ARCH MSU
URBAN ACTION
1102513 URBAN DESIGN STUDIO 3
สมาชิก 1. นาย 2. นางสาว 3. นาย 4.นางสาว 5.นางสาว 6.นางสาว 7.นาย
ธันยธรณ์ จารุวรรณ ปรเมศวร์ ประดับรุ่ง ภัทราวดี ศิริสุดา สายชล
ห่มเมือง หวังหลีกกลาง พื้ นฉลาด จตุรพร สี นนท์ ชินทวัน สุ ขมาก
59011122002 60011112006 60011112027 60011112028 60011112034 60011112048 60011112050
สาขาสถาปั ตยกรรมผังเมือง
URBAN ACTION
คำนำ โครงการพัฒนากรุงเทพมหานครฝั ง่ ตะวันออก 6 เขต เขตมีนบุร ี เขตลาดกระบัง เขตสะพานสูง เขตคลองสามวา เขตคันนายาว และเขตหนองจอก เป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา ปฏิบตั ิการ ออกแบบสถาปั ตยกรรมผังเมือง 3 (Urban Design Studio) รหัสวิชา 1102513 ซึง่ มีจดุ ประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาและ ส่งเสริมศักยภาพของพืน้ ที่ ซึง่ มีเนื้อหาเกี่ยวกับ ความเป็ นมา วัตถุประสงค์ของโครงการ แผนและนโนบายที่เกี่ยวข้องในระดับต่างๆ วิเคราะห์ศกั ยภาพและ ปั ญหา ข้อมูลของพืน้ ที่ไปจนถึงการกาหนดวิสยั ทัศน์ แนวคิดในการออกแบบวางผังต่างๆ ในการจัดทาครัง้ นี้สาเร็จไปได้ด้วยดี จาก ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. เพชรลัดดา เพ็ชรภักดี, ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ดิฐา แสงวัฒนะชัย, อาจารย์ อุมา ภรณ์ บุพไชย, มูลนิธคิ นรักเมืองมัน, REIC, Urban Action ตลอดจนผู้มีสว่ นเกี่ยวข้องในการให้คาแนะนาต่างๆจนการทางานครัง้ นี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี
คณะผู้จดั ทา
ก 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
สำรบัญ บทนา -กรุงเทพมหานคร -กรุงเทพมหานครฝั ง่ ตะวันออก
1 2
บทที่ 1 ความเป็ นมาของโครงการ -ความเป็ นมาของโครงการ -วัตถุประสงค์ -เป้ าหมาย -ขอบเขตการศึกษา -ขอบเขตพืน้ ที่ศกึ ษา
3 3 3 4 4
บทที่ 2 การวบรวบ ศึกษา และวิเคราะห์ขอ้ มูล นโยบาย แผนงานโครงการ แนวคิดทฤษฎี -การรวบรวม ศึกษา และวิเคราะห์ขอ้ มูล นโยบาย แผนงาน -กฎหมายที่เกี่ยวข้อง -พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562 -พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2544 -พระราชบัญญัติการจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพืน้ ที่ พ.ศ. 2547 -พระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. 2561 -พระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ.2497 เขตการบิน -แนวคิด ทฤษฎี กรณีศกึ ษา
ข 1102513 Urban Design Studio 3
5-6 7 7 7 8 8 9-20
URBAN ACTION
บทที่ 3 รวบรวม จัดเก็บ สารวจ ศึกษาและวิเคราะห์ขอ้ มูลทีเ่ กี่ยวข้องกับพืน้ ทีศ่ ึกษ า -ความเป็ นมาของพืน้ ที่ -ประวัติความเป็ นมาของพืน้ ที่ศกึ ษา -ปั ญหาน้าท่วมซา้ ซากของพืน้ ที่ -สังคม วัฒนธรรม ประชากร -ข้อมูลการสารวจพืน้ ที่ คมนาคม พืน้ ที่ทางศาสนา ผลิตภัณฑ์ ร้านอาหาร เส้นทางท่องเที่ยว -การท่องเที่ยว -ข้อมูลพืน้ ที่ทงั ้ 6 เขต -เขตมีนบุร ี -เขตหนองจอก -เขตลาดกระบัง -เขตคันนายาว -เขตสะพานสูง -เขตคลองสามวา -ข้อมูลเชิงสถิติ -ข้อมูลความต้องการของกระชากร
21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33-34 35-36
บทที่ 4 วิเคราะห์ ประมวลผลข้อมูล และจัดทาผังแม่บทการพัฒนาพืน้ ที่ -การวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค แนวคิดการพัฒนา
37
-
38
ค 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
บทที่ 5 วิเคราะห์ ประมวลผลข้อมูล และกาหนดขอบเขตพืน้ ทีโ่ ครงการ -การกาหนดวิสยั ทัศน์ เป้ าหมาย แนวคิด -วิสยั ทัศน์และการกาหนดการพัฒนาแต่ละเขต
39 40
บทที่ 6 การออกแบบโครงการ -โครงการ The Common Capital Center -โครงการ Urban Farm ศูนย์การเรียนรูท้ ่องเที่ยววิถีเกษตร ยกระดับผลผลิตทางการเกษตร -โครงการ Nursing Hub ศูนย์พยาบาลผู้สงู วัย -โครงการ Sport Community -โครงการ Health Tourism ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ -โครงการ Health Tourism พืน้ ที่รองรับผู้มาใช้บริการด้านสุขภาพ -โครงการ Water Management คลองฟลัดเวย์
41-42 43-44 45-46 47-48 49-50 51-52 53-54
บทที่ 7 ข้อเสนอแนะในการกาหนดการพัฒนา -Sponge City นามาปรับใช้กับพืน้ ที่กรุงเทพมหานครฝั ง่ ตะวันออกทัง้ หมด -เสนอแบบบ้านรับเมือน้าท่วม -เสนอแนะอาคารพานิชยกรรม/อาคารพักอาศัย -เสนอแนะอาคารสูง แระเภท คอนโดมิเนียม โรงแรม อาคารสานักงานต่างๆ -เสาไฟอัจฉริยะ ที่ให้ประโยชน์มากกว่าแสงสว่าง -คมนาคมทาง รถ ราง เรือ -ทาเลพืน้ ที่น่าลงทุนพัฒนาและควนเสนอพัฒนา
ง 1102513 Urban Design Studio 3
55 56 57 58 59 60 61
URBAN ACTION
บทที่ 8 สรุปความเป็ นไปได้ของโครงการ -ความเป็ นไปได้ -Conceptual Plan -การเชื่อมโยงกับกรุงเทพชัน้ ในและEEC -การเชื่อมโยงกับแผนในระดับต่างๆ -Action Plan
62 63 64 65 66
จ 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
กรุงเทพมหำนคร
กรุ งเทพฯเป็ นเมืองที่มปี ระชากรอยู่มากและเป็ นเมืองศูนย์กลางในหลายๆ ด้านทัง้ การปกครอง การศึกษา คมนาคมขนส่ง การเงิน การพาณิชย์ การสื่อสารและความเจริญในทุกๆด้านทัง้ เศรษฐกิจ การค้าการบริการ การท่ องเที่ยว และเป็ น เมืองที่มกี าร พัฒนาอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานและเป็ นเขตปกครองพิเศษของประเทศไทย มีพระราชบัญญัติเฉพาะคือพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุ งเทพมหานคร พ. ศ. 2528 มีผงั เมืองรวมกรุ งเทพมหานครเป็ นครัง้ แรกในปี พ.ศ 2535 และได้มกี ารปรับปรุ งด้วยมาเพื่อแก้ปัญหาเมือ งและป้ อ งกั น ปัญหาในอนาคตโดยมีการจัดระบบการใช้ประโยชน์ทดี่ ินให้สามารถรองรับการขยายตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพทั ้งความหนาแน่ น ของประชากรสภาพเศรษฐกิจสังคมสิง่ แวดล้อมคมนาคมและการขนส่งป้ องกันการเกิดภัยพิบตั ิ และสานักผังเมืองจึงเห็นดาเนินการและจัดทาผังเมืองรวมกรุ งเทพมหานคร(ฉบับปรั บปรุ งครั ้งที่ 4) เพื่อ ให้ ม ีค วาม สอดคล้องกับสภาพสิง่ แวดล้อมของเมืองที่มกี ารเปลีย่ นแปลงไปและสามารถพัฒนาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 1102513 Urban Design Studio 3
URBAN ACTION
กรุงเทพมหำนครฝัง่ ตะวันออก
กรุ งเทพฯฝั ง่ ตะวันออกประกอบไปด้วย 6 เขตมีนบุรี เขตคลองสามวา เขตคันนายาว เขตสะพานสูง เขตหนองจอกและเขต ลาดกระบัง ผังสีกรุ งเทพฯปี 56 พืน้ ที่ ส่ วนใหญ่ ของกรุ งเทพมหานครภาคตะวัน ออก เป็ น สีเ ขียวที่ ดิ น ประเภทชนบทและ เกษตรกรรม สีเหลืองที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่ นน้อยและสีขาวมีกรอบเส้นทแยงสีเขียวที่ดินประเภทอนุ รั ก ษ์ ช นบทและ เกษตรกรรมและพืน้ ที่กรุงเทพฝัง่ ตะวันออกเป็ นพืน้ ทีน่ ่ าจับตามองเนื่องจากการมีศกั ยภาพในการรองรับการขยายตัวของเมืองได้ดี และการที่จะมีความพร้อมในด้านโครงสร้างพืน้ ฐานในอนาคตอีกทัง้ การทีส่ ามารถพัฒนาจากพืน้ ที่เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกที่ เป็ นเศรษฐกิจขนาดใหญ่ ของประเทศไทยด้วย
2 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
ประวัติควำมเป็ นมำของโครงกำร เนื่องจากเมืองฝั ง่ ตะวันออกของกรุ งเทพฯ ที่ได้มกี ารพัฒ นาขึน้ เรื่อย ๆ และได้มกี ารวางและจัดทาผังเมืองรวมกรุ งเทพมหานคร (ปรับปรุ ง ครัง้ ที่ 4) เพื่อสนับสนุ นและปรับปรุ งผังเมืองของกรุ งเทพมหานคร เพื่อการพัฒนาพืน้ ที่ ให้เหมาะสมกับสถานการณ์การขยายตัวของ เศรษฐกิจ และสังคมในปัจจุ บนั และอนาคต จากการขยายตัวของ เมืองและการขยายตัวของประชากรหลังจากการเปิ ดใช้รถไฟฟ้ าสาย สีสม้ และสายสีชมพุ การขยายสนามบินสุวรรณภูม ิ ระยะที่ 2 เพื่อ รองรับการเติบในอนาคต โดยโครงการจะเป็ นการพัฒนาโครงสร้าง พืน้ ฐาน เพิม่ ศักยภาพของพืน้ ที่ ปรับปรุ งภูมทิ ัศน์รมิ ถนน ริมคลอง เสนอการใช้นวัตกรรมในพืน้ ทีแ่ ละการแก้ปัญหาน้าท่วมในพืน้ ที่
วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษา เสนอแนวทางและจัดทาผัง ให้มคี วามสอดคล้องกั บสถาร การณ์การขยายตัวของเมืองและสิง่ แวดล้อมและการพัฒนาเมืองที่ เปลีย่ นแปลงไป 2.เพื่อให้เกิดการปรับปรุ งแก้ไขเปลีย่ นแปลงให้มคี วามสอดคล้องกับ ความต้องการของประชาชนในพืน้ ที่และให้เกิดประโยชน์ต่อบุคคล ส่วนมากให้สงู สุด
เป้ ำหมำย เพื่อให้การศึกษาและวิเคราะห์ขอ้ มูลเพื่อการจัดทาผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร(ฉบับปรับปรุงครัง้ ที่ 4) เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ดา้ นกายภาพเมือง เศรษฐกิจ สังคม และ แนวโม้มในการพัฒนาเมือง รวมไปถึงการแก้ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ และการรับมือในอนาคต 3 1102513 Urban Design Studio 3
URBAN ACTION
