สมุนไพรไทย

Page 1

สมุนไพรไทย

นางสาววิรชา สนนุกิจ รหัส ๐๐๖ สาขาวิชาภาษาไทย ชั้นปีที่ ๓


คานา ปัจจุบันมีการนาสมุนไพรไทยมาใช้ประโยชน์กันมาก เนื่องจากสมุนไพรไทยอุดมไปด้วยประโยชน์ มากมาย สมุนไพรแต่ละชนิดมีประโยชน์ที่ต่างกันออกไป บางชนิดสามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ทุกส่วน แต่ละ ส่วนสามารถใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย และด้วยความเป็นเอกลักษณ์ของสมุนไพรไทย จึงทาให้สมุนไพรไทย ถือเป็นมรดกอันลาค่าอย่างหนึ่งที่อยู่คู่กับคนไทยมาทุกยุคทุกสมัย สาหรับหนังสือ “สมุนไพรไทย” เล่มนี ผู้เขียนตังใจที่จะนาเสนอความรู้เรื่องสมุนไพรไทยทังในด้าน ความหมายและสรรพคุณด้านต่าง ๆ ของสมุนไพรไทย เพื่อเป็นความรู้ให้กับผู้อ่าน ทาให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจ และเห็นถึงคุณประโยชน์ของสมุนไทยอย่างแท้จริง นางสาววิรชา สนนุกิจ ผู้จัดทา


สารบัญ คานา .............................................................................................................................................................. ก สารบัญ........................................................................................................................................................... ข ตอนที่ ๑ มารู้จักสมุนไพรไทยกันเถอะ ........................................................................................................... ๑ แบบฝึกหัดก่อนเรียน ................................................................................................................................... ๒ ความหมายของสมุนไพร ............................................................................................................................. ๒ ความหมายของสมุนไพรไทย ....................................................................................................................... ๓ ความสาคัญของสมุนไพรไทย ...................................................................................................................... ๔ แบบฝึกหัดหลังเรียน ................................................................................................................................... ๕ ตอนที่ ๒ รักษาโรคด้วยสมุนไพรไทย ............................................................................................................. ๖ แบบฝึกหัดก่อนเรียน ................................................................................................................................... ๗ ขีเหล็ก ........................................................................................................................................................ ๘ กระเจี๊ยบแดง .............................................................................................................................................. ๙ ขมิน ......................................................................................................................................................... ๑๐ โหระพา ................................................................................................................................................... ๑๑ แบบฝึกหัดหลังเรียน ................................................................................................................................ ๑๒ ตอนที่ ๓ สวยได้ด้วยสมุนไพรไทย .............................................................................................................. ๑๓ แบบฝึกหัดก่อนเรียน ................................................................................................................................ ๑๔ ความหมายของสมุนไพร .......................................................................................................................... ๑๕ ความหมายของสมุนไพรไทย .................................................................................................................... ๑๖ แบบฝึกหัดหลังเรียน ................................................................................................................................ ๑๗


สารบัญ (ต่อ) ตอนที่ ๔ อาหารสมุนไพรไทยต้านโรค ........................................................................................................ ๑๘ แบบฝึกหัดก่อนเรียน ................................................................................................................................ ๑๙ แกงเลียง .................................................................................................................................................. ๒๐ ยาถั่วพู ..................................................................................................................................................... ๒๑ สะเดา นาปลาหวาน ปลาดุกย่าง ............................................................................................................ ๒๒ แบบฝึกหัดหลังเรียน ................................................................................................................................ ๒๓ สรุป ............................................................................................................................................................. ๒๔ เฉลยแบบฝึกหัด .......................................................................................................................................... ๒๕ อ้างอิง.......................................................................................................................................................... ๒๖


ตอนที ่ ๑ มารู้จักสมุนไพรไทยกันเถอะ


แบบฝึกหัดก่อนเรียน ๑. คาว่า สมุนไพร ภาษาอังกฤษคือคาว่าอะไร ก. Leaves ข. Herb ค. Green ๒. สมุนไพรที่ใช้เป็นยาพิษ เรียกว่าอะไร ก. สมุนไพรที่มีพิษ ข. สมุนไพรอันตราย ค. พิษสมุนไพร ๓. ผลผลิตที่ได้จากธรรมชาติ ที่สามารถนามาใช้เป็นยารักษา โรคหรือบารุงร่างกายได้ เป็นความหมายของคาว่าอะไร ก. สมุนไพร ข. สมุนไพรไทย ค. สมุนไพรที่มีพิษ ๔. คาว่า สมุนไพรไทย ภาษาอังกฤษคือคาว่าอะไร ก. Thai dress ข. Thai food ค. Thai herb ๕. ข้อใดไม่ใช่ความสาคัญของสมุนไพรไทย ก. ใช้เป็นวัตถุดิบเบืองต้นในการสกัดสารเคมีต่าง ๆ ข. ใช้เป็นอาหาร ใช้ทายา ใช้ปรุงแต่งสี กลิ่น รส อาหาร ค. ไม่มีข้อใดถูก


