พ.ค. 60)
39.09
(มิ.ย. 60)
ที่มา: ผลผลิต, การใช้ : กรมปศุสัตว์ / ต้นทุน : สศก. / ส่งออก : กรมศุลกากร / ราคา : คน
1. สรุปสถานการณ์ เดือนมิถุนายน 2560 การผลิต ภาวะการผลิตปกติ ผลผลิตที่ออกสู่ตลาดมีปริมาณมาก การค้า ภาวะการค้าชะลอตัวเล็กน้อย เนื่องจากสภาพอากาศที่มีฝนตกชุก ทำให้ปริมาณการซื้อ ขายในตลาดสด/ตลาดนัดลดลง ประกอบกับมีสนิ ค้าสัตว์นำ้ ออกสูต่ ลาดเพิม่ ขึน้ ให้เลือกบริโภคได้ ส่งผล ให้ราคาไก่มชี วี ติ หน้าโรงฆ่า ราคาขายปลีกไก่สดทัง้ ตัวรวมเครือ่ งใน และเนือ้ ไก่ชำแหละบางรายการ เช่น ปีกเต็ม ปีกบน แข้ง ขา ตีน ปรับลดลงเมื่อเทียบกับเดือนก่อน การส่งออกเนื้อไก่ เดือนมกราคม - พฤษภาคม 2560 มีการส่งออกเนื้อไก่สดแช่เย็นแช่แข็ง และเนื้อไก่แปรรูป รวม 293,581 ตัน มูลค่า 37,600 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน ที่มีการส่งออกจำนวน 263,947 ตัน มูลค่า 34,362 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 11.23% และ 9.42% ตามลำดับ โดยประเทศคู่ค้าสำคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่น (50.53%) อังกฤษ (19.80%) อื่นๆ (29.67%) 2. แนวโน้มสถานการณ์ เดือนกรกฎาคม - สิงหาคม 2560 ภาวะการผลิตปกติ ภาวะการค้ามีแนวโน้มคล่องตัวขึ้นช่วงสั้นๆ ในวันหยุดต่อเนื่องของเทศกาล เข้าพรรษา และวันแม่แห่งชาติ ด้านราคาไก่มชี วี ติ หน้าโรงฆ่า และราคาขายปลีกเนือ้ ไก่ชำแหละ มีแนวโน้ม ทรงตัว
22
Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
สถิติราคาขายส่ง ขายปลีก สินค้าไก่เนื้อ ปี 2554 - 2560 ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า กทม. 2554 45.10 47.66 47.59 52.71 2555 39.25 35.38 26.29 31.47 2556 42.18 36.13 38.71 45.33 2557 44.00 44.00 39.95 39.89 2558 38.80 35.50 35.00 35.33 2559 36.50 36.50 36.50 36.50 2560 35.70 37.84 36.22 38.75 ราคาขายส่ง ไก่สดทั้งตัว (รวมเครื่องใน) 2554 57.80 59.11 59.43 65.15 2555 54.30 51.33 43.29 47.35 2556 53.84 48.26 51.62 58.61 2557 56.68 59.00 55.67 51.00 2558 53.45 47.50 47.00 47.67 2559 53.00 53.00 53.00 51.59 2560 49.35 51.00 51.00 52.31 ราคาขายปลีก ไก่สดทั้งตัว (รวมเครื่องใน) 2554 65.95 69.00 69.00 72.00 2555 65.20 62.26 53.88 57.68 2556 63.50 62.71 62.50 66.86 2557 69.41 72.50 68.69 62.50 2558 69.25 63.75 62.50 62.50 2559 67.50 67.50 67.50 67.50 2560 64.50 67.50 67.50 69.69
หน่วย : บาท/กก. ธ.ค. เฉลี่ย
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค.
พ.ย.
55.33 39.50 46.10 41.00 36.00 36.00 40.00
50.18 39.10 45.25 41.00 36.00 35.18 39.09
41.13 35.50 46.00 41.00 36.00 35.78
40.68 35.00 46.86 42.95 36.45 41.32
41.36 34.00 40.02 43.68 37.23 37.91
39.50 31.27 37.00 40.91 34.17 33.32
39.50 38.73 37.00 39.00 34.26 33.55
39.50 42.28 41.50 39.00 35.30 34.00
45.02 35.65 41.84 41.37 35.84 36.09 37.93
67.33 53.50 60.50 51.47 49.00 50.22 53.50
63.86 55.79 53.10 49.98 59.50 61.00 54.00 56.86 49.00 49.00 48.05 48.69 51.23
53.36 46.00 61.00 58.53 49.60 55.09
55.32 46.00 58.52 59.00 49.61 54.73
54.50 46.41 51.68 57.27 46.50 47.00
54.50 52.86 51.00 57.00 48.86 47.55
54.50 55.11 53.50 57.00 51.80 48.00
58.39 49.94 55.75 56.12 49.08 50.83 51.40
65.50 59.00 72.50 72.50 64.00 72.50
65.50 59.00 68.74 72.50 66.82 68.18
65.50 59.27 64.95 72.50 62.50 62.50
65.50 62.70 67.50 72.50 65.12 62.50
65.50 63.50 67.67 72.50 67.50 62.50
67.87 60.89 67.36 69.79 64.29 66.84 68.27
73.33 71.36 63.50 63.30 69.00 69.88 63.29 67.50 62.50 62.50 67.50 67.50 72.50 67.95
66.34 61.39 72.50 71.07 62.50 68.89
กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน กรกฎาคม 2560
23
Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
สุกร
สถานการณ์
2556
2557
2558
2559
2560 (ประมาณการ)
1. ผลผลิต (ล้านตัว) 2. ใช้ในประเทศ (ล้านตัว) : ประมาณการ 3. ส่งออกเนื้อสุกร - ปริมาณ (ตัน) - มูลค่า (ล้านบาท) ส่งออกสุกรมีชีวิต - ปริมาณ (ตัว) - มูลค่า (ล้านบาท)
16.80 15.96 15,957 2,664 243,261 925
15.89 16.95 17.70 15.25 16.16 16.60 17,227 17,077 13,660 2,810 2,746 2,353 410,195 560,350 920,481 1,765 2,539 4,603
4. ต้นทุนการผลิต (บาท/กก.)
59.48
69.72
67.54
69.49
5. ราคาสุกรมีชีวิตแหล่งผลิต (บาท/กก.)
67.00
75.17
67.68
68.82
18.41 18.17 4,508 820 193,159 959
(ม.ค. - พ.ค. 60)
62.71
(f มิ.ย. 60)
62.95
(มิ.ย. 60)
ที่มา: ผลผลิต, การใช้ : กรมปศุสัตว์ / ต้นทุน : สศก. / ส่งออก : กรมศุลกากร / ราคา : คน
1. สรุปสถานการณ์ เดือนมิถุนายน 2560 ภาวะการผลิตปกติ มีปัจจัยบวกจากสภาพอากาศที่เย็นลงในช่วงฤดูฝน เอื้ออำนวยต่อการเจริญ เติบโตของสุกร ทำให้สกุ รโตเร็วและออกสูต่ ลาดมากขึน้ ส่งผลให้มปี ริมาณสุกรสะสมในระบบเพิม่ มากขึน้ ในขณะที่ภาวะการค้าปลีกค่อนข้างชะลอตัว ด้านราคาสุกรมีชีวิตหน้าฟาร์มเคลื่อนไหวอยู่ในเกณฑ์ต่ำ โดยปรับลดลงจากเฉลี่ย กิโลกรัมละ 68.83 (พ.ค. 60) เป็นกิโลกรัมละ 62.95 (มิ.ย. 60) และราคา ขายปลีกหมูเนือ้ แดง (ตัดแต่ง) ปรับลดลงจากเฉลีย่ กิโลกรัม 140.83 (พ.ค. 60) เป็นกิโลกรัมละ 130.68 (มิ.ย. 60) การส่งออก ปี 2560 (ม.ค. - พ.ค. 60) มีการส่งออกสุกรมีชีวิตและเนื้อสุกร ดังนี้ 1) สุกรมีชีวิต จำนวน 193,159 ตัว ลดลง 63% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ประเทศ คู่ค้าสาคัญ ได้แก่ ลาว (81%) กัมพูชา (14%) พม่า (5%) 2) เนื้อสุกร รวม 4,580 ตัน แบ่งเป็นเนื้อสุกรสด จำนวน 1,116 ตัน และเนื้อสุกรแปรรูป จำนวน 3,464 ตัน ลดลง 29% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ประเทศคู่ค้าสำคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่น (51%) ลาว (17%) พม่า (10%) 2. แนวโน้มเดือนกรกฎาคม - สิงหาคม 2560 ภาวะการผลิตปกติ ปริมาณผลผลิตมีมากและเพียงพอต่อความต้องการของตลาด ภาวะการค้า โดยรวมยังทรงตัว และอาจคล่องตัวขึ้นในช่วงสั้นๆ ของเทศกาลสำคัญ เช่น เข้าพรรษา ด้านราคาสุกร มีชีวิต มีแนวโน้มทรงตัว หรือปรับสูงขึ้นระดับหนึ่ง
24
Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
สถิติราคาขายส่ง - ขายปลีก สุกร ปี 2553 - 2560 ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต (ฟาร์ม) ณ แหล่งผลิต (บาท/กก.) 2553 58.30 61.25 61.50 61.50 61.50 61.50 61.36 2554 53.25 60.18 62.07 68.09 69.50 69.50 73.61 2555 55.05 51.07 50.69 62.15 61.79 57.50 56.41 2556 62.09 66.03 60.93 67.94 65.60 67.50 69.12 2557 74.41 74.92 75.74 80.50 81.24 82.40 80.69 2558 63.10 62.50 63.45 68.17 69.83 71.50 68.07 2559 67.00 67.10 67.59 74.21 77.50 76.50 70.61 2560 60.80 58.66 57.85 63.75 68.83 62.95 ราคาขายส่ง สุกรชำแหละ (ซีก) ตลาด กทม. (บาท/กก.) 2553 69.13 71.25 71.50 71.50 71.50 71.50 71.50 2554 62.60 70.03 71.85 78.91 81.50 81.50 84.39 2555 67.30 64.07 63.60 74.09 72.40 69.40 68.41 2556 73.91 78.13 73.12 79.50 76.79 78.50 80.12 2557 85.41 85.92 86.74 91.50 92.61 94.40 92.69 2558 75.10 74.50 75.45 80.17 81.83 83.50 80.07 2559 79.00 79.10 79.59 86.21 89.50 88.50 82.61 2560 72.80 70.66 69.85 75.75 80.83 74.95 ราคาขายปลีก เนื้อแดง (ตัดแต่ง) ตลาด กทม. (บาท/กก.) 2553 115.00 118.75 115.00 115.00 115.00 115.00 115.00 2554 105.75 116.32 116.63 131.91 134.86 130.00 137.63 2555 119.75 112.98 106.43 122.79 123.45 117.50 115.45 2556 129.09 134.87 124.17 131.67 130.60 132.50 134.88 2557 145.45 148.55 150.60 162.50 162.50 162.26 157.98 2558 129.00 127.50 127.98 136.67 140.28 142.50 138.93 2559 132.50 132.50 132.72 146.32 152.50 151.82 144.72 2560 125.75 123.29 123.37 132.81 140.83 130.68 ราคาขายปลีก เนื้อแดง (ไม่ตัดแต่ง) ตลาด กทม. (บาท/กก.) 2555 111.00 108.55 2556 116.41 120.74 112.76 122.33 120.38 122.00 124.76 2557 137.32 137.84 140.60 152.50 152.50 152.26 147.98 2558 117.90 117.00 117.43 125.25 129.61 132.50 128.93 2559 122.50 122.50 122.72 136.32 142.50 141.82 134.72 2560 115.75 113.29 113.37 122.81 130.83 122.68
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
เฉลี่ย
59.31 79.86 58.40 73.40 79.55 72.20 69.50
55.73 70.32 54.50 68.64 73.77 74.50 68.14
52.40 59.30 49.55 67.50 66.23 67.88 63.50
53.50 55.82 56.14 67.50 66.10 65.50 63.50
52.25 61.80 53.83 67.72 66.50 65.50 60.70
58.34 65.28 55.59 67.00 75.17 67.68 68.82 62.14
70.40 90.23 70.80 84.40 91.55 84.20 81.50
66.05 83.36 67.50 79.64 85.77 86.50 80.14
61.50 70.80 62.55 78.50 78.23 79.88 75.50
62.50 68.27 67.68 78.50 78.10 77.50 75.50
61.30 74.05 66.28 78.72 78.50 77.50 72.70
68.30 76.46 67.84 78.32 86.78 79.68 80.82 74.14
115.00 150.86 119.75 142.50 155.13 141.50 142.50
110.23 137.39 112.50 135.36 145.45 146.82 140.23
105.00 120.25 106.14 132.50 134.09 136.55 132.50
105.00 118.18 117.05 132.50 132.50 132.50 132.50
105.00 125.75 113.89 133.06 132.50 132.50 125.50
112.42 127.13 115.64 132.81 149.13 136.06 138.86 129.46
110.88 132.50 145.13 131.50 132.50
104.63 125.36 134.46 136.82 130.23
95.86 122.50 122.89 126.55 122.50
107.05 122.50 123.20 122.50 122.50
104.36 123.06 124.00 122.50 115.50
106.05 122.11 139.22 125.71 128.86 119.79
กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน, กรกฎาคม 2560
25
Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
ไข่ไก่
สถานการณ์
2556 1. ผลผลิต (ล้านฟอง) 2. คงเหลือใช้ในประเทศ (ล้านฟอง) 3. ส่งออก - ปริมาณ (ล้านฟอง) - มูลค่า (ล้านบาท)
2557
2558
2559
13,519 13,214 305 800
14,265 14,020 245 769
15,103 14,763 340 1,101
15,560 15,376 184 689
4. ต้นทุนการผลิต : (บาท/ฟอง)
2.86
2.99
2.83
2.89
5. ราคา ไข่ไก่สดคละ (บาท/ฟอง)
3.03
2.89
2.57
2.89
2560
(ประมาณการ)
16,473 16,414 59.27 210.76
(ม.ค. - พ.ค. 60)
2.84
(f มิ.ย. 60)
2.60
(มิ.ย. 60)
ที่มา : ผลผลิต การใช้ : กรมปศุสัตว์ / ส่งออก : กรมศุลกากร / ต้นทุน : สศก. / ราคา : คน.
1. สรุปสถานการณ์ เดือนมิถุนายน 2560 การผลิต ภาวะการผลิตปกติ มีผลผลิตออกสู่ตลาดต่อเนื่อง และยังคงมีปริมาณมากกว่า ความ ต้องการของตลาดเฉลี่ยวันละ 2 - 3 ล้านฟอง การค้า ภาวะการค้าคล่องตัวปกติ ราคาไข่ไก่คละหน้าฟาร์มปรับสูงขึ้นจากฟองละ 2.57 บาทใน เดือนก่อน เป็นฟองละ 2.60 บาท ตามภาวะอุปสงค์อุปทาน การส่งออกไข่ไก่ เดือนมกราคม - พฤษภาคม 2560 มีการส่งออกจำนวน 59.27 ล้านฟอง มูลค่า 210.76 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนที่มีการส่งออกจำนวน 100.13 ล้านฟอง มูลค่า 345.04 ล้านบาท หรือลดลง 40.81% และ 38.92% ตามลำดับ โดยประเทศคูค่ า้ ทีส่ ำคัญ ได้แก่ ฮ่องกง (94%) พม่า (4%) อื่นๆ (2%) มาตรการด้านการตลาด ดำเนินมาตรการเพิ่มช่องทางการจำหน่ายผลผลิตและเชื่อมโยงผู้เลี้ยง ไก่ไข่ นำผลผลิตมาจำหน่ายให้แก่ผู้บริโภคโดยตรงผ่านจุดจำหน่ายที่กรมฯ จัดให้ เพื่อช่วยเหลือผู้เลี้ยง ไก่ไข่ และลดค่าครองชีพให้ผบู้ ริโภค ส่วนกลาง ณ บริเวณตลาดนัดกระทรวงพาณิชย์ (ทุกวันอังคาร และ วันศุกร์) และส่วนภูมภิ าค ณ จุดจำหน่ายของสำนักงานพาณิชย์จงั หวัด 65 จังหวัด (ธ.ค. 59 - ม.ค.60) ช่วยให้ ผู้เลี้ยง ไก่ไข่ได้จำหน่ายผลผลิตเพิ่มขึ้นจากช่องทางจำหน่ายปกติ 2,056,440 ฟอง (ม.ค. - มิ.ย.60) 2. แนวโน้มสถานการณ์เดือนกรกฎาคม - สิงหาคม 2560 ภาวะการค้าการผลิตปกติ ปริมาณผลผลิตมีเพียงพอต่อความต้องการของตลาด ด้านราคาไข่ไก่ คละหน้าฟาร์มมีแนวโน้มทรงตัวต่อเนื่อง
26
Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
สถิติราคาขายส่ง - ขายปลีก ไข่ ไก่ ปี 2554 - 2560 ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ราคาขายส่ง ไข่ไก่สด คละ ณ แหล่งผลิต (บาท/ฟอง) 2554 2.65 2.70 2.90 3.09 2.94 2.81 2555 2.14 2.58 2.51 2.18 2.54 2.67 2556 2.69 2.80 2.70 2.76 3.14 3.20 2557 3.10 3.09 2.85 2.71 3.18 3.04 2558 2.44 2.31 2.06 2.36 2.50 2.50 2559 2.62 2.78 2.88 2.67 2.89 3.16 2560 2.52 2.36 2.24 2.24 2.57 2.60 ราคาขายส่ง ไข่ไก่ เบอร์ 3 ณ ตลาด กทม. (บาท/ฟอง) 2554 2.80 2.85 3.05 3.24 3.11 2.96 2555 2.33 2.73 2.66 2.33 2.69 2.82 2556 2.79 2.90 2.80 2.83 3.24 3.30 2557 3.25 3.24 3.00 2.86 3.33 3.19 2558 2.59 2.46 2.21 2.51 2.65 2.65 2559 2.77 2.93 3.03 2.82 2.84 3.31 2560 2.67 2.51 2.39 2.39 2.72 2.75 ราคาขายปลีก ไข่ไก่ เบอร์ 3 ณ ตลาด กทม. (บาท/ฟอง) 2554 3.00 3.05 3.25 3.47 3.42 3.26 2555 2.63 3.03 2.96 2.63 2.99 3.12 2556 3.09 3.20 3.10 3.13 3.54 3.60 2557 3.55 3.54 3.30 3.16 3.63 3.49 2558 2.89 2.76 2.51 2.81 2.95 2.95 2559 3.07 3.23 3.33 3.12 3.34 3.61 2560 2.97 2.81 2.69 2.69 3.02 3.05
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
เฉลี่ย
2.84 2.29 2.92 2.97 2.68 3.20
3.00 2.46 3.23 3.28 2.93 3.28
3.00 2.31 3.49 2.86 3.00 3.23
3.02 2.15 3.22 2.50 2.80 2.86
3.19 2.41 3.07 2.75 2.70 2.67
2.52 2.40 3.10 2.31 2.53 2.42
2.89 2.39 3.03 2.89 2.57 2.89 2.42
2.99 2.44 3.02 3.12 2.83 3.35
3.15 2.61 3.33 3.43 3.08 3.43
3.15 2.41 3.63 3.01 3.15 3.38
3.22 2.25 3.37 2.65 2.95 3.01
3.46 2.51 3.22 2.90 2.85 2.82
2.77 2.50 3.25 2.46 2.68 2.57
3.06 2.52 3.14 3.04 2.72 3.02 2.57
3.26 2.74 3.32 3.42 3.13 3.65
3.35 2.91 3.63 3.73 3.38 3.73
3.35 2.71 3.93 3.31 3.45 3.68
3.46 2.55 3.67 2.95 3.25 3.31
3.84 2.81 3.52 3.20 3.15 3.12
3.07 2.80 3.55 2.76 2.98 2.87
3.32 2.82 3.44 3.34 3.02 3.34 2.87
กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน กรกฎาคม 2560
27
Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
กุ้ง
สถานการณ์ 1. ผลผลิต (ตัน) - กุ้งขาวแวนนาไม - กุ้งกุลาดำ 2. ใช้ในประเทศ (ตัน) 3. นำเข้า ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) 4. ส่งออก ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) 5. ราคากุ้งขาว (บาท/กก) (ขนาด 60 ตัว/กก.)