ขอบเขตกำรศึกษำ 1. ศึกษาในพืน้ ที่กรุงเทพมหานครฝั ง่ ตะวันออก 6 เขต ได้แก่ เขตมีนบุร ี คลองสามวา สะพานสูง คันนายาว หนอง จอก และลาดกระบัง 2. ศึกษาแนวทางแก้ปัญหาเรื่องน้า ได้แก่ ระบบระบายน้า และระบบป้ องกันน้าท่วม ในพืน้ ที่กรุงเทพมหานครฝั ง่ ตะวันออก 6 เขต 3 .ศึกษาแนวทางการใช้ประโยชน์ที่ดิน การพัฒนา โครงข่ายการคมนาคม และการจัดรูปที่ดินในพืน้ ที่ กรุงเทพมหานครฝั ง่ ตะวันออก 6 เขต ให้สอดคล้องกับการ ขยายตัวของเมือง และประชากร และการขยายตัวของการ พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC)
ขอบเขตพื้นที่ศกึ ษำ ทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดนนทบุรแี ละจังหวัดปทุมธานี ทิศตะวันออก ติดต่อกับจังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศใต้ ติดต่อกับจังหวัดสมุทรปราการ ทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัดสมุทรสาครและจังหวัดนครปฐม และได้มีการกาหนดขอบเขตพืน้ ที่ศกึ ษาของกรุงเทพฝั ง่ ตะวันออกเป็ นพืน้ ที่ศกึ ษาอีกทัง้ หมด6เขต ได้แก่ เขตมีนบุร ี เขตหนองจอก เขตสะพานสูง เขตลาดกระบัง เขตคันนายาว และเขตสะพานสูง ทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดปทุมธานี ทิศตะวันออก ติดต่อกับจังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศใต้ ติดต่อกับจังหวัดสมุทรปราการ ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร
4
1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
กำรรวบรวม ศึกษำและวิเครำะห์ข้อมูล นโยบำย แผนงำน แผนการพัฒนาไทยแลนด์ 4.0 เป้ าหมายการพัฒนาที่ยงยื ั ่ น SDGs
กรอบในการดาเนินงานด้านการพัฒนา เป็ น วิ ส ัย ทัศ น์ เชิง นโยบาย ที่ เปลี่ย นเศร ษ ฐกิ จ เป้ าหมายทัง้ 17 ข้อมีดงั นี้ แบบเดิมไปสู่เศรษฐกิจทีข่ บั เคลือ่ น ด้วนวัตกรรมเศรษฐกิจ 1.ขจัดความยากจน ทีข่ บั เคลือ่ นด้วยนวัตกรรม 2.ขจัดความหิวโหย 1.เปลี่ย นจากการผลั กดัน สิน ค้า โภคภัณ ฑ์ ไ ป สู่ 3.มีสุขภาพและความเป็ นอยู่ทดี่ ี สินค้าเชิงนวัตกรรม 4.การศึกษาทีเ่ ท่าเทียม 2. เป ลี่ ย น จ า กกา ร ขั บ เ คลื่ อ น ปร ะ เ ทศด้ ว ย 5.ความเท่าเทียมทางเพศ ภาคอุตสาหกรรมไปสู่การขับเคลื่อ นด้ว ยเทคโนโลยี แ ละ 6.การจัดการน้ าและสุขาภิบาล ความคิดสร้างสรรค์ 7.พลังงานสะอาดทีท่ ุกคนเข้าถึงได้ 3 .เปลีย่ นจากการเน้นภาคการผลิตสิน ค้า ไปสู่ การ 8.การจ้างงานทีม่ คี ุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ เน้น ภาคบริการมากขึ้น 9.อุตสาหกรรม นวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐาน 10.ลดความเหลือ่ มล้ า แผนการพัฒนาประชาคมอาเซียน 11.เมืองและถิ่นฐานมนุ ษย์อย่างยังยื ่ น 12.แผนการบริโภคและการผลิตทีย่ งยื ั่ น 13.การรับมือการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ 14.การใช้ประโยชน์ จากมหาสมุทรและทรัพยากรทางทะเล 15.การใช้ประโยชน์ จากระบบนิเวศทางบก 16.สังคมสงบสุข ยุติธรรม ไม่แบ่งแยก 17.ความร่ วมมือเพือ่ การพัฒนาทีย่ งยื ั่ น
5 1102513 Urban Design Studio 3
ระเบียงเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง
ปั จจุบนั แนวพื้นทีเ่ ศรษฐกิจ (Economic Corridor) ใน GMS แบ่งออกเป็ น 3 แนว ได้แก่ แนวพื้นทีเ่ ศรษฐกิจตะวันออก - ตะวันตก (East West Economic Corridor: EWEC), แนวพื้นทีเ่ ศรษฐกิจเหนือ – ใต้ (North South Economic Corridor: NSEC) และแนวพื้นทีเ่ ศรษฐกิจตอนใต้ (Southern Economic Corridor)
แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
เป็ นแผนการพัฒนาประเทศ ที่กาหนดกรอบและ แนวทางการพัฒนาให้หน่ วยงานของรัฐทุกภาคส่ ว น ต้องทาตาม เพื่อ ให้บ รรลุ ว ิส ัย ทัศน์ ป ระเทศไทย ทีว่ ่า”ประเทศไทยมีความมันคง ่ มังคั ่ ง่ ยังยื ่ น เป็ น ประเทศที่พ ัฒ นาแล้ว ด้ว ยการพัฒ นาตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพีย ง” หรื อ เป็ น คติ พ จน์ ประจาชาติว่า “มันคง ่ มังคั ่ ง่ ยังยื ่ น” เพือ่ สนองตอบ ต่ อผลประโยชน์ แห่งชาติ เพือ่ ให้ประเทศสาม ารถ ยกระดับการพัฒนาให้บรรลุวสิ ยั ทัศน์ และเป้ าหมาย กา ร พั ฒ น า ปร ะ เทศ จึ ง จ า เป็ น ต้ อ งก า หน ด ยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศระยะยาวที่มุ่ งเน้ น การสร้างสมดุ ล ระหว่ า งการพัฒ นา ความมัน่ คง เศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม
URBAN ACTION
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
มีวตั ถุ ประสงค[เพือ่ 1.ฉายภาพแนวโนVม การเปลีย่ นแปลงระดับโลก(Megatrends) ที่ สาคัญและคาดว่าจะมีผลต่ อทิศทางกางพัฒนาประเทศในอนาคต 2.สรุ ปสาระสาคัญของผลกระทบจากการแพร่ ระบาดของโรค โค วิด-19 ซึง่ ได้ส่งผลกระทบต?อประเทศไทยใน หลากหลายมิติและ เปลีย่ นแปลงฉากทัศนของการพัฒนาทัวโลกไปอย่ ่ างสิ้นเชิง 3.ทบทวนสถานะของ การพัฒนาประเทศ ทัง้ ในด้านความมันคง ่ ความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ การสร้าง โอกาสและความเสมอภาคทางสังคม การสร้างการเติบโต ทีเ่ ป็ นมิตรต่ อสิง่ แวดล้อม และการปรับสมดุลและ พัฒนาระบบการ บริหารจัดการภาครัฐ
แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร 20 ปี
เมืองกรุ งเทพฯ จะปรับตัวในเชิงโครงสร้าง ทางกายภาพของเมือง จากเมืองทีม่ ศี ูนย์กลางเดีย่ ว ไปเป็ นกลุ่มเมืองหลาย ๆ เมืองกระจาย ตัวออกไป ทังในพื ้ ้นทีก่ รุ งเทพมหานครในปั จจุบนั และ เมืองรอบ ๆ กรุ งเทพมหานคร เชือ่ มต่ อกัน เป็ นโครงข่ายเมือง โดยระบบขนส่ง มวลชน ทีป่ ระหยัดและมีประสิทธิภาพ ในขณะทีพ่ ้นื ที่ ใจกลางเมืองจะถู กจากัดการขยายตัว ในด้าน การเมืองจะก้าวสู่มหานคร ประชาธิปไตย และ ในช่วง 20 ปี ขา้ งหน้านี้เมืองกรุ งเทพฯ จะเป็ น ศูนย์กลางทางเศรษฐกิจการศึกษาเรียนรู ้การลงทุน การขนส่ง การค้า และวัฒนธรรม ฯลฯ ของทวีป เอเชีย ประเด็นยุทธศาสตร์ หรือวิสยั ทัศน์ ใน 6 มิติ ประกอบด้วย 1. มหานครปลอดภัย 2. มหานครสีเขียว สะดวกสบาย 3. มหานครสาหรับทุก คน 4. มหานครกะทัดรัด 5. มหานครแห่งประชาธิปไตย 6. มหานครแห่งเศรษฐกิจและการเรียนร
6 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
กฎหมำยที่เกี่ยวข้อง พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562 การจัดทาผังเมืองรวมกรุ งเทพมหานครแห่งพระราชบัญญัติการผังเมืองพ.ศ 2518 โดย ปั จจุบนั ผังฉบับทีใ่ ช้บงั คับคือผังเมืองรวมกรุ งเทพมหานครพ.ศ 2556 ฉบับปรับปรุ งครัง้ ที่ 3 ซึง่ ทีผ่ ่ านมาใช้บงั คับมากว่า 6 ปี ซงึ่ พบว่าสภาพการและสิง่ แวดล้อมหลายประเด็น เปลีย่ นแปลงไปเช่นโครงการรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนซึง่ ดาเนินการก่อสร้างเร็วกว่าทีแ่ ผนการ กาหนดการเปลีย่ นแปลงประชากรการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบสาธารณู ปโภคและ สาธารณู ปการต่ างๆจึงทาให้ต้องแก้ไขและปรับปรุ งผังเมืองรวมกรุ งเทพมหานครอีกครัง้ เพือ่ ให้เกิดความเหมาะสมกับการใช้
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ 2544
พระราชบัญญัติการจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพืน้ ที่ พ.ศ. 2547
การดาเนินการพัฒนาทีด่ นิ หลาย แปลงโดยการวางผังจัดรู ป ทีด่ นิ ใหม่ ปรับปรุ งหรือจัดสร้างโครงสร้างพื้นฐาน และการร่ วมรับภาระและ กระจายผลตอบแทนอย่างเป็ นธรรม ทัง้ นี้ โดยความร่ วมมือระหว่างเอกชนกับเอกชนหรือเอกชนกับ รัฐ เพือ่ ให้เกิดการใช้ประโยชน์ ในทีด่ นิ ทีเ่ หมาะสมยิง่ ขึ้น ในด้านการคมนาคม เศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อมและชุมชน และเป็ นการสอดคล้องกับการผังเมือง
7 1102513 Urban Design Studio 3
URBAN ACTION
พระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ.2561 เพือ่ ดาเนินการพัฒนาพื้นทีภ่ าคตะวันออกให้เป็ นระบบและโดยสอดคล้อง กับหลักการพัฒนาอย่างยังยื ่ น โดยเฉพาะอย่างยิง่ การส่งเสริม การ ประกอบพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมทีใ่ ช้เทคโนโลยีขนสู ั ้ ง ทัน สมัย สร้างนวัตกรรม และเป็ นมิตรต่ อสิง่ แวดล้อมให้พ้นื ทีจ่ งั หวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง และพื้นทีอ่ นื่ ใดทีอ่ ยู่ ในภาคตะวันออกทีก่ าหนด เพิม่ เติมโดยพระราชกฤษฎีกาเป็ นเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
พระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ.2597 เขตการบิน
มีวตั ถุ ประสงค เพือ่ ปรับปรุ งและเพิม่ เติม บทบัญญัติ บางประกา รเพื่ อ ยกร ะดับ การบิ น พล เรื อ น ขอ ง ประเทศไทยให เป นไปตามมาตรฐานสากล ทันสมัย และมีประสิทธิภาพมากขึ้น และสามารถใช เป น เครื่องมือสาคัญในการควบคุ ม กากับ ดู แ ล ส งเสริ ม และพัฒ นาด านความปลอดภัย การ รักษาความปลอดภัย การอานวยความสะดวก และ เศรษฐกิจการบินพลเรือนของประเทศไทย พระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 และทีแ่ ก ไขเพิม่ เติม ไม ได บัญ ญัติ ข อบเขตการใช บังคับของ กฎหมายไว เช นเดีย วกับ กฎหมาย ไทยส วนใหญ แต ตามมา ตรา 5 บัญ ญั ติ ในทางตรงข ามคือ ไม ใช บังคับ แก การ เดินอากาศในราชการทหาร ราชการตารวจ ราชการ ศุ ล ก า กร แ ล ะ ร า ชก า ร อื่ น ต า ม ที่ ก า หน ดใ น กฎกระทรวง เว นแต การท าแผนการบิน ตาม มาตรา 18/1 และการปฏิบตั ิตามกฎจราจรทางอากาศ ตามมาตรา 18/2 และ มาตรา 18/3