ความหมายของสมุนไพร (Herb) สมุนไพร คือ ผลผลิตที่ได้จากธรรมชาติ ได้แก่ พืช สัตว์ และ แร่ธาตุ ที่สามารถนามาใช้เป็นยา รักษาโรคหรือบารุงร่างกาย เช่น ใช้กิน ใช้ทา ใช้รม เป็นต้น ซึ่งอาจจะใช้ทังหมด เช่น ใช้ทังต้น หรือแค่ เฉพาะบางส่ ว นของผลผลิ ตนั นๆเพื่อปรุ ง เป็นยารักษาโรค เช่น เฉพาะส่ ว นราก โดยอาจจะต้องผ่ า น กระบวนการบางอย่างก่อนนามาใช้ เช่น บด ต้ม คัน ตากแห้ง เป็นต้น หรืออาจจะใช้เป็นยาพิษก็ได้โดยจะ เรียกว่า สมุนไพรที่มีพิษ

ความหมายของสมุนไพรไทย (Thai Herb) สมุนไพรไทย คือ สมุนไพรที่มีแหล่งกาเนิดอยู่ในประเทศไทยหรือสามารถหาพบได้ในประเทศไทย


ความสาคัญของสมุนไพรไทย ๑. ใช้ในการทายา ๒. ใช้เป็นวัตถุดิบเบืองต้นในการสกัดสารเคมีต่าง ๆ เพื่อใช้ในการผลิตยาแผนโบราณต่อไป ๓. ใช้ในการปรุงแต่งรส กลิ่น สี ของอาหาร ๔. ใช้เป็นอาหาร ๕. ใช้ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของ เครื่องดื่ม เครื่องสาอางและอาหาร


แบบฝึกหัดหลังเรียน ๑. สมุนไพรที่ใช้เป็นยาพิษ เรียกว่าอะไร ก. สมุนไพรอันตราย ข. สมุนไพรที่มีพิษ ค. พิษสมุนไพร ๒. คาว่า สมุนไพรไทย ภาษาอังกฤษคือคาว่าอะไร ก. Thai dress ข. Thai food ค. Thai herb ๓. ข้อใดไม่ใช่ความสาคัญของสมุนไพรไทย ก. ไม่มีข้อใดถูก ข. ใช้เป็นวัตถุดิบเบืองต้นในการสกัดสารเคมีต่าง ๆ ค. ใช้เป็นอาหาร ใช้ทายา ใช้ปรุงแต่งสี กลิ่น รส อาหาร ๔. ผลผลิตที่ได้จากธรรมชาติ ที่สามารถนามาใช้เป็นยารักษา โรคหรือบารุงร่างกายได้ เป็นความหมายของคาว่าอะไร ก. สมุนไพรไทย ข. สมุนไพรที่มีพิษ ค. สมุนไพร ๕. คาว่า สมุนไพร ภาษาอังกฤษคือคาว่าอะไร ก. Leaves ข. Herb ค. Green


ตอนที ่ ๒ รักษาโรคดูวยสมุนไพรไทย


แบบฝึกหัดก่อนเรียน ๑. ชื่อสามัญของ “ขีเหล็ก” คือข้อใด ก. Cassod tree ข. Thai copper pod ค. ถูกทังข้อ ก. และ ข. ๒. ส่วนใดของต้นขีเหล็กที่มีสารกลุ่มแอนทราควิโนน ก. กระพี ข. ใบอ่อน, ดอกตูมและแก่น ค. ดอก ๓. ข้อใดเป็นสรรพคุณของดอกกระเจี๊ยบทังหมด ก. แก้โรคนิ่วในไต ละลายไขมันในเส้นเลือด กัดเสมหะ ข. บารุงธาตุ บารุงกาลัง แก้ดี ค. ลดไขมั น ในเส้ น เลื อ ด แก้ ก ระหายน า รั ก ษาแผลใน กระเพาะ ๔. ชื่อวิทยาศาสตร์ของขมินชันคืออะไร ก. Hibiscus sabdariffa L. ข. Ocimum basilicum L. ค. Curcuma longa L. ๕. ส่ ว นใดของโหระพาที่ น าไปแช่ น าแล้ ว น าไปใช้ พ อกแผล บรรเทาอาการฟกชาได้ ก. เมล็ด ข. เมล็ดแก่ ค. เมล็ดแห้ง