ปี 2556
ปี 2557
256,765 246,051 10,714 46,237 22,424 3,442 210,528 68,709 219
217,438 204,385 13,053 52,834 20,722 3,981 164,604 64,274 222
ปี 2558 263,123 254,181 8,942 93,313 21,031 3,240 169,810 57,036 169
ปี 2559 310,979 300,404 10,575 103,786 22,336 3,645 207,193 69,204 180
ปี 2560
(ม.ค. – พ.ค. 60)
97,874 93,107 4,767 29,839 13,993 2,106 68,035 23,184 173 (มิ.ย. 60)
หมายเหตุ : กรมประมงคาดการณ์ผลผลิตปี 2560 340,000 ตัน (กุ้งขาว 328,440 ตัน กุ้งดำ 11,560 ตัน) ที่มา : 1. ผลผลิตไทย : กรมประมง 2. นำเข้า - ส่งออก : กรมศุลกากร 3. ราคากุ้งขาว : ตลาดทะเลไทย
1. สรุปสถานการณ์ เดือนมิถุนายน 2560 ปริมาณผลผลิตกุ้งที่เข้าสู่ตลาดรวม 1,892 ตู้ เพิ่มขึ้นจากพฤษภาคม 2560 จำนวน 49 ตู้ (เพิ่มขึ้น 2.66%) ส่วนใหญ่เป็นกุ้งขนาดกลางและเล็ก ภาวะการค้าคล่องตัวขึ้นเล็กน้อย จากความ ต้องการของห้องเย็นทีเ่ พิม่ ขึน้ เพือ่ ส่งมอบตามคำสัง่ ซือ้ ราคากุง้ ขาวทุกขนาด ปรับสูงขึน้ กว่าเดือนทีผ่ า่ นมา กก. ละ 4 - 12 บาท การส่งออกกุ้ง (ม.ค. - พ.ค. 60) มีปริมาณรวม 68,035 ตัน มูลค่า 23,184 ล้านบาท ปริมาณ และมูลค่าลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 5,595 ตัน และ 591 ล้านบาท หรือลดลง 8% และ 2% ตามลำดับ (ม.ค. - พ.ค. 59 ปริมาณ 73,630 ตัน มูลค่า 23,775 ล้านบาท) โดยประเทศคูค่ า้ ทีส่ ำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา (36%) ญี่ปุ่น (15%) จีน (10%) เวียดนาม (10%) อื่นๆ (29%) 2. แนวโน้ม เดือนกรกฎาคม - สิงหาคม 2560 เป็นช่วงฤดูฝนซึ่งปัจจัยผลกระทบจากสภาพแวดล้อมต่อการเลี้ยงกุ้งจะน้อยกว่าช่วงฤดูร้อน และ ฤดูหนาว เช่น อุณหภูมิ ปริมาณความเข้มข้นของน้ำ เป็นต้น คาดว่าจะทำให้ปริมาณผลผลิตที่ออกสู่ ตลาดเพิ่มขึ้น ด้านภาวะการค้า มีแนวโน้มคล่องตัวขึ้นเล็กน้อยในช่วงวันหยุดต่อเนื่องของเทศกาล เข้าพรรษา และวันแม่แห่งชาติ ด้านราคากุ้งขาวอาจทรงตัว หรือปรับสูงขึ้นในระดับหนึ่ง
28
Food feed fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
สถิติราคาเกษตรกรขายได้ และราคาณ ตลาดทะเลไทย กุ้งขาวแวนนาไม ปี 2555 - 2560 ณ เดือนมิถุนายน 2560 หน่วย : บาท/กก. ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ราคาที่เกษตรกรขายได้ (ขนาด 51-60 ตัว/กก.) ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2555 143.00 145.00 143.00 130.00 120.00 120.00 126.00 140.00 149.00 2556 161.00 163.00 181.00 195.00 199.00 211.00 215.00 220.00 241.00 2557 275.00 278.00 270.00 263.00 227.00 209.00 216.00 225.00 227.00 2558 216.00 223.00 221.00 202.00 198.00 199.00 204.00 192.50 186.00 2559 187.00 200.00 197.00 195.00 187.00 194.00 199.00 196.00 194.00 2560 212.00 223.00 226.00 204.00 182.00 181.00 ราคา ณ ตลาดทะเลไทย (ขนาด 60 ตัว/กก.) ที่มา : ชมรมผู้ค้ากุ้งสมุทรสาคร 2555 147.37 147.86 137.14 119.33 118.20 120.50 120.00 143.95 149.00 2556 167.00 161.18 184.00 202.00 204.00 214.75 215.00 221.00 247.00 2557 271.11 274.21 266.90 242.94 205.28 197.75 203.57 217.57 214.32 2558 191.75 206.25 184.76 155.88 157.65 161.81 165.24 165.00 160.00 2559 190.00 197.25 185.22 165.00 156.89 180.23 186.39 180.00 182.05 2560 214.25 220.79 218.04 173.44 164.05 173.32
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
เฉลี่ย
151.00 269.00 228.00 175.00 188.00
148.00 275.00 226.00 176.00 191.00
152.00 275.00 217.00 183.00 199.00
138.92 217.08 238.42 197.96 193.92 204.67
148.00 275.00 199.29 149.00 170.53
147.00 268.57 195.50 156.90 178.64
146.25 271.76 178.89 175.00 193.25
137.05 219.27 222.28 169.10 180.45 193.98
กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน กรกฎาคม 2560
29
Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
สวัสดิภาพสัตว์ (Animal Welfare)…
เลี้ยงสัตว์ตามหลักการสากล ๏ โดย torzkrub - 15 มิถุนายน พ.ศ. 2560 ๏ เรื่องโดย : น.สพ.พยุงศักดิ์ สมยานนทนากุล
มาตรฐานการเลี้ยงสัตว์ Animal Welfare
แม้ว่ามาตรฐานการเลี้ยงสัตว์ Animal Welfare หรือหลักสวัสดิภาพสัตว์ จะมีสหภาพยุโรป (อียู) เป็นผู้ริเริ่ม หากแต่ประเทศไทยได้นำมาตรฐานนี้มาปฏิบัติ อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมการเลี้ยงไก่เนื้อ ที่วันนี้ทั่วโลกต่างให้การ ยอมรับว่าไทยมีความเข้มแข็งในเรื่องนี้ โดยมีซีพีเอฟเป็นภาคเอกชนไทยบริษัทแรก นอกเขตยุโรป ที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน Animal Welfare และยังได้ร่วมมือกับ มหาวิทยาลัยบริสตอล ประเทศอังกฤษ จัดฝึกอบรมหลักสูตรพัฒนาผู้เชี่ยวชาญ ด้านสวัสดิภาพสัตว์ปีกเป็นครั้งแรกของโลก ทำให้บุคลากรของซีพีเอฟ สามารถ ตรวจสอบและให้คำแนะนำการปฏิบัติงานด้านความเป็นอยู่ของสัตว์ที่ถูกต้องตาม มาตรฐานสากลได้ ที่มา : http://www.kasetkaoklai.com
30
ģýġĐĄėü ğþńþ ċĔâąăĕāĠĎŇèüĨĖĄĔüĎĐĄĆēğĎąÎ
ģýġĐĄėü ğþńþ ®
ċĔâąăĕāĠĎŇèüĨĖĄĔüĎĐĄĆēğĎąÎ
pep.biomin.net
Á¡·É¤ ¦³· ·£µ¡ µ¦ ¨· ´ ªŋ Á¦·¤ ªµ¤ ҵ · ° °µ®µ¦ ¦´ ¬µ¤ »¨ ° ¦³ µ Á · °µ®µ¦ ¨° £´¥ Å¤Ň¤¸ ¨ ňµ Á ¸¥ Å¤Ň¤¸¦³¥³®¥» ¥µ
ğāėħĄþĆēčėúûėăĕāâĕĆÿĈėøčĔøĊŋ ğčĆėĄåĊĕĄüŇĕâėüãĐèĐĕĎĕĆ ĆĔâČĕčĄ÷ě ĈãĐèĆēýýúĕèğ÷ė üĐĕĎĕĆ ¦·¬´ Šð¤· ¦³Á «Å ¥ Î µ ´ ¡®¨Ã¥ · ¼ ° ¨Îµ¨¼ µ »¤ µ ¸ þĈĐ÷ăĔą ģĄŇ ĄĘÿĈãň ĕSHS ELRPLQ QHW èğåĘąè ģĄŇĄĘĆēąēĎąě÷ąĕ à ¦ ¢ r Naturally ahead
Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
น.สพ.พยุงศักดิ์ สมยานนทนากุล รองกรรมการผู้จัดการ ด้านมาตรฐานการผลิตสัตว์ปีก และผู้เชี่ยวชาญสวัสดิภาพสัตว์ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน)
ก่อนอื่นมาทำความรู้จักกันก่อนว่า หลัก สวัสดิภาพสัตว์ที่ว่านี้คืออะไร การคุ้มครองสวัสดิภาพสัตว์นี้ อียูกำหนดเป็นมาตรการบังคับใช้มา นานกว่า 30 ปีแล้ว โดยมีหลักการเพื่อคุ้มครอง สัตว์เลี้ยงทั้งที่นำมาเป็นอาหาร ใช้งาน และเพื่อ การวิจัย ให้ได้รับการดูแลเอาใจใส่ให้สุขสบาย ทัง้ ร่างกายและจิตใจ โดยถือหลักอิสระ 5 ประการ หรือ 5 Freedoms ประกอบไปด้วย
1. ปราศจากการหิว กระหาย และการให้ อาหารที่ไม่ถูกต้อง 2. ปราศจากความไม่สะดวกสบายอันเนื่อง มาจากสภาวะแวดล้อม 3. ปราศจากความเจ็บปวด การบาดเจ็บ และ โรคภัย 4. ปราศจากความกลัว และทุกข์ทรมาน 5. อิสระในการแสดงพฤติกรรมตามปกติ ของสัตว์
สำหรับประเทศไทย ซีพีเอฟได้ร่วมมือกับ กรมปศุสัตว์ ในการนำหลักสวัสดิภาพสัตว์ของ องค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ (World Organisation for Animal Health: OIE) และ มาตรฐานหลักปฏิบัติและกฎระเบียบของสหภาพ ยุโรป (อียู) มาประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมไก่เนื้อ มากว่า 28 ปี นับตั้งแต่ปี 2532 โดยเป็นผู้นำใน การนำเทคโนโลยีโรงเรือนปิดที่ทันสมัยด้วยระบบ ปิดปรับอากาศด้วยการระเหยของน้ำ หรือโรงเรือน อีแวป มาใช้เป็นรายแรกของไทย โรงเรือนระบบนี้
สามารถควบคุม ความชื้น อุณหภูมิ การระบาย อากาศ ช่วยทำให้ไก่มีความเป็นอยู่ที่สุขสบาย ขณะเดียวกัน ยังได้นำอุปกรณ์ทที่ นั สมัยมาใช้ เช่น อุปกรณ์ให้นำ้ และอาหารอัตโนมัติ เพือ่ ให้ไก่เข้าถึง น้ำและอาหารได้ตลอดเวลา ตามหลักการปราศจาก ความหิวกระหาย และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ถึงปัจจุบัน หลักสวัสดิภาพสัตว์ที่ซีพีเอฟนำมาปฏิบัติ ตลอดห่ ว งโซ่ ก ารผลิ ต สั ต ว์ ปี ก นั บ ตั้ ง แต่ ก าร เพาะเลี้ยง การขนส่ง ตลอดจนการชำแหละ และ แปรรูป ภายใต้การแนะนำของกรมปศุสตั ว์ เริม่ จาก การผลิตลูกไก่จากโรงฟักไข่ทันสมัย มีมาตรฐาน ได้ลกู ไก่เนือ้ ทีแ่ ข็งแรง สมบูรณ์ ปลอดโรค เข้าเลีย้ ง ในฟาร์มไก่กระทงทีม่ มี าตรการความปลอดภัยทาง ชีวภาพ ลูกไก่จะได้รับการดูแลเป็นอย่างดีนับจาก วันแรกจนถึงจับออก ด้วยการเลี้ยงในโรงเรือน อีแวป มีระบบจัดการการเลี้ยงในระบบอัตโนมัติ คอยดูแลทั้งอุณหภูมิ ปริมาณอาหาร ปริมาณน้ำ ให้เหมาะสมตามช่วงอายุ ไก่ได้รับอาหารสัตว์ที่ พัฒนาขึ้นตามหลักโภชนาการ รวมทั้งการดูแล สุขภาพสัตว์โดยสัตวแพทย์และสัตวบาล เพื่อให้ ไก่เนือ้ ปราศจากความเจ็บปวด การบาดเจ็บ ความ ทุกข์ทรมาน และไม่มสี งิ่ รบกวนจากภายนอก เมือ่ ไก่ ไ ด้ อ ยู่ ใ นโรงเรื อ นเย็ น สบายพื้ น ที่ ก ว้ า งขวาง สามารถแสดงพฤติกรรมตามธรรมชาติได้อย่าง อิสระ การปฏิบัติตามหลักสวัสดิภาพสัตว์ จะทำ ให้ฝูงไก่อยู่สบายไม่เครียด มีสุขภาพที่ดี แข็งแรง ไม่ปว่ ย เมือ่ มีพนื้ ฐานสุขภาพทีด่ กี ป็ ราศจากโรคภัย โดยไม่จำเป็นทีจ่ ะต้องใช้ฮอร์โมน หรือยาปฏิชวี นะ เร่งการเจริญเติบโตในไก่ จึงเป็นการลดความเสีย่ ง จากยาปฏิชีวนะตกค้าง เพราะไก่ที่มีสุขภาพดี จะ สามารถเติบโตตามศักยภาพของพันธุกรรมธรรมชาติ
31
Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
เมื่อครบอายุการเลี้ยงไก่เนื้อจะถูกขนส่ง ไปยังโรงงานแปรรูป โดยคำนึงถึงหลักการของ มาตรฐานสวัสดิภาพสัตว์ที่ดีอย่างเคร่งครัด เริ่ม จากการจับไก่เนือ้ ด้วยวิธกี ารอุม้ อย่างนุม่ นวล บรรจุ ลงกล่องที่ออกแบบให้เคลื่อนย้ายไก่เนื้อได้โดย ไม่ทำให้ไก่บาดเจ็บ และจำนวนไก่เนื้อแต่ละกล่อง เหมาะสม ไม่แออัด ซึ่งซีพีเอฟเป็นบริษัทแรก ของไทยที่ใช้ระบบการขนส่งไก่เนื้อแบบโมดูล่า สอดคล้ อ งกั บ ระเบี ย บสวั ส ดิ ภ าพสั ต ว์ ทำให้ เคลือ่ นย้ายไก่เนือ้ ได้อย่างรวดเร็ว นุม่ นวล อากาศ ไหลเวียนได้ดี เมือ่ รถขนส่งมาถึงโรงงาน รถทุกคัน ต้องจอดในจุดพักรถทีม่ รี ะบบปรับอากาศด้วยการ ระเหยของน้ำ เพื่อปรับอุณหภูมิตัวไก่ ลดการตื่น ตกใจและคลายเครี ย ด ก่ อ นเคลื่ อ นย้ า ยกล่ อ ง บรรจุไก่จากรถขนส่งเข้าสู่ระบบสายพานลำเลียง ไปห้องแขวนไก่ ซึง่ ต้องทำอย่างนุม่ นวลภายในห้อง ที่ใช้แสงสีฟ้า และควบคุมความเข้มแสงเพื่อไม่ให้ ไก่ตื่นตกใจ จากนั้นจึงผ่านเข้าสู่ขั้นตอนการเชือด ตามหลักสวัสดิภาพสัตว์ และสอดคล้องตามหลัก ฮาลาล ซึง่ ไก่ทกุ ตัวต้องปลอดจากการทรมาน และ มีความเครียดน้อยที่สุด ก่อนจะเข้าสู่ขั้นตอนการ แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ต่อไป
ระบบกล้องวงจรปิด เพื่อดูเกี่ยวกับพฤติกรรม และสุขภาพของสัตว์
32
นอกจากทุ ก กระบวนการผลิ ต ไก่ ที่ ไ ด้ มาตรฐานดังกล่าวแล้ว ด้วยนโยบายที่ต้องก้าวนำ มาตรฐานเสมอ ซีพีเอฟ จึงร่วมกับ Animal Welfare Professional Training หรือ AWT แห่ง มหาวิทยาลัยบริสตอล ประเทศอังกฤษ ซึ่งได้รับ รางวัลดีเด่นด้านการวิจัย การสอน และการฝึก อบรมสวัสดิภาพสัตว์ในฟาร์มจากองค์กรสวัสดิภาพสัตว์แห่งแรกของโลก โดยได้เปิดหลักสูตร พัฒนาผู้เชี่ยวชาญด้านสวัสดิภาพสัตว์ปีกเฉพาะ สำหรั บ ซี พี เ อฟ Train the Trainer ถื อ เป็ น แห่งแรกของโลก มาตัง้ แต่ปี 2554 หลักสูตรดังกล่าว ทำให้บคุ ลากรของซีพเี อฟ สามารถตรวจสอบและ ให้คำแนะนำการปฏิบัติงานด้านความเป็นอยู่ของ สัตว์ที่ถูกต้องตามมาตรฐานสากล ปัจจุบันมีผู้ เชีย่ วชาญทีท่ ำหน้าทีด่ แู ลกระบวนการผลิต และมี การอบรมเจ้าหน้าทีส่ วัสดิภาพสัตว์ (Poultry Welfare Officer: PWO) ประจำทุกหน่วยงาน เพื่อ ดูแลกระบวนการผลิตให้เป็นไปตามมาตรฐานของ กรมปศุสัตว์ และข้อกำหนดของอียู
Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
ขณะเดียวกันองค์ความรู้ทั้งหมดนี้ ถูกส่งต่อไปยังสัตวบาลผู้ดูแลฟาร์มเลี้ยง ไก่เนื้อของบริษัท โดยทุกคนผ่านการอบรมหลักสูตร PWO จากผู้เชี่ยวชาญด้าน สวัสดิภาพสัตว์ปีกของบริษัท และจาก AWT จากนั้น สัตวบาลจะนำความรู้ไป ถ่ายทอดแก่เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เนื้อในโครงการคอนแทรคฟาร์มมิ่งของบริษัท เพื่อ ให้สามารถปฏิบัติตามหลักการได้อย่างถูกต้องต่อไป การเคารพและถือปฏิบตั ติ ามหลักการสวัสดิภาพสัตว์อย่างเคร่งครัด เช่นเดียว กับผู้ผลิตในอียู ส่งผลให้ซีพีเอฟเป็นบริษัทแรกนอกเขตยุโรปที่ได้รับการรับรอง มาตรฐานสวัสดิภาพสัตว์ที่ดี และความสำเร็จดังกล่าวของไก่เนื้อได้ถูกต่อยอดสู่ ฟาร์มสุกรแม่พนั ธุข์ องซีพเี อฟ ทีน่ อกจากจะเป็นฟาร์มทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม และ ชุมชนตามมาตรฐานกรีนฟาร์มแล้ว ยังนำระบบการเลีย้ งแม่พนั ธุส์ กุ รแบบคอกขังรวม ควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ตามหลักสวัสดิภาพสัตว์ ที่สามารถควบคุมการให้ อาหารแม่พันธุ์อย่างเพียงพอต่อความต้องการโดยไม่จำเป็นต้องใช้ซองเช่นเดิม ซึ่ง วิธกี ารนีช้ ว่ ยให้แม่พนั ธุไ์ ม่เครียด สุขภาพดี ร่างกายแข็งแรง ตลอดจนมีภมู ติ า้ นทาน ที่ดี การปฏิบัติตามแนวทางของสวัสดิภาพสัตว์ที่ซีพีเอฟมุ่งมั่นดำเนินการอยู่นี้ ถือเป็นการสร้างมาตรฐานในอุตสาหกรรมไก่เนือ้ และการเลีย้ งหมูของไทยให้กา้ วสู่ การเป็นผูน้ ำในระดับสากล ทำให้ผบู้ ริโภคได้บริโภคอาหารปลอดภัย (food safety) อย่างแท้จริง
33
Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
ไทย-ญี่ปุ่น “ผนึกกำลังต้านประมงไอยูยู” พร้อมผลักดันด้านเกษตรสองประเทศ ๏ โดย torzkrub - 1 มิถุนายน พ.ศ. 2560 ๏ ไทย-ญี่ปุ่น ลงนามแถลงการณ์ร่วมผนึกกำลังต้านประมงไอยูยู
พลเอกฉัตรชัย สาริกลั ยะ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังการหารือ และการลงนามในแถลงการณ์ร่วมในการต่อต้านการทำประมงไอยูยู กับนายยูจิ ยามาโมโต้ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงเกษตร ป่าไม้ และประมงญีป่ นุ่ (H.E. Mr. Yuji YAMAMOTO, Minister of Agriculture, Forestry and Fisheries: MAFF) ณ กระทรวงเกษตร ป่าไม้ และประมงญีป่ นุ่ ว่า การลงนามครัง้ นี้ เป็น การแสดงเจตนารมณ์ของสองประเทศที่จะร่วมกันต่อต้านกิจกรรมการทำการประมงไอยูยู และมุ่งมั่น ทีจ่ ะร่วมมือกันในการส่งเสริมการอนุรกั ษ์และการแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรสิง่ มีชวี ติ ในทะเลอย่าง ยั่งยืน โดยร่วมมือและสนับสนุนการแก้ไขปัญหาไอยูยูระหว่างกัน ภายใต้กลไกของทั้งสองประเทศ ตามวิธีการต่างๆ ขององค์กรระหว่างประเทศ และองค์กรระดับภูมิภาค เพื่อสร้างความเข้มแข็งในการ ตรวจสอบ ควบคุม และเฝ้าระวัง ให้ความสำคัญต่อการดำเนินการต่างๆ เพือ่ การต่อต้านการประมงไอยูยู ร่วมมือกันในการปฏิบตั ติ ามมาตรการรัฐเจ้าของท่า (PSM) กฎระเบียบขององค์การบริหารจัดการประมง ระดับภูมภิ าค หรือ RFMOs ทีท่ งั้ สองประเทศเป็นสมาชิก หรือเป็นประเทศทีเ่ ข้าร่วม รวมถึงแลกเปลีย่ น ข้อมูลข่าวสารเพื่อการต่อต้านการประมงผิดกฎหมายระหว่างกัน อาทิ เอกสารการจับสัตว์น้ำ การ ตรวจสอบย้อนกลับของผลิตภัณฑ์ประมง ที่จะต้องทำงานร่วมกับประเทศที่เป็นตลาดสินค้าประมงที่ทำ การประมงร่วมกันโดยตรง หรือกลุ่มประเทศที่สามที่รับวัตถุดิบสินค้าประมงไปแปรรูป เพื่อให้การค้า สินค้าประมงที่เกิดจากการประมงที่ถูกกฎหมายครบทั้งระบบ และที่สำคัญยังเป็นการแสดงถึงบทบาท ของไทยในการเอาจริงเอาจังกับการแก้ไขปัญหาประมงอยู่ในระดับนานาชาติด้วย ที่มา : http://www.kasetkaoklai.com
34
Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
