43AþA1. 9 é 0O
2R=<K N_"<Q#3
เรื่องเลาของ “เอสซีจี” กับการดําเนินธุรกิจ ตาม “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” 10 บทเรียน อันประกอบดวย
1. กับดัก “ต มยํากุง ” บนเส นทาง “ไม พอประมาณ”
ในปทเี่ กิดวิกฤตตมยํากุง เอสซีจมี ยี อดหนีเ้ งินกู สูงถึง 246,700 ลานบาท และมีผลขาดทุนกวา 52,551 ลานบาท เปนบริษั ทที่มีหนี้สินสูงติดอันดับตนๆ ของ ประเทศ ทางออกที่ยั่งยืนอยางแรกของปญหานี้คือ หันกลับมายึดหลักความพอประมาณ ประหยัด ใช ทรัพยากรที่มีอยางคุมคา
2. เดินหน าผ าทางตันด วยศาสตร ของพระราชา
เอสซีจีไดนอ มนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใชเปนแนวทางในการทํางาน เริม่ จากความพอประมาณ โดยปรับลดขนาดโครงสรางธุรกิจที่ใหญโตมากมายลง และกําหนดธุรกิจเปน Core Business, Non-Core Business และ Potential-Core และตองยอมขาย ธุรกิจที่ไมใชธุรกิจหลักเพื่อลดหนี้
3. กล าเผชิญความจริง มีเหตุมีผล
ความจริงใจในการรับผิดชอบตอสัญญาเงินกู ไมเคยขอลดหนี้ และจายเงินกูพรอมดอกเบี้ยไดครบ ตามกําหนด ทําใหสถานการณไมเลวรายลงไปกวาเดิม
4. “ลด” ต นทุน แต “เพิม่ ” ความสําคัญของ “คน”
ในชวงวิกฤตเศรษฐกิจ องคกรจะอยูร อดไดตอ ง ประหยัด แตเอสซีจี ไมเคยเอาคนออก ยังรับคนเพิ่ม ทุกป และไมเคยตัดงบประมาณพัฒนาบุคลากร
5. เติบโตด วยนวัตกรรม ภายใต หลัก “เศรษฐกิจพอเพียง”
ไมใชเรือ่ งงายเลยสําหรับองคกรเกาแกทมี่ อี ายุ กวา 100 ป ทีจ่ ะตัง้ เปาการเติบโตบนเสนทางขององคกร นวัตกรรม โดยเฉพาะองคกรที่มีสินคา Commodity เปนหลัก แตกลับเกิดขึ้นไดจริงภายใตยุทธศาสตรที่ วางไว
6. เอสซีจีบนวิถีแห งความสมดุล
จดเปลี่ยนขององคกรเกาแกสูการเปนองคกร ที่ทันสมัย ดวยนวัตกรรรมที่มีมูลคาเพิ่มสูง (HVA) ทุกยางกาวยืนอยูบ นหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7. พลิก “คน” พลิก “องค กร”
เทคนิคงายๆ ทีท่ าํ ลายความกลัวระหวางพนักงาน กับผูบริหาร กลายเปนความรูสึกใหมๆ ที่ทําใหเกิด ความกลาในการแสดงความคิดเห็น และกลาพูดในสิ่ง ที่ตัวเองคิดเพื่อนําไปสูสิ่งใหมๆ ที่ดีกวา
8. “รู เขา-รู เรา” คาถา Go Regional
หลังจากทีอ่ าการบาดเจ็บเพราะพิษ ของตมยํากุง คอยๆ ดีขึ้น ผานไปประมาณ 2-3 ป เอสซีจีก็เริ่มมอง การลงทุนในตางประเทศใหมอีกครั้ง เพื่อกระจาย ความเสีย่ งในเรือ่ งรายได จะรอเพียงกําลังซือ้ ของตลาด ในประเทศที่ฟนตัวคอนขางชาไมไดแนนอน ในขณะที่ กําลังผลิตสินคาของเอสซีจยี งั มีเหลือเฟอ และทีส่ าํ คัญ องคกรตองโตขึ้นอยางตอเนื่อง
9. สร าง “คน” สร าง “ภูมิคุ มกัน”
การสราง “คน” คือการสราง “ภูมิคุมกัน” ที่ แข็งแรงใหกบั องคกร เพือ่ รับมือกับความเสีย่ งตางๆ ที่ อาจเกิดขึ้น การออกแบบพัฒนาผูนําและพนักงานคือ อีกหนึ่งเคล็ดลับที่สําคัญของเอสซีจี
10. “คนดี” วัฒนธรรมองค กรต องหล อหลอม
อุดมการณ 4 ของเอสซีจีคือ ตั้งมั่นในความ เปนธรรม มุงมั่นในความเปนเลิศ เชื่อมั่นในคุณคา ของคน และถือมัน่ ในความรับผิดชอบตอสังคม ซึง่ ไมใช สิง่ ทีจ่ ะเกิดขึ้นไดเองตามธรรมชาติ แตตองหลอหลอม ปลูกฝง ใหหยั่งรากลึก แข็งแรง และตองเติบโตใน จิตวิญญาณของคนอยางจริงจัง
W/N4Y/. A<
:L<Z/ E?K òWB=C* N#8GW8ċ<"ó
ในป 2549 ทันทีที่ กานต ตระกูลฮุน ขึ้นมารับตําแหนงกรรมการผูจัดการใหญในขณะนั้น ก็ไดประกาศวิสัยทัศนวา เอสซีจีตองเปนองคกรนวัตกรรม เปนความเห็นรวมกันของคนทั้งองคกรที่ตองการทะยานไปขางหนา ดวยการพัฒนาสินคา และบริการใหเหนือกวาคูแขง กาวเปนผูนําธุรกิจระดับภูมิภาคอาเซียน และตอบโจทยตลาดโลก อีกนัยหนึ่งที่สําคัญคือ เพื่อ เตือนใหพนักงานไมประมาท ไมหลงระเริงกับความสําเร็จที่เกิดขึ้น และกระตุนใหพนักงานออกมาจาก Comfort Zone เปลี่ยนแปลงตัวเอง เพื่อเปาหมายที่วางไวรวมกันขางหนา
¾©¤ª µ
«² ¢
«µÆ ¿¨ ¦n®¢
¨² ¤¤¢
«¢ ¹¦¿¦± ¤n®¢¤² m® ³¤¾ ¦¶Æ£ ¿ ¦
ไม ใช แค Product แต คือ Process ด วย
รุงโรจน รังสิโยภาส กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี กลาววา “นวัตกรรม” ของเอสซีจี หมายถึง การสรางสรรค สิ่งใหมๆ ซึ่งครอบคลุมสินคาและบริการ (Product & Service) กระบวนการทํางาน (Process) รูปแบบธุรกิจ (Business Model) ตลอดจนพัฒนาเทคโนโลยีขององคกร พรอมๆ กับการกาวสูอ งคกรนวัตกรรม บริษัทก็ไดตง้ั งบประมาณดานการวิจยั และพัฒนา (Research & Development หรือ R&D) เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง จนปจจบันประมาณ 1% ของยอดขาย หรือปละ 5 พันลานบาท เปนที่ยอมรับกันวาเปนบริษัทที่ใชงบดานนี้สูงมากบริษัทหนึ่งในอาเซียน “บางคนอาจมองวา R&D ทําใหมีสินคาใหมๆ อยางเดียว จริงๆ แลวไมใช ที่ผานมาเราใชเงินสําหรับ New Product ไมเกิน 50% เงินสวนที่เหลือจะไปใชในเรื่องของ Process Innovation ที่มีผลเรื่องการลดคาใชจายในขั้นตอนตางๆ ชวยลด พลังงาน การทําสินคาใหเปนมิตรกับสิง่ แวดลอม และทีม่ ากกวานัน้ คือสามารถนําของเสียมารีไซเคิลไดเพิม่ ขึน้ ทุกป ตรงนีค้ อื กุญแจของความสําเร็จที่แข็งแรงของเรา”
® ¤±¢³
¢¶¾¬ ¹ ¦
¨³¢¤ºn
¡º¢µ ¹n¢ ² Á ²¨ ¶Æ ¶
¹ ¤¤¢
อีสท วอเตอร
ฉลอง 25 ป สร างฝายอนุรักษ ป าต นนํ้า เพื่อชุมชนมั่นคงด านนํ้า สู การสร างชีวิตที่ยั่งยืน
ฉลองครบรอบ 25 ป “อีสท วอเตอร” ผสานพลังการอนุรักษทุกภาคสวน เพื่อมุงแสวงหาการแกปญหาการขาดแคลนนํ้าสรางความเขมแข็งดานนํ้าใหกับ ชุมชน จัดกิจกรรรมสรางฝายชะลอนํ้าและสางปาในรูปแบบจิตอาสา “ตามรอย รักษาปาตนนํ้า Step On Water Path of Sustainability” สงตอพลังการอนุรักษ ปาตนนํา้ สูค วามรวมมือของชุมชน สรางจิตสํานึกการอนุรกั ษเพือ่ ความยัง่ ยืนของ ทรัพยากรธรรมชาติ บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํา้ ภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หรือ อีสท วอเตอร จัดกิจกรรม “ตามรอย รักษาปาตนนํ้า Step On Water Path of Sustainability” ในโอกาสครบรอบ 25 ป การดําเนินงานของอีสท วอเตอร โดย รวมพลังทุกภาคสวนทัง้ หนวยงานราชการเอกชน ผูม อี ปุ การคุณและพันธมิตรทาง ธุรกิจของบริษัทฯ ตลอดจนประชาชนในพื้นที่กวา 700 คน รวมสรางฝายชะลอนํ้า และสางปาในรูปแบบจิตอาสาที่ บานหนองมวง ต.ชุมแสง อ.วังจันทร จ.ระยอง บนพื้นที่ปาชุมชนกวา 70 ไร จิรายุทธ รุงศรีทอง กรรมการผูอํานวยการใหญ อีสท วอเตอร กลาวถึง กิจกรรมในครัง้ นีว้ า “อีสท วอเตอร ในฐานะทีท่ าํ ธุรกิจเกีย่ วกับทรัพยากรนํา้ จึงเห็น
ความสําคัญในการสรางความมัน่ คงดานนํา้ ใหกบั ชุมชน โดยเฉพาะปาตนนํา้ ทีเ่ ปน จุดกําเนิดของแหลงนํา้ ทีห่ ลอเลีย้ งชุมชน ซึง่ ปจจุบนั ถูกทําลายเสือ่ มโทรมลงไปมาก กอปรกับในปนี้ อีสท วอเตอร ไดรว มมือกับภาคีเครือขายปาชุมชนรอยตอ 5 จังหวัด ภาคตะวันออก ดูแลรักษาฟนฟูปาชุมชนบานหนองมวง จ.ระยอง เพื่อสรางคุณคา รวมระหวางวิถชี วี ติ ของคนในชุมชนกับผืนปาอยางเปนรูปธรรมและยัง่ ยืนตามแนว ประชารัฐ จึงไดจัดกิจกรรม “ตามรอย รักษาปาตนนํ้า” เพื่อรวมพลังแนวรวมคืน ความอุดมสมบูรณใหกบั ระบบนิเวศในพืน้ ทีน่ าํ รองแหงนี้ สําหรับกิจกรรมอาสาครัง้ นี้ เราไดเชิญชวนจิตอาสาทั่วไป 40 คน เขารวมกิจกรรมดวย โดยรายไดทั้งหมด ไมหักคาใชจายใดๆ จะนํามาสมทบทุนกับอีสท วอเตอร มอบใหกับโรงพยาบาล สมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา สภากาชาดไทย เพือ่ รวมพัฒนาหนวยพยาบาล ระดับภูมิภาคใหเปนศูนยกลางการใหบริการทางการแพทยในภาคตะวันออก” ดาน ภิรมย ชุมนุม นายอําเภอวังจันทร จังหวัดระยอง กลาววา “กิจกรรม ครั้งนี้นับเปนความรวมมือดานการฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและอนุรักษปาตนนํ้า อยางจริงจังของประชาชนทุกภาคสวนใน อ.วังจันทร จ.ระยอง ซึ่งเราเห็นวาเปน กิจกรรมทีม่ คี ณ ุ คาและแสดงถึงความรับผิดชอบตอสิง่ แวดลอมและสังคมโดยรวม และสิ่งสําคัญสูงสุดคือ เปนการสนองพระราชดําริของในหลวงรัชกาลที่ 9 และ สมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถในรัชกาลที่ 9 ดานการอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่ทรงใหความสําคัญและเสด็จทรงงานดานนี้มาโดย ตลอด” กิจกรรม “ตามรอย รักษาปาตนนํา้ Step On Water Path of Sustainability” เนื่องในโอกาสครบรอบ 25 ป อีสท วอเตอร ในครั้งนี้ เนนการสรางฝายชะลอนํ้า และสางปาในรูปแบบจิตอาสา จัดกิจกรรมขึน้ ทีบ่ า นหนองมวง ต.ชุมแสง อ.วังจันทร จ.ระยอง บนพืน้ ทีป่ า ชุมชนกวา 70 ไร ซึง่ เปนสวนหนึง่ ของโครงการ 25th EastWater… Steps of Growth การสรางความมัน่ คงดานนํา้ ตลอดเสนทางนํา้ ผานชุมชนตนแบบ ตั้งแตตนนํ้าสูปลายนํ้า “ภายหลังจากกิจกรรมสรางฝายชะลอนํา้ และสางปาในครัง้ นีแ้ ลว อีสท วอเตอร มีแผนในการดูแลและบํารุงรักษาเพื่อใหเปนประโยชนตอประชาชนชาวอําเภอ วังจันทรใหมากทีส่ ดุ ซึง่ เราจะจัดกิจกรรมอนุรกั ษสงิ่ แวดลอมเชนนีต้ อ เนือ่ งเปนประจํา ทุกป เพื่อรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของภาคตะวันออกใหคงอยู อีสท วอเตอร พรอมเดินหนาสูอ นาคต รวมเปนสวนหนึง่ ของความมัน่ คงดานนํา้ ใน ภาคตะวันออก และสงมอบความเชีย่ วชาญดานการบริหารจัดการนํา้ ใหกบั ประเทศ หนึง่ ในความมุง มัน่ และตัง้ ใจของอีสท วอเตอรในการอนุรกั ษสงิ่ แวดลอม เพือ่ ยกระดับ การอนุรักษแหลงนํ้าและสิ่งแวดลอมในพื้นที่ภาคตะวันออกอยางยั่งยืน” จิรายุทธ กลาวทิ้งทาย
CONTENTS
November - December 2017
15
14 Green Tips by MR. Save 15
16 20 21 22 24 25
26 28 29
30 32 33 34
36 38 41 42
เลือกหลอด LED ใหคุมคา Green Health by คุณนายเขียว โฮลเกรน ธัญพืชไมขัดสี ดีตอสุขภาพ Green Cover by กองบรรณาธิการ Smart City พัฒนาชุมชนเมืองสูเมืองอัจฉริยะ Green Travel by ตะลอนทัวร เย็นกาย สบายใจ ไปกับ The Chill Resort @ Nakornnayok Green Building by กองบรรณาธิการ The NEST ตนแบบบาน Smart Eco-Care ตอบโจทยการอยูอาศัย Green Report by กองบรรณาธิการ Modernizing the Thailand Grid มุงหนาสูความล้ําสมัยของระบบโครงขายไฟฟาไทย Green Innovation by กองบรรณาธิการ เอปสัน จับมือสถาบันไทย-เยอรมัน เปดศูนยนวัตกรรมหุนยนต Green CSR by กองบรรณาธิการ ปตท.สผ. จดประกายพลังเยาวชน กาวเพื่อรักษ นอมนําศาสตรพระราชาพัฒนาชุมชน Welcome From Supporting Utilities เสริมสกุล คลายแกว ผูวาการการไฟฟาสวนภูมิภาค Green Scoop by กองบรรณาธิการ ก.พลังงาน แปลงรถตุกตุกเกาเปนรถตุกตุกไฟฟา Green Focus by พิชัย ถิ่นสันติสุข ปฏิรูปพลังงานขยะ Special Scoop by กองบรรณาธิการ Roadmap การผลิตและการบริโภคอยางยั่งยืน สูการเติบโตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม Green Learning by กองบรรณาธิการ Bioplastics Innovation Contest 2017 สงเสริมการคิดคนผลิตภัณฑพลาสติกชีวภาพเชิงพาณิชย Green World by กองบรรณาธิการ ฟารมกังหันลมลอยน้ําแหงแรกของโลกที่สกอตแลนด Green Visit by จีรภา รักแกว IWIND นักลาลม ชูสวนกังหันลมเลียบชายฝง ปากพนัง เสริมสรางความมั่นคงใหชุมชน Green Energy by กองบรรณาธิการ Energy 4.0 พลังงานฐานนวัตกรรมแหงอนาคต Green Article by รศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล, ดร.ณัฐวิญญ ชวเลิศพรศิยา, รัฐพล เจียวิริยะบุญญา ฝนเยอะ-ขยะลน : ปญหา (ที่กําลังจะ) เรื้อรังของกรุงเทพฯ (1) Green Scoop by กองบรรณาธิการ ‘บานทับไฮ’ ชุมชนตนแบบเปลี่ยนขยะเปนพลังงานทดแทน ผลิตแกสชีวภาพใชในครัวเรือน Special Scoop by กิตติ วิสุทธิรัตนกุล, ดร.สุรพล ดํารงกิตติกุล นวัตกรรมพลังงานสีเขียวสูเศรษฐกิจสรางสรรคอยางยั่งยืน
21
30
26
16 20 10 Green News by กองบรรณาธิการ
12 Green Read by หนอนหนังสือ
13 Green Product by ชื่น ชอบ ช็อป
44 Green Activity by กองบรรณาธิการ
46 Green Biz by กองบรรณาธิการ
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ฯพณฯ พลอากาศเอก กําธน คณะที่ปรึกษา ดร.ปยสวัสดิ์ อัมระนันทน ดร.อัศวิน จินตกานนท ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย ประสงค ธาราไชย ดร.ประเสริฐ สินสุขประเสริฐ ไกรฤทธิ์ นิลคูหา ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร รศ. ดร.สิงห อินทรชูโต บรรณาธิการอํานวยการ/ บรรณาธิการผูพิมพโฆษณา กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล ผูชวยบรรณาธิการ จีรภา รักแกว เลขานุการกองบรรณาธิการ ปฐฐมณฑ อุยพัฒน พิสูจนอักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม กันยา จําพิมาย ประสานงาน ภัทรกันต กิจสินธพชัย ผูจัดการฝายการตลาด เขมจิรา บุญพระรักษา ฝายการตลาด กัลยา ทรัพยภิรมย เลขานุการฝายการตลาด ชุติมันต บัวผัน ฝายวิเทศสัมพันธ นันธิดา รักมาก แยกสี บจก. คลาสสิคสแกน โรงพิมพ บจก. ฐานการพิมพ
Editor Talk สินธวานนท นินนาท ไชยธีรภิญโญ ศ. ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ พานิช พงศพิโรดม ดร.กมล ตรรกบุตร ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี ดร.สุรพล ดํารงกิตติกุล ชาย ชีวะเกตุ
เจาของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด
471/ 3-4 อาคารพญาไท เพลส ถ.ศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2354-5333 (ฝายการตลาด ext. 503) แฟกซ 0-2640-4260 http://www.technologymedia.co.th http://www.greennetworkthailand.com e-Mail : editor@greennetworkthailand.com
สวัสดีครับ ทานสมาชิกและทานผูอานทุกทาน
ดวยจํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้นทําใหตองมีการพัฒนาพื้นที่เมืองเพื่อรองรับการเติบโต ของจํานวนประชากร ยกระดับชีวิตความเปนอยูของประชาชนในพื้นที่ใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยไมไดเนนไปที่การพัฒนาใหเปนเมืองขนาดใหญ หรือมีความความทันสมัยทางดาน เทคโนโลยีแตเพียงดานเดียว แตทศิ ทางการพัฒนาเมืองในปจจบันจะเปนไปในแบบการพัฒนา ที่ยั่งยืนและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม นั่นก็คือ เมืองอัจฉริยะ (Smart City) เมืองอัจฉริยะ หรือ Smart City เปนเมืองทีอ่ อกแบบวางแผนเพือ่ การอยูอ าศัยในอนาคต โดยคํานึงถึงคุณภาพสิ่งแวดลอม คุณภาพชีวิต และสังคมวัฒนธรรม การนําเทคโนโลยีดิจิทัล มาปรับใชกบั เมืองเพือ่ ใหมคี วามนาอยูม ากขึน้ การสงเสริมการอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอม รวมไปถึงการใชพลังงานทดแทน Green Network ฉบับนี้ คอลัมน Green Cover “Smart City พัฒนาชุมชนเมือง สูเ มืองอัจฉริยะ” ไดนาํ เสนอเรือ่ ง การพัฒนาเมืองธรรมดาใหกลายเปน Smart City โครงการ สนับสนุนการออกแบบเมืองอัจฉริยะ (Smart Cities-Clean Energy) เพื่อรองรับการเติบโต ของเมือง โดยไดหยิบยกโครงการที่ผานการคัดเลือกในขั้นตอนที่ 2 อาทิ นิดา มหาวิทยาลัย อัจฉริยะ รูรักษพลังงาน สูการพัฒนาที่ยั่งยืน, ขอนแกน Smart City (ระยะที่ ๑) : ขนสง สาธารณะเปลีย่ นเมือง, เมืองใหมอจั ฉริยะบานฉาง, โครงการเมืองจฬาฯ อัจฉริยะ, มช. (เมือง) มหาวิทยาลัยอัจฉริยะพลังงานสะอาด และ ธรรมศาสตร ศูนยรงั สิต : ตนแบบเมืองมหาวิทยาลัย อัจฉริยะ โดยเปนรูปแบบของการใหการสนับสนุนการออกแบบผานกระบวนการแสดงภาพฝน ที่สามารถจับตองไดในการพัฒนาเมืองไปสูความเปนเมืองอัจฉริยะ คอลัมน Green Report พบกับ “Modernizing the Thailand Grid มุงหนาสูความ ล้ําสมัยของระบบโครงขายไฟฟาไทย” การปรับโฉมระบบโครงขายไฟฟาไทยใหทันสมัย เพื่อ รองรับการใชไฟฟาในอนาคต พาไปเยีย่ มชมกังหันใหญยกั ษ “IWIND นักลาลม ชูสวนกังหันลม เลียบชายฝง ปากพนัง เสริมสรางความมั่นคงใหชุมชน” กับคอลัมน Green Visit เชนเคยกับ คอลัมน Green Energy กับ “Energy 4.0 พลังงานฐานนวัตกรรมแหงอนาคต” เคล็ด (ไม) ลับ Green Tips “เลือกหลอด LED ใหคมุ คา” และสุขภาพดีหางไกลโรคภัยไปกับ Green Health “โฮลเกรน ธัญพืชไมขัดสี ดีตอสุขภาพ” สุดทายนี้ สงทายปเกา ตอนรับปใหม พ.ศ. 2561 กับการเติบโตกาวสูป ท ่ี 8 ของ Green Network กองบรรณาธิการขอขอบคุณ ทานสมาชิก และทานผูอานทุกทานที่ใหการสนับสนุน เปนอยางดีมาโดยตลอด กระผมขอถือโอกาสนี้ อวยพรใหทา นประสบแตความสุข ความเจริญ สมหวังดังที่ใจปรารถนาทุกประการ แลวพบกันใหมฉบับหนา สวัสดีครับ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
GREEN
สนพ. จัดทํา Load Forecast สอดรับ ยุคเทคโนโลยีเปลี่ยนผานระดมความเห็นดึงปจจัย ขับเคลื่อนนโยบาย Energy 4.0 รวมพิจารณา
News กองบรรณาธิการ
สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ระดมความคิดเห็น การจัด ทําพยากรณความตองการใชพลังงานของประเทศ (Load Forecast) ใหทันสมัย หลังจากมีปจ จัยใหมๆ ทีก่ ระทบตอความตองการใชพลังงาน และเพือ่ ใหไดมาซึง่ คา พยากรณความตองการไฟฟาทีเ่ ปนทีย่ อมรับ วิธกี ารพยากรณและแบบจําลองการ พยากรณความตองการไฟฟาในระยะยาว จึงไดจดั สัมมนารับฟงความคิดเห็นครัง้ นี้ ขึ้น โดยขอคิดเห็น และขอเสนอแนะที่ไดจากงานสัมมนา จะนําไปเปนสวนหนึ่งใน การปรับปรุงการพยากรณความตองการใชไฟฟาใหมีความเหมาะสม สอดคลอง กับสถานการณโดยเฉพาะเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงรวดเร็วในยุค Disruptive Technology ซึ่งมีอิทธิพลทําใหทิศทางการใชไฟฟาของประเทศเปลี่ยนแปลงไป ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอ าํ นวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) และโฆษกกระทรวงพลังงาน ในฐานะประธานคณะทํางานจัดทําคาพยากรณ ความตองการไฟฟา เปดเผยวา สนพ. ไดจดั สัมมนาหัวขอ “Load Forecast : ทิศทาง การใชไฟฟาอนาคต” เพื่อรับฟงความคิดเห็นตอการจัดทํา Load Forecast หรือ การพยากรณความตองการไฟฟาของประเทศ ซึง่ เปนกระบวนการทีม่ คี วามสําคัญ ในการวางแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟาของประเทศ เพราะคาพยากรณความ ตองการไฟฟาในอนาคตที่มีความแมนยําจะชวยใหการวางแผนและการลงทุน ดานการจัดหาไฟฟาของประเทศเปนไปอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ซึ่ง ปจจุบนั สภาวะดานเศรษฐกิจสังคมและเทคโนโลยีเปลีย่ นแปลงรวดเร็วทําใหการใช ไฟฟามีการเปลีย่ นแปลงตามไปดวย จึงมีความจําเปนตองปรับปรุงขอมูลใหสอดคลอง กับสถานการณและปจจัยที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะปจจัยดานนโยบายรัฐ อาทิ นโยบาย Energy 4.0 ที่สงเสริมการใชยานยนตไฟฟา (Electric Vehicle : EV) โครงการรถไฟความเร็วสูง โครงการระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern
Economic Corridor : EEC) รวมถึงปจจัยดานผูใชไฟฟา เชน พฤติกรรมของผูใช ไฟฟาประเภทบานอยูอาศัยที่เปลี่ยนแปลงไปผลิตไฟฟาใชเองจากพลังงานแสง อาทิตยบนหลังคา (Solar Rooftop) ซึ่งปจจุบันมีตนทุนที่ลดลงอยางมาก ปจจุบนั การพยากรณความตองการไฟฟามีคณะทํางานจัดทําโดยผูแ ทนจาก หนวยงานทีเ่ กีย่ วของ 3 การไฟฟา คือ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) การไฟฟาสวนภูมภิ าค (กฟภ.) และการไฟฟานครหลวง (กฟน.) รวมทัง้ ผูท รงคุณวุฒิ จะทําหนาทีศ่ กึ ษาและวิเคราะหขอ มูลรวมทัง้ ปรับปรุงและพัฒนาวิธกี ารพยากรณฯ เพือ่ ใหไดคา ทีม่ คี วามถูกตองและแมนยํา เสนอตอคณะอนุกรรมการพยากรณความ ตองการไฟฟา และจัดทําแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศ พิจารณาและใช เปนขอมูลพื้นฐานในการวางแผนและกําหนดนโยบายดานไฟฟาของประเทศ ตอไป
เจาะลึกขาวสารพลังงาน รูเร็วราคานํ้ามันวันตอวัน คลิกโหลดวันนี้ แอพพลิเคชั่น “กระทรวงพลังงาน” ยุคดิจิทัล 4.0 กระทรวงพลังงาน พลิกประสบการณใหม รูครบ รวดเร็ว ทันเหตุการณ พลังงานไทยยุค 4.0 ขอเชิ ญ ชวนร ว มดาวน โ หลดแอพพลิ เ คชั่ น ใหม “กระทรวงพลังงาน” บนโทรศัพทมือถือ เพื่อให ประชาชนและผูประกอบการดานกิจการพลังงาน เขาถึงขอมูลดานพลังงานอยางถูกตองทันสถานการณ ในคลิกเดียว อัดแนนไปดวยขาวสารดานพลังงาน ทีเ่ ปนเรือ่ งเดนประเด็นรอน พรอมบริการแจงเตือน การเปลี่ยนแปลงราคานํ้ามัน รูกอนใครไดที่นี่ ปริมาณการใชไฟฟาทั้งประเทศแบบ Real-time ตลอดจนสินคาประหยัดพลังงาน ความรูด า นพลังงาน ทดแทนตางๆ เพียงแคคนหาคําวา “กระทรวง พลังงาน” พรอมใหดาวนโหลดแลววันนี้ รองรับ ทัง้ ระบบปฏิบตั กิ าร iOS และ Android และสามารถ ติ ด ตามร ว มสนุ ก กั บ กิ จ กรรมตอบคํ า ถามด า น พลังงานชิงรางวัลพิเศษผานแอพพลิเคชั่นทุกเดือน จากกระทรวงพลังงานอีกดวย 10
GreenNetwork November-December 2017
จุฬาฯ เปดเมืองนวัตกรรมแหงสยาม เนน 5 กลุมธุรกิจนวัตกรรม เขาถึงแหลงเงินทุน เพื่อผลักดันเศรษฐกิจประเทศ
จุฬา เปดเมืองนวัตกรรมแหงสยาม (Siam Innovation District หรือ SID) อัดงบ กวา 100 ลานบาท สนับสนุนสตารทอัพ ผานโครงการสงเสริมนวัตกรรมแหงสยาม 100 SID เพือ่ สนับสนุนการจัดตัง้ ธุรกิจใหมทมี่ นี วัตกรรม 5 กลุม ธุรกิจ ไดแก กลุม ไลฟสไตล กลุม ดิจทิ ลั และหุน ยนต กลุม ความยัง่ ยืนทางทรัพยากร กลุม เมืองอัจฉริยะ และกลุม นวัตกรรมการศึกษา ทําใหสามารถเขาถึงแหลงเงินทุน เพือ่ ผลักดันเศรษฐกิจและประโยชนตอ การพัฒนานวัตกรรม ของประเทศไทย รศ. ดร.ณัฐชา ทวีแสงสกุลไทย ผูอํานวยการโครงการเมืองนวัตกรรมแหงสยาม (Siam Innovation District หรือ SID) กลาววา โครงการเมืองนวัตกรรมแหงสยาม ภายใต การดําเนินงานของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดจัดตั้งขึ้นมาเพื่อเปนโครงการตนแบบในการ เปลีย่ นแปลงพืน้ ทีก่ ารคาทัว่ ไปใหเปนแหลงอุดมปญญาสําหรับการแกปญ หาของประเทศ โดย เมืองนวัตกรรมจะเปนพืน้ ทีส่ าํ หรับความรวมมือระหวางภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา เพื่อเอื้อตอการเกิดธุรกิจใหมๆ หรือธุรกิจที่จะสรางประโยชน หรือแกปญหาของประเทศ โครงการเมืองนวัตกรรมแหงสยามมีพนั ธกิจอยู 4 ดาน คือ 1. การสรางพืน้ ทีเ่ พือ่ ใหเกิด พรสวรรค นั่นคือการพัฒนาคน 2. การสรางตนแบบที่ใชงานไดของเมืองแหงอนาคต 3. การ สรางความสัมพันธระหวางเอกชน รัฐบาล และมหาวิทยาลัยเพือ่ รวมกันสรางนวัตกรรมทีเ่ ปน ประโยชน หรือแกปญหาของประเทศ และ 4. การสรางพื้นที่ใหเกิดการเจอกันระหวางคนที่มี ความคิดสรางสรรค หรือไอเดียและคนทีส่ ามารถทําไดจริง ซึง่ ความคิดสรางสรรคจะเปนสวน หนึ่งที่ทําใหการเขาถึงเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมตางๆ งายขึ้น สําหรับโครงการสงเสริมนวัตกรรมแหงสยาม 100 SID จะเปดรับผลงานนวัตกรรมเพือ่ สงเสริมและสนับสนุนการจัดตัง้ ธุรกิจเกิดใหม (Seed Fund) และเพือ่ สงเสริมการเพิม่ ศักยภาพ ในการเติบโตของธุรกิจใหม (Scale Up Fund) โดยมีเงินทุนสนับสนุนใหแกโครงการตางๆ รวมเปนเงินกวา 100 ลานบาท โดยจะกระจายใหแกโครงการตางๆ ทีน่ า สนใจ โดยไมกาํ หนด จํานวนโครงการที่มาขอรับการสนับสนุน เพื่อสงเสริมใหธุรกิจสตารทอัพของไทย พัฒนาขีด ความสามารถและสรางศักยภาพของผูประกอบการธุรกิจใหสามารถเติบโตไดอยางมั่นคง ในระยะยาว เพราะธุรกิจสตารทอัพนับวามีความสําคัญมากขึ้นและสงผลตอการเติบโตทาง เศรษฐกิจของประเทศไทยในอนาคต 11