ขี้เหล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์ : Senna siamea (Lam.) Irwin & Barneby ชื่อสามัญ : Cassod tree, Thai copper pod วงศ์ : Leguminosae – ceasalpinioideae ส่วนที่ใช้ : ดอก ราก ลาต้นและกิ่ง ทังต้น เปลือกต้น แก่น ใบ ฝัก เปลือกฝัก ใบแก่

สรรพคุณและส่วนที่นามาใช้เป็นยา ใบ : รสขม ถ่ายพรรดึก ถ่ายกระษัย ถ่ายพิษไข้ พิษเสมหะ ขับปัสสาวะแก้ระดูขาว แก้นิ่ว ตาพอกแก้เหน็บชา แก้บวม บารุงโลหิ ตดับพิษโลหิต ดองสุราดื่มก่อนนอน แก้นอนไม่ หลับ

ดอก : รสขม แก้โรคประสาท แก้นอนไม่หลั บ แก้หืด แก้รังแค เป็นยาระบาย

แก่น : รสขมเฝื่อน ถ่ายพิษถ่ายเส้น ถ่ายม้าม แก้กระษัย แก้เหน็บชา แก้ไข้เพื่อกระษัย ขับโลหิต แก้เตโชธาตุพิการ ทาให้ตัวเย็น แก้แสบตา แก้กามโรค หนองใส

กระพี้ : รสขมเฝื่อน ถอนพิษไข้ แก้ไข้เพื่อดี แก้กระษัยเส้นเอ็น

ใบอ่อน, ดอกตูมและแก่น : มีสารกลุ่มแอนทราควิโนน หลายชนิด จึงมีฤทธิ์เป็นยาระบาย ใช้ใบอ่อนครังละ ๒-๓ กามือ ต้มกับนา ๑-๑.๕ ถ้วย เติมเกลือเล็กน้อย ดื่มก่อน อาหารเช้ า ครั งเดี ย ว นอกจากนี ยั ง พบสารซึ่ ง มี ฤ ทธิ์ ก ด ประสาทส่วนกลาง ทาให้นอนหลับ โดยใช้วิธีนามาดอง เหล้า ดื่มก่อนนอน

เปลือกต้น : รสขม แก้กระษัย แก้ริดสีดวง

ราก : รสขม แก้ไข้ แก้ไข้กลับ ไข้ช า รักษา แผลกามโรคทวาร เปลือกฝัก : รสขมเฝื่อน แก้เส้นเอ็นตึง แก้กระษัย

ฝัก : รสขม แก้ไข้พิษเพื่อปิตตะ ไข้เพื่อเสมหะ


กระเจี๊ยบแดง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Hibiscus sabdariffa L. ชื่อสามัญ : Jamaican Sorel, Roselle วงศ์ : Malvaceae ชื่ออื่น : กระเจี๊ยบ กระเจี๊ยบเปรีย ผักเก็งเค็ง ส้มเก็งเค็ง ส้มตะเลงเครง

สรรพคุณและส่วนที่นามาใช้เป็นยา กลีบเลี้ยงของดอก หรือกลีบที่เหลืออยู่ที่ผล (สามารถต้มเป็นนากระเจี๊ยบดื่มได้) ๑. เป็นยาลดไขมันในเส้นเลือด และช่วยลดนาหนักด้วย ๒. ลดความดันโลหิตได้โดยไม่มีผลร้ายแต่อย่างใด

ใบ แก้ โ รคพยาธิตั ว จี๊ด ยากั ดเสมหะ แก้ ไอ ขั บ เมือกมันในลาคอให้ลงสู่ทวารหนัก ดอก แก้ โ รคนิ่ ว ในไต แก้ โ รคนิ่ ว ในกระเพราะ ปั ส สาวะ ขั ด เบา ละลายไขมั น ในเส้ น เลื อ ด กั ด เสมหะ ขับเมือกในลาไส้ให้ลงสู่ทวารหนัก

๓. ช่วยรักษาโรคเส้นโลหิตแข็งเปราะได้ดี ๔. ช่วยย่อยอาหาร เพราะไม่เพิ่มการหลั่งของกรดในกระเพาะ ๕. นากระเจี๊ยบยังมีฤทธิ์ขับปัสสาวะ เป็นการช่วยลดความดัน อีกทางหนึ่ง ๖. นากระเจี๊ยบทาให้ความเหนียวข้นของเลือดลดลง