(ซ้าย) พลเอกฉัตรชัย สาริกัลยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ลงนามในแถลงการณ์ ร่วมในการต่อต้านการทำประมงไอยูยู กับนายยูจิ ยามาโมโต้ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงเกษตร ป่าไม้ และประมงญี่ปุ่น (ขวา) พลเอกฉัตรชัย สาริกัลยะ กับนายยูจิ ยามาโมโต้ หารือ พัฒนาขีดความสามารถ ด้านการเกษตรของสองประเทศ
“ญีป่ นุ่ ถือเป็นคูค่ า้ สินค้าประมงทีส่ ำคัญของไทย โดยในไตรมาสแรกของปี 2560 มีสดั ส่วนร้อยละ 21.37 ของมูลค่าการส่งออกสินค้าประมงทัง้ หมด มีปริมาณ 50,818.70 ตัน มูลค่า 10,843.31 ล้านบาท โดยสินค้าประมงที่มีการส่งออกไปประเทศญี่ปุ่นที่สำคัญ คือ กุ้งปรุงแต่ง เนื้อปลาสดแช่เย็นแช่แข็ง กุง้ สดแช่เย็นแช่แข็ง ขณะทีม่ กี ารนำเข้าสินค้าประมงจากญีป่ นุ่ มายังไทยปริมาณ 10,613.67 ตัน มูลค่า 749.09 ล้านบาท” พลเอกฉัตรชัย กล่าว นอกจาก ความร่วมมือด้านประมงแล้ว กระทรวงเกษตร ป่าไม้ และประมงญีป่ นุ่ ยินดีทจี่ ะสนับสนุน การดำเนินการภายใต้กรอบ High Level Cooperation Dialogue และการประชุมคณะอนุกรรมการ และคณะอนุกรรมการพิเศษ ภายใต้กรอบ เจ-เทป-ป้า ร่วมกันต่อไป ซึ่งกระทรวงเกษตรฯ ไทยจะเป็น เจ้าภาพจัดการประชุมคณะอนุกรรมการฯ ปลายเดือน ก.ค. นี้ เพื่อหารือโครงการความร่วมมือด้าน การเกษตร ชลประทาน หม่อนไหม และข้าว การอำนวยความสะดวกทางการค้าสินค้าเกษตรระหว่างกัน มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช การกักกันพืช ความร่วมมือด้านสหกรณ์ และสร้างเครือข่ายด้าน สหกรณ์ของสองประเทศ ซึ่งจะทำให้การดำเนินความร่วมมือด้านการเกษตรระหว่างสองฝ่ายมีความ ก้าวหน้าขึ้น รวมถึงได้ถือโอกาสเชิญรัฐมนตรีเกษตรฯ ญี่ปุ่น เข้าร่วมประชุมรัฐมนตรีเกษตร ประมง และป่าไม้อาเซียนซึ่งไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมช่วงปลายเดือน กย. นี้ ที่ จ.เชียงใหม่ อีกด้วย สำหรับสถานการณ์การค้าสินค้าเกษตรไทย-ญีป่ นุ่ ช่วงปี 2557-2559 พบว่า มีมลู ค่าการค้าเฉลีย่ 147,426 ล้านบาทต่อปี อัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 3.65 ต่อปี มูลค่าส่งออกของไทยเฉลี่ย 137,860 ล้านบาทต่อปี ขณะที่มูลค่านำเข้าของไทยเฉลี่ย 9,566 ล้านบาทต่อปี โดยไทยเป็นฝ่าย ได้เปรียบดุลการค้า โดยตลอดเฉลี่ย 128,294 ล้านบาทต่อปี สำหรับสถานการณ์ล่าสุดในช่วงไตรมาส แรกของปี 2560 เมือ่ เทียบกับช่วงเวลาเดียวกันในปี 2559 พบว่า ไทยเกินดุลการค้า 33,765 ล้านบาท (เพิ่มขึ้นจาก 31,047 ล้านบาทในปี 2558) โดยกลุ่มสินค้าสำคัญที่ไทยเกินดุลคือ อาหารปรุงแต่ง 17,203 ล้านบาท ปลาและสัตว์น้ำ 3,243 ล้านบาท อาหารสัตว์ 2,568 ล้านบาท และเนื้อสัตว์ 2,477 ล้านบาท ขณะทีไ่ ทยนำเข้า 2,215 ล้านบาท โดยกลุม่ สินค้าสำคัญ คือ ปลาและสัตว์นำ้ ซอส/เครือ่ งปรุง เป็นต้น
35
Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
เวทีเสวนา เรื่องเกษตรไทย 4.0
เทคโนโลยีอะไรบ้าง? ที่จะนำไทยไปสู่เกษตร 4.0 : ฟัง 3 องค์กรตอบกันชัดๆ ๏ โดย torzkrub - 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 ๏
หลังจากที่ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้กล่าวมอบนโยบายทีม่ เี ป้าหมายสำคัญ ในการนำพาประเทศก้าวสู่โมเดล “ประเทศไทย 4.0″ หรือ “ไทยแลนด์ 4.0″ ซึ่งเป็นการปรับเปลี่ยน โครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศไปสู่ Value-Based Economy หรือ เศรษฐกิจทีข่ บั เคลือ่ นด้วยนวัตกรรม สำหรับภาคการเกษตร เป็นหนึง่ ในองค์ประกอบของโมเดลดังกล่าว โดยมีเป้าหมายทีจ่ ะเปลีย่ นจาก การทำเกษตรแบบดัง้ เดิมไปสูก่ ารทำเกษตรสมัยใหม่ ทีเ่ น้นการบริหารจัดการและเทคโนโลยี รวมถึงการ ยกระดับเกษตรกรขึน้ เป็นผูป้ ระกอบการ ซึง่ ในแต่ละภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับการเกษตร ยังมีความเข้าใจ ที่ไม่ชัดเจนว่า จะทำการขับเคลื่อนไปในแนวทางใดเพื่อนำพาเกษตรไทยไปสู่เกษตรไทย 4.0 กรมวิชาการเกษตร จึงได้รว่ มกับสมาคมเทคโนโลยีชวี ภาพสัมพันธ์ สมาพันธ์เกษตร ปลอดภัย มัน่ คง ยัง่ ยืนแห่งชาติ จัดการสัมมนาในครัง้ นี้ โดยมีวตั ถุประสงค์ทจี่ ะให้ทกุ ภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง อาทิเช่น หน่วยงานในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน และหน่วยงานอิสระ ได้ร่วมกันอภิปราย แลกเปลี่ยน ความคิดเห็น เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ และหาแนวทางในการดำเนินงานที่ถูกต้องต่อไป ซึ่งผลการ สัมมนาสรุปได้ดังนี้ ที่มา : http://www.kasetkaoklai.com
36
Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
เทคโนโลยีอะไรบ้างที่นำพาประเทศไปสู่เกษตรไทย 4.0
ดร.นิพนธ์ พัวพงศกร ระบุว่า เทคโนโลยีทางการเกษตรที่สำคัญที่สุด มี 2 เทคโนโลยี คือ เทคโนโลยีชีวภาพ และเทคโนโลยีดิจิทัล เทคโนโลยีชีวภาพจะทำอะไรได้บ้าง
ดร.เจษฎา เด่นดวงบริพนั ธ์ อธิบายเพิม่ เติมว่า เทคโนโลยีพนั ธุวศิ วกรรม หรือเทคโนโลยีชวี ภาพ จัดเป็นเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก เป็นเทคโนโลยีที่ธรรมชาติทำไม่ได้ เช่น สร้างพืชต้านทานโรค และ แมลงศัตรู สร้างน้ำมันชนิดใหม่ เร่งการสังเคราะห์แสง สร้างพืชตรึงไนโตรเจน และสร้างอาหาร เสริมคุณภาพเป็นต้น กรมวิชาการเกษตรได้ทำอะไรบ้างที่เกี่ยวกับ เทคโนโลยีชีวภาพ
ดร.นฤทัย วรสถิตย์ ชีแ้ จงให้ทราบว่า เทคโนโลยีชวี ภาพทีก่ รมวิชาการเกษตรเน้นในปัจจุบนั คือ การใช้เครื่องหมายโมเลกุลในการปรับปรุงพันธุ์พืช และการศึกษาและพัฒนายีนที่มีประโยชน์ทางการ เกษตร เช่น ยีนต้านทานโรคและแมลงศัตรู ยีนที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์น้ำตาล เป็นต้น แต่ยัง ไม่เริ่มต้นเทคโนโลยีพันธุวิศวกรรม แล้วภาคธุรกิจ มีความคิดเห็นว่าเกษตรไทย 4.0 จะมีหน้าตาอย่างไร
นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล มองว่า ในทางธุรกิจ หน้าตาเกษตรไทย 4.0 คือ 2 เพิม่ และ 2 ลด ได้แก่ ต้องเพิ่มผลผลิต ต้องเพิ่มความเร็ว ขนาดต้องเล็กลง และราคาต้องถูกลง การอภิปราย ภาคการเกษตรไทยจะไปถึง 4.0 ได้อย่างไร
นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล บอกว่า ในเชิงการค้าเพือ่ ไปสูเ่ กษตรไทย 4.0 ต้องพัฒนาทัง้ ห่วงโซ่ การผลิต ซึ่งโจทย์จะอยู่ที่ห่วงสุดท้าย โดยมีผู้ช่วยคือรัฐบาล ดร.ชัยฤกษ์ สงวนทรัพยากร เสนอว่า เป้าหมายเกษตรไทย 4.0 เพื่อยกระดับรายได้ ดั้งนั้น ต้องแยกเป็นส่วนๆ บางส่วนต้องใช้นวัตกรรม บางส่วนใช้เทคโนโลยีปัจจุบันก็เพียงพอ ดร.เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์ ภาคการเกษตรไทยมีความก้าวหน้าน้อย ภาครัฐจะต้องมีนโยบาย ที่ชัดเจนในเรื่องของการใช้เทคโนโลยีพันธุวิศวกรรม นายดนัย นาคประเสริฐ กล่าวว่า มีความจำเป็นทีจ่ ะต้องมี พรบ. ความปลอดภัยทางชีวภาพ เพือ่ การวิจัยและพัฒนาพืชดัดแปลงพันธุกรรม นายสุกรรณ์ สังข์วรรณะ สรุปว่า เกษตรไม่ได้สนใจเกษตรไทย 4.0 สนใจว่า จะทำมาหากินเพือ่ เลี้ยงชีพให้มีคุณภาพได้อย่างไร
37
Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
แฉลักลอบนำเข้าข้าวโพดกว่าล้านตัน สวมสิทธิ์ข้าวโพดไทยขายราคาต่ำ ๏ โดย Phennapha C. ๏
นายกสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย เผย พ่อค้าพืชไร่ลักลอบนำเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ใน ประเทศเพื่อนบ้านมาสวมสิทธิ์เป็นข้าวโพดไทย และขายให้กับโรงงานอาหารสัตว์ในราคาขั้นต่ำ 8 บาท และมีการใส่ความข้าวสาลีว่าทำให้ราคา ข้าวโพดตกต่ำ นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายกสมาคม ผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย เปิดเผยว่า ปัจจุบันสมาชิก สมาคมผู้ ผ ลิ ต อาหารสั ต ว์ ไ ทย ได้ ด ำเนิ น ตาม มาตรการควบคุมการนำเข้าข้าวสาลีของกระทรวง พาณิชย์อย่างเคร่งครัด โดยจะต้องซื้อข้าวโพด 3 ส่วน จึงจะมีสิทธิ์นำเข้าข้าวสาลีได้ 1 ส่วน ทำให้ ตัวเลขการนำเข้าข้าวสาลีใน 4 เดือนแรกของปี 2560 อยู่ที่ 0.48 ล้านตัน คาดว่าทั้งปีจะมีการ นำเข้าข้าวสาลีไม่เกิน 1.5 ล้านตัน เนื่องจาก ผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศมีเพียง 4.5 ล้านตัน เทียบเป็นอัตราส่วน 3 : 1 ซึ่งเป็นตาม เป้าที่กระทรวงพาณิชย์กำหนด นอกจากนี้ สมาคมฯ ยังถูกขอให้คงราคา รับซื้อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ขั้นต่ำไว้ที่ 8 บาทอีกด้วย ทัง้ นีเ้ พือ่ เป็นการช่วยเหลือเกษตรกรผูป้ ลูกข้าวโพด
ที่มา : VOICE TV 21 News: 29 มิถุนายน 2560
38
เลี้ยงสัตว์ให้มีกำไรและสามารถอยู่ได้ แต่กลับถูก ป้ายสีว่านำเข้าข้าวสาลีมาเพื่อกดราคาเกษตรกร การนำเข้าข้าวสาลีถูกควบคุมโดยมาตรการของกระทรวงพาณิชย์อยู่แล้ว ที่ผ่านมาธุรกิจ อาหารสั ต ว์ ต้ อ งดำเนิ น การปรั บ ตั ว รองรั บ กั บ นโยบายดังกล่าวมาโดยตลอด รวมถึงยังรับประกัน ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ไว้ที่ 8 บาท ในปี 2560 โรงงานอาหารสั ต ว์ มี ค วามต้ อ งการใช้ ข้ า วโพด ประมาณ 8.1 ล้านตัน ทำให้ยังมีความจำเป็นต้อง นำเข้าข้าวสาลีเพื่อเติมเต็มจำนวนที่ขาดเพื่อไม่ให้ ธุรกิจหยุดชะงัก มาตรการดังกล่าวทำให้อาหาร สัตว์นำเข้าสาลีได้ไม่เกิน 1.5 ล้านตัน เมื่อรวมกับ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่มีเพียง 4.5 ล้านตัน ถือว่า ยังไม่เพียงพอในการใช้ผลิตอาหารสัตว์ ขณะที่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศเพื่อน บ้าน มีต้นทุนการปลูกที่ต่ำกว่าไทย จึงเป็นเหตุให้ พ่อค้าพืชไร่ละเมิดมาตรการนำเข้า และลักลอบ นำเข้าข้าวโพดเพื่อมาสวมสิทธิ์เป็นข้าวโพดไทย และขายให้กับโรงงานอาหารสัตว์ในราคาขั้นต่ำ 8 บาท คิดเป็นกำไรที่สูงมากของกลุ่มพ่อค้า
Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
การนำเข้าข้าวโพดผิดกฎหมาย ย่อมไม่มีเอกสารสิทธิ์แสดงพื้นที่ปลูกที่ ถูกต้องได้ คนกลุม่ นีจ้ งึ พยายามใส่ความข้าวสาลีวา่ ทำให้ราคาข้าวโพดตกต่ำ ทัง้ ๆ ที่ ราคาข้าวโพดมีการกำหนดให้สูงโดยกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งถ้าสำเร็จจะทำให้โรงงาน อาหารสัตว์จำต้องรับซือ้ ข้าวโพดลักลอบของกลุม่ พ่อค้าในราคาสูง เนือ่ งจากไม่พอใช้ ในกระบวนการผลิต นับเป็นเกมส์การค้าที่ไม่โปร่งใส และคิดถึงแต่ผลประโยชน์ ของตนเองเป็นหลัก ทัง้ นี้ สมาคมฯ ยังคงยึดมัน่ ในเจตนารมณ์เดิมทีไ่ ม่สนับสนุนการปลูกข้าวโพด เลีย้ งสัตว์ในพืน้ ทีผ่ ดิ กฎหมาย รวมถึงนำเข้ามาอย่างผิดกฎหมายด้วย และจะดำเนิน การไม่รับซื้อข้าวโพดที่ปลูกโดยไม่มีเอกสารสิทธิ์ทั้ง 100% ในเร็วๆ นี้ ซึ่งได้ขอ ให้ภาครัฐเข้ามาช่วยวางระบบการตรวจสอบย้อนกลับทีม่ าของข้าวโพดเลีย้ งสัตว์เพือ่ ป้องกันการสวมสิทธิ์แล้ว การนำเข้าข้าวสาลีอย่างถูกต้องไม่ควรถูกกล่าวหา และ ปล่อยให้การลักลอบนำเข้าข้าวโพดซึง่ เป็นสิง่ ผิดกฎหมายลอยนวล ทัง้ ๆ ทีเ่ ป็นสาเหตุ ที่แท้จริงที่ทำให้ราคาข้าวโพดในประเทศตกต่ำ
39
Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
สวก. และกรมประมง ร่วมกับ เบทาโกร ส่งเสริมเพาะเลี้ยงปลาช่อนในพื้นที่ปลูกข้าว ๏ โดย torzkrub - 15 มิถุนายน พ.ศ. 2560 ๏
< นายอดิศร พร้อมเทพ อธิบดีกรมประมง (ซ้ายสุด) นางพรรณพิมล ชัญญานุวัตร ผู้อำนวยการ สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) หรือ สกว. (ที่ 2 จากซ้าย) และนายชยานนท์ กฤตยาเชวง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหาร สายงานปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรม เครือเบทาโกร (ขวาสุด)
นายอดิศร พร้อมเทพ อธิบดีกรมประมง (ซ้ายสุด) นางพรรณพิมล ชัญญานุวตั ร ผูอ้ ำนวยการ สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) หรือ สกว. (ที่ 2 จากซ้าย) และนายชยานนท์ กฤตยาเชวง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหาร สายงานปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรม เครือเบทาโกร (ขวาสุด) ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ส่งเสริมการเพาะเลี้ยงปลาช่อนใน พื้นที่ปลูกข้าว สนับสนุนโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ ตามนโยบายประชารัฐ เพิ่มความเข้มแข็งและ ขีดความสามารถในการแข่งขันให้เกษตรกรไทย ใน 5 จังหวัดนำร่อง ได้แก่ ขอนแก่น นครราชสีมา หนองคาย กำแพงเพชร และอ่างทอง โดยมี นางสาวชุตมิ า บุณยประภัศร รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ร่วมเป็นสักขีพยาน ณ อาคารอานนท์ กรมประมง กรุงเทพฯ
ที่มา : http://www.kasetkaoklai.com
40
Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
นายกฯ เยี่ยมชมความสำเร็จแปลงใหญ่ประชารัฐเกษตรสมัยใหม่ (กุ้งขาว) ของ นายดำรง เสนาะสรรพ์ (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานสหกรณ์ประมงคุ้งกระเบน จำกัด
นายกฯ ลงพื้นที่ชมความสำเร็จ “เลี้ยงกุ้งขาว” ตามแนวทาง 3 สะอาดของซีพีเอฟ ๏ โดย torzkrub - 14 มิถุนายน พ.ศ. 2560 ๏
พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี พลเอกอนุพงษ์ เผ่าจินดา รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทย และพลเอกฉัตรชัย สาริกลั ยะ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ลงพืน้ ที่ ตรวจราชการจังหวัดจันทบุรี เยี่ยมชมความสำเร็จแปลงใหญ่ประชารัฐเกษตรสมัยใหม่ (กุ้งขาว) ของ นายดำรง เสนาะสรรพ์ (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานสหกรณ์ประมงคุ้งกระเบน จำกัด และตัวแทนจาก สหกรณ์ประมงคุ้งกระเบน จำกัด ที่เข้าร่วมโครงการฯ โดยนำแนวทาง 3 สะอาด ด้วยการเลี้ยงที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม ของบริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) หรือซีพีเอฟ มาปรับใช้ใน กระบวนการเลี้ยงกุ้ง ส่งผลให้มีประสิทธิภาพการผลิตที่ดี กุ้งขาวมีคุณภาพดี ปลอดสาร ปลอดภัย โดยมี นายไพโรจน์ อภิรกั ษ์นสุ ทิ ธิ์ รองกรรมการผูจ้ ดั การอาวุโส ซีพเี อฟ ร่วมต้อนรับ ณ สหกรณ์ประมง คุ้งกระเบน จำกัด จังหวัดจันทบุรี
ที่มา : http://www.kasetkaoklai.com
41
Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
ควรเร่งลด การใช้ยาปฏิชีวนะ
นั กวิชาการชี้
กับไก่งวง
นักวิชาการด้านโภชนาการสัตว์ปกี ชี้ ควรเร่งลด การใช้ยาปฏิชวี นะในกระบวนการเลีย้ งไก่งวง หลังพบว่า ยังคงมีการใช้ยาดังกล่าวเป็นจำนวนมากภายในฟาร์มไก่งวง ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดการดื้อยาปฏิชีวนะในร่างกายผู้บริโภค ที่ผ่านมา เยอรมนีได้ทำแบบสำรวจในปี 2557 พบว่า มีการ ใช้ยาปฏิชวี นะเป็นจำนวนมากในกระบวนการเลีย้ งไก่งวง โดยพบว่า กว่าร้อยละ 93 ของไก่งวงทั้งหมดได้รับยาปฏิชีวนะ โดยเฉลี่ยทุกๆ 20 วัน นอกจากนี้ เนเธอร์แลนด์ได้เผยว่า มีความพยายามในการลดใช้ยาปฏิชีวนะ ภายในฟาร์มสัตว์ปีกในช่วงหลายปีที่ผ่านมา แต่อย่างไรก็ดี ก็ยังคงพบการใช้ ยาปฏิชีวนะภายในฟาร์มไก่งวงในปริมาณที่มากกว่าฟาร์มสัตว์ปีกประเภทอื่นๆ อย่างเห็นได้ชัด ทั้งนี้ การลดใช้ยาปฏิชีวนะในฟาร์มไก่งวงถือเป็นความท้าทายสำหรับ ผูป้ ระกอบการ เพราะเป็นสัตว์ทมี่ ปี ญ ั หาสุขภาพค่อนข้างมาก โดยผูป้ ระกอบการ ควรให้ความสำคัญกับโภชนาการอาหารสัตว์และการบริหารจัดการฟาร์มให้ถูก สุขลักษณะเพื่อลดการพึ่งพายาดังกล่าว
ที่มา : allaboutfeed.net สรุปโดย : มกอช. (14/06/06)
42
Plexomin Cu24 Plexomin Fe20 Plexomin Mn22 Plexomin Zn26
Phytobiotics (Thailand) Co., LTd.