8 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
แนวคิด ทฤษฎี กรณี ศกึ ษำ
Urban Resilience ขีดความสามารถของบุคคลชุมชนสถาบันธุรกิจและระบบ ภายในเมืองทีจ่ ะอยู่รอดปรับตัวและเติบโตได้ไม่ว่าจะเป็ นเรื่อง ใดก็ตาม ความเครียดเรื้อรังและแรงกระแทกเฉียบพลัน
ประกอบไปด้วย 6 แบบด้วยกัน คือ เมืองทีม่ คี วาม หลากหลาย (Diversity) เมืองทีม่ คี วามซ้ าซ้อน (Redundancy) เมืองทีไ่ ด้รับการออกแบบเป็ นส่วนย่อย และมีความอิสระขององค์ประกอบต่ างๆ ในระบบ (Modularity and Independence of System components) เมืองทีม่ คี วามไวต่ อการตอบสนอง (Feedback Sensitivity) เมืองทีม่ ขี ดี ความสามารถในการ ปรับตัว (Capacity of Adaptation) และสุดท้ายคือเมืองที่ มีการบูรณาการและตอบสนองต่ อสิง่ แวดล้อม (Environmental Responsiveness and Integration) ซึง่ การเป็ นเมืองพลวัตจะนาไปสู่ภาวะทีเ่ มือง สังคม และ ทรัพยากรธรรมชาติอยู่ร่วมกันได้อย่างลงตัว เพราะเมือง สามารถปรับตัวตามการศึกษาการไหลของน้ าและเตรียม โครงสร้างพื้นฐานทีเ่ หมาะสมกับพื้นทีเ่ สีย่ งน้ าท่วม
9 1102513 Urban Design Studio 3
URBAN ACTION
ร็อตเตอร์ดมั ประเทศเนเธอร์แลนด์ ประเทศเนเธอร์แลนด์นนั ้ เป็ นประเทศที่พบเจอกั บปั ญ หาจากน้ า ทะเลมาเป็ นเวลานาน เนื่องจากอยู่ต่ ากว่าระดับน้าทะเล จึ งทาให้ม ี กลไกที่น่าสนใจในการปรับตัวอยู่กับวิกฤติเหล่านี้ มากไปกว่ า นั ้น ด้วยผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศ (Climate Change) จึงทาให้มกี ารใช้แนวคิด ความพลวัต (Resilience) มาใช้ ใ นการ พัฒนาเมืองเพื่อให้มคี วามพร้อมต่ อการเปลีย่ นแปลงที่รุนแรงขึน้ ใน อนาคต ย่านโซโห (ZoHo Rotterdam) ซึง่ เป็ นย่ า นที่ ตั ้งอยู่ติ ด กั บ ย่านธุ รกิจของเมืองร็อตเตอร์ดัม (Central Business District-CBD) โดยพืน้ ที่นี้ถูกพัฒนามาจากพืน้ ที่ใช้งานที่ถูกทิ้งร้ า ง (Brownfield) มาอยู่ ใ นรู ป แบบอาค าร ค วามสู ง ต่ า (Low-Rise Building) ประกอบด้วยธุ รกิจท้องถิ่น (Local Business) และผูป้ ระกอบการ สร้างสรรค์ รวมทัง้ โซนอยู่อาศัยใหม่โดยลักษณะพื้น ที่ แ ละการใช้ งานนาไปสู่แนวคิดในการออกแบบที่มุ่งไปสู่ความ สมดุ ล ระหว่ า ง การทางาน อยู่อาศัย พืน้ ที่สร้างสรรค์และย่านอยู่อาศัยทีเ่ อือ้ สาหรับ ทุ กกลุ่มผูใ้ ช้งาน (Inclusive Neighborhood)
10 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
Transit Oriented Development (TOD) เป็ นหนึ่งในแนวคิดในการพัฒนาเมือง และชุมชนเมืองควบคู่ไปกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม ขนส่ง โดยเน้นการพัฒนาพื้นทีร่ อบสถานีขนส่งสาธารณะทีเ่ ป็ นศูนย์กลางเชือ่ มต่ อการเดินทาง กาหนดรู ปแบบ การใช้ทดี่ นิ ให้เกิดประโยชน์ สูงสุด เพือ่ สร้างชุมชนรอบสถานีให้เป็ นชุมชนคุณภาพ น่ าอยู่อ าศัย น่ าใช้ชวี ติ น่ า ลงทุนทาธุรกิจ เพือ่ ส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมการเดินทาง ทังเข้ ้ า -ออกพื้นทีด่ ว้ ยระบบขนส่งสาธารณะ และส่งเสริม การเดินทางในพื้นทีด่ ว้ ยการเดินทางโดยไม่ใช้เครื่องยนต์
11 1102513 Urban Design Studio 3
URBAN ACTION
โครงการส่งเสริมความยังยื ่ น การขนส่งมวลชน และชุมชนในเซี่ยงไฮ้ สร้างศูนย์กลางมหานครที่ครอบคลุมด้วยตัวเลือกการขนส่งสาหรั บ ทัง้ ผูโ้ ดยสารและยานพาหนะ Tianhui TODTOWN ดึงดูดและรักษา ผูม้ คี วามสามารถ เพิม่ มูลค่ า ของที่ ดิ น โดยรอบ และวางรากฐาน สาหรับการพัฒนาขืน้ ใหม่ของภูมภิ าคที่ อ ยู่ติ ด กั น ในอนาคตสร้ า ง สภาพแวดล้อมที่สมบูรณ์ซงึ่ รวมพืน้ ที่ใช้สอย” รวมถึงสถานีรถไฟใต้ ดิน สถานี ร ถไฟความเร็ วสูงระหว่ า งเมือ ง ที่ อ ยู่อ าศั ยที่ ม ีค วาม หนาแน่ นต่ าและสูง อาคารสานักงานเกรดเอ ด้วยพืน้ ที่เชิ งพาณิ ช ย์ โรงแรม และศูนย์ชุมชน
12 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
Sponge City แนวคิด "Sponge City" หรือเมืองฟองน้ า เป็ น แนวคิดมาจากประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้วอย่างสหรัฐฯ และแคนาดา ซึง่ รัฐบาลจีนเสนอให้ใช้ใน 16 เขต เมืองทัวประเทศ ่ แนวคิดนี้เนื้อหาสาคัญคือการ หาวิธ"ี ดูดซึม กรอง เก็บ ส่ง"ฝนทุกหยดทีต่ กลง มาและหมุนเวียนให้มนั อยู่ในเมืองนัน้ ๆ โดยการ ใช้นวัตกรรมใหม่ๆ แปลงให้เป็ นน้ าเสียกลายเป็ น น้ าทีน่ ามากักเก็บและใช้ประโยชน์ ได้
เป็ นเมืองฟองน้ าเป็ นเขตเมืองทีไ่ ด้รับการออกแบบมาเพือ่ รับมือกับปริมาณน้ าฝนทีม่ ากเกินไปโดยใช้เทคนิคต่ างๆ พื้นทีเ่ มืองทีม่ อี ยู่มกั จะต้องรับมือกับน้ าท่วมทีเ่ กิดจากฝนตกหนัก กระแสน้ าสูง หรือแม่น้ าทีบ่ วมน้ า และการออกแบบเมืองฟองน้ าสามารถบรรเทาหรือป้ องกันเหตุ การณ์ ดงั กล่าวได้โดยให้พ้นื ทีส่ ามารถดูดซับน้ าได้ตามธรรมชาติ
13
การลดจานวนพื้นผิวแข็งและเพิม่ ปริมาณพื้นทีด่ ูดซับ โดยเฉพาะพื้นทีส่ เี ขียว สามารถสร้างความแตกต่ างอย่างมีนัยสาคัญในการลดความรุ นแรงและความถี่ของเหตุ การณ์ น้ าท่วม การเสริม แนวทางนี้ดว้ ยระบบช่องทางและการจัดเก็บทีม่ ปี ระสิทธิภาพสามารถช่วยต่ อต้านความถี่ของการขาดแคลนน้ า ซึง่ อาจรุ นแรงโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเมืองใหญ่
1102513 Urban Design Studio 3
https://www.chapmantaylor.com/insights/what-are-sponge-cities-and-why-are-they-the-future-of-urban-design
URBAN ACTION
穿过社区的绿地和水道廊道 Green space and waterway corridor through a community
“เมืองฟองน้ า” คืออะไร? พูดง่ายๆ ว่า มีพนักงานอยู่หลักการ Low Impact Development (LID) ที:่ 1.กักกัน้ น้ าทีไ่ หลบ่าจากพายุในลักษณะทีย่ อมให้อยู่ได้ค่อยๆ ปล่อยลงสู่แหล่งน้ าสาธารณะบรรเทาอุทกภัยใน เมือง 2. กรองมลพิษทางชีววิทยา ณ แหล่งกาเนิด หลีกเลีย่ งการปนเปื้ อนของลาธาร แม่น้ า และทะเลสาบ 3. ส่งเสริมความพรุ นเพือ่ ให้สามารถเติมน้ าแทรกซึมน้ าบาดาลทีด่ มื่ ได้ล้ าค่า 4. สร้างทางน้ าทีเ่ ชือ่ มต่ อกันและพื้นทีเ่ ปิ ดโล่งให้สาเร็จความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศของมนุ ษย์ และธรรมชาติทยี่ ั ่งยืน
14 https://www.chapmantaylor.com/insights/what-are-sponge-cities-and-why-are-they-the-future-of-urban-design 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
Urban Farming เกษตรกรรมในเมืองการทาฟาร์ มในเมืองหรือการทาสวนในเมืองคือการเพาะปลูกแปรรู ปและแจกจ่ายอาหารใน หรือรอบ ๆ เขตเมือง เกษตรกรรมในเมืองยังเป็ นคาทีใ่ ช้สาหรับการเลี้ยงสัตว์การเพาะเลี้ยงสัตว์ น้ าการเลี้ยงผึ้งใน เมืองและการปลูกพืชสวน กิจกรรมเหล่านี้เกิดขึ้นในพื้นทีร่ อบเมือง
15 1102513 Urban Design Studio 3
URBAN ACTION
Singapore Steps Up To Be More Food Resilient
ทัวโลก ่ ได้ให้ความสาคัญกับการพึง่ พาการนาเข้าอาหารของสิงคโปร์ และความเปราะบางต่ ออุปทานทัวโลก ่ รัฐบาลได้ให้ความมันใจกั ่ บพลเมืองของตนหลายครัง้ ว่าสิงคโปร์ มเี สบียงอาหารเพียงพอ ท่ามกลางภาวะตื่นตระหนก นอกเหนือจากการสนับสนุ นการผลิตอาหารในท้องถิ่นแล้ว โครงการนาร่ องนี้ยงั ก่อให้เกิด “แง่บวก” ซึง่ เกิดจากการมีส่วนร่ วมของชุมชนเมือ่ ผู ้มาเยือนได้รู้จกั และเห็นแหล่งอาหารของพวกเขา เนื่องจากสิงคโปร์ ยงั คงต้องพึง่ พาการนาเข้าอาหารเป็ นส่วนใหญ่
16 https://vulcanpost.com/702240/citiponics-carpark-rooftop-farming-singapore/?fbclid=IwAR1OR7wULtK1vsQgX2KLCksHczoSxrwshUB7yH9TiKXr3SMempiVIUG39Wc
1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
Livable City เมืองสุขภาพดีหรือเมืองสุขภาวะนัน้ ครอบคลุมทัง้ สุขภาพของคน สุขภาวะของสิง่ แวดล้อมทางกายภาพ สิง่ แวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคม รวมไปถึงความรู ้สกึ ของคนต่ อบริบทของเมืองซึง่ หมายความครอบคลุมถึง พื้นทีเ่ มืองทีอ่ านวยความสุข สร้างสุขภาพและสุขภาวะทีด่ ใี ห้กบั ผู ้คนภายในเมือง
17 1102513 Urban Design Studio 3
URBAN ACTION
เมืองในประเทศเนเธอร์แลนด์ -เน้นการใช้พลังงานหมุนเวียนและลดการบริโภคพลังงานอย่างสิน้ เปลือง -ปรับเปลีย่ นเมืองยุคใหม่ให้กลายเป็ นฟองน้าทีส่ ามารถดูดซับน้าทีล่ น้ ทะลักในฤดูฝนและกักเก็บน้าไว้ ใช้ในฤดูแล้งหรือในภาวะขาดแคลน -รวบรวมและนาส่งขยะอินทรียเ์ พื่อใช้ใน urban farms และใช้ในการผลิตพลังงาน -สนับสนุ นการนาอาคารเดิมกลับมาใช้ใหม่ ลดการทุบทาลายอาคาร และสร้างอาคารใหม่จากวัสดุที่ม ี ในเขตพืน้ ที่ -สร้างประโยชน์จากพืน้ ทีร่ กร้างเล็กๆในเมืองโดยพัฒนาและนาเอาธรรมชาติเข้ามาแทรก -ส่งเสริมการใช้ยานพาหนะและพัฒนาระบบการสัญจรทีใ่ ช้พลังงานไฟฟ้ าหรือพลังงานสะอาด
18 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