ผล ลดไขมันในเส้นเลือด แก้กระหายนา รักษาแผลใน กระเพาะ เมล็ด บารุงธาตุ บารุงกาลัง แก้ดีพิการ ขับปัสสาวะ ลดไขมันในเส้นเลือด

๗. เพิ่มการหลั่งนาดีจากตับ ๘. นากระเจี๊ยบเป็นเครื่องดื่มที่ช่วยให้ร่างกายสดชื่น เพราะมี กรดซีตริคอยู่ด้วย ใบ

ดอก

ผล


๑๐

ขมิ้นชัน ชื่อวิทยาศาสตร์ : Curcuma longa L. ชื่อสามัญ : Turmeric วงศ์ : ขิง (ZINGIBERACEAE) ชื่ออื่น ๆ : ขมิน (ทั่วไป) ขมินแกง, ขมินหยวก, ขมินหัว (เชียงใหม่), หมิน (ภาคใต้)

สรรพคุณและส่วนที่นามาใช้เป็นยา เหง้า : เหง้ารสฝาดหวานเอียด ใช้สาหรับแก้อาการไข้เรือรัง ผอม เหลือง แก้โรคผิวหนัง แก้เสมหะและโลหิต แก้ท้องร่วง สมาน แผล แก้ธาตุพิการ ขับผายลม แก้ผื่นคัน ขับกลิ่นและสิ่งสกปรก ในร่างกาย คุมธาตุ หยอดตาแก้ตาบวม ตาแดง นาคันจากเหง้า สดทาแก้แผลถลอก แก้โรคผิวหนังผื่นคัน ลดอาการอักเสบ ทาให้ ผิ ว พรรณผุ ด ผ่ อ ง นามาอัด เม็ ดท าเป็น ยารัก ษาอาการท้ องอื ด ท้ อ งเฟ้ อ ธาตุ พิ ก าร อาหารไม่ ย่ อ ย กระเพาะอาหารอ่ อ นแอ รักษาแผลในกระเพาะอาหาร แก้ท้องร่วง แก้บิด

ขมิ้นสด : (ใช้เหง้าสดล้างให้สะอาด) ตากับดินประสิว เล็กน้อย ผสมนาปูนใสพอกบาดแผลและแก้เคล็ดขัดยอก เผาไฟ ตากับนาปูนใส รับประทานแก้ท้องร่วง แก้บิด

ผงขมิ้น : (นาเหง้าแห้งมาบดเป็นผง) นามาเคี่ยวกับนามันพืช ทานามันใส่ แผลสด


๑๑

โหระพา ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ocimum basilicum L. ชื่อสามัญ : Sweet basil, Thai basil วงศ์ : กะเพรา (LAMIACEAE หรือ LABIATAE)

สรรพคุณและส่วนที่นามาใช้เป็นยา ทั้งต้น : รสฉุน ขับลม ทาให้เจริญอาหาร แก้ปวดหั ว หวั ด ปวดกระเพาะอาหาร จุ ก เสี ย ดแน่ น ท้ อ งเสี ย ประจ าเดือ นผิ ดปกติ ฟกช าจากหกล้ ม หรื อ กระทบ กระแทก งูกัด ผดผื่นคัน มีนาเหลือง

เมล็ดแห้ง : ๒.๕ - ๕ กรัม ต้มนาหรือแช่นาดื่ม ใช้ ภายนอก บดเป็นผงแต้มทา การเก็บเมล็ดนันให้นา ต้นไปเคาะ แยกเอาเมล็ ดตากแห้ งเก็บไว้ใช้ (ระวัง ไม่ให้ถูกนาเพราะจะจับกันเป็นก้อน)

เมล็ด : รสชุ่ม เย็น ถูกนาจะพองตัวเป็นเมือก ใช้แก้ ตาแดง มีขีตามาก ต้อตา ใช้เป็นยาระบาย (ใช้เมล็ด ๔ - ๑๒ กรัม แช่นาเย็นจนพอง ผสมน าหวาน เติม นาแข็งกิน) เมล็ดแก่แช่นา ใช้พอกแผลบรรเทาอาการ ฟกชา