202 Le Concorde Tower, Rajchadapisek Road, Huaykwang, Huaykwang, Bangkok 10320 Tel. 02-6942498 Fax. 02-6942499 www.phytobiotics.com
Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
ปินส์ เตรียมนำเข้า
เนื้อเพิ่มในปีนี้
องค์ ก ารอาหารและการเกษตรแห่ ง สหประชาชาติ (FAO) เผยว่ า ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ เตรียมจะนำเข้าเนื้อเพิ่มขึ้นในปี 2017 อีก ร้อยละ 6.97 หรือ 552,000 ตัน จากเดิม 516,000 ตันในปี 2016 แม้ว่า FAO จะมีโครงการเพิ่มปริมาณการผลิตเนื้อของฟิลิปปินส์อีกร้อยละ 3.4 หรือ 3.612 ล้านตัน จาก 3.493 ล้านตันในปี 2016 ส่วนกำลังการผลิตเนื้อหมูในปีนี้คาดว่า จะเพิ่มขึ้นราวร้อยละ 4.5 หรือ 1.95 ล้านตันจากปี 2016
ที่มา : blackseagrain.net สรุปโดย : มกอช. (15/06/06)
43
Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
บราซิล อนุญาต
ปลูกอ้อย GMO เชิงพาณิชย์แล้ว
ภาพประกอบ : http://healthycomm.net/wp-content/uploads/bigstock-sugar-cane-fields-culture-tro-28944155.jpg
กอบ
ประ
ภาพ
คณะกรรมาธิการเทคนิคด้านความปลอดภัยทางชีวภาพแห่งชาติของบราซิล (CTNBio) อนุญาตการปลูกอ้อย GM เชิงพาณิชย์เป็นครัง้ แรก โดยคาดว่า จะสามารถปลูกได้ในพื้นที่อย่างน้อย 1.5 ล้านเฮกเตอร์ และ ต้องใช้เวลาอย่างน้อย 3 ปี จึงจะเริ่มส่งออกน้ำตาล ที่ผลิตจากอ้อย GM สู่ตลาดได้ hk
ng.
tlivi
xpa
://e
ttps
:h
ปัจจุบัน บราซิลมีพื้นที่ปลูกอ้อยประมาณ 10 ล้านเฮกเตอร์ และส่งออกน้ำตาลไปยังกว่า 150 ประเทศ ซึ่งกว่าร้อยละ 60 ของประเทศเหล่านี้ไม่ต้อง ขออนุญาตในการนำเข้าน้ำตาลที่ผลิตจากอ้อย GM ดังนั้นการที่ CTNBio ให้การรับรองจึงเป็นเรื่องสำคัญมาก ทั้งนี้ อ้อยสายพันธุ์ดังกล่าวได้รับการตัดต่อพันธุกรรมให้ต้านทานต่อหนอน เจาะลำต้นและยอดอ้อย (Diatraea saccharalis) ซึ่งเป็นแมลงศัตรูพืชหลักและ ทำลายผลผลิตเป็นมูลค่ากว่า 1.52 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ต่อปี โดยอ้อย GM สายพันธุ์ดังกล่าวมียีนของเชื้อ Bt (Bacillus thuringiensis) ซึ่งเป็นเชื้อที่ใช้ในการ ตัดต่อพันธุกรรมพืชโดยทั่วไป
ที่มา : reuters.com สรุปโดย : มกอช. (15/06/06)
44
Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
ไข่ ไทย ตีตลาด
เกาหลีใต้ ครั้งแรก กระทรวงเกษตร อาหาร และกิจการชนบทเกาหลีใต้ อนุมัตินำเข้า ไข่สดจากไทยครั้งแรกกว่า 2 ล้านฟอง เริ่มสัปดาห์หน้า เพื่อแก้ปัญหา ไข่ขาดตลาด หลังพบไข้หวัดนกระบาดอีกระลอก นอกจากนี้ เกาหลีใต้ ยังนำเข้าไข่สดจากอีก 7 ประเทศ รวมถึงออสเตรเลีย และสเปน แต่ยัง ไม่อนุมัติการนำเข้าจากสหรัฐอเมริกา ทั้งนี้ ราคาค้าไข่ปลีกที่เกาหลีใต้ ณ วันที่ 8 มิถุนายน 2560 มีราคา 7,967 วอนต่อ 30 ฟอง ซึง่ เพิม่ ขึน้ ถึงร้อยละ 52.7 เมือ่ เทียบกับ ปี 2559 แต่ยงั ถือว่ามีราคาต่ำกว่าช่วงเดือนมกราคม 2560 ทีม่ รี าคาสูง ถึง 9,543 วอน
ที่มา : english.chosun.com สรุปโดย : มกอช. (15/06/06)
45
Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
กรมประมง เร่งนำฟาร์มกุ้งแวนนาไม เข้าสู่มาตรฐาน มกษ.7432-2558 กรมประมง เตรียมบังคับใช้มาตรการสินค้าเกษตรสำหรับการปฏิบัติ ทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ สำหรับฟาร์มลูกกุ้งแวนนาไมปลอดโรค (มกษ. 7432-2558) ซึ่งมาตรการดังกล่าว จะครอบคลุมกิจการผลิตลูกกุ้งขาว แวนนาไม ในระยะ Nauplius และระยะ Post-larva เพื่อจำหน่าย โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ออกกฎกระทรวง ลงประกาศวันที่ 5 กันยายน 2559 กำหนดให้มาตรฐาน มกษ.7432-2558 เป็นมาตรฐานบังคับใช้ในวันที่ 18 มิถุนายน 2560 นี้ ทัง้ นี้ กรมประมงได้ขอความร่วมมือผูป้ ระกอบการเร่งดำเนินการขึน้ ทะเบียนผูผ้ ลิต ผูส้ ง่ ออก หรือ ผูน้ ำเข้าลูกกุง้ ทะเล เพือ่ ขอการรับรองมาตรฐาน มกษ.7432-2558 ภายในกำหนดเวลาทีม่ าตรฐานมีผล บังคับใช้ ซึ่งผู้ประกอบการต้องดำเนินการได้ดังนี้
1. สมัครขอรับการรับรองเฝ้าระวังโรคกุง้ ทะเล ทีศ่ นู ย์วจิ ยั และพัฒนาการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ้ ชายฝัง่ ของกรมประมงในพื้นที่ 2. จัดทำคู่มือความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecuriry manual) และคู่มือการจัดการฟาร์มที่ดี
3. สมัครขอรับการรับรองมาตรฐาน มกษ.7432-2558 ที่กองพัฒนาระบบการรับรองมาตรฐาน สินค้าประมงและหลักฐานเพื่อการสืบค้น (กมป.) กรมประมง
4. สมัครขอรับใบอนุญาตเป็นผูผ้ ลิต ผูส้ ง่ ออก หรือผูน้ ำเข้าลูกกุง้ ขาวแวนนาไมปลอดโรค ทีส่ ำนักงาน มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) หรือผ่านทางเว็บไซต์ http://tas.acfs. go.th/nsw/
อนึ่ง กรมประมงได้ขอประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการผลิตกุ้งแวนนาไมให้ดำเนินการมาตรการ ก่อนวันที่ 18 มิถุนายน 2560 หากผู้ประกอบการไม่ดำเนินการตามกระบวนการกำหนด จะถูกระงับ การดำเนินกิจการทันที และหากฝ่าฝืนดำเนินกิจการโดยไม่ได้รับอนุญาต จะต้องระวางโทษตามมาตรา 58 แห่งพระราชบัญญัติสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 ปรับไม่เกิน 300,000 บาท ที่มา : prachachat.net สรุปโดย : มกอช. (16/06/06)
46
Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
อิและอัหร่ฟากานิน เปิสถานแล้ ดตลาดส่งออกไก่ไปอิรัก ว
อิหร่าน รายงานว่า ในขณะนี้ (มิถนุ ายน 2560) เริ่มส่งออกไก่ไปยังอิรัก และอัฟกานิสถานแล้ว หลัง เตรียมความพร้อมในการดำเนินการส่งออกไก่ตลอด 15 วันทีผ่ า่ นมา โดยในแต่ละเดือนคาดว่าจะสามารถส่งออกไก่ ได้กว่า 4-6 พันตัน นอกจากนี้ นายกสมาคมผู้เลี้ยงไก่อิหร่าน เผยผู้ประกอบการส่งออกยังเร่งหาพื้นที่ส่งออกไก่ไปกาตาร์ เพื่อ เปิดตลาดส่งออกเพิ่มเติมในอนาคต และทางสมาคมเชื่อว่าอิหร่าน จะสามารถจัดหาปริมาณสินค้าได้ตามที่กาตาร์ต้องการ ทั้งนี้ สมาคมผู้เลี้ยงไก่อิหร่าน คาดการณ์ปริมาณการส่งออกจะเพิ่มสูงขึ้น อย่างต่อเนื่อง หลังสิ้นสุดช่วงเดือนรอมฎอน
ที่มา : thepoultrysite.com สรุปโดย : มกอช. (27/06/06)
47
Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
มะกันสั่งแบน
เนื้อวัวบราซิลตกมาตรฐานอื้อ เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2560 สหรัฐอเมริกาได้ระงับการนำเข้าเนื้อวัวสด จากบราซิลเป็นการชั่วคราวเพื่อปกป้องสุขอนามัยของผู้บริโภคภายในประเทศ หลังพบว่าสินค้าส่วนใหญ่ไม่ผา่ นมาตรฐาน และสหรัฐฯ จะดำเนินการระงับการนำเข้า จนกว่ากระทรวงเกษตรของบราซิลจะมีการแก้ปัญหาอย่างเป็นที่น่าพอใจ ด้าน รัฐบาลบราซิลได้สั่งระงับผู้ประกอบการ 5 รายในการส่งออกเนื้อวัวไปยังสหรัฐฯ ชั่วคราวเพื่อแก้ปัญหาเบื้องต้น ทัง้ นี้ ภายหลังกรณีสนิ บนอือ้ ฉาวเมือ่ เดือนมีนาคม 2560 สหรัฐฯ ตรวจสอบ เนื้อวัวนำเข้าจากบราซิลทุกล็อตอย่างเข้มงวด และพบว่าสินค้าส่วนใหญ่ไม่ผ่าน มาตรฐาน และมีอตั ราการตีกลับสูงถึงร้อยละ 11 (ประมาณ 1.9 ล้านปอนด์) ในขณะที่ ประเทศอี่นๆ มีอัตราการตีกลับเฉลี่ยเพียงร้อยละ 1
ภาพประกอบ : http://kitchenjournals.com/
ที่มา : govdelivery.com สรุปโดย : มกอช. (27/06/06)
48
Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
จีน ตั้งเป้าเร่งลดใช้ยา
อุตฯ ปศุสัตว์ และสัตว์ปีก กระทรวงเกษตรจีน เผยเตรียมแผนเข้าตรวจสอบการใช้ยาปฏิชีวนะในภาค อุตสาหกรรมปศุสัตว์ และสัตว์ปีกของจีน ลดปัญหาการดื้อยาข้ามกลุ่ม (crossresistance) และแนะนำการใช้ตัวยาใหม่ที่มีความปลอดภัยสูงกว่าทดแทน จากรายงาน จีนมีแผนเร่งปรับลดการใช้ยาปฏิชีวนะทั้งในคน และภาค อุตสาหกรรมปศุสตั ว์ และสัตว์ปกี ภายในปี 2563 เนือ่ งจาก พบยาจำนวนมากทีอ่ าจ ก่อให้เกิดเชือ้ ดือ้ ยาแบบข้ามกลุม่ โดยภาครัฐได้วจิ ยั พัฒนา และส่งเสริมให้ใช้ยาใหม่ จำนวนกว่า 100 ชนิด ซึ่งมีความปลอดภัย และมีประสิทธิภาพในการรักษาสูงขึ้น พร้อมสัง่ ห้ามใช้ยาอีกกว่า 100 ชนิด ทีพ่ บว่ามีความเสีย่ งสูงทีจ่ ะก่อให้เกิดการดือ้ ยา แบบข้ามกลุ่ม โดยคาดว่าภายในปี 2563 ภาคอุตสาหกรรมปศุสัตว์ สัตว์ปีก และ สัตว์น้ำ จะสามารถผ่านการตรวจสอบสารตกค้างกว่าร้อยละ 97 โดยเจ้าหน้าที่จะ เพิ่มความเข้มงวดกำกับดูแล การขึ้นทะเบียนตัวยา และควบคุมการใช้ยาปฏิชีวนะ โดยสัตวแพทย์ ทั้งนี้ กระทรวงเกษตรของจีน จะพัฒนาความร่วมมือกับองค์การอนามัยโลก (WHO) และองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) เพือ่ ควบคุม การแพร่ระบาดของเชื้อดื้อยาที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภคในประเทศ ทั่วโลก
ที่มา : thepoultrysite.com สรุปโดย : มกอช. (29/06/06)
49
Market Leader ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
ญี่ปุ่น - ยุโรป จับมือ
เตรียมเว้นภาษีนำเข้าสินค้าหลายรายการ
ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป เตรียมพิจารณาข้อตกลง เบือ้ งต้นในความตกลงหุน้ ส่วนเศรษฐกิจ (Economic partnership agreement: EPA) ระหว่างกันในเดือนกรกฎาคม 2560 โดยญี่ปุ่นเล็งยกเว้นภาษีนำเข้าเนื้อวัวของทั้งสอง ฝ่าย เชื่อไม่กระทบอุตสาหกรรมในประเทศ แต่จะได้ ประโยชน์จากการส่งออกที่เพิ่มตามความนิยมอาหาร ญี่ปุ่นที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ด้านยุโรปคาดว่าการยกเว้น ภาษีจะส่งผลให้สามารถส่งออกเนื้อหมู ไวน์ และชีสได้เพิ่มขึ้น ในความตกลงหุ้นเศรษฐกิจดังกล่าว ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป จะพิจารณาการลด หรือ ยกเว้นภาษีนำเข้าสินค้าเกษตรหลายรายการ ได้แก่ เนื้อหมู ไวน์ เนื้อวัว ช็อคโกแลต พาสต้า เนื้อลูกวัว ชีส และผลิตภัณฑ์นม ซึ่งญี่ปุ่นคาดว่าจะไม่ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการผลิต เนื้อวัวในประเทศ เนื่องจากมีการนำเข้าในปริมาณน้อย แต่จะได้ประโยชน์จากการขยายตัวของ ความนิยมร้านอาหารญี่ปุ่นซึ่งจะส่งผลให้สามารถส่งออกเนื้อวัวได้เพิ่มขึ้น ส่วนสหภาพยุโรป คาดว่าการยกเว้นภาษีจะช่วยให้สามารถส่งออกสินค้าเกษตรได้เพิ่มขึ้นเนื่องจากต้นทุนที่ลดลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเนื้อหมู ไวน์ และชีส ที่ปัจจุบันญี่ปุ่นจัดเก็บภาษีในอัตราที่ค่อนข้างสูง อนึง่ ญีป่ นุ่ กำหนดอัตราภาษีนำเข้าเนือ้ วัว ผลิตภัณฑ์นม และไวน์จากสหภาพยุโรปทีอ่ ตั รา ร้อยละ 38.5 ร้อยละ 20-35 และร้อยละ 15 ตามลำดับ ในขณะที่ยุโรปเก็บภาษีนำเข้าเนื้อวัว จากญี่ปุ่นที่อัตราร้อยละ 12.8
ที่มา : thecattlesit.com สรุปโดย : มกอช. (29/06/06)
50
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
รายงานการสำรวจข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ครั้งที่ 1/2560 โดย คณะสำรวจสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ระหว่างวันที่ 3 - 5 เม.ย. 2560
รายชื่อผู้เข้าร่วมสำรวจ
1. นางจิรพรรณ์ รัตนราช 2. น.ส.ชุลีพร ยิ่งยง 3. นางนิภาพร โรจน์รุ่งเรืองกิจ 4. นายวรวุฒิ เบญจรัตนานนท์ 5. นายศุภชัย วิเศษสุข 6. นายสุรสิษฐ์ วัดแก้ว 7. น.ส.ธาวินี ดำเนินวุฒิ 8. น.ส.ทิพวรรณ โพธิ์งามวงศ์ 9. น.ส.พรอำไพ ตันติวรธรรม 10. น.ส.จุฑามาศ วัฒนสินพาณิช 11. น.ส.กัณฑรัตน์ มหาวิริโย 12. น.ส.รัฌดา อินทรกำชัย 13. นายศิริวัฒน์ ฤทัยเจตน์เจริญ 14. นายอรรถพล ชินภูวดล 15. น.ส.กรดา พูลพิเศษ
บริษัท อาหารสัตว์ไทยสระบุรี จำกัด บริษัท พนัสโภคภัณฑ์ จำกัด บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท ทีอาร์เอฟ ฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท อาหารสัตว์ไทยสวนหลวง จำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท ทีอาร์เอฟ ฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท กรุงไทยอาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท อินเทคค์ ฟีด จำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จำกัด บริษัท อาร์ที อะกริเทค จำกัด สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
การสำรวจข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ครั้งที่ 1/2560 ระหว่างวันที่ 3 - 5 เมษายน 2560 โดยในครั้งนี้ ได้ออกสำรวจพื้นที่ในจังหวัด ชัยนาท - นครสวรรค์ - พิษณุโลก - เพชรบูรณ์ ทางคณะสำรวจได้มีการ รวบรวมและประมวลข้อมูลพืน้ ทีก่ ารเพาะปลูกทีเ่ ข้าร่วมโครงการกรมส่งเสริมการเกษตร และเข้าสำรวจ พื้นที่ใหม่ในการเพาะปลูก โดยพูดคุยกับเกษตรกรผู้เพาะปลูก และการเข้าพบพ่อค้าท้องถิ่น/ไซโล เพื่อ นำมาใช้พิจารณาประกอบการสำรวจ จากนั้นนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์รวมกันพอสังเขปคร่าวๆ ดังนี้
51
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
การเพาะปลูกข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ชว่ งหลังนา ปี 59/60 โดยภาพรวมพื้นที่ในการเพาะปลูก มีแนวโน้มลดลงเล็กน้อย เนื่องจากสภาพอากาศ ที่แห้งแล้งพร้อมทั้งปริมาณน้ำไม่เพียงพอต่อการ เพาะปลูก ประกอบกับราคาข้าวโพดไม่จูงใจให้ เกษตรกรเพาะปลูก โดยเฉพาะพืน้ ทีเ่ พาะปลูกเดิม ในเขตจังหวัด นครสวรรค์ พิษณุโลก และเพชรบูรณ์ โดยเกษตรกรปรับเปลี่ยนมาปลูกสับปะรด มันสำปะหลัง อ้อย ถั่วเขียว และข้าว ทดแทน การปลูกข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ และยังพบว่ายังมีพนื้ ที่ ส่วนหนึ่งปล่อยว่าง แต่มีการเตรียมดินเพื่อรอฝน สำหรับการเพาะปลูกในคราวต่อไป ในส่วนของ จังหวัดชัยนาท เป็นพืน้ ทีท่ เี่ ข้าร่วมโครงการส่งเสริม การปลูกข้าวโพดหลังนาแทนการปลูกข้าว ซึง่ ถือว่า เป็นพื้นที่ที่มีการปลูกข้าวโพดมากขึ้น แต่ยังไม่ส่ง ผลต่อภาพรวมในพื้นที่การปลูกข้าวโพดมากนัก ด้านผลผลิต เฉลีย่ ต่อไร่ของข้าวโพดหลังนา ปี 59/60 จากการสำรวจพบว่ามีปริมาณผลผลิต ใกล้เคียงจากปีทผี่ า่ นมา บางพืน้ ทีม่ ปี ริมาณน้ำน้อย และมีความเสีย่ งของผลผลิตจะเสียหาย เกษตรกร จะหยุดการใช้พนื้ ทีท่ มี่ คี วามเสีย่ งในการเพาะปลูก เพือ่ ลดปัญหาความเสีย่ งทีจ่ ะทำให้ผลผลิตเสียหาย ด้ า นต้ น ทุ น การเพาะปลู ก ปี นี้ มี ก ารใช้ ต้นทุนเพิ่มขึ้นเพื่อการสูบน้ำเพิ่มเติมในพื้นที่ที่มี แหล่งน้ำไม่เพียงพอ และค่าเมล็ดพันธุ์ข้าวโพด มี ขยับราคาสูงถึง 175 - 185 บาท/กก. รวมถึงต้นทุน อื่นๆ เช่น ค่าปุ๋ย ค่ายาฆ่าแมลง ค่าจ้างในการ เก็บเกี่ยวค่อนข้างคงที่ เป็นต้น
52
ในปี นี้ พ บว่ า ราคารั บ ซื้ อ ข้ า วโพดไม่ ค่ อ ย จูงใจ ถึงแม้ว่าจะมีโครงการจากภาครัฐเข้ามา สนับสนุนรองรับก็ตาม จากการลงพื้นที่ พบว่า มี เกษตรกรบางส่วนยังไม่ทราบถึงโครงการดังกล่าว หรือทราบโครงการ แต่ไม่สามารถเข้าร่วมโครงการ ได้เนือ่ งจากขาดคุณสมบัติ ทำให้เสียโอกาสในการ เพิ่มพื้นที่การเพาะปลูกข้าวโพดนาในปีนี้ไปบาง ส่วน ในช่วงต้นเดือนเมษายน มีพายุเข้าในส่วน พื้นที่เพาะปลูกทำให้มีปริมาณน้ำฝนมากในช่วง ที่ข้าวโพดใกล้จะเก็บเกี่ยวผลผลิต จึงส่งผลให้ ผลผลิตข้าวโพดล้มเสียหาย เกษตรกรจึงต้องเร่ง เก็บเกี่ยวข้าวโพดก่อนครบอายุ ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ ส่งผลให้ผลผลิตที่ได้น้อยลงและมีคุณภาพไม่ตรง ตามที่ต้องการ แม้วา่ จะมีแนวโน้มในการเพาะปลูกลดน้อย ลง แต่เกษตรกรยังให้ความสนใจที่จะเพาะปลูก ข้าวโพดต่อไป เนื่องจากมีการลงทุนที่ต่ำกว่าการ เพาะปลูกพืชอื่นๆ และแม้ว่าข้าวโพดจะมีราคาที่ ต่ำลงแต่พืชชนิดอื่นๆ ก็มีราคาที่ต่ำลงด้วยเช่นกัน ดังนัน้ การปลูกข้าวโพดยังถือเป็นทางเลือกทีส่ ำคัญ ของเกษตรกรต่อไป ระหว่างสำรวจมีการเก็บเกี่ยวข้าวโพดเข้า สู่ตลาดแล้วบางส่วน และคาดว่าจะมีผลผลิตเข้าสู่ ท้องตลาดมากในช่วงหลังสงกรานต์