Smart City เมืองอัจฉริยะเมืองทีใ่ ช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยีและนวัตกรรมทีท่ นั สมัยและ ชาญฉลาด เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพของการให้บริการและการบริหารจัด การเมือง ลดค่าใช้จ่ายและการใช้ทรัพยากรของเมืองและประชากรเป้ าหมาย โดสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ (Smart Environment) หมายถึง เมืองทีค่ านึงถึง ผลกระทบทีม่ ตี ่ อสิง่ แวดล้อมและสภาวะการเปลีย่ นแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศ โดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยบริหารจัดการอย่างเป็ น ระบบ เช่น การจัดการ น้ า การดูแลสภาพอากาศ การบริหาร จัดการของเสีย และการเฝ้ าระวังภัย พิบตั ิ ตลอดจนเพิม่ การมีส่วนร่ วมของประชาชนในการอนุ รักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ เศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart Economy) พลังงำนอัจฉริยะ (Smart Energy) กำรบริหำรภำครัฐอัจฉริยะ (Smart Governance) กำรดำรงชีวิตอัจฉริยะ (Smart Living) กำรเดินทำงและขนส่งอัจฉริยะ (Smart Mobility) พลเมืองอัจฉริยะ (Smart People)
19 1102513 Urban Design Studio 3
URBAN ACTION
PUTRAJAYA MALAYSIA
ระบบสาธารณู ปโภคแบบจัดเต็ม ระบบขนส่งมวลชนเชือ่ มต่ อ ถนน 8 เลน สิง่ อานวยความสะดวกครบครัน ปุตรา จายาได้รับการพัฒนาขึ้นให้เป็ นศูนย์กลางราชการแห่งใหม่ของมาเลเซียตามแนวคิดการพัฒนาเมืองแบบหลาย ศูนย์ (Polycentric Cities) แบบยังยื ่ น ควบคู่ไปกับเมืองไอทีอย่างไซเบอร์ จายา หรือซิลคิ อนแวลลีย์ของมาเลเซีย นอกจากจะเป็ นเมืองใหม่ทมี่ คี วามสาคัญทางเศรษฐกิจแล้ว ปุตราจายายังเป็ นเมืองสีเขียว และเป็ นสังคมคาร์ บอน ต่ า (Low Carbon Society) เพราะอาคารต่ างๆ ทีไ่ ด้รับการออกแบบวางแผนมาแล้ว บวกกับการทีท่ ุกคนร่ วมมือ กันลดการปล่อยก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ผ่านกิจกรรมต่ างๆ ในชีวติ ประจาวัน
20 https://readthecloud.co/scoop-human-centric-cities/
1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
ควำมเป็ นมำของพื้นที่ ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้เปลีย่ นฐานะกรมเวียงมาเป็ น กระทรวงเมืองจนเปลีย่ นมาเป็ นกระทรวงนครบาล ตามลาดับโดยมีเสนาบดีทเี่ ป็ นผู ้ทาหน้าที่ รับผิดชอบในการปกครองกรุ งเทพมหานครและ ธนบุรีรวมทัง้ หัวเมืองใกล้เคียงได้แก่นนทบุรี ปทุมธานีนครเขือ่ นขันธ์สมุทรปราการธัญบุรีและ มีนบุรีซงึ่ รวมเรียกทังหมดว่ ้ ามณฑลกรุ งเทพฯมีผู้ บัญชาการมณฑลเทศาภิบาล
พ.ศ 2514 จอมพลถนอมกิตติขจรเป็ น หัวหน้าคณะปฏิวตั ิได้มกี ารประกาศ ของคณะปฏิวตั ิฉบับที่ 24 ลงวันที่ 21 ธันวาคมพุทธศักราช 2514 ให้รวม จังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรีเข้า ด้วยกันเป็ นหนึ่งจังหวัดเรียกว่านคร หลวงกรุ งเทพธนบุรี
ต่ อมาปี 2548 ได้ยกเลิกมณฑลกรุ งเทพฯ กระทรวงนครบาลออกและประกาศ กระทรวงนครบาลเรื่องกาหนดเขตท้องที่ การปกครองกรุ งเทพมหานครแยกจังหวัด นครธนบุรีและจังหวัดพระนครและจังหวัด ธนบุรีออก
21 1102513 Urban Design Studio 3
ต่ อมาในปี 2515 คณะปฏิวตั ิออกประกาศคณะ ปฏิวตั ิฉบับที่ 335 ให้เปลีย่ นแปลงรู ปแบบการ ปกครองนครหลวงกรุ งเทพธนบุรีใหม่อกี ครัง้ สาระสาคัญคือให้รวมกิจการปกครองทังหมดใน ้ เขตนครหลวงกรุ งเทพธนบุรีเป็ นหน่ วยงานการ ปกครองเดียวกันคือกรุ งเทพฯและได้เปลีย่ นคา เรียกเขตการปกครองใหม่อาเภอและตาบลเป็ น เขตและแขวงเป็ นเขตและแขวงตามลาดับ
URBAN ACTION
ประวัติควำมเป็ นมำของพื้นที่ศกึ ษำ
พ.ศ 2419 ได้ให้ชาวมอญหรือชาวเมืองพระประแดง อพยพไปจับจอง พื้นทีบ่ ริเวณคลองสองคลองสามตะวันออกคลองสามตะวันตกและคลองสี่ ตะวันตก พ.ศ 2540 ได้ประกาศกระทรวงมหาดไทยเปลีย่ นแปลงพื้นทีเ่ ขตมีนบุรี และตัง้ เขตคลองสามวาตัง้ แต่ วนั ที่ 21 พฤศจิกายนพ.ศ 2540 เป็ นต้นมา
พ.ศ.2506ตาบลคันนายาวได้รับการจัดตัง้ ขึ้นเป็ นทองทีก่ าร ปกครองท้องทีห่ นึ่งของอาเภอบางกะปิ จงั หวัดพระนคร พ. ศ. 2515 จากเปลีย่ นแปลงฐานะเป็ นกรุ งเทพฯจึงได้เปลีย่ น คาเรียกเขตการปกครองใหม่เป็ นเขตและแขวงตามลาดับ ตาบลคันนายาวจึงได้รับการเปลีย่ นแปลงฐานะเป็ นแขวงคัน นายาวอยู่ในการปกครองของเขตบางกะปิ พ.ศ2532ได้มกี ารเปลีย่ นแปลงพื้นทีก่ ารปกครองใหม่โ ดย จัดตัง้ เขตบึงกุ่มประกอบด้วยแขวงคลองกุ่มแขวงคันนายาว และแขวงสะพานสูงแยกจากเขตบางกะปิ พ.ศ 2540 กรุ งเทพฯได้ประกาศตัง้ แขวงคันนายาวเป็ นพื้นที่ เขตคันนายาวอย่างเป็ นทางการเพือ่ ความชัดเจนและ ประโยชน์ ในด้านการปกครอง
พ.ศ2506ตาบลสะพานสูงได้รับการจัดตัง้ ขึ้นเป็ นท้องทีก่ ารปกครองท้องทีห่ นึ่งของอาเภอบางกะปิ จังหวัด พระนครโดยกระทรวงมหาดไทยได้ขยายเขตสุขาภิบาลบางกะปิ ให้ครอบคลุมถึงตาบลนี้ดว้ ย พ.ศ2515มีเปลีย่ นแปลงฐานะเป็ นเป็ นกรุ งเทพฯซึง่ เปลีย่ นคาเรียกเขตการปกครองใหม่ดว้ ยตาบลสะพาน สูงได้รับการเปลีย่ นแปลงฐานะเป็ นแขวงสะพานสูงอยู่ในการปกครองของเขตบางกะปิ พ.ศ 2540 กระทรวงมหาดไทยจึงมีประกาศเปลีย่ นแปลงพื้นทีเ่ ขตการปกครองใหม่อกี ครัง้ โดยรวมพื้นที่ แขวงสะพานสูงและหมู่ท ี่ 7 -12 ของแขวงประเวศเขตประเวศจัดตัง้ ขึ้นเป็ นเขตสะพานสูง
พ. ศ. 2440 ได้รับการจัดตัง้ ขึ้นเป็ นอาเภอในรัชกาลที่ 5 ผู ้ทมี่ าตัง้ ถิ่น ฐานพวกแรกๆเป็ นชาวไทยและมุสลิมทีอ่ พยพมาจากหัวเมืองภาคใต้ โดยตัง้ ชุมชนตามแนวคลองแสนแสบ พ.ศ 2445 อาเภอหนองจอกก็ได้มาขึ้นอยู่กบั เมืองมีนบุรีซงึ่ เป็ นหัว เมืองทีต่ งั ้ ขึ้นใหม่ในมณฑลกรุ งเทพฯ พ.ศ 2474 จังหวัดมีนบุรีถูกยุบรวมเป็ นส่วนหนึ่งของจังหวัดพระนคร ส่วนอาเภอหนองจอกถู กโอนไปขึ้นกับจังหวัดฉะเชิงเทราแต่ เนื่องจาก ความไม่สะดวกในการเดินทางจึงได้ยา้ ยอาเภอหนองจอกมาเป็ นเขต การปกครองในจังหวัดพระนครในปี ถัดมา พ.ศ.2515 ได้รับการเปลีย่ นแปลงฐานะเป็ นเขตหนองจอกนับแต่ นนั ้ มา
พ.ศ 2445 ในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 ได้รวมท้องถิ่นอาเภอคลองสามวา กับอาเภออืน่ ๆอีก 3 อาเภอคืออาเภอแสนแสบอาเภอเทียนดับและ อาเภอหนองจอกรวม 4 อาเภอเป็ นเมืองและเรียกว่ามีนบุรี พ.ศ 2474 รัชกาลที่ 7 เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ ามีพระราชดาริยุบ ส่วนราชการบางส่วนเพือ่ ตัดทอนค่าใช้จ่ายภายในประเทศยุคจังหวัด มีนบุรีรวมเข้ากับจังหวัดพระนครขึ้นต่ อมณฑลกรุ งเทพมหานค รพ.ศ2515ประกาศของคณะปฏิวตั ิฉบับที่ 335 ได้ให้จงั หวัดมีนบุรีม ี ฐานะเป็ นเขตหนึ่งของกรุ งเทพมหานคร
พ.ศ 2470 เปลีย่ นชือ่ จากอาเภอแสนแสบเป็ นอาเภอลาดกระบังเพือ่ ให้ตรงกับ ชือ่ ตาบล ทีต่ งั ้ ทีว่ ่าการอาเภอและเป็ นพื้นทีป่ กครองของจังหวัดมีนบุรี พ.ศ 2474 จังหวัดมีนบุรีถูกยุบมารวมกันกับจังหวัดพระนครอาเภอลาดกระบังจึงย้าย มาขึ้นกับจังหวัดพระนครด้วย พ.ศ.2481 กระทรวงมหาดไทยได้ลดฐานะจากอาเภอลาดกระบังเป็ นกิง่ อาเภอ ลาดกระบังจนเมือ่ วันทีพ่ .ศ 2510 มีฐานะเป็ นอาเภอลาดกระบัง พ.ศ 2515 มีประกาศคณะปฏิวตั ิรวมจังหวัดพระนครกับจังหวัดชลบุรีเข้าด้ว ยกันเป็ น 22 นครหลวงกรุ งเทพธนบุรีและเปลีย่ นรู ปแบบเป็ นกรุ งเทพฯอาเภอลาดกระบังจึง เปลีย่ นแปลงฐานะเป็ นเขตลาดกระบังตัง้ แต่ นนั ้ มา 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
ปัญหำน้ำท่วมซำ้ ซำกของพื้นที่ สำเหตุหลักน้ำท่ วมกรุงเทพปั ญหาน้ าท่วมซ้ําซากในพื้น ที่ภาคกลางอาจเป็ น เรื่ อ งปกติ สาหรับคนทีอ่ ยู่กบั น้ าริมน้ าริมคลองทีค่ นุ ้ ชินกับการท่วมเกือ บทุ กปี แ ต่ ส าหรั บ แหล่ งชุ ม ชน เมืองอุตสาหกรรมแหล่งท่องเทีย่ วกาญท่วมจากแม่น้ าทีไ่ ม่เป็ นธรรมชาติย่อ มทาให้เกิดความ เสียหายมากมายกรณีมหาอุทกภัยปี 2554 เป็ นเหตุ การณ์ ทแี่ สดงให้เห็น ถึ งความผิ ดพลาด ในการประเมินธรรมชาติแสดงให้เห็นถึงข้อจากัดทางกายภาพหลายประการในการระบาย น้ าพื้นทีก่ รุ งเทพฯเกิดปั ญหาน้ าท่วมซ้ําซากมานานซึง่ แต่ ละพื้นที่ม ีความเสี่ย งแตกต่ า งกัน ออกไปโดยกรุ งเทพฯมีความสูงกว่าระดับน้ าทะเลปานกลางอยู่ท ี่ 1 -1.5 เมตรเท่านัน้ สภำวะน้ำท่ วมในพื้นที่ กรุงเทพมหำนคร ได้มคี รัง้ ทีร่ ุ นแรงทีส่ ุดในปี พ.ศ.2554 หลักๆเกิด จากพื้นทีส่ ูงกว่าระดับน้ าทะเลปานกลางเพียงเล็กน้อยเท่านัน้ และบางพื้น ที่ม ีล ักษณะพื้น ที่ เป็ นแอ่งกระทะและอีกสาเหตุ คอื การทีแ่ ผ่ น ดิน ทรุ ดจากการพัฒ นาและการมีส ิ่ง ก่ อ สร้ า ง เกิดขึ้นเรื่อยๆและพื้นทีก่ รุ งเทพฯฝั ่งตะวันออกมักจะมีน้ าท่วมในทุกๆพื้นที่จากการเป็ น แอ่ ง กระทะ
23 1102513 Urban Design Studio 3
URBAN ACTION
สังคม วัฒนธรรม ประชำกร ในอดีต
สังคม สภาพทางภูมศิ าสตร์ ของทีม่ อี ุดมสมบูรณ์ มคี วามสัมพัน ธ์ กับวิถีการ ดาเนินชีวติ มีวถิ ีชวี ติ ทีผ่ ู กพันอยู่แม่น้ า การสร้างทีอ่ ยู่อาศัยจะเลือก ทาเลทีใ่ กล้แม่น้ าและวัด หากน้ าเข้าไม่ถึงพื้นทีใ่ ด ชาวบ้านก็จะ ช่วยกันขุดคลองเพือ่ ให้มที างน้ าไหลผ่ าน เนื่องจากสะดวกต่ อการ เดินทางทางเรือปลูกบ้านเรือนเป็ นแพ การประกอบอาชีพประมง ค้าขาย การเกษตร