ราก : ใช้รากสดหรือรากแห้ง นามาเผาไฟให้เป็นเถ้า บดให้ละเอียด ใช้พอกบริเวณที่เป็นแผลเรือรัง แผลมี หนองใน นารากมาเผาใช้เป็นเถ้าพอก ใช้ได้ทังรากสด หรือตากแห้งเก็บไว้ใช้

ใบ : ใช้ใบคันเอานา ๒ – ๔ กรัม ผสมนาผึง จิบแก้ไอ และหลอดลมอักเสบ


๑๒

แบบฝึกหัดหลังเรียน ๑. ข้อใดเป็นสรรพคุณของดอกกระเจี๊ยบทังหมด ก. แก้โรคนิ่วในไต ละลายไขมันในเส้นเลือด กัดเสมหะ ข. ลดไขมันในเส้นเลือด แก้กระหายนา รักษาแผลใน กระเพาะ ค. บารุงธาตุ บารุงกาลัง แก้ดี ๒. ชื่อวิทยาศาสตร์ของขมินชันคืออะไร ก. Ocimum basilicum L. ข. Curcuma longa L. ค. Hibiscus sabdariffa L. ๓. ชื่อสามัญของ “ขีเหล็ก” คือข้อใด ก. Cassod tree ข. Thai copper pod ค. ถูกทังข้อ ก. และ ข. ๔. ส่วนใดของโหระพาที่นาไปแช่นาแล้วนาไปใช้พอกแผล บรรเทาอาการฟกชาได้ ก. เมล็ดแห้ง ข. เมล็ดแก่ ค. เมล็ด ๕. ส่วนใดของต้นขีเหล็กที่มีสารกลุ่มแอนทราควิโนน ก. ใบอ่อน, ดอกตูมและแก่น ข. ดอก ค. กระพี


ตอนที ่ ๓ สวยไดูดูวยสมุนไพรไทย


๑๔

แบบฝึกหัดก่อนเรียน ๑. ข้อใดไม่ใช่สมุนไพรเพื่อบารุงผิวกาย ก. กล้วยหอมสุก ข. สับปะรด ค. ขิง ๒. “บารุงผิวขาวนวลเนียน” เป็นสรรพคุณของสมุนไพรชนิดใด ก. ขมิน ข. มะกรูด ค. ตะไคร้ ๓. ขิง มีสรรพคุณอย่างไรสาหรับเส้นผม ก. บารุงผมให้ดกดา ข. ป้องกันรังแค ค. ปลูกผมบนรอยแผลเป็นที่ศีรษะ ๔. สมุนไพรชนิดใดที่มีสรรพคุณรักษารากผมและช่วยให้ผม หงอกช้า ก. ว่านหางจระเข้ ข. กระเทียม ค. นาตะไคร้ ๕. คาว่า มะกรูด ภาษาอังกฤษคือคาว่าอะไร ก. Aloe vera ข. kaffir lime ค. pineapple


๑๕

สมุนไพรเพื่อความงามสาหรับผิวกาย ผิ ว กาย จะเปล่ งปลั่ งนุ่ มนวลไร้ รอยกร้ าน และ รอยหมองคล า ขึนอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น อาหาร การกิน การออกกาลังกาย และยังมีการถนอมผิว บารุงผิว อีกหลายๆรูปแบบ สมุนไพรพืน ๆ ที่มีอยู่ทั่ว ๆ ไปเอามา ใช้บารุงผิว ซึ่งได้ผลเป็นอย่างดีจึงอยากบอกต่อ รับรองว่า ผิวคุณจะสวยขึนแน่นอน

มะนาว (lemon)

ช่วยให้ผิวลาคอขาวแต่งตึง ช่วยขจัดรอยแห้งกร้าน

ขมิ้นสด (Curcuma)

บารุงผิวให้ขาวนวลเนียน

กล้วยหอมสุก (cultivated banana)

สับปะรด (pineapple)

ช่วยให้ผิวมือนุ่มไม่หยาบกร้าน

ขัดผิวขาวไร้รอยแห้งกร้าน


๑๖

สมุนไพรเพื่อความงามสาหรับเส้นผม ทรงผม หรื อ เส้ น ผม เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ที่ ช่ ว ย เสริมสร้างบุคลิกภาพให้ดูดีขึนได้ สิ่งที่ควรคานึงในการ ดูแลเส้นผม ได้แก่ อาหารจาพวกโปรตีนที่ได้จากเนือ นม ไข่ ฯลฯ และวิตามิน เอ ซี อี และบีห้า ที่ได้จาก ผลไม้ต่าง ๆ และธัญพืช จาพวกถั่ว งา ข้าวกล้อง ข้าว โอ๊ต ข้าวบาร์เลย์ ฯลฯ นอกจากนีสมุนไพรไทยใกล้ตัว ยังสามารถช่วยสาว ๆ ในการดูแลผมได้อีกด้วย