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
จังหวัดชัยนาท แหล่งข้อมูล : สำนักงานเกษตรอำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท คุณน้ำฝน แช่มบำรุง 089 - 2740470 สภาพทั่วไป จังหวัดชัยนาท ถือเป็นพื้นที่ที่คณะสำรวจเข้าไปเป็นครั้งแรก เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่ได้รับการส่งเสริมโครงการปลูกข้าวโพดหลังนา จากการสำรวจในอำเภอสรรคบุรพี บว่า เดิมเคยมีพนื้ ทีก่ ารปลูกข้าวโพด ประมาณ 1,000 ไร่ และภายหลังจากมีโครงการทำให้ในปีนี้มีพื้นที่ ในการเพาะปลูกข้าวโพดมากขึ้นเป็น 2,000 ไร่ เนื่องจากเกษตรกร เห็นว่าการปลูกข้าวโพดมีตน้ ทุนทีต่ ำ่ กว่าข้าว ทัง้ ยังมี ราคาขายที่สูงกว่า ในด้านสภาพการเพาะปลูกมีเกษตรกรกลุ่ม ทีม่ คี วามชำนาญในการเพาะปลูก เนือ่ งจากปลูกปีนี้ เป็นปีที่ 3 แล้ว จนสามารถปลูกข้าวโพดได้ผลผลิต ประมาณ 1.2 - 1.3 ตัน/ไร่ (เมล็ดสด ความชื้น 25 - 30%) ส่ ว นเกษตรกรที่ เ พิ่ ง เปลี่ ย นมาปลู ก ข้าวโพดเป็นครั้งแรก ยังขาดความชำนาญในการ เพาะปลูกข้าวโพด ทำให้ผลผลิตต่ำกว่าเกษตรกรที่เพาะปลูกมาก่อน ในด้านของราคารับซื้อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เมล็ดสด ความชื้น 20 - 25% ราคาประมาณ 6 บาท และเมล็ดสด ความชื้น 25 - 30% ราคาประมาณ 5 บาท โดยเกษตรกรนิยมขายไปที่พ่อค้าคนกลาง มากกว่าขายตรงไปทีโ่ รงงานอาหารสัตว์ เนือ่ งจากการขายตรงไปทีพ่ อ่ ค้าคนกลาง เกษตรกรจะได้รบั เงิน ทันที สำหรับเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการปลูกข้าวโพดหลังนา จะมีตลาดรับซื้อข้าวโพด ทุกเมล็ด สำหรับพันธุ์ที่นิยมปลูกในพื้นที่ได้แก่ 888,559,339 และพืชอื่นที่เกษตรกรเลือกปลูกในพื้นที่ ได้แก่ ถั่วเขียว อ้อย ไม้ผล ปัญหาและอุปสรรคที่พบ • เกษตรกรไม่มีความสามารถในการลดความชื้น จึงต้องขายผลผลิตเป็นแบบเมล็ดสด ทำให้ ได้ราคาไม่สูงนัก เกษตรกรรายใหม่ยังขาดความชำนาญในการเพาะปลูก ทำให้ข้าวโพดที่ปลูกมีปัญหา น็อคน้ำ หรือเมล็ดไม่งอก เป็นต้น
53
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
จังหวัดชัยนาท แหล่งข้อมูล : ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ 10 ตำบลบางขุด อำเภอสรรคบุรี คุณระยอง เขียวอิน
สภาพทั่วไป ในเขตอำเภอสรรคบุรีพื้นที่หมู่ 10 ถือเป็นพื้นที่ที่มีการปลูกข้าวโพดมาประมาณ 3 ปีแล้ว จึงมีความชำนาญในการเพาะปลูกมาก ผลผลิตที่ได้ 11 - 12 ตัน/พื้นที่ปลูก 9 ไร่ เกษตรกรส่วนมาก จะเก็บเกี่ยวข้าวโพดเมื่ออายุถึงกำหนด หรือเลยกำหนดเพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ ในส่วนของสภาพพื้นที่โดยรวมปลูกข้าวโพดมากกว่าปีที่ผ่านมา นำไปจำหน่ายที่อำเภอตากฟ้า จังหวัดนครสวรรค์ โดยจะมีค่าขนส่งตันละ 250 บาท ค่าเก็บเกี่ยวตันละ 600 บาท ค่าเมล็ดพันธุ์ กิโลกรัมละ 180 - 185 บาท ยังมีเกษตรกรบางส่วนทีย่ งั ไม่สามารถเข้าร่วมโครงการปลูกข้าวโพดหลังนาได้ เนือ่ งจากเกษตรกร ยังมีหนี้สินอยู่ จึงไม่สามารถกู้เพิ่มเติมได้
จังหวัดนครสวรรค์ แหล่งข้อมูล : ร้านทรัพย์เกิดผล อำเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์ คุณชยต เกิดผล โทร.093 - 2169911 สภาพทั่วไป เนื่องจากราคาข้าวตกต่ำเป็นอย่างมากทำให้เกษตรกรหันมาปลูกข้าวโพดมากยิ่งขึ้น ส่งผลให้ พื้นที่การเพาะปลูกข้าวโพดในอำเภอลาดยาวมีแนวโน้มสูงขึ้นเล็กน้อย สำหรับสภาพผลผลิต เกษตรกรสามารถเพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ได้ผลผลิตต่อไร่ถึง 1.5 ตัน (เมล็ดสด ความชื้น 30%) ในพื้นที่โดยมากจะใช้น้ำจากบ่อบาดาลในการเพาะปลูก เมล็ดพันธุ์ที่ใช้ใน พืน้ ที่ ได้แก่ 999, 339, 797, 4546 พืชอืน่ ๆ ทีป่ ลูกในพืน้ ทีจ่ ะมี ถัว่ เขียว มันสำปะหลัง และข้าวเปลือก โดยเกษตรกรบางส่วนมีแนวคิดที่จะเปลี่ยนมาปลูกข้าวโพดแบบถาวร เนื่องจากข้าวโพดได้ผลผลิตที่ มากกว่า ลงทุนน้อย และขายได้ราคาดีกว่าข้าว
54
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
โดยปกติใน 1 ปี พื้นที่นี้จะปลูกข้าวโพด 2 รอบ และข้าว 1 รอบ ปัจจุบนั ทางร้านรับซือ้ ข้าวโพดเมล็ดสด ความชืน้ 30% ทีร่ าคา 5.30 - 5.40 บาท/กิโลกรัม โดยทำหน้าทีป่ รับปรุงคุณภาพและส่งไปทีโ่ รงงานอาหารสัตว์ ในเขตพืน้ ทีร่ าชบุรี และโคกตูม ณ วันทีส่ ำรวจทางร้านรับข้าวโพดอยูท่ ี่ 500 ตัน/วัน เกษตรกรมีการเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้วจำนวนหนึ่งในพื้นที่ราบจำนวน 50% ของพืน้ ที่ ส่วนพืน้ ทีเ่ ขา (วังน้ำขาว, ดงยาง) เก็บเกีย่ วแล้ว 30% ของ พื้นที่ ปัญหาและอุปสรรคที่พบ • ปริมาณน้ำไม่พอในการเพาะปลูกทำให้ผลผลิตทีไ่ ด้มเี มล็ดเล็ก ลีบ • โครงการของรัฐจ่ายเงินล่าช้า ทำให้เกษตรกรไม่สนใจเข้าร่วมโครงการเท่าที่ควร
จังหวัดพิษณุโลก แหล่งข้อมูล : ร้านโชคอำนวยพร 2 อำเภอชาติตระการ คุณผ่อน ดวงปะ โทร. 081 - 3240020 สภาพทั่วไป อาชีพการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในเขตพื้นที่ชาติตระการ ถือเป็นอาชีพหลักของเกษตรกรในพื้นที่ ทำให้พื้นที่การปลูก ข้าวโพดยังคงทรงตัว แต่ในด้านของผลผลิตน้อยลงเนื่องจาก น้ำแล้ง ทำให้ผลผลิตมีคณ ุ ภาพไม่ดเี ท่าทีค่ วร มีเมล็ดเล็ก และลีบ เกษตรกรใช้น้ำจากฝายในการเพาะปลูก เมล็ด พันธุ์ที่ใช้ ได้แก่ S7, 328, 301 ปัจจุบันเก็บเกี่ยวผลผลิตในพื้นที่แล้วกว่า 70% อีก 30% คาดว่าจะเก็บเกี่ยวแล้วเสร็จก่อนสงกรานต์ ทางร้านรับซื้อข้าวโพดฝักสด (ความชื้น 30%) ที่ราคา 3.50 - 3.60 บาท/กิโลกรัม มีข้าวโพดเข้าสู่ลานวันละ
55
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
2 - 3 พ่วง/วัน (ประมาณ 100 ตัน) เกษตรกรได้รับความเดือนร้อนจากราคาข้าวโพดที่ตกต่ำ ในปี 2559 ในช่วงเดียวกันราคาซื้อข้าวโพดอยู่ที่ 4.70 - 4.80 บาท เกษตรกรคาดหวังให้ราคารับซื้อ ไม่ต่ำกว่า 4 บาท ส่วนพืชอื่นๆ ที่ปลูกในพื้นที่ได้แก่ มันสำปะหลัง ข้าว และถั่ว ปัญหาและอุปสรรคที่พบ • โครงการช่วยเหลือของภาครัฐไม่สง่ ผลไปถึงเกษตรกร แต่กลับตกไปทีพ่ อ่ ค้ารายใหญ่ จึงอยากให้ ภาครัฐลงมาดูแลมากขึ้น • อยากให้หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องช่วยเหลือในด้านราคาตัง้ แต่ตน้ ทาง ให้ภาครัฐดูแลปัจจัยการผลิต อาทิ เมล็ดพันธุ์ข้าวโพดให้มีราคาที่เหมาะสม • ปริมาณน้ำน้อย ทำให้ผลผลิตไม่ได้คุณภาพ เมล็ดเล็ก ลีบ
จังหวัดพิษณุโลก แหล่งข้อมูล : ร้านประกอบพืชผล อำเภอชาติตระการ คุณประกอบ เดชเทศ โทร.081 - 0377524 สภาพทั่วไป สำหรับข้าวโพดนาในปีนี้มีการปลูกน้อยลง เนือ่ งจากปลูกแล้วได้รบั ผลกำไรน้อย แต่อย่างไรก็ตาม เกษตรกรยังคงปลูกข้าวโพดต่อไป เนื่องจากไม่มี พื ช ทางเลื อ กอื่ น ที่ ดี ก ว่ า ก่ อ นหน้ า นี้ เ คยปลู ก มั น สำปะหลัง แล้วพบว่างานหนักเกินไปและได้ผลผลิต ไม่คมุ้ กับทีล่ งทุน และเกษตรกรในพืน้ ทีย่ งั ไม่มคี วาม เชี่ยวชาญในการปลูกสับปะรด ในด้านของผลผลิตอยู่ที่ 1.5 ตัน/ไร่ (ฝักสด ความชืน้ 30%) โดยผลผลิตต่อไร่จะขึน้ อยูก่ บั แต่ละ พื้นที่ และการให้น้ำและปุ๋ย เมล็ดพันธุ์ที่ใช้ในพื้นที่ ได้แก่ 339, 6818, 301 เกษตรกรส่วนใหญ่แล้วจะขายส่งให้กับ CP ดั ง นั้ น ผลผลิ ต ที่ ส่ ง จะต้ อ งเป็ น ผลผลิ ต เกรดที่ ดี เนือ่ งจาก CP ไม่รบั เมล็ดแตก และเมล็ดเล็ก คุณภาพ ข้าวโพดอยู่ในระดับเกรดเบอร์ 2 ราคารับซื้ออยู่ที่ 6.30 บาท (เมล็ดแห้ง ความชื้น 15%)
56
1.R&D µ¦ª· ´¥Â¨³¡´ µ 2.Consultation µ¦Ä®o µÎ ¦¹ ¬µ 3.Design µ¦°°  4.Manufacture µ¦ ¨· 5.Logistics µ¦ ¦·®µ¦ o µ µ¦ ´ Á È Â¨³ n 6.Installation µ¦ · ´ Ê 7.Commissioning µ¦ ° 8.Training µ¦ ¹ ° ¦¤ 9.Service µ¦Ä®o ¦· µ¦®¨´ µ¦ µ¥
Pellet mill Dryer
Extruder
Pulverizer
Mixer
Hammer mill
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
ปัจจุบันร้านรับข้าวโพดเข้าสู่ลานวันละ 40 - 50 ตัน ตลอดทั้งปีจะรับซื้อข้าวโพดประมาณ 5,000 ตัน ร้านรับซื้อข้าวโพดมาเป็นเวลาประมาณ 10 ปีแล้ว ในเขตพืน้ ทีน่ ี้ ไม่ทราบข่าวโครงการปลูกข้าวโพดหลังนา แต่มกี ารพูดถึงโครงการข้าวโพดแปลงใหญ่ อยู่บ้าง ปัญหาและอุปสรรคที่พบ • เกษตรกรมีความเข้าใจผิดในเรือ่ งของราคาซือ้ ข้าวโพด โดยเข้าใจว่าตนจะได้ราคา 8 บาท ตามที่ ได้ฟังประกาศมา • ในพืน้ ทีม่ ปี ญ ั หาน้ำท่วม ทำให้ตอ้ งเร่งเก็บเกีย่ วผลผลิตก่อนน้ำจะท่วม และสำหรับพืน้ ทีท่ นี่ ำ้ ท่วม แล้ว ต้องชะลอการเพาะปลูกเพื่อให้น้ำลด และดินแห้งพอที่จะปลูกอีกครั้ง
จังหวัดพิษณุโลก แหล่งข้อมูล : สกต.นครไทย จังหวัดพิษณุโลก คุณรัตนาพรรณ โทร.095 - 3494994 สภาพทั่วไป สภาพการเพาะปลูกในปีนี้ เกษตรกรปลูกข้าวโพดแล้ง น้อยลง และหันไปปลูกสับปะรดกันมากขึน้ เนือ่ งจากข้าวโพด ราคาไม่ดี ปกติพื้นที่นี้จะปลูกข้าวโพด 2 รอบ รอบที่ 1 ปลูก เดือน พ.ค. - มิ.ย. เก็บเกี่ยวช่วงเดือน ต.ค. - พ.ย. หลังจากนั้น จะปลูกข้าวโพดแล้งต่อ ในพื้นที่ใช้น้ำฝนและบ่อบาดาล เมล็ด พันธุ์ที่ใช้ ได้แก่ 888, NK, 5445 ส่วนพืชอื่นๆ ในพื้นที่ ได้แก่ ถั่วเขียว ข้าว สับปะรด ปัจจุบนั สกต. ทำโครงการส่งเสริมจากรัฐ โดยจะมี สกต. เป็นตัวกลางในการทำเอกสารเพือ่ การซือ้ - ขาย ผลผลิตในราคาที่โรงอาหารสัตว์รับซื้ออยู่ที่ 7.25 บาท (เมล็ดแห้ง ความชื้น 14.5%) ซึ่งหากเกษตรกร ขายตรงกับพ่อค้าคนกลาง ราคารับซื้อจะอยู่ที่ 5 บาท ข้าวโพดภายใต้โครงการนี้จะถูกส่งไปที่ CP ซึ่งเป็นหน่วยงานของเอกชนที่ร่วมโครงการเท่านั้น นอกจากนี้ ข้าวโพดทีข่ ายภายใต้โครงการจะได้รบั เงินสนับสนุนจาก ธกส. กิโลกรัมละ 0.15 บาท ขณะนี้ มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 300 ราย
57
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
จังหวัดเพชรบูรณ์ แหล่งข้อมูล : ร้านข้าวหอม (อ.เมือง) คุณสุภาภรณ์ แก้วลิลา โทร.081 - 7273104 สภาพทั่วไป จากการสำรวจพบว่าพื้นที่นี้ทำการปลูกข้าวโพดเป็นปีที่ 2 แล้ว โดยก่อนหน้านี้ปลูกข้าวเพียง อย่างเดียวเท่านั้น อย่างไรก็ตาม แนวโน้มในการ ปลูกข้าวโพดในปีนี้ลดลงกว่าปีที่ผ่านมา เนื่องจาก ราคารับซื้อไม่สูง และคุณภาพของผลผลิตที่ได้ไม่ดี เกษตรกรบางส่วนจึงหันไปปลูก ถัว่ เขียว และปอเทือง ซึ่งเป็นการลงทุนน้อยและได้กำไรมากกว่าการปลูก ข้าวโพด ผลผลิตที่ได้จากพื้นที่ 1.5 ตัน/ไร่ (เมล็ดสด ความชื้น 30%) น้ำทีใ่ ช้ในการเพาะปลูกเป็นน้ำจากบ่อบาดาล พืน้ ทีใ่ นการ เพาะปลูกโดยมากเป็นของเกษตรกรเองและพื้นที่เช่า โดยเป็น พื้นที่ที่มีเอกสารสิทธ์แล้วทั้งหมด ราคารับซื้ออยู่ที่ 3.50 บาท (ฝักสด ความชื้น 30%) ปัจจุบนั มีการเก็บเกีย่ วข้าวโพดแล้ว 30% เนือ่ งจากส่วนมากปลูก ในต้นเดือนมกราคม จึงยังไม่ครบกำหนดอายุ และคาดว่าจะเก็บเกีย่ วได้ทงั้ หมดหลังสงกรานต์ ค่าใช้จา่ ย รถเกี่ยวอยู่ที่ ตันละ 600 บาท หรือ ไร่ละ 700 บาท ปัญหาและอุปสรรคที่พบ • ช่วงนี้มีพายุเข้าทำให้มีลมแรงและส่งผลให้ต้นข้าวโพดล้มเสียหาย
จังหวัดเพชรบูรณ์ แหล่งข้อมูล : ร้านรุ่งศิริหงษ์ (อ.เมืองฯ) คุณศิริพร โทร.088 - 2862058 สภาพทั่วไป ในปีนี้ปลูกข้าวโพดนาน้อยลงจากปีก่อนเนื่องจากราคาไม่ดี และปริมาณน้ำจากเขื่อนที่มีการ เปลี่ยนแปลงการปล่อยน้ำจาก 4 รอบเป็น 2 รอบ ทำให้เกษตรกรบางส่วนต้องลงทุนสูงขึ้นเพื่อสูบน้ำ และเกษตรกรบางส่วนปล่อยพื้นที่ไว้ว่างเปล่า
58
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
ผลผลิตที่ได้ 1.7 - 1.8 ตัน/ไร่ (เมล็ดสด ความชื้น 30%) โดยราคารับซื้อสำหรับพื้นที่ที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์จะอยู่ที่ 5.10 บาท (เมล็ดสด ความชื้น 25%) ส่วนพื้นที่ที่มีเอกสารสิทธิ์ หรือ ขึ้นทะเบียนกับกระทรวงเกษตร (เล่มเขียว) จะรับซื้อที่ 5.30 - 5.50 บาท ซึง่ ราคาดังกล่าวเป็นราคาทีอ่ ยูภ่ ายใต้โครงการประชารัฐ โดยมีเบทาโกรหน่วยงานเอกชนที่ร่วมดูแลรับผิดชอบ นอกจากนีใ้ นพืน้ ทีย่ งั ปลูกมันสำปะหลัง ถัว่ เขียว และยาสูบ แต่จะไม่ปลูกข้าวเนื่องจากสภาพอากาศร้อนปลูกแล้วได้แต่ต้น ไม่ได้ผลผลิต เมล็ดพันธุท์ นี่ ยิ มใช้ ได้แก่ 339 ราคา 185 บาท/กิโลกรัม ทางร้านให้ความร่วมมือกับบริษทั เบทาโกร เพือ่ รวบรวมผลผลิต จากเกษตรกรทีเ่ ข้าร่วมโครงการประชารัฐ โดยมีเกษตรกรเข้าร่วม ในโครงการประมาณ 1,250 ราย ปัญหาและอุปสรรคที่พบ • เมล็ดเสีย แตก และขึ้นรา จากการสีและเก็บเกี่ยวโดยเครื่องจักร • ราคาไม่ดี • ต้องลงทุนเพิ่มในการสูบน้ำ เนื่องจากน้ำน้อย
จังหวัดเพชรบูรณ์ แหล่งข้อมูล : เกษตรกรอำเภอสะเดียง คุณเดช เมืองเกิด สภาพทั่วไป ปีนยี้ งั คงปลูกข้าวโพดนาจำนวน 8 ไร่ เท่าปีทผี่ า่ นมา ทีไ่ ร่ ใช้เมล็ดพันธุ์ 339 โดยหยอด 4 กิโลกรัม/ไร่ ผลผลิตทีไ่ ด้ประมาณ 2 ตัน/ไร่ (เมล็ดสด ความชื้น 25%) โดยปกติจะปลูกข้าวโพด สลับกับการปลูกข้าวปีละ 1 ครั้ง ปัจจุบนั ราคาขายข้าวโพดหาบละ 318 บาท คิดเป็นกิโลกรัมละ 5.30 บาท (เมล็ดสด ความชืน้ 25%) ซึ่งราคาต่ำจาก 2 ปีที่ผ่านมาที่ขายได้ถึงหาบละ 400 บาท หรือคิดเป็นกิโลกรัมละ 6.60 บาท จากการสำรวจพื้นที่นี้ พบว่ามีการเข้าร่วมโครงการประชารัฐแล้ว สรุปโดย นางสาวกรดา พูลพิเศษ สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย, 11 เมษายน 2560
59
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
การศึกษาการตกค้างของ amitraz และ tau-fluvalinate ในน้ำผึ้ง กับระยะเวลาหยุดใช้ในการกำจัดไรผึ้ง คนึงนิจ ก่อธรรมฤทธิ1์ , ศศิ เจริญพจน์1, ชัยโรจน์ โพธิ์เจริญ2 และวิภาดา สิริสมภพชัย3
บทคัดย่อ Amitraz และ tau - fluvalinate เป็นสารควบคุมและกำจัดแมลงศัตรูสตั ว์ ในกลุม่ amidine และ pyrethroid ทีม่ คี ณ ุ สมบัตสิ ามารถควบคุมและกำจัดไรผึง้ ได้ การศึกษาครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษา ปริมาณสารตกค้าง และระยะเวลาหยุดใช้ เพื่อให้ได้ข้อมูลการตกค้างของสาร 2 ชนิด คือ amitraz และ tau - fluvalinate ในน้ำผึ้ง ในช่วง 10 สัปดาห์หลังการหยุดใช้ และเปรียบเทียบประสิทธิภาพ amitraz กับ tau - fluvalinate ในการควบคุม กำจัดไรวารัวร์ และไรทรอปิลีแลปส์ในผึ้ง โดยทำการ ทดลองเลี้ยงผึ้งในภาคสนาม จำนวน 144 รัง แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มควบคุม ไม่ใช้ สารเคมี จำนวน 48 รัง กลุม่ ที่ 2 ใช้ amitraz (ปริมาณ 0.125 มก./แผ่น) จำนวน 48 รัง กลุม่ ที่ 3 ใช้ tau - fluvalinate (ปริมาณ 3.6 มก./แผ่น) จำนวน 48 รัง ทำการตรวจนับจำนวนไรผึง้ ทีต่ กลงมา ในแผ่นกระดาษสติ๊กเกอร์สีขาวที่รองพื้นด้านในรังผึ้งทุก 2 วัน เป็นเวลา 10 วัน จำนวน 5 ครั้ง ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยจากการตรวจนับจำนวนตัวไรวารัวร์ทั้ง 5 ครั้งในกลุ่มที่ 1, 2 และ 3 มีคา่ 11.17 ± 8.07, 8.80 ± 7.79, 71.93 ± 57.85 และค่าเฉลีย่ จากการตรวจนับจำนวนตัวไรทรอปิล-ี แลปส์ ทั้ง 5 ครั้งในกลุ่มที่ 1, 2 และ 3 มีค่า 20.50 ± 7.09, 40.73 ± 27.43 และ 69.97 ± 28.05 ตามลำดับ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการควบคุมกำจัดไรวารัวร์ ของ amitraz และ tau-fluvalinate พบว่า tau - fluvalinate มีประสิทธิภาพในการควบคุมกำจัดไรวารัวร์ดีกว่า amitraz อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) แต่ประสิทธิภาพของ amitraz ในการควบคุมกำจัดไรวารัวร์ พบว่าไม่มคี วามแตกต่างจากกลุม่ ควบคุม (p > 0.05) และยังพบว่า tau - fluvalinate มีประสิทธิภาพ ในการควบคุมกำจัดไรทรอปิลีแลปส์ได้ดีกว่า amitraz อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) และ ประสิทธิภาพของ amitraz ในการควบคุมกำจัดไรทรอปิลีแลปส์ พบว่าดีกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) กองควบคุมอาหารและยาสัตว์ กรมปศุสัตว์ สำนักงานปศุสัตว์เขต 5 กรมปศุสัตว์ 3 สำนักตรวจสอบคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์ 1