Thailand Lighting Fair 2017 มหกรรมเวทีแสดงสินคา และเทคโนโลยีไฟฟาแสงสวาง
เมือ่ เร็วๆ นี้ เสริมสกุล คลายแกว ผูว า การ การไฟฟาสวน ภูมภิ าค เปนประธานในพิธเี ปดงาน Thailand Lighting Fair 2017 ภายใตธมี Smart City. Safe City. ซึง่ จัดโดยการไฟฟาสวนภูมภิ าค รวมกับ เมสเซแฟรงคเฟรต และ บริษทั ดิเอ็กซซบิ สิ จํากัด ภายใน งานมีผูประกอบการไทยและตางประเทศเขารวมกวา 500 บูธ ยกทัพเทคโนโลยีเพือ่ การบริหารและจัดการพลังงานไฟฟาอัจฉริยะ ใหมปี ระสิทธิภาพสูงสุดและนําเสนอมิตใิ หมแหงการออกแบบแสง ในยุคสถาปตยกรรม 4.0 จากนักออกแบบแสงชือ่ ดังระดับโลกและ ของไทย เสริมสกุล คลายแกว ผูวาการ การไฟฟาสวนภูมิภาค กลาววา งาน Thailand Lighting Fair 2017 นอกจากจะเปนการ เปดโอกาสใหนักลงทุนจากทั่วภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต ใชเปนศูนยกลางเครือขายธุรกิจในระดับภูมิภาคแลว ยังมุงเนน ผลิตภัณฑนวัตกรรมชาญฉลาด เทคโนโลยีทลี่ าํ้ สมัย พรอมความ ปลอดภัย และรูปแบบทีส่ รางสรรค เพือ่ การใชชวี ติ ทีง่ า ยขึน้ รวม ทั้งจัดแสดงผลิตภัณฑดานไฟฟาแสงสวางเพื่ออาคารประหยัด พลังงาน เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย เทคโนโลยีอาคารอัตโนมัติ และระบบรักษาความปลอดภัยอัจฉริยะ เพือ่ สงเสริมใหชมุ ชนเมือง เปนเมืองอัจฉริยะและเปนเมืองปลอดภัยอยางแทจริง ในสวนบูธจัดแสดงนิทรรศการของ กฟภ. มีการนําเสนอระบบ บริหาร และจัดการพลังงานอัจฉริยะ หรือ PEA HiVE Platform ทีส่ ามารถบริหารจัดการการใชพลังงานภายในบาน ใหสอดคลอง กับความตองการไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทัง้ ใหคาํ ปรึกษาดาน บริหารจัดการเพื่อประหยัดพลังงาน สําหรับภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคอุตสาหกรรม ใหความรูทางดานเทคนิค การลงทุน การ ใหบริการติดตั้ง Solar Rooftop และ Solar Farm พาขวัญ เจียมจิโรจน ผูจัดการทั่วไป บริษัท ดิเอ็กซซิบิส จํากัด กลาววา การจัดงาน Thailand Lighting Fair 2017 ไดขยาย พื้นที่การจัดงานเปน 3 ฮอลล บนพื้นที่กวา 15,000 ตารางเมตร โดยจัดพรอมกับงาน Thailand Building Fair 2017 เพื่อแสดง เทคโนโลยีระบบอาคารอัตโนมัติตามแนวงาน Light+Building ของ Messe Frankfurt ที่ประสบความสําเร็จอยางสูงในเยอรมนี และงาน Secutech Thailand 2017 ภายใตแนวคิด Smart City. Safe City. ทัง้ นี้ พิธเี ปดงานจัดขึน้ ณ ฮอลล 102 ศูนยนทิ รรศการ และการประชุมไบเทค บางนา
GreenNetwork November-December 2017
GREEN
GREEN
Read
Story
หนอนหนังสือ
พาไล
ศาสตร ชะลอวัย 1
ผูเขียน : ศ. ดร.นพ.วิจิตร บุณยะโหตระ สํานักพิมพ : วิจิตร บุณยะโหตระ หนังสือเลมนีไ้ ดรวบรวมเนือ้ หาสาระ สําคัญอันเกี่ยวของกับ “ศาสตรชะลอวัย” เอาไวอยางละเอียดถี่ถวนสมบูรณแบบ จนแทบจะเรียกไดวาเปน “คัมภีรแหงการ ชะลอวัย” ผูที่ไดนําหนังสือเลมนี้ไปศึกษา หาความรูแลวเอาความรูไปสูภาคปฏิบัติ อยางจริงจังและสมํา่ เสมอก็มนั่ ใจไดวา จะ สามารถยืดอายุขยั หรือตายชาลง เสมือนหนึง่ การแชแข็งอายุ ชะลอวัยเอาไว ไดอยางแนนอนไมมากก็นอ ย ศาสตรชะลอวัย 1 จะชวยใหผอู า นมีสขุ ภาพทีด่ ี แข็งแรง สดชืน่ เยาววยั และมีอายุยนื ยาว เมือ่ อานดวยจิตสมาธิ อานซํา้ ๆ บอยๆ และยังสามารถปฏิบัติตามไดงายอีกดวย
วิธีขโมยความสําเร็จจาก อนาคต : The Success Principles
ผูแตง : Jack Canfield ผูแปล : พรเลิศ อิฐฐ สํานักพิมพ : วีเลิรน “ความพยายามอยูท ไี่ หน ความสําเร็จ อยูท นี่ นั่ ” นัน่ คือคติพจนประจําใจของผูค น มากมาย พวกเขาทุม เททําปจจุบนั ใหดที สี่ ดุ แลว “รอ” ใหชวี ติ ดีขนึ้ อยางทีห่ วังไวสกั วัน ไมวา จะรวยขึน้ เกงขึน้ หรือประสบความสําเร็จมากขึน้ ปญหาคือบางคนตอง รอถึง 10 ป 20 ป 30 ป หรือที่แยกวานั้นคือตองรอไปตลอดทั้งชีวิต! แตจะ เกิดอะไรขึน้ ถาเราสามารถเรงความสําเร็จจากอนาคตใหเกิดขึน้ ไดตงั้ แตวนั นี้ เลย หนังสือเลมนี้จะเผยกฎแหงความสําเร็จ 25 ขอที่เรียบงาย ใชไดผลจริง และชวยเปลีย่ นชีวติ คนมาแลวนับลานๆ จากผูเ ชีย่ วชาญดานความสําเร็จอันดับ หนึง่ ของโลก ไมวา สิง่ ทีค่ ณ ุ วาดฝนไวจะเปนอะไร แคนาํ กฎเหลานีไ้ ปใช คุณก็ จะเห็นตัวเองประสบความสําเร็จเร็วขึ้นได
ชีวิตดี๊ดี แค เปลี่ยนวิธี ตัดสินใจ
ผูเขียน : Hilly Janes ผูแปล : จิตรลดา สิงหคํา เมื่อการตัดสินใจสามารถเปลี่ยน แปลงชีวิตของคุณได หนังสือ “ชีวิตดี๊ดี แคเปลีย่ นวิธตี ดั สินใจ” Hilly Janes กูรดู า น ไลฟสไตลชื่อดังจากอังกฤษ ไดรวบรวม เคล็ดลับการตัดสินใจทีจ่ ากประสบการณ ขอเท็จจริง และขอมูลทางวิทยาศาสตร มาแนะนําไวอยางเขาใจงาย ซึ่งจะชวยใหคุณตัดสินใจกับสิ่งที่พบเจอในชีวิต ประจําวันไดงายขึ้น และเปลี่ยนแปลงชีวิตของคุณไปในทางที่ดีขึ้น 12
ธงกฐิน
ตุลาคมทีผ่ า นมาไดไปทอดกฐิน สังเกตวาในงานมีธง แตกอ นเลาถึงธง คุยทีม่ าของ กฐินกันสักนิด กฐิน ตามศัพทบาลีแปลวา สะดึงหรือกรอบ หมายถึงกรอบไมหรือไมแบบทีใ่ ชขงึ ผา ที่จะเย็บ ผาที่วานี้ก็คือผาเปอนฝุน หรือผาหอศพที่พระภิกษุเก็บจากปาหรือกองขยะ เหตุ เพราะในสมัยพุทธกาลผาหายาก ภิกษุสงฆตองอาศัยผาเหลานี้นุงหม เรียกวา ผาบังสุกุล กอนใชก็ยอมดวยแกนขนุนกลบรอยไมนามอง แลวจึงตัดและเย็บเปนจีวร ขั้นตอนนี้เองที่ ตองอาศัยสะดึง พระสงฆในสมัยนัน้ ไมอยูป ระจําทีย่ กเวนในพรรษา ดังนัน้ เมือ่ สิน้ พรรษาทานก็เตรียม ออกเดินทาง เครือ่ งนุง หมจึงตองพรอม แมทา นครองจีวรสามผืนแตเปนพุทธานุญาตพิเศษ ใหพระสงฆที่อยูรวมกันจนครบพรรษาตั้งแตหารูปขึ้นไป สามารถรับจีวรไดอีกหนึ่งผืน จะ เปนผาทับซอน ผาหม หรือผานุงก็ได แตตองยอมและเย็บใหเสร็จภายในหนึ่งวัน เรียกวา ผากฐิน ผาทีว่ า นัน้ ก็ตอ งมีผถู วาย จะเปนคฤหัสถถวายหรือพระรูปใดรูปหนึง่ เก็บมาก็ได แต หามเอยปากขอ เมือ่ มีผา แลว คณะสงฆตอ งประชุมหารือวา ผาทีไ่ ดมานีเ้ หมาะควรแกพระรูป ใด ขอพิจารณาก็คาํ นึงถึงความประพฤติและความจําเปน เมือ่ ไดฉนั ทานุมตั แิ ลว พระสงฆ ผูไดรับเลือกก็อธิษฐานครองจีวร ตอจากนั้นพลังสามัคคีในหมูสงฆก็บันดาลใหผาหนึ่งผืน สําเร็จลุลว งเปนจีวรไดภายในหนึง่ วัน สุดทายพระสงฆผไู ดรบั ผาตองกลับมาแจงในทีป่ ระชุม อีกครัง้ วาผากฐินสําเร็จพรอมใชงานแลว เรียกขัน้ ตอนนีว้ า กรานกฐิน คํานีโ้ ดยศัพทหมายถึง ขึงผากับไมสะดึงเพือ่ ตัดเย็บ แตในทีป่ ระชุมขณะนัน้ หมายถึงอนุโมทนารับผาทีเ่ สร็จเรียบรอย ผากฐินวันนีไ้ มตอ งระดมสรรพกําลังสงฆเชนในพุทธกาล เพราะอุบาสกอุบาสิกาจัด สําเร็จ แถมดวยบริวารกฐินอีกมากมาย และกอนทอดถวาย (โดยไมเจาะจง) ก็นิยมนําผา กฐินพรอมบริวารแหรอบพระอุโบสถ ขั้นตอนนี้เองที่ธงกฐินจะปรากฏชัด ปจจุบันธงกฐินมีใหเห็นนอย แตในสมัยบรรพบุรุษที่วัดและบานเรือนตั้งอยูริมนํ้า ธงกฐินชวยสื่อความหลายเรื่อง เชน ธงตะขาบสื่อวาวัดนี้มีผูจองกฐินแลว ธงจระเขใชนํา ขบวนเรือ ธงนางมัจฉาใชประดับขณะทอดถวายผา เพราะเชื่อวาเกิดชาติหนาจะมีรูปงาม สวนธงเตานั้นปกใหรูวาวัดนี้ทอดกฐินเรียบรอยแลว (บางแหงก็ปกธงจระเข) ทุกวันนีส้ ธี่ งหายาก แตธงจระเขกบั ธงนางมัจฉายังพอมีใหเห็น แตกเ็ ห็นไมนาน เพราะ เสร็จพิธแี ลวสองธงก็จะหายวับไปจากวัดดวยเชือ่ วา ธงจระเขเปนธงเศรษฐี เก็บไปปกทีบ่ า น แลวจะรํา่ รวย ธงนางมัจฉาก็เลยหายตามไปดวย หนาวัดจึงไมเหลือธงใหผผู า นไปมาอนุโมทนา บุญดังเชนแตเกากอน ตํานานเลาวา ธงจระเขนนั้ มีทมี่ าจากเศรษฐีหวงสมบัติ ครัน้ ตายแลวก็ไปเกิดเปนจระเข เฝาสมบัติที่ฝงไว คราหนึ่งนํ้าทวมใหญตลิ่งใกลพัง สมบัติกําลังจะจมหาย จระเขจึงไปเขา ฝนลูกชายใหนาํ ทรัพยทงั้ หมดทีฝ่ ง ไวไปทําบุญ ขบวนเรืองานบุญคราวนัน้ จึงมีจระเขวา ยนํา้ นําไป แตอีกนัยหนึ่งกลาววาธงกฐินแทนคติธรรมสี่คือ ธงจระเขปากใหญกินไมรูอิ่มแทน โลภะ ธงนางมัจฉางามชวนหลงใหลแทนโมหะ ธงตะขาบพิษรอนแทนโทสะ และธงเตาแทน สติเพราะรูจักหดหัวปดกั้นอารมณกระทบ ธงทั้งสี่จะอยูหรือไปไมสําคัญเทา ธงปฏิบัติขัดเกลาและธงสามัคคียังมีอยู อางอิงภาพ z http://www.flagvictory.com/images/Buddhist/flag_victory_b.jpg
GreenNetwork November-December 2017
GREEN
Product ชื่น ชอบ ช็อป
Rocketbook Wave สมุดโนต Rocketbook Wave มอบอิสรภาพใหม ใหกับปากกาและสมุดโนตแบบเดิมๆโดยสามารถสงขอมูล ที่เขียนบัน ทึกไวไปยังระบบคลาวด เพื่อจัดเก็บทัน ทีผาน สมารทโฟนและเมือ่ ใชปากกา Pilot FriXion เขียนลงบนสมุด Wave เลมนี้ ผูใชสามารถลบขอมูลที่เขียนไวโดยใชเตา ไมโครเวฟ เทานี้สมุดโนตก็พรอมกลับมาใชงานไดอีกครั้ง มีใหเลือก 2 ขนาด สมุดโนต 1 เลม มาพรอมปากกา 1 ดาม สําหรับผูท ส่ี นใจติดตอไดท่ี Ecotopia ชัน้ 4 สยามดิสคัฟเวอรี่
Solar Paper Solar Paper หรือทีช่ ารจแบตเตอรีจ่ ากพลังงานแสงอาทิตย ที่ ดี ไ ซน อ อกมาได บ างเหมื อ นกระดาษ น้ํ า หนั ก เบาพกพาง า ย สามารถใชกับอุปกรณพวกสมารทโฟน แท็บเล็ต หรืออุปกรณ พกพาอื่นๆ ได แถมชารจแบตเตอรี่ไดเร็วพอๆ กับการชารจจาก ไฟบาน จดเดน คือ เรื่องของดี ไซนที่ทําออกมาใหบางและเบา สามารถพกพาไดสะดวก และถาตองการชารจอุปกรณที่ตองใช พลังงานมากขึ้นก็สามารถตอแผง Solar Paper เพิ่มเขาไปเพื่อรับ พลังงานแสงอาทิตยไดมากขึ้น ทําใหชารจไฟเขาไดเสถียรเหมือน ชารจไฟบาน สําหรับผูที่สนใจติดตอไดที่ Ecotopia ชั้น 4 สยาม ดิสคัฟเวอรี่
Grow Up Paper Grow Up Paper สุมดโนตและกระดาษโนตที่สามารถ นําไปปลูกผักได โดยในสมุดโนตและกระดาษโนตไดมีการฝง เมล็ดพันธุผักที่สามารถบริโภคได เพียงแครดน้ํากระดาษใหชุม ทุกวัน ประมาณ 7-14 วัน ตนกลาเล็กๆ จะงอกออกมาจาก กระดาษ หลังจากนัน้ นําไปวางบนดินทีต่ อ งการปลูก โดยไมตอ ง ดึงกระดาษที่ติดรากตนกลาออก รดน้ําสม่ําเสมอทุกวัน รากจะ คอยๆ ไชลงสูพื้นดินและเติบโตตอไป กระดาษก็จะยอยสลาย ตามธรรมชาติ Grow Up Paper นับวาเปนกระดาษที่สื่อความ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม สําหรับผูที่สนใจติดตอไดที่ Ecotopia ชั้น 4 สยามดิสคัฟเวอรี่
13
GreenNetwork November-December 2017
GREEN
Tips Mr.Save
A);1 /)1 หลายคนเปลี่ ย นมาใช ห ลอด LED เพราะชวยใหประหยัดไฟไดมากกวาถึง 80% ใหแสงสวางที่มากกวา ไมมีรังสี UV มาทํารายผิว ของเราอีกดวย และอายุการใชงานหลอดก็ยาวนาน กวาหลอดทั่วไป
LED D/ę <ę% Ę6
3. หลอดขาวขุ นหรือหลอดใส
เราจะสังเกตไดวา หลอดไฟมีทั้งแบบ หลอดใสและแบบขาวขุน ซึ่งผิวเคลือบของ หลอดที่ตางกันก็จะใหแสงที่ตางกัน หลอดใส เหมาะใชกับโคมไฟที่ออกแบบตัวโคมใหสราง ลวดลาย ก็จะตองการการกระจายแสงที่มาก ส ว นหลอดขาวขุ น จะให แ สงที่ ส ม่ํ า เสมอ เหมาะใชกับพื้นที่ใหแสงแบบไมตองมีตัวโคม
LED กับเทคโนโลยีส องสว าง
Light Emitting Diode เปนเทคโนโลยี ของการสองสวางแบบใหม ที่ทนทาน ใหความ สวางสูง กินไฟนอย เกิดความรอนต่ํา ซึ่งระดับ ความสวางก็ตา งกันตาม Chip LED โดยสามารถ ดูคาความสวางหรือปริมาณแสง (ลูเมน : lm) ที่จะบงบอกคาความสวาง เชน หลอดไสขนาด 100 วัตต ใหแสงสวาง 400 ลูเมน เมือ่ เทียบกับ LED จะกินไฟเพียง 5 วัตตเทานั้น
4. สวิตช หรี่ไฟ Dimmable
การเลือกใชหลอด LED สําหรับแตละที่ ตองดูดวยวาตองการใหหรี่ไฟไดหรือไม หลอด LED บางรุนหรี่ไฟได บางรุนหรี่ไฟไมได สังเกต ได จ ากสั ญ ลั ก ษณ (ภาพ Dimmable / Not Dimmable)
วิธีเลือกหลอดไฟ LED 1. สีของแสง
5. รูปทรงหลอดไฟ LED
แสงของหลอดไฟ จะมี 2 แสงหลัก คือ แสงนวล (สี Warm White) จะใหแสงนวลตา อบอุนเหมาะกับการ พักผอน และแสงขาว (สี Day Light) ใหแสงสวางมาก เหมาะ กับพืน้ ที่ใชงาน เชน หองทํางาน หองครัว ทีต่ อ งการแสงทีส่ วางชัด สบายตา สี Warm White ใหแสงสีแดงออกโทนสม เปนโทนสีรอน โทนอบอุน คาอุณหภูมิสีของแสงอยูที่ ต่ํากวา 3,000 เคลวิน สี Cool White ใหแสงสีในทาง สีขาว เปนโทนสีดูเย็นสบายตา คอนขางสวางกวาเมื่อเทียบกับสี Warm White คาอุณหภูมิสีของแสงอยูที่ 3,000-4,500 เคลวิน สี Day Light ใหแสงสีโทน ออกขาวอมฟา คลายแสงธรรมชาติตอนกลางวัน คาอุณหภูมิสีของแสงอยูที่ 4,500-6,500 เคลวินขึ้นไป ใหคาสีที่สมจริง
2. ขั้วหลอดต างขนาด
ขั้วหลอดไฟ LED ที่ใชกับโคมเปนแบบไหน ตองไมลืมสังเกตใหแนใจวา เปนขั้วเกลียว ขั้วเกลียวเล็ก ขั้วเข็ม หรือขั้วเสียบ
หลอดจําปา ใหแสงคลายแสงเทียนเหมาะสําหรับ โคมไฟประดับที่ตองการเพียงแสงสลัวๆ หลอดทรงกลม ใหแสงสวางองศากวาง เหมาะใชโคมไฟ และโปะโคมที่สรางลวดลายเวลาเปดไฟ หลอดทรงยาว ใหแสงคลายหลอดฟลูออเรสเซนตหรือหลอด นีออน เหมาะสําหรับใหแสงสวางทั่วไป
6. มุมกระจายของแสง
การใหแสงของหลอด LED จะเปนแบบแสงพุงตรงเหมือนแสงจากไฟฉาย ดังนั้นในการเลือกหลอด LED จึงตองดูเรื่องการกระจายแสง จากรีเฟลกเตอร ของหลอดไฟแตละรุนประกอบดวย เพื่อใหแนใจวาการเปลี่ยนมาใชหลอด LED จะใหความประหยัดจริง ตองดูทคี่ า ประหยัดไฟของหลอดไฟ ทีม่ ตี งั้ แตระดับ A++ คือประหยัดสูงสุด ไปจนถึง E ซึ่งจะลดระดับความประหยัดลงมา การเปลี่ยนมาใชหลอดไฟ LED ทดแทนหลอดไฟที่ ใชอยูปจจบัน ซึ่งให ความสวางที่มากกวา แตกินไฟนอยกวาหลอดไฟแบบเดิม นอกจากชวยประหยัด รายจายแลว ยังมีสวนชวยในการดูแลสิ่งแวดลอมไปพรอมกัน ที่มา : HomePro
14
GreenNetwork November-December 2017
GREEN
Health คุณนายเขียว
C2)A '
5g"÷ E%Ę 5 .9 9 Ę1.< $6"
โฮลเกรน (Whole Grains) คือ ธัญพืชเต็มเมล็ดที่ไมผานการขัดสี หรือขัดสีนอยที่สุด โดยยังคงมีสวนประกอบ สําคัญอยูอ ยางครบถวน ไดแก เยือ่ หุม เมล็ด เนือ้ เมล็ด และจมูกขาว ถือเปนสวนทีม่ คี ณุ คาโภชนาการสูงทัง้ ไฟเบอร วิตามิน แรธาตุ และไฟโตนิวเทรียนท หรือสารตอตานอนุมูลอิสระตางๆ โฮลเกรน อุดมดวยวิตามินอี วิตามินบีรวม แรธาตุตางๆ และใยอาหาร มีสารตานอนุมูลอิสระที่มีประสิทธิภาพสูง ซึ่งชวยปกปองการเสื่อมสภาพของเซลล เสริมสรางระบบประสาทและเซลลเม็ดเลือดแดงใหแข็งแรงสมบูรณ ตัวอยางของ โฮลเกรน ไดแก ขาวกลอง ขาวสาลี ขาวโพด ขาวโอต ขาวบารเลย ขาวไรย ลูกเดือย รวมถึงอาหารจําพวกขนมปงโฮลวีต ซีเรียลธัญพืช สวน โฮลวีต (Whole Wheat) นั้นคือ ธัญพืชเต็มเมล็ดที่เปนขาวสาลีเทานั้น แตความจริงแลวไมใชแคขาวสาลี ที่เปนโฮลเกรน ดังนั้นจึงตองทําความเขาใจกับทั้งสองคํานี้ใหถูกตอง เพื่อใหไดรับประโยชนสูงสุดในการบริโภค จากขอมูลของงานวิจยั พบวาการรับประทานอาหารทีอ่ ดุ มดวยโฮลเกรนอาจชวยลดความเสีย่ งของการมีอายุสน้ั ได นักวิจยั พบวาคนทีร่ บั ประทานโฮลเกรนอยางนอย 3 หนวยบริโภคทุกวัน มีแนวโนมทีจ่ ะเสียชีวติ จากสาเหตุใดๆ ก็ตาม นอยกวาคนทีร่ บั ประทาน โฮลเกรนนอยกวาหนึ่งหนวยบริโภคตอวันถึง 20% ชวยลดความเสี่ยงของการเสียชีวิตจากโรคหัวใจลง 25% และชวยลดความเสี่ยงของ การเสียชีวติ จากโรคมะเร็งลง 14% เมือ่ เทียบกับการรับประทานโฮลเกรน 1 หนวยบริโภคหรือนอยกวา ในการศึกษาครัง้ นี้ไดวเิ คราะหขอ มูล ของผูคนทั้งหมดมากกวา 786,000 คน โดยผูที่เสียชีวิตเกือบ 98,000 คน เปนผูเสียชีวิตจากโรคหัวใจกวา 23,000 คนและจากโรคมะเร็ง กวา 37,000 คน นอกจากนี้ยังพบวาแตละหนึ่งหนวยบริโภคหรือ 0.5 ออนซ (16 กรัม) ของโฮลเกรนตอวันจะชวยลดความเสี่ยงของการ เสียชีวิตจากสาเหตุใดๆ ลง 7% ลดความเสี่ยงของการเสียชีวิตจากโรคหัวใจลง 9% และลดความเสี่ยงของการเสียชีวิตจาก โรคมะเร็งลง 5% ทั้งยังชวยลดระดับน้ําตาลในเลือด ลดระดับคอเลสเตอรอล และลดไขมันในรางกาย และงานวิจัยยังไดคนพบวา การเกิดของโรคจอประสาทตาเสื่อม (AMD) มาจากคาดัชนีน้ําตาลที่สูงอีกทั้ง Macular หรือจดกลางรับภาพจอประสาทตานัน้ เปนสวนที่ไวตอการมองเห็นมากทีส่ ดุ ดังนัน้ การบริโภคโฮลเกรน ซึง่ เปนธัญพืชทีผ่ า น กระบวนการขัดสีนอยเปนประจํา ก็จะสามารถชวยใหการเกิดของโรคจอประสาทตาเสื่อม (AMD) ลดลงไดถึง 8% อีกหนึ่งกรณีศึกษาจากวารสารโภชนาการประเทศอเมริกา เผยวาคนที่กินโฮลเกรนเปนประจําทุกวัน อยางเชน ขาวโอต ขาวกลอง หรือขาวบารเลย จะมีหุนที่สวยเพรียวกวาคนที่ไมกินถึง 85% เนื่องจากโฮลเกรนเต็มไปดวยไฟเบอร ที่เมื่อกินไปแลวกระเพาะจะยอยอยางชาๆ ชวยใหคุณอิ่มทองไดนานขึ้น ไมกินจบจิบระหวางวัน โฮลเกรนเปนอีกหนึ่ง เคล็ดลับทีช่ ว ยสาวๆ ควบคุมนา้ํ หนัก และดูแลสุขภาพโดยรวมของสาวๆ ใหดขี นึ้ อยางไรก็ดี มันยังชวยลดการอักเสบ ตางๆ ภายในรางกายไดดวย อยางรอยฟกช้ํา และอาการบวมอักเสบ สารอาหารทีพ่ บในโฮลเกรนนัน่ เองทีท่ าํ ใหคนเรามีสขุ ภาพดี เชน ไฟเบอรชว ยลดคอเลสเตอรอล และชวยใหรสู กึ อิม่ ทําใหกนิ นอยลง แมกนีเซียมชวยทําใหอนิ ซูลนิ ทํางานไดดขี นึ้ และลดความดันโลหิต และสารตานอนุมูลอิสระชวยในการตอสูกับความเครียดไดอีกดวย ที่มา : www.takieng.com
15
GreenNetwork November-December 2017
ปจจบันจํานวนประชากรไทยเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง และมีอัตราการโยกยายเขามาอาศัยอยูในเมืองใหญมากขึ้น ทําให เมืองมีขนาดใหญและซับซอนกวาอดีต จึงจําเปนตองสงเสริมใหชมุ ชนเมืองมีสงั คมและเศรษฐกิจทีม่ คี ณุ ภาพ ดวยการใชเทคโนโลยี GREEN สารสนเทศมาพัฒนาระบบการขนสงและการใชพลังงานที่มีประสิทธิภาพ เพื่อใหประชากรมีสุขพลานามัยที่ดี มีคุณภาพชีวิตที่ดี Cover ภายใตสิ่งแวดลอมที่มีคุณภาพ สะดวก สะอาด ปลอดภัย รองรับสังคมที่จะมีความซับซอนยิ่งขึ้นในอนาคต กองบรรณาธิการ ลาสุดกระทรวงพลังงาน ไดมีการสนับสนุนใหเกิดการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ โดยในระยะแรกไดจัดใหมีโครงการสนับสนุน การออกแบบเมืองอัจฉริยะ ซึ่งไดรับการตอบสนองจากนักพัฒนาเมืองในทุกระดับเปนอยางดี โดยผานนโยบายที่จะสงเสริมการ พัฒนาเมืองอัจฉริยะ 4 ดาน คือ 1. ดานพลังงานและสาธารณูปโภคพืน้ ฐาน พิจารณาสงเสริมการพัฒนาระบบผลิตไฟฟาเพือ่ ใชเองภายในเมืองอัจฉริยะ การสงเสริม ใหดําเนินการระบบ Micro-grid การพิจารณาสงเสริมการสงจายและจําหนายไฟฟาภายในโครงการโดยใหภาคเอกชนสามารถซื้อขายแลกเปลี่ยนไฟฟาเองได การสงเสริมการลงทุนในการผลิตไฟฟาจากพลังงานทดแทน การสงเสริมการเดินทางโดยพาหนะที่เปนมิตรกับ สิง่ แวดลอม ตลอดจนการสงเสริมใหเมืองอัจฉริยะสามารถผลิตและใหบริการโครงสรางพืน้ ฐานทัง้ ดานกายภาพ (Physical Infrastructure) และโครงสรางดานดิจิทัล (Digital Infrastructure) ไดเองภายในขอบเขตของเมือง 2. ดานผังเมืองและการขนสง พิจารณาการจัดรูปผังเมืองเฉพาะสําหรับเมืองอัจฉริยะ เพื่อลดขอจํากัดในการใชพื้นที่ สําหรับการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ และสามารถจัดผังเมืองทีส่ ง เสริมใหใชพลังงานนอยลงในการเดินทาง หรือ เดินหรือขีจ่ กั รยาน ซึ่งไมตองใชพลังงานในการเดินทางไดโดยสะดวก รวมทั้งพิจารณาสงเสริมใหเมืองอัจฉริยะสามารถใหบริการระบบขนสง มวลชนภายในเมืองของตนเอง โดยจะใหความสําคัญกับระบบพลังงานสะอาดเปนหลัก 3. ดานชุมชนเมือง สิ่งแวดลอม และการทองเที่ยว สงเสริมใหมีการกําหนดมาตรฐานดานความปลอดภัย สุขภาพ การปองกันภัยพิบัติ การดูแลผูสูงอายุ ผูทพุ พลภาพ ใหความสําคัญกับรูปแบบการเรียนรูตลอดชีวิตโดยการพัฒนาแหลง เรียนรูดานตางๆ ภายในเมืองอัจฉริยะ ตลอดจนพิจารณาความเปนไปไดในการใหสิทธิ หรือสวัสดิการพิเศษสําหรับผูอยู อาศัย หรือทํางานในเมืองอัจฉริยะ กําหนดทิศทางใหเมืองอัจฉริยะเปนแหลงเรียนรู สถานทีพ่ กั ผอน และทองเทีย่ ว สําหรับครอบครัว 4. ดานการบริหารจัดการเมือง สงเสริมใหมีระบบการบริหารจัดการเมืองอัจฉริยะเพื่อใหเมือง คงความเปนอัจฉริยะในดานตางๆ ไดอยางตอเนือ่ ง เนนการมีสว นรวมของชุมชน โดยใชเทคโนโลยี ดิจิทัลชวยในการบริหารจัดการและตองสามารถตรวจสอบขอมูลตางๆ ไดตลอดเวลา โครงการสนับสนุนการออกแบบเมืองอัจฉริยะ โดยการสนับสนุนจากกองทุนเพือ่ สงเสริม การอนุรักษพลังงาน มีสถาบันอาคารเขียวไทยเปนผูดําเนินโครงการ เพื่อกระตุนและใหการ สนับสนุนหนวยงานภาครัฐ องคกรเอกชน ในการออกแบบและพัฒนาเมือง หรือโครงการ ในลักษณะชุมชนเมืองไปสูเ มืองอัจฉริยะ โดยโครงการทีผ่ า นการพิจารณามี 6 โครงการ ไดแก
16
GreenNetwork November-December 2017
นิด า
มหาวิทยาลัยอัจฉริยะ รู รักษ พลังงาน สู การพัฒนาที่ยั่งยืน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร (นิดา) ไดเขารวมการประกวดการ ออกแบบเมืองอัจฉริยะ Smart Cities -Clean Energy ครั้งแรกของประเทศไทย ซึ่งจัดโดยกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน รวมกับ มูลนิธิอาคารเขียวไทย รศ. พ.ต.อ.ดร.ประพนธ สหพัฒนา รองอธิการบดีฝายบริหาร กลาววา การเขารวมโครงการสนับสนุนการออกแบบเมืองอัจฉริยะ (Smart Cities - Clean Energy) ในครั้งนี้ ชวยใหนิดาไดแนวทางในการพัฒนาเมืองของชุมชนที่มีผลตอ การลดความตองการพลังงานและการใชพลังงานสูงสุด สงเสริมการใชพลังงาน ทดแทน ลดปญหาสิง่ แวดลอม นําไปสูก ารพัฒนาอยางยัง่ ยืน เพือ่ รองรับการเติบโต ของเมืองและเกิดการเรียนรูดานพลังงานสูชุมชนผานกระบวนการทางความคิด สรางสรรค และเพื่อเปนตนแบบมหาวิทยาลัยอัจฉริยะในพื้นที่เพียง 44 ไร นิดา มุงหนาสูการเปน “Smart Compact City” ที่มีจดเดนดังนี้ 1) พลังงานอัจฉริยะ (Smart Energy) เปนการพัฒนาระบบตางๆ เพือ่ ลด ความตองการพลังงาน และการใชพลังงานสูงสุด รวมทั้งสงเสริมการใชพลังงาน ทดแทน ไดแก โครงการ Solar Rooftop โครงการติดตั้ง LED โครงการติดตั้ง VSD สําหรับ Chilled Water Pump โครงการผลิต Biogas จากขยะอินทรีย โครงการติดตั้ง District Cooling โครงการติดตั้ง Air Inverter และโครงการ Smart Grid 2) การสัญจรอัจฉริยะ (Smart Mobility) เปนการพัฒนาระบบคมนาคม ขนสงภายในและเชื่อมโยงกับภายนอกใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ดวยการ สรางเมืองมหาวิทยาลัยแหงนี้ใหเปน Intermodal Transportation Hub แหงใหม ของกรุงเทพฯ โซนตะวันออก โดยการเชื่อมโยงทางเดินเทา ทางจักรยาน และ รถไฟฟาในอนาคต โดยจะมีรถ Shuttle Bus พลังงานไฟฟาจากสถานีรถไฟฟา และทาเรือเขาสูสถาบัน พรอมทั้งมีระบบสื่อสารระยะไกล พลังงานตํ่าหรือ LoRa-Wan เชื่อมตออุปกรณอัจฉริยะ เขาสู Data Analytic Center ของเมือง เพื่อประมวลผลขอมูลสําหรับการวางแผนอยางมีสวนรวมพัฒนาเมืองในทุกมิติ