วัฒนธรรม มีร่องรอยทางวัฒนธรรม เช่น มาเลย์-จาม , ชวา-มลายู , ตระกูลลาวไทย ภายหลังยังมีตระกูลจีน-ทิเบตเข้ามาผสมด้วย - สมัยรัชกาลที่ 1 เกณฑ์คนจากเขมร ลาว - สมัยรัชกาลที่ 2 มีมอญเข้ามาสวาภิภกั ดิ ์ - สมัยรัชกาลที่ 3 กวาดต้อนลาวเข้ามา ชาวตะวันตกหลายเชื้อชาติ ทังฝรั ้ งเศส ่ ฮอลันดา โปรตุ เกส เปอร์ เซีย ก่อให้เกิดวัฒนธรรมทีห่ ลากหลาย รวมไปถึงชาติพนั ธ์
ประชากร
ยุคแรกสามารถจาแนกเป็ นกลุ่มใหญ่แบบกว้างๆ ได้ 3 กลุ่ม คือ คนพื้นเมืองดังเดิ ้ ม , คนต่ างชาติภาษา “นานา ประเทศ” และคนสยาม ยุคต้นกรุ งเทพฯ ย่อมต้องมีประชากรน้อยกว่านั น้ โดย คาดว่าน่ ำจะมีเพียง 1-2 แสนคน ซึง่ มีจานวนผู ้ชาย เยอะกว่าผู ้หญิง
สังคม วัฒนธรรม ประชำกร ในปัจจุบนั - มีสงิ่ อานวยความสะดวกทางสังคม - มีสาธารณู ปโภคต่ างๆ - เป็ นศูนย์กลางอุตสาหกรรมและการค้า การบริการ - มีสถานบันสถานศึกษาชัน้ นาของประเทศทีก่ ระจุก ตัวอยู่ภายในพื้นที่ - มีความเชือ่ มโยง/แลกเปลีย่ นระหว่างคนในชุมชน และ สถานศึกษา
- มีความหลากหลายในเรื่องชาติพนั ธ์ ศาสนา - มีวฒ ั นธรรมประเพณี ซึง่ ผสมผสานจนกลมกลืน ภายในสังคมจนเป็ นสังคมทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะ - มีขนบธรรมเนียมทีเ่ ป็ นเอกลักษณ์ เป็ นของตน
สถิติประชากรตามทะเบียนราษฎร กรุ งเทพมหานคร ในปี พ.ศ. 2563 มีประชากร 5,588,222 คน
จานวนประชากร เพศ หญิง 2,962,284 จานวนประชากร เพศ ชาย 2,625,938
ปั ญหำที่ พบ การปรับตัวของแรงงาน ได้สร้างปั ญหาด้านทีอ่ ยู่อาศัยและชุ มชนแออัด ก่อให้เกิดปั ญหาด้านคุณภาพชีวติ
24
1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
ข้อมูลกำรสำรวจพื้นที่ คมนำคม พื้นที่ทำงศำสนำ ผลิตภัณฑ์ ร้ำนอำหำร เส้นทำงท่องเที่ยว
ถนนกาญจนาภิเษก ถนนกร งุ เทพ-ชลบุร ี
ถนนรามคาแหง ถนนร ม่ เกล้า ถนนศร นี คร ินทร ์-ร ม่ เกล้า ถนนรามอินทรา ถนนสุวนิ ทวงค์ ถนนเสร ไี ทย ถนนมีนพัฒนา ถนนลำดกระบัง ถนนหลวงแพ่ ง ถนนฉลองกร ุง ถนนเจ้าคุณทหาร ถนน คุ้ม เกล้า ถนนหทัยราษฎร13 ถนนนิม ิตใหม่ ถนนเลียบวาร ถี นนเชือ่ มสั มพันธ์ ถนนทหารอุทศ ิ
25 1102513 Urban Design Studio 3
URBAN ACTION
กำรท่องเที่ยว
ตลำดน้ำขวัญเรียม
สวนสยำม
เดอะ พำซิโอมอลล์
พิ พิ ธภัณฑ์ทอ้ งถิน ่ พิ พิ ธภัณฑ์เรือจิว๋
วัด บางเพ็ งเหนือ
วัดพระยาสุ เรนท์
วัด ประยงค์กต ิ ติ วนาราม
ตลาดเก่ามีนบุร ี
ตลาดไม้ห ัวตะเข้
ตลำด100ปี หนองจอก
ตลาดน้าบึงพระยา
แฟชันไอส์ ่ แลนด์
วันเดอร์เวิลด์
สยำม เซอร์เพนทำเรียม
วัดลำดบัวขำว
วัดลำนบุญ
วัดลำดกระบัง
26
1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
ข้อมูลพื้นที่ทงั ้ 6 เขต เขตคันนายาว
•ทิศเหนื อ ติดต่ อกับเขตบางเขนและเขตคลองสามวา •ทิศตะวันออก ติดต่ อกับเขตคลองสามวาและเขตมีนบุรี
•ทิศใต้ ติดต่ อกับเขตสะพานสูง •ทิศตะวันตก ติดต่ อกับเขตบึงกุ่ม
27 1102513 Urban Design Studio 3
จุดรวมของกิจกรรมและจุดหมำยตำ สวนสยาม นิคมอุตสาหกรรมบางชัน (ส่วนเขตคันนายาว) โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี วัดราษฎร์ ศรัทธาธรรม (วัดบางชัน) วัดคลองครุ เทคโนโลยีดุสติ รามอินทรา โรงเรียนคันนายาว (ธารินเจริญสงเคราะห์) โรงเรียนจินดาบารุ ง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์ วชิระ แฟชันไอล์ ่ แลนด์ สนามกอล์ฟนวธานี สนามกอล์ฟ ปั ญญาอินทรากอล์ฟคลับ
ถนนกาญจนาภิเษก ถนนรามอินทรา
ถนนเสรีไทย ขนส่งมวลชนทางราง - รถไฟฟ้ าสายสีชมพู (กาลังก่อสร้าง)
URBAN ACTION
เขตสะพำนสูง
ถนนกาญจนาภิเษก •ทิศเหนื อ ติดต่ อกับเขตบึงกุ่มและเขตคันนายาว •ทิศตะวันออก ติดต่ อกับเขตมีนบุรีและเขตลาดกระบัง
ถนนรามคาแหง (สุขาภิบาล 3) รถไฟฟ้ าสายสีสม้ (กาลังก่อสร้าง)
•ทิศใต้ ติดต่ อกับเขตประเวศและเขตสวนหลวง •ทิศตะวันตก ติดต่ อกับเขตบางกะปิ
จุดรวมของกิจกรรมและจุดหมำยตำ •วัดลาดบัวขาว •มัสยิดอัลยุซรอ (หลอแหล) •มัสยิดนู รุ้ลเอีย๊ ะห์ซาน (ทับช้างบน) •หอศิลป์ ช่วง มูลพินิจ •โรงเรียนสุเหร่ าทับช้างคลองบน •โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า •สมาคมพิทกั ษ์ สตั ว์ (ไทย) •โรงเรียนศรีพฤฒา
28 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
เขตมีนบุรี
• ทิศเหนื อ ติดต่ อกับเขตคลองสามวา • ทิศตะวันออก ติดต่ อกับเขตหนองจอก
• ทิศใต้ ติดต่ อกับเขตลาดกระบัง • ทิศตะวันตก ติดต่ อกับเขตสะพานสูง และเขตคันนายาว
• ถนนรามอินทรา • ถนนสีหบุร านุ กจิ • ถนนเสรีไทย • ถนนรามคาแหง • ถนนร่ มเกล้า
• ถนนสุวน ิ ทวงศ์ • ถนนนิมติ ใหม่ • ถนนหทัยราษฎร์ • ถนนประชาร่ วมใจ • ถนนราษฎร์ อุทศิ
ทำงแยกในพื้นที่ • แยกเมืองมีน
• แยกสีหบุรานุ กจิ • แยกรามคาแหง-ร่ มเกล้า • แยกรามคาแหง-สุวน ิ ทวงศ์ • แยกร่ มเกล้า -สุวน ิ ทวงศ์ • แยกราษฎร์ อุทศิ
• แยกบางชัน • แยกลาดบัวขาว
29 1102513 Urban Design Studio 3
• แยกเคหะร่ มเกล้า • แยกนิมติ ใหม่
URBAN ACTION
เขตหนองจอก
ทิศเหนื อ ติดต่ อกับอาเภอลาลูกกา (จังหวัดปทุมธานี)
ทิศตะวันออก ติดต่ อกับอาเภอบางน้ าเปรี้ยวและ อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา (จังหวัดฉะเชิงเทรา) ทิศใต้ ติดต่ อกับเขตลาดกระบัง
เส้นทำงถนนสำยหลักในพื้นที่ ถนนสุวนิ ทวงศ์ ถนนเชือ่ มสัมพันธ์ ถนนฉลองกรุ ง ถนนอยู่วทิ ยา ถนนร่ วมพัฒนา ถนนสังฆสันติสุข ถนนทหารอากาศอุทศิ ถนนเลียบวารี ถนนมิตรไมตรี ถนนประชาสาราญ
ทิศตะวันตก ติดต่ อกับเขตมีนบุรีและเขตคลองสามวา
จุดรวมของกิจกรรม และ จุดหมำยตำ -ตลาด 100 ปี หนองจอก -มัสยิดอัลฮุสนา มัสยิดแห่งแรกหนองจอก -หอนาฬิกาหนองจอก
-มัสยิดกมาลุลอิสลาม ระหว่างมีนบุรี
30 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
เขตคลองสำมวำ
ทิศเหนื อ ติดต่ อกับอาเภอลาลูกกา (จังหวัดปทุมธานี) ทิศตะวันออก ติดต่ อกับเขตหนองจอก ทิศใต้ ติดต่ อกับเขตมีนบุรี ทิศตะวันตก ติดต่ อกับเขตคันนายาว เขตบางเขน และเขตสายไหม
จุดรวมของกิจกรรม และ จุดหมำยตำ
31 1102513 Urban Design Studio 3
-ซาฟารีเวิลด์ -บางกอกฟาร์ ม -มัสยิดมาลุลอิสลาม -มารีนปาร์ ค -วัดแป้ นทองโสภาราม -วัดพระยาสุเรนทร์ -วัดลากระดาน -วัดสัมมาชัญญาวาส (วัดใหม่) -แหล่งเพาะพันธุ์ปลาสวยงาม
ถนนกาญจนาภิเษก ถนนนิมติ ใหม่ ถนนหทัยราษฎร์ ถนนพระยาสุเรนทร์ ถนนปั ญญาอินทรา ถนนไมตรีจติ ถนนประชาร่ วมใจ
URBAN ACTION
เขตลำดกระบัง
ทิศเหนื อ ติดต่ อกับเขตมีนบุรีและเขตหนองจอก ทิศตะวันออก ติดต่ อกับอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา ทิศใต้ ติดต่ อกับอาเภอบางบ่อ อาเภอบางเสาธง และอาเภอบางพลี (จังหวัดสมุทรปราการ)
ถนนสำยหลัก ถนนมอเตอร์ เวย์ ถนนร่ มเกล้า ถนนกิง่ แก้ว ถนนลาดกระบัง ถนนสุวรรณภูม ิ ถนนเจ้าคุณทหาร ถนนฉลองกรุ ง ถนนหลวงแพ่ง ถนนขุมทอง-ลาต้อยติ่ง
ทิศตะวันตก ติดต่ อกับเขตประเวศและเขตสะพานสูง
จุดรวมของกิจกรรม และ จุดหมำยตำ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบั ง ยกรุ งเทพสุวรรณภูม ิ มหาวิ ทยาลั โรงเรียนเทพศิรินทร์ ร่มเกล้า ตลาดหัวตะเข้ สวนพระนคร นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง สวนนกธรรมชาติหลังนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง วัดลาดกระบัง วัดลานบุญ
32 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
ข้อมูลเชิงสถิติ
33 1102513 Urban Design Studio 3
URBAN ACTION
เขต
ชื่อ
หมายเหตุ
โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
595
โรงพยาบาลสิ นแพทย์
300
โรงพยาบาลนวมินทร์ 1
180
โรงพยาบาลนวมินทร์ 9
245
โรงพยาบาลเสรีรักษ์
164
อยู่ระหว่างการขยายเป็น 238 เตียง
ลาดกระบัง
โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร
60
อยู่ระหว่างการขยายเป็น 200 เตียง
สะพานสู ง
โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ รามคาแหง
139
คันนายาว
มีนบุรี
รวม เป็นการแสดงข้อมูลที่อยู่อาศั ยที่สร้างขึ้นทั้งจานวนบ้านเดี่ยวที่ สร้างขึ้นเอง ที่เป็นบ้านเดี่ยวจัดสรร ทาวเฮ้ าส์ อาคารพาณิ ช ย์ อาคารชุด และการใช้ประโยชน์ที่ดิน ที่มีการแสดงให้ เ ห็ น ว่ า มี การใช้ประโยชน์ที่ดินด้านใดบ้างรวมถึงราคาที่ดิน และจ านวน ประชากรด้วยและจะเห็นว่ามีการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่ อ การอยู่ อาศั ยเป็นจานวนมากอยู่ในเขตลาดกระบัง หนองจอก คลอง สามวา มีนบุรี คันนายาว สะพานสู งตามล าดั บ เหตุ เ พราะมี แหล่งงาน สถานศึ กษาชั้นนา เดินทางสะดวกและอี ก หลายๆ เหตุผล
จานวน
คลองสามวา
อยู่ระหว่างการขยายเป็น 600 เตียง
1683 โรงพยาบาลคลองสามวา
250
-
โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
595
-
โรงพยาบาลสิ นแพทย์
600
-
โรงพยาบาลนวมินทร์ 1
180
-
โรงพยาบาลนวมินทร์ 9
245
-
โรงพยาบาลเสรีรักษ์
238
-
โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร
200
-
โรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร
60
-
สะพานสู ง
โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ รามคาแหง
139
-
หนองจอก
โรงพยาบาลเวชการุณย์รศ ั มิ์
106
-
คันนายาว
มีนบุรี
ลาดกระบัง
รวม
2553
34 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