2
60
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
สำหรั บ ผลการตรวจสารตกค้ า งเมื่ อ เปรี ย บเที ย บปริ ม าณสารตกค้ า งทั้ ง amitraz และ tau - fluvalinate ในการกำจัดไรทีส่ ปั ดาห์ตา่ งๆ พบว่าสัปดาห์ที่ 0 แตกต่างจากสัปดาห์ที่ 2, 4, 6, 8 และสัปดาห์ที่ 10 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) โดยพบว่าตั้งแต่สัปดาห์ที่ 6 เป็นต้นไป ไม่พบสารตกค้างในน้ำผึง้ ทุกตัวอย่าง ดังนัน้ มาตรฐานฟาร์มผึง้ ทีใ่ ห้งดใช้สารเคมีกำจัดไรผึง้ 8 สัปดาห์ ก่อนเก็บน้ำผึง้ จึงเป็นระยะหยุดใช้ทเี่ พียงพอ ทัง้ นีส้ ปั ดาห์ที่ 0 พบปริมาณ amitraz สูงสุดในน้ำผึง้ ที่ 21 ไมโครกรัม/กิโลกรัม ซึ่งต่ำกว่าระดับสารตกค้างที่อนุญาตให้พบได้ (Maximum Residue Limit; MRL) ของสหภาพยุโรปซึ่งกำหนดไว้ที่ 200 ไมโครกรัม/กิโลกรัม ในขณะที่ประเทศไทยห้ามพบ และพบปริมาณ tau - fluvalinate สูงสุดในน้ำผึ้งที่ 15 ไมโครกรัม/กิโลกรัม ซึ่งสหภาพยุโรปอนุญาต ให้ใช้ได้โดยไม่จำเป็นต้องมีการกำหนดค่า MRL การศึกษาครั้งนี้สามารถใช้เป็นแนวทางในการ กำหนดมาตรฐานสารตกค้างที่อนุญาตให้มีได้ในน้ำผึ้ง และระยะเวลาหยุดใช้ของสารกำจัดไรผึ้ง เป็นรายชนิดในประเทศไทย คำสำคัญ: ประสิทธิภาพ amitraz tau - fluvalinate ไรผึ้ง
บทนำ น้ำผึง้ เป็นอาหารให้พลังงานซึง่ โบราณรับประทานอย่างมัน่ ใจ จัดเป็นยาอายุวฒ ั นะ เนือ่ งจากน้ำผึง้ จะได้จากการเก็บบนต้นไม้ในป่า ซึง่ ไม่เพียงพอต่อการบริโภค ต่อมาเริม่ มีเกษตรกรประดิษฐ์กล่อง และ รังผึ้ง แล้วนำผึ้งมาเลี้ยงเพื่อเป็นสัตว์เศรษฐกิจที่ทำรายได้อย่างดีให้แก่เกษตรกร เนื่องจากน้ำผึ้งซึ่งเป็น ผลผลิตที่ทั่วโลก ทุกชาติทุกภาษานิยมบริโภค ปัจจุบันการเลี้ยงผึ้งจัดทำในระบบฟาร์ม ซึ่งกรมปศุสัตว์ ได้มกี ารรับรองมาตรฐานฟาร์มผึง้ ไปแล้วจำนวน 271 ฟาร์ม มีจำนวนรังผึง้ 72,833 รัง ส่งออกน้ำผึง้ ในปี พ.ศ. 2558 จำนวน 12,053,198 กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่ามากกว่าหนึ่งพันล้านบาท (กรมปศุสัตว์, 2558) เนือ่ งจากผึง้ บินเคลือ่ นทีไ่ ปมา แม้วา่ จะตัวเล็กมาก แต่ผงึ้ ก็มศี ตั รูตวั เบียน คือ ไรผึง้ ซึง่ เกาะบนตัว จะดูดน้ำในตัวอ่อน (pupa) ของผึง้ ทำให้ตวั อ่อนตาย ไม่ลอกคราบเป็นตัวแก่ เป็นสาเหตุทำให้ผงึ้ อ่อนแอ เจ็บป่วย หรือตายในที่สุด หากไม่กำจัดไรผึ้งจะทำให้เกิดความสูญเสียผึ้งในที่สุด และเป็นอันตรายต่อ ระบบนิเวศน์ เพราะผึ้งช่วยผสมเกษร เป็นการขยายพันธุ์พืช ไรผึ้งเป็นสัตว์ขาข้อมีแปดขา จัดรวมอยู่ใน ชั้น อะแรคนิดา (Arachnida) เช่นเดียวกับแมงมุมและแมงป่อง ไรตัวเบียนจะดูดกินของเหลวภายใน ลำตัวผึ้ง การเลี้ยงผึ้งในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประสบปัญหาไรเกือบทุกแห่ง ประเทศไทยมีไร ตัวเบียนสำคัญคือ ไรวารัวร์ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Varroa destructor มีลักษณะแบนในแนวราบ ลำตัว มีความกว้างมากกว่าความยาว กว้างประมาณ 1.5 - 1.6 มิลลิเมตร สีนำ้ ตาลแดงสามารถมองเห็นได้ดว้ ย ตาเปล่า ไรชนิดนี้จะเกาะบนตัวผึ้งได้อย่างดี โดยปลายของแต่ละขาดัดแปลงเป็นแผ่นสำหรับดูดเกาะ ให้ติดแน่นกับลำตัวของผึ้งและขนลักษณะแข็งๆ ที่อยู่ทางด้านล่างของตัวไรจะช่วยป้องกันอันตราย และติดกับขนผึ้งได้ง่าย ปกติไรจะเกาะอยู่ตรงรอยต่อปล้องท้องปล้องแรก หรืออาจจะพบตรงปล้องต่อ
61
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
ระหว่างหัวกับอก หรือรอยต่อระหว่างอกกับท้องตรงจุดรอยต่อที่มันเกาะนี้ ทำให้ไรสามารถเจาะผ่าน เข้าไปดูดของเหลวภายในลำตัว หรือเลือดของผึ้งได้อย่างสะดวก ทำให้ผึ้งตายก่อนเจริญเติบโตเป็น ตัวเต็ม ไรที่สำคัญอีกชนิดหนึ่งมีชื่อว่า ไรทรอปิลีแลปส์ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tropilaelaps clareae ไรชนิดนี้มีสีน้ำตาลอ่อน มีรูปร่างและขนาดที่แตกต่างจากไรวารัวร์ โดยที่ไรทรอปิลีแลปส์มีขนาดตัว เล็กกว่าไรวารัวร์มาก มีวงจรชีวติ และมีวธิ กี ารเบียดเบียนผึง้ ทีค่ ล้ายคลึงกับไรวารัวร์แทบทุกประการ (พิชยั , 2545) จากข้อมูลการสำรวจไรผึ้งในประเทศไทย โดยทำการสุ่มเก็บตัวอย่างผึ้งทั่วประเทศ พบว่ามี ไรวารัวร์ ถึง 15.10% (58/384) ไรทรอปิลแี ลปส์ 10.67% (41/384) และการร่วมกันของไรทัง้ สองชนิด 2.34% (9/384) ซึ่งผู้วิจัยได้ให้ความเห็นว่า ควรมีการศึกษาถึงการใช้ยาในการกำจัดไร (มนทกานติ์ และวันทนีย์, 2546) อันตรายที่เกิดจากไรทั้งสองชนิด จะทำให้ผึ้งที่เกิดมาใหม่พิการ ช่องท้องสั้น ปีกสั้นลง ในผึ้งที่มีไรจำนวนน้อยจะมีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย เช่น ชีวิตสั้นลง พฤติกรรมเปลี่ยน และ อาจติดโรคทางไวรัส ได้แก่ acute paralysis virus (มนทกานติ์, 2555) จึงเป็นสิ่งสำคัญที่เกษตรกร ผู้เลี้ยงผึ้งจะต้องดำเนินการกำจัดไรผึ้ง amitraz และ tau - fluvalinate เป็นสารควบคุมและกำจัดแมลงศัตรูสัตว์ ในกลุ่ม amidine และ pyrethroid ที่มีคุณสมบัติสามารถกำจัดไรผึ้งได้ ซึ่งสหภาพยุโรปอนุญาตให้ใช้กับผึ้งได้ทั้ง 2 ชนิด โดย amitraz เป็นสารสังเคราะห์เพื่อใช้กำจัดปรสิตภายนอกตัวสัตว์ที่ใช้ได้ทั้งในโค แพะ แกะ ม้า สุนัข และ รวมถึงไรผึง้ tau - fluvalinate เป็นสารเคมีสงั เคราะห์กำจัดแมลง ควบคุมแมลงหลายชนิดอย่างกว้างขวาง ทัง้ แมลงศัตรูพชื เช่น ผีเสือ้ เพลีย้ อ่อน เพลีย้ ไฟ เพลีย้ จัก้ จัน่ แมลงหวีข่ าว แมลงมุม ไรบนธัญพืช เลฟซีด มันฝรั่ง และไรผึ้งที่มีผลต่อระบบประสาทของแมลง รบกวนการทำงานของนิวรอน (neurons) โดยมี ผลต่อการซึมผ่านของโซเดียมเข้าสูเ่ ซลล์กล้ามเนือ้ ในกระบวนการหลัง่ สารสือ่ ประสาท ทำให้เกิดอัมพาต ในแมลงอย่างรวดเร็ว สหภาพยุโรปได้กำหนดระดับสารตกค้างของ amitraz ทีอ่ นุญาตให้พบได้ (MRLs) ในน้ำผึง้ ไม่เกิน 200 ไมโครกรัม/กิโลกรัม ในขณะที่ไม่มีการกำหนดค่า MRL ให้กับสาร tau - fluvalinate เนื่องจาก มีความปลอดภัยสูง (No MRL required) ซึ่งสามารถใช้เป็นแนวทางเพื่อศึกษาการตกค้างของ amitraz และ tau - fluvalinate ในน้ำผึ้งกับระยะเวลาหยุดใช้ในการกำจัดไรผึ้งในประเทศไทย ตามตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ค่า MRLs ในน้ำผึ้งของ ectoparasiticides ชนิด amitraz และ tau - fluvalinate ชนิด pesticide ป้องกันไรผึ้ง 1. amitraz (Amidine) 2. tau - fluvalinate (Pyrethoid)
สหภาพยุโรปกำหนดค่า MRLs (Maximum residue limits) สารออกฤทธิ์ใช้ในผึ้ง สารตกค้างในน้ำผึ้ง amitraz 200 µg/kg tau - fluvalinate ไม่ต้องกำหนด
ที่มา : Commission Regulation (EU) No 37/2010 on pharmacological active substances and their classification regarding maximum residue limits in foodstuffs of animal origin. Official Journal of the European Communities.
62
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณสารตกค้าง และระยะเวลาหยุดใช้เพื่อทราบข้อมูล การตกค้างของสาร 2 ชนิด คือ amitraz และ tau - fluvalinate ในน้ำผึ้ง ในช่วง 10 สัปดาห์ หลัง การหยุดใช้ เนื่องจากมาตรฐานฟาร์มผึ้งของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ห้ามใช้สารเคมีทุกชนิดกับ รังผึ้งก่อนเก็บน้ำผึ้งเป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ (สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ, 2546) และประเทศไทยยังไม่มีการกำหนดระดับสารตกค้างที่อนุญาตให้พบได้ในน้ำผึ้งตาม พ.ร.บ. อาหาร พ.ศ. 2522 (ประกาศกระทรวงสาธารณสุข, 2554) และเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการ กำจัดไรผึ้ง 2 ชนิด เพื่อเป็นทางเลือกให้เกษตรกรในการใช้สารกำจัดไรผึ้งและเป็นแนวทางในการ พัฒนาระบบกำกับดูแลของภาครัฐเพื่อให้มีการใช้ผลิตภัณฑ์ควบคุมกำจัดไรผึ้งได้อย่างเหมาะสม เพื่อ ประโยชน์ต่อเกษตรกรและการคุ้มครองผู้บริโภคจากสารตกค้าง
อุปกรณ์และวิธีการ
ตัว
1. เตรียมรังเลี้ยงผึ้ง จำนวน 144 รัง ใน 1 รัง มี 8 คอน จำนวนผึ้งประมาณ 20,000 - 30,000
2. เตรียมสารเคมีกำจัดไรผึ้งจำนวน 2 รายการ คือ amitraz (0.125 มก./แผ่น) และ tau fluvalinate (3.6 มก./แผ่น) อย่างละจำนวน 48 แผ่น (strip) 3. เตรียมกระดาษสติ๊กเกอร์สีขาวขนาดเท่ากับความกว้างและยาวของรังเลี้ยงผึ้ง เพื่อวางลงบน พืน้ ด้านในรังผึง้ ทุกรัง จำนวน 720 แผ่น รองรับไรผึง้ ทีจ่ ะตกลงมาบนกระดาษสติก๊ เกอร์ โดยวางครัง้ ละ 144 แผ่น 4. เตรียมขวดเก็บน้ำผึ้ง จำนวน 144 ขวด 5. จัดทำหมายเลขประจำรังเลี้ยงผึ้ง จำนวน 144 รัง โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 กลุ่มควบคุม (ไม่ใช้สารเคมี) แบ่งเป็น 6 ชุดๆ ละ 8 รัง รวมเป็น 48 รัง กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ใช้สารเคมี amitraz (amitraz 0.125 มก./แผ่น) แบ่งเป็น 6 ชุดๆ ละ 8 รัง รวมเป็น 48 รัง กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ใช้สารเคมี tau - fluvalinate (tau - fluvalinate 3.6 มก./แผ่น) แบ่งเป็น 6 ชุดๆ ละ 8 รัง รวมเป็น 48 รัง 6. ดำเนินการเลี้ยงผึ้งที่อำเภอสอง จังหวัดแพร่ โดยวางรังผึ้งกลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 และกลุ่มที่ 3 ห่างกันกลุ่มละ ประมาณ 5 กิโลเมตร เพื่อให้ผึ้งอยู่ประจำรังและกลุ่ม (ป้องกันมิให้ผึ้งย้ายรัง หรือ กลุ่มจาก 1 มาอยู่กลุ่มที่ 2 หรือ 3) 7. วางกระดาษสติ๊กเกอร์สีขาวขนาดเท่ากับความกว้างและยาวของรังเลี้ยงผึ้ง ลงบนพื้นด้านใน รังผึ้งกลุ่มที่ 1 - 3 ทุกรัง รวมจำนวน 144 แผ่น รองรับไรผึ้งที่จะตกลงมาบนกระดาษสติ๊กเกอร์ และ เปลี่ยนกระดาษสติ๊กเกอร์สีขาว จำนวน 5 ครั้ง ดังนี้
63
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
7.1 วางกระดาษสติ๊กเกอร์สีขาวครั้งแรกในรังผึ้งกลุ่มที่ 1- 3 ทุกรัง จำนวน 144 แผ่น วันที่ 0 นับเป็นครั้งที่ 1 จากนั้นวันที่ 2 นำกระดาษสติ๊กเกอร์สีขาวออกมานับจำนวนไรผึ้งที่ตกลงมาติดบน กระดาษสติ๊กเกอร์นั้น 7.2 เปลี่ยนกระดาษสติ๊กเกอร์สีขาวลงบนพื้นด้านในรังผึ้งกลุ่มที่ 1 - 3 ทุกรัง จำนวน 144 แผ่น รองรับไรผึ้งที่จะตกลงมาบนกระดาษสติ๊กเกอร์ วันที่ 2 นับเป็นครั้งที่ 2 ดำเนินการเช่นนี้วันที่ 4 นับเป็นครั้งที่ 3 วันที่ 6 นับเป็นครั้งที่ 4 และวันที่ 8 นับเป็นครั้งที่ 5 กระดาษสติ๊กเกอร์สีขาวที่ นำออกมาทุกครั้ง จะนำมานับจำนวนไรผึ้งที่ตกลงมาติดบนกระดาษสติ๊กเกอร์ ตามลำดับ 8. วาง strip สารเคมีกำจัดไรผึ้งของ amitraz และ tau - fluvalinate ไว้ในรังผึ้งกลุ่ม 2 และกลุ่ม 3 โดยวันที่วาง strip สารเคมีกำจัดไรผึ้ง พร้อมวันที่วางสติ๊กเกอร์แผ่นแรกนับเป็นวันที่ 0 นำ strip สารเคมีกำจัดไรผึ้งออกจากรังผึ้งในวันที่ 8 9. รวบรวมผลการนับจำนวนไรผึ้งชนิดไรวารัวร์ และไรทรอปิลีแลปส์ บนกระดาษสติ๊กเกอร์ ที่มีการเปลี่ยนจำนวน 5 ครั้งๆ ละ 144 แผ่น รวมเท่ากับ 720 แผ่น 10. เปรียบเทียบประสิทธิภาพของ amitraz และ tau - fluvalinate ในการกำจัดไรผึ้งชนิดไรวารัวร์ และไรทรอปิลีแลปส์ โดยการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย Analysis of Variance และวิเคราะห์ความ แตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วยวิธี Duncan’s Multiple RangeTest 11. เก็บน้ำผึง้ เพือ่ ตรวจวิเคราะห์สารตกค้าง amitraz และ tau - fluvalinate โดยใช้ syringe ดูดน้ำผึง้ หรือใช้ช้อนขนาดช้อนโต๊ะ กดรังผึ้งจากคอน จำนวน 10 ซีซี ใส่ขวดแก้วปิดฝาและปิดเทปกาวกันซึม จากทัง้ 3 กลุม่ ทีร่ ะยะหยุดใช้สารเคมีสปั ดาห์ที่ 0 2 4 6 8 และ 10 จำนวน 6 ครัง้ ทุกครัง้ จะเก็บกลุม่ ละ 8 รัง ดังนี้ 11.1 สัปดาห์ที่ 0 คือวันที่นำ strip สารเคมีกำจัดไรผึ้งออกจากรังผึ้ง และทำการเก็บน้ำผึ้ง จาก 3 กลุ่มๆ ละ 8 รัง รวม 24 รัง 11.2 สัปดาห์ที่ 2 4 6 8 และ 10 โดยนับจากวันที่นำ strip สารเคมีกำจัดไรผึ้งออกจากรังผึ้ง ไปเป็นระยะเวลา 2 4 6 8 และ 10 สัปดาห์ ตามลำดับ โดยเก็บน้ำผึ้ง จาก 3 กลุ่มๆ ละ 8 รัง ครั้งละ 24 รัง รวม 5 ครั้ง เท่ากับ 120 รัง 12. สกัด และวิเคราะห์สารตกค้าง amitraz ในน้ำผึง้ ของกลุม่ ที่ 2 ด้วยเทคนิค GC-MS/MS (สราวุธ และวิภาดา, 2558) โดยมีกระบวนการตามแผนผัง ดังนี้
64
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
ชั่งตัวอย่างน้ำผึ้งน้ำหนัก 5 กรัม ใส่หลอดปั่นเหวี่ยง ขนาด 50 มิลลิลิตร
เติมสารละลายกรดไฮโดรคลอริกความเข้มข้น 1 M ปริมาตร 20 มิลลิลิตร
อุ่นอ่างน้ำร้อนที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส นาน 1 ชั่วโมง พร้อมทั้งเขย่าตลอดเวลา
ทำให้เย็นในอ่างน้ำเย็นที่อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส นาน 5 นาที
ปรับเป็น pH 11 - 12 ด้วยสารละลายด่างโซเดียมไฮดรอกไซด์ 10 M
อุ่นในอ่างน้ำร้อนที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส นาน 1 ชั่วโมงพร้อมทั้งเขย่าตลอดเวลา
ทำให้เย็นในอ่างน้ำเย็นที่อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส นาน 5 นาที
เติมสารโซเดียมคลอไรด์ 4 กรัม และเติมสารตัวทำละลายอินทรีย์ชนิดเฮกเซน ปริมาตร 20 มิลลิลิตร
ปั่นเหวี่ยงที่ 2350 g นาน 5 นาที และเก็บสารละลายใสชั้นบน
เติมสารตัวทำละลายอินทรีย์ชนิดเฮกเซน ปริมาตร 20 มิลลิลิตร ปั่นเหวี่ยงที่ 2350 g นาน 5 นาที
เก็บสารละลายใสชั้นบนรวมกัน แล้วระเหยเหลือปริมาตร 2 มิลลิลิตร
ตรวจวิเคราะห์ด้วยเครื่อง GC-MS/MS
13. สกัด และวิเคราะห์สารตกค้าง tau - fluvalinate ในน้ำผึง้ ของกลุม่ ที่ 3 ด้วยเทคนิค GC-MS/MS ซึ่งเป็นวิธีที่ปรับปรุงมาจากของ Zhen และคณะ (2006) โดยมีกระบวนการตามแผนผัง ดังนี้ ชั่งตัวอย่างน้ำผึ้งน้ำหนัก 5 กรัม ใส่หลอดปั่นเหวี่ยง ขนาด 50 มิลลิลิตร
เติมน้ำ 15 มิลลิลิตร โซเดียมซัลเฟต 4 กรัม โซเดียมคลอไรด์ 1 กรัม และทำละลายอินทรีย์ชนิด
อะซีโตไนไตรล์ 15 มิลลิลิตร เขย่าผสมให้เข้ากัน
ปั่นเหวี่ยงที่ความเร็ว 2,500 รอบต่อนาที นาน 5 นาที
นำสารชั้นบน 12 มิลลิลิตร ไประเหยเหลือประมาณ 1 มิลลิลิตร
เติมสารสกัดได้ลงในคอลัมน์ฟลอริซิล
ชะสารในคอลัมน์ด้วยตัวทำละลายอินทรีย์ชนิดเอทิลอะซีเตทกับเฮกเซน (1:1) 20 มิลลิลิตร
ระเหยสารที่ชะได้ และปรับปริมาตรด้วยตัวทำละลายชนิดไอโซออกเทน
ตรวจวิเคราะห์ด้วยเครื่อง GC - MS/MS
65
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
14. เปรียบเทียบปริมาณสารตกค้างของ amitraz และ tau - fluvaliante ในน้ำผึง้ หลังหยุดใช้ 0 - 10 สัปดาห์