บารุงผมให้ดกดาเงางาม และแก้ ปั ญ หา ผมแตก ปลาย มะละกอสุก (Ripe papaya)

ช่วยแก้ปัญหาผมมัน

มะกรูด (kaffir lime)

ขิง (ginger)

น้าตะไคร้ (lemon grass water)

ปลูกผมบนรอยแผลเป็นที่ศีรษะ

กระเทียม (garlic)

รั ก ษารากผมและ ช่วยให้ผมหงอกช้า

ป้ อ งกั น รั ง แคและบ ารุ ง เส้นผมให้ดกดา แก้ปัญหา เส้นผมใหญ่และดกดา

ว่านหางจระเข้ (Aloe vera)

น้ามะนาว (Lemon juice)

บารุงผมดกดาเงางาม

บารุงเส้นผมให้เงางาม


๑๗

แบบฝึกหัดหลังเรียน ๑. “บารุงผิวขาวนวลเนียน” เป็นสรรพคุณของสมุนไพรชนิดใด ก. ขมิน ข. มะกรูด ค. ตะไคร้ ๒. ขิง มีสรรพคุณอย่างไรสาหรับเส้นผม ก. บารุงผมให้ดกดา ข. ป้องกันรังแค ค. ปลูกผมบนรอยแผลเป็นที่ศีรษะ

๓. ข้อใดไม่ใช่สมุนไพรเพื่อบารุงผิวกาย ก. กล้วยหอมสุก ข. สับปะรด ค. ขิง ๔. สมุนไพรชนิดใดที่มีสรรพคุณรักษารากผมและช่วยให้ผม หงอกช้า ก. กระเทียม ข. นาตะไคร้ ค. ว่านหางจระเข้ ๕. คาว่า มะกรูด ภาษาอังกฤษคือคาว่าอะไร ก. Aloe vera ข. kaffir lime ค. pineapple


ตอนที ่ ๔ อาหารสมุนไพรไทยตูานโรค


๑๙

แบบฝึกหัดก่อนเรียน ๑. ข้อใดไม่ใช่อาหารสมุนไพรไทยต้านโรค ก. สปาเก็ตตี ข. แกงเลียง ค. ยาถั่วพู ๒. เมล็ดของนาเต้ามีสรรพคุณอะไร ก. ขับลม ขับเหงื่อ ช่วยให้เจริญอาหาร ข. เป็นยาถ่ายพยาธิและแก้อาการบวมนา ค. ใช้เป็นยาระบาย ๓. ข้อใดเป็นสรรพคุณของถั่วพู ก. แก้ไข้หวัด ข. บารุงเอ็น ค. เป็นยาชูกาลัง ๔. คาว่า น้ามะขามเปียก ภาษาอังกฤษคือคาว่าอะไร ง. Tamarind juice ข. Shallots ค. Lemon ๕. ข้อใดคือสรรพคุณของดอกสะเดา ก. ขับลมในลาไส้ ข. แก้ท้องผูก แก้หวัด ค. ช่วยเจริญอาหาร บารุงธาตุ แก้ไข้หัวลม


๒๐

แกงเลียง เป็นอาหารที่ใช้กลุ่มพืชผัก ที่มีรสเย็นจืดมาเป็นส่วนผสม ได้แก่ บวบ นาเต้า ฟักทอง ตาลึง ข้าวโพด นิยมปรุ งกินร้ อน ๆ แก้ไข้หวัดได้อย่างดี และยังเหมาะสาหรับหญิงที่คลอดลูกใหม่ ๆ เป็นอาหารที่ช่ว ย ประสะนานม ทาให้นานมบริบูรณ์

สรรพคุณทางยาของส่วนผสม พริกไทย (Pepper)

ขับลม ขับเหงื่อ ช่วยเจริญอาหาร

หอมแดง (Shallots)

แก้ไข้หวัด ลดเสมหะ แก้โรคในปาก

ฟักทอง (Pumpkin)

รสมันหวาน บารุงสายตา บารุงร่างกาย

บวบ (Gourd)