3) ชุมชนอัจฉริยะ (Smart Community) เปนการพัฒนาสังคมในอนาคตที่ ผูม สี ว นเกีย่ วของ ทุกกลุม มีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ แี ละมีความปลอดภัยในชีวติ และทรัพยสนิ 4) สิ่งแวดลอมอัจฉริยะ (Smart Environment) พัฒนาสภาพแวดลอม โดยการเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวและการลดปญหาสิง่ แวดลอม ผานโครงการ Smart Nature Trails โครงการ Smart Waste Management และโครงการ Smart Water โดย หลังพัฒนา Smart Campus พื้นที่สีเขียวจะเพิ่มขึ้นอีก 70% ขยะจะถูกรีไซเคิลเพื่อ ทําปุย อินทรียใ หตน ไมและนําไปทําเปนไบโอแกสภายใน 3 ป ขยะจะลดลงเหลือ 40% และภายใน 5 ป จะเหลือเพียง 20% 5) เศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart Economy) การพัฒนาแบบจําลองทางธุรกิจ เพื่อประเมินความคุมคาทางเศรษฐกิจของการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ นิดาจะเปน แมแบบและศูนยกลางในการถายทอดความรูผาน Online Courseware โดย โครงสราง Crowd Funding Platform จะเชื่อมโยงระหวางคนในชุมชน และให คําปรึกษาผาน Business Insight and Neuroscience สวนคาไฟฟาที่ลดลงปละ 24 ลานบาทจะถูกนํามาลงทุนโครงการ Smart Campus ผลักดันใหนดิ า เปน World Class University 6) อาคารอัจฉริยะ (Smart Building) นอกจากอาคารสูงที่สุด 2 อาคาร จะถูกปรับปรุงตามมาตรฐานอาคารเขียวของ TREES ใน ระดับ Platinum แลว ยังมีการปรับปรุงอาคารใหเปนอาคารที่มีการใชพลังงานสุทธิเปนศูนย Net Zero Energy Building อีก 8 อาคารรวมอาคารหอประชุมฯ ทั้งนี้ Payback Period ทั้งโครงการอยูที่ 7.3 ป 7) การบริหารจัดการเมืองอัจฉริยะ (Smart Governance) ผูบริหารจะไม เพียงทราบอัตราการใชพลังงานจาก Smart Control System แตยังทราบขอมูล ปฏิบตั งิ านตามยุทธศาสตรและสถิตติ า งๆ ของสถาบันผาน Smart Dashboard ทัง้ นี้ Smart Campus ของนิดาใหความสําคัญตอ Open Data 8) Smart Innovation พัฒนา Machine Learning และ Big Data Analytics รวมกันเปนระบบ
เทศบาลนครขอนแกนไดมกี ารบริหารเชิงพืน้ ที่ และการบริหารจัดการในรูปแบบ ของความเปนเมืองสรางสรรค (Smart City) ซึ่งองคประกอบแหงความสําเร็จ หลายประการที่สามารถนํารูปแบบการบริหารจัดการเชิงสรางสรรคมานํารองปรับใช กับเมืองได โดยเฉพาะกระบวนการมีสว นรวมภาคประชาชนหรือกับองคกรเอกชน ไดแก บริษัท ขอนแกนพัฒนาเมือง (เคเคทีท)ี จํากัด ซึง่ เกิดจากการรวมตัวของกลุม นักธุรกิจ ชั้นแนวหนาของจังหวัดขอนแกน ทั้งหมดกวา 20 บริษัท เพื่อพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ของจังหวัดตนเองในเชิงออกแบบและพัฒนาเมืองอยางถูกหลักวิชาการ รองรับบทบาท ของเมืองที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต สามารถตอบสนองตอพลวัตของเมืองที่มีการ เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของสถานการณในการพัฒนาเมืองสูสากล สรางสังคม แหงความสุขไดนั้น ทางเทศบาลนครขอนแกน กับ บริษั ท ขอนแกนพัฒนาเมือง (เคเคทีที) มีแนวคิดพัฒนาแบบโครงขายระบบขนสงสาธารณะ 5 เสนทาง Mobility Drives City เพื่อทําใหเกิดการพัฒนา TOD และ การฟนฟูยานใจกลางเมืองปจจบัน CBD จึงเปนเหตุผลและความสําคัญของการศึกษาโครงการ “โครงการขอนแกน Smart City (ระยะที่ 1) กอสรางระบบขนสงมวลชน ระบบรางเบาสายเหนือ-ใต ตนแบบใน เมืองภูมภิ าคจังหวัดขอนแกนพรอมกับการพัฒนาโครงสรางเมือง และการจัดตัง้ กองทุน โครงสรางพื้นฐานโดยการลงทุนจากภาคเอกชนเพื่อการสรางโครงสรางเมืองอยาง นําสมัยและยั่งยืน
ขอนแก น Smart City
(ระยะที่ ๑) : ขนส งสาธารณะ เปลี่ยนเมือง
17
GreenNetwork November-December 2017
เมืองใหมอัจฉริยะบานฉาง ออกแบบเมืองใหม ในพื้นที่เกษตรกรรมและ พืน้ ทีว่ า งเปลา ซึง่ มีมลู คาทางเศรษฐกิจตา่ํ เพือ่ เปนเมืองแหงธุรกิจและการพักอาศัย ในเขตจังหวัดระยอง รองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจของประเทศไทย ที่มีความพรอมดานโครงสรางสาธารณูปโภคพื้นฐานและการคมนาคมที่สมบูรณ การพัฒนาเทคโนโลยีกับองคกรภาคเอกชน มีการพัฒนาระบบขอมูลเปด (Open Data) ใหคนเขาถึงกิจกรรมที่เกิดขึ้นในแหลงธุรกิจและรองรับการเติบโต ของประชากรในอนาคต มีการผลิตและใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพจากระบบ ผลิตไฟฟาและความรอนรวมและระบบผลิตจากโซลารฟารม และบริหารจัดการ โดยระบบโครงขายอัจฉริยะที่ควบคุมและจัดการการผลิตและใชพลังงานในพื้นที่ ตนเอง ติดตั้งระบบการจัดเก็บพลังงานแบบผสมผสาน (Hybrid Solar-Wind Power with battery system) ลดการใชพลังงานใหตํา่ กวาเกณฑ มีอาคารสมดุล พลังงาน (Net Zero Energy Building) และ บริการรถไฟฟาสาธารณะที่ใหบริการ แกคนทุกกลุม (Universal Design) สนับสนุนการเดินทางดวยทางเดินเทาและ ทางจักรยานภายในเมืองที่ประหยัดพลังงานและสงเสริมสุขภาวะแกผูอยูอาศัย โครงสรางพื้นฐานใชเทคโนโลยีสารสนเทศ IoT และโครงขายเคเบิลใยแกวนําแสง บรอดแบรนด เพื่อการติดตอสื่อสารและบริหารจัดการอยางทั่วถึงแกผูรับบริการ ทุกกลุม ทุกเวลา มี Free WiFi ทีค่ วามเร็วสูงใหใชในยานธุรกิจและทองเทีย่ วในเมือง และการควบคุมการจราจรจะถูกควบคุมและบริหารจัดการดวยนวัตกรรม OCR : Optical Character Recognition และยังเปนระบบรักษาความปลอดภัยของเมือง ดวย
เมืองใหม อัจฉริยะ
บ านฉาง
โครงการพัฒนาพื้นที่เขตพาณิชยของจฬาลงกรณมหาวิทยาลัย บริเวณสวนหลวง-สามยาน ถือเปนการพัฒนาพื้นที่ ที่เปนกรรมสิทธิ์ที่ดินขนาดใหญเพียงแหงเดียวในเขตพาณิชยกรรมศูนยกลางเมืองของกรุงเทพมหานคร ที่อยูติดกับพื้นที่ สถาบันการศึกษา ดวยขนาดพื้นที่ถึง 291 ไร จากที่ดินทั้งหมด 1,153 ไร ของจฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แนวคิดหลักในการทําผังแมบทสวนหลวง-สามยาน ประกอบดวย พื้นที่ตนแบบเมืองสุขภาวะ ที่คนสามารถใชชีวิต ไดอยางมีสุขภาพที่ดี ปราศจากมลพิษ พื้นที่ตนแบบทางธุรกิจ-สังคมเมืองใหม เปนจดนัดพบระหวางผลผลิตทางวิชาการ กับประชาคมเมืองกรุงตางๆ และ พื้นที่ตนแบบเมืองอัจฉริยะ ที่นําเอาเทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดลอมแบบตางๆ เขามาใช เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี และลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการอยูอาศัยในเมือง การที่โครงการพัฒนาพื้นที่เขตพาณิชยของจฬาลงกรณมหาวิทยาลัย บริเวณสวนหลวง-สามยาน จะกลายเปนพื้นที่ตัวอยางของ “เมืองอัจฉริยะ” ในบริบทของพื้น ที่พาณิชยกรรมศูนยกลางเมืองหลวง นอกจากจะสงผล ทางดานบวกกับคนเปนจํานวนมากในพืน้ ทีเ่ มืองทีม่ คี วามหนาแนนสูงทัง้ ในทุก มิตอิ จั ฉริยะของการจัดการพลังงาน การสัญจร ชุมชน สิง่ แวดลอม เศรษฐกิจ อาคาร รวมทั้งการบริหารจัดการเมือง และการสรางนวัตกรรมเมืองแลว วัตถุประสงคที่สําคัญและยั่งยืนที่สุดในการสรางเมืองอัจฉริยะ ที่นอกเหนือ ไปจากการสรางโครงสรางพื้นฐานและเทคโนโลยีใดๆ คือ ความสามารถใน การพัฒนาสังคมอัจฉริยะ ทีป่ ระกอบไปดวย “คน” ทีม่ จี ติ สํานึกอยางอัจฉริยะ พืน้ ทีเ่ มืองจฬาอัจฉริยะนี้ จะชวยยกระดับการเรียนการสอน สนับสนุนงานวิจยั และพัฒนา พฤติกรรมของนิสิตและบุคลากรอยางเต็มศักยภาพ สามารถ แลกเปลี่ยน ถายทอดความรูเชิงวิชาการ จากมหาวิทยาลัยสูสังคมภายนอก อยางแทจริงและเปนรูปธรรม อาทิ นวัตกรรมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ดานการแพทย ดานการพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรค สามารถพัฒนานวัตกรรม รวมกันระหวางมหาวิทยาลัย กับสถาบันการศึกษา อื่นๆ หรือหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งในและตางประเทศ รวมทั้งสงเสริมใหเกิด การพัฒนาองคความรูม าตอยอดในเชิงธุรกิจ ผานการพัฒนาพืน้ ทีพ่ าณิชยกรรม ศู น ย ก ลางเมื อ งที่ ตั้ ง อยู เ คี ย งคู กั บ พื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาเพี ย งแห ง เดี ย วของ กรุงเทพมหานคร ซึ่งจะเปนพื้นที่เมืองอัจฉริยะ ที่มีศักยภาพรองรับความ เปลี่ยนแปลงจากพลวัตของสิ่งแวดลอมโลก และพลวัตของคนรุนใหมจาก มหาวิทยาลัยที่หลอเลี้ยงเขามาในพื้นที่ตลอดไป
18
GreenNetwork November-December 2017
โครงการ
เมืองจุฬาฯ อัจฉริยะ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม มีนโยบายดานการบริหารจัดการพลังงานสีเขียวหลายโครงการ ทั้งที่ดําเนินการไปแลว และ อยูระหวางการดําเนินการ อาทิ โครงการผลิตพลังงานสะอาดจากแสงอาทิตยและชีวมวล โครงการลดการใชรถสวนตัว ในเมือง โครงการขยะเปนศูนย และโครงการรถสาธารณะพลังงานจากขยะ รวมถึงโครงการที่กําลังดําเนินการจัดตั้ง อีกมากมาย ไดแก โครงการเครือขายเมืองอัจฉริยะ (Absolute SMART Control) ทีเ่ นนการวางระบบเครือขายการควบคุม ตรวจสอบ และตรวจวัดระบบของเมืองครบวงจร ทั้งระบบ เกี่ยวกับพลังงาน ระบบรักษาความปลอดภัย ระบบการสัญจร และระบบสงเสริมการมีสวนรวมของประชากร เปนตน โครงการเพิ่มเครือขายการสัญจรสาธารณะ โครงการธุรกิจอัจฉริยะ โครงการปรับปรุงอาคารเดิมใหเปนอาคารเขียว (TREEs) และจัดทําแผน การกอสรางอาคารใหมใหเปนอาคารเขียวระดับยอดเยี่ยม (TREEs-Platinum) เปนตน ทั้งนี้เมืองมหาวิทยาลัยมุงเนนผลประโยชนของโครงการในภาพรวมออกเปน 3 สวน ไดแก ภาพรวมประโยชนทางพลังงาน ภาพรวมผลกระทบทางสิ่งแวดลอม และภาพรวมผลประโยชนตอ ชุมชน โดยที่เมืองสามารถสรางผลประโยชนทางพลังงานสุทธิไดจากการผลิตพลังงานสะอาดจาก แสงอาทิตยและชีวมวลไดถึงรอยละ 40 ของปริมาณการใชพลังงานของเมือง พลังงานสะอาดเหลานี้ นอกจากจะนํามาหักลบกับการใชพลังงานจากการไฟฟาในหมูบานและชุมชนแลว เมื่อเหลือใช ยังสามารถแบงปนไปยังหมูบานและชุมชนอื่นๆ ไดอีกดวย ผลกระทบทางสิง่ แวดลอม ในภาพรวมเมืองมีเปาหมายลดผลกระทบในแงการลดการปลดปลอย ปริมาณคารบอน (Carbon Reduction) ใน 20 ป ไดถงึ 32,370.68 tCO2/y คิดเปนรอยละ 55.2 ของ ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกปจจบัน (ป 2559) มหาวิทยาลัยเชียงใหมถือไดวาเปนปอดใหกับ เมืองและชุมชนรอบขางไดจากการมีปริมาณพื้นที่สีเขียวรอยละ 40 นอกจากนั้นยังมุงเนนเปนตนแบบ การจัดการพลังงานและ สิง่ แวดลอมครบวงจรใหกบั เมืองขางเคียงไดพฒ ั นาสูส งั คมสีเขียวแบบอัจฉริยะ สวนผลประโยชนตอชุมชน เปนที่แนนอนวาประชาชนทั้งในเมืองจํานวน 14 หมูบาน และ 6 ชุมชน ขางเคียงจะสามารถใชประโยชนพื้นที่สีเขียวในเมือง มีความสะดวกสบายในการสัญจรเพิ่มขึ้น อีกทั้ง การพัฒนาเทคโนโลยีที่สนับสนุนเมืองอัจฉริยะยังจะเปนการสรางนวัตกรรมและสามารถสงตอ องคความรูสูภาคธุรกิจ (Knowledge Transfer) โดยรอบได ซึ่งจะสามารถเพิ่มการลงทุนและสราง รายไดในเทคโนโลยีที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
ธรรมศาสตร ศูนย รังสิต :
ต นแบบเมือง มหาวิทยาลัยอัจฉริยะ
มช. (เมือง)
มหาวิทยาลัยอัจฉริยะ พลังงานสะอาด
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรงั สิต ไดจดั ทําการปรับปรุงผังแมบท ศูนยรงั สิตระยะยาว พ.ศ. 2577 (ธรรมศาสตร 100 ป) มุงเนนไปที่การปรับโครงหลักของผังใหเหมาะสม ไดแก การแบงสวนพื้นที่การสัญจร พื้นที่เปดโลงสีเขียว จดรวมกิจกรรมและ ระบบสาธารณูปโภคตางๆ เพื่อสรางความเปน “เมืองธรรมศาสตร” ที่เชื่อมโยงกันดวย 3 องคประกอบสําคัญ คือ 1. ศูนยธรรมศาสตรบริการ เพื่อสะทอนถึงอัตลักษณดั้งเดิมของมหาวิทยาลัย จึงสงเสริมการใชงาน และปรับลักษณะ ทางกายภาพของการเปน “ศูนยธรรมศาสตรเพือ่ ประชาชน” ในบริเวณ “ดานหนา” ทุกๆดานของมหาวิทยาลัย โดยใหมลี กั ษณะ เปดรับตอชุมชนภายนอกและมีการใชงานทีเ่ อือ้ ตอการบริการประชาชนอยางเต็มที่ ไดแก บริเวณทิศตะวันออก (ถนนพหลโยธิน) ใหเปนพื้นที่การบริการวิชาการดานการสงเสริมสุขภาพและรักษาพยาบาล บริการ หองสมุด พิพิธภัณฑ และสงเสริมความรู ดานธุรกิจ บริเวณทิศตะวันตก (สถานีรถไฟฟาสายสีแดง) ใหเปนพื้นที่เชิงพาณิชยกรรมแบบผสมผสาน เพื่อสงเสริมเศรษฐกิจ และพัฒนาคุณภาพชีวิต และบริเวณทิศใต (ถนนเชียงราก) ใหเปนพื้นที่บริการดานนันทนาการ กีฬาและวัฒนธรรม 2. ตนแบบเมืองมหาวิทยาลัย ครอบคลุมพืน้ ทีส่ ว นการศึกษาและสวนพักอาศัย ซีง่ ตัง้ อยูบ ริเวณ ใจกลางมหาวิทยาลัยและเปนหัวใจสําคัญของสถาบันการศึกษาและการปรับพื้นที่คํานึงถึงการใชงาน ทีค่ รบถวน สะดวกสบาย และเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม สรางความสะดวกในการเดินเทา การใชจกั รยาน และระบบขนสงมวลชน สรางความใกลชดิ ของกลุม คณะตางๆ เพือ่ ใหเกิด “ศูนยรวม” ทีช่ ดั เจนทัง้ ดาน กิจกรรม การแลกเปลี่ยนเรียนรู และการสรางสุนทรียภาพในการใชชีวิต รวมทั้งสงเสริมการใชถนน ตลาดวิชาและถนนยูงทองเพือ่ สรางการเชือ่ มโยงทางกายภาพกับสถาบันเพือ่ นบาน ไดแก สวทช. และ A.I.T. ซึ่งมีบทบาทสําคัญในการกอใหเกิด “ตนแบบเมืองมหาวิทยาลัย” อยางแทจริง 3. สวนธรรมศาสตรสาธารณะ องคประกอบหลักทั้ง 2 สวน ทั้งดานการบริการประชาชนและ ดานการศึกษา จะเชื่อมโยงเขาหากันดวย “สวนธรรมศาสตรสาธารณะ” ไดแก พื้นที่สวนนันทนาการ กีฬาและวัฒนธรรม และพื้นที่สวนการอนุรักษสิ่งแวดลอมเพื่อการเรียนรู โดยยึดแนวทางการจัดการ พืน้ ทีส่ เี ขียวภายในศูนยรงั สิตใหเกิดประโยชนสงู สุด ทัง้ ดานกิจกรรมพักผอนนันทนาการ พบปะสังสรรค การอนุรักษฟนฟูระบบนิเวศ และการใชงานดานสาธารณูปโภค โดยการสรางใหเกิดโครงขายสีเขียว (Green Network) ที่เชื่อมโยงคนทุกกลุมและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ใหอยูรวมกันอยางเกื้อกูล โครงการทัง้ หมดนี้ ชวยเปลีย่ นแปลงจากเมืองสูเ มืองอัจฉริยะ ไปพรอมกับการลดปญหาทางดาน สิง่ แวดลอม เกิดการใชพลังงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ตอลดจนการพัฒนานวัตกรรมเชิงสรางสรรค นําไปสู ธุรกิจใหม นับเปนสวนสําคัญที่ชวยกระตุนใหเกิดการพัฒนาตอยอดการสรางเมืองอัจฉริยะใหเกิดขึ้น อยางเปนรูปธรรมในอนาคตอันใกล 19
GreenNetwork November-December 2017
GREEN
Travel ตะลอนทัวร์
“นครนายก” เปนจังหวัดเล็กๆ ที่ ไมธรรมดา ทั้งยังอยูไมไกลจาก กรุงเทพฯ มากนัก ดวยระยะทางหางเพียง 105 กิโลเมตรเทานั้น แตหลายคน อาจจะมองขามไป ทั้งที่จริงแลวนครนายกเปนทั้งเมืองประวัติศาสตร มีทั้งภูเขา นาํ้ ตก ไมวา จะเปน วัดหลวงพอปากแดง, เขือ่ นขุนดานปราการชล (เขือ่ นคลองทาดาน), ซุม ปาไผ ณ วัดจฬาภรณวนาราม, พ.ฟารมเมลอน หรือภูกะเหรีย่ ง ทีร่ อใหนกั ทองเทีย่ ว ไดเขามาสัมผัสในมนตเสนหของนครนายกกัน
A&H 6& . 6&D E 5
The Chill Resort @Nakornnayok สําหรับหลายๆ คนที่วางแผนจะมาเที่ยวนครนายก แตยังไมมีสถานที่พัก เอาใจ คนรักธรรมชาติ อยาง “The Chill Resort @ Nakornnayok” รีสอรตทามกลางธรรมชาติ โอบลอมดวยขุนเขา ดานหนาติดแมนาํ้ นครนายก ใหความรูส กึ เย็นสบาย รมรืน่ โดยจะมี บานพักหลากหลายรูปแบบ ทั้งเรือนไทยริมน้ํา หองพักสไตลโมเดิรนในสวน และเต็นท กลางสนาม ใหกับนักทองเที่ยวที่ตองการสัมผัสกับธรรมชาติแบบใกลชิด นอนฟงเสียง สายน้ํา นอกจากนี้รีสอรตสามารถเห็นวิวไดรอบดาน ไมวาจะเปนแมน้ําหรือภูเขา และ ที่สําคัญ เทรนดการทองเที่ยวในเชิงธรรมชาติและสิ่งแวดลอมกําลังไดรับความนิยม The Chill Resort มีการออกแบบและสรางขึน้ ใหใกลชดิ กับสภาพแวดลอมมากทีส่ ดุ โดย
20
ใกลจะสิน้ ปแลว จะไปเทีย่ วไหนดี พักที่ไหนดี เชือ่ วาหลายๆ คนกําลัง มองหาที่เที่ยวในชวงวันหยุดยาวอยูอยางแนนอน สําหรับการออกเดินทาง แตละครั้งจําเปนตองวางแผนและศึกษาหาขอมูลที่หลากหลาย เพื่อใหการ ทองเที่ยวเปนทริปที่สุขสนุกและเปนที่นาจดจํา
เนนจดเดนที่ธรรมชาติของพื้นที่ รีสอรตติดกับแมน้ํานครนายก ที่ใส และ สะอาด ที่เกิดจากการไหลรวมกันของน้ําตกวังตะไคร, น้ําตกนางรอง และ นํ้าจากเขื่อนขุนดาน ซึ่งเปนแมนํ้าที่ ใชในการลองแกงจากเขื่อนขุนดาน โดยนักทองเทีย่ วสามารถลงเลนนา้ํ ไดในแกงบริเวณพืน้ ทีส่ ว นตัวของรีสอรต และที่ขาดไมไดภายในรีสอรตมีสวนสุขภาพและสระวายน้ํา ในบรรยากาศ ที่รมรื่น เงียบสงบ ผสมผสานการตกแตงบานอยางรวมสมัยหลากหลาย สไตล The Chill Resort ตองการใหนักทองเที่ยวที่มาพักไดสัมผัสกับ คํานิยามของคําวา Chill อยางแทจริง นั่นก็คือ C = Charming : เสนห จากสายน้ํา H = Happiness : ความสุขที่ไดจากสถานที่ I = Impression : ความประทับใจที่ไดรับจากการบริการ L = Laughing : เสียงหัวเราะ ความ สบายใจ ที่เกิดขึ้นเมื่อมาเยือน และ L = Lifestyle : เลือกรูปแบบที่พักได ตามรสนิยมและวิถีชีวิต สําหรับหลายๆ คนที่กําลังวางแผนทองเที่ยวในจังหวัดนครนายก The Chill Resort @ Nakornnayok เปนอีกหนึ่งตัวเลือกของที่พักริมน้ํา ที่เนนความใกลชิดกับธรรมชาติ แมน้ําและขุนเขามากกวาความหรูหรา
GreenNetwork November-December 2017
GREEN
Building กองบรรณาธิการ
The NEST ę B ę6
Eco-Care 1 C &Ĝ 6'1&=Ę16,5& เมื่อเร็วๆ นี้ คณะผูจัดงานประชุม Sustainable Brands 2017 Bangkok หรือ SB’17 Bangkok งานประชุมประจําปครัง้ ที่ 3 ซึง่ ภาคธุรกิจ ภาครัฐ ภาคการศึกษา และองคกรตางๆ จะมารวมกันแลกเปลีย่ นมุมมองทีจ่ ะชวยนําพาธุรกิจและประเทศ ใหกา วไปสูก ารเปนแบรนดทยี่ งั่ ยืน รวมกับ เอสซีจี จัดกิจกรรมเยีย่ มชม “The NEST” โครงการตนแบบบาน Smart Eco-Care ที่ผสมผสานเทคโนโลยีของความเปนบาน Smart Eco-Care ไวอยางลงตัว สอดรับกับ Living Trend ของโลกทีก่ าํ ลังเปลีย่ นไป คํานึงถึงการอยูอ าศัยรวมกันของผูค นทุกวัยอยางสะดวก ปลอดภัย และเปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม The NEST ยอมาจาก The Next Eco-Sustainable Technology for Home เปนโครงการตนแบบ ที่ไดรับการออกแบบใหเปนบานแหงอนาคตเพื่อความยั่งยืน สําหรับการอยูอ าศัยในเขตภูมอิ ากาศแบบรอนชืน้ โดยผสมผสานความเปนบาน Eco, Smart และ Care อยางลงตัว ดวยการบูรณาการเทคโนโลยีและระบบตางๆ เขา ดวยกัน ทําใหเปนบาน Energy plus หลังแรกในอาเซียน ฎายิน เกียรติกวานกุล New Business Development Manager บริษัท เอสซีจี ซิเมนต-ผลิตภัณฑกอสราง จํากัด กลาววา The NEST จะประกอบดวย 3 คอนเซ็ปตหลัก ซึง่ เปนบานทีอ่ อกแบบบนแนวคิดของ Passive Green ทีต่ อบสนอง การใชชีวิตแบบ Eco ชวยประหยัดพลังงานและน้ํา เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ในสวน ของพลังงาน มีการพัฒนาเทคโนโลยีและการออกแบบ Energy Saving ประหยัด พลังงานดวยการออกแบบอาคารทีช่ ว ยระบายความรอน และลดพลังงานจากการใช ไฟฟา โดยใชแสงธรรมชาติจากดวงอาทิตยมาบูรณาการกับระบบแสงสวางภายใน บาน เมื่อเทียบกับบานทั่วไปสามารถประหยัดพลังงานได 24% ลดพลังงานไฟฟา ที่ใชจากเครื่องปรับอากาศ 52% ลดพลังงานจากอุปกรณสองสวางภายในบาน 22% นอกจากการประหยัดพลังงานแลว บานหลังนี้ยังมีพลังงานตางๆ มาจากการผลิต ดวยตัวบานเอง อยาง Energy Generation สามารถผลิตพลังงานไฟฟาใชในบาน
ไดเองจากเซลลแสงอาทิตย พรอมดวยระบบ Backup Power System จาก Electrolyser Fuel Cell System ที่ชวยใหบานยังคงมีไฟฟาใชตามจดที่สําคัญแมใน ขณะไฟฟาดับ และทั้งปสามารถผลิตพลังงานไดมากกวาสวนที่เราใชงานจริง จึง ทําใหบานหลังนี้เปน Energy Plus หลังแรกในอาเซียน และในเรื่องของน้ํา Water Saving การจัดการการใชน้ําภายในบานใหเกิดประโยชนสูงสุด ทั้งในดานการ ประหยัด การนํากลับมาใชใหม รวมทั้งการนํานํ้าฝนและนํ้าจากเครื่องปรับอากาศ มาใชในระบบชวยใหใชน้ํานอยกวาบานทั่วไป จะชวยประหยัดการใชน้ําถึง 59% “ดวยการบูรณาการออกแบบอาคารตามแนวทาง Bioclimatic Design กับ Passive Cooling Technology รวมกับระบบระบายอากาศเชิงกลตามแนว Envelope ของบาน ตลอดจนการสราง Microclimate รอบบานเพื่อการประหยัดพลังานจาก ผลการทดสอบการใชพลังงานไฟฟาของบาน The NEST พบวามีการใชพลังงานไฟฟา สุทธิหลังจากที่คํานวณสวนที่ประหยัดแลวคิดเปน 15,028 กิโลวัตตตอป ในขณะที่ สามารถผลิตไฟฟาได 16,889 กิโลวัตตตอ ป ซึง่ เกินความตองการใช 1,861 กิโลวัตต ตอป” สวน Smart คือการเพิ่มประสิทธิภาพการใชงาน และความสะดวกสบาย ในการใชชีวิต ดวย Intelligent Home Automation ระบบควบคุมอุปกรณไฟฟา และนา้ํ ภายในบานแบบไรสาย รวมถึงการตรวจสอบการใชนา้ํ และไฟฟาภายในบาน เพื่อชวยในการวางแผนรายจายของบานได และระบบ Smart for Care ที่ชวยเพิ่ม ประสิทธิภาพในดานความปลอดภัยและความสะดวกสบายกับผูส งู อายุแมไมมผี ดู แู ล อยูขางกาย และ Care คือการออกแบบบานใหรองรับการอยูอาศัยของคนทุกวัย เขาใจความแตกตางของผูส งู อายุ ดวยการออกแบบทีป่ อ งกันหรือลดการเกิดอุบตั เิ หตุ และเพิม่ ความสะดวกสบายในการใหผสู งู อายุไดทาํ กิจกรรมตางๆ ไดอยางปลอดภัย (Independent Living) และอาศัยรวมกับทุกคนในบานอยางมีความสุข เอสซี จี เ ป น หนึ่ ง ในองค ก รที่ เ ข า ร ว มเป น ผู ส นั บ สนุ น หลั กในงานประชุ ม Sustainable Brands ซึง่ ถือเปนศูนยรวมของนักสรางแบรนด นักการตลาด นักธุรกิจ ที่ใหความสําคัญกับการทําธุรกิจอยางรับผิดชอบ รวมทั้งสรางแบรนดเพื่อใหมีสวน ในการพัฒนาอยางยัง่ ยืนกับสังคม โดยงานประชุม SB’17 Bangkok นําเสนอแนวคิด เรื่อง “Redefining the Good Life” หรือการนิยามคุณภาพชีวิตที่ดี โดยครอบคลุม ถึง 8 หัวขอหลัก ไดแก Good Food, Good Home, Good Health-Care, Good Money, Good Design, Good Energy, Good Technology และ Good Destination งานการประชุมระดับนานาชาติ SB’17 Bangkok นับวาเปนโอกาสดีที่ผูเขา รวมงานจะไดพบกับสุดยอดผูนําและนักวิชาการระดับนานาชาติกวา 40 คนจาก แบรนดชนั้ นําทัง้ ในและตางประเทศกวา 50 แบรนด ทีจ่ ะมารวมเสวนาในเรือ่ งความ ยั่งยืนของโลกธุรกิจระดับสากลในแงมุมตางๆ ซึ่งจะจัดขึ้นในประเทศไทยเปนปที่ 3 ระหวางวันที่ 29-30 พฤศจิกายนนี้ ณ ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์
ฎายิน เกียรติกวานกุล 21
GreenNetwork November-December 2017
GREEN
Report กองบรรณาธิการ
Modernizing the Thailand Grid
%<Ę / ę6.=Ę +6%)J7.%5& 1 '4 C ' Ę6&E##Ĕ6E &
สมาคมสถาบันวิศวกรไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสแหงประเทศไทย (IEEE Thailand Section) และ IEEE Power & Energy Society - Thailand (IEEE PES - Thailand) จัดงาน IEEE PES Dinner Talk 2017 ในหัวขอ “Modernizing the Thailand Grid มุง หนาสูค วามลา้ํ สมัยของระบบโครงขาย ไฟฟาไทย” โดยไดรับเกียรติจาก ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอํานวยการสํานักงาน นโยบายและแผนพลังงาน, กรศิษฏ ภัคโชตานนท ผูว า การการไฟฟาฝายผลิต แหงประเทศไทย, ชัยยงค พัวพงศกร ผูวาการการไฟฟานครหลวง และ เสริมสกุล คลายแกว ผูวาการการไฟฟาสวนภูมิภาค รวมเสวนา เพื่อใหขอมูล แลกเปลี่ยนความคิดเห็นดานนโยบายและทิศทางการพัฒนาดานพลังงานและ โครงขายไฟฟาไทยแกผูรวมงาน
ทําไมต อง Modernizing Grid ?
ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอํานวยการสํานักนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน กลาววา การปรับโฉมระบบโครงขายไฟฟาไทยใหทันสมัย หรือ Modernizing the Thailand Grid เปนการสรางโอกาสในการจัดหา แหลงผลิตไฟฟาตนทุนต่ําใหกับผูใชไฟ การผลิตไฟฟาขนาดเล็กๆ ผลิตเอง ใชเองจะมีมากขึ้น กอปรกับการเขาสูยุคของการเปลี่ยนผานทางเทคโนโลยี โดยมีเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั และอีกมากมายเขามาเกีย่ วของ ซึง่ เทคโนโลยีลกั ษณะนี้ ตองการให Grid มาเสริมการทํางานในหลายๆเรื่อง เพื่อใหตนทุนการใชไฟ ของผูใชไฟถูกลง บริหารจัดการไฟฟาไดมากขึ้น ใชพลังงานหมุนเวียนมากขึ้น หาก Grid ไมสนับสนุน สิ่งเหลานั้นก็เกิดขึ้นไมได นอกจากนี้ความรวมมือของ แตละภาคสวนในการ Modernizing the Thailand Grid ทั้ง 3 การไฟฟาตอง ชวยกัน กกพ. สนพ. จะชวยขับเคลื่อน ผลักดัน ปลดล็อกกฎระเบียบที่ยังไม เอื้ออํานวยตอการปรับเปลี่ยนสูความล้ําสมัย
ขับเคลื่อน Modernizing Grid ไปสู Smart Grid ได อย างไร
ดร.ทวารัฐ กลาววา ประเทศไทยไดมแี ผนขับเคลือ่ น Smart Grid ทําให ระบบไฟฟาตอบสนองความตองการไดเรียลไทม คือสามารถที่จะเลือกผลิต ไฟฟาของตัวเองได ซือ้ ไฟจากการไฟฟาหรือจะซือ้ ไฟเพือ่ นบานขางๆ สิง่ ทีต่ อ ง ขับเคลือ่ น Modernizing Grid ไปสู Smart Grid โดยมีทศิ ทางนโยบายทีต่ อ งการ ให Grid เขามาชวย เชน เพิม่ สัดสวนพลังงานทดแทน สงเสริมใหประเทศไทย ใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น ลดตน ทุนใหภาคการผลิต ทั้งนี้ ภาครัฐเองก็อยากใหเกิดนวัตกรรมใหมๆ ที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการ ไฟฟา หรือตนทุนพลังงานของภาคเอกชน และ Grid ยังมีปญหา แตการ Modernzing Grid นั้นควรสอดคลองกับนโยบายภาพใหญ โดยโยงออกมา เปนภาพนโยบายรัฐบาล
หาก Smart Gird ที่มีความสมดุลระหวาง Demand Supply แบบ เรียลไทม ไฟฟาตนทุนต่ําชวงที่ระบบมีความตองการใชไฟฟานอย (Off Peak) สามารถนํามาใชในชวงทีร่ ะบบมีความตองการใชไฟฟามาก (On Peak) ลดตนทุน คาไฟของผูใชไฟได ทําใหเกิดระบบนวัตกรรมใหมๆ ที่บริหารจัดการไฟฟาของ ตัวเองได นํามาสูการใชพลังงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น การใชพลังงานที่มี คารบอนต่ํามากขึ้น และกาวไปสู Grid Society การขับเคลื่อน Smart Grid ในประเทศไทย โดยมีแผนแมบทที่สอดคลอง กับแผน PDP ในอีก 20 ปขา งหนา โดยแผน Smart Gird ประกอบดวย 3 เสาหลัก คือ การจัดการ Demand การพยากรณสภาพอากาศ และ การจัดหาเชื้อเพลิงที่ หลากหลาย ไมใชเชือ้ เพลิงเพียงชนิดเดียว มี Energy Storage Microgrid เปนตน การขั บ เคลื่ อ น 3 เสาหลั ก จะทํ าให เ กิ ด เทคโนโลยี ใ หม ๆ เพื่ อให เ กิ ด Grid Modernzing และมีมาตรการเสริม เชน มาตรการ Demand Response หรือ มาตรการที่จะทําใหเกิดการจัดการ Microgrid ดวยตัวเองได “ความคาดหวังของความลาํ้ สมัย จะนําเราไปสูก ารจัดหาไฟฟาทีม่ ที างเลือก ทีห่ ลากหลายขึน้ และตนทุนตา่ํ ลงได และในขณะเดียวกัน Grid ก็จะรองรับพลังงาน สะอาดพลังงานหมุนเวียนไดดขี น้ึ และทีน่ า สนใจทัง้ หลายทัง้ ปวงนําไปสู Customer Choice คือผูบริโภคผูใชไฟมีทางเลือกมากขึ้น โดยมีแผนพัฒนา Smart Grid เปนตัวขับเคลื่อนเพื่อจะใหเกิดผลลัพธที่คาดหวัง”
ระบบกักเก็บพลังงาน กุญแจสําคัญ สู เสถียรภาพ และความมั่นคง
กรศิษ ฏ ภัคโชตานนท ผูวาการการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย กลาววา ระบบการผลิตไฟฟาในอนาคตจะไมใชแคโรงไฟฟาขนาดใหญอีกตอไป พลังงานทดแทนที่เขามาเปนจํานวนมากทําให Energy Storage มีความสําคัญ มากยิ่งขึ้น เมื่อมีพลังงานใหมๆ เขามาซึ่งเปนพลังงานทดแทน ก็จะเกิดการ กระทบกับระบบการจัดการในเรื่องกักเก็บพลังงาน การแกไขปญหาที่เรียกวา “กราฟรูปเปด” หรือ Duck Curve การผลิตไฟฟาจากแสงอาทิตยบนหลังคา ไมตรงกับชวงเวลาที่มีการใชไฟฟามาก ความตองการใชไฟฟาสูงสุดในตอนเชา
(จากขวา) ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอํานวยการสํานักนโยบายและแผนพลังงาน เสริมสกุล คลายแกว ผูวาการการไฟฟาสวนภูมิภาค กรศิษฏ ภัคโชตานนท ผูวาการการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ชัยยงค พัวพงศกร ผูวาการการไฟฟานครหลวง 22
GreenNetwork November-December 2017
การใชไฟฟาจะต่ําลงชวงที่ประชาชนไมอยูบาน ซึ่งเปนชวงที่การผลิตไฟฟา จากแสงอาทิตยสงู ทีส่ ดุ และการใชไฟฟาจะกลับมาสูงอีกครัง้ ในตอนเย็น ซึง่ การ ผลิตไฟฟาจากแสงอาทิตยก็จะหายไปพรอมกัน ฉะนั้นจําเปนตองมีการกักเก็บ พลังงาน การจัดการกําลังการผลิตในชวงที่แสงอาทิตยหายไป รวมไปถึงความ ยืดหยุนของระบบเดิมจะตองรองรับพลังงานทดแทน นั่นคือ แสงอาทิตย เปน สิ่งที่ กฟผ.มุงพัฒนาโดยไดการศึกษาเรื่อง แบตเตอรี่กักเก็บพลังงาน หรือ Battery Storage 3 แหงทั่วประเทศ ที่จังหวัดแมฮองสอน ลพบุรี และชัยภูมิ ทําใหการจายไฟฟาจากพลังงานทดแทนมีเสถียรภาพ และชวยจายไฟฟา ชวงความตองการสูง “กฟผ. ตองนําเอา Renewable Portfolio เขาไปอยูในโจทยนดี้ ว ย รองรับ เทรนดของพลังงานหมุนเวียนและการจัดการใหล้ําสมัย บทบาทของ Energy Storage โดยมีระบบสารสนเทศเขามาบริหารจัดการมากขึน้ จะนําไปสูก ารจัดการ ที่ตอบโจทยความล้ําสมัยนี้”
เตรียมพร อมสู Smart Grid รับการใช ไฟฟ าในอนาคต
เสริมสกุล คลายแกว ผูว า การการไฟฟาสวนภูมภิ าค กลาววา การทีร่ ะบบ ไฟฟาของประเทศไทยจะกาวไปสู Modernizing the Thailand Grid ได จะตอง ไดรับความรวมมือจากทุกภาคสวน ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อรวมมือกัน ผลักดัน เตรียมความพรอมรับมือกับการเปลีย่ นแปลงของระบบไฟฟาในอนาคต ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในส ว นของ PEA มี แ ผนงานสํ า คั ญ ที่ ส อดคล อ งกั บ แผนงาน ของกระทรวงพลังงาน ทั้งโครงการ Smart Meter, Smart Grid, Microgrid โครงการพลังงานทดแทน โดยปจจบันอยูระหวางการทํา Smart Grid ซึ่งเปน โครงการตนแบบในจังหวัดชลบุรีใชระยะเวลาในการดําเนินการประมาณ 3 ป สวนในเรื่องของ Microgrid ปจจบัน PEA พัฒนาตนแบบ Microgrid ในพื้นที่ นํารอง บานขุนแปะ จังหวัดเชียงใหม ซึ่งมีโรงไฟฟาพลังนํ้า กําลังผลิตไฟฟา ขนาด 90 กิโลวัตต โซลารฟารม กําลังผลิตไฟฟาขนาด 100 กิโลวัตต มีผูใชไฟ จํานวน 200 หลังคาเรือน และยังมี Microgrid ขนาดใหญขนึ้ ทีอ่ าํ เภอแมสะเรียง จังหวัดแมฮองสอน กําลังการผลิตไฟฟาขนาด 3 เมกะวัตต เปนตนแบบ ของ Micro Grid ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย และยังเปนโครงขายไฟฟาในอนาคต ที่เหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศของประเทศไทย “การบริหารจัดการพลังงาน เมื่อมีแหลงผลิตไฟฟาเขามาในระบบการ จายกระแสไฟฟามากขึ้น การบริหารจัดการจะยากขึ้น มั่นใจ Smart Grid จะ ชวยในการบริหารจัดการระบบพลังงานทดแทนตางๆ ซึ่งเปนกระแสของโลกที่ จะเขามาอยางแนนอน ดังนัน้ จึงมีการเตรียมความพรอมในการบริหารใหมคี วาม เสถียรในดานพลังงานทดแทนที่เพียงตอความตองการในอนาคต”
23
ในอนาคตระบบจําหนายจะเปลีย่ นโครงสราง มีอปุ กรณตา งๆ เขามาเชือ่ ม กับระบบจําหนาย โดยเฉพาะแหลงผลิตไฟฟาขนาดเล็กที่กระจายอยูตามพื้นที่ ตางๆ (Distributed Generation) รวมไปถึงรถยนตไฟฟา Smart Appliances ทําใหระบบจําหนายจะเปนในลักษณะ Active Network มากขึน้ อยางไรก็ดี PEA มีแผน Smart Grid ซึ่งไมไดพัฒนาเฉพาะดานเทคโนโลยีแตเพียงอยางเดียว แต ยังพัฒนาในเรื่องธุรกิจ IT Platform ตางๆ ที่จะเขามารองรับดวย ฉะนั้นทิศทาง ของ PEA ในการดําเนินการเรือ่ งของ Modernizing Grid ภายใตภารกิจหลัก คือ การใชบริการจําหนายไฟฟา 19 ลานราย ไฟฟาตองมีเสถียรภาพและความมัน่ คง เสริมสกุล กลาวเพิ่มเติม
Building Block Microgrid ยกระดับระบบจําหน ายไฟฟ าที่เหนือกว า
ชัยยงค พัวพงศกร ผูวาการการไฟฟานครหลวง กลาววา ระบบ Smart Grid ในพื้นที่เมืองหลวง เดิมทีโครงขายจะเปนลักษณะใยแมงมุม การบริหาร จัดการจะยากมาก หากตองการใหเกิดความมั่นคง อาจจะตองมีการปรับปรุง ระบบโครงขายไฟฟาในพื้นที่นครหลวงใหมทั้งหมด ดวยการปรับเปน Metro Microgrid กฟน. มีแผนการพัฒนา Microgrid ที่ผลิตไฟเองขายไฟเอง ซึ่งจะ ตางกับ Microgrid ของ กฟผ. ที่จะอยูพื้นที่หางไกล จําเปนตองผลิตไฟใชเอง สวน Microgrid ของ กฟน.จะอยูในพื้นที่เมืองหลวง การบริหารจัดการพลังงาน จากเดิมที่ระบบไฟฟามีความซับซอน จึงมีการแบง Grid ดวยวิธีที่เรียกวา Building Block Microgrid เปน Grid ยอยๆ โดยในแตละ Microgrid ตอเชื่อม ถึงกันเหมือนโครงขายเซลลูลาร เพือ่ การบริหารจัดการทีง่ า ยขึน้ กรณีที่ Grid ใด มีปญหาก็จะตัด Grid นั้นออกกอน เพื่อให Grid สวนใหญสามารถจายไฟได ตามปกติ ชวยใหการบริหารจัดการงายขึ้นและมีประสิทธิภาพที่ดีกวา “เดิมที ในมุมมองของ กฟน. ไดมีแผนพัฒนา Smart Grid แตปจจบัน ไดปรับเปลี่ยนแผนเปน Building Block Microgrid โดย Microgrid Smart Gird รวมทั้งพลังงานทดแทนตางๆ จะถูกผนวกเขากับ Smart City อยูดวยกันในพื้นที่ ทีเ่ ปนจดยุทธศาสตรสาํ คัญทีส่ ดุ ของกรุงเทพมหานคร นัน่ ก็คอื ถนนพระราม 1 พญาไท และถนนพระราม 4 - รัชดาภิเษก โดยมีลกู คากวา 2 หมืน่ รายในโครงการ นํารองนี้” สิง่ สําคัญทีจ่ ะทําใหประเทศไทยกาวไปสู Thailand 4.0 คือการเตรียมระบบ โครงขายใหทันสมัย หรือที่เรียกวา Modernizing Grid เพื่อรองรับเทคโนโลยี Smart Gird และการผลิตไฟฟาจากพลังงานทดแทน ไดแก โครงการโซลาร รูฟท็อป โครงการ Microgrid และโครงการ Energy Storage การเตรียมระบบ ไฟฟาใหทันสมัย จะทําใหสามารถบริหารจัดการและครอบคลุมระบบไฟฟาใหมี ความมั่นคง เชื่อถือได และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
GreenNetwork November-December 2017
GREEN
Innovation กองบรรณาธิการ
A1 .5 5 %;1. 6 5 E & A&1'%5
A ď ,= &Ĝ +5 ''%/<Ę & Ĝ เมือ่ เร็วๆ นี้ เอปสัน รวมกับสถาบันไทย-เยอรมัน ซึง่ เปนหนวยงานดานการวิจยั และพัฒนา บุคลากรและเทคโนโลยี ในอุตสาหกรรมการผลิต เปดศูนยนวัตกรรมหุนยนตมุงใหความรู เกีย่ วกับเทคโนโลยีหนุ ยนตแขนกลกับผูป ระกอบการไทย เพือ่ เพิม่ ศักยภาพดานการผลิตรับยุค ไทยแลนด 4.0 ยรรยง มุนีมงคลทร ผูจัดการทั่วไป บริษัท เอปสัน (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา เอปสันไดพัฒนาเทคโนโลยีหุนยนตมาอยางตอเนื่องนานกวา 36 ป และจําหนายไปยังกลุม ประเทศอุตสาหกรรมชั้นนําของโลก เชน อเมริกา ยุโรป ญี่ปุน จีน และเกาหลี สวนใน ประเทศไทยหุนยนตแขนกลของเอปสันมี ใชในโรงงานผลิตอยางแพรหลายกวา 20 ปแลว มีลูกคาหลักเปนบริษั ทขามชาติที่ขยายฐานการผลิตมายังประเทศไทย โดยที่บริษั ทแม ใน ตางประเทศคุน เคยกับเทคโนโลยีของเอปสันเปนอยางดีอยูแ ลว จึงเลือกใชหนุ ยนตของเอปสัน ในโรงงานผลิตที่มีสาขาในประเทศไทยดวยเชนกัน ที่ผานมาตลาดหุนยนตแขนกลของ ประเทศไทยยังมีขนาดเล็กและมีแนวโนมการเติบโตอยางคอยเปนคอยไป การดูแลดานการจัด จําหนายของเอปสันในตลาดประเทศไทย จึงยังอยูในการดูแลของสํานักงานภูมภิ าคทีส่ งิ คโปร แตหลังการเปดตัวโมเดลไทยแลนด 4.0 ตามดวยอุตสาหกรรม 4.0 ของรัฐบาล ทําใหวงการ เทคโนโลยีหุนยนตและระบบอัตโนมัติเกิดการตื่นตัวขึ้นมาก “เอปสัน ประเทศไทยจึงเขามาดูแลดานการตลาดและการจัดจําหนายอยางเต็มตัว โดย จะเริม่ ขยายตลาดไปยังกลุม โรงงานผลิตขนาดเล็กและขนาดกลางของคนไทย ควบคูไ ปกับการ รักษาฐานลูกคากลุมบริษั ทขามชาติในปจจบันซึ่งสวนมากอยู ในอุตสาหกรรมยานยนตและ อุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส” ปจจบันโรงงานอุตสาหกรรมของไทยสวนใหญยงั ใชระบบแมนวล มีเพียงราว 15% ทีเ่ ริม่ ผสมผสานระบบอัตโนมัตเิ ขารวมกับกระบวนการผลิต ซึง่ เปนโรงงานขนาดใหญใน 5 อุตสาหกรรม หลักไดแก ยานยนต เครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส โรงงานเหล็ก โรงงานผลิตภัณฑยาง และพลาสติก และการแปรรูปอาหาร แตกม็ แี นวโนมการเติบโตเพิม่ ขึน้ ตอเนือ่ ง เอปสันเล็งเห็น ถึงโอกาสทางการตลาดที่เปดกวาง และไดเริ่มนําหุนยนตแขนกลขนาดเล็ก 2 ประเภท คือ SCARA Robot และ6-Axis Robot เขามาทําตลาด ไดแก รุน T3 SCARA Robot, LS-Series
SCARA Robot และ C-Series Compact 6-Axis Robot ซึ่งเหมาะกับ หลายอุตสาหกรรมทั้งงานประกอบชิ้นสวนอุปกรณเครื่องใชไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกส โรงงานผลิตเครือ่ งจักร หองปฏิบตั กิ ารอัตโนมัติ ไลนการผลิต อุปกรณทางการแพทย เซมิคอนดักเตอร และอุปกรณโทรคมนาคม เปนตน สําหรับ T3 SCARA Robot และ LS-Series SCARA Robot เปนหุน ยนตแขนกลทํางานในแนวระนาบ เหมาะกับงานทีต่ อ งการความเร็วและความ แมนยําสูงใชงานงาย มีขนาดเล็กกะทัดรัดเหมาะกับการทํางานในพืน้ ทีจ่ าํ กัด ขณะที่ C-Series compact 6-Axis Robot เปนแขนกล 6 แกนหมุนอิสระ มีประสิทธิภาพสูง สามารถทํางานไดหลากหลายใกลเคียงกับแขนคน มีความ ยืดหยุนและความเร็วสูง ทั้งยังใชระบบควบคุมการเคลื่อนไหว หรือ Quartz Micro Electro Mechanical System ชวยลดความสั่นสะเทือนและเขาถึง ตําแหนงไดอยางรวดเร็ว โดยหุน ยนตแขนกลทัง้ 3 รุน นีย้ งั สนับสนุนการใชงาน กับระบบ Vision ผานซอฟตแวร Epson Vision Guide เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ ของหุน ยนตใหสามารถรับรูแ ละแยกแยะประเภทของวัตถุ ตรวจสอบคุณภาพ และรับรูต าํ แหนงของวัตถุ ชวยใหหนุ ยนตหยิบจับหรือประกอบชิน้ งานไดอยาง ถู ก ต อ งยิ่ ง ขึ้ น ทั้ ง นี้ หุ น ยนต ข องเอปสั น ยั ง รองรั บ การพั ฒ นาระบบไปสู อุตสาหกรรม 4.0 โดยสามารถใชงานผานทั้ง PC Base และ PLC Base มี ระบบตรวจสอบความผิดพลาดภายในตัวเองและแจงเตือนระยะเวลาการ ซอมบํารุงตางๆ ทั้งยังมีซอฟตแวรที่ ใชงานงาย สนับสนุนการพัฒนาระบบ M2M (Machine to Machine) ทําใหหุนยนตของเอปสันสามารถสงขอมูล ระหวางเครื่องจักรหรือระบบมายังหุนยนตไดอยางงายดาย ยรรยง กลาววา เนือ่ งจากมูลคาในการลงทุนกับหุน ยนตอตุ สาหกรรม และระบบอัตโนมัติคอนขางสูง และมีขั้นตอนการใชงานที่ตองอาศัยเวลา ในการทําความเขาใจ เอปสันจึงไดสรางทีมพรีเซล เพื่อคอยใหคําปรึกษา เกีย่ วกับสินคา ลักษณะงาน และขัน้ ตอนในการทํางาน การติดตัง้ และระบบ การสั่งงานและควบคุม รวมถึงการใหความชวยเหลือทางเทคนิคในชวงกอน และระหวางการติดตัง้ หุน ยนตใหแกลกู คา และทีมบริการหลังการจําหนายที่ จะคอยใหความชวยเหลือภายหลังการติดตัง้ สนับสนุนงานดานการซอมบํารุง ศึกษาความตองการเพิ่มเติมของลูกคา เพื่อตอกย้ําใหลูกคาเกิดความมั่นใจ มากขึ้น ลาสุดเอปสันไดจบั มือกับสถาบันไทย-เยอรมัน (TGI) ซึง่ เปนหนวยงาน ดานการวิจัยและพัฒนาบุคลากรและเทคโนโลยี ในอุตสาหกรรมการผลิต พรอมใหคําปรึกษาและฝกอบรมแกโรงงานอุตสาหกรรมในการเปด “ศูนย นวัตกรรมหุน ยนตเอปสัน” หรือ TGI - EPSON: Epson Robotics Innovation Center เพื่อจัดแสดงและทําการสาธิตพรอมจัดคอรส อบรมการใชงาน หุน ยนตแขนกลของเอปสันใหแกผสู นใจทัง้ บุคลากรจากโรงงานอุตสาหกรรม และจาก System Integrator ประกอบดวยหลักสูตรเกี่ยวกับพื้นฐานการ ใชงาน EpsonRobot, SCARA Robot, การบํารุงรักษาหุนยนต EpsonRobot และการประยุกตการใชงาน EpsonRobot Vision
ยรรยง มุนีมงคลทร 24
GreenNetwork November-December 2017
ปตท.สผ. จุดประกาย
พลังเยาวชน ก าวเพื่อรักษ น อมนําศาสตร พระราชา
GREEN
CSR
พัฒนาชุมชน
กองบรรณาธิการ
กิตติศักดิ์ หิรัญญะประทีป ผู จัดการอาวุโส โครงการร วมทุนบนฝ ง (ประเทศไทย) ปตท.สผ. บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) หรือ ปตท.สผ. เปดคาย PTTEP Teen Teenergy ปที่ 4 ตอน กาวเพือ่ รักษ ษ (ภาคอีสาน) นํานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 70 คน เขาคาย ล ่งแวดลอม พรอมกับศึกษา เรียนรููการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผานกิจกรรมทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ณ โครงการทองเที่ยวเชิงนิเวศภูฝอยลม จ.อุดรธานี คาย PTTEP Teenergy ปที่ 4 ภาคอีสาน จัดขึน้ โดย ปตท.สผ. รวมกับสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรมสงเสริมคุคณภาพสิ่งแวดลอม และมูลนิธิ ยุวสถิรคุณ มีกจิ กรรมพิเศษสําหรับคายภาคอีสาน คือ เยาวชนจะไดเรียนรูเ ขาใจและ ละธรรม ใกลตวั ผานกิจกรรมเดินปา ตระหนักถึงคุณคาและประโยชนของปาไมและธรรมชาติ ศึกษาธรรมชาติและรวมสรางแนวกันไฟทีภ่ ฝู อยลม พรอมกับเรียนรู “ศาสตรแหง พระราชา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” อาทิ การ การเลีย้ งไก เลีย้ งหมูหลุม ปลูกพืช ผักริมรัว้ จากพลังงานแสงอาทิตย และกิจกรรมทําออาหาร “พอเพียง” จากผลผลิต ทีไ่ ด รวมถึงเยีย่ มชมและเรียนรูก ารเปลีย่ นขยะเปนพลังงาน จากโครงการบอกาซ ชีวภาพ (Biogas)
25
กิตติศกั ดิ์ หิรญ ั ญะประทีป ผูจ ดั การอาวุโส โครงการรวมทุนบนฝง (ประเทศไทย) ปตท.สผ. กลาววา PTTEP Teenergy ปที่ 4 ตอน กาวเพือ่ รักษ (ภาคอีสาน) จัดขึน้ ภายใตแนวคิด “กาวเพือ่ รักษ” มุง สงเสริมใหเยาวชนกลาคิด กลาทํา กลามีสว นรวมในการอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม พรอมกาวสูก าร เปนนักอนุรกั ษรนุ เยาว ภายใตกลยุทธ 3 ป. คือ “ปลูก-ปน -เปลีย่ น” ปลูกจิตสํานึก อนุรกั ษธรรมชาติและสิง่ แวดลอมใหกบั เยาวชน ปน เยาวชนจากทุกภูมภิ าค ใหมหี วั ใจ อนุรกั ษ เพือ่ ทําประโยชนใหกบั สังคม เปลีย่ นใหชมุ ชนและสังคมดีขนึ้ โดย ปตท.สผ. เปดโอกาสใหเยาวชนนําเสนอโครงงานดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอม เพือ่ รับทุน 10 ทุน ทุนละ 10,000 บาท นําไปดําเนินการในชุมชนอยาง เปนรูปธรรม โดยคายภาคอีสานครัง้ นี้ เยาวชนจะไดเรียนรูจ ากวิทยากรผูเ ชีย่ วชาญ ผานกิจกรรมทีน่ า สนใจ เชน การเปลีย่ นขยะเปนพลังงานจากโครงการบอกาซชีวภาพ โรงเรียนบานทับไฮ ตําบลแสงสวาง, ศาสตรแหงพระราชาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และกิจกรรมทําอาหารพอเพียง ถอดบทเรียนจากกิจกรรมฐานการเรียนรู และเดินปา ศึกษาธรรมชาติภูฝอยลม ซึมซับความหลากหลายทางชีวภาพบนผืนปาตนนํ้าของ จังหวัดอุดรธานี โครงการ PTTEP Teenergy จัดขึ้นเปนประจําทุกป และจากความสําเร็จ นํามาสูคาย PTTEP Teenergy ปที่ 4 นับเปนการสงตอจิตสํานึกไปสูสังคมวงกวาง นํานอมศาสตรพระราชา หลักเศรษฐกิจพอเพียงสูก ารเรียนรูข องเยาวชน การเตรียม ความพรอมของเยาวชน สูก ารเปนนักอนุรกั ษรนุ เยาว และเปดโอกาสใหเยาวชนนําเสนอ โครงงานเพือ่ รับทุนไปดําเนินโครงการของตนเองอยางเปนรูปธรรม โดยโครงการ ปที่ 4 ขยายโครงการไปสูเยาวชนทั่วประเทศกับกิจกรรมคาย 4 ภาค ภาคกลาง ณ อุทยานแหงชาติเขาใหญ จังหวัดนครราชสีมา, ภาคใต ณ สวนประวัติสาสตร พลเอกเปรม ติณสูลานนท จังหวัดสงขลา, ภาคเหนือ ณ สวนปาเขากระยาง จังหวัด พิษณุโลก และภาคอีสาน ณ โครงการทองเทีย่ วเชิงนิเวศภูฝอยลม จังหวัดอุดรธานี “ปตท.สผ. เชือ่ มัน่ วาการปลูกจิตสํานึกใหเยาวชนไดตระหนักถึงคุณคาของ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ดวยการสรางโอกาสการเรียนรูน อกหองเรียน ปนเยาวชนใหมีความรูสูการหลอหลอมหัวใจอนุรักษ สงเสริมการสรางเครือขาย เยาวชนใหมคี วามพรอมในการทําประโยชนใหกบั สังคม จะเปนจุดเริม่ ตนทีด่ ใี นการ กาวไปทํากิจกรรมสาธารณประโยชน เพือ่ เปลีย่ นแปลงใหชมุ ชนและสังคมดีขนึ้ ”
GreenNetwork November-December 2017
Welcome From
Supporting Utilities
การจัดงาน
IEEE GTD ASIA 2019
ความตองการใชพลังงานไฟฟาที่เพิ่มขึ้นตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจของ ประเทศ โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจเปนแรงผลักดันสําคัญที่ทําให รัฐบาลมีนโยบายการสงเสริมใชพลังงานทดแทนตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและ พลังงานทางเลือก โดยเฉพาะพลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม พลังงานน้ําขนาดเล็ก ชีวมวล กาซชีวภาพและขยะ เพราะหากเทคโนโลยีพลังงานทดแทนเหลานี้มีตนทุน ถูกลงและไดรับการยอมรับอยางกวางขวาง พลังงานทดแทนจะกลายเปนทางเลือก ทีส่ าํ คัญในการผลิตไฟฟาสําหรับประเทศไทยในอนาคต เพือ่ ทดแทนการผลิตพลังงาน ไฟฟาในปจจบันที่ใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิงหลัก ซึ่งมีปริมาณจํากัด
นอกจากนี้ ภายใตแผนการพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก เพิ่มขึ้น เพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐบาล ยังมีการสงเสริมใหชุมชนมีสวนรวม ในการผลิตและการใชพลังงานทดแทนอยางกวางขวาง ปรับมาตรการจูงใจ สําหรับ การลงทุนจากภาคเอกชนใหเหมาะสมกับสถานการณ และปรับปรุงระบบโครงสราง พืน้ ฐาน เชน ระบบสายสง สายจําหนายไฟฟา รวมทัง้ การพัฒนาสูร ะบบ Smart Grid อีกดวย ดังนั้น ในอนาคตภาคประชาชนจะมีสวนรวมในการผลิตและใชพลังงาน ทดแทนมากขึ้น เชน การติดตั้งพลังงาน แสงอาทิตยบนหลังคา หรือ Solar Rooftop การใชยานยนตไฟฟาหรือ EV รวมถึงระบบโครงขายไฟฟาจะกลายเปนรูปแบบของ ระบบโครงขายไฟฟาขนาดเล็ก หรือ Microgrid มากขึ้น ซึ่งการไฟฟาฝายผลิต จําหนาย ไดแก การไฟฟาสวนภูมิภาค และการไฟฟานครหลวง จะตองปรับปรุง และพัฒนาระบบโครงขายไฟฟาของตนเองใหรองรับกับรูปแบบพลังงานไฟฟา ที่จะเปลี่ยนไปในอนาคต รวมทั้งภาคเอกชนจะตองพัฒนาอุปกรณและเทคโนโลยี ใหมๆ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรม พลังงานในอนาคต สําหรับงาน GTD Asia 2019 ที่จะจัดขึ้น ระหวางวันที่ 19-23 มีนาคม พ.ศ. 2562 ณ ศูนย นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ นั้น นับเปนโอกาสอันดีของประเทศไทยที่ไดรับความ ไววางใจจาก IEEE PES สํานักงานใหญ ประเทศ สหรั ฐ อเมริ ก า ให ดํ า เนิ น การจั ด งานระดั บ นานาชาติที่ประเทศไทย และเปนครั้งแรกใน เอเชีย โดยงาน GTD Asia 2019 นี้เปนการ รวมการจัดงาน 3 งาน ประกอบดวย งาน Power Generation (PG Asia) งาน Transmission and Distribution (T&D Asia) และงาน Renewable Energy (RE Asia) เข า ด ว ยกั น ซึ่ ง การประชุ ม วิ ช าการและ
26
จะเป นการเป ดโลกทัศน ให วิศวกร นิสิต นักศึกษาของประเทศไทยในการพัฒนา ทักษะ ความรู ความสามารถด านพลังงานไฟฟ า และมีโอกาสได เรียนรู ประสบการณ การทํางาน ขององค กรชั้นนําด านพลังงานไฟฟ าทั่วโลก เพื่อเป นกําลังสําคัญในการพัฒนา ประเทศไทยต อไปในอนาคต นิทรรศการระดับโลกในครั้งนี้ จะมีเนื้อหาครอบคลุมทุกดานเกี่ยวกับระบบผลิต การสงและจําหนายไฟฟา การผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียนและอุตสาหกรรม ที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ การไฟฟาสวนภูมิภาค ซึ่งเปนองคกรชั้นนําที่ใหบริการพลังงานไฟฟา ถือวาเปนผูนําที่มีความเชี่ยวชาญดานระบบจําหนายไฟฟาของประเทศไทยและ ในระดับภูมิภาค ไดใหการสนับสนุนการจัดงานดังกลาว โดยสนับสนุนบุคลากรที่มี ความรู ความสามารถ ทัง้ ผูบ ริหารระดับสูง ระดับรองผูว า การ จนถึงพนักงานระดับ ปฏิบัติ เขาไปเปนคณะทํางานในการจัดงานสัมมนา IEEE PES GTD ในครั้งนี้ ในหลายๆ สวน รวมถึงการรวมกําหนดหัวขอการสัมมนาในสวนตางๆ ใหมีความ นาสนใจเปนประโยชนตอวิศวกร นิสิต นักศึกษา และจะสนับสนุนใหพนักงานของ การไฟฟาสวนภูมภิ าค เขารวมสงบทความวิชาการเพือ่ จะไดมโี อกาสนําเสนอผลงาน วิจัย แลกเปลี่ยนความรู ประสบการณในสวนงานของตนเอง เพื่อเปนการพัฒนา ศักยภาพของบุคลากรดวย และในสวนของนิทรรศการ การไฟฟาสวนภูมภิ าคจะจัด นิทรรศการใหความรูในงานดานระบบจําหนายไฟฟา นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ ทันสมัยเกี่ยวกับระบบโครงขายไฟฟา เชน งานดาน Smart Grid, Smart Home, EV Charging Station เปนตน และงานดาน Renewable Energy เปนตน เปนการ สงเสริมใหเกิดการแลกเปลี่ยนความรู ประสบการณเกี่ยวกับระบบโครงขายไฟฟา นวัตกรรมและเทคโนโลยีใหมๆ ทั้งยังเปนการสงเสริมธุรกิจอุตสาหกรรมพลังงาน ไฟฟาใหมีการคาการลงทุนเพิ่มมากขึ้นดวย นอกจากนี้ การไฟฟาสวนภูมภิ าค ยังมีความยินดีทจี่ ะเปดศูนยสงั่ การจายไฟ หรือ SCADA & Control Center ของการไฟฟาสวนภูมิภาคใหผูที่ลงทะเบียน รวมงาน Technical Visit ไดเขาเยี่ยมชมการปฏิบัติงาน การสั่งการจายไฟและ ระบบควบคุมไฟฟา ของการไฟฟาสวนภูมิภาคอีกดวย หวังเปนอยางยิ่งวาการจัดงาน IEEE GTD ASIA 2019 จะเปนการเปด โลกทัศนใหวิศวกร นิสิต นักศึกษาของประเทศไทยในการพัฒนาทักษะ ความรู ความสามารถดานพลังงานไฟฟา และมีโอกาสไดเรียนรูประสบการณการทํางาน ขององคกรชั้นนําดานพลังงานไฟฟาทั่วโลก เพื่อเปนกําลังสําคัญในการพัฒนา ประเทศไทยตอไปในอนาคต
GreenNetwork November-December 2017
ประมวลภาพกิจกรรมประชาสัมพันธ เมือ่ เร็วๆ นี้ IEEE Power&Energy Society - Thailand รวมกับ สมาคมสถาบันวิศวกรไฟฟาและอิเล็คโทรนิคสแหงประเทศไทย (IEEE Thailand Section) จัดงาน IEEE PES Dinner Talk 2017 เพื่อใหขอมูลทางดานนโยบายและทิศทางการพัฒนาดานพลังงาน และโครงขายไฟฟาของประเทศ โดยมี ชัยพล ธิติศักดิ์ อธิบดีกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย และประธานกรรมการการไฟฟา สวนภูมิภาค เปนประธานเปดงาน พรอมการเสวนาในหัวขอเรื่อง “Modernizing the Thailand Grid : มุงหนาสูความล้ําสมัย ของระบบโครงขายไฟฟาไทย” ซึ่งไดรับเกียรติจาก ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กรศิษฏ ภัคโชตานนท ผูวาการการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ชัยยงค พัวพงศกร ผูวาการการไฟฟานครหลวง และ เสริมสกุล คลายแกว ผูวาการการไฟฟาสวนภูมิภาค รวมเสวนา พรอมกันนี้ ภายในงานยังมีการจัดกิจกรรมประชาสัมพันธงานประชุมวิชาการและนิทรรศการระดับนานาชาติ IEEE PES Generation Transmission and Distribution (GTD) Grand International Conference and Exposition Asia 2019 ระหวาง วันที่ 19-23 มีนาคม 2562 ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ ซึ่งเปนการรวมงาน Power Generation (PG Asia) งาน Transmission and Distribution (T&D Asia) และงาน Renewable Energy (RE Asia) เขาดวยกัน การประชุม วิชาการและนิทรรศการระดับโลกในครัง้ นี้ จะมีเนือ้ หาครอบคลุมทุกดานเกีย่ วกับระบบผลิต สง และจําหนายไฟฟา การผลิตไฟฟาจาก พลังงานหมุนเวียน และอุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วของ นอกจากนีม้ นี ทิ รรศการจากบริษัทและองคกรชัน้ นําระดับโลก รวมถึงเปนการกระตุน เศรษฐกิจ และการพัฒนาดานงานวิจยั และนวัตกรรมดานเทคโนโลยีไฟฟาและพลังงานของประเทศใหกา วสูร ะดับสากลอยางเปนรูปธรรม ทัง้ นี้ กิจกรรมประชาสัมพันธดงั กลาว จัดขึน้ บริเวณดานหนาหองวิภาวดี บอลรูม โรงแรมเซ็นทารา แกรนด แอท เซ็นทรัลพลาซา ลาดพราว กรุงเทพฯ
27
GreenNetwork November-December 2017
GREEN
Scoop กองบรรณาธิการ
")5
6
B ) ' <Ě <Ě A Ę6 A ğ ' <Ě <Ě E##Ĕ6 A 'é&% 7'Ę1 åää 5 B' D Đ ¡¢å
กระทรวงพลังงาน เดินหนาแผนการขับเคลื่อนยานยนต ไฟฟาในกลุมรถ สาธารณะ ตามแผนอนุรักษพลังงาน (EEP 2015) เปดโครงการสนับสนุนการเปลี่ยน รถตุกตุกเกาที่ใชน้ํามันและกาซแอลพีจี นํารอง 100 คันแรก ในป 2561 และทยอย เปลี่ยนใหครบ 22,000 คันทั่วประเทศภายใน 5 ป พลเอก อนันตพร กาญจนรัตน รัฐมนตรีวาการ กระทรวงพลังงาน เปดเผยวา แผนอนุรักษพลังงาน (EEP 2015) มีเปาหมายลดความเขมการใชพลังงานลงรอยละ 30 ในป 2579 เมื่อเทียบกับป 2553 โดยในสวนของการลดใช น้ํามันในภาคขนสง ซึ่งเปนภาคที่มีการใชพลังงานสูงสุด กระทรวงพลังงานไดมมี าตรการสงเสริมการใชยานยนตไฟฟา เพือ่ เพิม่ ทางเลือกการใชพลังงาน ลดการพึง่ พานาํ้ มันเชือ้ เพลิง และลดผลกระทบดานสิง่ แวดลอม ตัง้ เปาใหเกิดการใชงานยานยนตไฟฟา 1.2 ลานคัน ในป 2579 โดยแผนการขับเคลื่อนภารกิจดานพลังงานเพื่อสงเสริมการใชยานยนต ไฟฟา แบงการดําเนินงานเปน 4 ระยะ ซึ่งปจจบันอยูในระยะที่ 1 (ป 2559-2560) มุงเนนการเตรียมความพรอมรองรับการใชงานยานยนตไฟฟาที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคต ทั้งดานกฎหมาย การสนับสนุนการวิจัยเรื่องแบตเตอรี่ การเตรียมความพรอมดาน สถานี Charging Station และสนับสนุนการนํารองยานยนตไฟฟาในกลุม รถสาธารณะ อาทิ รถขนสงมวลชน ขสมก. และรถตุกตุกไฟฟา (eTukTuk) เปนตน รถตุก ตุก เปนสัญลักษณของประเทศไทย ทีม่ คี วามสําคัญตอการทองเทีย่ วและ อุตสาหกรรมประกอบดัดแปลงรถยนตขนาดเล็ก ในปจจบันมีรถตุกตุกที่จดทะเบียน กับกรมการขนสงทางบกทัว่ ประเทศประมาณ 20,000 คัน แบงเปนประเภทรถรับจาง 18,000 คัน และรถสวนบุคคล 2,000 คัน จึงเปนที่มาของโครงการสนับสนุนการ เปลี่ยนรถตุกตุกใหเปนรถตุกตุกไฟฟา ภายใตการสนับสนุนจากกองทุนเพื่อสงเสริม การอนุรักษพลังงาน สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.)
ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอ าํ นวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) และโฆษกกระทรวงพลังงาน กลาววา กระทรวงพลังงานไดรบั การสนับสนุนจากกองทุน เพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน โดย สนพ. ไดมอบหมายใหมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุรี เปนผูดําเนินงาน “โครงการสนับสนุนการเปลี่ยนรถตุกตุกเปน รถตุกตุกไฟฟา” โดยมีเปาหมายในการเปลี่ยนรถตุกตุกเกาที่ใชน้ํามันและกาซแอลพีจี ใหเปนรถตุกตุกไฟฟา ภายใน 5 ป เพื่อลดการใชน้ํามันและลดการปลอยมลพิษ โดย จะนํารอง 100 คันแรกภายในป 2561 โดยการนํารถตุก ตุก คันเกามาแลกรถตุก ตุก ไฟฟา คันใหม ซึง่ ผูเ ขารวมโครงการจะตองสงมอบรถตุก ตุก ดังกลาวใหกบั โครงการเพือ่ นําไป ทําลาย เพื่อไม ใหหมุนเวียนใชอีกในระบบสาธารณะ และจะทยอยเปลี่ยนใหครบ 22,000 คันทั่วประเทศภายใน 5 ป การดําเนินโครงการนํารองเปลีย่ นรถตุก ตุก เกาเปนรถตุก ตุก ไฟฟา 100 คันแรก แบงเปน 2 ระยะคือ ระยะที่ 1 ระยะสาธิตเทคโนโลยี สนับสนุนกลุมรถตุกตุกประเภท รับจางจํานวน 10 คัน ผูขอรับการสนับสนุนจะตองมีคุณสมบัติผานขอกําหนดของ โครงการฯ และจะไดรบั การสนับสนุนในอัตราสูงสุด แตไมเกินราคากลางของโครงการ ตามสเปกรถ สูงสุด 350,000 บาทตอคัน ปจจบันไดผูเขารวมโครงการครบ 10 คัน แลว สําหรับ ระยะที่ 2 ระยะทดลองตลาด สนับสนุนผูส นใจ ทัง้ กลุม ประเภทรถรับจาง และประเภทสวนบุคคล อาทิ รถที่ ใหบริการในโรงแรมและคอนโดมิเนียม จํานวน 90 คัน โดยใหการสนับสนุนรอยละ 85 แตไมเกินราคากลางตามสเปกรถ สูงสุด ประมาณ 300,000 บาทตอคัน นอกจากนี้ รถตุก ตุก ที่ใชเชือ้ เพลิงนัน้ จะกอใหเกิดเขมา เกิดสารไฮโดรคารบอน 3.4 กรัมตอกิโลเมตร กาซคารบอนมอนอกไซด 8.4 กรัมตอกิโลเมตร ขณะทีร่ ถตุก ตุก ไฟฟาไมมีไอเสียการใชพลังงาน และการปลอยกาซเรือนกระจกต่ํากวารถตุกตุกที่ใช เชื้อเพลิงฟอสซิสถึงรอยละ 60-70 ในดานคาใชจายราคาพลังงานไฟฟาของรถตุกตุก ไฟฟาก็ต่ํากวาราคาเชื้อเพลิง ในกรณีที่ใชเครื่องยนตถึงรอยละ 70
กระทรวงพลังงาน ตั้งเปาวาการเปลี่ยนรถ ตุกตุกเกาเปนรถตุกตุกไฟฟาครบ 100 คัน จะเกิดผล ประหยัดพลังงานรวม 0.1 พันตันเทียบเทาน้ํามันดิบ (ktoe) ลดการปลอยกาซ เรือนกระจก 385 ลานตันตอป และเมือ่ รวมจนถึงสิน้ แผนอนุรกั ษพลังงาน (EEP 2015) ในป 2579 จะประหยัดพลังงานไดถึง 1.75 พันตันเทียบเทาน้ํามันดิบ (ktoe) คิดเปนมูลคาการประหยัด พลังงานประมาณ 40 ลานบาทตอป และหากเปลีย่ นเปนรถตุก ตุก เกา 2.2 หมืน่ คัน เปนรถตุก ตุก ไฟฟาทั้งหมด จะชวยประหยัดพลังงานไดถึง 20 พันตันเทียบเทาน้ํามันดิบ (ktoe)/ป ทั้งยังชวย ผลักดันใหเกิดอุตสาหกรรมตอเนือ่ งในการผลิตรถยนตไฟฟาในประเทศ และสงเสริมอุตสาหกรรม ทองเที่ยวอีกดวย 28
GreenNetwork November-December 2017
GREEN
Focus พิชัย ถิ่นสันติสุข
ปฏิรูป
พลังงานขยะ
อานชื่อก็คงเขาใจไดวาจะ ปฏิรูปการจัดการขยะดวยการนําขยะไปใช ประโยชนดานพลังงานดวยเทคโนโลยีตางๆ เพื่อใหไดประโยชนสูงสุด อาจจะ ฟงดูขดั หูบา งวาขยะเปนเสมือนของไรคา จะใหประโยชนสงู สุดอยางไร จากอดีตจน ถึงปจจุบันภาครัฐไดใชจายงบประมาณปละหลายหมื่นลานบาท เพื่อจัดการขยะ 27 ลานตันตอป และหากไมนาํ ขยะมาผลิตพลังงาน ขยะก็จะยังคงทับถมอยูใ นบอ ฝงกลบ ดังนัน้ ภาครัฐโดยกระทรวงพลังงานจึงไดมมี าตรการเชิญชวนเอกชนใหผลิต ไฟฟาโดยใชขยะเปนเชื้อเพลิง และจูงใจดวยอัตราการรับซื้อไฟฟาที่สูงกวาการใช เชื้อเพลิงจากฟอสซิล และนี่คือสาเหตุของคําวาใหไดประโยชนสูงสุด กระทบตอ สิ่งแวดลอมนอยสุด และที่สําคัญ ชุมชนตองยอมรับและมีสวนไดประโยชน พ.ร.บ.รักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง (ฉบับที่ 2) เมือ่ วันที่ 15 มกราคม 2560 มาตรา 34/1 กําหนดให “การมอบใหเอกชน ดําเนินการหรือรวมดําเนินการดังกลาว มิใหถือวาเปนการรวมทุนตามกฎหมาย” มีผลใหการจัดการขยะชุมชนหลุดจาก พ.ร.บ.รวมทุนฯ มาอยูภ ายใต พ.ร.บ.รักษา ความสะอาดฯ แตทุกอยางก็ยังไมสามารถเดินหนาไปไหน ทุกฝายที่เกี่ยวของตาง รอกฎหมายลูก อันเนื่องจาก พ.ร.บ.รักษาความสะอาดฯ ไมมีบทเฉพาะกาล 10 เดือนตอมา กระทรวงมหาดไทยไดออกประกาศ เรือ่ งการจัดการมูลฝอย เมือ่ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2560 ตามประกาศนีซ้ งึ่ ถือวาเปนกฎหมายลูกของ พ.ร.บ.รักษาความ สะอาดฯ แตกไ็ มมขี อ กําหนดหรือขอบังคับใดๆ ทีช่ ดั เจน เนนเรือ่ งการสงเสริมและ แนะนําทองถิน่ มากกวา เชน ควรกําจัดขยะในแหลงกําเนิด ควรคัดแยกขยะกอนกําจัด ในทุกเทคโนโลยี และมีการเพิม่ คณะกรรมการจังหวัดใหมอี าํ นาจแทนผูว า ราชการ จังหวัด หากมองในมุมมองการรักษาความสะอาด ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2560 ที่ผานมา ก็ถือวาไดพยายามวางพื้นฐานการจัดการ ขยะ ถึงแมจะไมไดกาํ หนดอัตราคากําจัดทีเ่ หมาะสมของการจัดเก็บ-กําจัดขยะ แต ถามองในมุมของการผลิตพลังงานจากขยะ ตามทีก่ ระทรวงพลังงานมุง หมายแลว ประกาศของกระทรวงมหาดไทย ยังไมมสี ว นใดชวยใหเอกชนทีส่ นใจลงทุนมีความ คลองตัวมากขึ้นแตอยางใด อาจตองใชเวลามากกวา 2 ป ในการพัฒนาโครงการ Waste to Energy เพือ่ ไปขอสัญญาขายไฟจากคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน ั ญา (กกพ.) ซึง่ อาจตองใชเวลาอีกนับปเหมือนกัน รวมๆ แลวกวา 3 ป ก็ยงั ไมไดสญ ดูเหมือนวาการจัดการขยะโดยอาศัยมาตรการจูงใจใหผลิตเปนพลังงานไฟฟาของ กระทรวงพลังงานยังคงตองรองเพลงรอ…ตอไป
29
ตอมาเมือ่ วันที่ 8 ธันวาคม 2560 “คณะกรรมการปฏิรปู ประเทศดานพลังงาน” ซึ่งตั้งขึ้นโดยคณะรัฐมนตรี ตามรัฐธรรมนูญ ป 2560 ไดมีการรับฟงความคิดเห็น “ดานพลังงานทดแทนรวมทั้งดานการนําขยะมูลฝอยไปผลิตเชื้อเพลิงเพื่อผลิต ไฟฟา” ณ จังหวัดนครราชสีมา แตเนื่องจากเปนเพียงการโยนหินถามทาง เนื้อหา สาระจึงยังไมชดั เจน ตามแนวทางในเอกสารทีแ่ จกเผยแพรกค็ งไมตา งจากประกาศ กระทรวงมหาดไทยมากนัก จะมีสว นเพิม่ ทีช่ ดั เจนบางก็คอื จัดใหมี การรับฟงความ คิดเห็นโดยคณะกรรมการจังหวัด ที่ตั้งขึ้นโดยประกาศกระทรวงมหาดไทย เพื่อ ลดความขัดแยงของการเมืองระดับทองถิน่ แตหากจะปฏิรปู กันแลวคงตองทุบโตะ ลดขัน้ ตอน ลดระยะเวลา อาทิ การใชแบบ 3:6:3 กลาวคือ 1) องคกรปกครองสวน ทองถิน่ ใชเวลาทุกขัน้ ตอนภายใน 3 เดือน 2) คณะกรรมการจังหวัดและคณะกรรมการ กลางของกระทรวงมหาดไทย ใชเวลาทุกขั้นตอนไมเกิน 6 เดือน 3) กกพ.ดําเนิน การทุกขั้นตอนจนถึงการทําสัญญา PPA (Power Purchase Agreement) ภายใน 3 เดือน รวมแลวพลังงานขยะก็จะใชเวลา 1 ป (จากเดิมซึง่ ใชเวลา 3 ป) ผูไ ดรบั สัญญา ก็จะตองใชเวลากอสรางโครงการอีกไมนอ ยกวา 2 ป กวาจะขายไฟฟาไดเงิน 1 บาท แรกจากพลังงานขยะซึ่งยังตองใชเวลากวา 3 ป ผลพลอยดีพลอยไดก็คือ ขยะใน บอฝงกลบก็จะกลายเปนพลังงานไฟฟาสวางไสว บอฝงกลบขยะก็จะรับภาระเฉพาะ ขยะที่ไมยอยสลาย (Inert Waste)ไมสงกลิ่น และไมทําลายนํ้าใตดิน คณะกรรมการปฏิรูปประเทศดานพลังงาน มีวาระการทํางานถึง 5 ป จึง เปนความทาทายวา จะปฏิรูปพลังงานอันเปนวาระแหงชาติไดสําเร็จหรือไม
GreenNetwork Green Network November-December 2017
SPECIAL
Scoop กองบรรณาธิการ
การผลิตและการบริโภคอยางยัง่ ยืน มีความสําคัญใหเกิดการดําเนินงานมากยิง่ ขึน้ ทัง้ ภายในประเทศ และระหวางประเทศ ภายหลังจากที่เรื่องนี้ไดถูกกําหนดไวเปนเปาหมายที่ 12 ภายใตเปาหมายการพัฒนา ทีย่ งั่ ยืน ค.ศ. 2030 ซึง่ ประเทศไทยเปนประเทศหนึง่ ที่ไดใหคาํ มัน่ สัญญาวาจะมุง มัน่ ใหมกี ารพัฒนาประเทศ ไปในทิศทางทีย่ ง่ั ยืน โดยพลเอกประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี ไดเคยเดินทางไปรวมใหคาํ รับรองการ ดําเนินงานใหบรรลุเปาหมายการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน ค.ศ. 2030 (พ.ศ. 2573) เมือ่ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2558 ณ นครนิวยอรก สหรัฐอเมริกา
Roadmap 6' )8 B)4 6' 'èC$ 1&Ę6 &5I &; .=Ę 6'A 8 C 9IA ğ %8 ' 5 .8ø B+ )ę1%
ดังนั้น ประเทศไทยจึงตองมีการดําเนินงานดานการผลิตและการบริโภคอยาง ยัง่ ยืนใหเปนไปตามเปาหมาย เปาประสงค และตัวชีว้ ดั ทีส่ หประชาชาติกาํ หนด โดยตัง้ แต ป พ.ศ. 2558 ประเทศไทยไดเริม่ จัดทํา Roadmap การผลิตและการบริโภคอยางยัง่ ยืน ระยะ 20 ป โดยการสนับสนุนผูเชี่ยวชาญระยะสั้นจากทั้งตางประเทศและในประเทศ มารวมเปนที่ปรึกษา ภายใตโครงการ Policy Dialogues Support Facility หรือ PDSF แกกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพื่อจะกําหนดวาประเทศไทยในแต ละชวง 5 หรือ 10 ปขางหนา จะมีการพัฒนาดานการผลิตที่ยั่งยืน และดานการบริโภค ทีย่ ง่ั ยืน ใหมคี วามกาวหนาเปนอยางไร มีความรวมมือของหนวยงานหรือภาคสวนใดบาง และจะมีการดําเนินการอยางไรใหเกิดการเติบโตทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม รวมถึงการ บรรลุเปาการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน โดยไดนอ มนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนกรอบ แนวคิดในการจัดทํา ใหมคี วามสอดคลองกับเปาหมายการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน สอดคลองกับ ยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป และแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมของประเทศ จากนั้น จึงไดนาํ เสนอตอคณะกรรมการเพือ่ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืนใหเห็นชอบเมือ่ วันที่ 7 กรกฎาคม ทีผ่ า นมา ขณะนีย้ งั อยูร ะหวางการนําเสนอคณะรัฐมนตรี เพือ่ ประกาศใชในระยะตอไป เนือ่ งในวันยุตคิ วามยากจนสากล กระทรวงทรัพยากรและสิง่ แวดลอม สํานักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม รวมกับคณะผูแ ทนสหภาพยุโรป ประจําประเทศไทยและประเทศสมาชิกประกาศยุตคิ วามยากจน ดวยการขับเคลือ่ นตาม นโยบายการผลิตและการบริโภคอยางยั่งยืน โดยมีการนําเสนอ Roadmap และจัด เสวนาระหวางภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาสังคม มีผูเขารวมกวา 150 คน เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) เปน วาระการพัฒนาหลังป 2558 ขององคการสหประชาชาติ โดยมีสมาชิก 195 ประเทศ ไดรบั ไปดําเนินการใหแลวเสร็จภายในป 2573 มีเปาหมายทัง้ สิน้ 17 ขอ โดยมีเปาหมาย แรก คือ ยุติความยากจนทุกรูปแบบในทุกที่ 30
ในทั่วโลก ผูคนมากกวา 800 ลานคน ยังคงอยูไดดวยเงินนอยกวา 1.25 ดอลลารสหรัฐตอวัน หลายคนยังขาดการเขาถึงอาหาร นา้ํ ดืม่ ทีส่ ะอาดและสุขอนามัย ทีเ่ พียงพอ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็วในประเทศ เชน จีนและอินเดีย ไดชวยยกระดับประชากรออกจากความยากจน แตความเติบโตในเรื่องดังกลาวก็ยัง ไมมีความสม่ําเสมอเทาใดนัก ประชากรผูหญิงมีสัดสวนที่อยูในความยากจนมากกวา ผูชาย เนื่องจากการเขาถึงที่ไมเทากันในเรื่องคาแรงงาน การศึกษา และทรัพยสิน SDGs มีเปาหมายที่จะขจัดความยากจนในทุกรูปแบบใหแลวเสร็จภายในป 2573 ซึ่งเปาหมายดังกลาวเกี่ยวของกับการกําหนดกลุมเปาหมายที่อาศัยอยู ใน สถานการณที่มีความเสี่ยงในการเขาถึงทรัพยากรและการบริการขั้นพื้นฐาน รวมถึง ชวยเหลือชุมชนที่ ไดรับผลกระทบจากความขัดแยงและภัยพิบัติที่เกี่ยวของกับสภาพ ภูมิอากาศ หลุยซา รัคเอร อัครราชทูตทีป่ รึกษา รองหัวหนา คณะผูแทนสหภาพยุโรปประจําประเทศไทย กลาววา วันที่ 17 ตุลาคม 2560 เปนวันยุติความยากจนสากล สหภาพยุโรปไดเล็งเห็นความสําคัญของการแกไขปญหา ความยากจน โดยใชแนวทางของการผลิตและการบริโภค ที่ยั่งยืน และไดสนับสนุนการดําเนินการตางๆ ของไทย ในเรือ่ ง SCP มาโดยตลอด สหภาพยุโรปพรอมทีจ่ ะเดิน เคียงขางไปกับไทย เพื่อชวยใหไทยบรรลุเปาหมายการ พัฒนาที่ยั่งยืนตามแผนงานที่วางไว ดาน ดร.วิจารย สิมาฉายา ปลัดกระทรวง ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม กล า วว า ประเทศไทยไดเริ่มจัดทําแผนการขับเคลื่อนการผลิต และการบริโภคอยางยั่งยืน ระยะ 20 ป โดยไดรับการ สนับสนุนผูเชี่ยวชาญจากสหภาพยุโรป และไดนอมนํา หลักเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนกรอบแนวคิดในการ จัดทํา Roadmap นี้เนนมาตรการในการดําเนินการ ในภาคสวนตางๆ ทั้งภาคอุตสาหกรรมการผลิต ภาค เกษตรกรรมและอาหาร ภาคอุตสาหกรรมการบริการ การจัดซื้อจัดจางสีเขียว ภาคเมืองและองคการปกครองสวนทองถิ่น ภาคการสราง ความตระหนักและการศึกษา ปจจบันไดผา นความเห็นชอบจากคณะกรรมการแหงชาติ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และอยูระหวางการนําเสนอคณะรัฐมนตรี เพื่อประกาศใชใน ระยะตอไป การจัดสัมมนาในครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อสรางความรู ความเขาใจในเรื่อง การผลิตและการบริโภคอยางยั่งยืนใหแกภาคีการพัฒนาที่เกี่ยวของ สามารถนําไป เปนแนวทางในการดําเนินงานใหสอดคลองกับแผนการขับเคลื่อนการผลิตและการ บริโภคอยางยั่งยืน ตลอดจนใหมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
GreenNetwork November-December 2017
มากยิ่งขึ้น อีกทั้งไดกําหนดจัดการสัมมนาตรงกับวันขจัดความยากจนสากล โดย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม รวมกับสหภาพยุโรป ไดเล็งเห็นความ สําคัญของการแกไขปญหาความยากจน โดยใชแนวทางของการผลิตและการบริโภค ที่ยั่งยืนมาแกไขปญหา ที่ไมเพียงที่จะสามารถแกไขปญหาดานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมเทานั้น ยังจะสามารถชวยแกไขปญหาทางสังคม หรือปญหาความ ยากจนไดอกี ดวย ความยากจนไดนาํ มาซึง่ ปญหาอืน่ อีกหลายๆ ปญหา โดยเฉพาะการ บุกรุกฐานทรัพยากรของประเทศ ไดแก การบุกรุกพื้นที่อนุรักษหรือพื้นที่สาธารณะ เพื่อการเกษตร หรือการเปนตนเหตุของความเสื่อมโทรมดานสิ่งแวดลอมจากการใช สารเคมีปราบศัตรูพชื หรือวัชพืช ทีป่ ราศจากความรูค วามเขาใจอยางดีพอ ทําใหคณุ ภาพ ดินเสือ่ มโทรมลงและปนเปอ นสารเคมี รวมถึงการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่นั้นๆ และยังทําใหเกิดปญหาดานสุขภาพตอผูใชสารเคมีและผูบริโภคตามมา การสงเสริมความรูความเขาใจและดําเนินงานตามแนวทางการผลิตและการบริโภค ทีย่ งั่ ยืน เปนแนวทางหนึง่ ทีท่ าํ ใหประชาชนมีการใชทรัพยากรอยางพอเพียงและคุม คา สงผลใหประเทศมีทรัพยากรมากพอและมีคุณภาพสิ่งแวดลอมที่ดีในระยะยาว การผลิตและการบริโภคอยางยัง่ ยืนชวยสงเสริมการขจัดความยากจน ใหโอกาส การแบงปนทรัพยากรจากผูที่มีมากกวาไปใหผูที่ยังขาดแคลน เกิดผลทําใหการใช ทรัพยากรเกิดความสมดุลและลดผลกระทบจากตอสิง่ แวดลอมลง โดยวัตถุประสงคหลัก ของการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน คือ การใชทรัพยากรทุกประเภท อาทิ การใช ทรัพยากรนาํ้ ปาไม พลังงาน อาหาร และอืน่ ๆ ใหคมุ คาทีส่ ดุ และกอใหเกิดผลกระทบ ตอคุณภาพสิ่งแวดลอมนอยที่สุด ยกตัวอยางในเรื่องอาหารที่เราบริโภคกัน จากผล การศึกษาขององคการอาหารและการเกษตรแหงสหประชาชาติ หรือ (FAO) ระบุวา โลกเราสามารถผลิตอาหารไดเพียงพอตอประชากรประมาณ 7 พันลานคนทั่วโลก แตคนสวนใหญมีพฤติกรรมการกินทิ้งกินขวาง และขาดความเขาใจตอผลกระทบที่ เกิดขึ้น จึงทําใหอาหารประมาณ 1 ใน 3 กลายเปนขยะ ผูคนทั่วโลกประมาณ 870 ลานคนหรือประมาณ 1 ใน 8 อยูในภาวะขาดแคลนอาหารและเสี่ยงตอการเสียชีวิต จากการขาดอาหาร ทีส่ าํ คัญคือ มากกวาครึง่ หนึง่ เปนประชากรในทวีปเอเชีย ในขณะ ที่บางภูมิภาคมีการบริโภคอาหารไมคุมคา มีปริมาณอาหารที่ถูกปลอยทิ้งใหเนาเสีย ไปอยางไรประโยชน ผลกระทบอีกดานหนึ่งที่เกิดขึ้นคือ ขยะอาหารที่เกิดขึ้นทั่วโลก สงผลกระทบตอสิง่ แวดลอม หรือทําใหเกิดกาซเรือนกระจกทีส่ ง ผลใหเกิดภาวะโลกรอน มีสูงถึง 3,300 ลานตันคารบอนไดออกไซดตอป (World Resource Institute 2012 เปรียบเทียบ 1 ตันคารบอนไดออกไซด เทากับลูกบอลทีม่ เี สนผานศูนยกลาง 10 เมตร ลอยอยูบนทองฟา ในกรณีนี้ทําใหลูกบอลขนาดเสนผานศูนยกลาง 10 เมตร ลอยอยู บนทองฟา 3,300 ลานลูก) เปนการสิ้นเปลืองทรัพยากรที่ ใชในการเพาะปลูก การขนสง กระบวนการผลิต หรือการกําจัดของเสียจากกระบวนการผลิต โดยเปลา ประโยชน
31
ในประเทศไทยเราเอง มีการทิ้งทรัพยากรตอปไปไมนอย ดังจะเห็นไดจาก ในปที่ผานมา มีปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั่วประเทศ ประมาณ 27 ลานตัน จาก จํานวนประชากรทั้งประเทศ 66 ลานคน ในขณะที่กรุงเทพฯ มีปริมาณขยะมูลฝอย เกิดขึน้ 4 ลานตันตอป และรอยละ 50 ของปริมาณขยะมูลฝอยนีเ้ ปนขยะจากอาหาร หากเราสามารถจัดการใหดี ไมใหเกิดขยะจากอาหารภายในครัวเรือนของเรา หรือ พฤติกรรมการบริโภคของเราใหมีความพอเพียงหรือพอดี จะสามารถลดของเสียที่ เกิดขึน้ ใหมปี ริมาณนอยลง มีการจัดการงายขึน้ สามารถลดคาใชจา ยในการจัดการ สิง่ อืน่ ตามมา หรือนําไปใชประโยชนอนื่ ๆ อาทิ การแบงปนใหผทู ขี่ าดแคลน การนํา ไปมอบใหองคกรที่เกี่ยวของกับการเลี้ยงสัตว การทําปุยหมัก การผลิตกาซชีวภาพ เปนตน นอกจากนี้ จากรายงานผลการจัดซื้อจัดจางสินคาและบริการที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม จํานวน 773 แหง ณ เดือนพฤษภาคม 2560 พบวามีมูลคาการจัดซื้อ จัดจางสินคาและบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมประมาณ 550 ลานบาท และ ปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดทลี่ ดไดประมาณ 55,000 ตัน โดยการจัดซือ้ จัดจาง สินคาและบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม หนึ่งในเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนได ถูกหยิบยกมาใชในการสนับสนุนและผลักดันกลไกในการลดกาซเรือนกระจก และ นําไปสูส งั คมการผลิตและการบริโภคอยางยัง่ ยืน (Sustainable Consumption and Production : SCP) ซึ่งจะนํารองกับภาครัฐทั้งสวนกลางและขยายผลไปสูองคกร ปกครองสวนทองถิ่น รัฐวิสาหกิจ มหาวิทยาลัย องคกรมหาชน หนวยงานในกํากับ ของรัฐ และจะขยายไปสูภาคเอกชน รวมทั้งภาคประชาชนตอไป
GreenNetwork November-December 2017
GREEN
Learning กองบรรณาธิการ
ศูนยความเปนเลิศดานเทคโนโลยีปโตรเคมีและวัสดุ (PETROMAT) รวมกับ บริษัท ทอทาล คอรเบี้ยน พีแอลเอ จํากัด ผูนําดาน การผลิตโพลีแลคติคแอซิด (Poly Lactic Acid : PLA) ประกาศผลผูชนะเลิศโครงการผลงานนวัตกรรม “Bioplastics Innovation Contest 2017” หรือโครงการคนหานวัตกรรมการเพิ่มมูลคาพลาสติกชีวภาพ ภายใตแนวคิดการ ใชงานในวิถีชีวิตยุคใหมและสังคมยั่งยืน สนับสนุนใหเยาวชนไทยไดมีโอกาสในการใชความคิดสรางสรรค ดานเทคโนโลยีเพือ่ การตลาด และเสริมสรางจิตสํานึกในดานการรักษาสิง่ แวดลอมและความยัง่ ยืน ดานการใชทรัพยากรธรรมชาติหวังยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ สงเสริมการคิดคน นวัตกรรม เพิม่ มูลคาและประยุกตใชงานพลาสติกชีวภาพหรือไบโอพลาสติกในดาน ตางๆ พรอมผลักดันใหประเทศไทยเปนศูนยกลางอุตสาหกรรมพลาสติก ชีวภาพของภูมิภาคเอเชีย
Bioplastics
Innovation
Contest 2017
.Ę A.'è% 6' 8 ę )8 $5 Ĝ ")6. 8 9+$6"A 8 "6 8 &Ĝ รศ. ดร.หทัยกานต มนัสปยะ รองผูอํานวยการ ศูนยความเปนเลิศดานเทคโนโลยีปโตรเคมีและวัสดุ (PETROMAT) กลาววา โครงการผลงานนวัตกรรม “Bioplastics Innovation Contest 2017” ไดเริ่มดําเนินการ ตั้งแตปลายป 2559 จนถึงปจจบัน มีนักศึกษาจากหลายสถาบันใหความสนใจและสงผลงานเขารวม ประกวด โดยในขั้นสุดทายไดคัดเลือกผลงานนักศึกษาที่ผานการพิจารณาจากคณะกรรมการผูทรง คุณวุฒิเขารอบคัดเลือกรอบสุดทายจํานวน 5 ทีม คือ 1) ทีม “Go Grow Go Green” จาก Sirindhorn International Institute of Technology มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร นําเสนอผลงาน Green Bagging (Polylactic acid/Silica composite films) 2) ทีม “พฤหัสบดี” จาก มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ นําเสนอผลงาน Xtra Life by SWU 3) ทีม “อายมา 4 คน” จาก มหาวิทยาลัย ศิลปากร นําเสนอผลงานผากันเปอ นยอยสลายไดจาก PLA 4) ทีม CushPack จาก วิทยาลัยปโตรเลียม และปโตรเคมี จฬาลงกรณมหาวิทยาลัย นําเสนอผลงาน PLA Composite for Foamed Packaging Cushion Application และ 5) ทีม Splint Printed FIN GNER จาก มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ นําเสนอผลงาน Sense Splint X SWU โดยจะมีหลักเกณฑในการพิจารณาผลงานมุงเนนไปที่การ ใชงานใหเกิดคุณคาในเชิงพาณิชย โครงการทีส่ ง ประกวดแตละโครงการจะตองมีพนั ธมิตรภาคธุรกิจ เปนผูกําหนดคุณลักษณะเฉพาะ เพื่อใหประสบความสําเร็จในเชิงพาณิชย “ทางศูนยฯ คาดหวังวาผลสําเร็จที่ ไดจากโครงการนี้จะไดรับการตอยอดพัฒนาผลิตภัณฑ ไดตรงตามวัตถุประสงค และไดรบั รวมมือกับภาคเอกชนจัดโครงการทีเ่ ปนประโยชนตอ ไปอีกในอนาคต ซึ่งทางศูนยฯ มีพันธกิจหลักในการสรางองคความรูเทคโนโลยีปโตรเคมีและวัสดุ พัฒนาตอยอดเพื่อ ตอบสนองการพัฒนาอุตสาหกรรมปโตรเคมีและวัสดุของประเทศใหมคี วามไดเปรียบทางการแขงขัน อยางยั่งยืนและรับผิดชอบตอสังคม” โครงการ Bioplastics Innovation Contest 2017 หรือโครงการคนหานวัตกรรมการเพิ่ม มูลคาพลาสติกชีวภาพ ภายใตแนวคิดการใชงานในวิถชี วี ติ ยุคใหมและสังคมยัง่ ยืน จัดขึน้ เพือ่ สงเสริม ใหเยาวชน โดยเฉพาะนักศึกษาไดเขามามีสว นรวมในการพัฒนาอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ สมัคร เขารวมโครงการทีมละไมเกิน 7 คน โดยสงผลงานความคิดสรางสรรคที่เปนนวัตกรรมที่สามารถ นํามาประยุกตใชไดจริงกับพลาสติกชีวภาพ อันเปนการพัฒนาผลิตภัณฑโดยแนวคิดของคนรุนใหม