ผล ตารางที่ 1 เปรียบเทียบประสิทธิภาพของ amitraz และ tau - fluvalinate ในการกำจัดไรผึ้งชนิดไรวารัวร์ กลุ่ม ควบคุม amitraz tau - fluvalinate
ครั้งที่ 1 15.17 ± 11.60a 4.33 ± 2.16a 156 ± 69.47b
จำนวนไรวารัวร์ที่ตรวจนับ (ตัว) mean ± SE ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 ครั้งที่ 5 รวมเฉลี่ย a a a a 12.83 ± 7.36 7.17 ± 5.04 11.33 ± 8.57 9.33 ± 6.65 11.17 ± 8.07a 5.00 ± 1.26a 22.83 ± 6.27a 6.33 ± 2.42a 5.50 ± 1.52a 8.80 ± 7.79a 65.00 ± 35.68b 56.67 ± 36.46b 49.17 ± 20.39b 32.83 ± 17.14b 71.93 ± 57.85b
อักษรที่แตกต่างกันใน column เดียวกันมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05)
ab
จากตารางที่ 1 เปรียบเทียบประสิทธิภาพของ amitraz และ tau - fluvalinate ในการกำจัดไรผึ้ง ชนิดไรวารัวร์ พบว่า tau - fluvalinate มีประสิทธิภาพในการกำจัดไรวารัวร์ดกี ว่า amitraz อย่างมีนยั สำคัญ ทางสถิติ (p < 0.05) แต่ประสิทธิภาพของ amitraz ในการกำจัดไรวารัวร์ พบว่าไม่มคี วามแตกต่างจากกลุม่ ควบคุม (p > 0.05)
ตารางที่ 2 เปรียบเทียบประสิทธิภาพของ amitraz และ tau - fluvalinate ในการกำจัดไรผึ้งชนิดไรทอปิลีแลปส์ จำนวนไรทรอปิลีแลปส์ที่ตรวจนับ (ตัว) mean ± SE ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 ครั้งที่ 5 รวมเฉลี่ย ควบคุม 21.67 ± 8.89a 26.67 ± 6.94a 18.33 ± 3.67a 17.00 ± 7.04a 18.83 ± 6.21a 20.50 ± 7.19a amitraz 57.16 ± 40.47b 43.66 ± 27.24a 49.50 ± 18.78b 18.50 ± 12.19a 35.33 ± 20.80ab 40.73 ± 27.43b tau - fluvalinate 87.50 ± 27.24b 88.00 ± 33.02b 77.33 ± 13.38c 54.17 ± 21.62b 42.83 ± 8.82b 69.97 ± 28.05c กลุ่ม
abc
อักษรที่แตกต่างกันใน column เดียวกันมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05)
จากตารางที่ 2 เปรียบเทียบประสิทธิภาพของ amitraz และ tau - fluvalinate ในการกำจัดไรผึ้ง ชนิดไรทรอปิลแี ลปส์พบว่า tau - fluvalinate มีประสิทธิภาพในการกำจัดไรทรอปิลแี ลปส์ได้ดกี ว่า amitraz อย่างมีนยั สำคัญทางสถิติ (p < 0.05) และประสิทธิภาพของ amitraz ในการควบคุมกำจัดไรทรอปิลแี ลปส์ พบว่าดีกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05)
66
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
ตารางที่ 3 เปรียบเทียบปริมาณสารตกค้างของ amitraz และ tau-fluvaliante ในน้ำผึ้งหลังหยุดใช้ 0-10 สัปดาห์ ปริมาณของสารตกค้าง (ไมโครกรัม/กิโลกรัม) หลังจากหยุดใช้ กลุ่มควบคุม กลุ่มทดลอง สารเคมีสัปดาห์ที่ amitraz tau - fluvalinate กลุ่มใช้ amitraz กลุ่มใช้ tau - fluvalinate 0.0062 ± 0.0044a สัปดาห์ที่ 0 ND ND 0.0162 ± 0.0029a สัปดาห์ที่ 2 ND ND 0.0091 ± 0.0038b 0.0025 ± 0.0027b สัปดาห์ที่ 4 ND ND 0.0085 ± 0.0093b 0.0039 ± 0.0024b สัปดาห์ที่ 6 ND ND ND ND สัปดาห์ที่ 8 ND ND ND ND สัปดาห์ที่ 10 ND ND ND ND ab
อักษรที่แตกต่างกันใน column เดียวกันมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) ND = not detect
เมื่อเปรียบเทียบปริมาณสารตกค้างทั้ง amitraz และ tau - fluvalinate เพื่อกำจัดไรหลังหยุดใช้ ที่สัปดาห์ 0 - 10 ของกลุ่มทดลองในตารางที่ 3 พบว่าสัปดาห์ที่ 0 แตกต่างจากสัปดาห์ที่ 2, 4, 6, 8 และ 10 อย่างมีนยั สำคัญทางสถิติ (p < 0.05) โดยพบว่าตัง้ แต่สปั ดาห์ที่ 6 เป็นต้นไป ไม่พบสารตกค้าง ในน้ำผึ้งทุกตัวอย่าง โดยในสัปดาห์ที่ 0, 2, 4 ที่ตรวจพบสารตกค้างนั้น ปริมาณสารตกค้างในกลุ่มที่ใช้ tau - fluvalinate มีปริมาณสารตกค้างต่ำกว่ากลุ่มที่ใช้ amitraz โดยกลุ่มควบคุมที่ไม่ได้ใช้สาร ไม่พบ สารตกค้างทั้ง 2 ชนิด อีกทั้งพบว่าในกลุ่มทดลองหลังจากระยะงดใช้ทันที คือ สัปดาห์ที่ 0 พบปริมาณ amitraz สูงสุดในน้ำผึ้งที่ 21 ไมโครกรัม/กิโลกรัม ซึ่งต่ำกว่าค่า MRLs 200 ไมโครกรัม/กิโลกรัม ซึง่ สหภาพยุโรปอนุญาตให้มไี ด้ และพบปริมาณ tau - fluvalinate สูงสุดในน้ำผึง้ ที่ 15 ไมโครกรัม/กิโลกรัม แต่สหภาพยุโรปอนุญาตให้ใช้ได้โดยไม่กำหนดค่า MRLs ตามภาคผนวก ตารางที่ 1
วิจารณ์ เมื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการใช้ amitraz และการใช้ tau - fluvalinate ในการควบคุมกำจัด ไรวารัวร์ กับการควบคุมกำจัดไรทรอปิลีแลปส์ พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ (p < 0.05) โดย tau - fluvalinate มีประสิทธิภาพในการกำจัดไรผึ้งมากกว่า amitraz (p < 0.05) และมี ความปลอดภัยจากสารตกค้างมากกว่า จากการที่สหภาพยุโรปอนุญาตให้ตรวจพบ tau - fluvalinate ได้ โดยไม่ต้องกำหนดระดับปริมาณสารตกค้างที่ห้ามพบเกินค่ามาตรฐาน (No MRL required) แต่ได้มี การกำหนดระดับสารตกค้าง amitraz ให้พบในน้ำผึ้งได้ไม่เกิน 200 ug/kg ทั้งนี้มาตรฐานอาหารที่มี สารพิษตกค้าง ตาม พ.ร.บ. อาหาร พ.ศ. 2522 ของประเทศไทยยังไม่อนุญาตให้มีสารตกค้างทั้ง 2 ชนิดดังกล่าวในน้ำผึ้ง และมาตรฐานฟาร์มผึ้งของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ห้ามใช้สารเคมีทุกชนิด กับรังผึ้งก่อนเก็บน้ำผึ้งเป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ การใช้สารเคมีดังกล่าวเพื่อการควบคุมกำจัดไรผึ้งใน ประเทศไทยจำเป็นต้องมีระยะหยุดใช้ให้สอดคล้องและพบสารตกค้างไม่เกินมาตรฐานของประเทศไทย ด้วย อย่างไรก็ตาม มีขอ้ สังเกตทีพ่ บในการศึกษาว่าแม้มกี ารให้ amitraz และ tau - fluvalinate ติดต่อกัน
67
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
9 วัน ยังพบไรผึ้งทั้ง 2 ชนิด ภายในรังผึ้งที่ตกลงมาจากตัวผึ้ง ไรผึ้งดังกล่าวสามารถติดมาจากแหล่ง อาหารและตัวผึ้งด้วยกันเอง ซึ่งผึ้งต้องออกหาอาหารทุกวัน ในขณะที่ข้อมูลจากการศึกษาในสัปดาห์ที่ 0 พบปริมาณ amitraz และ tau - fluvalinate สูงสุดในน้ำผึ้งที่ 21 ไมโครกรัม/กิโลกรัม และ 15 ไมโครกรัม/กิโลกรัม ตามลำดับ ในขณะที่สหภาพยุโรปซึ่งมีมาตรฐานความปลอดภัยในการคุ้มครอง ผู้บริโภคในระดับสูงซึ่งประเทศไทยส่งน้ำผึ้งไปจำหน่ายอนุญาตให้พบ amitraz ในน้ำผึ้งได้ 200 ไมโครกรัม/กิโลกรัม และไม่ต้องกำหนดค่า MRLs สำหรับ tau - fluvalinate หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึง ควรพิจารณากำหนดมาตรฐานตามความจำเป็นในการควบคุมการใช้สารเป็นรายชนิด ประกอบการ ทบทวนการกำหนดระดับสารตกค้างที่อนุญาตให้มีได้ในน้ำผึ้ง โดยพิจารณากำหนดระยะหยุดใช้ของ สารควบคุมกำจัดไรผึ้งดังกล่าวตามประเภทของผลิตภัณฑ์ที่อนุญาตให้ใช้เพื่อควบคุมปัญหาจากไรผึ้ง ซึ่งอาจมีความรุนแรงมากขึ้นในอนาคต เนื่องจากถ้ามีไรผึ้งมากจะทำให้ผึ้งอ่อนแอและอาจจะตายยกรัง ได้ เพื่อเป็นทางเลือกให้เกษตรกรสามารถใช้สารควบคุมไรผึ้งได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย ไม่ลักลอบ ใช้สารที่ไม่ได้รับอนุญาต การศึกษาครั้งนี้ เป็นการทดลองภาคสนามเหมือนการเลี้ยงจริงของเกษตรกร ไม่สามารถควบคุมจำนวนไรผึ้งที่จะติดเพิ่มจากในสิ่งแวดล้อมได้ แตกต่างจากการทดลองในห้อง หรือ บ้านซึ่งสามารถควบคุมจำนวนไรผึ้งได้อย่างเข้มงวด ซึ่งจากการศึกษาในครั้งนี้ จะเป็นแนวทางในการ แนะนำให้เกษตรกรเลือกใช้สารเคมีในการควบคุมกำจัดไรผึ้ง แต่อย่างไรก็ตาม ในการพิจารณาเลือกใช้ สารเคมีในการควบคุมกำจัดไรผึ้ง ถ้าใช้ซ้ำบ่อยๆ ควรคำนึงถึงการดื้อสารเคมีด้วย อย่างไรก็ตาม ผึ้งที่ ออกหากินมักจะได้รับไรผึ้งติดมาด้วยเสมอ ดังนั้นควรกำจัด หมั่นสังเกตอยู่สม่ำเสมอ หากพบการ ระบาดให้รีบกำจัดอย่างถูกวิธี นอกจากนั้นยังมีวิธีการกำจัดไรผึ้งโดยใช้วิธีกล เช่น การใช้ความร้อน นักวิทยาศาสตร์ญี่ปุ่นและนักวิทยาศาสตร์รัสเซีย ได้พยายามแสดงให้เห็นว่าการพ่นควันร้อนเข้าไป ในรังผึง้ สามารถทำให้ประชากรไรผึง้ จำนวนหนึง่ ออกมาจากรังผึง้ ได้ นักวิทยาศาสตร์ญปี่ นุ่ ได้จดสิทธิบตั ร เกี่ยวกับเครื่องมือดังกล่าว โดยที่ผึ้งตัวเต็มวัยจะต้องเข้าไปอยู่ในเครื่องพ่นลมร้อนประมาณ 41 องศา เซลเซียส และอยู่นานเป็นเวลา 5 นาที และในประเทศรัสเซียได้มีผู้พยายามนำเอาผึ้งมาเก็บไว้ในห้อง ทีเ่ ป็นฉนวนอุณหภูมิ 46 - 48 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10 นาที ปรากฏว่าจำนวนไรทีห่ ล่นลงมานัน้ มีมาก ถึง 90 - 95% (Guerra JCV et al. 1982) แต่ประเทศไทย ไม่พบว่ามีการพ่นควันร้อนเข้าไปในรังผึ้ง สำหรับผู้ต้องการเลี้ยงผึ้งอินทรีย์ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ ได้อนุญาตให้ใช้ สารเคมีได้ เช่น กรดฟอร์มิก กรดแลกติก กรดแอซีติก กรดออกซาลิก เมนทอล ไทมอลยูคาลิปตัส และการบูร ควบคุมไรผึ้งได้ (สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ, 2551) และ (M.Rashid และคณะ, 2012) ทดลองที่ประเทศปากีสถาน พบว่าการใช้ oxalic acid ที่ความ เข้มข้น 3.2% สามารถทำให้ไรผึ้งตายได้มากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับการใช้ที่ระดับ 4.2% และ 2.1% นอกจากนี้ ในพืน้ ทีก่ ารเลีย้ งยังพบว่ามีทางเลือกกำจัดไรผึง้ อีกหลายวิธี เช่น การใช้สมุนไพรสะเดา สาบเสือ ตะไคร้หอม ยาฉุน
68
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
สรุป การศึกษาครั้งนี้พบว่า การกำหนดระยะหยุดใช้สำหรับสารเคมีทุกชนิดกับรังผึ้งก่อนเก็บน้ำผึ้ง เป็นเวลา 8 สัปดาห์ ตามมาตรฐานฟาร์มผึ้งของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นระยะเวลาหยุดใช้ ที่นานเพียงพอและไม่พบสารตกค้างในน้ำผึ้ง สอดคล้องกับมาตรฐานสารตกค้างของประเทศไทย ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขที่ห้ามพบสารตกค้าง โดยพบว่าหลังจากระยะหยุดใช้ amitraz และ tau - fluvalinate ทั้ง 2 ชนิด ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 6 เป็นต้นไป ไม่พบสารตกค้างในน้ำผึ้งทุกตัวอย่าง อีกทั้งพบว่าหลังจากระยะงดใช้ทันที คือ สัปดาห์ที่ 0 พบปริมาณ amitraz สูงสุดในน้ำผึ้งที่ 21 ไมโครกรัม/กิโลกรัม ซึ่งต่ำกว่าค่า MRLs 200 ไมโครกรัม/กิโลกรัม ซึ่งสหภาพยุโรปอนุญาต ให้มีได้ และพบปริมาณ tau - fluvalinate สูงสุดในน้ำผึ้งที่ 15 ไมโครกรัม/กิโลกรัม ซึ่งสหภาพยุโรป อนุญาตให้มสี ารตกค้างได้โดยไม่จำเป็นต้องมีการกำหนดค่า MRLs ซึง่ หน่วยงานภาครัฐของประเทศไทย สามารถใช้เป็นแนวทางในการกำหนดระดับสารตกค้างและระยะเวลาหยุดใช้ซึ่งควรระบุเป็นรายชนิด โดยอ้างอิงแนวทางของสหภาพยุโรปได้ การศึกษาครั้งนี้ ยังแสดงให้เกษตรกรเห็นว่า ห้องปฏิบัติการ สามารถตรวจสอบสารตกค้างในน้ำผึ้งได้ ทั้งนี้จากการตรวจนับไรผึ้งชนิดไรวารัวร์ และไรทรอปิลีแลปส์ เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมแล้ว พบว่า tau - fluvalinate มีประสิทธิภาพในการกำจัดไรผึ้ง ทั้ ง 2 ชนิ ด คื อ ไรวารั ว ส์ และไรทรอปิ ลี แ ลปส์ ได้ ดี ก ว่ า amitraz อย่ า งมี นั ย สำคั ญ ทางสถิ ติ โดยประสิทธิภาพของ amitraz ในการกำจัดไรวารัวร์ พบว่าไม่มีความแตกต่างจากกลุ่มควบคุม และ ประสิทธิภาพของ amitraz ในการควบคุมกำจัดไรทรอปิลีแลปส์ พบว่าดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งข้อมูลนี้เป็นประโยชน์ในการให้คำแนะนำเกษตรกรให้สามารถใช้ผลิตภัณฑ์ ในการควบคุมกำจัดไรผึ้งได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นแนวทางสำหรับการพัฒนาระบบกำกับดูแล การใช้และการควบคุมปริมาณสารตกค้างของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กิตติกรรมประกาศ นักวิจยั ขอขอบคุณ เจ้าหน้าทีจ่ ากส่วนมาตรฐานการปศุสตั ว์ สำนักงานปศุสตั ว์เขต 5 และสำนักงาน ปศุสัตว์จังหวัดแพร่ สถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ นางสาวอรสุรี ชโลธร, นางสาวขวัญตา ดำสว่าง, นางสาววันสิริ ไม้เขียว, นางสาวพอใจ รัตนปนัดดา และนางสาวพัชรจราวรรณ สุขเทียบ ที่ช่วยรวบรวมและเก็บข้อมูล
69
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
เอกสารอ้างอิง สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์. 2558. รายงานประจำปี ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องอาหารที่มีสารพิษตกค้าง. 2554 ประกาศ ณ วันที่ 14 เมษายน 2554. ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 128 ตอนพิเศษ 59 ง ราชกิจจานุเบกษา 26 พฤษภาคม 2554 พิชัย คงพิทักษ์. 2545. การเลี้ยงผึ้งพันธุ์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่, ประเทศไทย, 44 น. มนทกานติ์ วงศ์ภากร. 2555. โรคปรสิตในผึ้ง. จดหมายข่าวสถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ. ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน ธันวาคม. 4 น. มนทกานติ์ วงศ์ภากร และวันทนีย์ เนรมิตมานสุข. 2546. การสำรวจเชื้อปาราสิตของผึ้งในประเทศไทย. สัตวแพทยสาร. 54(3):19 - 27. สราวุธ ชูกระชั้น และวิภาดา สิริสมภพชัย. 2558. การพัฒนาและพิสูจน์ความใช้ได้วิธีวิเคราะห์ผลรวมสาร amitraz ในน้ำผึ้งด้วย GC-MS/MS. การประชุมวิชาการปศุสัตว์แห่งชาติ ประจำปี 2558. หน้า 120 - 136 สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์. 2550. เอกสารการฝึกอบรม เรื่องการปฏิบัติตาม พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 ในส่วนที่กรมปศุสัตว์รับผิดชอบ. วันที่ 2 - 4 พฤษภาคม 2550. สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. 2546 มาตรฐานสินค้าเกษตร. มกษ. 8200 - 2546. การปฏิบัติ ทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มผึ้ง. พ.ศ. 2546 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 120 ตอนพิเศษ 145 ง ราชกิจจานุเบกษา 19 ธันวาคม 2546 สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. 2551. เรื่องกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร: ผึ้งอินทรีย์ ประกาศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 130 ตอนพิเศษ 169 ง ราชกิจจานุเบกษา 29 พฤศจิกายน 2556 Commission Regulation (EU) No 37/2010 on pharmacological active substances and their classification regarding maximum residue limits in foodstuffs of animal origin.Official Journal of the European Communities. 2009 Guerra JCV., Gonçalves LS., Jong DD., 2000. Africanized honey bees (ApismelliferaL.) are more efficient at removing worker brood artificially infested with the parasitic mite Varroajacobsoni Oudemansthan are Italian bees or Italian/Africanized hybrids. Genetics and Molecular Biology, 23(1): 89-92. M. Rashid, E. S. Wagchoure, A. U. Mohsin*, S. Raja and G. Sarwar. 2012. Control of ectoparasitic mite Varroa destructor in honey bee (Apismellifera L.) colonies by using different concentrations of oxalic acid. The Journal of Animal & Plant Sciences, 22(1): 72-76. Zhen J., Zhuguang L., Meiyu C., Yu M., Jun T., Yulan F., Jiachen W., Zhaobin C., Fengzhang T. 2006. Determination of Multiple Pesticide Residues in Honey Using Gas Chromatography-Electron Impact Ionization-Mass Spectrometry. Chinese Journal of Chromatography, 24(5): 440-446.