ข้อมูลควำมต้องกำรของประชำกร ผัง การใช้ ประโยชน์ ท ี่ดน ิ ปี 2 556
ผัง การใช้ ประโยชน์ทด ี่ น ิ ปรับ ปรุงครั้งที4 ่
ผัง แสดงการ ใช้ทด ี่ น ิ ใน การพั ฒนา
ข้อเสนอแนะอื่นๆ ิ นค้ำของคนในชุมชน ให้ เป็ นที่ ร้จู กั -พัฒนำตลำดให้ มีคณ ุ ภำพและเชื่อมันในส ่ -อยำกให้ มีรถไฟฟ้ ำทัว่ ถึงและเพิ่มรถไฟฟ้ ำให้ เพียงพอต่ อควำมต้ องกำรใช้ -ปรับปรุงรถสำธำรณะให้ ได้คณ ุ ภำพและทันสมัย -แก้ไขปั ญหำน้ำท่ วม -ฝำท่ อระบำยน้ำชำรุดอยำกให้ ดแู ลให้ ดีกว่ำนี้ เพื่อควำมปลอดภัยของประชำชนที่ ใช้เดินเป็ นประจำ -พัฒนำสถำนที่ ท่องเที่ ยวให้ มำกขึ้น พัฒนำด้ำนธุรกิจ ทำเป็ นแหล่งท่ องเที่ ยว -อยำกให้ มีห้ำงสรรพสินค้ำใหญ่ๆ -โรงงำนอุตสำหกรรมควรใส่ใจสิ่งแวดล้อมมำกขึ้น เพื่อลดกำรเกิดปั ญหำมลพิษตำมมำ -พัฒนำฝี มือและฝึ กอำชีพให้ คนในพื้นที่ ได้มีงำนทำ ในเขตพื้นที่ ที่อำศัยอยู่ -อยำกให้ หันมำสนับสนุนเกษตรกร ให้ ควำมรู้และส่งเสริมอำชีพนี 35 1102513 Urban Design Studio 3
ผัง แสดงทีต ่ ง้ ั โรงพยาบาลเดิม
ผัง แสดงทีต ่ ง้ ั โรงพยาบาล ในอนาคต
URBAN ACTION
ผังแสดงระดับ ควำมสูง ของพื้นที่
ผังแสดงกำร สัญจรทำงรำง
ผังแสดงน้ำท่ วม 2553
ผังแสดงกำร สัญจรทำงเรือ ผังแสดงน้ำท่ วม 2554
ผังแสดงคลอง แหล่งน้ำ
ผังแสดงข้อมูล คำดกำร ประชำกร 2563
ผังแสดงกำร สัญจรทำงรถ
ผังแสดง สถำนที่ สำคัญ 36 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
กำรวิเครำะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกำส อุปสรรค
1.มีคลองสาคัญตัดผ่านในพื้ นทีท ่ ต ี่ ่อจากพื้ นที่
1.บางพื้ นทีต่ ่ากว่า 0 เมตร ท าให้เกิดน้า
1.มีรถไฟฟ้าสองสายทีจะเปิ ่ ดใช้ใน
คลองในเขตบางกะปิทมี่ ีการสั ญจรทางน้า
ท่ว มอยูบ ่ อ่ ยครั้ง
อนาคต
2.มีนค ิ มอุตสาหกรรม ที่ต้งั เป็นศูนย์กลางของ 2ผังการใช้ประโยชน์ทดิี่ นปั จจุบน ั ทาให้
2.มีคลองตัดผ่านในพื้ นทีม่ ีโอกาสด้าน
กทม. ตะวันออก และเป็นจุดรวมเส้ นทางสาย พื้ นที่สีเขียวและสี เหลืองทาให้เห็นการ
การเป็นการสั ญจรทางน้าได้
ส าคัญ3.ใกล้สนามบินดอนเมืองกรุงเทพชั้นใน แบ่งแยกกันในการพั ฒนาของแต่ละพื้ นที่
3.การจะมีรพ.ด้านนวัตกรรมทาง
และใกล้น ิคมอุตสาหกรรม
3.การคมนาคมบางทีขาดการเชือ่ มต่อที่
การแพทย์ของไทยและอาเซียน
4.มีผลิตภัณฑ์ชม ุ ชน มีมหาวิทยาลัยในพื้ นที่
ต่อ เนือ่ ง
4.มีแหล่งเกษตรกรรมขนาดใหญ่ของ
และรถไฟในพื้ นที่ 5.มีย ่านทีอ่ ยูอ่ าศั ยเป็น จ านวนมาก มีพื้นทีก ่ ว้างมากพอ 6.รองรับการพั ฒนาในอนาคต พื้ นทีต ่ ิดเขต พื้ นที่ EEC
37 1102513 Urban Design Studio 3
กรุง เทพ
1.การขยายตัวเมืองทาให้ดา้ น
โครงสร้างอาจจะไม่มค ี ณ ุ ภาพและ ไม่เ พี ยงพอ 2.บางบริเวณผังสี ครอบคลุมกาหนด เป็ น สี เขียวและสี ขาวทแยงเขียวอาจมี ข้อ จ ากัดด้านการพั ฒนาในอนาคต
URBAN ACTION
แนวคิดกำรพัฒนำ
พัฒนำแหล่งที่ อยู่อำศัย เพิ่มพื้นที่ สำธำรณะ ให้ ผ้คู นมีสุขภำวะที่ ดี
พัฒนำพื้นที่ ด้ำนสุขภำวะ ส่งเสริมกำรเป็ นแหล่งที่ อยู่ของผู้สูงวัย และผู้มำรับบริกำรทำงกำรแพทย์
พัฒนำแหล่งเรียนรู้เพิ่อเป็ นแหล่งอำหำรคนเมือง ยกระดับกำรเกษตรเป็ นกำรเกษตรนวัตกรรมเชิง สร้ำงสรรค์ ยกระดับผลผลิตเป็ นอำหำรแปรรูป
พัฒนำริมคลองยกระดับเศรษฐกิจชุมชน เป็ นทำงเลือกของที่ อยู่อำศัยแห่ งใหม่ เป็ นเมืองสุขภำวะและส่งเสริมกำรท่ องเที่ ยวเชิง สุขภำพ
ยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนพัฒนำเส้นทำง เชื่อมต่ อคมนำคม เป็ นศูนย์กลำงของกรุงเทพฯฝัง่ ตะวันออก
เป็ นศูนย์กลำงด้ำนกำรเดินทำงและบริกำรด้ำนต่ ำงๆ ปรับปรุงพื้นที่ ริมคลองและกำรจัดกำรน้ำ เพิ่มพื้นที่ สีเขียวให้ เมือง เป็ นเมืองน่ ำอยู่ส่งเสริมกำร ท่ องเที่ ยว พัฒนำพื้นที่ เป็ นอุตสำหกรรมสีเขียว ลกกำรก่อ มลพิษ สู่กำรเป็ นนิคมอุตสำหกรรมไร้มลพิษ ฟิ้นฟูและปรับปรุงภูมิทัศน์ พัฒนำสู่ศนู ย์กลำงเศรษฐกิจด้ำนกีฬำ เป็ นพื้นที่ กิจกรรมนันทนำกำร กีฬำ ของกรุงเทพฯฝัง่ ตะวันออก
พัฒนำพื้นี่ เป็ นพื้นที่ พกั ผ่อนและ ย่ำนธุรกิจ ยกระดับ นวัฒกรรมทำง กำรแพทย์ 38 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
กำรกำหนดวิสยั ทัศน์ เป้ ำหมำยและแนวคิด
Vision ศูนย์กลำงแหล่งอำหำร ขันเคลื่อนผลผลิตและผลิตภัณฑ์ ชุมชน ยกระดับเศรษฐกิจและ ส่งเสริมนวัตกรรมกำรแพทย์ ผลักดันสู่เมืองสิ่งแวดล้อม สร้ำงสรรค์
Urban Resilience
TOD
Goals 1.เป็ นพื้ นที่ ของกำรเป็ นศูนย์กลำงทำงแหล่งอำหำรของ กรุงเทพฝัง่ ตะวันออก 2.ขับเคลื่อนและส่งเสริมผลผลิตและผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่กำรค้ ำ และกำรส่งออก 3.ส่งเสริมกำรท่ องเที่ ยวรูปแบบต่ ำงๆเพื่ อยกระดับเศรษฐกิจ 4.ขับเคลื่อนและผลักดันให้ พื้นที่ มีควำมเป็ นสิ่งแวดล้อม สร้ำงสรรค์มีควำมน่ ำอยู่ควบคู่กบั กำรเป็ นพื้ นที่ เชื่ อมโยง เศรษฐกิจในระดับต่ ำงๆ 5.ส่งเสริมและสร้ำงผลิตผลทำงกำรเกษตรเพื่ อกำรแปรรูปและ ส่งออก 6.ส่งเสริมกำรเกษตรอัจฉริยะ ใช้ นวัตกรรมต่ ำงๆนับแต่ ผลิต จนถึงกำรส่งออก 39 1102513 Urban Design Studio 3
Sponge City
Urban Farming
Livable City
Smart City
URBAN ACTION
วิสยั ทัศน์และกำรกำหนดกำรพัฒนำแต่ละเขต
คลองสำมวำ “พัฒนาเป็ นพื้นทีร่ องรับผู ้มาใช้บริการ ด้านสุขภาพและการเป็ นเมืองสุขภาวะ” เน้นพัฒนาพื้นทีเ่ พือ่ การรองรับการอยู่ อาศัย สุขภาวะ ผู ้ใช้บริการ และโครงข่าย การสัญจร
หนองจอก “เป็ นพื้นทีก่ ารท่องเทีย่ วเชิง สุขภาพ ผลักดันเศรษฐกิจของชุมชน ยกระดับการทาเกษตรให้เป็ นการเกษตร กรรมสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป” เน้นการพัฒนาทีส่ ่งเสริมด้านการ ท่องเทีย่ วเชิงสุขภาะ และเชิงวัฒนธรรม ผลักดันการทาเกษตรรู ปแบบใหม่ๆ
คันนำยำว “พื้นทีเ่ ศรษฐกิจเชือ่ มโยงการเดินทาง ผลักดันผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่การส่งออก” เน้นผลักดันและยกระดับผลิตภัณฑ์ ชุมชนเพือ่ การส่งออก และการพัฒนาพื้นที่ เศรษฐกิจตามแนว TOD
มีนบุรี “ศูนย์กลางการเดินทางสะดวกแหล่งรวม อาหารคนเมืองเป็ นเมืองหลักของกรุ งเทพฯ ฝั ่งตะวันออก” เน้นการเป็ นเมืองศูนย์กลางของ กรุ งเทพฯฝั ่งตะวันออกทีม่ คี วามน่ าอยู่ น่ า ลงทุน น่ าท่องเทีย่ ว และการเป็ นศูนย์กลาง โครงข่ายการเดินทางโดยระบบขนส่ง สาธารณะ
สะพำนสูง “พัฒนาพื้นทีเ่ พือ่ ส่งเสริมการกีฬา ผลักดันเป็ นศูนย์รวมพื้นทีก่ จิ กรรมคน เมือง” เน้นการพัฒนาเพือ่ ส่งเสริมสุขภาวะและ การส่งเสริมให้เป็ นศูนย์กลางด้านการกีฬา ของกรุ งเทพฯฝั ่งตะวันออก
ลำดกระบัง “ชุมชนอัจฉริยะเชือ่ มโยงการพัฒนาเพือ่ รองรับการเติบโตทางเศรษฐกิจและ นวัตกรรมทางการแพทย์” เน้นการพัฒนาเพือ่ ส่งเสริมการศึกษา เศรษฐกิจ และบริการต่ างๆรวมถึงด้าน การแพทย์ดว้ ย
40 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
-----------------The Common Capital----------------
ที่ ตงั ้ โครงกำร 41 1102513 Urban Design Studio 3
ถนน ลำดกระบัง เขตลำดกระบัง ใกล้กบั สถำนี บริกำร NGV PTT
URBAN ACTION
MAP
DETAIL Parking
พื้นที่กิจกรรม และพื้นที่สำธำรณะ
The Common Capital ในตัวของโครงกำรจะมี คำเฟ่ บริกำรอำหำรและเครือ่ งดื่ ม อีก ทังยั ้ งออกแบบให้ เป็ นพืน้ ที่ ที่ สำมำรถทำงำนได้ในตัว
Café ร้ำนอำหำร เครื่องดื่ม
พื้นที่จำหน่ำยผลิ ตภัณฑ์ชุมชน In Door / Out Door The Common Capital
The Common Capital ในตัวของสวนสำธำรณะ สำมำรถพักผ่อนหรือทำกิจกรรม ได้ หลำยรูปแบบ ไม่ว่ำจะเป็ น กิจกรรมครอบครัว กำรพบปะ พูดคุยกับคนในชุมชน
USER คนในพื้นที่
นักลงทุน
นักท่องเที่ยว
นักเรียน/นักศึกษำ
โครงกำร The Common Capital The Common Capital เป็ นพื้นทีศ่ กึ ษาเรียนรู ้ และยังเป็ นพื้นทีจ่ าหน่ ายผลิตภัณฑ์ชุมชนรองรับ นักท่องเทีย่ วอีกทัง้ ยังมีพ้นื ทีส่ าธารณะและพื้นทีส่ ่วนกลางรองรับผู ้ท จี่ ะเข้ามาได้อกี ด้วย The Common Capital ยังเป็ นพื้นทีท่ เี่ ปิ ดให้นักลงทุนและผู ้ทมี่ ผี ลิตภัณฑ์ทจี่ ะมาต่ อยอดหรือจาหน่ าย ได้ ภายใต้แนวคิด Smart city
The Common Capital ในตัวของ The Common Capital เองก็มีพื้นที่ส่วนกลำงทีเ่ ปิดโล่ง และมีพื้นที่พกั ผ่อนย่อนใจ ทำงด้ ำนบนของตัวอำคำร
42 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
-----------------URBAN FARM ----------------ศูนย์กำรเรียนรู้ ท่องเที่ยววิถีเกษตร ยกระดับผลผลิตทำงกำร เกษตร ที่ ตงั ้ โครงกำร 43 1102513 Urban Design Studio 3
ถนน เชื่อมสัมพันธ์ เขตหนองจอก ติดกับมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีมหำนคร
URBAN ACTION
MAP
DETAIL พื้นที่รองรับน้ ำ
พื้นที่เพำะปลูก
กำรใช้พลังงำนสะอำดทีเ่ ป็ นมิตรต่ อ สิ่งแวดล้อม ที่คอยจ่ำยไฟฟ้ ำสำหรับ พื้นที่โครงกำร ช่วยประหยัดต้นทุนในกำรผลิต
พื้นที่เก็บสิ นค้ำ และแปรรูป
โรงเรือนเพำะปลูก
โฮมสเตย์
ศู นย์กำรเรียนรู ้
USER เกษตรกร
นั ดลงทุ น
นั กท่องเที่ยว
คนในพื้นที่