32
ชิงรางวัลมูลคารวมกวา 300,000 บาท ซึ่งทีมที่ชนะเลิศ ไดแก ทีม “อายมา 4 คน” จากมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยนําเสนอผลงาน ผากันเปอนยอยสลายไดจาก PLA ซึ่งเหมาะสําหรับการใชงาน ในโรงงานอุตสาหกรรมอาหารหรือแปรรูปอาหาร สามารถประหยัด คาใชจายไดเปนจํานวนมาก กัลย เฉลิมเกียรติกลุ ผูอ าํ นวยการฝายพัฒนาธุรกิจ-พลาสติก ชีวภาพ บริษัท ทอทาล คอรเบี้ยน พีแอลเอ จํากัด กลาววา จากความรวมมือในการจัดการประกวดนวัตกรรมรวมกับทาง PETROMAT จะกอใหเกิดความตื่นตัวใหกับทุกภาคสวน ทั้งภาค เอกชนเจาของแบรนด และภาคสถาบันการศึกษา รวมมือกันคิดคน ทําการวิจัยสรางนวัตกรรมใหภาคเอกชนไดนําไปตอยอดสราง มูลคาเพิ่ม และดวยหลักการ Bio Economy หรือ เศรษฐกิจฐาน ชีวภาพ เพื่อสรางมูลคาเพิ่มจากผลผลิตทางการเกษตร จะชวยให ประเทศไทยสามารถขับเคลื่อนเศรษฐกิจไดเร็วยิ่งขึ้น การจัด โครงการ Bioplastics Innovation Contest 2017 ในครั้งนี้ จึง เปนหนึ่งในความพยายามของทุกภาคสวนในการรวมกันพัฒนา อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพของไทยใหเติบโตอยางยั่งยืนตอไป อนาคต
GreenNetwork November-December 2017
GREEN
World กองบรรณาธิการ
#6'Ĝ% 5 /5 )%)1& J7
B/Ę B' 1 C) 9I. 1 B) Ĝ
กังหันลมในทะเลถูกใชเพื่อผลิตไฟฟามาตั้งแตทศวรรษ 1990 จนกลายเปนแหลงพลังงานหมุนเวียน ทีส่ าํ คัญของโลกในปจจบัน กังหันลมแบบตัง้ บนฐานรากทีพ่ นื้ ทะเลมีขอ จํากัดทีค่ วามลึกของนา้ํ ทะเล หากลึก เกิน 60 เมตรราคาคากอสรางจะมากเกินไปจนไมคมุ คา แนวคิดเรือ่ งทํากังหันลมลอยนาํ้ เพือ่ ทําลายขอจํากัดนี้ จึงเกิดขึ้น และตอนนี้ฟารมกังหันลมลอยน้ําแหงแรกของโลกที่สกอตแลนดไดสรางเสร็จและเปดใชงานแลว สําหรับสกอตแลนดนั้น ถือเปนหนึ่งในประเทศที่มีศักยภาพพลังงานลมสูงสุดในทวีปยุโรป โดยไดเริ่มจาย ไฟฟาที่ผลิตจากฟารมกังหันลมลอยนํ้าแหงแรกของโลก ในเมืองแอเบอรดีน เขาสูระบบแลว โดยบริษัท Statoil เจาของโครงการ Hywind ฟารมกังหันลมลอยน้ําแหงแรกนี้ไดเล็งเห็นถึงศักยภาพของแหลงพลังงานลมเหนือทะเล นา้ํ ลึกที่ครอบคลุมพื้นที่ถึง 80% ของทั้งหมด โดยเฉพาะอยางยิ่งในพื้นที่สําคัญบางแหงที่มีไหลทวีปชันเปนพิเศษ เชน บางสวนของสหรัฐอเมริกาและญีป่ นุ รวมไปถึงจดเดนทีล่ มเหนือทะเลนา้ํ ลึกมีความเร็วสูงกวา และโอกาสในการลดตนทุน ของกังหันลมได จึงสรางนวัตกรรมใหมนี้ขึ้นมาเพื่อโอกาสที่ดีในอนาคต โครงการ Hywind ตั้งอยูหางจากชายฝง Aberdeenshire ประเทศสกอตแลนด ราว 25 กิโลเมตร ประกอบดวย กังหันลมลอยน้ําขนาด 6 เมกะวัตตจํานวน 5 ตัว ครอบคลุมพื้นที่ราว 4 ตารางกิโลเมตร มีกําลังการผลิตรวม 30 เมกะวัตต ซึ่งเพียงพอจายไฟฟาใหบานเรือน 22,000 หลัง มีตนทุนคากอสรางราว 263 ลานดอลลาร ทั้งนี้ กังหันลมแตละตัวสูง 253 เมตร ลอยอยูในน้ําทะเลที่ระดับความลึกระหวาง 95 ถึง 129 เมตร และถูกยึดไวอยาง มัน่ คงดวยสมอ 3 ตัว รับลมในทะเลเหนือบริเวณนีท้ ม่ี คี วามเร็วเฉลีย่ กวา 36 กิโลเมตรตอชัว่ โมง กังหันลมทัง้ หมดเชือ่ มตอเขาดวยกัน และสงไฟฟาที่ผลิตไดไปบนฝงทางสายเคเบิลที่ระดับความดันไฟฟา 33 กิโลโวลต แมวา ฟารมกังหันลม Hywind จะมีกาํ ลังการผลิตไฟฟาเพียงนอยนิดเมือ่ เทียบกับฟารมกังหันลมนอกชายฝง ที่ใหญทสี่ ดุ ในโลก ในปจจบันอยาง London Array ที่มีกําลังการผลิต 630 เมกะวัตต หรือโครงการใหญมากๆ อยางโครงการ Hornsea Project One และ Hornsea Project Two ที่กําลังอยูในระหวางการกอสรางตางก็มีกําลังการผลิตเกิน 1,000 เมกะวัตต แต Hywind เปนเพียงโครงการทดลองหรือโครงการเริ่มตนเทานั้น ในอนาคตสามารถขยายขนาดใหใหญกวานี้มากกวา 10 เทา ที่สําคัญกังหันลมลอยน้ําสามารถดําเนินการในบริเวณที่มีน้ําลึกไดถึง 800 เมตร Irene Rummelhoff รองประธาน Statoil กลาว Statoil ตองการที่จะลดตนทุนของพลังงานจากฟารม กังหันลมลอยนํา้ ใหเหลือ 47-71 ดอลลารตอเมกะวัตต-ชั่วโมง ภายใน ค.ศ. 2030 และมีพื้นที่ถึง 80% ที่เปน บริเวณนาํ้ ลึกซึง่ กังหันลมแบบเดิมไมเหมาะสม ฟารมกังหันลมลอยนาํ้ จึงถูกคาดหวังวาจะมีบทบาทสําคัญตอการ เติบโตของพลังงานลมนอกชายฝงในอนาคต ขอมูลและภาพจาก : https://www.takieng.com 33
GreenNetwork November-December 2017
GREEN
Visit กองบรรณาธิการ
โครงการสวนกังหันลมเลียบชายฝง ปากพนัง ดําเนินการโดย บริษทั อินเตอร ฟารอสี ท วินด อินเตอรเนชัน่ แนล จํากัด ดวยการใชพลังงานลมในการผลิตกระแสไฟฟา ขนาดกําลังการผลิต 10 เมกะวัตต ในพื้นที่ อําเภอปากพนัง จังหวัด นครศรีธรรมราช ปอนกระแสไฟฟาใหแกการไฟฟาสวนภูมิภาค เมือ่ เร็วๆ นี้ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน (พพ.) ไดเขาเยีย่ มชมโครงการสวนกังหันลมเลียบชายฝง ปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช บริษัท อินเตอร ฟารอีสท วินด อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด หรือ iWind เจาของรางวัล Thailand Energy Awards 2017
iWind 5 )Ę 6 )% =.+ 5 /5 )% A)9& 6&!ĝĠ 6 " 5
A.'è%.'ęę6 +6%%5I D/ę <%
วัชรินทร บุญฤทธิ์ ผูอํานวยการกลุมสงเสริมการอนุรักษพลังงาน ภาคประชาชนและธุรกิจ สํานักสงเสริมการอนุรกั ษพลังาน กรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) กลาววา โครงการสวนกังหันลม เลียบชายฝง อําเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช เปนโครงการที่ ไดรับรางวัลดีเดนจากการประกวด Thailand Energy Awards 2017 ดานพลังงานทดแทน ประเภทโครงการที่เชื่อมโยงกับระบบสายสงไฟฟา (On-Grid) ซึ่งเปนการบูรณาการอยางลงตัวระหวางโรงไฟฟา แหลง ทองเที่ยว และการใชประโยชนสําหรับชุมชน ทั้งนี้โครงการดังกลาว ยังไดออกแบบพื้นที่ ใหสอดคลองและกลมกลืนไปกับระบบนิเวศชายฝง และสภาพพืน้ ทีเ่ ดิมซึง่ เปนนากุง รางและเปนพืน้ ทีเ่ สือ่ มโทรมเลียบชายฝง รวมไปถึงการกําหนดรูปแบบการพัฒนาเปนสวนกังหันลมควบคูกับพื้นที่ สาธารณประโยชนสําหรับชุมชน
โครงการสวนกังหันลมเลียบชายฝ งปากพนัง ขนาด 10 เมกะวัตต
โครงการสวนกังหันลมเลียบชายฝงปากพนัง มีกําลังการผลิต 10 เมกะวัตต จากการศึกษามาเปนเวลานานพบวาลมทางภาคใต ของไทยมาจาก 2 ฝงคือ จากฝงอาวไทยและจากฝงทะเลอันดามัน ทิศทางของลมมีการเปลี่ยนแปลงทุกๆ 6 เดือน ซึ่งจดที่ตั้งกังหันลมที่นี่ สามารถรับลมไดตลอดทั้งป จากลักษณะภูมิศาสตรที่เปนแนวชองเขา ซึ่งเปดชองรับลมไดทั้ง 2 ฝง และนําศักยภาพมาผลิตกระแสไฟฟาได ตลอด
34
ดร.สุเมธ สุทธภักดี ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร บริษทั อินเตอร ฟารอีสท วินด อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด หรือ iWind กลาววา ความเร็วของลมเปนปจจัยหลักทีม่ ผี ลตอประสิทธิภาพการผลิตไฟฟา ของกังหันลม ดังนั้นการคัดเลือกสถานที่ตั้งโครงการที่มีศักยภาพ พลังงานลมสูงทั้งดานความเร็วลมและชวงเวลาที่ไดรับลมจึงสําคัญ อยางยิง่ บริษัทฯไดศกึ ษาศักยภาพในพืน้ ทีเ่ กือบ 3 ป และไดคดั เลือก พื้นที่ตั้งโครงการบนแนวชายฝงทะเลดานอาวไทย บริเวณตําบล บางพระ อําเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ซึง่ มีคา ความเร็วลม เฉลี่ยตลอดทั้งป 5.21 เมตร/วินาที ประกอบกับมีลมทั้งจากฝง อาวไทยและฝงอันดามันพัดผานพื้นที่โครงการตลอดทั้งป เนื่องจาก อยูในแนวรับลมที่พัดผานชองเขาหลวงพอดี จึงมีศักยภาพพลังงาน ลมเพียงพอสําหรับการติดตั้งกังหันลมขนาดใหญ โดยโครงการ สวนกังหันลมแหงนี้ มีขนาด 10 เมกะวัตต ติดตั้งกังหันลม จํานวน 4 ตน มีกําลังผลิตตนละ 2.5 เมกะวัตต เสนผาศูนยกลางใบพัด 121 เมตร ผลิตไฟฟาจําหนายใหการไฟฟาสวนภูมภิ าค (กฟภ.) ภาย ใตสัญญา VSPP แบบ Non-Firm โดยเริ่มผลิตไฟฟาไดที่ความเร็ว ลม 2.1 เมตร/วินาที สามารถผลิตกระแสไฟฟาไดอยางสม่ําเสมอ ในทุกสภาพอากาศ แมจะมีพายุหรือมรสุมตางๆ “ในป 2559 ทีผ่ า นมา โครงการนีส้ ามารถผลิตไฟฟาจากพลังงาน ไดรวมประมาณ 18.9 ลานหนวย และลดการปลอยกาซเรือนกระจก ไดประมาณ 10,579 ตันคารบอนไดออกไซด”
GreenNetwork November-December 2017
บริษั ทฯ ไดทุมงบประมาณในการกอสรางโครงการดังกลาว 800 ลานบาท (รวมที่ดิน) มีอัตราผลตอบแทนการลงทุน (IRR) 12.3% และมีระยะ เวลาคืนทุน 10 ป โดยมีมูลคาการลงทุนผลิตไฟฟา 80 ลานบาท/เมกะวัตต ซึ่งถือเปนตน ทุนตอหนวยการผลิตไฟฟาต่ําสุดสําหรับโครงการกังหันลม ในประเทศไทย ทัง้ นี้ โครงการมีความเชือ่ มัน่ วาจะมีศกั ยภาพลมเพียงพอทัง้ ป และสามารถผลิตกระแสไฟฟาไดอยางตอเนื่อง บริษัทฯ ไดใชเวลาศึกษาวิจัย และทําประชาพิจารณในพื้นที่เปนเวลา 5-6 ป และมองเห็นถึงศักยภาพ ในหลายๆ ดาน สําหรับโครงการสวนกังหันลมเลียบชายฝงนี้ เปน 1 ใน 60 โครงการของบริษัทฯ ในประเทศไทย และไดนําโครงการนี้มาเปนโครงการ ตนแบบเพือ่ แสดงถึงศักยภาพทางอุตสาหกรรมพลังงานลมใหภาครัฐไดเห็นถึง ประสิทธิภาพ
เทคโนโลยีกังหันลมกึ่งหุ นยนต ไร เกียร จากเยอรมนี
โครงการดังกลาว ใชกังหันลมกึ่งหุนยนตไรเกียร (Gearless SemiRobot Wind Turbine) จาก Goldwind ซึ่งเปนระบบและเทคโนโลยีจาก ประเทศเยอรมนี รุน GW121/2500 KW กังหันรุน นีส้ ามารถหมุนหาลมไดเอง
360 องศา โดยคํานวณทิศทางและกําลังลมในแตละขณะเพื่อเตรียมระบบ รองรับ สามารถหมุนปรับองศาใบพัดไดเองอัตโนมัติ (Automatic Pitch Control) ทําใหกังหันลมเพิ่มและลดความเร็วของรอบหมุนตามความเร็วลม ชวงตางๆ ได มีระบบเซ็นเซอรควบคุมและปองกันเหตุตางๆระหวางการผลิต กระแสไฟฟา โดยแจงขอมูลตลอด 24 ชัว่ โมงไปยังหองควบคุม รวมถึงมีระบบ ควบคุมอัจฉริยะ สามารถสื่อสารกับเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานได สวนตัวกังหัน เคลือบกัลวาไนซ (Galvanize) ปองกันการกัดกรอนจากไอเกลือ และสามารถ ปรับโทนสี ไดเองตามความเขมของแสง และทาสีปลายใบพัดเปนสีแดง เทาแดง และขาวสลับ เพือ่ ปองกันการชนของนก และยังควบคุมใหใบพัดหมุน ที่ความเร็วสูงสุด 14 รอบ/นาที (RPM) ซึ่งไมเปนอันตรายตอวิสัยการบิน ของนกที่อาศัยอยูโดยรอบ สวนระบบไฟฟาของโครงการนี้ ใชระบบ SVG (Static Var Generator) ในการควบคุมคุณภาพของไฟฟากอนสงออกสูระบบจําหนาย รวมทั้งชดเชย รักษาระดับแรงดันระหวางระบบของการไฟฟาและของโครงการ ทําใหการ ผลิตไฟฟาราบรื่นและมั่นคง และวางระบบสายสงไฟฟาใตดินเพื่อความ เรียบรอยและลดปญหาในการดูแล โดยมีระบบรองรับน้ําทวม
พัฒนาสวนกังหันลมควบคู พื้นที่สาธารณประโยชน ชุมชน
ดร.สุเมธ กลาววา เหตุผลทีบ่ ริษัทฯ เลือกดําเนินโครงการสวนกังหันลม ในชายฝงปากพนัง เนื่องจากเล็งเห็นวาเปนพื้นที่ที่ลมมีศักยภาพสมํ่าเสมอ ทั้งยังไดรับการยอมรับจากประชาชนในพื้นที่เปนอยางดี อันเกิดจากไดจัดทํา โครงการนํารองของกระทรวงพลังงาน ที่อําเภอหัวไทร ซึ่งตั้งอยูไ มไกล สวนกังหันลมเลียบชายฝง ปากพนัง ทําใหชาวบานเกิดความเขาใจ ใหการ
35
ตอบรับเปนอยางดี และทีส่ าํ คัญบริษัทฯ ไมตอ งการใหพน้ื ทีแ่ หงนีเ้ ปนแตเพียง ที่ตั้งของกังหันลมแตเพียงอยางเดียว จึงไดมีการที่จะพัฒนาบริเวณรอบๆ ใหเปนสาธารณประโยชนสูชุมชน เพื่อใหพื้นที่ดังกลาวเปนสวนสาธารณะ แหลงเรียนรูดานพลังงานทดแทน ลานกีฬาอเนกประสงค ศูนยอนุรักษ พันธุไมปาชายเลนและปาชายหาด เสนทางจักรยานเลียบสวน รวมถึงการ เตรียมการในเรือ่ ง การจัดตัง้ ศูนยเตือนภัยพิบตั ทิ างทะเลและศูนยวจิ ยั สภาพ อากาศ โดยประยุกตใชขอ มูลเซ็นเซอรตรวจวัดสภาพอากาศจากตัวกังหันลม ในการเตือนภัยใหแกชุมชน และที่สําคัญยังชวยสรางอาชีพและรายไดที่ มั่นคงใหกับชุมชน ดวยการจางแรงงานที่มีภูมิลําเนาอยูใกลเคียงโครงการ นอกจากนี้ เปาหมายและหลักคิดในการวางยุทธศาสตรพัฒนา โครงการโดยนําพื้นที่ดินของบริษั ทและโครงการกังหันลมตางๆ ที่มีอยู ยกระดับใหเปนฟารมกังหันลมแบบอัจฉริยะ ซึ่งมุงเนนการไลหาพลังงาน จากลมบนบก และพลังงานลมในทะเลนอกชายฝง ทั้งนี้หนวยผลิตไฟฟา พลังงานลมทั้ง 2 รูปแบบ จะถูกเชื่อมโยงเขาดวยกันเพื่อปอนไฟฟาเขาสู เครือขายของการไฟฟา โดยมีระบบการจัดการบริหารพลังงานอัจฉริยะ (Smart Wind Farm Micro Grid Controller) และระบบการสํารองเพื่อ
กักเก็บพลังงานทีห่ าไว (Energy Storage SystemESS) ประกอบกับระบบนําสงพลังงานจากแบตเตอรี่ เพือ่ เติมเขาระบบเครือขายของการจายไฟตามรูปแบบ สัญญา VSPP ใหมีความเสถียร และมีประสิทธิภาพ มากขึ้ น ระบบดั ง กล า วจะทํ าให พ ลั ง งานทดแทนจากลม สามารถพึ่งพาไดอยางมั่นคง และลดขอจํากัดการแปรผันของ พลังงานจากธรรมชาติไดเปนอยางดี
กังหันลมสีเขียว เป นมิตรกับสิ่งแวดล อม
ดร.สุเมธ กลาววา การอยูอยางสีเขียว คือการ พัฒนาที่มุงเนนถึงความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตและ สิง่ แวดลอมอยางเปนระบบ โดยโครงการนีจ้ ะมุง เนน ถึงการมีสวนรวมของชุมชนในการพัฒนา เพื่อ ให เ กิ ด ความรู สึ ก ในการเป น ส ว นหนึ่ ง ของ สิ่ ง แวดล อ มสี เ ขี ย วใหม ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น จาก แนวคิดนี้ ไดนําไปสูการพัฒนาโปรแกรม และกิจกรรมตางๆ ที่มุงเนนถึงความ เชื่อมตอระหวางชุมชน และสิ่งแวดลอม และขณะเดียวก็ตองตอบสนอง ตอความตองการของชุมชน สอดคลองกับวิถีชีวิต และวัฒนธรรมชุมชน เพือ่ สงเสริมใหเกิดความสัมพันธอนั ดีระหวางชุมชนและสิง่ แวดลอม และ ระหวางชุมชนดวยกันเอง โดยกําหนดแนวทางในการออกแบบและพัฒนา ที่สงเสริมการอยูกับสิ่งแวดลอมไดอยางยั่งยืน
GreenNetwork November-December 2017
GREEN
Energy กองบรรณาธิการ
Energy 4.0
")5
6 6 +5 ''%B/Ę 1 6 ปจจบันประเทศไทยกําลังขับเคลือ่ นการพัฒนาไปสูย คุ Thailand 4.0 โดยปฏิรปู โครงสรางเศรษฐกิจจากประเทศรายไดปานกลางสูป ระเทศรายไดสงู โดยใชเทคโนโลยี และนวัตกรรมมาขับเคลือ่ น ทัง้ ความมัน่ คง เศรษฐกิจ สังคม และการดูแลสิง่ แวดลอม เพื่อสรางเศรษฐกิจที่มุงเนนคุณคา (Value-Based Economy) หรือ Thailand 4.0 ในภาคพลังงาน กระทรวงพลังงานไดวางยุทธศาสตรพลังงานฐานนวัตกรรม (Energy 4.0) ดวยการใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาเชื่อมโยงกับพลังงาน เชน โซลารเซลล ระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage Systems) หรือยานยนตไฟฟา (Electric Vehicle) เปนตน อีกสวนคือพลังงานฐานเกษตร ในเรื่องพลังงานจากพืช หรือรูปแบบการผลิต ไฟฟาทีผ่ สมผสานระหวาง “พลังงานธรรมชาติ” และ “พลังงานชีวภาพ” โดยตองเปน การตอยอดเพือ่ สรางรายไดในอนาคตไดดว ยพืชพลังงาน เชน นา้ํ มันปาลม เอทานอล หรือพลังงานจากชีวมวลของเหลือจากการเกษตร อีกทั้งยังรวมถึงการผลิตไฟฟาที่ ผสมผสานระหวางพลังงานธรรมชาติและพลังงานชีวภาพ (SPP Hybrid Firm) ควบคู ไปกับการสงเสริมการวิจัยดานพลังงาน ที่มุงเนนใหเกิดการใชพลังงานที่สะอาดและ มีประสิทธิภาพสูงสุด ไมสรางผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ชวยยกระดับคุณภาพชีวิต ของประชาชนไปพรอมกัน โดยมีการขับเคลื่อนที่ครอบคลุมพลังงานทั้งระบบ ตั้งแต ผลิต จัดหา แปรรูป ขนสง จนถึงการใช และครอบคลุมถึงแผนพลังงานระยะยาว ไดแก แผนบริหารจัดการน้ํามันเชื้อเพลิง แผนบริหารจัดการกาซธรรมชาติ และแผน พัฒนากําลังผลิตไฟฟา มาตรการขับเคลื่อนที่สําคัญ 3 มาตรการ ไดแก 1. ดานเชื้อเพลิงภาคขนสง อาทิ พัฒนาเทคโนโลยี เพื่อสงเสริมการผลิตและ การใชเชื้อเพลิงชีวภาพใหมากขึ้น เพิ่มศักยภาพการขนสงน้ํามันทางทอ และใชระบบ ขนสงทางราง ลดการใชน้ํามันในรถยนตใหมากขึ้น 2. ดานไฟฟา อาทิ การจัดทําแผนการผลิตไฟฟาพลังงานทดแทนรายภาค การสรางตลาดซือ้ ขายไฟใหโรงไฟฟาเกาทีม่ ศี กั ยภาพ การเปลีย่ นอุปกรณประสิทธิภาพสูง การนํารองตนแบบไมโครกริด 3. ดานเชือ้ เพลิงผลิตความรอน อาทิ การสนับสนุนการอนุรกั ษพลังงาน สงเสริม การใชพลังงานทดแทน การเปดเสรีกาซธรรมชาติ และการขับเคลื่อน Third Party Access การสรางความตอเนื่องการผลิต และการขยาย LNG Terminal และทอกาซ ธรรมชาติ ทั้งหมดนี้ ไมใชเพียงแคการสรางรายไดใหกับประชาชนและประเทศ เพื่อให ประเทศชาติในภาพรวมหลุดพนจากการเปนประเทศรายไดระดับปานกลาง ตาม นโยบาย Thailand 4.0 ของรัฐบาลเทานัน้ แตหมายถึงกระบวนการสรางความประหยัด ลดการใชพลังงาน และกาวสูจดหมายแหงความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ทางพลังงาน ตอไป สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ไดรับมอบหมายจากกระทรวง พลังงาน ในการขับเคลือ่ นนโยบาย Energy 4.0 โดยไดรบั งบประมาณจากกองทุนเพือ่ สงเสริมการอนุรกั ษพลังงาน ซึง่ ปจจบันโครงการทีอ่ ยูร ะหวางดําเนินการ ประกอบดวย 4 โครงการหลัก คือ 1. ยานยนตไฟฟา (Electric Vehicle : EV) และสถานีอัดประจไฟฟา (EV Charging Station) เปนทางเลือกการใชพลังงาน ลดการพึ่งพาเชื้อเพลิงจากฟอสซิล และสงผลดีตอสิ่งแวดลอม 36
ยานยนตไฟฟาเปนหนึ่งในอุตสาหกรรมแหงอนาคต (Future Industry และได ตั้งเปาหมายใหไทยเปนฐานการผลิตสําคัญของภูมิภาคอาเซียนโดยมีมาตรการเพื่อ สงเสริมใหยานยนตไฟฟาในประเทศไทยสามารถเดินหนาไปได อาทิ มาตรการสงเสริม การลงทุนสายการผลิตรถยนตไฮบริด ปลั๊กอินไฮบริด และยานยนตไฟฟา รวมถึง มาตรการดานภาษีตางๆ ที่ชวยสงเสริมใหเกิดการลงทุนมากขึ้นตามแผนอนุรักษ พลังงาน พ.ศ. 2558-2579 (EEP2015) กระทรวงพลังงานตั้งเปาใหมีการใชยานยนต ไฟฟาถึง 1.2 ลานคัน ในป 2579 สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน ไดมกี ารสงเสริม ยานยนตไฟฟาในระบบขนสงมวลชน ภายใตโครงการสนับสนุนการเปลี่ยนรถตุกตุก ใหเปนรถตุก ตุก ไฟฟา (eTukTuk) เพือ่ เปดโอกาสใหเจาของรถตุก ตุก นํารถที่ใชงานอยู มาเปลี่ยนเปนรถตุกตุกไฟฟาทั่วประเทศกวา 22,000 คัน ภายใน 5 ป ซึ่งจะมีการนํา รองกอน 100 คัน ในป 2560-2561 ซึ่งการขับเคลื่อนภารกิจยานยนตไฟฟา แบงเปน 3 ระยะ โดยปจจบันอยูในระยะที่ 1 เปนการเตรียมความพรอมการใชงานยานยนต ไฟฟา (ระหวางป 2559-2560) มุง เนนการนํารองการใชงานกลุม รถโดยสารสาธารณะ ไฟฟา เนื่องจากจะเกิดประโยชนในวงกวางและสามารถพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน เพื่อรองรับการใชงานไดงาย อาทิ องคการขนสงมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) นํารอง โครงการจัดหารถโดยสารสาธารณะไฟฟา 200 คันมีการไฟฟานครหลวง (กฟน.) ชวย ดําเนินการปรับปรุงระบบไฟฟารองรับสถานีอัดประจไฟฟาทั้ง 4 สถานี ของ ขสมก. เพื่อรองรับโครงการนํารองรถดังกลาว, การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ดําเนินโครงการนํารองสาธิตการใชงานยานยนตไฟฟา และพัฒนาระบบรวบรวมขอมูล, การไฟฟาสวนภูมภิ าค (กฟภ.) ดําเนินโครงการนํารองรถโดยสารสาธารณะไฟฟา และ วิ่งระหวางเมือง และปตท.ดําเนินโครงการนํารองรถโดยสารรับ-สง พนักงาน ปตท. สํานักงานใหญ-รถไฟฟา BTS (หมอชิต) การเตรียมความพรอมรองรับยานยนตไฟฟา มีเรือ่ งโครงสรางพืน้ ฐานทีส่ าํ คัญ คือ “สถานีอัดประจไฟฟา” หรือ Charging Station ในป 2560 กระทรวงพลังงาน มีโครงการสนับสนุนการลงทุนสถานีอัดประจไฟฟา (Charging Station) สําหรับ หนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน จํานวน 150 สถานี โดยใชงบประมาณ จากกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน ซึ่งมีทั้ง 2 รูปแบบ คือ Normal Charge ทีเ่ ปนสถานีอดั ประจไฟฟาหัวจายแบบธรรมดา ใชเวลาในการอัดประจไฟฟาประมาณ 4-6 ชั่วโมง และ Quick Charge สถานีอัดประจไฟฟาหัวจายเรงดวน ใชเวลาในการ อัดประจไฟฟาประมาณ 30 นาที และคาดวาในป 2579 จะมีสถานีอัดประจไฟฟา ทั่วประเทศ 690 สถานี 2. เทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage Systems) ในระบบผลิต และจําหนายไฟฟาจากพลังงานทดแทนเพื่อสนับสนุนการพัฒนาพลังงานทดแทนใหมี เสถียรภาพ เทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงาน หรือทีร่ จู กั กันดี คือแบตเตอรีห่ รือพาวเวอรแบงก ขนาดใหญ นับเปนเทคโนโลยีที่มีความจําเปนสําหรับระบบไฟฟาในอนาคต มีหนาที่ หลักคือ กักเก็บสะสมพลังงานสวนเกินที่ผลิตได เพื่อนํามาใชในยามจําเปน สําหรับ รักษาสมดุลของการผลิตกับการบริโภคพลังงานทีเ่ กิดขึน้ โดยเทคโนโลยีระบบกักเก็บ พลังงาน แบงเปน 2 กลุมหลัก ไดแก 1. เทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงานสําหรับ โรงไฟฟา ชวยใหการผลิตไฟฟาจากพลังงานทดแทนมีเสถียรภาพมากขึ้น และ 2. เทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงานสําหรับผูใชไฟฟา ไดแก บานพักอาศัย อาคาร สํานักงาน เพือ่ ใชบริหารจัดการการใชไฟฟาของตัวเอง กลาวคือ ระบบสามารถกักเก็บ ไฟฟาในชวงการผลิตที่มีตนทุนตํา และนําไฟฟาไปจายชวงที่มีตนทุนสูง ซึ่งผูใชไฟฟา
GreenNetwork November-December 2017
x¿¶Ã¸Ê ã ")5
6 6 +5 ''%
1 ä &6 & Ĝ E##Ĕ6B)4. 6 915 '4 ĀE##Ĕ6
1 x¿¶Ã¸Ê ÅÀò¸¶ ÊÄŶ¾Ä '4 5 A H ")5
6 1 {ʳúµ yºÃ¾ ")5
6 /%< A+é& 9I"öI "6E ę