มีแคลเซียม เหล็ก และฟอสฟอรัส

-

เมล็ดแก่มีรสขม ช่วยเจริญอาหาร นามันจากเมล็ด

นาเต้า (Calabash) -

เมล็ด เป็นยาถ่ายพยาธิและแก้อาการบวมนา เถา ใบอ่อน ใช้เป็นยาระบาย

ตาลึง (Coccinia grandis) -

เถาและใบ ใช้รั ก ษาโรคผิ ว หนัง ได้บ างชนิด แก้อ าการ หลอดลมอักเสบ


๒๑

ยาถั่วพู ในการปรุงอาหารนิยมใช้ถั่วพูที่มีฝักค่อนข้างอ่อน ส่วนฝักแก่เก็บไว้ขยายพันธุ์ กินได้ทังสุกและดิบ ฝักดิบนิยมกินกับนาพริกกะปิ ส่วนฝักอ่อนที่ต้มสุกนามายาก็จะเป็นอาหารจานเด็ดที่มีรสชาติที่ถูกปากไม่ น้อย

สรรพคุณทางยาของส่วนผสม

ถั่วพู (Winged Bean)

เป็นยาชูกาลัง

มะพร้าว (Coconut)

บารุงกาลัง บารุงเส้นเอ็น ใช้รักษาโรคกระดูก

ถั่วลิสง (Peanut)

บารุงเอ็น บารุงธาตุดิน

หอมแดง (Shallots)

แก้ไข้หวัด แก้โรคในปาก

พริกขี้หนู (Guinea pepper) เจริญอาหาร ช่วยย่อยอาหาร ขับลม กระเทียม (Garlic)

ขับลมในลาไส้ แก้ไอ ขับเสมหะ ช่วยย่อยอาหาร

มะนาว (Lemon)

ช่วยขับลม (เปลือก) ขับเสมหะ (นา)


๒๒

สะเดา น้าปลาหวาน ปลาดุกย่าง สะเดานิ ย มกิน กับ น าปลาหวานเท่านัน ดอกสะเดามีส รรพคุณทังกันทังแก้ไข้ห วัดลม และช่ว ย บรรเทาความร้อนในร่างกาย สะเดามีรสขม จึงต้องใช้รสหวานของนาปลาหวานช่วยกลบเกลื่อนรสขมของ สะเดา รสชาติรวมกันแล้วรู้สึกหวานขมกลมกล่อม เมื่อกินกับปลาดุกย่างทาให้เจริญอาหารยิ่งขึน

สรรพคุณทางยาของส่วนผสม ดอกสะเดา (Neem)

ช่วยเจริญอาหาร บารุงธาตุ แก้ไข้หัวลม

น้ามะขามเปียก (Tamarind juice) ขับเสมหะในลาไส้ แก้ไอ แก้ท้องผู้ หอมแดง (Shallots)

แก้ไข้หวัด แก้โรคในปาก

กระเทียม (Garlic)

ขับลมในลาไส้ แก้ไอ ขับเสมหะ ช่วยย่อยอาหาร

พริกแห้ง (Dried chilli)

ขับลม ช่วยเจริญอาหาร ช่วยย่อย


๒๓

แบบฝึกหัดหลังเรียน ๑. เมล็ดของนาเต้ามีสรรพคุณอะไร ก. เป็นยาถ่ายพยาธิและแก้อาการบวมนา ข. ขับลม ขับเหงื่อ ช่วยให้เจริญอาหาร ค. ใช้เป็นยาระบาย ๒. ข้อใดคือสรรพคุณของดอกสะเดา ก. ช่วยเจริญอาหาร บารุงธาตุ แก้ไข้หัวลม ข. แก้ท้องผูก แก้หวัด ค. ขับลมในลาไส้ ๓. ข้อใดเป็นสรรพคุณของถั่วพู ก. บารุงเอ็น ข. เป็นยาชูกาลัง ค. แก้ไข้หวัด ๔. คาว่า น้ามะขามเปียก ภาษาอังกฤษคือคาว่าอะไร ก. Shallots ข. Lemon ค. Tamarind juice ๕. ข้อใดไม่ใช่อาหารสมุนไพรไทยต้านโรค ก. แกงเลียง ข. ยาถั่วพู ค. สปาเก็ตตี