โครงกำร URBAN FARM เป็ นพื้นที่สำหรับผลิตอำหำรแก่คนในเมือง ที่จะช่วยลดกำรใช้พลังงำนในด้ำนต่ำงๆ และยังเป็ นพื้นที่ในกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมกำรเกษตร อีกทังยั ้ งเป็ นสถำนทีท่ ่องเทีย่ วเชิง เกษตรนวัตกรรม และพื้นทีพ่ กั ผ่อน ภำยใต้ แนวคิด SMART ENVIRONMENT
Green house ออกแบบสำหรับ เพำะปลูก ช่วยในกำรควบคุม ศัตรูพืชและปัจจัยในด้ ำน สิ่งแวดล้อม ที่เหมำะสมแก่กำร เจริญเติบโตให้ ปลอดภัยจำกสำรพิษ ตกค้ ำง
พื้นที่เพำะปลูกที่เปิดโล่ง โดยใช้ นวัตกรรมกำรเกษตรในกำร เพำะปลูก เพื่อเพิ่มมูลค่ ำ รวมถึง กำรแบ่งพื้นที่ให้ เกิดประโยชน์ สูงสุด ภำยใต้ เกษตรทฤษฎีใหม่
44 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
-----Nursing Hub ศู นย์พยาบาลผูส ้ ู งวัย-----
ที่ต ั้งโครงการ 45 1102513 Urban Design Studio 3
ถนน ไมตรีจต ิ เขตคลองสามวา ใกล้กบ ั โรงพยาบาลคลองสามวา
URBAN ACTION
MAP
DETAIL
พื้นทีอ่ อกกาลังกาย
พื้นทีน่ ั ่งเล่น
Nursing พื้นที่ตลำด ในสวนของตลำดนัน้ ทำขึน้ เพื่อให้ ผ้ใู ช้งำนได้ มีกิจกรรม กำร เลือก สินค้ ำหรืออำหำรเพื่อ สุขภำพ
ลานกิจกรรมกลางแจ้ง พื้นทีส่ วนสาธารณะ อาคารทีพ่ กั อาศัยและ พื้นทีก่ ิจกรรม ภายในอาคาร
โครงกำร Nursing Hub ศูนย์พยำบำลผู้สูงวัย Nursing Hub เป็ นพื้นทีเ่ กีย่ วกับ การอยู่อาศัย และทากิจกรรมของ คนสูงวัย สร้างขึ้นเพือ่ รองรับกับการใช้งาน ของคนทีม่ อี ายุมาก เพือ่ เข้ามาทากิจกรรม และพบปะ สังคม
Nursing พื้นที่สวนสำธำรณะ ส่วนของสวนสำธำรณะ มีไว้ เพื่อให้ ผ้ใู ช้งำนได้ ออกมำผ่อน คลำย อยู่กบั ธรรมชำติ และพื้นที่สี เขียว ทำให้ ไม่เครียด เป็ นชุด ที่ สำมำรถพบปะและทำกิจกรรม ร่วมกันได้
Nursing พื้นที่ลำนกลำงแจ้ง เป็ นพื้นที่จดั กิจกรรมนันทนำกำร และพื้นที่ ทำกิจกรรมร่วมกันของ คนในพื้นที่
46 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
---- SPORTS COMMUNITY ----
47 1102513 Urban Design Studio 3
ที่ต ั้งโครงการ
ซ.กาญจนาภิเษก 12 แขวงทับช้าง เขตสะพานสู ง ใกล้กบ ั วัด ลาดบาขาว (ราชโยธา)
URBAN ACTION
MAP
DETAIL THE COMMUNITY SPORTS MUSEUM SAPHAN SUNG UNION
THE COMMUNITY SPORTS MUSEUM
เป็ นอาคารใช้สาหรับบอกเล่าเรือ่ งราว ของกีฬาไทย และกีฬาต่างๆทีน่ ่ าสนใจ มีพ้นื ทีใ่ ห้ใช้เป็ นกีฬาในร่ม
สระน้าส าหรับกีฬา ทางน้า
โซนพักผ่อ น
สนามกีฬา
อาคาร SPORTS COMMUNITY
สนำมกีฬำต่ ำงๆ
มีสนำมกีฬำรองรอบผู้ที่จะมำใช้งำน ทังคนในพื ้ ้นที่และนอกพื้นที่
USER นักกีฬา
นักท่อ งเทีย่ ว
คนในพื้นที่
โครงกำร SPORTS COMMUNITY เป็ นพืน้ ที่สาหรับออกกาลังกายตอบโจทย์ชุมชนในพืน้ ที่ และผูค้ นที่สนใจในเรื่องสุขภาพ ทัง้ ด้านร่างกายและด้านจิตใจ เพือ่ ให้เข้ากับแนวคิด LIVABLE CITY ที่จะทาให้เมืองน่ าอยู่ด้วยการเป็ นเมือง HEALTHY CITY เปิ ดโอกาสให้มกี ารเข้าถึงกิจกรรม และทรัพยากรภายในเมืองอย่างทัว่ ถึง สนั บสนุ นนวัตกรรมทางเศรษฐกิจ ส่งเสริมให้เกิดความหลากหลายในกิจกรรม ให้ม ชี ีวติ ชีวา
สระน้ า มีพ้นื ทีส่ าหรับทากิจกรรม ออกกาลัง กายในน้ า และ สวนสาธารณะ
48 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
---- Health Tourism ----
49 1102513 Urban Design Studio 3
ที่ต ั้งโครงการ
ถ. เรีย บวารี เขตหนองจอก
URBAN ACTION
Zone A
Zone A การท่อ งเทีย่ ว เพื่อ ทากิจกรรมส่ง เสริมสุขภาพ หรือ การบาบัดรักษาฟื้ นฟูส ุขภาพ เช่น การรับ คาปรึกษาแนะนาด้านสุขภาพ การออกกาลัง กายอย่างถูกวิธี การนวด/ อบ/ ประคบสมุนไพร การ ฝึ กปฏิบัติส มาธิ ตลอดจน การตรวจร่างกาย การรักษาพยาบาล
Zone B Zone B ชมรมพัฒนาไก่ชนไทย ฟาร์มไก่ชน - ศูนย์รวมความรู้เรื่องเกี่ยวกับ ไก่ชน
Zone C HEALTH TOURISM
Zone C
เป็ นพื้นทีท่ ่องเทีย่ วเชิงสุขภาพ ทีม่ อี าคารรองรับสาหรับนักท่องเทีย่ วและมีพน้ ื ทีส่ าหรับกีฬา กลางแจ้งและมีกิจกรรมเชิงสุขภาพต่างๆ พร้อมกับมีสวนสาธารณะสาหรับพักผ่อนหย่อนใจ ลานเต้นแอโรบิกและยังมีทพี่ ักริมแม่น้ าพร้อมสวนผักปลอดสารพิษ
SITE 4.9 ไร่ หรือ ประมาณ 5 ไร่ Location โรงพยาบาลเวชการุณย์รศั มิ ถ์ . เลียบวารี แขวง กระทุ่มราย เขต หนองจอก
สวนสาธารณะสวยๆในเมือง เพือ่ ให้คนในเมืองเที่ยวพักผ่อน พักกายพักใจหลบความ วุน่ วายในสังคมเมือง อยากมาพักผ่อน ออกกาลังกาย
Zone A
Zone B
Zone C
กรุงเทพมหานคร 10530
ELEVATION
50 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
------Health Tourism พื้นที่รองรับผู้มาใช้บริการด้านสุขภาพ-----
51 1102513 Urban Design Studio 3
ที่ตั้งโครงการ
ถ.ไมตรีจต ิ เขตคลองสามวา ติด กับโรงพยาบาลคลองสามวา
URBAN ACTION
MAP
พื้นที่ สปา
พื้นทีน่ ั ่งเล่น พื้นที่ อาคารพักผ่ อน
DETAIL โซนพื้นที่ต้อนรับผู้มำติดต่อใช้ บริกำร
พื้นทีต่ ้อนรับ
ลานจอดรถ พื้นที่พกั อำศัย เป็ นตัวอำคำรมี ควำมเป็ นโฮมสเตย์ และเป็ นพื้นที่ ที่มีควำมเป็ นธรรมชำติ
โครงกำร Health Tourism พื้นทีร่ องรับผู้มาใช้บริการด้านสุขภาพเป็ นพืน้ ทีพ่ กั ผ่อนใหม่สามารถรองรับ ผู้มาใช้บริการด้านสุขภาพ ทังก่ ้ อนและหลังการใช้บริการ มีทงแพทย์ ั้ แผนไทย พื้นทีพ่ กั ผ่อนต่างๆ เป็ นโครงการทีเ่ ป็ นส่วนหนึ่งของการบริการของโรงพยาบาลได้
ส่วนพื้นที่นั ่งเล่น เป็ นพื้นที่ผ่อน คลำย และพื้นที่พกั ผ่อน
52 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
--Water Management คลองฟลัดเวย์--
53 1102513 Urban Design Studio 3
URBAN ACTION
DETAIL
MAP ต้นไม้ในพืน้ ที่รับน้าหลาก
ต้นไม้ในพืน้ ที่รับน้าหลาก
ถนน
ถนน
ถนน ทีม่ ชี ่องจราจรกว้าง และอีก 1 ช่อง จราจรสาหรับ BRT
BTR
BTR
ทางจักรยาน
ทางจักรยาน
Bas stop
Bas stop สวนสาธารณะ/พืน้ ที่ พักผ่อน
Bas Stop เป็ นจุดสาหรับรอรถ BRT
สวนสาธารณะ/พืน้ ที่ พักผ่อน
พืน้ ที่ทาเกษตร
พืน้ ที่ทาเกษตร
โซนทีส่ องถัดจากถนน พื้นทีส่ าหรับ การพักผ่อนพร้อมทังลานกิ ้ จกรรม และสวนสาธารณะ
โครงกำร Water Management คลองฟลัดเวย์ เป็ นพื้นทีร่ มิ คลองทีส่ ามารถรองรับน้ าหลากพร้อมกับมีพื้นทีท่ าการเกษตรและมีพื้นที่ สาธารณะสาหรับการพักผ่อนและมีถนนทีม่ หี ลายช่องจราจรสาหรับรองรับการสัญจรให้ สะดวกมากขึ้น
โซนติดคลอง เป็ นโซนรองรับน้ า หลาก ประกอบไปด้วยพื้นทีท่ า การเกษตร พื้นทีป่ ลูกต้นไม้ดูดซับน้า และพื้นทีท่ าการประมง
54 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
SPONGE CITY น ามาปรับใช้ทงั้ กรุงเทพฝั่ งตะวันออก หลักการ Water-sensitive urban design “WSUD” แนวทางการออกแบบเมืองทีไ่ วต่อนา้
แนวทางการออกแบบเมืองทีไ่ วต่อน้า เพื่ อเป็ นการกรองน้า กักเก็บน้ าสมุด ลในเมือง ก่อ นลงสู่ สมดุลน้ าตามธรรมชาติ
RAINWATER TANKS ถัง เก็บน้าฝน
CONSTRUCTED WETLANDS พื้ นที่ชุ่มน้ ำ
RAINGARDENS
55
SWALES อ้างอิงข้อมูลจาก Nature-Based solutioNs for Cities iN Viet Nam
1102513 Urban Design Studio 3
URBAN ACTION
เสนอแบบบ้านรับมือน้าท่วม
ที่มา:กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย
ที่มา:คุณชลอ นาดา
ที่มา:กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย
ที่มา:NaiBann
ที่มา:คุณชลอ นาดา
ที่มา:BestswGarden
1.เสนอให้มกี ารสร้างบ้านทีม่ ีการยกพืน้ ความสูงอาจ ตามความชอบของผูอ้ ยู่อาศัย และทีต่ งของพื ั้ ้นที่ 2.เสนอให้มพี ้นื ทีเ่ ก็ บน้ าเบื้องต้น ไม่วา่ จะบนดิน ใต้ด ิน หรือการใช้ในการตกแต่งบริเวณบ้านก็ ตาม
เสนอแนะอาคารพาณิชยกรรม/อาคารพั กอาศัย DETAIL คอนกรีตพรุน คอนกรีตพรุนจะช่วยในกระบวนกำรระบำยน้ำโดยจะรองรับน้ำไว้ ในช่องว่ำงของวัสดุ ช่วยลดปริมำณน้ำฝนที่ค้ำงบนผิวดินจนเกิดกำรท่วมขังและยัง ลดโครงสร้ำงของระบบกำรจัดกำรนำ้ ฝน
คอนกรีต น้ำไหลผ่ำนไม่ได้ ช่วยทำให้ น้ำไหลไปยังท่อรับนำ้ ในกำรระบำย
56 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
เสนอแนะอาคารพาณิชยกรรม/อาคารพั กอาศัย Solar cell
พื้นทีบ่ นหลังคามีการติดตังแผง ้ Solar cell ในการเปลียนพลั ่ งงานแสงอาทิตย์ให้กลายเป็ นพลังงานไฟฟ้ากระแสตรง ด้วยกระบวนการ Photovoltaic Effect จากนัน้ ส่งไปยังอินเวอร์เตอร์ เพือ่ เปลีย่ นพลังงานไฟฟ้ ากระแสตรงเป็ นกระแสสลับ นามาใช้กบั อุปกรณ์ ไฟฟ้ าต่างๆ ภายในบ้าน ช่วยลดค่าไฟฟ้าในบ้านและการลงทุนในระยะยาว มีอายุการใช้งานยาวนานทีส่ ุดถึง 25 ปี
57 1102513 Urban Design Studio 3
ระบบท่อรองรับน้ าในการระบาย ทาให้น้ าผ่านได้ดนี ้าจะซึมผ่านลงมายังชันวั ้ สดุดา้ นล่างที่ น่ านไม่ได้และไหลไปรวมยังท่อระบาย
URBAN ACTION
เสนอแนะอาคารสูงประเภท คอนโด-โรงแรม/อาคารสานักงานและอืน ่ ๆ
พื้นทีส่ าธารณะสาหรับรองรับการรวมตัว การทากิจกรรมต่างๆในพืน้ ที่ ให้มกี ารใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะสม มีความปลอดภัยในการใช้งาน
เพิม่ พื้นทีส่ เี ขียวสาหรับทาแปลงเกษตรให้เป็ นพืน้ ทีผ่ ลิตอาหารแก่คนในเมืองบริเวณพืน้ ทีช่ นดาดฟ้ ั้ าของอาคาร สามารถนาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้สาหรับแปลงเกษตร