พลังงาน เปนตน สําหรับการรับซื้อไฟฟาในลักษณะ Competitive Bidding ใชอัตรา FiT เดียวแขงกันทุกประเภทเชื้อเพลิง กําหนดวันจายไฟฟาเขาระบบเชิงพาณิชย (SCOD) ภายในป 2563 โดยกระทรวงพลังงานไดจัดทําอัตราการรับซื้อไฟฟา FiT สําหรับ SPP Hybrid Firm ซึ่ ง พิ จ ารณาต น ทุ น การผลิ ตไฟฟ า แบบผสมผสานหลายประเภทเชื้ อ เพลิ ง บนพื้นฐานเชื้อเพลิงที่มีศักยภาพในการดําเนินการผลิตไฟฟาในรูปแบบ Firm และ สรุปอัตรารับซื้อไฟฟาในรูปแบบ FiT สําหรับ SPP Hybrid Firm ไดดังนี้ กําลังผลิต (เมกะวัตต)
1 ¾²ÃÅ vºÅº¶Ä ¥ A%;1 15 'è&4
สามารถเลือกที่จะใชไฟฟาที่เก็บสะสมไวแทนการซื้อไฟจากระบบในชวงพีก เพื่อชวย ลดภาระคาใชจา ยของผูใ ชไฟฟาได เปนตน บทบาทสําคัญอีกประการคือ ชวยสนับสนุน ยานยนตไฟฟา (Electric Vehicle : EV) โดยเทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงานสามารถ ตอบโจทยขอ จํากัดของแบตเตอรีส่ าํ หรับยานยนตไฟฟา ใหสามารถใชงานไดในระยะทาง ที่ไกลมากขึ้น สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) โดยกองทุนเพือ่ สงเสริมการอนุรกั ษ พลังงาน ไดสนับสนุนใหมีการศึกษา วิจัย พัฒนาเทคโนโลยีดังกลาวในดานตางๆ โดยนํารองการใชงานในดานความมั่นคงและเมื่อเกิดภัยพิบัติ ใชสํารองไฟในนิคม อุตสาหกรรม การกักเก็บไฟฟาที่ผลิตจากพลังงานทดแทน ในพื้นที่หางไกล ตลอดจน ใชในยานยนตไฟฟา ซึง่ จะสรางความเขมแข็งดานการวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีระบบ กักเก็บพลังงาน ตลอดจนหวงโซคุณคา เพื่อสรางฐานการพัฒนาเทคโนโลยีระบบ กักเก็บพลังงานใหมคี วามเขมแข็งและแขงขันไดในระยะยาว โดยมอบหมายใหสาํ นักงาน พัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) เปนผูบริหารจัดการโครงการ 3. SPP Hybrid Firm สงเสริมระบบโรงไฟฟารายเล็ก จากพลังงานหมุนเวียน เพือ่ ความมัน่ คงดานพลังงานเปนการเปดใหมกี ารผลิตไฟฟาแบบผสมผสานใชเชือ้ เพลิง ไดมากกวา 1 ประเภท ทั้งพลังงานจากธรรมชาติ เชน แสงอาทิตย ลม กับพลังงาน ชีวภาพ เชน ชีวมวล กาซชีวภาพ และสามารถผลิตพลังงานไฟฟาไดตลอดเวลา เพื่อ ลดความผันผวนของพลังงานทดแทน สรางความมัน่ คงตอระบบไฟฟา โดยมีเปาหมาย การรับซื้อไฟฟาทั่วประเทศ 300 เมกะวัตต เปนโรงไฟฟาขนาดกําลังการผลิต 10-50 เมกะวัตต นโยบายดังกลาวเปนการสงเสริมการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน เพือ่ ให มีการใชทรัพยากรภายในประเทศใหเกิดประโยชนสูงสุด ซึ่งจะชวยลดการพึ่งพาการ นําเขาพลังงาน และเพิ่มความมั่นคงดานพลังงาน โดยการพิจารณาอัตรารับซื้อไฟฟา จากพลังงานหมุนเวียนในรูปแบบ Feed-in-Tariff (FiT) ที่ 3.66 บาทตอหนวย สําหรับ ผูผ ลิตไฟฟารายเล็ก แบบ SPP Hybrid Firm โดยกําหนดเงือ่ นไขไวดงั นี้ คือ ใชสาํ หรับ การเปดรับซือ้ รายใหมเทานัน้ และขายเขาระบบเปน SPP ขนาดมากกวา 11 เมกะวัตต แตไมเกิน 50 เมกะวัตต โดยสามารถใชเชื้อเพลิงไดมากกวาหรือเทากับ 1 ประเภท โดยไมกําหนดสัดสวน ทั้งนี้อาจพิจารณาใชระบบกักเก็บพลังงาน (ESS) รวมได และตองเปนสัญญา ประเภท Firm กับ กฟผ. เทานั้น (เดินเครื่องผลิตไฟฟา 100% ในชวง Peak และใน ชวง Off-peak ไมเกิน 65% โดยอาจต่ํากวา 65% ได ทั้งนี้ ใหเปนไปตามที่ กกพ. กําหนด) นอกจากนีย้ งั หามใชเชือ้ เพลิงฟอสซิลมาชวยในการผลิตไฟฟา ยกเวนชวงการ เริ่มตนเดินเครื่องโรงไฟฟา (Start up) เทานั้น และยังตองมีแผนการจัดหาเชื้อเพลิง และตองมีแผนการพัฒนาเชื้อเพลิงใหมเพิ่มเติมใชพื้นที่รวมดวย เชน การปลูกพืช 37
FiT (บาท/หนวย) ระยะเวลาสนับสนุน (1) (ป) FiTF FiTV,2560 FiT
SPP Hybrid Firm กําลังผลิตติดตั้ง 10-50 เมกะวัตต 1.81 1.85 3.66 20 ป หมายเหตุ อัตรา FiT จะใชสาํ หรับโครงการทีจ่ า ยไฟฟาเขาระบบภายในป 2560 โดยภายหลัง จากป 2560 นัน้ อัตรา FiTV จะเพิม่ ขึน้ ตอเนือ่ งตามอัตราเงินเฟอขัน้ พืน้ ฐาน (Core Inflation)
4. Smart Cities เมืองอัจฉริยะ เพื่อคุณภาพชีวิตของประชาชนที่ดีขึ้น และ เป น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล อ ม กองทุ น เพื่ อ ส ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานได ส นั บ สนุ น งบประมาณใหกับมูลนิธิอาคารเขียวไทย ดําเนินโครงการสนับสนุนการออกแบบ เมืองอัจฉริยะ (Smart Cities - Clean Energy) เพื่อสนับสนุน หนวยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ หนวยงานสวนทองถิน่ มหาวิทยาลัย องคกรเอกชน รวมโครงการออกแบบ และพัฒนาเมือง ที่ ใหความสําคัญกับการพัฒนารูปแบบและโครงสรางของเมือง การสงเสริมการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม และการสงเสริมการใชพลังงาน ทดแทน โดยจะมีการจัดตัง้ คณะกรรมการประเมินเกณฑ และจะประกาศใหยน่ื ขอเสนอ เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณสําหรับการออกแบบเมืองอัจฉริยะ ซึ่งใหความ สําคัญกับ 3 องคประกอบหลัก คือ การจัดรูปเมืองและโครงสรางพื้นฐานหลัก ของเมือง เชน โครงสรางระบบขนสง ระบบราง การสงเสริมการอนุรกั ษพลังงานและ สิ่งแวดลอมในทุกรูปแบบ และการสงเสริมการใชพลังงานทดแทนใหเต็มศักยภาพ ประกอบกับการนําเทคโนโลยีสารสนเทศและขอมูลมาชวยในการบริหารจัดการ เพื่อ จะเปนการชวยลดปญหาดานสิ่งแวดลอม รวมทั้งยังเปนการรวมสงเสริมการพัฒนา นวัตกรรมเชิงสรางสรรคอีกดวย โดยผลที่คาดวาจะไดรับ คือจะไดแนวทางในการ พัฒนาเมืองของชุมชนที่มีผลตอการลดความตองการพลังงาน และการใชพลังงาน สูงสุด สงเสริมการใชพลังงานทดแทน ลดปญหาสิ่งแวดลอม นําไปสูการพัฒนาอยาง ยั่งยืน เพื่อรองรับการเติบโตของเมือง และเกิดการเรียนรูดานพลังงาน สูชุมชนผาน กระบวนการทางความคิดสรางสรรค การสงเสริมการดําเนินงานในทุกเรือ่ งที่ไดกลาวในขางตน ทัง้ เรือ่ งการสงเสริม ยานยนตไฟฟา (Electric Vehicle) การพัฒนาระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System) ผูผ ลิตไฟฟาขนาดเล็กจากพลังงานหมุนเวียนแบบผสมผสาน (SPP - Hybrid) และการพัฒนาเมืองชุมชน สูเ มืองอัจฉริยะ (Smart Cities) ทุกเรื่องลวนเปนการวาง รากฐานการพัฒนาพลังงานในอนาคต และใหทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมในการ บริหารจัดการ หากทุกเรื่องดําเนินการไดตามเปาหมายที่วางไวนอกจากจะเปนการเพิ่ม ศักยภาพของประชาชนทุกภาคสวนแลว ยังลดการนําเขาพลังงาน และลดการใช คารบอน ใหกับโลกไดอีกทางหนึ่งดวย ที่มา : ศูนยประชาสัมพันธกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน
GreenNetwork November-December 2017
GREEN
Article รศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล ดร.ณัฐวิญญ ชวเลิศพรศิยา รัฐพล เจียวิริยบุญญา
ฝนเยอะ-ขยะล น : ป ญหา (ที่กําลังจะ) เรื้อรังของกรุงเทพฯ (1) “ฝนตก-นํ้าทวม” ดูจะเปนคําที่มาคูกันในประเทศไทยโดยเฉพาะในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร โดยปจจุบนั “ยิง่ ทิง้ ยิง่ ทวม” ก็เปนอีกการรณรงคทเี่ ห็นกันทัว่ ไป ในชวงหลายปที่ผานมา เราจะเห็นไดวา ฝนที่ตกลงมานั้นตกหนักและนานกวาแต กอนมาก จะดวยเหตุผลดานการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ฤดูกาล มรสุม ฯลฯ แตปริมาณนํา้ ฝนทีต่ กสะสมในพืน้ ทีก่ รุงเทพฯ ก็ไดทาํ ใหเกิดนํา้ ทวมขัง (หรือนํา้ รอ การระบาย) รถราไมสามารถสัญจรไปมาได หรือแมกระทัง่ ฝนตกหนักมีนาํ้ ทวมขัง สูงจนจมรถเกงเล็กไปกวาครึง่ คันก็เกิดขึน้ อยูบ อ ยครัง้ แตลา สุดคําวา “ฝนตก-นํา้ ทวม” คงจะไมเพียงพอ ตองเพิม่ เติมวาเปน “ฝนตก-นํา้ ทวม ขยะเกลือ่ น” ถอยคําดังกลาว คงจะพิสจู นไดชดั เจนจากภาพขาวทางสือ่ โซเชียลทีม่ ใี หเห็นไดไมยาก จนทําใหเกิด ความสงสัยวาขยะเหลานัน้ มาจากทีใ่ ด บางคนก็วา ถังขยะลม ขยะลอยออกมานอก ถังบาง หรือเปนขยะทีส่ ะสมอยูต ามทอระบายนํา้ บาง พอนํา้ ทวมขยะพวกนีก้ ถ็ กู ดัน ออกมา พอนํา้ ลดก็เลยกองอยูต ามถนนเต็มไปหมด และแนนอนวาขยะเหลานีถ้ กู มอง วาเปนตนเหตุทาํ ใหเกิดการอุดตันขวางทางนํา้ จนทําใหเกิดนํา้ ทวม ซึง่ ปจจัยทีท่ าํ ให เกิดนํา้ ทวมยังมีอกี หลายประการ ซึง่ แบงออกเปนปจจัยธรรมชาติ (1-3) และปจจัย เชิงพฤติกรรม (4-7) ดังนี้ ฝนตก ปริมาณฝนตกในปจจุบนั มีแนวโนมทีจ่ ะตกหนักและยาวนานขึน้ ทําใหไมสามารถระบายนํา้ ฝนไดทนั จึงเกิดนํา้ ทวมขังหรือนํา้ รอการระบาย (คืนวันที่ 13-14 ตุลาคม ทีผ่ า นมา มีปริมาณฝนตกสูงสุด 120 และ 200 มิลลิเมตรตอชัว่ โมง บริเวณฝง ธนบุรี และฝง กรุงเทพฯ ตามลําดับ ซึง่ มากกวาศักยภาพการระบายนํา้ ที่ ออกแบบไวที่ 60 มิลลิเมตรตอชัว่ โมง) ซึง่ จะเห็นไดวา ถึงแมฝง ธนบุรี จะมีปริมาณ ฝนตกสูงกวา แตกลับไดรับผลกระทบจากนํ้าทวมขังที่ตํ่ากวาอยางชัดเจน มวลนํา้ จากทีอ่ นื่ ปญหานํา้ ทวมในบางครัง้ ไมไดมสี าเหตุมาจากการเกิด ฝนตกในพืน้ ที่ แตเปนมวลนํา้ ทีไ่ หลมาตามแมนาํ้ ลําคลอง หรือทางนํา้ ทีเ่ ชือ่ มตอกัน จากภาคเหนือสูภ าคกลางเพือ่ จะไหลออกสูท ะเล เมือ่ มวลนํา้ มีปริมาณมากอาจทําให เกิดนํ้าลนตลิ่งทวมพื้นที่ที่ไหลผาน ดังเชนเหตุการณนํ้าทวมในป 2554 ข อจํากัดของพื้นที่ สภาพแวดล อม และระบบระบายนํ้า กรุงเทพฯ เปนพืน้ ทีท่ มี่ ลี กั ษณะเปนแองกระทะเมือ่ ฝนตกจึงเกิดการสะสมของนํา้ ฝนในพืน้ ทีต่ าํ่ อีกทั้งระบบระบายนํ้าในเขตกรุงเทพฯ ก็ไมสามารถใชงานไดเต็มประสิทธิภาพทั้ง จากปญหาทอระบายนํ้าทรุดตัว เกิดตะกอนดินสะสม รวมไปถึงระดับนํ้าขื้นนํ้าลง ในแตละชวงเวลา ก็ทําใหเกิดขอจํากัดในการระบายนํ้าไดเชนกัน
38
กิจกรรมชุมชน ชุมชนเมืองอยางกรุงเทพฯ ผลิตขยะในปริมาณสูงถึง
1.1 กิโลกรัม/คน/วัน (กลายเปนขยะมูลฝอยกวา 10,000 ตันตอวัน) เนื่องจาก กรุงเทพฯ มีผูคนอาศัยอยูอยางหนาแนนทั้งคนที่อยูอาศัยในเมืองเองและคนตาง จังหวัดที่เขามาทํางานและศึกษาเลาเรียน อีกทั้งยังมีสถานที่ทองเที่ยวมากมาย ที่เปนที่สนใจของนักทองเที่ยว ซึ่งกิจกรรมเหลานี้ลวนกอใหเกิดขยะปริมาณมาก เมื่อมีการจัดการขยะไดไมทั่วถึงจึงเกิดการสะสมอุดตันขวางทางนํ้าในที่สุด การก อสร าง/ปรับเปลี่ยนสภาพพื้นที่ พื้นที่ที่เคยเปนจุดรับนํ้าหรือ เปนรองนํา้ ทีใ่ ชระบายลงสูล าํ รางสาธารณะถูกปรับปรุงกลายเปนอาคารบานเรือน ทําใหนาํ้ ทีเ่ คยกักขังในพืน้ ทีด่ งั กลาว (เดิมไมมผี คู นอาศัยอยูใ นพืน้ ที)่ ไหลไปรวมกัน ในบริเวณพืน้ ทีแ่ องกระทะในเขตเมือง ทําใหดเู หมือนกับวานํา้ ฝนมีปริมาณมาก แต แทจริงแลวนํา้ ฝนเพียงแคยา ยจากทีห่ นึง่ ไปทวมอีกทีห่ นึง่ เทานัน้ เอง ในสวนของการ กอสรางที่กีดขวางรองนํ้าธรรมชาตินั้นสงผลใหนํ้าระบายลงสูลํารางสาธารณะได ชาลง จึงเกิดนํ้ารอระบายทวมขังในพื้นที่ การทํางานของหน วยงานและเจ าหน าที่ ดวยจํานวนเจาหนาทีผ่ ปู ฎิบตั ิ งานที่มีอยูจํากัด ขาดแคลนงบประมาณ และแนวทางในการบริหารจัดการแบบ บูรณาการ ขาดการวางแผน/คาดการณลว งหนา ทําใหเมือ่ เกิดฝนตกหนักจนทําให เกิดนํา้ ทวมการเขาแกไขปญหาจึงเปนไปอยางทุลกั ทุเล ทําไดเทาทีค่ วามสามารถและ อุปกรณที่มีจะเอื้ออํานวย เหตุการณนํ้าทวมจึงสงผลรุนแรงอยางที่เราไดรับทราบ กัน เมือ่ พิจารณาจากทีบ่ างถนนใชเวลาการระบายกวา 9 ชัว่ โมง ซึง่ ตอกยํา้ ขอจํากัด ของการทีท่ กุ ภาคสวนในสังคมไมชว ยเหลือกัน โดยปลอยใหเปนหนาทีข่ องหนวยงาน หรือเจาหนาที่รับผิดชอบเปนหลัก ทัศนคติของประชาชน ขยะในทอระบายนํ้าเปนอีกปญหาที่ทวีความ รุนแรงมากขึ้น การเจริญเติบโตของเมืองทําใหความหนาแนนของประชากรเพิ่ม มากขึน้ แนนอนวาปริมาณขยะก็ยงิ่ เพิม่ มากขึน้ ตามไปดวย แตเรือ่ งปริมาณขยะนัน้ อาจไมใชปญหาที่แทจริง เนื่องจากเมืองใหญทั่วโลกลวนมีการสรางปริมาณขยะ ตอคนตอวันสูงอยูแ ลว แตขนึ้ อยูก บั การจัดการขยะและมาตรการรับมือขยะควรถูก รณรงคอยางจริงจัง ดังตัวอยางในอดีต เชน โครงการตาวิเศษ เพื่อสรางจิตสํานึก ใหประชาชนหยุดการทิ้งไมลงถังหรือแอบทิ้งในที่ตางๆ ซึ่งทําใหเกิดปญหาในการ รวบรวมและเก็บขนคัดแยกขยะเพือ่ นําไปใชประโยชนตอ ไป อยางไรก็ดี การตรวจสอบ และบํารุงรักษาระบบและอุปกรณที่ใชในการระบายนํ้าใหอยูในสภาพสมบูรณ พรอมใชงานก็เปนเรือ่ งทีไ่ มควรละเลย เชน การกําจัดใบไมทสี่ ะสมอุดตันในระบบ ตะแกรง ทอระบายนํ้าและเครื่องสูบนํ้า เปนตน
GreenNetwork November-December 2017
การจัดการนํ้า/นํ้าทวมในกรุงเทพฯ อยูในความรับผิดชอบของสํานักการ ระบายนํา้ กรุงเทพมหานคร โดยการแกไขปญหานํา้ ทวมขังเนือ่ งจากฝนตกในพืน้ ที่ ปดลอม กรุงเทพมหานครไดกอสรางระบบระบายนํ้าเพื่อเรงระบายนํ้าทวมขังใน พืน้ ทีอ่ อกสูแ มนาํ้ เจาพระยาและอาวไทยโดยเร็ว โดยปจจุบนั ระบบระบายนํา้ สามารถ รองรับปริมาณฝนตกสะสมรวมไดไมเกิน 80 มิลลิเมตรใน 1 วัน (ใน 1 วัน โดยเฉลีย่ แลวฝนตก 3 ชัว่ โมง) หรือแปลงเปนความเขมของฝนไมเกิน 60 มิลลิเมตรตอชัว่ โมง โดยประกอบดวยระบบตางๆ ดังนี้ z คูและคลองระบายนํา ้ จํานวนทัง้ สิน้ 1,682 คลอง ความยาวรวมประมาณ 2,604 กิโลเมตร มีการดําเนินการขุดลอกเปดทางนํา้ ไหล เก็บขยะวัชพืชและผักตบชวา เปนประจําทุกป เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการรองรับและระบายนํา้ ในคลองเมือ่ มีฝนตก z ท อระบายนํ้า ความยาวประมาณ 6,368 กิโลเมตร แบงเปนถนนสาย หลัก 1,950 กิโลเมตรในตรอกและซอย ความยาวประมาณ 4,418 กิโลเมตร กรุงเทพมหานครดําเนินการลางทําความสะอาดทอระบายนํา้ เปนประจําทุกป เพือ่ ชวยเพิม่ ประสิทธิภาพการระบายนํา้ จากถนนและบานเรือนประชาชนใหระบายลงสู ทางระบายนํ้าไดเร็วยิ่งขึ้น z สถานีสบ ู นํา้ ประตูระบายนํา้ บอสูบนํา้ เพือ่ ระบายนํา้ ทวมขังออกสูแ มนาํ้ เจาพระยา โดยประกอบดวยสถานีสูบนํ้า 176 แหงประตูระบายนํ้า 230 แหง และ บอสูบนํ้า 255 แหง z อุโมงค ระบายนํา ้ ขนาดใหญ ชวยเพิม่ ประสิทธิภาพการระบายนํา้ บริเวณ ทีม่ ปี ญ หานํา้ ทวมเนือ่ งจากเปนทีล่ มุ ตํา่ และระบบระบายนํา้ ในพืน้ ที่ เชน ทอระบายนํา้ คู คลอง มีขอจํากัดไมสามารถนํานํ้าทวมขังออกจากพื้นที่ไปสูแมนํ้าเจาพระยาได โดยเร็ว จึงไดมกี ารกอสรางอุโมงคระบายนํา้ ใตดนิ ขนาดใหญ 5 จุด เพือ่ เรงระบาย นํ้าออกสูแมนํ้าเจาพระยาโดยไมตองระบายผานระบบคลองตามปกติ และชวย ลดระดับนํ้าในคลองระบายนํ้าสายสําคัญใหมีระดับตํ่าไดรวดเร็ว ซึ่งเปนการเพิ่ม ประสิทธิภาพการระบายนํ้าในคลองได นอกจากนี้อุโมงคระบายนํ้ายังชวยในการ เจือจางนํ้าเนาเสียในคลองสําหรับพื้นที่ชุมชนชั้นในในฤดูแลงโดยไมสงผลกระทบ กับปญหานํ้าทวมในคลองระบายนํ้าในพื้นที่ไดอีกดวย อยางไรก็ตาม อุโมงคขนาดใหญ หรืออุโมงคยกั ษ 5 แหงนัน้ ไมไดถกู ออกแบบ ใหระบายนํา้ จากถนน แตออกแบบใหรบั นํา้ จากคูคลองระบายนํา้ ลดระดับนํา้ ในคลอง เพื่อเรงใหเกิดการระบายนํ้าออกจากระบบไดรวดเร็วขึ้น ซึ่งการที่อุโมงคยักษจะ สามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและชวยปองกันปญหานํ้าทวมขังไดนั้น จําเปนอยางยิง่ ทีจ่ ะตองอาศัยการทํางานทีส่ อดประสานกันเปนระบบ ตัง้ แตตะแกรง รับนํ้า ทอระบายนํ้า คูคลองระบายนํ้า และสถานีสูบนํ้า ประตูระบายนํ้า บอสูบนํ้า ซึง่ จะเห็นไดวา ขยะมูลฝอยและทัศนคติของประชาชน มีความสําคัญอยางยิง่ เผลอๆ อาจจะมากกวาการติดตัง้ อุปกรณหรือระบบตางๆ เนือ่ งจากถาเราไมสามารถทําให
39
มวลนํา้ เหลานัน้ ไหลเขาสูร ะบบระบายได ไมวา จะมีระบบระบายราคาแพงอีกกีร่ ะบบ เราก็จะเจอปญหานํ้าทวมอยูดี ดังภาพแสดงดานลาง
ภาพรวมระบบระบายนํ้าในกรุงเทพมหานคร https://suwath.wordpress.com/2011/10/19/kingproject/
ภาพระบบปองกันนํ้าทวมกรุงเทพมหานคร https://suwath.wordpress.com/2011/10/19/kingproject/
GreenNetwork November-December 2017
ทัง้ นี้ เราพอจะสรุปความสัมพันธระหวางการเคลือ่ นตัวของขยะและมวลนํา้ เมือ่ เกิดฝนตกหนักไดกลาวคือ เมือ่ เกิดฝนตกหนักเปนเวลานานในพืน้ ทีจ่ ะเกิดนํา้ รอ การระบายในพื้นที่และตามถนนหนทางทั่วไป แตมีความเสี่ยงที่จะเกิดการทวมขัง ในพืน้ ทีเ่ ปราะบางหลายจุด ไดแก พืน้ ทีน่ าํ้ ทวมใหมเนือ่ งจากเกิด การเปลีย่ นแปลง แหลงรับนํา้ หรือทางระบายนํา้ เนือ่ งจากสิง่ กอสรางของมนุษย และบริเวณทีม่ กี จิ กรรม ของมนุษย จนทําใหเกิดการอุดตันของระบบระบายนํ้าหรือทําใหระบบระบายนํ้า ทํางานไดไมเต็มประสิทธิภาพ รวมไปถึง พื้นที่ที่ระบบระบายนํ้าไมไดรับการดูแล อยางเหมาะสม ซึ่งการทวมขังของนํ้าฝนนี้ทําใหเกิดการสะสมตัวของขยะตามจุด ตางๆ ดังที่ไดกลาวมา และเมื่อรวมกับขยะที่เคลื่อนตัวมากับ มวลนํ้าที่ไหลมาจาก พื้นที่อื่นแลวจึงทําใหเกิดการสะสมตัวของขยะในพื้นที่ที่เปนแองกระทะ หรือเกิด การพัดพาออกสูป ากแมนาํ้ หรือทะเล และมีบางสวนทีเ่ คลือ่ นตัวไปยังพืน้ ทีอ่ นื่ ทีเ่ กิด เหตุการณนํ้าทวมขังเชนกัน และกลายเปน วงจรความสัมพันธระหวางขยะและ มวลนํ้า ที่กลายเปนเรื่องเดียวกันจนแยกออกกันไดยากในปจจุบัน โดยหากเราติดตามรายงานขาวนํ้าทวมในชวงวันที่ 13-14 ตุลาคม 2560 เราจะเห็นวายานเศรษฐกิจหลายแหงในกรุงเทพฯ ไมวา จะเปนสุขมุ วิท รัชดาภิเษก ซอยอารียส มั พันธ เกิดนํา้ ทวมขังพรอมกับมีขยะลอยอยูเ หนือผิวนํา้ และเมือ่ ระดับ นํ้าลดลงขยะจึงกองอยูบนถนนและมีปริมาณมากจนนาตกใจ ขยะเหลานี้เกิดจาก กิจกรรมของชุมชน ไมวา จะเปนการใชชวี ติ ประจําวัน การกอสรางอาคาร ขยะทีเ่ ก็บ ทิ้งไมหมด รวมถึงเศษกิ่งไมใบไมตางๆ ซึ่งสะสมอยูตามซอกมุมถนน พื้นที่รกราง หรือแมแตภายในทอระบายนํา้ เมือ่ เกิดนํา้ ทวมจึงไมไดมเี พียงมวลนํา้ เทานัน้ แตยงั มี มวลขยะปรากฏขึน้ พรอมกันดวย ขยะเหลานีเ้ องทีส่ รางปญหาใหกบั ระบบระบายนํา้ โดยตรง จากการกีดขวางทางนํ้าและเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดนํ้าทวม เราอาจ จัด 5 อันดับของสาเหตุนาํ้ ทวมทีม่ คี วามเกีย่ วของกับขยะมูลฝอยในพืน้ ทีเ่ มือง ดังนี้ 1. ขยะมูลฝอยจากกิจกรรมของมนุษย/ชุมชน (ที่ไมไดรับการจัดเก็บและ จัดการอยางเหมาะสม) 2. เศษขยะทีท่ บั ถมหรือกีดขวางระบบรับนํา้ (บริเวณฝาตะแกรงหรืออุดตัน ทอรับนํ้าเพื่อสงเขาสูระบบ) 3. ขยะจากการกอสรางและการปรับสภาพ ซึ่งมีการจัดวางบริเวณรอบๆ พื้นที่กอสราง
4. ขยะมูลฝอยทีส่ ะสมในระบบระบายนํา้ (ตามคูคลองและหนาประตูระบาย นํ้า) ซึ่งขัดขวางการระบายนํ้าโดยรวมออกจากพื้นที่ 5. ขยะมูลฝอยที่สงผลกระทบตอศักยภาพหรือสภาพการทํางานของระบบ หรืออุปกรณระบายนํา้ อาทิ ปม นํา้ ไมสามารถทํางานไดเต็มประสิทธิภาพ กีดขวางการเขาไปทําหนาที่ของเจาหนาที่ผูรับผิดชอบ เปนตน
ภาพการเกิดการสะสมของขยะและมวลนํ้าที่ทําใหเกิดนํ้าทวมขัง อานตอฉบับหนา
40
GreenNetwork November-December 2017
GREEN
Scoop กองบรรณาธิการ
‘บ านทับไฮ’ ชุมชนต นแบบ
เปลี่ยนขยะเป นพลังงานทดแทน ผลิตแก สชีวภาพใช ในครัวเรือน
เมือ่ 5 ปทผี่ า นมา หมูบ า นบานทับไฮ อําเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี ประสบ มลภาวะจากการเลีย้ งสัตว มูลสัตวโดยเฉพาะสุกร ซึง่ เปนสัตวเศรษฐกิจของชุมชน กอปญหามลภาวะทางกลิน่ และเปนแหลงเพาะพันธุข องเชือ้ โรค ปนเปอ นลงสูแ หลง นํา้ จึงเปนภาระของฟารมหรือผูป ระกอบการในชุมชนทีจ่ ะตองมีคา ใชจา ยทีเ่ พิม่ สูง ขึน้ เพือ่ ดูแลและจัดการปญหาเหลานี้ ไมใหสง ผลกระทบตอปญหาสุขภาพของคน ในชุมชน จากปญหาดังกลาว ผูใ หญบา นและชาวบานรวมกันหาทางออกดวยการคิดคน บอแกสชีวภาพ เริม่ จากการศึกษาหาขอมูลรวมไปถึงการขอความรูจ ากนักวิชาการ ทองถิน่ เพือ่ นํามาสูก ารจัดการดานพลังงานทดแทนและลดขยะในชุมชน โดยบริษทั ปตท. สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) หรือ ปตท.สผ. ซึ่งมีโครงการ สินภูฮอมสํารวจและผลิตกาซธรรมชาติตั้งอยูในจังหวัดอุดรธานี ไดรวมกับชุมชน ในการแกปญหาดังกลาว ดวยการสนับสนุนการจัดทําโครงการบอแกสชีวภาพ (Bio-Gas) เพื่อผลิตกาซใชในชีวิตประจําวัน ที่จะชวยพลิกวิกฤตเปนโอกาสใหแก ชุมชน กิตติศักดิ์ หิรัญญะประทีป ผูจัดการอาวุโส โครงการรวมทุนบนฝง (ประเทศไทย) ปตท.สผ. กลาววา การสนับสนุนการจัดทําโครงการบอแกสชีวภาพ สงเสริมใหชาวบานคัดแยกขยะในครัวเรือน จัดทําปุย หมักจากเศษอาหาร และกําจัด สิง่ ปฏิกลู จากฟารมสัตว ดวยการจัดทําบอกาซชีวภาพ ซึง่ นํามาสูก ารจัดการพลังงาน ทดแทนในชุมชน ชวยลดปญหาขยะ ประหยัดคาใชจายในการใชเชื้อเพลิงสําหรับ ชุมชนและโรงเรียนในหมูบ า น นับเปนการนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และพึ่งพาตนเองมาปรับใชไดอยางเปนรูปธรรม โดยโครงการดังกลาวไดรับ ความรวมมือจากชาวบานเปนอยางดี จนสามารถพลิกฟน วิกฤตปญหาขยะในชุมชน ใหกลายเปนโอกาสได จําทําใหปจจุบันมีชมุ ชน 112 ครัวเรือนเขารวมในโครงการ ผลิตแกสชีวภาพ สําหรับบอแกสชีวภาพที่ใชติดตั้งในชุมชน มีตนทุน 8,000 บาทตอบอ โดย ขนาดบอกวาง 1.7 เมตร ยาว 4 เมตร และขุดลึกจากพื้นดิน สวนหัวบอประมาณ 0.8 เมตร ลาดเทไปยังสวนทายบอลึก 1 เมตร สามารถผลิตแกสชีวภาพที่ใชงาน ไดทั้งกับฟารมขนาดใหญและขนาดยอม รวมไปถึงโรงเรือนเลี้ยงสัตวขนาดเล็ก ของชาวบานในชุมชน โดยประยุกตใชวสั ดุทหี่ าไดในทองถิน่ มาเปนอุปกรณ สําหรับ
41