๒๔

สรุป สมุนไพรไทย หมายถึง สมุนไพรที่มีแหล่งกาเนิดอยู่ในประเทศไทยหรือสามารถหาพบได้ในประเทศ ไทย ซึ่งสมุนไพรไทยอุดมไปด้วยประโยชน์มากมาย สมุนไพรรักษาโรค ได้แก่ ๑. ขีเหล็ก สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ทังส่วนใบ ใบอ่อน แก่น ดอก เปลือก ต้น กระพี ราก เปลือกฝักและฝัก แต่ละส่วนก็จะมีสรรพคุณทางยาที่ต่างกันไป เช่น ดอกใช้แก้โรคประสาท แก้ นอนไม่หลับ แก้หืด แก้รังแค เป็นยาระบาย เป็นต้น ๒. กระเจี๊ยบแดง สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ทังส่วน กลีบเลียงของดอก ใบ ดอก ผล เมล็ด แต่ละส่วนก็จะมีสรรพคุณทางยาที่ต่างกันไป เช่น เมล็ดใช้บารุงธาตุ บารุงกาลัง แก้ดีพิการ ขับปัสสาวะ ลดไขมันในเส้นเลือด เป็นต้น ๓. ขมิน ส่วนที่นามาใช้คือเหง้า ซึ่งสามารถ ใช้ได้ทังเป็นแบบขมินสดและขมินผง โดยมีสรรพคุณ ดังนี ขมินสดใช้พอกบาดแผลและแก้เคล็ดขัดยอก ขมินผง ใช้ใส่แผลสด ๔. โหระพา สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ทังส่วนต้น เมล็ด เมล็ดแห้ง ใบ ราก แต่ละส่วนก็จะมี สรรพคุณทางยาที่ต่างกันไป เช่น ใบใช้แก้ไอ แก้หลอดลมอักเสบ เป็นต้น สมุนไพรที่ใช้ด้านความงาม ได้แก่ ๑. สมุนไพรเพื่อบารุงผิวกาย เช่น มะนาว ขมินสด กล้วยหอมสุก สับปะรด เป็นต้น ๒. สมุนไพรเพื่อบารุงเส้นผม เช่น นาตะไคร้ ขิง มะกรูด มะละกอสุก นามะนาว เป็นต้น นอกจากสมุนไพรไทยจะใช้เป็นยารักษาโรคและใช้ด้านความงามแล้ว สมุนไพรไทยยังสามารถนามา ประกอบอาหารซึ่งเป็นอาหารเพื่อสุขภาพสามรถต้านโรคต่าง ๆ ได้อีกด้วย อาหารสมุนไพรที่สามารถต้านโรค ได้ เช่น แกงเลียง ยาถั่วพู ปลาดุกย่างสะเดานาปลาหวาน เป็นต้น


๒๕

เฉลยแบบฝึกหัด ตอนที่ ๑ มารู้จักสมุนไพรไทยกันเถอะ แบบฝึกหัดก่อนเรียน ๑. ข

๒. ก

๓. ก

๔. ค

๕. ค

๓. ก

๔. ค

๕. ข

๓. ก

๔. ค

๕. ข

๓. ค

๔. ข

๕. ก

๓. ค

๔. ข

๕. ข

๓. ค

๔. ก

๕. ข

๓. ค

๔. ก

๕. ค

๓. ข

๔. ค

๕. ค

แบบฝึกหัดหลังเรียน ๑. ข

๒. ค

ตอนที่ ๒ รักษาโรคด้วยสมุนไพรไทย แบบฝึกหัดก่อนเรียน ๑. ค

๒. ข

แบบฝึกหัดหลังเรียน ๑. ก

๒. ข

ตอนที่ ๓ สวยได้ด้วยสมุนไพรไทย แบบฝึกหัดก่อนเรียน ๑. ค

๒. ก

แบบฝึกหัดหลังเรียน ๑. ก

๒. ค

ตอนที่ ๔ อาหารสมุนไพรไทยต้านโรค แบบฝึกหัดก่อนเรียน ๑. ก

๒. ข

แบบฝึกหัดหลังเรียน ๑. ก

๒. ก


๒๖

อ้างอิง สกาวรัตน์ ศรีหาพงษ์. (๒๕๔๘). รักษาโรคด้วยสมุนไพรใกล้ตัว. กรุงเทพฯ:ไพลิน. อภิสิทธิ์ วรวิจิตรสกุล. (๒๕๔๘). อาหารสมุนไพรไทยต้านโรค. กรุงเทพฯ:ไพลิน. เข้าถึงได้ที่ http://www.thaibiotech.info/what-is-thai-herbal-medicine.php (๘ ก.ค. ๖๐)


สมุนไพรไทย สมุนไพรไทยมีประโยชน์มากมาย เกินกว่าทีค่ ุณคิด หันมาด้แลและรักษาสุขภาพดูวยสมุนไพรไทยใกลูตัวกันดีกว่า ทัง้ ประหยัดและมีประโยชน์ เพือ่ ร่างกายทีส่ มบ้รณ์


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.