เพิม่ พื้นทีส่ เี ขียวสาหรับทาแปลงเกษตรให้เป็ นพืน้ ทีผ่ ลิตอาหารแก่คนในเมืองหรือพักอาศัยบริเวณพืน้ ทีช่ นดาดฟ้ ั้ าของอาคาร สามารถนาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้สาหรับแปลงเกษตร และ เพิม่ พื้นทีส่ เี ขียวโดยรอบอาคาร เพือ่ เพิมกิ ่ จกรรมนันทนาการในการพักผ่อนหย่อนใจ
58
1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
เสาไฟอัจฉริยะ ให้ป ระโยชน์ทม ี่ ากกว่าแสงสว่าง
Solar cell เปลีย่ นพลังงาน แสงอาทิตย์ให้กลายเป็นพลังงาน ไฟฟ้ า
ELEVATION
Neon Solar cell ไฟสร้างสีสันที่ ปรับ แต ่งให้เข ้ากับเทศกาล
CCTV & Emergency alert บัน ทึกเหต ุการณ์โดยรอบและแจ้ง เต ือนด้วยเสียง D ensity Sensor ระบุความ หนาแน่นของประชากร
Locator แสดง รายละเอียดบริเวณ โ ดยรอบ Information Display แสดงแถบวัดอุณหภูม ิ
กัง หันลม ผลิตกระแสไฟฟ้าจาก พลัง งานลม จากรถทีส่ ัญจรไปมา
59 1102513 Urban Design Studio 3
Al cohol spray สเปรย์แอลกอฮอล์
URBAN ACTION
คมนาคมทางรถ ราง เรือ
เสนอปรับปรุงพื้นที่ทำงเท้ำตลอดริม 2 ฝั ่ง ของถนนนานวัตฒกรรมมาใช้ ถนนตัดใหม่ตำมแนวฟลัดเวย์ ผิวถนนน้ าต้องสามารถซึมผ่านได้ด ี ทางเท้ามีคณ ุ ภาพ พร้อมนวัตฒกรรมต่างๆ รถไฟฟ้ ำสำยสีชมพูมี 8 สถานี ได้ มีกำรเสนอเพิ่มเส้นทำง อีก 3 สถานี คือ 1.สถานีโซนตลาดใหม่ 2.สถานีเดอะคอมมอน 3. สถานีสนามบินสุวรรณภูม ิ รถไฟฟ้ ำสำยสีส้ม มี 3 สถานี ได้ มีกำรเสนอเพิ่มเส้นทำง อีก 2 สถานีหลัก 1.สถานีคลองฟลัดเวย์ 2.สถานีหนองจอก จุดเปลี่ยนถ่ำยกำรสัญจร รถ รำง 1.อาคารจอดแล้วจร สถานีมนี บุร ี 2.อาคารจอดแล้วจร สถานีสนามบินสุวรรณภูม ิ 3.อาคารจอดแล้วจร สถานีฟลัดเวย์ พัฒนำคลองแสนแสบ ให้สามารถใช้เรือเป็ นส่งเสริมการท่องเทีย่ วทางเรือได้ คลองแนวฟลัดเวย์ เป็ นการใช้เรือในการขนส่งขนาดเล็ก เรือประมง เรือท่องเทีย่ ว
60 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
ท าเลพื้นทีน ่ า่ ลงทุนพั ฒนาและเสนอควรพั ฒนา 1. The Common Capital Center, ลากกระบัง ราคาทีด่ นิ 22,500 ตร.ว. 2. Urban Farm ศูนย์การเรียนรู ้ ท่องเทีย่ ววิถีเกษตร ยกระดับผลผลิตทางการเกษตร, หนองจอก 3. Sport Community, คันนายาว ราคาทีด่ นิ 3,400-10,500 ตร.ว. 4. Health Tourism, หนองจอก ราคาทีด่ นิ 7,500 ตร.ว. 5. Health Tourism, คลองสามวา ราคาทีด่ นิ 4,500-8,750 ตร.ว. 6. Nursing Community, คลองสามวา ราคาทีด่ นิ 3,900-4,500 ตร.ว. 7. พื้นทีแ่ นวคลองฟลัดเวย์ 8. พื้นทีค่ วรพัฒนาเพือ่ การแปรรู ปผลผลิตในพื้นที่ 9. จัดทาคลังสินค้า 10. สะพานสูง มีนบุรี 11. พื้นทีห่ นองจอกใกล้กบั ย่านกิจกรรมต่ างๆในพื้นทีแ่ ละโครงการ Urban Farm ศูนย์การ เรียนรู ้ ท่องเทีย่ ววิถีเกษตร ยกระดับผลผลิตทางการเกษตร ,Health Tourism
61 1102513 Urban Design Studio 3
URBAN ACTION
ความเป็นไปได้ของโครงการและในอนาคต 1. The Common Capital Center, ลากกระบัง 2. Urban Farm ศู นย์การเรียนรู้ ท่องเที่ยววิถีเกษตร ยกระดับผลผลิต ทางการเกษตร, หนองจอก 3. Sport Community, คันนายาว 4. Health Tourism, หนองจอก 5. Health Tourism, คลองสามวา 6. Nursing Community, คลองสามวา 7. พื้ นที่แนวคลองฟลัดเวย์ 8. พื้ นที่ควรพั ฒนาเพื่ อการแปรรูปผลผลิตในพื้ นที่ 9. จัดทาคลังสิ นค้า โครงการต่างๆสามารถเกินขึ้นได้ ได้ศึกษาทาเลที่ต้ งั การใช้ประโยชน์ที่ดิน ประเภทของอาคาร ค่า FAR O.S.R หากมีโครงการต่างๆเกินขึ้น จะเป็นการส่ งเสริมศั กยภาพของพิ้ นที่ในด้านต่างๆ ทั้งการมีพื้นที่เพื่ อส่ งเสริมสนับสนุนการประกอบอาชีพ การลงทุน หรือการที่เป็น พื้ นที่ด้านสุ ขภาวะก็ตาม
62 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
Conceptual Plan
63 1102513 Urban Design Studio 3
URBAN ACTION
การเชื่อมโยงกับกรุงเทพชัน ้ ในและEEC
64 1102513 Urban Design Studio 3
โครงการพัฒนากรุ งเทพฝั ่งตะวันออก 6 เขต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบัง คันนายาว สะพานสูง คลองสามวา
การเชื่อมโยงกับแผนในระดับต่างๆ แผนพัฒนำประชำคมอำเซียน เสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน สินค้า บริการ การค้า การลงทุน พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน
การพัฒนาคุณภาพชีวติ และการคุ้มครอง ทางสังคม ลดช่องว่างระหว่างความเหลือ่ ม ล ้า
แผนพัฒนำกลุ่มประเทศ GMS การคมนาคมขนส่ง
สิง่ แวดล้อม
การค้า
เกษตร
การบริการ
แผนพัฒนำไทยแลนด์ 4.0 “ขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้ วยนวัตกรรม”
เกษตรสมัยใหม่เน้ นการบริหาร และการใช้เทคโนโลยี
Smart enterprises และ startups ทีม่ ศี ักยภาพสูง
บริการทีม่ มี ูลค่าสูง เทคโนโลยีทาง การแพทย์ พัฒนาเทคโนโลยี สุขภาพ
แรงงานทีม่ คี วามรู้และทักษะ ความสามารถสูง การส่งเสริมการส่งออก และการลงทุนในต่างประเทศ
แผนยุทธศำสตร์ชำติ 20 ปี มีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่าง ต่อเนื่อง การพัฒนาอย่างเท่าเทียมกัน มากขึ้น
การพัฒนาคุณภาพชีวติ ของ ประชาชน และการฟื้ นฟู ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั ่งยืน
แผนพัฒนำกรุงเทพมหำนคร ระยะ ๒๐ปี
แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 13 เศรษฐกิจมูลค่าสูงทีเ่ ป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม โครงข่ายคมนาคม และสิง่ อานวยความ สะดวก เชือ่ มโยงกับภูมภิ าค อย่างไร้ รอยต่อ วิถชี วี ติ ทีย่ ั ่งยืน เศรษฐกิจ หมุนเวียนและ สังคมคาร์บอนตา่ พัฒนาพลังงาน หมุนเวียน 65 1102513 Urban Design Studio 3
สังคมแห่งโอกาส และความเสมอ ภาค ลดความเหกลือ่ มล้าระหว่างพื้นที่ กระจายโอกาสทางเศรษฐกิจ พัฒนา ฝีมอื แรงงานมีคณ ุ ภาพ คนทุกช่วงวัยมีการเรียนรู้ ตลอด ชีวติ
ประเด็นยุทธศาสตร์ ๒ มหานครสีเขียว มีพ้นื ทีส่ าธารณะ พื้นทีส่ ี เขียวกระจายทั ่วทุกพื้นท สะดวกสบาย ระบบขนส่งมวลชนทั ่วถึง สะดวกประหยัด การจราจรคล่องตัว ประเด็นยุทธศาสตร์ ๔ มหานครกะทัดรัด ศักยภาพพื้นทีเ่ ป็ น โครงข่ายเชือ่ มโยงกัน การใช้ทดี่ นิ และ ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์ ๓ มหานครสาหรับทุกคน เมืองแห่ง โอกาสทางเศรษฐกิจ สร้างโอกาส ด้านสิง่ อ้านวยความสะดวกและ สวัสดิการ ประเด็นยุทธศาสตร์ ๖ มหานครแห่งเศรษฐกิจและการเรียนรู้ ศู นย์กลางด้านการเกษตร อุตสาหกรรม ศู นย์กลางการค้า การเงินและการลงทุน
URBAN ACTION
Action Plan ลาดับ
โครงการ
ระยะเวลา เกี่ยวกับโครงการ
1
โครงการ The Common Capital Center
3 ปี
เป็ นพื้นทีศ่ กึ ษาเรียนรู ้ และยังเป็ นพื้นทีจ่ าหน่ ายผลิตภัณฑ์ ชุมชนรองรับ นักท่องเทีย่ วอีกทัง้ ยังมีพ้นื ทีส่ าธารณะและพื้นทีส่ ่วนกลางรองรับผู ้ทจี่ ะเข้ามาได้อกี ด้วย The Common Capital ยังเป็ นพื้นทีท่ เี่ ปิ ดให้นักลงทุนและผู ้ทมี่ ผี ลิตภัณฑ์ทจี่ ะ มาต่ อยอดหรือจาหน่ ายได้ ภายใต้แนวคิด Smart city
2
โครงการ Urban Farm ศูนย์การเรียนรู ้ท่องเทีย่ ววิถีเกษตร ยกระดับผลผลิตทางการเกษตร
5 ปี
เป็ นพื้นที่ สำหรับผลิตอำหำรแก่คนในเมือง ที่ จะช่วยลดกำรใช้พลังงำนใน ด้ำนต่ ำงๆ และยังเป็ นพื้นที่ ในกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้เกี่ยวกับนวัตกรรม กำรเกษตร อีกทัง้ ยังเป็ นสถำนที่ ท่องเที่ ยวเชิงเกษตรนวัตกรรม และพื้นที่ พักผ่อน ภำยใต้ แนวคิด SMART ENVIRONMENT
3
โครงการ Nursing Hub ศูนย์พยาบาลผู ้สูงวัย
5 ปี
เป็ นพื้นทีเ่ กีย่ วกับ การอยู่อาศัย และทากิจกรรมของ คนสูงวัย สร้ างขึ้นเพือ่ รองรับ กับการใช้งาน ของคนทีม่ อี ายุมาก เพือ่ เข้ามาทากิจกรรม และพบปะสังคม
4
โครงการ Sport Community
5 ปี
เป็ นพื้นทีส่ าหรับออกกาลังกายตอบโจทย์ชุมชนในพื้นที่ และผู ้ คนทีส่ นใจในเรื่อง สุขภาพ ทัง้ ด้านร่ างกายและด้านจิตใจ เพือ่ ให้เข้ากับแนวคิด LIVABLE CITY ที่ จะทาให้เมืองน่ าอยู่ดว้ ยการเป็ นเมือง HEALTHY CITY เปิ ดโอกาสให้มกี ารเข้าถึง กิจกรรมและทรัพยากรภายในเมืองอย่างทัวถึ ่ ง สนับสนุ นนวัตกรรมทางเศรษฐกิจ ส่งเสริมให้เกิดความหลากหลายในกิจกรรม ให้มชี วี ติ ชีวา
5
โครงการ Health Tourism ท่องเทีย่ วเชิงสุขภาพ
6 ปี
เป็ นพื้นทีท่ ่องเทีย่ วเชิงสุขภาพ ทีม่ อี าคารรองรับสาหรับนักท่ องเทีย่ วและมีพ้นื ที่ สาหรับกีฬากลางแจ้งและมีกจิ กรรมเชิงสุขภาพต่ างๆ พร้อมกับมีสวนสาธารณะ สาหรับพักผ่ อนหย่อนใจ ลานเต้นแอโรบิกและยังมีทพี่ กั ริมแม่น้ าพร้อมสวนผัก ปลอดสารพิษ
6
โครงการ Health Tourism พื้นทีร่ องรับผู ้มาใช้บริการด้านสุขภาพ
6 ปี
พื้นทีร่ องรับผู ้มาใช้บริการด้านสุขภาพเป็ นพื้นทีพ่ กั ผ่ อนใหม่ สามารถรองรับผู ้มาใช้ บริการด้านสุขภาพ ทัง้ ก่อนและหลังการใช้บริการ มีทงั ้ แพทย์แผนไทย พื้นที่ พักผ่ อนต่ างๆ เป็ นโครงการทีเ่ ป็ นส่วนหนึ่งของการบริการของโรงพยาบาลได้
7
โครงการ Water Management คลองฟลัดเวย์
14 ปี
เป็ นพื้นทีร่ ิมคลองทีส่ ามารถรองรับน้ าหลากพร้อมกับมีพ้นื ทีท่ าการเกษตรและมี พื้นทีส่ าธารณะสาหรับการพักผ่ อนและมีถนนทีม่ หี ลายช่องจราจรสาหรับรองรับ การสัญจรให้สะดวกมากขึ้น
66 1102513 Urban Design Studio 3