กักเก็บมูลสัตวและหาจุดขุดหลุมสําหรับบอกาซ จากนัน้ ทําถุงหมักกาซชีวภาพจาก พีวซี ี ขนาด 7 ลูกบาศกเมตรตอหลุม นํามูลสัตวและขยะทีแ่ ยกไวมาหมักจนไดกา ซ มีเทนที่นําไปเปนเชื้อเพลิงได เฉลี่ยวันละ 2-3 ลูกบาศกเมตรตอหลุม สามารถใช ทดแทนกาซแอลพีจี (LPG) ไดประมาณเดือนละ 1 ถัง ชวยชาวบานประหยัดเงิน คากาซไดประมาณ 300-400 บาทตอครัวเรือน อีกทั้งเศษมูลสัตวที่เหลือจากบอ กาซชีวภาพยังสามารถนํามทําปุยหมัก ชวยลดคาใชจายจากการใชปุยเคมีไดถึง 300 บาทตอเดือน ละมอม สิทธิศาสตร ผูใ หญบา น บานทับไฮ ตําบลแสงสวาง อําเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี กลาววา โครงการกําจัดมูลสัตวนํามาผลิตกาซชีวภาพเพื่อใชเปน พลังงานทดแทน เริ่มขึ้นในป 2554 โดยมี 7 ครัวเรือนที่เขารวม เมื่อประสบความ สําเร็จ ก็มคี นสนใจมากขึน้ เพราะเห็นวาใชไดจริง ทําใหคนในชุมชนเกิดความรูส กึ อยากมีสว นรวม ปจจุบนั มีครัวเรือนในบานทับไฮ ทีใ่ ชบอ กาซชีวภาพจํานวน 60 บอ และคาดวาจะมีชาวบานทําบอกาซเพิ่มมากขึ้น โครงการดังกลาวนอกจากจะชวย แกปญหากลิ่นเหม็นของมูลหมูและขยะจากเศษอาหารแลว ยังไดเชื้อเพลิงมาใช เพือ่ ประกอบอาหารสําหรับสมาชิกในครอบครัว ชวยประหยัดคาใชจา ยในครัวเรือน นอกจากนี้บอแกสชีวภาพยังถูกติดตั้งที่โรงเรียนในชุมชนและวัดอีกดวย สําหรับโรงเรียนไดเริ่มจัดทําบอกาซชีวภาพมาตั้งแตป 2557 ปจจุบันมีบอกาซ ชีวภาพจํานวน 2 บอ ทีผ่ ลิตกาซมีเทนจากเศษอาหารและหญาเนเปยรสบั โดยไดรบั การสนับสนุนวัสดุอุปกรณ และงบประมาณจาก ปตท.สผ. ชวยลดภาระคาใชจาย ของกาซหุงตม หากเทียบกับการซือ้ กาซหุงตมเดือนละถัง ในระยะเวลา 3 ปทผี่ า นมา โรงเรียนสามารถประหยัดงบประมาณการซื้อกาซหุงตม มากกวา 14,000 บาท การรวมมือจากภาคประชาชน ทําใหจากเดิมบอแกสมีเพียงไมกี่บอ จน ปจจุบันไดเพิ่มจํานวนมากขึ้น ดวยการนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ในการดําเนินงานดวยการ พึง่ พาตัวเองและเห็นคุณคาจากสิง่ ทีม่ แี ละใชใหเกิดประโยชนสงู สุด จนบานทับไฮได เปนชุมชนตนแบบที่สามารถแกไขปญหาดานขยะและเปลี่ยนเปนพลังงานทดแทน ทัง้ ยังเปนหมูบ า นตนแบบทีพ่ รอมสงตอองคความรูเ หลานีไ้ ปสูช มุ ชนใกลเคียง และ พัฒนาใหเปนชุมชนพอเพียงอยางยั่งยืน
GreenNetwork November-December 2017
+5 ''%")5
6 .9A é&+
SPECIAL
Scoop
.=ĘA,'- 8 .'ę6 .'' Ĝ1&Ę6 &5I &;
กิตติ วิสุทธิรัตนกุล ดร.สุรพล ดํารงกิตติกุล
Green Energy Innovation Harmonising Creative Economy and Sustainability
“Taiwan Green Industry and Photovoltaic-PV Exhibition Trip”, October 18-20, 2017 ชวงวันที่ 18-20 ตุลาคม ศกนี้ ที่ศูนยการประชุมและนิทรรศการไทเป กองบรรณาธิการ ไดรับเชิญใหไปรวมชมงานแสดงสินคาอุตสาหกรรมนานาชาติ พลังงานสีเขียวและพลังงานแสงอาทิตยของไตหวัน ทีม่ กี ารแสดงทีย่ ง่ิ ใหญผสมผสาน ถึง 3 งานไดแก โลกพลังงานสีเขียว (TiGiS) งานอุตสาหกรรมโฟโตโวลตาอิก (PV Taiwan) และ งานระบบกรองอากาศและอนามัย (TIAP) งานแสดงนี้เปนงานใหญประจําป แสดงถึงอุตสาหกรรมพลังงานสีเขียวที่มี ความกาวหนาและไดนํามาประยุกตใชดานพลังงานของชาติและธุรกิจพลังงาน สีเขียว การแสดงของงานนี้จัดขึ้นโดย หนวยงานการสงเสริมการคาไตหวัน ชื่อ Taiwan External Trade Development Council (TAITRA) และรวมกับ อีกหลายสถาบันของชาติ ไดแก Taiwan Photovoltaic Industry Association (TPVIA), Expo Union Corporation and Well-supported by Different Industry Organizations and Authorities in the Countries Including the Industrial Technology Research Institute (ITRI) under the Commission of the Bureau of Energy, Ministry of Economic Affairs (MOEA) ภายในงานมีการจัดแสดงงานสัปดาหแหงพลังงานทดแทน มีการแสดง นวัตกรรมพลังงานทีม่ ศี กั ยภาพและประสิทธิภาพสูง เชือ่ มโยงแนวทางและเครือขาย ในการพัฒนาระดับโลกรวมกัน ที่ประสานงานเศรษฐกิจสังคมอยางยั่งยืน ในลาน ธุรกิจเทคโนโลยีพลังงานสีเขียว ซึ่งสืบสานมาถึง 11 ปแลว มีบูธและพาวิเลียนกวา 260 แหง ทีด่ งึ ดูดผูเ ขาชมมาจาก 25 ประเทศ และยังรวมไปถึงงานประชุมนานาชาติ
อีกถึง 20 เรื่อง สําหรับกลุมนักวิชาการและผูเชี่ยวชาญ รายละเอียดติดตามไดจาก www.pvtaiwan.com, www.greentaiwan.tw and www.tiap.com.tw
Taiwan President Tsai Ing-wen Speech @Opening Ceremony
พิธีเปดที่ดูจะเรียบงายแตมีบุคคลสําคัญเขารวมเต็มทุกที่นั่ง และไดรับเกียรติ สูงสุดจากประธานาธิบดีไตหวัน Tsai Ing-wen มาเปดงาน และแสดงวิสัยทัศนที่จะ นําพาประเทศไปสูการใชพลังงานทดแทนหรือพลังงานสีเขียวผลิตไฟฟาสูงถึง 20% ในป 2568 ซึง่ จะมีการใชพลังงานแสงอาทิตยผลิตไฟฟาถึง 1.52 กิกะวัตต (GW) และ เปนจดเปลี่ยนที่จะทําใหพลังงานของไตหวันเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วเปนเทาตัว
การแสดงศักยภาพขับเคลื่อนตลาดผลึกพลังงาน ที่โดดเด นและหลากหลาย
ไตหวันและอีกหลายประเทศทั่วโลก มีแนวโนมที่เดนชัดที่จะเติบโตอยางเร็ว ในการใชพลังงานทดแทนสีเขียวผลิตไฟฟาโดยเล็งไปทีพ่ ลังงานแสงอาทิตย อุตสาหกรรม ดานนี้จึงโดดเดนมากที่สุดในปนี้ และแสดงใหเห็นถึงคุณคาทางพลังงานสะอาดเพื่อ สุขภาพของชีวิตและสิ่งแวดลอมในสังคมคารบอนต่ํา ตามแผนงานและนโยบาย พลังงานทดแทนของประเทศ ไตหวันไดตั้งเปาหมายสูงกวาเทาตัวในการผลิตไฟฟา จากพลังงานแสงอาทิตยในปจจบัน และนําไปสูส ดั สวน 20% ของพลังงานสีเขียว ทีท่ าํ ให
ประธานาธิบดีไตหวัน ไช อิงเหวิน (Tsai Ing-wen) เปดงานแสดงอุตสาหกรรมสีเขียว TiGis และ โฟโตโวลตาอิก PV เซลลแสงอาทิตย 2017 สัปดาหแหงพลังงานทดแทน จัดโดย TAITRA , SEMI, TPVIA และอื่นๆ
42
GreenNetwork November-December 2017
การใชแผงเซลลแสงอาทิตยเพิ่มขึ้นแบบกาวกระโดด จาก 1.52 GW ในปนี้ ไปเปน 6.5 GW ในอีก 3 ป และจะเปน 20 GW ในเวลาอีก 8 ป จากการใชพลังงานทดแทนที่สูงถึง 27 GW ในอนาคตนั้น นับเปนการทาทายขบวนการผลิตและระบบเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมพลังงาน แสงอาทิตย การติดตั้ง การลงทุนมหาศาล งานแสดงนี้ ไดนําแนวทางหรือทางออกในการ แกปญ หาไดอยางครบถวน และจะทําใหไตหวันขับเคลือ่ นไปสูจ ดเปลีย่ นเปนสังคมคารบอนตาํ่ ที่มีการใชัพลังงานทดแทน 20% ถานหิน 30% และกาซธรรมชาติ 50% ในการผลิตไฟฟา อยางสมบูรณ อุตสาหกรรมพลังงานแสงอาทิตยของไตหวัน นับเปนอันดับสองของโลกทีผ่ ลิตและ พัฒนาเซลลแสงอาทิตย และแผงเซลลชนิดตางๆ ที่มีมาตรฐานและคุณภาพ ซึ่งปที่ 11 นี้ มีการแสดงมีนวัตกรรมใหมๆ มากมาย และไดเชื่อมโยงลานเทคโนโลยีของโลกเขาไว โฟโตโวลตาอิก หรือเรียกสั้นๆ วา PV นี้ ไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่อง ทั้งแบบ ผลึกเดียวและหลายผลึก ทําใหเกิดแผงเซลลแสงอาทิตยชนิดใหม รวมไปถึงแบบทีผ่ ลิต พลังงานไดทั้งสองดานในเวลาเดียวกัน เพื่อสรางประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟาที่มี ประสิทธิภาพสูงถึงระดับ 21% ขึ้นไป ในทางการใชงานติดตั้งจริงที่เรียกวา แผง Passivated Emitter Rear Contact (PERC) มีการนําเสนออีกหลายรูปแบบและมี การประยุกตใช ทั้งบนหลังคา บนดิน และลอยบนน้ํา ครบระบบอุตสาหกรรมและ วิศวกรรมพลังงาน เปนการแสดงทีน่ า จดจําและนํามาเปนรูปแบบในการนําเสนอเพือ่ สรางศักยภาพในการพัฒนาอุตสาหรรมของประเทศตางๆ รวมถึงการประยุกตใช ทีเ่ หมาะสมในชนบทหางไกล เชน การสูบนา้ํ ขนาดเล็กทีม่ เี ทคโนโลยีอนิ เวอรเตอร เปนสินคาชนิดใหมๆ มากมาย นํามาแสดงไวใหเลือกอยางนาสนใจยิ่ง ควรได ติดตามอีกในปหนาอยางที่บริษั ทอุตสาหกรรมที่นํามาแสดงดังตอไปนี้ TSEC Corporation (www.tsecpv.com); Brave c&h Supply Co., Ltd. (www. bch.com.tw); Win Win Precision Technology Co., Ltd. (www. winaico.com) ; Chun Yu Works & Co., Ltd. (www.chunyu.com.tw); AU Optronics Corporation (www.solar.auo.com); CSI Technology Co., Ltd. (www.hamak-tech.com); Motech Industries Inc. Science Park Branch (www.motechsolar.com); Most-Shalun Green Energy Science City Office (www.sgesc.nat.gov.tw); Industrial Technology Research Institute @ The Green Energy and Environment Laboratories of Itri (www.itri.org.tw); @ Gintung Energy Corporation (www.gtectw.com) เปนตน
บริษัทอุตสาหกรรมแสดงสินคาเดน PV และการใชงาน
43
GreenNetwork November-December 2017
GREEN
Activity กองบรรณาธิการ
โซลูชั่นแบบครบวงจร จากบีเอเอสเอฟช วยให การผลิตโฟมโพลียูรีเทน มีความรวดเร็วและประหยัด ต นทุนได มากยิ่งขึ้น
โซลูชั่นแบบครบวงจรใหมจากบีเอเอสเอฟ ทําใหการผลิตโฟมโพลียูรีเทนมีความ รวดเร็วยิง่ ขึน้ และประหยัดตนทุนสําหรับบริษทั ผูผ ลิตในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟก Autofroth® ซึ่งเปนโซลูชั่นที่ครบวงจรแบบใหมนี้เปนระบบนวัตกรรมที่ผสมผสานกระบวนการผลิต ริจิดโฟมทั้งหมดโดยใชระบบโฟมโพลียูรีเทนที่มีประสิทธิภาพสูงในบรรจุภัณฑประเภท รูปทรงกระบอกดวยอุปกรณการจายทีใ่ ชงานงาย ซึง่ ทัง้ หมดไดรบั การสนับสนุนจากบีเอเอสเอฟ เมือ่ เปรียบเทียบกับระบบแบบเดิม Autofroth® ทําใหกระบวนการผลิตมีความรวดเร็วยิง่ ขึน้ ดังนั้นจึงชวยลดตนทุนอยางเห็นไดชัดและเพิ่มประสิทธิภาพภาพของผลิตภัณฑ ระบบทีม่ อี งคประกอบ 2 ชนิด จะใหความรวดเร็ว ใชตน ทุนทีต่ าํ่ ในการติดตัง้ และ อุปกรณในการจายสามารถบํารุงรักษาไดอยางงายดายและดําเนินการไดที่โรงงาน ซึ่ง แตกตางจากระบบแบบเดิม สารฟูตวั (Blowing Agent) ของโฟมไดถกู ผสมมากอนแลวเขา ไปในในบรรจุภณ ั ฑประเภทรูปทรงกระบอกในระบบ Autofroth® และดวยบรรจุภณ ั ฑประเภท รูปทรงกระบอกทีส่ ามารถใชเติมใหมได ยังทําใหโซลูชนั่ นีเ้ ปนทางเลือกทีย่ งั่ ยืนมากยิง่ ขึน้ สําหรับอุตสาหกรรมเพราะวาขจัดการจัดการกับถังบรรจุสารเคมีและการกําจัดออกไป
“แสนสิริ-บีซีพีจี” ลงนาม MOU เป ดตัว ชุมชนพลังงาน สีเขียวอัจฉริยะครั้งแรกในไทย
อุทัย อุทัยแสงสุข ประธานผูบริหารสายงานปฏิบัติการ บริษัท แสนสิริ จํากัด (มหาชน) บริษทั พัฒนาอสังหาริมทรัพยระดับแนวหนาของไทย และ บัณฑิต สะเพียรชัย กรรมการผูจ ดั การใหญ บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) ผูประกอบธุรกิจผลิตไฟฟาจากพลังงานสะอาดที่เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอมทั้งในประเทศไทยและตางประเทศ ไดลงนามในขอตกลงความรวมมือในการพัฒนา Smart Green Energy Community หรือชุมชนพลังงานสีเขียวอัจฉริยะรวมกัน โดยบีซีพีจีจะเปน ผูล งทุนติดตัง้ ระบบผลิตพลังงานไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตยในโครงการของแสนสิริ เพือ่ ใหผอู ยูอ าศัย ในโครงการสามารถผลิตและใชไฟฟาจากพลังงานสะอาดไดดวยตนเอง รวมถึงยังสามารถซื้อ ขาย-แลกเปลี่ยนไฟฟาระหวางกันภายในโครงการไดอยางเปนรูปธรรม ดวยการใช Blockchain Technology และแอพพลิเคชั่นบนสมารทโฟน โดยความรวมมือดังกลาวเปนแผนระยะยาว 5 ป เบื้องตนมีโครงการของแสนสิริที่จะเขารวมกวา 20 โครงการแลว
BAFS รับโล เกียรติยศจากกระทรวง ทรัพยากรฯ และประกาศนียบัตร คาร บอนฟุตพรินต
ดร.วิจารย สิมาฉายา ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอม มอบโลเกียรติยศแก บริษทั บริการเชือ้ เพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ในการพัฒนาโครงการลดกาซเรือนกระจกภาคสมัครใจ ตามมาตรฐานของประเทศไทย (T-VER) ในการดําเนินโครงการติดตั้ง ระบบผลิตพลังงานไฟฟาจากโซลารเซลล และโครงการเปลี่ยนหลอดไฟ สองสวางเปนแบบ Light Emitting Diode ระยะสอง นอกจากนี้ บริษัทยัง ไดรับประกาศนียบัตรจากการจัดทําคารบอนฟุตพรินตองคกรประจําป 2559 พิธดี งั กลาวจัดขึน้ ณ หองวิภาวดีบอลรูม โรงแรมเซ็นทารา แกรนด แอท เซ็นทรัลพลาซาลาดพราว กรุงเทพฯ
RoboCup Asia-Pacific 2017 ผนึกกําลังภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา เป ดฉากการแข งขันวิชาการ หุ นยนต ใหญ สุดของเอเชียแปซิฟ ก
อัจฉรินทร พัฒนพันธชยั (กลาง) ปลัดกระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและสังคม และ อิทธิชยั ปทมสิรวิ ฒ ั น (ที่ 4 จากซาย) รองผูอ าํ นวยการสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ใหเกียรติรว มงานแถลงขาวการจัด RoboCup Asia-Pacific 2017 การแขงขันวิชาการหุน ยนตระดับ นานาชาติ ครัง้ แรกของภูมภิ าคเอเชียแปซิฟก และ Thailand Robotics Week 2017 ซึง่ จัดขึน้ เพือ่ กระตุน การวิจยั และพัฒนาวิทยาการหุน ยนตของประเทศไทย ตอบรับนโยบาย “ไทยแลนด 4.0” ทัง้ ยัง เปนเวที Pitching ใหสตารทอัพไทยไดพบกับนักลงทุน Venture Capital และสถาบันการเงินจาก ทั้งในและตางประเทศ โดยมี ผศ. ดร.จักรกฤษณ ศุทธากรณ (ที่ 3 จากขวา) ประธานจัดงาน Thailand Robotics Week 2017 และ RoboCup Asia-Pacific 2017 ใหการตอนรับ 44
GreenNetwork November-December 2017
GREEN
BIZ ยิปรอค ประกาศผลโครงการ แซง-โกแบ็ง ยิปรอค เนชั่นแนล โทรฟี ไทยแลนด 2017 บริษทั ไทยผลิตภัณฑยบิ ซัม่ จํากัด (มหาชน) หรือ ยิปรอค ประกาศผลผูช นะเลิศ โครงการ “แซง-โกแบ็ง ยิปรอค เนชั่นแนล โทรฟ ไทยแลนด 2017” เฟนหาโครงการ สถาปตยกรรมชัน้ นําของไทยทีไ่ ดรบั การตกแตงภายในดวยฝาและผนังยิปซัมของยิปรอค ตลอดตัวอาคาร เพือ่ เขารวมประกวดและแสดงผลงานในงานนวัตกรรมยิปซัมระดับโลก ผูชนะการประกวดโครงการ “แซง-โกแบ็ง ยิปรอค เนชั่นแนล โทรฟ ไทยแลนด 2017” ประกอบดวย โครงการชนะเลิศประเภทนวัตกรรมและความยัง่ ยืน (Innovation & Sustainability) ไดแก โรงพยาบาลบํารุงราษฎร อินเตอรเนชัน่ แนล โดยบริษทั คอนไซส จํากัด และ บริษทั ทัสค อินทีเรีย จํากัด โครงการชนะเลิศประเภทงานปูนฉาบยิปซัม (Plaster) ไดแก เดอะ ริทซ-คารลตัน เรสซิเดนเซส บางกอก โดยบริษทั เพซ อินทีเรีย เซอรวสิ เซส จํากัด โครงการชนะเลิศประเภทงานยิปซัมบอรด (Plasterboard) ไดแก โรงแรมไอบิส อิมแพ็ค (เมืองทองธานี) กรุงเทพ โดยบริษัท บวิค-ไทย จํากัด และโครงการที่ชนะเลิศประเภท อาคารที่ไมใชที่พักอาศัย (Non-Residential) ไดแก ศูนยการคาเทอรมินอล 21 โคราช โดยบริษทั ฤทธา จํากัด โดยผูช นะในแตละประเภทจะไดเปนตัวแทนประเทศไทยเขารวม แขงขันกับอีก 45 ประเทศทัว่ โลก ในโครงการ แซง-โกแบ็ง ยิปซัม อินเตอรเนชัน่ แนล โทรฟ ครั้งที่ 11 ในวันที่ 23 มีนาคม 2561 พรอมทั้งเปดประสบการณการทองเที่ยวและดูงาน ณ กรุงลิสบอน ประเทศโปรตุเกส
1
2
3
4
5
6
1. มร.ริชารด จูเชรี กรรมการผูจ ดั การ บริษัท ไทยผลิตภัณฑยบิ ซัม่ จํากัด (มหาชน) 2-4. มอบรางวัลโครงการ แซง-โกแบ็ง ยิปรอค เนชั่นแนล โทรฟ ไทยแลนด 2017 5-6. บรรยากาศภายในงาน 7-8. ถายภาพรวมกัน
7
8
“เป ดตาดีสู สังคมไทยป ที่ 5” คืนตาดีให ผู สูงวัย ในถิ่นทุรกันดาร 2 1
3
4
6 5
7
8
46
สภากาชาดไทย โดยการสนับสนุนจาก บริษทั บิก๊ คาเมรา คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) เดินหนาสานตอโครงการ “เปดตาดีสสู งั คมไทย ปที่ 5” ชูแนวคิด “Begin Again : ภาพแหงชีวิต…ชัดเจนอีกครั้ง” ชวนคนไทยรวมเปนผู “ให” หาดวงตาไดกลับมามองเห็น โอกาสแกผสู งู อายุทยี่ ากไรในพืน้ ทีห่ า งไกลทีม่ ปี ญ ชัดเจนอีกครั้ง ดวยการบริจาคสมทบทุนสนับสนุนการขับเคลื่อนหนวยแพทย จักษุศัลยกรรมสภากาชาดไทย ใหเขาถึงผูปวยที่รอการรักษาทั่วประเทศได ทันเวลาขยายชองทางบริจาคออนไลน สอดรับไลฟสไตลคนรุนใหมใจกุศล เริ่มตั้งแตวันนี้ ถึงวันที่ 1 มิถุนายน 2561 โดยจะนํารายไดทั้งหมดไปจัดซื้อ อุปกรณทางการแพทย และนําไปเปนคาใชจา ยในการขับเคลือ่ น “รถจักษุคลินกิ เคลื่อนที่” นําทีมแพทยลงพื้นที่ไปตรวจรักษาผูปวยโรคตาที่ดอยโอกาสทั่ว ประเทศไทย เพราะยังมีผปู ว ยกวาอีกจํานวนมากทีร่ อการรักษาใหทันตอเวลา โดยการลงพืน้ ทีแ่ ละการรักษาในแตละปมคี า ใชจา ยสูงถึงปละกวา 15 ลานบาท ทั้งนี้สําหรับผูที่ตองการบริจาคสมทบทุนเขาโครงการเปดตาดีสูสังคม ไทย สามารถบริจาคไดที่ www.bigcamera.co.th/beginagain หรือบริจาค ผานกลอง “Love Sharing Box” ที่ บิ๊ก คาเมรา กวา 230 สาขาทั่วประเทศ และบริจาคตรงผานบัญชีธนาคารไทยพาณิชย ประเภทออมทรัพย ชื่อบัญชี สํานักงานจัดหารายได สภากาชาดไทย เลขที่บัญชี 045-2-62588-8 1. ถายภาพรวมกัน โครงการ “เปดตาดีสูสังคมไทย ปที่ 5” 2-5. ใหบริการตรวจรักษาผูปวยโรคตาที่ดอยโอกาส 6. รถจักษุคลินิกเคลื่อนที่ 7-8. บรรยากาศผูปวยโรคตาที่รอการรักษา
GreenNetwork November-December 2017
Magazine to Save The World
1
2
3
4
สัมมนาเชิงวิชาการและนิทรรศการ Solar Pavilion ในงาน Thailand Lighting Fair 2017
5
6
7
9
8
11
10
13
14
12
47
เมื่อเร็วๆนี้ งาน Thailand Lighting Fair 2017 เวทีแสดงสินคา และเทคโนโลยีนานาชาติดานไฟฟาแสงสวางภายใตแนวคิด Smart City. Safe City. ไดมโี ซนพิเศษทีม่ กี ารจัดแสดงนิทรรศการและกิจกรรมสัมมนา ดานเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพือ่ การผลิตไฟฟาจากแสงอาทิตย ซึง่ อยูใ น โซน Solar Pavilion จัดใหมกี ารสัมมนาเชิงวิชาการเกีย่ วกับการผลิตไฟฟา จากพลังงานแสงอาทิตย ในหัวขอเรือ่ ง “อัพเดต…กฎระเบียบ นโยบายการ ผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยแบบเสรี” โดย กัลย แสงเรือง ผูอ าํ นวยการ ฝาย ใบอนุญาต สํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.), “เจาะลึก…ธุรกิจพลังงานแสงอาทิตยในประเทศไทย ป 2561” โดย สุรีย จรูญศักดิ์ ผูอํานวยการสํานักพัฒนาพลังงานแสงอาทิตย พพ. คอนันต ตปนียสร ฝายบริหารกองทุน ESCO FUND มูลนิธิอนุรักษพลังงานแหง ประเทศไทย และ ดร.เกษรา ธัญลักษณภาคย กรรมการบริหาร บมจ. เสนาดีเวลลอปเมนท, “การใชแผงเซลลแสงอาทิตยแบบติดตัง้ บนหลังคา : กรณีศกึ ษาอาคารทีพ่ กั อาศัยตนทุนตํา่ ” โดย ผศ. ดร.พิมลมาศ วรรณคนาพล คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, “การปฏิรปู พลังงานเพือ่ ความยัง่ ยืน” โดย ศ. ดร.ดุสติ เครืองาม กรรมการ ปฏิรูปประเทศดานพลังงาน และ “การจัดการขยะแผงโซลารเซลลใน ประเทศไทย และกรณีศกึ ษา” โดย ปทมวรรณ คุณประเสริฐ นักวิทยาศาสตร ชํานาญการ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ทั้งนี้ งานสัมมนาดังกลาวจะเปนประโยชนตอทั้งผูประกอบการ เจาของกิจการ นักลงทุน วิศวกร ผูรับผิดชอบดานพลังงาน รวมถึงผูที่ เกี่ยวของ และผูที่สนใจทั่วไป จัดขึ้น ณ Hall 102-104 ศูนยนิทรรศการ และการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ 1. กัลย แสงเรือง ผูอํานวยการฝายใบอนุญาต สํานักงาน คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) 2. สุรีย จรูญศักดิ์ ผูอํานวยการสํานักพัฒนาพลังงานแสงอาทิตย พพ. 3. อนันต ตปนียสร ฝายบริหารกองทุน ESCO FUND มูลนิธอิ นุรกั ษ พลังงานแหงประเทศไทย 4. ดร.เกษรา ธัญลักษณภาคย กรรมการบริหาร บมจ. เสนาดีเวลลอปเมนท 5. ผศ. ดร.พิมลมาศ วรรณคนาพล คณะสถาปตยกรรมศาสตร และการผังเมือง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 6. ศ. ดร.ดุสิต เครืองาม กรรมการปฏิรูปประเทศดานพลังงาน 7. ปทมวรรณ คุณประเสริฐ นักวิทยาศาสตรชํานาญการ กรมโรงงานอุตสาหกรรม 8. มอบของที่ระลึกใหแกวิทยากร 9-14. บรรยากาศภายในหองสัมมนา
GreenNetwork November-December 2017
www.cacasiasummit.com 7-8 December, 2017 QSNCC, Bangkok, Thailand
th
6 CAC Asia Summit Organizer: ŽͲKƌŐĂŶŝnjĞƌƐ͗
CCPIT Sub-council of Chemical Industry dŚĂŝ ŐƌŽ ƵƐŝŶĞƐƐ ƐƐŽĐŝĂƟ ŽŶ sŝĞƚŶĂŵ WĞƐƟ ĐŝĚĞ ƐƐŽĐŝĂƟ ŽŶ ĂŶŐůĂĚĞƐŚ ƌŽƉ WƌŽƚĞĐƟ ŽŶ ƐƐŽĐŝĂƟ ŽŶ /ŶĚŽŶĞƐŝĂ ƌŽƉ ĂƌĞ ƐƐŽĐŝĂƟ ŽŶ
^ƵƉƉŽƌƚĞƌƐ͗
Media Partners:
Combine the Synergy of the Agrochemical Industry
dŚĂŝ DŝŶŝƐƚƌLJ ŽĨ ŐƌŝĐƵůƚƵƌĞ ĂŶĚ ŽŽƉĞƌĂƟ ǀĞƐ Kĸ ĐĞ ŽĨ ŽŵŵĞƌĐŝĂů ī ĂŝƌƐ ZŽLJĂů dŚĂŝ ŵďĂƐƐLJ dŚĂŝůĂŶĚ ŽŶǀĞŶƟ ŽŶ Θ džŚŝďŝƟ ŽŶ ƵƌĞĂƵ New Ag International Asia Agrochemical Alliance Agrow AgroPages
ϲƚŚ ƐŝĂ ^Ƶŵŵŝƚ ǁŝůů ďĞ ƚŚĞ ŽŶĞͲƐƚŽƉ ƉůĂƞ Žƌŵ ƚŽ ƵŶĚĞƌƐƚĂŶĚ ƚŚĞ ůĂƚĞƐƚ ƌĞŐƵůĂƚŽƌLJ ŝƐƐƵĞƐ͕ ƌĞŐŝƐƚƌĂƟ ŽŶ ƵƉĚĂƚĞƐ͕ ŵĂƌŬĞƚ ĚLJŶĂŵŝĐƐ ŽĨ ƐŝĂŶ ĐŽƵŶƚƌŝĞƐ͕ ŵĞĞƚ ǁŝƚŚ ϭϬϬн ůĞĂĚŝŶŐ ĂŐƌŽĐŚĞŵŝĐĂů ƉƌŽĚƵĐƚƐ͕ ĞƋƵŝƉŵĞŶƚƐ ĂŶĚ ƐŽůƵƟ ŽŶƐ ƐƵƉƉůŝĞƌƐ͕ ĂƐ ǁĞůů ĂƐ ŽǀĞƌ ϱϬϬ ŝŶĚƵƐƚƌLJ ƉůĂLJĞƌƐ ĨƌŽŵ ŽǀĞƌ ϯϬ ĐŽƵŶƚƌŝĞƐ ĂŶĚ ƌĞŐŝŽŶƐ͘ ƐŝĂ ^Ƶŵŵŝƚ ǁĂƐ ŚĞůĚ ƐƵĐĐĞƐƐĨƵůůLJ ŝŶ DƵŵďĂŝ͕ ĂŶŐŬŽŬ ĂŶĚ :ĂŬĂƌƚĂ ǁŝƚŚ ŚŝŐŚ ƌĞƉƵƚĂƚŝŽŶ ĂŶĚ ƐƚƌŽŶŐ ŝŶĨůƵĞŶĐĞ ŝŶ dŚĂŝůĂŶĚ ĂŶĚ ƐŝĂŶ ĐŽƵŶƚƌŝĞƐ͘ /ƚ ĂĐĐƵŵƵůĂƟ ǀĞůLJ ŚĂĚ ϰϬϬ ĂŐƌŽĐŚĞŵŝĐĂů ĞdžŚŝďŝƟ ŶŐ ĐŽŵƉĂŶŝĞƐ ĨƌŽŵ ŚŝŶĂ͕ /ŶĚŝĂ͕ dŚĂŝůĂŶĚ͕ sŝĞƚŶĂŵ /ŶĚŽŶĞƐŝĂ͕ DĂůĂLJƐŝĂ͕ ƵƐƚƌĂůŝĂ͕ h<͕ 'ĞƌŵĂŶLJ ĂŶĚ ŐLJƉƚ͕ ĂŶĚ ĂƩ ƌĂĐƚĞĚ ŶĞĂƌůLJ ϮϬϬϬ ƉƌŽĨĞƐƐŝŽŶĂů ǀŝƐŝƚŽƌƐ ĨƌŽŵ ŽǀĞƌ ϱϬ ĐŽƵŶƚƌŝĞƐ ĂŶĚ ƌĞŐŝŽŶƐ͕ ďĞĐŽŵŝŶŐ Ă ǁĞůůͲŬŶŽǁŶ ŝŶƚĞƌŶĂƟ ŽŶĂů ĂŐƌŽĐŚĞŵŝĐĂů ƚƌĂĚĞ ƉůĂƞ Žƌŵ ŝŶ ƐŝĂ͘
džŚŝďŝƚ WƌŽĮ ůĞ Ͳ WĞƐƟ ĐŝĚĞƐ Θ ŝŽůŽŐŝĐĂů WĞƐƟ ĐŝĚĞƐ Ͳ &ĞƌƟ ůŝnjĞƌ Θ EĞǁ &ĞƌƟ ůŝnjĞƌƐ Ͳ DĂŶƵĨĂĐƚƵƌŝŶŐ Θ WĂĐŬĂŐŝŶŐ ƋƵŝƉŵĞŶƚ͕ >ŽŐŝƐƟ ĐƐ Ͳ ^ĞĞĚ Ͳ WĞƐƟ ĐŝĚĞƐ ĨŽƌ ĞLJŽŶĚ ŐƌŝĐƵůƚƵƌĞ Ͳ '>W͕ ZĞŐŝƐƚƌĂƟ ŽŶ ŽŶƐƵůƚĂŶƚƐ͕ DĂƌŬĞƚ ŶĂůLJƐƚƐ͕ ĂƚĂ ŽŶƐƵůƚĂŶĐŝĞƐ ĂŶĚ ĞƌŝĂů WĞƐƟ ĐŝĚĞƐ ƉƉůŝĐĂƚŽƌƐ
Contact W/d ^ƵďͲĐŽƵŶĐŝů ŽĨ ŚĞŵŝĐĂů /ŶĚƵƐƚƌLJ ; W/d , DͿ DƐ͘ ^ŝŵŽŶ zĞ dĞů͗ нϴϲͲϭϬͲϲϰϮϮϮϴϰϱ YY͗ ϭϬϯϰϳϳϳϱϬϴ ͲŵĂŝů͗ LJĞdžŝŵĞŶŐΛĐĐƉŝƚĐŚĞŵ͘ŽƌŐ͘ĐŶ
dŚĂŝůĂŶĚͶdŚĂŝ ŐƌŽ ƵƐŝŶĞƐƐ ƐƐŽĐŝĂƟ ŽŶ ;d Ϳ Dƌ͘ DŽŶƚŽů <ŝĂƚŬĂŵŽůǁŽŶŐ DŝƐƐ dŚƌĞĞƌĂŶƵũ ZƵĞŶŐƌĂƚ DŽďŝůĞ͗ нϲϲͲϴϰͲϬϵϭͲϲϭϭϭ dĞů͗нϲϲͲϵϳϭϵϮϭϱϱϭ ŵĂŝů͗ ŵŽŶƚŽŶ͘ŵŝƚƐŽŵŶΛŐŵĂŝů͘ĐŽŵ ŵĂŝů͗ ĞĂƌŶͺĐŚĂŶΛŚŽƚŵĂŝů͘ĐŽŵ
ĂƌůLJ ŝƌĚƐ ŐĞƚ ĨƌĞĞ ďƵī Ğƚ ůƵŶĐŚ͕ ŽŶůLJ ĨŽƌ Į ƌƐƚ ϭϬϬ ƉƌĞͲƌĞŐŝƐƚĞƌƐ
www.cacasiasummit.com