70
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
ภาคผนวก
(ตารางที่ 1 และตารางที่ 2)
ตารางที่ 1 ผลการตรวจปริมาณ tau - fluvalinate และ amitraz ในน้ำผึ้งหลังระยะหยุดใช้ tau - fluvalinate และ amitraz เป็นเวลา 0 - 10 สัปดาห์ ระยะเวลา หยุดใช้ สัปดาห์ที่ 0
สัปดาห์ที่ 2
สัปดาห์ที่ 4
สัปดาห์ที่ 6
กลุ่มควบคุม ตัวอย่างน้ำผึ้ง หมายเลข ผลวิเคราะห์ ผลวิเคราะห์ หมายเลข ผลวิเคราะห์ หมายเลข ตัวอย่าง tau-fluvalonate amitraz ตัวอย่าง tau - fluvalinate ตัวอย่าง Control (mg/kg) (mg/kg) tau - fluvalinate (mg/kg) amitraz C 1 - 1 ND ND TF 3 - 5 0.015 TC 3 - 5 C 1 - 2 ND ND TF 3 - 6 0.010 TC 3 - 6 C 1 - 3 ND ND TF 3 - 7 < 0.005 TC 3 - 7 C 1 - 4 ND ND TF 3 - 8 < 0.005 TC 3 - 8 C 1 - 5 ND ND TF 6 - 5 < 0.005 TC 6 - 5 C 1 - 6 ND ND TF 6 - 6 < 0.005 TC 6 - 6 C 1 - 7 ND ND TF 6 - 7 < 0.005 TC 6 - 7 C 1 - 8 ND ND TF 6 - 8 ND TC 6 - 8 C 2 - 1 ND ND TF 3 - 1 ND TC 3 - 1 C 2 - 2 ND ND TF 3 - 2 < 0.005 TC 3 - 2 C 2 - 3 ND ND TF 3 - 3 < 0.005 TC 3 - 3 C 2 - 4 ND ND TF 3 - 4 < 0.005 TC 3 - 4 C 2 - 5 ND ND TF 6 - 1 ND TC 6 - 1 C 2 - 6 ND ND TF 6 - 2 ND TC 6 - 2 C 2 - 7 ND ND TF 6 - 3 < 0.005 TC 6 - 3 C 2 - 8 ND ND TF 6 - 4 ND TC 6 - 4 C 3 - 1 ND ND TF 2 - 5 < 0.005 TC 2 - 5 C 3 - 2 ND ND TF 2 - 6 < 0.005 TC 2 - 6 C 3 - 3 ND < 0.005 TF 2 - 7 < 0.005 TC 2 - 7 C 3 - 4 ND < 0.005 TF 2 - 8 < 0.005 TC 2 - 8 C 3 - 5 ND ND TF 5 - 5 < 0.005 TC 5 - 5 C 3 - 6 ND ND TF 5 - 6 ND TC 5 - 6 C 3 - 7 ND ND TF 5 - 7 ND TC 5 - 7 C 3 - 8 ND ND TF 5 - 8 0.006 TC 5 - 8 C 4 - 1 ND ND TF 2 - 1 ND TC 2 - 1 C 4 - 2 ND ND TF 2 - 2 ND TC 2 - 2 C 4 - 3 ND ND TF 2 - 3 ND TC 2 - 3 C 4 - 4 ND ND TF 2 - 4 ND TC 2 - 4 C 4 - 5 ND ND TF 5 - 1 ND TC 5 - 1 C 4 - 6 ND ND TF 5 - 2 ND TC 5 - 2 C 4 - 7 ND ND TF 5 - 3 ND TC 5 - 3 C 4 - 8 ND ND TF 5 - 4 ND TC 5 - 4
ผลวิเคราะห์ amitraz (mg/kg) 0.013 0.021 0.016 0.013 0.019 0.016 0.014 0.018 < 0.010 < 0.010 < 0.010 ND 0.013 0.01 < 0.010 0.01 < 0.010 ND ND < 0.010 ND < 0.010 < 0.010 0.028 ND ND ND ND ND ND ND ND >>>
71
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
<<<
กลุ่มควบคุม ตัวอย่างน้ำผึ้ง หมายเลข ผลวิเคราะห์ ผลวิเคราะห์ หมายเลข ผลวิเคราะห์ หมายเลข ตัวอย่าง tau-fluvalonate amitraz ตัวอย่าง tau - fluvalinate ตัวอย่าง Control (mg/kg) (mg/kg) tau - fluvalinate (mg/kg) amitraz สัปดาห์ที่ 8 C 5 - 1 ND ND TF 1 - 5 ND TC 1 - 5 C 5 - 2 ND ND TF 1 - 6 ND TC 1 - 6 C 5 - 3 ND ND TF 1 - 7 ND TC 1 - 7 C 5 - 4 ND ND TF 1 - 8 ND TC 1 - 8 C 5 - 5 ND ND TF 4 - 5 ND TC 4 - 5 C 5 - 6 ND ND TF 4 - 6 ND TC 4 - 6 C 5 - 7 ND ND TF 4 - 7 ND TC 4 - 7 C 5 - 8 ND ND TF 4 - 8 ND TC 4 - 8 สัปดาห์ที่ 10 C 6 - 1 ND ND TF 1 - 1 ND TC 1 - 2 C 6 - 2 ND ND TF 1 - 2 ND TC 1 - 3 C 6 - 3 ND ND TF 1 - 3 ND TC 1 - 4 C 6 - 5 ND ND TF 1 - 4 ND TC 4 - 1 C 6 - 6 ND ND TF 4 - 1 ND TC 4 - 2 C 6 - 7 ND ND TF 4 - 3 ND TC 4 - 3 TC 4 - 4 ระยะเวลา หยุดใช้
Pesticides tau - fluvalinate Amitraz
72
ผลวิเคราะห์ amitraz (mg/kg) ND ND ND ND ND ND ND ND < 0.010 ND ND ND ND ND ND
Limit of Limit of Detection Quantitation (LOD), mg/kg (LOQ), mg/kg 0.001 0.005 การรายงานผล ค่าที่พบต่ำกว่า LOD รายงานเป็น ND (Not Detected) ค่าที่พบสูงกว่า LOD แต่ต่ำกว่า LOQ รายงานเป็น < LOQ 0.005 0.010 (เป็นตัวเลข)
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
ตารางที่ 2 ผลการตรวจนับจำนวนไรผึง้ Varroa destructor (V) และ Tropilaelaps clareae (T) กลุ่มควบคุม หมายเลขกล่องรังผึ้ง กลุ่มควบคุม C1 - 1 C1 - 2 C1 - 3 C1 - 4 C1 - 5 C1 - 6 C1 - 7 C1 - 8 C2 - 1 C2 - 2 C2 - 3 C2 - 4 C2 - 5 C2 - 6 C2 - 7 C2 - 8 C3 - 1 C3 - 2 C3 - 3 C3 - 4 C3 - 5 C3 - 6 C3 - 7 C3 - 8 C4 - 1 C4 - 2 C4 - 3 C4 - 4 C4 - 5 C4 - 6 C4 - 7 C4 - 8
ครั้งที่ 1 14/1/56 V T 26 31 5 10 12 13 11 23 74 109 4 6 8 9 14 3 15 43 37 33 29 5 5 10 1 7 8 3 2 7 2 11 0 11 5 18 2 10 5 13 176 11 65 10 30 5 10 13 7 12 10 10 8 12 1 11 5 5 15 6 5 14 4 68
ครั้งที่ 2 16/1/56 V T 30 14 5 6 5 18 7 70 94 109 7 1 14 6 19 7 11 24 16 36 47 15 4 15 3 6 5 19 0 39 1 21 0 19 1 21 1 19 1 15 98 26 18 30 37 14 5 22 3 8 6 11 6 12 1 14 1 18 29 15 3 38 46 161
ครั้งที่ 3 18/1/56 V T 9 0 1 0 3 0 1 0 23 0 0 0 4 0 4 0 4 0 11 0 32 0 0 0 1 0 0 0 3 0 0 0 0 0 1 0 0 0 3 0 61 0 30 0 37 0 3 0 1 0 10 0 2 0 0 0 1 0 20 0 19 0 1 0
ครั้งที่ 4 20/1/56 V T 0 0 5 3 3 14 7 38 50 141 2 2 1 2 18 9 10 24 32 28 28 24 0 38 1 4 5 3 2 23 0 18 4 4 4 24 1 6 4 9 142 35 38 11 24 10 3 10 2 8 10 8 10 4 0 9 1 4 15 15 1 5 14 34
ครั้งที่ 5 22/1/56 V T 16 14 1 2 2 15 1 15 86 145 3 3 6 4 26 1 10 27 14 29 42 16 1 15 1 6 4 3 0 24 0 8 0 6 0 20 2 11 1 11 78 24 32 11 18 9 5 6 1 12 2 1 1 4 2 9 0 4 16 8 0 5 19 183 >>>
73
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
<<< หมายเลขกล่องรังผึ้ง กลุ่มควบคุม C5 - 1 C5 - 2 C5 - 3 C5 - 4 C5 - 5 C5 - 6 C5 - 7 C5 - 8 C6 - 1 C6 - 2 C6 - 3 C6 - 4 C6 - 5 C6 - 6 C6 - 7 C6 - 8
ครั้งที่ 1 14/1/56 V T 2 8 7 8 4 19 3 9 7 4 6 14 4 1 36 144 1 1 14 130 1 5 17 21 8 67 5 27 5 26 1 0
ครั้งที่ 2 16/1/56 V T 1 16 7 4 5 19 2 3 1 8 4 21 12 1 20 78 0 9 8 131 2 17 5 13 0 51 14 34 1 4 1 9
ครั้งที่ 3 18/1/56 V T 0 0 4 0 0 0 3 0 3 0 1 0 3 0 12 0 0 0 8 0 8 0 1 0 2 0 8 0 8 0 0 0
ครั้งที่ 4 20/1/56 V T 1 6 1 4 3 17 1 5 4 2 3 14 14 5 14 58 1 2 8 20 1 4 13 15 4 35 9 20 7 2 1 2
ครั้งที่ 5 22/1/56 V T 0 9 6 2 4 12 0 7 0 5 4 3 5 4 7 82 3 2 6 59 0 5 4 9 0 9 14 41 3 3 1 3
ตารางที่ 2 (ต่อ) ผลการตรวจนับจำนวนไรผึ้ง Varroa destructor (V) และ Tropilaelaps clareae (T) กลุ่มที่ใช้ tau–fluvalinate หมายเลขกล่อง รังผึ้งกลุ่ม tau–fluvalinate TF1 - 1 TF1 - 2 TF1 - 3 TF1 - 4 TF1 - 5 TF1 - 6 TF1 - 7 TF1 - 8 TF2 - 1
74
ครั้งที่ 1 14/1/56 V T 131 102 54 29 522 32 10 23 73 42 22 79 124 11 39 76 76 132
ครั้งที่ 2 16/1/56 V T 24 86 15 21 60 52 17 28 75 22 25 68 103 89 17 37 26 89
ครั้งที่ 3 18/1/56 V T 20 0 38 0 72 0 3 0 56 0 7 0 28 0 8 0 34 0
ครั้งที่ 4 20/1/56 V T 69 27 34 14 58 14 8 19 30 6 5 30 18 31 10 10 23 107
ครั้งที่ 5 22/1/56 V T 25 79 6 6 56 72 4 9 14 6 1 36 22 25 10 17 17 45 >>>
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
<<<
หมายเลขกล่อง รังผึ้งกลุ่ม tau–fluvalinate TF2 - 2 TF2 - 3 TF2 - 4 TF2 - 5 TF2 - 6 TF2 - 7 TF2 - 8 TF3 - 1 TF3 - 2 TF3 - 3 TF3 - 4 TF3 - 5 TF3 - 6 TF3 - 7 TF3 - 8 TF4 - 1 TF4 - 2 TF4 - 3 TF4 - 4 TF4 - 5 TF4 - 6 TF4 - 7 TF4 - 8 TF5 - 1 TF5 - 2 TF5 - 3 TF5 - 4 TF5 - 5 TF5 - 6 TF5 - 7 TF5 - 8 TF6 - 1 TF6 - 2 TF6 - 3 TF6 - 4 TF6 - 5 TF6 - 6 TF6 - 7 TF6 - 8
ครั้งที่ 1 14/1/56 V T 64 444 195 37 60 37 13 178 23 45 20 18 56 22 78 96 28 142 77 169 60 100 356 204 203 169 37 38 5 28 238 90 74 54 237 99 87 26 56 36 64 97 223 32 502 215 181 21 275 73 114 67 156 72 64 2 355 105 516 113 210 77 384 43 72 70 339 148 278 284 44 86 377 59 262 13 49 70
ครั้งที่ 2 16/1/56 V T 34 562 49 118 10 64 34 159 5 29 48 16 92 76 43 70 11 53 23 171 10 76 29 134 146 104 25 27 19 4 54 201 89 100 36 63 33 27 32 15 123 218 81 50 143 254 71 47 101 21 125 30 126 146 48 16 199 94 229 135 139 103 58 81 29 16 126 107 87 76 24 142 141 63 76 23 14 41
ครั้งที่ 3 18/1/56 V T 9 0 8 0 13 0 15 0 10 0 18 0 28 0 41 0 19 0 40 0 29 0 80 0 57 0 23 0 26 0 66 0 28 0 30 0 16 0 7 0 33 0 160 0 89 0 122 0 95 0 83 0 50 0 24 0 191 0 137 0 37 0 98 0 20 0 222 0 57 0 12 0 356 0 79 0 31 0
ครั้งที่ 4 20/1/56 V T 8 286 36 99 21 23 25 69 10 8 19 30 66 24 103 43 25 134 47 88 45 158 75 66 32 44 20 8 13 2 192 105 36 65 30 26 17 21 9 12 44 72 72 19 114 183 48 16 61 14 57 15 129 61 27 1 153 67 110 91 46 92 106 65 20 17 64 86 80 58 11 73 86 71 35 4 16 15
ครั้งที่ 5 22/1/56 V T 5 160 19 30 9 13 15 41 4 20 6 17 27 23 42 30 20 62 40 136 65 92 25 19 18 14 7 11 2 8 96 63 63 47 48 28 28 40 17 10 70 65 56 38 58 120 16 26 35 10 34 26 51 31 13 7 55 47 63 34 16 85 72 48 57 14 45 42 23 60 17 32 139 183 16 10 29 20
75
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
ตารางที่ 2 (ต่อ) ผลการตรวจนับจำนวนไรผึ้ง Varroa destructor (V) และ Tropilaelaps clareae (T) กลุ่มที่ใช้ amitraz หมายเลขกล่องรังผึ้ง ใช้ Amitraz TA1 - 1 TA1 - 2 TA1 - 3 TA1 - 4 TA1 - 5 TA1 - 6 TA1 - 7 TA1 - 8 TA2 - 1 TA2 - 2 TA2 - 3 TA2 - 4 TA2 - 5 TA2 - 6 TA2 - 7 TA2 - 8 TA3 - 1 TA3 - 2 TA3 - 3 TA3 - 4 TA3 - 5 TA3 - 6 TA3 - 7 TA3 - 8 TA4 - 1 TA4 - 2 TA4 - 3 TA4 - 4 TA4 - 5 TA4 - 6 TA4 - 7 TA4 - 8
76
ครั้งที่ 1 14/1/56 V T 2 9 0 4 1 5 50 9 2 9 0 63 1 61 3 5 2 23 5 5 4 98 1 12 2 6 17 2 14 17 0 9 8 3 2 228 0 16 10 454 2 5 1 215 0 16 18 43 4 38 0 18 1 25 1 9 1 10 2 73 1 3 0 62
ครั้งที่ 2 16/1/56 V T 1 11 0 1 1 5 38 22 1 8 0 33 6 63 0 1 5 10 3 6 6 87 0 12 1 7 13 2 14 75 3 3 0 16 9 169 2 15 6 301 1 11 0 130 0 20 7 35 2 20 1 9 11 21 0 17 1 8 6 21 11 2 2 103
ครั้งที่ 3 18/1/56 V T 9 0 2 0 2 0 42 0 7 0 3 0 29 0 36 0 8 0 10 0 25 0 7 0 0 0 52 0 49 0 2 0 3 0 10 0 26 0 118 0 4 0 17 0 0 0 74 0 45 0 2 0 9 0 8 0 5 0 63 0 9 0 2 0
ครั้งที่ 4 20/1/56 V T 3 15 5 17 5 1 6 1 4 1 23 40 12 0 7 0
ครั้งที่ 5 22/1/56 V T 3 7 2 2 3 0 6 9 1 14 19 29 5 34 1 5
6 8 5 2 16 32 3 4 9 3 9 7 6 6 6 3 3 1 1 1 9 6 3
10 8 1 1 21 13 1 4 0 4 11 0 1 10 5 9 2 5 3 1 0 10 2
3 30 15 6 0 15 0 5 5 8 36 7 9 22 16 56 20 16 8 2 35 8 12
11 57 20 8 0 17 5 9 85 9 307 14 98 3 28 31 15 9 1 0 63 11 83 >>>
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
<<< หมายเลขกล่องรังผึ้ง ใช้ Amitraz TA5 - 1 TA5 - 2 TA5 - 3 TA5 - 4 TA5 - 5 TA5 - 6 TA5 - 7 TA5 - 8 TA6 - 1 TA6 - 2 TA6 - 3 TA6 - 4 TA6 - 5 TA6 - 6 TA6 - 7 TA6 - 8
ครั้งที่ 1 14/1/56 V T 1 15 0 7 4 3 5 316 6 87 4 11 3 52 0 57 10 95 4 14 6 120 3 181 5 8 0 114 3 71 3 17
ครั้งที่ 2 16/1/56 V T 1 4 1 6 10 3 5 107 8 112 1 21 2 47 14 14 9 163 2 9 1 88 1 109 18 2 3 99 9 45 4 7
ครั้งที่ 3 18/1/56 V T 11 0 14 0 82 0 39 0 10 0 11 0 8 0 14 0 32 0 17 0 31 0 30 0 21 0 8 0 81 0 3 0
ครั้งที่ 4 20/1/56 V T 2 7 0 5 4 28 4 50 2 2 2 4 23 6 5 24 11 69 5 8 3 40 5 81 3 1 4 34 9 97 8 6
ครั้งที่ 5 22/1/56 V T 1 9 4 8 5 30 3 37 2 238 1 3 27 8 2 28 7 78 0 36 21 45 2 89 6 2 3 27 8 50 0 1
77
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
Amitraz and tau - fluvalinate residue in honey and withdrawal period study Kanuengnit Korthammarit1, Sasi Jaroenpoj1, Chairoj Pocharoen2 and Wiphada Sirisomphobchai3
Abstract Amitraz and tau-fluvalinate are insect repellants and insecticides in the amidine and pyrethroid group, respectively, which also effectively eliminate bee mites. The objectives of this field study were to study residue and withdrawal period of amitraz and tau - fluvalinate for 10 weeks in honey as well as compare the efficacy of amitraz and tau - fluvalinate to control and eliminate Varroa destructor and Tropilaelaps clareae. A total of 144 bee hives have been equally divided into 3 groups (48 hives each). The first group was a negative control group while the second and the third group were treated with amitraz (0.125 mg/strip) and tau - fluvalinate (3.6 mg/strip), respectively. The number of mites fallen onto a white paper laid on the bottom of bee hives were counted every other day for 10 consecutive days (5 times). The results found that the average number of Varroa destructors in control and two treatment groups were 11.17 ± 8.07, 8.80 ± 7.79 and 71.93 ± 57.85 and the average number of Tropilaelaps clareae in control and two treatment groups were 20.50 ± 7.09, 40.73 ± 27.43 and 69.97 ± 28.05 respectively. The comparative efficacy to control and eliminate Varroa destructor of tau fluvalinate was better than amitraz by difference in statistically significant (p < 0.05). However, the comparative efficacy to control and eliminate Varroa destructor between amitraz and control group had no statistically significant difference(p > 0.05). The comparative efficacy to control and eliminate Tropilaelaps clareae of tau-fluvalinate was better than amitraz
Division of Animal Feed and Veterinary Products Control, Department of Livestock Development. Bureau of Livestock Region 5, Department of Livestock Development. 3 Bureau of Livestock Product Quality Control, Department of Livestock Development. 1
2
78
Around the World ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 34 เล่มที่ 175 กรกฎาคม - สิงหาคม 2560
by difference in statistically significant (p < 0.05), whereas the comparative efficacy to control and eliminate Tropilaelaps clareae of amitraz was better than control group by difference in statistically significant (p < 0.05). The analysis result of amitraz and tau - fluvalinate residue in honey in week 0 were statistically significant difference (p < 0.05) from week 2, 4, 6, 8 and 10. In addition, there were no residue detections in all honey samples since week 6th. This study confirms that the residues of both chemicals in honey comply to designated withdrawal period in standard farm (8 week) Even though, Thailand hasn’t determined the maximum residue of both chemicals yet. Amitraz in honey bee at 0 withdrawal time was 21 µg/kg which lower than EU MRL (Maximum Residue Limit) 200 µg/kg and tau - fluvalinate in honey bee at 0 withdrawal time was 15 µg/kg without the need for EU MRL. Consequently, these results can be used as a guideline to determine the residue limits that are allowed in honey bee and the withdrawal time for each substance to remove bee mites in Thailand. Keywords: Efficacy, amitraz, tau - fluvalinate, bee mite
79
ขอขอบคุณบริษัทที่ให้ความสนับสนุน
และความร่วมมือในการจัดทำวารสารธุรกิจอาหารสัตว์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) สมุทรปราการ บริษัท กรุงไทยอาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท อาหารสัตว์ไทยสวนหลวง จำกัด บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) สระบุรี บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท แลบอินเตอร์ จำกัด บริษัท ฮูเวฟาร์มา (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท เชฟเฟิร์ด เทค คอนซัลแตนซี่ ไพรเวท จำกัด บริษัท ไบโอมิน (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท เกษตรภัณฑ์อุตสาหกรรม จำกัด บริษัท ยูนีโกรอินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท อดิสสิโอ เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท โนวัส อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท ไฟโตไบโอติกส์ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท พรีเมียร์ เทค โครโนส จำกัด
โทร. 0-2833-8000 โทร. 0-2680-4580 โทร. 0-2473-8000 โทร. 0-2814-3480 โทร. 0-2632-7232 โทร. 0-2680-4500 โทร. 0-2194-5678-96 โทร. 0-3488-6140-48 โทร. 0-2937-4355 โทร. 09-2089-1601 โทร. 0-2993-7500 โทร. 0-2817-6410 โทร. 0-3430-5101-3 โทร. 0-2681-1329 โทร. 0-2661-8700 โทร. 0-2694-2498 โทร. 0-2740-5001